91 การประเมิน CIPPIEST ทีป่ รบั ใหม่ก็มมี โนทัศน์และแนวทางการนาไปใช้ท่แี ตกตา่ งจากรูปแบบการ ประเมนิ CIPP (รัตนะ บัวสนธ์. 2556 : 7) แนวคิดและโมเดิลซปิ ในการประเมินของสตัฟเฟลิ บมี (Srufflebeam’s CIPP Model) ในปี ค.ศ. 1971 สตฟั เฟลิ บีมและคณะได้เขยี นหนงั สอื ทางการประเมนิ ออกมาหนง่ึ เล่ม ชอื่ “Educational Evaluation and decision Making” หนงั สือเล่มน้ีได้เปน็ ท่ยี อมรับกนั อย่าง กว้างขวางในวงการศกึ ษาของไทยเพราะไดใ้ ห้แนวคดิ และวิธีการทางการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ได้อย่างน่าสนใจและทนั สมัยด้วย นอกจากนัน้ สตัฟเฟิลบีมกไ็ ด้เขยี นหนังสือเก่ียวกบั การประเมนิ และ รูปแบบของการประเมินอีกหลายเล่มอย่างต่อเนอื่ ง จึงกลา่ วไดว้ า่ ทา่ นผู้น้ีเปน็ ผ้มู ีบทบาทสาคัญในการ พัฒนาทฤษฎกี ารประเมนิ จนเป็นที่ยอมรับกันทว่ั ไปในปจั จุบัน เรยี กว่า CIPP Model รูปแบบการประเมนิ แบบซิป (CIPP Model) เป็นการประเมนภาพรวมของโครงการตั้งแต่ บรบิ ท ปัจจัยปอ้ น กระบวนการ และผลผลติ (Context, Input, Process and product) โดยจะ ใชว้ ิธีการสร้างเกณฑ์และประสทิ ธิภาพของโครงการทงั้ ภาพรวมหรอื รายปัจจยั เป็นสาคญั ซ่ึงพอ อธิบายได้ดังน้ี 1. การประเมินบริบท : Context Evaluation หมายถึง การประเมินเก่ยี วกบั ความ ต้องการจาเป็น (Need) ปญั หา (Problem) คุณสมบัตทิ ่มี ีค่า (Assets) และโอกาส (Opportunities) ท่ีจะเกดิ ขึน้ ภายใต้เง่อื นไขแวดลอ้ มหนึ่งท่ีกาหนด การประเมินบรบิ ท 4 ส่วนนี้ มีความสาคัญท่จี ะ นาไปสู่ การออกแบบโครงการ แผนงาน และการใหบ้ ริการที่มีความเหมาะสมเป็น ไปได้ ทั้งนี้การ ประเมินบริบท มีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะ 1) กาหนดขอบเขตและบรรยายเกีย่ วกบั ความตงั้ ใจใหบ้ ริการ 2) จาแนกผรู้ ับผลประโยชน์ท่ีตง้ั ใจให้บรกิ าร(หรือกลุ่มเป้าหมาย) และประเมิน ความ ตอ้ งการจาเป็นของกลุ่มบคุ คลดังกล่าว 3) จาแนกปญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นบ่อเกดิ ของความต้องการจาเป็นของ กลุ่ม ผรู้ บั ประโยชนห์ รือกลุ่มเปา้ หมายน้นั 4) จาแนกความเกย่ี วขอ้ งระหว่างคณุ สมบตั ทิ ม่ี ีคา่ และโอกาสการได้รับทนุ อดุ หนุน ท่ี สามารถนาไปใชก้ าหนดเปา้ หมายความต้องการจาเปน็ น้นั 5) จัดเตรยี มขอ้ มลู พื้นฐานสาหรบั การกาหนดเปา้ หมายมงุ่ การปรบั ปรงุ 6) ประเมินความชดั เจนและความเหมาะสมเปน็ ไปไดข้ องเป้าหมายมงุ่ การปรับปรุง 7) จดั เตรยี มข้อมลู พ้ืนฐานสาหรับการตดั สินผลลัพธข์ องเปา้ หมายมุง่ การปรับปรุงหรอื ความพยายามในการใหบ้ รกิ าร
92 การประเมินบริบทอาจจะประเมนิ ไดท้ งั้ ก่อน ระหว่าง หรือแม้กระทั่งหลงั การดาเนนิ โครงการ แผนงาน หรือส่งิ แทรกแซง (Intervention) อนื่ ๆ (Stufflebeam; and Shinkfield, 2017: 336) ในกรณีประเมนิ บรบิ ทก่อนการดาเนนิ โครงการ องค์กร หรือหน่วยงานจะใช้ผลจากการประเมิน บริบทเพือ่ ชว่ ยจดั ลาดับความสาคญั และกาหนดเป้าหมายสาหรับโครงการนน้ั แต่ถ้าเปน็ การประเมิน บริบท ระหว่างหรือหลงั ดาเนินโครงการหรือสง่ิ แทรกแซงอน่ื ๆ องคก์ รและหนว่ ยงานมักจะดาเนินการ และจัดทา รายงานการประเมนิ บรบิ ทควบรวมไปกบั การประเมนิ ปจั จยั นาเข้า กระบวนการ และ ผลผลติ กรณนี ้ี การประเมินบริบทจงึ มปี ระโยชนส์ าหรบั การตดั สนิ ใจกาหนดเป้าหมายของโครงการ และช่วยใหผ้ ู้รบั บรกิ าร 16 ได้ประเมนิ ว่าโครงการหรือสิง่ แทรกแซงดังกลา่ วมคี ณุ ประโยชน์ ตอบสนอง หรอื เปน็ ไปตามความต้องการ จาเป็นของกลุ่มผู้ใช้ประโยชนห์ รือไมเ่ พียงไร เทคนิควธิ ีการทีใ่ ชใ้ นการประเมินบริบท ควรใชว้ ธิ ีการเกบ็ รวบรวมสารสนเทศ อยา่ ง หลากหลาย ครอบคลุมสมาชิกที่เปน็ ประชากรเปา้ หมาย รวมทั้งส่ิงแวดล้อมตา่ ง ๆ ของโครงการหรอื สิง่ แทรกแซงนั้น ซงึ่ โดยปกติมักเร่ิมจากการซกั ถามผู้รบั บริการและผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี เพือ่ ช่วยระบุ ขอบขา่ ยการศึกษา หลังจากนนั้ นักประเมนิ อาจจะทาการทดสอบสมมติฐาน เกีย่ วกบั ความตอ้ งการ จาเปน็ ในการรับบรกิ ารหรือการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นจากการใหบ้ ริการ ซึ่งอาจทาไดโ้ ดยการทบทวน เอกสารการวิเคราะหข์ อ้ มลู ภูมิหลัง และการปฏบิ ัติงานของบคุ คล การจดั เวทีรบั ฟงั จากชมุ ชน การ ทดสอบและการสมั ภาษณผ์ ู้รับประโยชน์ รวมท้ังผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียคนอ่นื ๆ ในกรณีที่ผู้รับประโยชน์ และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดจนผู้รับบริการจากโครงการหรอื สิง่ แทรกแซงเป็นประชากรท่ีมจี านวน มาก นักประเมินอาจใช้วิธกี ารสุ่มตัวอย่างแลว้ สร้างแบบสอบถามหรือแบบสารวจความต้องการจาเป็น และทาการทดสอบ สมมติฐานเปรยี บเทียบความต้องการจาเปน็ จาแนกตามกลุม่ บคุ คลที่เกย่ี วกับ โครงการหรอื สงิ่ แทรกแซงนนั้ หรอื อาจศึกษาปญั หาและความต้องการจาเป็นเก่ียวกับการปรับปรงุ ผลสมั ฤทธ์ิหรอื ประสิทธผิ ลทางการเรยี นของนักเรยี น ในกรณเี ช่นน้ีนักประเมนิ กอ็ าจใชแ้ บบทดสอบ วัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าใด ๆ เป็นเครือ่ งมือเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพือ่ นามาใช้ทดสอบ เปรยี บเทยี บก็ได้ ผลการประเมินบริบทสามารถนามาใชไ้ ดอ้ ย่างกว้างขวาง ยกตวั อยา่ งเชน่ ผูบ้ ริหาร สามารถนาผลการประเมนิ ที่ไดไ้ ปใชส้ ่ือสารกบั สมาชิกในองคก์ ร เพือ่ แลกเปลยี่ นระดมความคิดเหน็ เกยี่ วกบั จดุ แขง็ จุดออ่ น ความตอ้ งการจาเปน็ คุณสมบตั ิท่ีมีคา่ โอกาสและการจัดลาดับความสาคญั ของปัญหาขององคก์ ร แตส่ าหรับนักพฒั นาโครงการก็สามารถท่ีจะนาผลการประเมนิ บริบทไปใชเ้ พ่ือ สนบั สนนุ ขอรับทนุ หรอื จัดทาสญั ญาต่าง ๆ เกยี่ วกบั โครงการดงั กลา่ ว ในขณะท่ีองคก์ รใหบ้ ริการทาง สงั คมหรือองค์กรการกุศล อาจใช้สารสนเทศจากผลประเมินบริบทเพ่อื กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ในการ พฒั นาคณะทางานหรอื เพ่อื จาแนก จดั ลาดบั ใหค้ วามชว่ ยเหลือประชากรเปา้ หมาย สาหรบั โรงเรียน นน้ั กอ็ าจใช้การประเมินบริบทเพ่ือให้ ความชว่ ยเหลือนกั เรยี นและผู้ปกครองในการชี้แนะและพฒั นา
93 ความกา้ วหน้าทางการเรียนให้ดียงิ่ ข้นึ ในสว่ นของนกั ประเมินก็ตอ้ งใชผ้ ลการประเมนิ บรบิ ทเพอื่ กาหนด วตั ถปุ ระสงค์ได้อย่างเหมาะสมและ มีความสมั พันธก์ บั แผนงานโครงการหรือสิ่งแทรกแซงนั้น ๆ 2. การประเมินปัจจัยปอ้ น (Input Evaluation) จุดมงุ่ เน้นหลักของการประเมิน ปจั จัย นาเข้า กเ็ พือ่ ชว่ ยจัดลาดับโครงการที่จะทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงความตอ้ งการจาเปน็ โดยการศกึ ษา และตรวจสอบอยา่ งถ่ถี ้วนเก่ียวกบั แนวทางตา่ ง ๆ ทีม่ ีศกั ยภาพหรอื มีความเปน็ ไปได้ มากที่สุด ในอันท่ี จะกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว การประเมินปจั จัยนาเขา้ จะเปน็ ตัวบง่ บอก ล่วงหน้าถงึ ความ สาเรจ็ หรอื ความลม้ เหลวหรอื ประสทิ ธิผลของความพยายามเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่โครงการ หรอื ส่ิง แทรกแซงนน้ั ๆ ต้องการใหเ้ กดิ จุดม่งุ เนน้ ประการที่สองของการประเมินปจั จยั นาเขา้ กเ็ พือ่ สรา้ ง ความเข้าใจรว่ มกันเก่ียวกบั แนวทางท่เี ป็นทางเลอื กตา่ ง ๆ และเพราะเหตใุ ดจึงเลอื กแนวทางนัน้ ใน กรณเี ชน่ นส้ี ารสนเทศท่ไี ดจ้ ากการประเมินปัจจยั นาเขา้ จะมีความสาคัญเป็นอย่างมากสาหรบั บ่งบอก ให้เห็นถงึ ความรบั ผิดรับชอบ (Accountability) ใด ๆ ของผ้พู ัฒนาโครงการท่พี ยายามออกแบบและ ปรับปรุงงบประมาณใด ๆ ของโครงการหรอื ส่ิงแทรกแซงดงั กล่าว นอกจากนีแ้ ล้วการประเมนิ ปจั จยั นาเขา้ กจ็ ะชว่ ยจาแนกและจดั ลาดบั แนวทางท่เี ก่ียวขอ้ งใหแ้ ก่ผมู้ ีหน้าทีต่ ัดสนิ ใจได้ใชเ้ ปน็ ทางเลอื ก สาหรบั การดาเนินงานต่อไป โดยสรปุ การประเมนิ ปจั จยั นาเขา้ ก็เพอ่ื ชว่ ยผ้ทู าหน้าทีต่ ัดสนิ ใจเลือก กลยทุ ธ์ตา่ ง ๆ ท่จี ะชว่ ยให้บรรลุเป้าหมาย ตอบสนองความต้องการจาเปน็ ใหแ้ กผ่ ้รู ับประโยชน์ กอ่ ให้เกิดแผนงานทป่ี ฏบิ ัติไดจ้ รงิ และใช้งบประมาณได้อยา่ งเหมาะสม รวมท้ังการบนั ทึกและสร้าง สานกึ รับผิดชอบเกย่ี วกบั การได้มาซง่ึ ทรพั ยากรและวิธีการดาเนินงานในแผนงานนน้ั ๆ นอกจากนีแ้ ล้ว หน้าทีส่ าคัญอกี ประการหน่ึงของการประเมินปจั จัยนาเขา้ ก็เพอื่ ชว่ ยให้ผู้นาโครงการหลกี เลี่ยงความ สูญเปลา่ ใด ๆ ท่อี าจจะเกดิ ข้นึ จากการใชน้ วตั กรรมหรือโครงการทีไ่ ม่ก่อให้เกิดประโยชน์คุ้มคา่ ถึง ทรัพยากรทจ่ี ะต้องสูญเสียไป นกั ประเมนิ สามารถทาการประเมินปัจจยั นาเข้าได้หลายขนั้ ตอนโดยไมจ่ าเปน็ ต้อง กระทาตามลาดับต่อเนือ่ งกัน นกั ประเมนิ อาจเรม่ิ จากการทบทวนปฏิบัตงิ านทีจ่ ะนาไปสู่การบรรลุ วตั ถุประสงค์ และตอบสนองความต้องการจาเปน็ ที่เฉพาะเจาะจง ซ่ึงทาไดต้ ามขนั้ ตอนหรือวิธกี าร ตา่ ง ๆ ได้แก่ 1) การทบทวนวรรณกรรมหรือเอกสารตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2) การตรวจเย่ียมโครงการตัวอยา่ งหรอื โครงการ ทม่ี ลี กั ษณะคลา้ ยกนั 3) การปรึกษาผู้เชย่ี วชาญและตัวแทนจากรฐั บาล 4) สืบคน้ สารสนเทศเกย่ี วกับ การใหบ้ รกิ ารจากแหลง่ สบื ค้นทางอินเทอรเ์ น็ต 5) ทบทวนเอกสาร บทความเก่ยี วกับรายงานผบู้ ริโภคหรือ เอกสารอื่น ๆ ท่ีตีพิมพ์ เรอื่ งราวที่คล้ายคลงึ กนั เก่ยี วกับผลิตภัณฑแ์ ละการใหบ้ ริการ 6) การชช้ี วน ให้ผปู้ ฏิบัติงานจดั ทาข้อเสนอ
94 นกั ประเมินอาจจดั สารสนเทศเหลา่ นอี้ ยา่ งเป็นหมวดหมู่ไว้ในหอ้ งวางแผนโดยเฉพาะ และจดั กลุม่ ทีศ่ กึ ษาเฉพาะเพ่ือทาการสืบคน้ หรอื ดาเนินการจดั ทาแผนสัมมนาโดยตรงเกย่ี วกบั การ วเิ คราะห์ วสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ตอ้ งใช้ในโครงการ นักประเมินตอ้ งใชส้ ารสนเทศทไ่ี ดท้ ้ังหมดเพื่อนาไปสกู่ าร ได้กลยทุ ธ์หรือ แนวทางการดาเนินงานทีม่ ีแนวโนม้ ศักยภาพก่อใหเ้ กิดการยอมรบั ได้ต่อการนาไปใช้ ท้งั นโ้ี ดยอาจจดั ลาดับ แนวทางการดาเนินงานดังกล่าวโดยอาศัยหรอื พจิ ารณาจากเกณฑ์ทเี่ ก่ยี วข้อง ตอ่ ไปนี้ 1) ตอบสนองการบรรลุความตอ้ งการจาเป็นของกลุ่มผู้รบั ประโยชน์ 2) ตอบสนองตอ่ เปา้ หมายท่ีเป็นปญั หาขององคก์ ร 3) ศักยภาพของประสทิ ธิผล 4) ต้นทุนท่ตี ้องใช้ 5) สอดคล้องมีอยจู่ รงิ ในทางการเมือง 6) มคี วามเป็นไปได้ในการบริหารจัดการ 7) มศี กั ยภาพเพยี งพอที่จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบภายนอกพ้นื ทห่ี นงึ่ ๆ ตอ่ จากนั้นนกั ประเมนิ สามารถท่จี ะใหค้ าแนะนาแกผ่ ทู้ าหน้าที่ตดั สนิ ใจวา่ ควรจะเลือก หรอื คน้ หาแนวทางการดาเนนิ งานหรือไมอ่ ยา่ งไร ในกรณที ีเ่ ป็นการค้นหานวตั กรรมหรือแนวทาง การดาเนินงานใหม่ ๆ นักประเมนิ และผูร้ ับบริการอาจจดั ทาเกณฑ์อย่างเป็นเอกสารชดั เจนท่ี นวตั กรรมนน้ั ตอ้ งบรรลแุ ละจัดลาดับขอ้ เสนอแนวทางต่าง ๆ ตามเกณฑ์ทต่ี ้องการบรรลุซ่งึ เลือกไว้ แล้ว ในลาดบั ต่อไป นักประเมนิ อาจจดั ลาดับข้อเสนอหรอื แนวทางที่มศี ักยภาพแก่การยอมรับได้และ ช้ีแนะแนวทางหรือ คุณลักษณะท่ีดที ี่สุดให้แก่องค์กรหรอื หนว่ ยงานว่าควรจะดาเนนิ การอยา่ งไร นอกจากนน้ั นักประเมิน ก็อาจทาได้โดยการจัดให้มกี ารรับฟังเพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศเพม่ิ เติมจากผปู้ ฏิบัติ หรือผู้บริหารเก่ยี วกับ ข้อเสนอหรอื แนวทางตา่ ง ๆ ที่ดีที่สุดสาหรบั เปน็ ทางเลอื กการตดั สนิ ใจใหแ้ ก่ หน่วยงานองค์กรน้นั ๆ การประเมนิ ปจั จยั นาเข้านาไปประยุกต์ใช้ได้หลายกรณี อาทิ ผู้บริหารใชส้ าหรับจัดทา ขอ้ เสนอเพ่ือขอรบั เงินลงทนุ สนบั สนุนการดาเนนิ งานจากคณะกรรมการกาหนดนโยบายในหน่วยงาน หนึง่ ๆ โรงเรยี นหรอื หน่วยงานทางการศกึ ษาใชส้ าหรบั จดั ทาขอ้ เสนอเพอ่ื ขอรบั งบประมาณสนบั สนุน แผนงาน โครงการทางการศกึ ษา ในขณะเดียวกนั ผกู้ าหนดนโยบายหรอื ผู้ทาหน้าที่ตัดสนิ ใจทางการ ศกึ ษา ก็ใช้สาหรบั การพจิ ารณาตดั สนิ ใจเกี่ยวกับความคุ้มคา่ หรอื ประสิทธผิ ลทีจ่ ะไดร้ บั เมื่อ เปรียบเทียบกบั ตน้ ทุน หรอื งบประมาณท่ีตอ้ งจัดสรรให้กับโครงการหรอื นวตั กรรมทางการศึกษา ใหม่ ๆ 3. การประเมนิ กระบวนการ (Process Evaluation) เป็นการตรวจสอบการนา แผนงาน หรอื โครงการไปใช้ หรอื ตรวจสอบการดาเนนิ งานการใช้แผนงาน โครงการ วัตถปุ ระสงคท์ ่ีสาคัญ
95 ประการหนึ่งของการประเมนิ กระบวนการก็คือ การใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แก่ผู้จัดการและผูป้ ฏิบตั งิ าน ในโครงการนัน้ ๆ เกย่ี วกบั การดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ของโครงการว่าเป็นไปตามตารางเวลาทีก่ าหนด หรือไม่ การใชง้ บประมาณและประสทิ ธภิ าพเปน็ อยา่ งไร สาหรบั วตั ถุประสงคอ์ กี ประการหนงึ่ ก็เพือ่ ชี้แนะแนวทางใหแ้ ก่ผูป้ ฏบิ ตั ิงานในการปรบั ปรงุ การใช้งบประมาณและแนวทางการดาเนินงานของ โครงการใหม้ ีความเหมาะสมยงิ่ ข้นึ เพราะโดยปกติแลว้ เม่ือมกี ารเริ่มตน้ การดาเนินงานของโครงการ หรือแผนงาน ผู้ปฏบิ ัติงานยอ่ มไม่สามารถท่ีจะกาหนดสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ทงั้ หมด ไมว่ า่ จะเป็นเรอ่ื งของการ จดั กิจกรรม การใช้ บุคลากร งบประมาณ หรืออืน่ ๆ ดังน้นั การไดร้ ับสารสนเทศจากการประเมิน กระบวนการก็สามารถ นาไปใช้ประกอบการตัดสินใจปรบั ปรงุ สงิ่ ต่าง ๆ ในโครงการใหส้ ามารถ ดาเนินการตอ่ ไปและมีความเป็นไปได้ทจี่ ะทาให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามที่ตอ้ งการ ในการประเมิน กระบวนการนั้นควรทาการเปรยี บเทียบระหว่างกิจกรรมและคา่ ใช้จ่ายจริงกับกจิ กรรมในแผนงาน โครงการ และงบประมาณ ทีก่ าหนดไวว้ า่ มคี วามแตกตา่ งกันมากน้อยเพยี งไร รวมท้งั บรรยายให้เหน็ ถงึ ปญั หาต่าง ๆ เกยี่ วกับการนาโครงการไปใช้และทา้ ยท่ีสุดกค็ วรจดั ทารายงานทผ่ี ้รู ่วมโครงการหรือ ผู้ทาการสงั เกตได้ตัดสนิ คุณภาพของกระบวนการใชโ้ ครงการแผนงานดงั กลา่ ว นกั ประเมนิ กระบวนการจาเปน็ ตอ้ งดาเนินการคอ่ นข้างมากในการควบคุม กากับ และ จดั ทาเอกสารเก่ยี วกบั กิจกรรมของโครงการหรอื ตัวแทรกแซง ซง่ึ อาจเรมิ่ จากการทบทวนกลยทุ ธท์ ี่ เก่ยี วขอ้ ง แผนการปฏบิ ตั ิงาน งบประมาณ และการประเมนิ ภูมหลงั ของโครงการหรอื สง่ิ ทีแ่ ทรกแซง เพอื่ ทจี่ ะพิจารณาวา่ กจิ กรรมอะไรทคี่ วรตอ้ งกากับในโครงการหรือส่ิงแทรกแซงดงั กลา่ ว การพจิ ารณา ตวั อยา่ ง ทเ่ี ป็นไปได้ในการให้บริการกลุม่ ผู้รบั ประโยชน์ การฝึกอบรมใหค้ าปรกึ ษาทมี ผูป้ ฏิบัติงาน การจัดประชมุ ทมี ผูป้ ฏิบตั งิ าน การควบคมุ กากบั ผังงาน (Work flow) การบารุงรกั ษาตรวจสอบ เครอ่ื งอุปกรณ์ การจดั ลาดับและแจกจ่ายวสั ดุ การควบคุมค่าใช้จ่าย การจัดการสารสนเทศของ โครงการเหลา่ น้ี เป็นต้น เทคนคิ วิธที ี่ใช้เก็บรวบรวมข้อมลู สารสนเทศในการประเมนิ กระบวนการนนั้ นักประเมนิ ควรใชว้ ิธกี ารทไ่ี ม่กอ่ ใหเ้ กดิ การรบกวน (Unobtrusive) แกผ่ ู้ปฏิบตั ิงานให้มากที่สดุ เท่าทจี่ ะเป็นไปได้ ในขณะเดยี วกนั ก็ต้องสร้างสัมพันธภาพที่ดีแกผ่ ูป้ ฏิบตั ิงานในโครงการ แผนงานหรอื สิ่งแทรกแซงนน้ั ๆ ดว้ ยเช่นกนั นกั ประเมนิ อาจพจิ ารณาภาพรวมว่ากิจกรรมหรอื การดาเนนิ งานของโครงการดงั กล่าว เปน็ อย่างไร โดยการตรวจเยย่ี มและสังเกตท่ีศนู ยข์ องกิจกรรมนนั้ การทบทวนวิเคราะหเ์ อกสารที่ ปรากฏ (เชน่ แผนปฏบิ ตั ิงาน งบประมาณ รายงานบัญชี และระยะเวลาการจดั ประชุม) การเข้าร่วม ประชุมกบั ทมี ปฏบิ ัติงาน และการสมั ภาษณ์บคุ คลหลัก หลงั จากน้นั นักประเมนิ ตอ้ งจดั ทารายงาน สรปุ เก่ียวกับ แผนการเกบ็ รวบรวม ข้อมูล ขอ้ ค้นพบและประเด็นการสงั เกต นกั ประเมินควรแสดงให้ เห็นเกีย่ วกับปัญหา ตา่ ง ๆ ของกระบวนการอยา่ งชดั เจนตามทีไ่ ด้จากผู้ปฏบิ ัติงาน พรอ้ มทัง้ นาเสนอ รายงานน้ใี นการประชมุ ทมี ผูป้ ฏิบัติงาน และเช้อื เชิญผอู้ านวยการของทีมผู้ปฏบิ ตั งิ านให้เป็นผนู้ า
96 ในการอภปิ รายเก่ียวกบั ขอ้ คน้ พบ ซ่งึ ปรากฏในรายงาน ทีมงานของโครงการอาจจะใชร้ ายงานเพอื่ การ ตัดสินใจใหเ้ หมาะกับการปฏิบัตงิ าน ของตนต่อไป ต่อจากน้ันนกั ประเมินกค็ วรทบทวนเกย่ี วกบั แผน งานการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลครงั้ ตอ่ ไป รวมท้ังการจดั ทารายงาน ตามลาดับ โดยการสอบถามความ คิดเหน็ ข้อเสนอแนะจากทีมผปู้ ฏิบัตงิ านถึงช่วงเวลาท่ีเหมาะสมเพื่อที่จะทาใหไ้ ด้สารสนเทศท่มี ี ประโยชนม์ ากที่สุด ในการจัดประชมุ นาเสนอ รายงานให้กบั ทมี ผู้ปฏบิ ัติงานในครงั้ ตอ่ ไป ซึ่งทีม ผปู้ ฏบิ ตั งิ านกอ็ าจจะใหข้ อ้ เสนอแนะท่ดี เี กย่ี วกบั การเก็บรวบรวมขอ้ มูลในการประเมนิ ว่าควรจะเก็บ อย่างไร เช่น อาจใชก้ ารสงั เกต บนั ทึกการปฏบิ ัติ งานประจาวนั ของทมี ผู้ปฏบิ ัติงาน การสัมภาษณแ์ ละ การใชแ้ บบสอบถาม เปน็ ต้น นอกจากนั้นนักประเมินก็ควรจะสอบถามผ้ปู ฏิบตั ิงานถงึ ช่วงเวลาที่ เหมาะสมหรอื ดีที่สดุ สาหรับการใช้ประโยชน์จากรายงาน การประเมินชว่ งถัดไป นกั ประเมนิ กระบวนการควรจัดลาดบั รายงานโดยพจิ ารณาวา่ จะกอ่ ให้เกิดผลดีที่สุด แก่ทมี ผปู้ ฏิบัตงิ านในการนาไปใช้ในแผนปฏิบตั ิงานและบรู ณาการเข้ากับสงิ่ แวดลอ้ มโดยรอบโครงการหรือ สิง่ แทรกแซงน้นั นักประเมินควรจะต้องบรรยายใหเ้ ห็นถงึ สงิ่ ที่เบี่ยงเบนออกไปจากแผนงานท่กี าหนด และ ควรชใ้ี ห้เห็นถงึ ความผนั แปรเหลา่ น้ีว่ามีลกั ษณะอย่างไรเมื่อพิจารณาจากความแตกต่างระหว่าง บคุ คล กลมุ่ บุคคลหรอื สถานทีท่ แ่ี ตกต่างเบีย่ งเบนไปจากแผนงานน้ัน ผลการประเมินกระบวนการนาไปใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลายกรณียกตวั อยา่ ง เชน่ สมาชกิ ใน ทีมงานใชส้ าหรับชี้แนะแนวทางการดาเนนิ กิจกรรม แก้ไขแผนงานท่ีผิดพลาดและจัดทาบนั ทกึ ความ รบั ผิดชอบ ผ้จู ัดการบางคนใชต้ ารางหรอื ปฏิทนิ สะท้อนผลกลับผลการประเมนิ กระบวนการทจ่ี ดั ทา ตามปกตหิ รือสม่าเสมอเพื่อทาให้ทีมผู้ปฏิบตั ิงานรกั ษาหน้าที่และความรับผิดชอบของตน การประเมนิ กระบวนการยงั ชว่ ยให้บุคคลภายนอกได้เรียนรูว้ า่ อะไรคือส่งิ สาคัญทต่ี ้องทาและอะไรคือต้นทุน คา่ ใช้จ่าย ทีต่ ้องเสียในกรณที ีพ่ วกตนตอ้ งการกระทาในลกั ษณะท่ีคล้าย ๆ กนั น้ี 4. การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) วัตถุประสงคห์ ลกั ของการประเมิน ผลผลติ ก็เพอ่ื สอบวัด ตีความ และตดั สินผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการ แผนงานหรือสิง่ แทรกแซงวา่ ตอบสนองบรรลุ ความต้องการจาเปน็ ของกลุ่มผรู้ ับประโยชนห์ รอื ไม่ นอกจากนั้นการประเมินผลผลิต ก็ยงั ตอ้ งประเมิน ผลลัพธ์ (Outcomes) ท้ังที่ต้ังใจและไม่ตงั้ ใจ ทง้ั ที่เป็นไปในทางบวกและทางลบอกี ดว้ ย ยิ่งไปกว่านนั้ บอ่ ยครง้ั ที่นกั ประเมินยงั ขยายขอบเขตการประเมินผลผลิตไปสูก่ ารประเมินในส่งิ ที่ เรยี กวา่ ผลลพั ธร์ ะยะยาว อกี ดว้ ย การประเมนิ ผลผลิตควรดาเนินการโดยอาศยั การรวบรวมและวิเคราะหก์ ารตดั สินของ กล่มุ ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทม่ี ีตอ่ โครงการหรือส่ิงที่ได้รบั การประเมนิ (Evaluand) นัน้ ในบางครัง้ ก็อาจ ทาการเปรยี บเทียบผลลัพธท์ ี่เกดิ ขน้ึ กบั โครงการหรือสิง่ ท่ไี ดร้ ับการประเมนิ อน่ื ซง่ึ มลี ักษณะคลา้ ยคลึง กนั และกม็ ีอยบู่ ่อย ๆ ทผ่ี ู้รบั บริการจากโครงการต้องการจะร้วู า่ โครงการดงั กลา่ วไดผ้ ลสัมฤทธเ์ิ ปน็ ไป ตามวัตถปุ ระสงค์ ท่ีกาหนดหรือไม่ และมปี ระโยชน์คมุ้ กับการลงทุนดาเนนิ การเพยี งไร ดงั นน้ั ในทางท่ี
97 เหมาะสมแล้ว นักประเมนิ กค็ วรท่วี ิเคราะห์ ตีความให้เหน็ ว่าจุดอ่อนของการใช้โครงการหรือแผน ปฏบิ ตั ิงานสว่ นใดทเี่ ป็น สาเหตทุ าให้ไดผ้ ลลพั ธ์อ่อนด้อยลงไปด้วย เทคนคิ วธิ กี ารที่ใช้ประเมินผลผลิต มิไดก้ าหนดไว้อยา่ งเปน็ แบบแผนตายตวั แตน่ กั ประเมนิ อาจตอ้ งใช้วธิ กี ารอย่างหลากหลายร่วมกัน เพ่ือช่วยให้เกดิ ความเข้าใจ ในการศกึ ษาผลลพั ธท์ ้ังหมดของส่ิงท่ไี ด้รบั การประเมนิ รวมท้งั ยงั ช่วยใน การตรวจสอบขา้ มกันไปมา ระหว่างขอ้ ค้นพบทหี่ ลากหลายอกี ดว้ ย ในการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตทิ ่ีเกิดขน้ึ นอกเหนอื จากวตั ถุประสงค์ทีก่ าหนดนั้น นกั ประเมนิ จาเป็นตอ้ งศึกษาค้นหาผลลพั ธท์ ่ีมิไดค้ าดหมายด้วย ทง้ั ผลลพั ธใ์ นเชิงบวกและเชิงลบโดยการ รบั ฟงั ความคดิ เห็นหรือสมั ภาษณก์ ลมุ่ ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี กับสงิ่ ที่ได้รับการประเมินเพ่อื ทจี่ ะทาการ ทดสอบ สมมติฐานเก่ียวกับผลลัพธ์ให้ครอบคลุมทุกดา้ น และสืบหาขอ้ เท็จจริงอยา่ งรอบคอบสาหรบั ยนื ยนั หรอื ไมย่ นื ยันสมมติฐานเกยี่ วกับผลลพั ธ์ดงั กล่าว นอกจากนแี้ ล้วนักประเมินอาจใช้วธิ กี ารศกึ ษา รายกรณี โดยเลือกบุคคลท่ไี ดร้ ับประสบการณ์จากโครงการหรอื ส่ิงทไี่ ดร้ ับการประเมนิ เพ่อื ทาการ สัมภาษณ์ระดบั ลึก เกีย่ วกับผลท่เี กิดจากโครงการดงั กลา่ ว หรือนกั ประเมนิ อาจใชว้ ธิ กี ารสารวจความ คดิ เหน็ ทางโทรศัพท์หรอื ทางจดหมายของกลุ่มผู้เขา้ ร่วมโครงการเพ่อื ใหต้ ัดสนิ ใจเกีย่ วกบั การได้รับ บริการตามมุมมองของแต่ละคน ทง้ั ท่ีเปน็ ภาพบวกและภาพลบ ยง่ิ ไปกวา่ นัน้ นักประเมนิ กอ็ าจจะให้ ผู้เข้าร่วมโครงการหรือสงิ่ ทีไ่ ด้รับ การประเมิน เขยี น เสนอตัวอย่างทเี่ ปน็ รูปธรรมเกี่ยวกับการได้รับ บริการ และกอ่ ใหเ้ กิดผลดีต่อ การปฏบิ ัตงิ านของตน เชน่ ผลผลิตของงานที่เพ่มิ ขน้ึ หรอื ตาแหนง่ หน้าทกี่ ารงานใหม่ท่ีไดร้ บั มอบหมาย รวมท้งั นักประเมินอาจใช้การสงั เกตเพ่ือจาแนกและเปรยี บเทียบ ผลสมั ฤทธิข์ องกลุ่มบุคคลโดยเปรยี บเทยี บ ตามรายการตรวจสอบผลลพั ธ์กับโครงการให้บรกิ ารอน่ื ๆ ท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกนั กบั โครงการที่ไดร้ บั การประเมิน การจัดทารายงานขอ้ คน้ พบจากการประเมนิ ผลผลิตอาจทาให้แตกตา่ งกนั ตามข้ันตอน กล่าวคือ นักประเมนิ อาจจัดทารายงานผลผลิตทเี่ กิดขึน้ ในแต่ละวงรอบของโครงการ รายงานดังกลา่ ว น้ี ควรจะแสดงใหเ้ ห็นวา่ โครงการหรือส่งิ แทรกแซงน้นั ๆ ไดบ้ รรลเุ ปา้ หมายความต้องการจาเปน็ เพยี งไร ในขณะที่รายงานเม่อื สนิ้ สุดวงรอบทัง้ หมดของโครงการควรเปน็ รายงานทน่ี าเสนอใหเ้ ห็นถึง ผลสมั ฤทธิ์ สรุปรวมทัง้ หมดของโครงการดงั กล่าว ดังน้ันรายงานผลการประเมนิ ผลผลิตจึงต้องเป็นการ สรปุ ตคี วาม ใหเ้ ห็นถึงผลท่ีชดั เจนในการตอบสนองความตอ้ งการจาเปน็ ตน้ ทุนท่ใี ชด้ าเนนิ การ และ ผลตอบแทนหรอื ผลการปฏบิ ตั ิทัง้ หมดทไี่ ด้รับในแผนงาน โครงการนนั้ ๆ นักประเมินยังต้องจดั ทา รายงาน การศกึ ษา ติดตามเพอื่ แสดงให้เหน็ ถึงผลลพั ธร์ ะยะยาวทเ่ี กิดข้นึ อกี ด้วย นอกจากน้ันบางกรณี อาจตอ้ งจัดทารายงาน วเิ คราะหแ์ ละบูรณาการผลท่ีได้รบั ท้ังหมดเข้าดว้ ยกนั เพือ่ เสนอตอ่ กลมุ่ ยอ่ ยแต่ ละกลุ่มหรอื แต่ละบุคคล ผลการประเมนิ ผลผลิตนนั้ ประชาชนท่ัวไปนามาใช้เพอ่ื ประกอบการตดั สินใจว่าโครงการ แผนงาน หรือส่งิ แทรกแซงนน้ั มคี ุณประโยชน์เพยี งพอตอ่ การนาไปดาเนนิ การต่อเนอื่ งต่อไป หรอื ควร
98 ดาเนินการซา้ อกี หรือควรขยายขอบเขตการนาไปใชใ้ นสถานการณ์หรือสถานที่อน่ื ๆ ตอ่ ไปในขณะ เดียวกัน สถาบันและหนว่ ยงานก็ยงั ใชส้ าหรับปรบั เปล่ยี นหรอื แทนทแ่ี ผนการปฏิบตั ใิ นการที่จะทาให้ เกดิ ประสิทธิผลไดม้ ากกวา่ เมื่อเปรยี บเทยี บกับต้นทนุ และตอบความตอ้ งการจาเปน็ ของสมาชกิ ทั้งหมดทเ่ี นน้ ประชากร เป้าหมาย ผลจากการประเมินผลผลติ มีความสาคัญในทางจติ วิทยาเป็นอยา่ ง มาก เม่อื ผลจากการประเมินแสดงให้เหน็ ถึงความงอกงามทีเ่ กดิ ข้ึนจากแนวทางทชี่ าญฉลาดในการ ดาเนินโครงการ ผลการประเมินเช่นน้นี ับเปน็ สงิ่ เสรมิ แรงทดี่ สี าหรบั ท้งั ทีมปฏิบัติงานในโครงการและ ผ้รู ับบรกิ าร จากโครงการหรืออาจจะเปน็ สง่ิ ทท่ี าลาย ลดทอนแรงจงู ใจก็ได้ ถ้าหากผลทไ่ี ด้จากการ ประเมนิ ผลผลิตนน้ั มคี วามอ่อนด้อยหรือไม่แสดงถึงความงอกงามใด ๆ ที่จะพงึ ได้รับจากโครงการ นั้น ๆ เลย ประเดน็ สาคัญสดุ ท้ายที่ต้องพึงระวงั ในการจัดทารายงานการประเมินผลผลติ ก็คือ นกั ประเมนิ ไมค่ วรเรง่ รบี ประเมินผลผลิตและจัดทารายงานสสู่ าธารณะอยา่ งทันทที นั ใด เพราะเหตวุ ่า การดาเนินโครงการตอ้ งการระยะเวลาพอสมควรท่จี ะทาใหเ้ กิดผลสมั ฤทธิบ์ รรลตุ ามความรับผิดรบั ชอบ (Accountability) ที่ระบไุ ว้ การจดั ทารายงานการประเมินผลผลติ ทยี่ ังไมม่ ีวฒุ ภิ าวะสกุ งอม (Premature) อย่างเพยี งพอ อาจนาไปสคู่ วามไม่สามารถตัดสินใจไดเ้ กย่ี วกบั ความตอ่ เน่ืองของ โครงการเพราะเหตุว่า ทาให้ไมพ่ บผลลพั ธ์ใด ๆ เกิดขน้ึ เลย ท้ังน้เี นอ่ื งจากผลลัพธ์ของโครงการต้องใช้ ระยะเวลายาวพอสมควรในการศกึ ษาติดตาม ดังนน้ั ถ้าหากการจัดทารายงานการประเมินผลผลิตสู่ สาธารณะไดม้ กี ารหนว่ งเวลาอย่างสมเหตุสมผลแล้ว นักประเมนิ อาจจะพบผลลพั ธ์ท่ีเกิดขน้ึ ภายหลัง และมคี วามสาคญั อย่างยิง่ สาหรบั ใชส้ นับสนุนการดาเนนิ งานโครงการอย่างตอ่ เนือ่ งต่อไป แตอ่ ย่างไรก็ตามนักประเมนิ ก็สามารถจะตอบสนองข้อเรยี กรอ้ งของทมี ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน ใน โครงการไดอ้ ย่างเหมาะสมเกีย่ วกับการแสดงผลข้อคน้ พบหรอื ผลการประเมนิ ผลผลติ เปน็ ระยะ ๆ (Formative product evaluation) เพื่อช่วยให้บรรลุความสาเรจ็ ในการปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ โดย การ แลกเปล่ยี นขอ้ ค้นพบให้แก่สมาชกิ ผ้ปู ฏิบัตงิ านในโครงการนนั้ โดยตรง กฎกาปัน้ หลกั (Rules of thumb) สาหรบั นักประเมินนั่นคือ ควรลดความสาคญั ในการประเมนิ ผลผลติ ของโครงการใน ระยะแรก ๆ และ ไม่ควรเร่งรบี จดั ทารายงานสสู่ าธารณะควรเสนอข้อคน้ พบจากการประเมนิ ผลผลิต เป็นระยะ ๆ ให้แก่ ทมี ผปู้ ฏิบตั งิ านได้แลกเปลี่ยนเรยี นรู้เท่านน้ั นักประเมนิ ควรแจกจา่ ยขอ้ ค้นพบจาก การประเมนิ ผลผลิต ใหก้ บั ผู้มสี ิทธร์ิ บั รภู้ ายหลังจากโครงการนน้ั มรี ะยะเวลาพอสมควรและมวี ุฒภิ าวะ สุกงอมที่จะทาให้เกดิ ผลลัพธแ์ ล้วหรอื กลา่ วอยา่ งถงึ ทีส่ ดุ ได้วา่ จาเปน็ ตอ้ งแสดงใหเ้ ห็นถึงมีความเปน็ มืออาชีพในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการดาเนนิ การจัดทารายงานขอ้ ค้นพบการประเมินผลผลิต สารสนเทศทไี่ ด้จากการประเมนิ ผลผลติ เปน็ องคป์ ระกอบทสี่ าคญั อย่างยิ่งท่แี สดงถงึ รายงานความรบั ผิดรบั ชอบของสถาบันหรอื หนว่ ยงาน ที่ดาเนินโครงการ แผนงาน หรือสิง่ แทรกแซงใด ๆ เมื่อใดก็ ตามที่รายงานนัน้ แสดงใหเ้ หน็ ความมีนัยสาคัญ ของผลสมั ฤทธิ์อย่างเด่นชดั ก็จะถูกนาไปใชโ้ น้มนา้ ว
99 ชุมชนและหน่วยงานให้ทุน สนบั สนุนเพอื่ ให้เพ่ิมเตมิ งบประมาณและขอรับการสนบั สนนุ ทาง การเมอื งได้เป็นอยา่ งดี แตถ่ ้าหากผมู้ อี านาจตัดสินใจรวู้ ่า ส่ิงแทรกแซงหรอื โครงการนัน้ ๆ ไม่ทาใหไ้ ด้ ผลตอบแทนทม่ี ีความสาคญั อ่นื ใดเลยก็จะทาใหย้ กเลกิ การลงทุนดาเนนิ การอกี ตอ่ ไป จากมิตกิ ารประเมนิ 4 ด้านของรปู แบบการประเมิน CIPP สรปุ สาระสาคญั ของรูปแบบ ได้ 4 ประเด็น ดังตอ่ ไปน้ี 1) องคป์ ระกอบดา้ นคุณค่าของรูปแบบ หมายถงึ รูปแบบการประเมิน CIPP มี คณุ ค่า ต่อการประเมนิ อะไรบ้างและเปน็ การประเมนิ ที่สมั พนั ธ์กบั มิติใดของรูปแบบ ซ่งึ แสดงดัง ภาพประกอบ ภาพประกอบ 3 องค์ประกอบหลักของรูปแบบการประเมิน CIPP และความสมั พันธ์กับโครงการ (ปรับจาก Stufflebeam and Shinkfield, 2017 : 333) จากภาพประกอบ 3 แสดงให้เห็นวงกลมสาคัญ 3 วง วงในสดุ เปน็ ส่วนทแี่ สดงถึง คณุ ค่า รว่ มกันของการประเมินในการนาไปใช้กาหนดส่วนตา่ ง ๆ ในวงกลมท่สี องซง่ึ เป็นสว่ นประกอบ ของ โครงการ ไดแ้ ก่ เปา้ หมาย แผนงานหรือแผนการปฏิบตั ิงาน การปฏบิ ัติ หรอื การกระทาตามแผนงาน และผลลพั ธท์ ี่ได้ใน 4 สว่ นประกอบของโครงการก็จะสมั พนั ธ์กบั มิติการประเมนิ ทงั้ 4 ดา้ นของรูปแบบ การประเมิน CIPP ซง่ึ เป็นวงกลมนอกสุด นน่ั คือ การประเมินเพ่อื นามาใช้กาหนดเป้าหมายของ โครงการ ก็คือ การประเมนิ บริบท การประเมินปัจจัยนาเขา้ ก็ใช้สาหรบั จัดทาแผนปฏบิ ัตงิ าน แตก่ าร
100 ปฏิบตั ิงานหรอื การกระทาตามแผนกต็ อ้ งอาศัยการประเมนิ กระบวนการ และท้ายทีส่ ุดหากจะ ประเมนิ ผลลพั ธ์ทงั้ หมด ของโครงการกต็ อ้ งทาการประเมนิ ผลผลิตนั่นเอง 2) บทบาทการประเมนิ เป็นระยะ ๆ และการประเมินสรุปรวม เนื่องจากรูปแบบ การประเมิน CIPP สามารถนามาใชไ้ ดท้ ้งั เปน็ การประเมนิ เปน็ ระยะ ๆ (Formative evaluation) และ การประเมินสรปุ รวม (Summative evaluation) ดงั น้นั วัตถปุ ระสงคแ์ ละการใช้ผลการประเมิน ในมิติ 4 ดา้ นของรปู แบบการประเมินจงึ แตกต่างกัน จะเหน็ วา่ ถา้ เป็นการนารูปแบบการประเมนิ CIPP มาใช้ ในการประเมินเป็น ระยะ ๆ ตามมติ ิการประเมิน 4 ดา้ นนั้น เป็นการประเมินที่มุ่งพจิ ารณาไปข้างหนา้ หรอื คาดคะเนถงึ สิ่ง ท่ีจะเกิดขึน้ และนาผลทีไ่ ด้ในแต่ละมิตไิ ปใชเ้ พ่ือการชแี้ นะแนวทางการตัดสนิ ใจสาหรบั ดาเนนิ การใน แต่ละเรือ่ ง ท้งั นเี้ พอ่ื กอ่ ให้เกิดความมน่ั ใจไดว้ ่าโครงการ แผนงาน หรือสง่ิ แทรกแซงนนั้ ๆ จะมี ประสิทธผิ ล ประสิทธภิ าพ คุ้มค่ากบั ทรัพยากรทีต่ ้องสญู เสยี ไป ตอบสนองความต้องการจาเป็น ของ กลมุ่ เปา้ หมายและสามารถแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ข้นึ ได้ ในขณะท่ีถ้านารปู แบบการประเมิน CIPP มาใช้ ประเมนิ สรุปรวมตามมติ ิการประเมินทัง้ 4 ด้าน ก็เปน็ การประเมินทม่ี งุ่ พิจารณายอ้ นหลงั สงิ่ ท่ีเกดิ ขึ้น แล้ว และนาผลการประเมินในแตล่ ะมติ ทิ ีเ่ กิดข้ึนแลว้ นี้ไปเปรียบเทยี บกับทอ่ี อกแบบกาหนดไว้ ท้ังน้ี เพ่ือสรปุ ให้เห็นภาพรวมวา่ โครงการ แผนงานหรอื สง่ิ แทรกแซงนัน้ ๆ มคี ณุ ภาพ คณุ ประโยชน์ มี ความแมน่ ยา และ มีนยั สาคญั เพียงไร 3) ลักษณะสาคัญของการประเมินมติ ิ 4 ด้านของรูปแบบการประเมนิ CIPP การ ประเมนิ มติ ิ 4 ด้านของรูปแบบการประเมนิ CIPP มีลักษณะสาคญั แตกตา่ งกนั ออกไปท้งั ในแง่ วัตถปุ ระสงค์และวธิ กี ารประเมิน รวมทัง้ ความสัมพนั ธ์ของการตดั สินใจในกระบวนการเปลย่ี นแปลง ซง่ึ สรุปความสัมพันธ์ของมิติทง้ั 4 ดา้ น จะเหน็ วา่ ถ้าเป็นการนารปู แบบการประเมิน CIPP มาใช้ ในการประเมินเปน็ ระยะ ๆ ตามมิตกิ ารประเมิน 4 ด้านน้นั เปน็ การประเมินท่ีม่งุ พจิ ารณาไปขา้ งหน้าหรอื คาดคะเนถงึ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ขึ้นและนาผลทไ่ี ด้ในแต่ละมิติไปใชเ้ พือ่ การชแี้ นะแนวทางการตัดสนิ ใจสาหรบั ดาเนนิ การในแต่ ละเร่อื ง ท้ังนเ้ี พ่ือก่อให้เกดิ ความม่นั ใจไดว้ ่าโครงการ แผนงาน หรือสิ่งแทรกแซงน้นั ๆ จะมี ประสทิ ธผิ ล ประสทิ ธภิ าพ คุม้ ค่ากับทรพั ยากรทต่ี ้องสูญเสียไป ตอบสนองความตอ้ งการจาเป็นของ กลุ่มเปา้ หมายและสามารถแก้ปัญหาที่เกดิ ขึน้ ได้ ในขณะทถ่ี า้ นารปู แบบการประเมนิ CIPP มาใช้ ประเมนิ สรุปรวมตามมติ ิการประเมินทง้ั 4 ดา้ น ก็เปน็ การประเมินท่มี ุ่งพิจารณาย้อนหลังสง่ิ ท่เี กดิ ข้ึน แล้ว และนาผลการประเมินในแต่ละมิติทเี่ กิดขึ้นแลว้ น้ีไปเปรียบเทียบกบั ทอี่ อกแบบกาหนดไว้ ทง้ั นี้ เพ่อื สรปุ ใหเ้ ห็นภาพรวมว่าโครงการ แผนงานหรอื สิ่งแทรกแซงนนั้ ๆ มคี ณุ ภาพ คุณประโยชน์ มี ความแมน่ ยา และมนี ยั สาคัญเพยี งไร
101 4) ลกั ษณะสาคัญของการประเมินมติ ิ 4 ดา้ นของรปู แบบการประเมิน CIPP การ ประเมินมิติ 4 ดา้ นของรูปแบบการประเมิน CIPP มลี ักษณะสาคัญแตกต่างกันออกไปทง้ั ในแง่ วตั ถุ ประสงค์และวิธกี ารประเมิน รวมทงั้ ความสมั พนั ธข์ องการตัดสินใจในกระบวนการเปล่ยี นแปลง ซึ่ง ลกั ษณะสาคญั ของการประเมนิ 4 มิติ 5) รปู แบบการประเมนิ CIPP มีลกั ษณะเปน็ กลยุทธเ์ ชิงระบบสาหรบั การปรบั ปรงุ เน่อื งจากรูปแบบการประเมนิ CIPP ในแต่ละมติ ขิ องการประเมินจะมีความตอ่ เนอื่ งสง่ ผลต่อกัน สาหรบั การตัดสนิ ใจเปลี่ยนแปลงปรับแต่งสว่ นตา่ ง ๆ ของโครงการหรอื กลา่ วอีกนยั หนงึ่ ไดว้ ่ารปู แบบ การประเมนิ CIPP สามารถนามาใชใ้ นฐานะกลยทุ ธ์เชิงระบบสาหรับการปรับปรงุ โครงการ แผนงาน หรอื ส่ิงแทรกแซง ซึ่งการประเมินมติ ิ 4 ดา้ นตามรูปแบบ การประเมนิ CIPP จะนามาใชส้ าหรบั การ ปรบั ปรุงการดาเนินงานในข้ันตอนต่อ ๆ ไปตามลาดบั รวมท้ัง ยงั ใชส้ าหรับการประเมินในมิตติ ่อ ๆ ไป อกี ด้วย ยกตวั อย่างเช่น ผลจากการประเมินบรบิ ททาให้ พบความต้องการจาเปน็ สาหรับการเปลยี่ น แปลงหรือปรับปรุงวัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวทาง แก้ปัญหา หลังจากนั้นกจ็ ะทาการประเมนิ ปัจจยั นาเข้า ซึ่งจะทาใหไ้ ดก้ ลยุทธท์ จ่ี ะใช้ดาเนินการแกป้ ญั หา และนาไปสู่ การพฒั นาและทดสอบภาคสนาม เกย่ี วกบั กลยุทธด์ งั กลา่ ว โดยการประเมินกระบวนการและผลผลิต ถา้ หากการประเมนิ กระบวนการ และผลผลติ ก่อให้เกดิ ความพงึ พอใจผลการปฏบิ ตั ิหรอื ดาเนนิ โครงการ ทผ่ี ่านมาก็นาไปสู่การพจิ ารณา เก่ียวกับความต้องการจาเปน็ ในการแกป้ ญั หาต่อไปตามลาดบั วัฏจักรเดิม แต่ถ้าผลการปฏิบตั ิของ โครงการไม่ก่อใหเ้ กิดความพึงพอใจหรอื แมว้ ่าพงึ พอใจแต่ความตอ้ งการจาเป็น ในการแก้ปัญหาไมเ่ ปน็ ท่ีต้องการอีกตอ่ ไปกจ็ ะนาไปสู่การยตุ ลิ ม้ เลิกการดาเนินการในที่สดุ รูปแบบการประเมิน CIPPIEST และการนาไปใช้ รปู แบบการประเมิน CIPPIEST คอื ส่วนปรบั ขยายของรปู แบบการประเมิน CIPP โดยปรับ ขยาย การประเมินผลผลิต (Product evaluation) ออกเปน็ การประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) การประเมนิ ประสิทธิผล (Effectiveness evaluation) การประเมนิ ความย่งั ยืน (Sustainability Evaluation) และการประเมินการถา่ ยทอดสง่ ตอ่ (Transportability evaluation) ของสิ่งท่ีได้รับ การประเมนิ ซึง่ มักไดแ้ ก่ โครงการ แผนงานหรือสง่ิ แทรกแซงตา่ ง ๆ โดยทสี่ ่วนขยาย ของมิตกิ ารประเมนิ ทเี่ พ่ิมขึ้นน้ีมคี วามหมายครอบคลุมรวมถงึ การประเมนิ ผลผลิตเดิมและการ ประเมินผลลพั ธ์นัน่ เอง ท้ังน้ี ความหมายของมติ กิ ารประเมินทเ่ี พ่มิ ขนึ้ พิจารณาได้จากการต้ังคาถาม การประเมิน (Evaluation questions) แตล่ ะมิติดงั นี้ 1. การประเมนิ ผลกระทบ เป็นการประเมินโดยต้งั คาถามว่า สิง่ ทผ่ี ู้รับผลประโยชน์ (จากโครงการหรือสิ่งแทรกแซง) ไดร้ ับเกนิ ไปกว่าเป้าหมายความตอ้ งการ ท่จี ะได้รับตอบสนอง ตาม ความตอ้ งการจาเปน็ น้ันคอื อะไรบ้าง คาถามน้ชี ี้ให้เหน็ ว่าไม่วา่ สง่ิ ทไ่ี ด้รบั เกินไปกว่าท่ีกาหนดไวน้ น้ั จะ เปน็ ไปในทางบวกหรอื ทางลบกล็ ว้ นแต่เปน็ ผลกระทบทัง้ ส้ิน
102 2. การประเมนิ ประสิทธผิ ล เป็นการประเมินโดยตั้งคาถามวา่ โครงการหรือส่ิง แทรกแซง บรรลุตอบสนองความตอ้ งการจาเปน็ ของกลุ่มผูร้ บั ประโยชนไ์ ด้อยา่ งครอบคลมุ หรือไม่ 3. การประเมินความย่ังยนื เป็นการประเมินโดยตง้ั คาถามว่า แนวทางการปฏิบัติ อย่าง เป็นระบบหรือเปน็ ทางการเกย่ี วกับการนาโครงการไปใช้ใหป้ ระสบผลสาเร็จอย่างย่งั ยืนคอื อะไร คาถามดงั กล่าวมุ่งพิจารณาประเมินความคงอยหู่ รือความตอ่ เน่ืองในการทาโครงการทปี่ ระสบผล สาเร็จไปใช้ รวมถงึ วธิ กี ารในการรักษาไว้ซงึ่ ความสาเรจ็ ของโครงการดังกลา่ ว 4. การประเมินการถ่ายทอดสง่ ตอ่ เป็นการประเมินโดยตั้งคาถามวา่ มีการนาโครงการ หรือ ส่ิงแทรกแซงท่ปี ระสบความสาเรจ็ ไปประยกุ ตห์ รือปรับปรุงใชใ้ นทอี่ น่ื ๆ หรอื ไม่ จะเห็นว่ามติ กิ ารประเมินที่เพมิ่ ขน้ึ ท้งั 4 ดา้ นจากการขยายการประเมนิ ผลผลติ ตาม รปู แบบ การประเมนิ CIPP เดิมนนั้ แท้จรงิ คอื การประเมินในสว่ นทีส่ ตฟั เฟิลบีมเรยี กวา่ “ผลลพั ธ์” (Outcomes) ของโครงการนั่นเอง เพียงแตเ่ ป็นการจาแนกและต้งั คาถามการประเมินให้ชดั เจนยง่ิ ข้ึน ดงั น้นั วธิ กี ารนารูปแบบการประเมนิ CIPPIEST ไปใชจ้ ึงยังคงมีลกั ษณะเช่นเดียวกับการใช้รูปแบบการ ประเมิน CIPP ทก่ี ล่าวผา่ นมาไม่ว่าจะเป็นเร่อื งเกยี่ วกบั คุณค่าของรูปแบบการประเมนิ ท้ังทีเ่ ป็นการ ประเมินเป็นระยะ ๆ และการประเมนิ สรปุ รวม เหลา่ น้เี ป็นตน้ สรปุ การประเมินแบบ CIPP และ CIPPIEST รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPPIEST ท่นี ามาใช้ในการประเมนิ สิ่งทไี่ ด้รับการประเมินควรใช้ ประเมนิ เปน็ ระยะ ๆ และประเมินสรปุ รวมโดย ใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับประเด็นย่อย ๆ ที่ต้องการประเมนิ ในแตล่ ะมติ ิ รวมทั้งใชข้ อ้ มูลทง้ั เชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ สาหรบั นามาวิเคราะห์ สรปุ ตีความผลการ ประเมนิ ทัง้ นแ้ี หล่งทม่ี าของขอ้ มลู ในการประเมนิ ก็ตอ้ ง เกบ็ รวบรวมหรือได้มาอย่างหลากหลาย ครอบคลมุ ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ทงั้ หมด ทงั้ ทเี่ ป็นทมี ผปู้ ฏิบตั ิงาน ในโครงการ ผรู้ ับผลประโยชน์จาก โครงการ ผบู้ ริหารหรือผู้เป็นเจา้ ของโครงการ รวมทง้ั ข้อมูลจากเอกสาร บนั ทึกต่าง ๆ ประกอบด้วย เชน่ กนั งานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 1. งานวิจัยในประเทศ นาซฟี ะ เจ๊ะมูดอ (2560 : บทคดั ย่อ) ไดศ้ กึ ษาการวิจัยเชิงประเมนิ โครงการเสรมิ ศกั ยภาพครูสอนตาดีกาในโรงเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้รปู แบบการประเมนิ ของเคิรก์ แพทริค ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) การวจิ ยั เชงิ ประเมินโครงการเสริมศักยภาพครสู อนตาดีกาในโรงเรียน สามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้โดยใช้รปู แบบการประเมนิ ของเคริ ์กแพทรคิ ดา้ นปฏกิ ริ ยิ าของผูเ้ ข้ารบั การ ฝึกอบรมภาพรวมมีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมาก ด้านการเรยี นร้มู ีคะแนนหลังการอบรมมคี ะแนน เฉลย่ี มากกวา่ กอ่ นอบรม อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิที่ 0.05 ด้านพฤตกิ รรมทเ่ี ปลยี่ นไปมที กั ษะการ
103 ปฏิบตั ภิ าพรวมอย่ใู นระดับปฏบิ ัตบิ ่อยครงั้ และทศั นคติหลงั การอบรมภาพรวมอยใู่ นระดบั ดีมาก และ ด้านผลลัพธท์ ่ีเกิดขน้ึ หลงั อบรมภาพรวมมคี วามคิดเหน็ อยูใ่ นระดับมาก 2) ผลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพของโรงเรยี นตาดกี าในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ดว้ ยวธิ ีการ DEA โดยอาศัยตัวแบบ CCR และ BCC พบวา่ มกี ารดาเนินงานทม่ี ีประสทิ ธิภาพถึง 24 แห่ง จาก 25 แหง่ 3) แนวทางในการ เสรมิ ศักยภาพครูสอนตาดกี าในโรงเรียนสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พบวา่ (1) ดา้ นผู้บริหารโรงเรียน ตาดีกาควรมีหลักสูตร หรอื โครงการอบรมเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาของโรงเรยี น ตาดกี า (2) การพัฒนาครตู าดีกา เปดิ โอกาสให้ครูตาดกี าไดร้ บั การพัฒนาอย่างทวั่ ถงึ ครอบคลมุ ทกุ พนื้ ที่ โดยเฉพาะครูตาดีกาทีย่ งั ไม่เคยได้รับการฝกึ อบรม และ (3) การจดั การเรียนการสอน เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพครูสอนตาดีกา ควรมกี ารนิเทศตดิ ตามการสอนอยา่ งต่อเนอ่ื ง นิรุสณา เจ๊ะบู (2560 : บทคัดยอ่ ) ได้ศกึ ษาการวิจัยเชงิ ประเมนิ โครงการพฒั นา ศักยภาพครูผู้สอนไมต่ รงวฒุ ิ ในพน้ื ท่สี ามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยประยุกตใ์ ชร้ ูปแบบการประเมิน แบบไคโร (CIRO) ผลการศึกษาพบวา่ 1) ผลการศึกษาและประเมินโครงการพฒั นาศักยภาพครผู ู้สอน ไมต่ รงวฒุ ิตามรปู แบบการประเมินผลโครงการฝึกอบรมไคโร (CIRO) พบวา่ ดา้ นบรบิ ท ดา้ นปัจจยั นาเขา้ และดา้ นปฏิกริ ิยา มีความเหมาะสมเปน็ ไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนด ดา้ นผลลัพธ์ ได้แก่ ด้านความรู้ ความเข้าใจในเน้อื หา พบว่า ในภาพรวมทุกลุ่มสาระมคี ะแนนพัฒนาการเฉล่ยี อยู่ในระดับกลาง คะแนนหลงั ฝึกอบรมสูงกว่ากอ่ นฝึกอบรมอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ในทกุ รายวิชา ผลลพั ธ์ ดา้ นระดบั พฤตกิ รรมการนาความร้ไู ปใช้ พบวา่ ในภาพรวมระดบั การนาความรู้ไปใชม้ ีระดบั การ ประเมินอยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.00 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ .33 สามารถ เรยี งลาดับด้านทมี่ ีค่าเฉลีย่ สงู ที่สดุ ดังน้ี ด้านการออกแบบและการจัดเรียนการสอน ด้านเนอ้ื หาท่ี จดั การเรยี นการสอนและดา้ นการวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามลาดับ และผลการประเมนิ ด้านผลลัพธท์ ่ีเกดิ กับครแู ละนกั เรยี น พบวา่ ครแู ต่ละกล่มุ สาระได้รบั การพัฒนาดา้ นการจัดการเรียน การสอนแลว้ สามารถนามาตอ่ ยอดได้ ส่วนดา้ นนักเรียนพบว่า นักเรียนมีทัศนคติทีด่ กี บั การเรยี นมาก ขน้ึ 2) ผลการวิเคราะห์การสมนยั ระหว่างระดบั การปฏิบัติหลังการฝึกอบรมกบั เพศ ประสบการณก์ าร ทางาน ภูมลิ าเนา และตาแหนง่ พบวา่ ระดับการปฏิบตั หิ ลังเข้ารบั การฝึกอบรมสมนยั กับเพศของครู อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 แต่สมนัยกับประสบการณ์การสอน ภมู ิลาเนา และตาแหนง่ อยา่ งไม่มีนัยสาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 เมอื่ วิเคราะหแ์ ยกเปน็ รายกลุ่มสาระพบว่า ระดบั การปฏบิ ตั ิ ทุกล่มุ สาระสมนยั กับทกุ คณุ ลักษณะอยา่ งไม่มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 3) แนวทางและขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาศกั ยภาพครไู ม่ตรงวุฒิในพนื้ ท่ี 3 จงั หวัดชายแดนภาคใตใ้ ห้มีประสิทธภิ าพ จากข้อเสนอแนะในดา้ นบริบท ควรมกี ารศึกษาและพจิ ารณาปญั หาและความต้องการของผู้เขา้ อบรม วัตถุประสงคข์ องโครงการ และความพรอ้ มของผจู้ ัดโครงการให้มีความสอดคล้องกัน ดา้ นปัจจัยนาเข้า ควรกาหนดจานวนเจ้าหน้าท่โี ครงการและวทิ ยากรให้เหมาะสมกับจานวนผู้เขา้ อบรมเพ่อื ให้ผ้เู ข้า
104 อบรมได้รบั การพัฒนาอยา่ งทั่วถงึ ด้านปฏกิ ิริยา ควรแยกผเู้ ขา้ อบรมตามชว่ งช้ันทสี่ อนและเนน้ การ พัฒนาผู้เข้าอบรมทงั้ ดา้ นเน้อื หาและทกั ษะการสอนควบคู่กัน และด้านผลลพั ธ์ ควรมีการติดตามผล หลงั ฝกึ อบรม เพื่อพฒั นาผู้เขา้ อบรมอยา่ งตอ่ เน่อื ง ปิยมาศ ฉายชูวงษ์ (2560 : บทคัดย่อ) ไดศ้ ึกษาการประเมนิ โครงการโรงเรยี นสุจรติ ของ โรงเรียนบ้านประดงู่ าม สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 โดยประยุกต์ใช้ การประเมนิ ผลรปู แบบซปิ โมเดลใน 5 ด้าน คือ ด้านบรบิ ท ดา้ นปัจจัยเบ้อื งต้น ด้านกระบวนการ ดา้ น ประสิทธผิ ล และด้านผลกระทบ กลุม่ เป้าหมายทใี่ ช้ในการวิจยั คือ ผู้บรหิ าร ครูผู้สอน นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผู้ปกครอง และผู้ทรงคุณวฒุ ิ จานวนทั้งส้นิ 59 คน ผลการวิจัย พบวา่ ด้านบริบท พบว่า ความสอดคล้องของวัตถุประสงคข์ องโครงการ ความเปน็ ไปได้ ในทางปฏิบัติ และชุมชนใหก้ ารยอมรบั ตอ่ กิจกรรมของโครงการ โดยภาพรวมผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั มากทส่ี ุด (ค่าเฉลย่ี 4.82) ดา้ นปัจจยั เบอ้ื งต้น พบว่า ความพรอ้ มและเพยี งพอ ของบคุ ลากร วัสดอุ ปุ กรณ์ เวลา และงบประมาณ โดยภาพรวมผลการประเมนิ อยู่ในระดับมาก (คา่ เฉล่ีย 4.07) ดา้ นกระบวนการ พบวา่ การบริหารจดั การ การดาเนนิ การจัดกิจกรรมและการวัดประเมินผล โดยภาพรวมผลการ ประเมนิ อยู่ในระดบั มากท่สี ดุ (ค่าเฉล่ยี 4.79) ด้านประสิทธิผล พบว่า คุณลกั ษณะสุจริตทงั้ 5 ประการ ของนกั เรียนโรงเรยี นบา้ นประดู่งาม โดยภาพรวม ผลการประเมินอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ (ค่าเฉลยี่ 4.62) ด้านผลกระทบ พบวา่ ความพงึ พอใจของผู้เกี่ยวข้อง โดยภาพรวมผลการประเมนิ อยู่ในระดับ มากท่สี ดุ (ค่าเฉลย่ี 4.83) สุธารตั น์ ศรวี าลัย (2560 : บทคดั ยอ่ ) ได้ทาการประเมนิ โครงการรกั การอ่านของ โรงเรยี นสิริรัตนาธร โดยประยกุ ตใ์ ช้รปู แบบการประเมินแบบ CPO ผลการประเมนิ โครงการรกั การ อ่านดา้ นปจั จัยพนื้ ฐานสภาวะแวดล้อม พบว่า 1) ผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ซงึ่ ผา่ น เกณฑ์การประเมิน เมื่อพจิ ารณาแต่ละประเด็น พบว่า ความตอ้ งการจาเปน็ ของโครงการอยู่ ในระดบั มาก ความเป็นไปไดข้ องโครงการอยู่ในระดับ มาก วัตถุประสงคข์ องโครงการมคี วามเหมาะสมอยู่ใน ระดับ มาก และความพร้อมของทรัพยากรของโครงการอยใู่ นระดับ มาก เชน่ กัน 2) ผลการประเมิน โครงการรักการอา่ นด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิระหวา่ งดาเนนิ โครงการ พบวา่ ผลการประเมินในภาพ รวมอยู่ในระดับ มาก ซงึ่ ผ่านเกณฑ์การประเมินเมอื่ พิจารณาแต่ละประเด็น พบวา่ กจิ กรรมการ ดาเนินงานของโครงการและช่วงเวลาการดาเนนิ งานของโครงการมีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก ทงั้ สองประเดน็ 3) ผลการประเมนิ โครงการรกั การอ่านดา้ นผลผลิต พบวา่ ผลการประเมนิ ในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก ซงึ่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ เม่ือพจิ ารณาแตล่ ่ะประเดน็ พบว่า นักเรยี นมนี ิสัย รักการอ่านอยใู่ นระดบั มาก และมีความพงึ พอใจต่อโ่ ครงการอยใู่ นระดับ มาก เช่นกนั เสาวนยี ์ ตาดา (2560 : บทคัดยอ่ ) ได้ศกึ ษาการประเมนิ โครงการการจัดการศกึ ษาตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
105 กาแพงเพชร เขต 1 พบว่า 1) ผลการประเมนิ พบวา่ โดยภาพรวมผลการประเมนิ โครงการอยู่ในระดบั มาก ผลการประเมินดา้ นปัจจยั นาเขา้ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก เมือ่ พิจารณารายด้านพบว่า ค่าเฉลีย่ สูงสุด คือครูผู้สอน ค่าเฉล่ยี ต่าสุด คอื งบประมาณ ด้านกระบวนการดาเนนิ งาน ผลการ ประเมินโดยภาพ รวมอยใู่ นระดบั มาก เมอื่ พิจารณารายดา้ นพบวา่ ค่าเฉล่ียสูงสุดคอื การแกไ้ ขปรบั ปรงุ การดาเนินกจิ กรรม ค่าเฉล่ยี ต่าสุด คือการตรวจติดตาม ด้านผลผลติ ผลการประเมินโดยภาพรวมอยใู่ น ระดบั มาก เมอื่ พิจารณารายดา้ นคา่ เฉลยี่ สูงสดุ คอื ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ค่าเฉล่ยี ต่าสดุ คอื นกั เรยี น 2) แนวทางพัฒนาโครงการการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของ สถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 พบว่า ดา้ นปัจจยั นาเข้าของโครงการ ควรมีการวางแผนงบประมาณครอบคลุมตามกิจกรรมโดยใชห้ ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ด้านการดาเนนิ กิจกรรมของโครงการ ควรมีการวดั ผลประเมินผลครอบคลุมความรู้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวดั ผล ประเมินผลด้วยวธิ ีการทเี่ หมาะสมในแต่ละกจิ กรรม ด้านผลผลิตของโครงการ พบว่า ควรให้นักเรียน ได้ฝกึ การวเิ คราะหแ์ ละประพฤติปฏิบตั ิตนด้วยความรอบคอบ ระมดั ระวงั มีเหตุผลและภูมิคมุ้ กนั ท่ีดี แสงเพ็ชร แสงจนั ทร์ (2560 : บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ กึ ษาแนวทางการพฒั นาสมรรถนะครู อาชวี ศึกษาในจงั หวัดเชียงราย ผลการศึกษา พบว่า 1) ความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะครู อาชวี ศึกษาในจงั หวดั เชยี งราย โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากเมอ่ื พิจารณารายด้าน พบวา่ ดา้ นทีม่ ี ระดับความต้องการสูงสุด มี 2 ด้าน คือ ดา้ นการพฒั นาตนเองและด้านการบริหารหลักสูตรและการ จัดการเรยี นรู้ ตามลาดับ รองลงมา คือ ดา้ นภาวะผนู้ า ส่วนดา้ นท่ีมีความต้องการต่าสุด คอื ด้านการ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์และการวิจยั เพ่ือพฒั นาผู้เรยี น 2) แนวทางการพฒั นาสมรรถนะครอู าชีวศึกษา ในจงั หวัดเชยี งราย ทัง้ 5 ด้าน มีดังน้ี 2.1) ดา้ นการพัฒนาตนเอง 2.1.1) ควรส่งเสรมิ ใหผ้ บู้ รหิ ารมกี าร พฒั นาตนเอง โดยการเข้ารับการอบรมสมั มนาต่าง ๆ รวมไปถงึ พฒั นาคนในองค์กรและควรส่งเสริมครู ให้เข้ารว่ มอบรมหรอื เขา้ ร่วมสมาชกิ ในกล่มุ เพื่อแลกเปลย่ี นเรยี นรู้เกีย่ วกบั ประสบการณ์ในการดาเนิน ธุรกิจในกลมุ่ ครอู าชีวศึกษาหรือสถานประกอบการและครูควรไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะด้านทกั ษะ ภาษาตา่ งประเทศ 2.2) ด้านการบริหารหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้ 2.2.1) ควรจัดให้มกี ารเรียน การสอนท่ีหลากหลายรปู แบบ และสอดคลอ้ งกับการพัฒนาประเทศและความต้องการของแรงงานใน สถานประกอบการ ควรจัดหลักสตู รให้ผู้เรียนได้เนน้ การฝกึ ประกอบธรุ กจิ ตั้งแตว่ ยั เรียน กระตุ้นความ สนใจต่อการประกอบธุรกจิ เปน็ แนวทาง ในการหารายได้ต้งั แตว่ ัยเรียน ควรเสริมแรงจงู ใจใน การศึกษาด้านทักษะทีส่ อน ส่งเสริมให้ครูจัดทาชดุ การเรียนใหม้ ากข้นึ มุ่งเนน้ หลกั สูตรที่สนองตอบต่อ ความต้องการของสถานประกอบการในท้องถิน่ และจดั ทาหลกั สตู รการพัฒนาดา้ นภาษาแทรกลงใน สาขาวชิ าต่าง ๆ 2.3) ด้านการวเิ คราะห์ สังเคราะห์และการวจิ ัยเพ่อื พฒั นาผ้เู รียน 2.3.1) ควรเน้นการ พฒั นาด้านการวจิ ัยเชิงปฏบิ ัตกิ ารทจี่ ะสามารถนาผลการวจิ ยั มาวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ให้เกดิ ประโยชน์
106 และต่อยอดใหเ้ ป็นผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถใชป้ ระโยชนห์ รือจาหนา่ ยไดจ้ ริง ควรมีการพฒั นาหลักสูตรให้ เหมาะสมกบั ผู้เรยี น สง่ เสริมให้ครูเห็นความสาคัญและเข้าใจในการทาวิจัยให้มากขน้ึ โดยจดั หาทนุ วิจยั สาหรับนักศกึ ษาที่สนใจในการทาวิจัย 2.4) ด้านภาวะผนู้ า 2.4.1) ควรส่งเสรมิ ให้ครูเข้ารว่ มอบรม เก่ยี วกบั การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมภาวะผนู้ าให้กบั ครอู ย่างตอ่ เน่ือง ซ่งึ จะเปน็ ผลตอ่ เน่อื งไปยงั ผู้เรียน ใหเ้ ป็นผู้เรยี นท่ดี ี มีความพร้อมเขา้ สตู่ ลาดแรงงานได้อยา่ งมีคณุ ภาพ ควรสง่ เสรมิ ใหค้ รูและบุคลากร มกี ารพัฒนาตนเองตามสาขาวชิ าท่ีสอนและก่อต้ังชมรมวชิ าชีพครูในแต่ละสาขาวิชาและส่งเสรมิ ให้ครู เป็นผู้นาทางวิชาการใหม้ ากขน้ึ ตน้ สังกดั ควรมีการสร้างแรงจงู ใจใหค้ รูกระตุ้นใหค้ รูมกี ล้าแสดงออก และการนาเสนออย่างมเี หตุผล 2.5) ดา้ นการสรา้ งความสมั พันธแ์ ละความร่วมมอื กบั ชมุ ชนเพื่อการ จดั การเรยี นรู้ 2.5.1) สถานศกึ ษาควรร่วมมอื กบั สถานประกอบการในชุมชน โดยการสง่ บคุ ลากรรว่ ม จดั ทาหลักสูตรการเรียนร่วมกันและมกี ารแลกเปลย่ี นร่วมกันและมกี ารเขา้ ถงึ ชุมชนผ่านการลง ปฏิบตั งิ านตา่ ง ๆ ของครอู าชวี ศกึ ษา เชน่ โครงการ Fixit Center และให้ครเู ข้ารับการฝกึ ประสบการณก์ บั สถานประกอบการในชมุ ชน รวมทัง้ การระดมทรัพยากร ความรู้ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ จาก ชมุ ชนมาเพิ่มประสิทธภิ าพ การจัดการเรียนการสอนใหไ้ ด้ผลดียง่ิ ขนึ้ ได้ และควรมกี ารเปลีย่ นและ พัฒนาตนเองเพอ่ื เอาอาชีพใหม่ๆ มาสู่ชุมชนเร่ือย ๆ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของชุมชนและ ตลาดแรงงาน อุทยั เพช็ รหนิ (2560 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการประเมินการดาเนินโครงการโรงเรียนดี ศรีตาบล สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ผลการวิจยั พบว่า 1) การประเมนิ โครงการโรงเรียนดศี รตี าบล สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา กาแพงเพชร เขต 2 เมอ่ื พจิ ารณาโดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลยี่ รวมอยู่ในระดบั มาก เมอื่ พิจารณาเป็น รายด้าน พบวา่ ดา้ นท่ีมีค่าเฉลย่ี มากทส่ี ุด คือ ด้านกระบวนการ (Process) ปลกู ฝังนสิ ยั นักเรยี น รองลงมา คือ ดา้ นผลผลิต (Output) และด้านทีม่ ีค่าเฉลี่ยนอ้ ยทสี่ ดุ คือ ด้านปจั จัย (Input) 2) แนวทางพฒั นาโครงการโรงเรียนดีศรีตาบล สังกัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา กาแพงเพชร เขต 2 มีดงั นี้ จดั ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน เปิดประชาพจิ ารณ์รับฟงั ความคิดเห็นของทุกฝ่ายและขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา เปิดเวทีสัมภาษณ์ ผเู้ ก่ียวข้องใหม้ โี อกาสในการเสนอแนะเปา้ หมายการพฒั นานักเรียนและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ ผ้เู ก่ยี วข้อง สร้างความตระหนักให้กับผู้เก่ยี วขอ้ งเห็นถึงความสาคญั ประชาสัมพันธ์ กระตุน้ สรา้ ง แรงจูงใจให้ชมุ ชน หนว่ ยงานผู้เกีย่ วข้อง เหน็ ถึงความสาคญั ในการพัฒนาการศึกษา จัดทาเครือขา่ ย ผู้ปกครอง ศษิ ย์เกา่ ในเรื่องการระดมทุนเพื่อพัฒนาสถานศกึ ษา สรรหาบุคลากรทม่ี คี วามเชย่ี วชาญใน ดา้ นเทคโนโลยเี ข้ามาดแู ล บารงุ รักษา ซอ่ มแซมให้สื่อและบริการทางอินเตอรเ์ น็ตพร้อมใชง้ าน พัฒนาผลิตภณั ฑ์ให้ตรงความต้องการของตลาด นาผลงานออกสตู่ ลาด จัดแสดงผลงานในงานตา่ ง ๆ เปดิ ร้านค้าชุมชน อบรมให้ความรู้กับบคุ ลากรทีร่ ับผดิ ชอบงานดา้ นเทคโนโลยี เพือ่ พัฒนาการจัด
107 กระบวนการเรยี นรู้ สามารถอัพเกรดและบารุงรักษาส่ือเทคโนโลยีใหพ้ ร้อมใชง้ าน กากับนเิ ทศตดิ ตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู ให้มีกจิ กรรมทหี่ ลากหลายโดยเนน้ ผ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลาง จัดจ้างวทิ ยากรที่มีความรู้ความสามารถมาให้ความรู้แกน่ ักเรียนประจาที่สถานศกึ ษา สร้างสังคม การส่ือสารให้ใชภ้ าษาอังกฤษหรอื ภาษาอาเซยี นในทกุ ๆ ที่ อย่างสม่าเสมอ พมิ พว์ ภิ า บารงุ ทรัพย์ (2561 : บทคดั ยอ่ ) ได้ประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะของ โรงเรยี นอนบุ าลราชบรุ ี โดยใช้รปู แบบการประเมิน CIPPI พบวา่ 1) ด้านบรบิ ท มีความเหมาะสม สอดคล้องอยใู่ นระดบั มาก วตั ถปุ ระสงคข์ องการจัดทาโครงการมีความสอดคล้องกับปัญหาด้านขยะ ของโรงเรยี น โครงการโรงเรยี นปลอดขยะมีความ สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานโรงเรยี น มาตรฐานดา้ นส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษา และมคี วามสอดคล้อง กบั วิสยั ทัศนพ์ นั ธกจิ และเป้าหมายของ โรงเรยี น 2) ด้านปจั จยั นาเขา้ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์งบประมาณ มีความเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก 3) ด้านกระบวนการ การดาเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ประกอบดว้ ย กจิ กรรม Big Cleaning กิจกรรมการคดั แยกขยะ กิจกรรมน้าหมักชีวภาพ และ กจิ กรรมขยะรไี ซเคิล ทกุ กจิ กรรมมคี ณุ ภาพ การดาเนินงานอยใู่ นระดับมาก 4) ดา้ นผลผลติ นักเรียนมคี วามรใู้ นการจดั การขยะ สูงว่าเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้รอ้ ยละ 60 การปฏิบตั ใิ นการจัดการขยะของนักเรียนอยใู่ นระดับปานกลาง ความคิดเห็น ของครทู ีม่ ีตอ่ ผลสาเร็จ ของการดาเนนิ โครงการ อย่ใู นระดบั มาก 5) ดา้ นผลกระทบ จิตสานึกในการ รกั ษาสิง่ แวดล้อมของนักเรียน อยู่ในระดบั ปานกลาง ความพึงพอใจในการดาเนนิ โครงการของ ผปู้ กครอง อยูใ่ นระดบั มาก ยุวดี คาเงิน (2561 : 142) ได้ทาการศึกษาการประเมินโครงการพฒั นาจิตสาธารณะของ นักเรียนในโรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 พบวา่ 1) ผลการประเมิน ด้านบรบิ ทของโครงการพฒั นาจติ สาธารณะของนักเรียนในโรงเรียน ตามความคดิ เหน็ ของผู้บรหิ ารครู และคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 23 มีความ สอดคล้องของวัตถุประสงค์กับนโยบาย และเป้าหมายของโครงการ โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก 2) ผลการประเมนิ ดา้ นปจั จัยนาเข้าของโครงการพัฒนาจติ สาธารณะของนกั เรียนในโรงเรียนตามความ คิดเหน็ ของผบู้ รหิ าร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 23 มคี วามพร้อมหรอื เหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ผลการประเมินดา้ น กระบวนการของโครง การพฒั นาจิตสาธารณะของนักเรียนในโรงเรียน ตามความคิดเหน็ ของผูบ้ รหิ าร ครู และคณะกรรมการสถานศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 มคี วาม เหมาะสมของการดาเนินงานโดยรวมอยูใ่ นระดบั มาก 4) ผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการ พัฒนาจติ สาธารณะของนกั เรียนในโรงเรียนตามความคดิ เหน็ ของผบู้ รหิ าร ครู และคณะกรรมการ สถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 23 มีประสิทธิภาพของการ ดาเนนิ งาน โดยรวมอยู่ในระดบั มาก 5) แนวทางการพัฒนาการดาเนินโครงการพฒั นาจติ สาธารณะ
108 ของนกั เรียนในโรงเรยี น สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 23 ควรนาไปพฒั นา ท้ัง 4 ด้าน ชรินทรท์ ร บุญมา (2562 : บทคัดย่อ) ซึง่ ได้ศกึ ษาการประเมนิ โครงการสง่ เสริมนักธรุ กิจ นอ้ ย มคี ณุ ธรรม นาสู่เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ของสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานพ้ืนท่ีการศึกษาประถม ศกึ ษาเชียงรายเขต 3 โดยใช้การประเมนิ ซิปป์ (CIPP Model) พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เม่อื เทยี บกับเกณฑ์การตัดสนิ ถือวา่ ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ด้านบริบท ผลการประเมินโดยรวมอยใู่ นระดบั มากทกุ ด้าน ด้านปจั จยั นาเขา้ ผลการประเมินโดยรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง ด้านกระบวนการ ผลการประเมนิ โดยรวมอยูใ่ นระดบั มากทกุ ดา้ น และด้านผลผลิต ผลการประเมินโดยรวมอยู่ในระดบั มากทกุ ดา้ น วทิ วฒั น์ บูระพนั ธ์ (2562 : บทคดั ยอ่ ) ได้ศกึ ษาการประเมินโครงการหอ้ งเรยี นพิเศษ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นราชวินติ มธั ยม โดยใชก้ ารประเมนิ แบบซิปป์ (CIPP Model) ผลการวจิ ัยพบว่า ผลการประเมินในภาพรวมตอ่ โครงการห้องเรียนพเิ ศษ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นราชวินิตมธั ยม โดยการใช้รปู แบบประเมนิ ซปิ ปโ์ มเดล (CIPP Model) มีทงั้ หมด 4 ฉบับ ดังน้ี ฉบบั ท่ี 1 สาหรบั ผู้บริหารและครผู ู้รับผดิ ชอบโครงการ ผลการประเมินในภาพรวมทง้ั 4 ดา้ น คอื ด้าน บริบท มผี ลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด (X 4.58, S.D. 0.42) ดา้ นปจั จัย นาเข้า มีผลการประเมินโดยในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (X 4.41, S.D. 0.66) ด้านกระบวนการ มีผลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก (X 4.46, S.D. 0.41) และด้านผลผลติ มีผลการ ประเมนิ โดยในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก (X 4.48, S.D. 0.54) ตามลาดับ ฉบบั ที่ 2 สาหรับ ครผู สู้ อนในโครงการผลการประเมินในภาพรวมทั้ง 4 ดา้ น คอื ด้านบริบทมีผลการประเมินโดยในภาพ รวมอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด (X 4.51, S.D. 0.47) ดา้ นปจั จยั นาเขา้ มีผลการประเมนิ โดยในภาพ รวมอยใู่ นระดบั มาก (X 4.40, S.D. 0.48) ด้านกระบวนการมีผลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยู่ ในระดับดีมาก (X 4.48, S.D. 0.36) ด้านผลผลิตมีผลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยู่ในระดับ มากท่สี ุด (X 4.55, S.D. 0.28) ตามลาดับ ฉบบั ท่ี 3 สาหรบั นกั เรยี นในโครงการ ผลการประเมิน ในภาพรวมท้งั 3 ด้าน คอื ด้านปัจจัยนาเข้ามีผลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก (X 4.45, S.D. 0.46) ด้านกระบวนการมผี ลการประเมินโดยในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด (X 4.51, S.D. 0.28) ด้านผลผลติ มผี ลการประเมินโดยในภาพรวมอยใู่ นระดับมากทสี่ ุดดงั นี้ (X 4.63, S.D. 0.23) ตามลาดับ ฉบับท่ี 4 สาหรับศึกษานเิ ทศก์ และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผลการประเมนิ ในภาพรวมทั้ง 3 ดา้ น คือ ดา้ นปัจจัยนาเขา้ มผี ลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยใู่ น ระดบั มาก (X 4.50, S.D. 0.46) ด้านกระบวนการมผี ลการประเมินโดยในภาพรวมอยใู่ นระดับ
109 มาก (X 4.49, S.D. 0.47) ด้านผลผลติ มีผลการประเมนิ โดยในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (X 4.49,S.D. 0.42 ) ตามลาดบั 2. งานวจิ ยั ต่างประเทศ เนเกล Nagel (2004 : 114) ไดว้ ิจยั เร่อื ง การประเมินผลหลกั สูตรบริหารการศึกษา ดุษฎบี ัณฑติ มหาวิยาลยั อาครอน พบว่า ดษุ ฎีบัณฑิตส่วนใหญ่มคี วามพอใจในประสบการณท์ ่ไี ด้รบั จากหลักสูตรและหลังจากท่สี าเรจ็ จากการศกึ ษาไปทางานแล้ว ผลปรากฏว่า งานในหนา้ ทม่ี ีความ ก้าวหนา้ ไปอย่างดแี ละควรมกี ารสรา้ งแผนงานในการทางานติดตอ่ ประสานกนั ระหวา่ งวิทยาลัย และ ดษุ ฎีบณั ฑติ ท่ีสาเร็จการศึกษาไปแลว้ นิโคลสนั และโจเซฟ Nicholson and Joseph (1998 : 55) ไดว้ ิจยั ถึงอทิ ธพิ ลของ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นท่ีมผี ลต่อคุณภาพของครู โดยสรุปไวว้ ่า ในการพัฒนาคุณภาพของครนู นั้ ผูบ้ รหิ ารทมี่ ี ความสามารถเข้าใจบทบาทหน้าทไ่ี ดด้ แี ละยอมรบั การเปลีย่ นแปลงในโรงเรียน จะมอี ทิ ธพิ ลและส่งผล เจตคตแิ ละการยอมรบั การเปลย่ี นแปลงของครดู ้วย เพไฮ Pehi (2014 : 388) อ้างถึงใน ปยิ มาศ ฉายชวู งษ์ (2560 : 73) ได้ศกึ ษา การประเมนิ สมรรถภาพครใู นโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาของอเมรกิ า ซามวั โดยมีจดุ หมายเพอ่ื ประเมิน สมรรถภาพด้านการจัดการเรยี นการสอน ของครูทีม่ วี ฒุ กิ ารศึกษาระดบั ปริญญาตรแี ละต่ากว่า ปรญิ ญาตรี และครูทมี่ ีประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี และนอ้ ยกว่า 10 ปี โดยใช้แบบสงั เกต พฤติกรรมครู ผลการวจิ ัยพบว่า โดยภาพรวมครูมีสมรรถภาพในระดบั ทีเ่ หมาะสม และเมอ่ื เปรียบเทยี บครูทัง้ 2 กลุม่ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างไมม่ นี ยั สาคญั ทางสถิติ ดวอราซิก Dworaczyk (1998 : Abstract) ได้ประเมนิ ความพยายามในการ เปลย่ี นแปลงในแผนกบรรณารกั ษ์ ของมหาวทิ ยาลยั แห่งหน่ึง โดยมคี วามมงุ่ หมายเพือ่ ประเมนิ ความ พยายามในการเปลย่ี นแปลงเฉพาะอย่าง ในห้องสมดุ มหาวทิ ยาลัย ซึ่งเกดิ ข้ึนระหว่างปี 1996 – 1997 โดยใช้รูปแบบการประเมินของสตัฟเฟิลบิม ซึง่ เป็นกรอบแนวคดิ ในการประเมินกระบวนการทัง้ หมด ซึง่ รวมถึงรปู แบบการจัดการเฉพาะ ท่ีผ้ใู ห้คาปรึกษานาเขา้ มาใช้ ความพยายามในการเปลี่ยนแปลง ทง้ั หมด ผ้วู ิจยั อธบิ ายว่า เปน็ สมาชิกของทีมร่วมวจิ ยั และประเมินด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลสะท้อน กลบั จากสมาชิกของทีม สมาชกิ ของคณะหอ้ งสมุด ซ่งึ ผลกระทบจากความพยายามและจากสมาชิก ของฝา่ ยบริหารหอ้ งสมุด ผลการศกึ ษา พบวา่ มอี งคป์ ระกอบจานวนมาก ท่ีจาเปน็ สาหรบั ความพยายามในการ เปลยี่ นแปลงเพอ่ื ให้เกดิ ผลสาเร็จ องคป์ ระกอบสาคญั ประการหน่งึ เพอ่ื ความสาเร็จ คือ การสนับสนุน จากฝา่ ยบรหิ ารอยา่ งเป็นทางการน้นั การสนับสนนุ ควรจะรวมไปถงึ ทรัพยากรท่เี พยี งพอ เวลา และ ระดบั เสรภี าพ ทีจ่ ะปฏิบัติภาระงานทจี่ าเป็น การสนับสนนุ ระหวา่ งคณะหอ้ งสมดุ เกยี่ วข้องกบั ความ
110 พยายามในการเปลีย่ นแปลง รวมทง้ั ผ้ทู ่ไี ด้รับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงนั้น มีความสาคญั เชน่ กัน การสนบั สนนุ เชน่ น้ัน สามารถเพิม่ พนู ข้นึ ไดจ้ ากการสื่อสารกบั ความเข้าใจท่ีชดั เจนเกี่ยวกบั เหตุผลของ ความพยายามในการเปลี่ยนแปลง ตามความเขา้ ใจและการเกี่ยวข้องกับคณะบรรณารักษอ์ ย่าง ตอ่ เนอื่ ง ตลอดความพยายามในการเปลีย่ นแปลงนนั้ จากการศึกษาเอกสาร และงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้อง ผรู้ ายงานได้นาเสนอมาตามลาดบั แสดง ให้เหน็ ว่า การพัฒนาสมรรถนะหลกั ได้แก่ การมงุ่ ผลลัพธ์ การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเปน็ ทมี และสมรรถนะประจาสายงาน ได้แก่ การออกแบบการเรียนรู้ การพฒั นาผูเ้ รยี น และการบริหารจัดการช้นั เรยี นเพ่อื เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครนู ้ัน โรงเรียน มบี ทบาทท่ีสาคญั ในการพฒั นาครู โดยใชก้ ลยุทธห์ รือกจิ กรรมต่าง ๆ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะ ประกอบ ด้วยการใหข้ อ้ มูลข่าวสาร การสรา้ งทีมงานคุณภาพ การสร้างแรงจูงใจในการปฏบิ ตั งิ าน การอบรมครู ให้มที กั ษะในการใชค้ อมพิวเตอร์ การจดั ฝกึ อบรมครู ในการออกแบบการเรยี นรู้ การจัดฝกึ อบรมครู ด้านการทาวจิ ัยในช้นั เรียน การศกึ ษาดงู าน การประเมินหอ้ งเรยี นมาตรฐาน การประเมิน ประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั ิงาน การนเิ ทศตดิ ตาม และประเมินผล ดังนั้นผูร้ ายงานจงึ ใช้รปู แบบการ ประเมนิ โครงการทีเ่ หมาะสม คือ รูปแบบ CIPP Model ของแดเนียล แอล สตฟั เฟิลบีม (Daniel L. Stufflebream) ซึ่งเปน็ การประเมนิ โครงการท่ีครบวงจรใหข้ อ้ มลู รอบดา้ นในการตดั สินใจ ในการ บริหารงานในโรงเรยี นไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ จงึ ได้นาแนวคิดดงั กล่าวมาจัดทาโครงการพฒั นา สมรรถนะเพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครู โรงเรยี นวัดสลักได
บทที่ 3 วิธีการประเมนิ โครงการ การประเมินโครงการพฒั นาสมรรถนะครู เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิงานของ ขา้ ราชการครูโรงเรยี นวดั สลกั ได ผ้รู ายงานได้ดาเนินการตามข้นั ตอน ซึ่งไดน้ าเสนอตามลาดับหวั ข้อ ดงั น้ี 1. รูปแบบการประเมินโครงการ 2. วิธีการประเมนิ โครงการ 3. กลุม่ เป้าหมาย 4. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ประเมินโครงการ 5. วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 7. สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู รูปแบบการประเมนิ โครงการ การประเมินโครงการพฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัติงาน ของขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ในคร้งั น้ี ผรู้ ายงานใช้รปู แบบการประเมนิ โครงการแบบซิป (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) มาเปน็ กรอบในการประเมนิ ซง่ึ ประกอบด้วย 1. การประเมินดา้ นสภาพแวดล้อม (Context Evaluation : C) 2. การประเมนิ ดา้ นปัจจยั เบ้ืองตน้ (Input Evaluation : I) 3. การประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P) 4. การประเมนิ ด้านผลผลิต (Product Evaluation : P) วธิ กี ารประเมนิ โครงการ วธิ กี ารประเมินโครงการ ผู้รายงานได้กาหนดตวั แปรทมี่ งุ่ ประเมนิ และกรอบแนวทางในการ ประเมนิ โครงการ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ตวั แปรที่มุ่งประเมนิ ในการประเมนิ ครั้งนี้ มปี ระเดน็ การประเมิน ดังน้ี 1.1 ประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการในประเด็นต่อไปน้ี 1.1.1 สภาพแวดลอ้ มทั่วไปของโรงเรยี น 1.1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
112 1.2 ประเมินปจั จัยเบอ้ื งต้นของโครงการในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1.2.1 บคุ ลากร 1.2.2 งบประมาณ 1.2.3 วัสดอุ ุปกรณ์ 1.2.4 การบรหิ ารจัดการ 1.3 ประเมนิ กระบวนการในการดาเนนิ โครงการในประเด็นต่อไปน้ี 1.3.1 การใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร 1.3.2 การสร้างทมี งานคณุ ภาพ 1.3.3 การสร้างแรงจงู ใจในการปฏิบตั ิงาน 1.3.4 การจัดฝกึ อบรมครูในการใช้คอมพวิ เตอร์ 1.3.5 การจัดฝกึ อบรมครใู นการออกแบบการเรียนรู้ 1.3.6 การจัดฝกึ อบรมครูในการทาวจิ ัยในชัน้ เรยี น 1.3.7 การศกึ ษาดูงาน 1.3.8 การประเมินหอ้ งเรียนมาตรฐาน 1.3.9 การประเมินประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั งิ าน 1.3.10 การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 1.4 ประเมนิ ผลผลติ ของโครงการในประเดน็ ต่อไปนี้ 1.4.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.4.2 การเปรียบเทียบผลการพัฒนาสมรรถนะกอ่ นและหลงั ดาเนินโครงการ 2. กรอบแนวทางการประเมนิ การประเมินโครงการในครั้งน้ี ผู้รายงานได้วิเคราะห์ และสร้างเป็นกรอบแนวทางการประเมิน ดังแสดงในตาราง 3.1 ตาราง 3.1 กรอบแนวทางการประเมนิ โครงการ วตั ถุประสงค์ ขอ้ มลู แหล่งขอ้ มลู เคร่อื งมือ วิธีการ เกณฑ์ ของการประเมนิ ทตี่ อ้ งการทราบ ทใ่ี ช้ประเมิน วเิ คราะหข์ ้อมูล การประเมิน 1. เพ่ือประเมิน ความเหมาะสม - สภาพแวดล้อม ดา้ นสภาพ ดา้ นสภาพ - คณะกรรม - แบบ - คานวณ แวดลอ้ มของ แวดล้อมทั่วไป x > 3.50 โครงการ - วตั ถุประสงค์ การสถานศึกษา สอบถาม หาคา่ เฉลย่ี ของโครงการ ข้นั พืน้ ฐาน - คานวณหาคา่ - คณะกรรมการ สว่ นเบย่ี งเบน บริหารโรงเรยี น มาตรฐาน
113 ตาราง 3.1 (ตอ่ ) วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ มูล เคร่ืองมือ วิธีการวิเคราะห์ เกณฑ์ ของการ ทีต่ อ้ งการทราบ ข้อมูล การประเมนิ ประเมิน แหล่งขอ้ มูล ทใ่ี ช้ ความเหมาะสม 2. เพอ่ื ประเมนิ ด้าน ประเมนิ ดา้ นปัจจัย - บุคลากร เบ้อื งต้น - งบประมาณ - คณะ - แบบ - คานวณ - สภาพปจั จัย ของโครงการ - วสั ดอุ ปุ กรณ์ หาคา่ เฉลีย่ เบื้องต้น - การบริหาร กรรมการ สอบถาม - คานวณ จดั การ หาค่า x > 3.50 สถานศึกษา ส่วนเบ่ยี งเบน มาตรฐาน ข้นั พ้ืนฐาน - คณะ กรรมการ บรหิ าร โรงเรียน 3. เพ่ือประเมิน ความเหมาะสม - คณะ - แบบ - คานวณ - สภาพ ด้านกระบวนการ ดา้ น หาคา่ เฉลย่ี กระบวนการ ในการดาเนิน - การจัดกิจกรรม กรรมการ สอบถาม - คานวณหาคา่ โครงการ ตามโครงการ ส่วนเบย่ี งเบน x > 3.50 10 กิจกรรม สถานศึกษา มาตรฐาน ขน้ั พื้นฐาน - คณะ กรรมการ บริหารโรงเรยี น 4. เพอ่ื ประเมนิ 1. การบรรลุ - ครผู ้สู อน - แบบ คานวณ ผลผลิต ผลผลิตของ วัตถปุ ระสงค์ - หาค่าร้อยละ - รอ้ ยละ 80 โครงการ ของโครงการ ประเมนิ - หาค่าเฉลยี่ ข้ึนไป - ประสิทธภิ าพ - หาคา่ ที การปฏิบตั งิ าน - x > 2.79 - คุณภาพการ - มีนยั สาคัญ ปฏบิ ัตงิ าน ทางสถิติ 2. การเปรยี บ ท่รี ะดบั .05 เทยี บผลการ พัฒนาสมรรถนะ ก่อนและหลงั ดาเนินโครงการ
114 กลุ่มเปา้ หมาย การประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงานของขา้ ราชการ ครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ในครงั้ น้ีประกอบด้วยกล่มุ เปา้ หมาย ดงั นี้ 1. ข้าราชการครู/ครผู สู้ อน โรงเรียนวัดสลกั ได จานวน 3 คน 2. คณะกรรมการสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั สลกั ได จานวน 9 คน ประกอบด้วย 2.1 ผู้แทนองคก์ รชมุ ชน จานวน 1 คน 2.2 ผแู้ ทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น จานวน 1 คน 2.3 ผแู้ ทนศิษยเ์ ก่า จานวน 1 คน 2.4 ผู้ทรงคณุ วุฒิ จานวน 2 คน 2.5 ผ้แู ทนครู จานวน 1 คน 2.6 ผู้แทนพระภิกษสุ งฆ์ จานวน 1 คน 2.7 ผแู้ ทนผู้ปกครอง จานวน 1 คน 2.8 ผอู้ านวยการสถานศึกษา จานวน 1 คน 3. คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น ทีไ่ มใ่ ช่ผูต้ อบแบบสอบถามเพ่ือหาคุณภาพเครอื่ งมอื จานวน 20 คน ประกอบดว้ ย 3.1 ผู้อานวยการโรงเรยี น จานวน 1 คน 3.2 ผู้แทนครู จานวน 3 คน 3.3 ผู้แทนหวั หน้ากลุ่มสาระวชิ า จานวน 3 คน 3.4 ผ้แู ทนผปู้ กครอง จานวน 10 คน 3.5 ผู้แทนชุมชน จานวน 3 คน เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมิน 1. ลักษณะเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมิน ลกั ษณะเคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการประเมินโครงการพฒั นาสมรรถนะเพ่อื เพ่ิมประสิทธิภาพ ในการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลักไดในครงั้ นี้ ผู้รายงานไดส้ ร้างและพฒั นาขน้ึ มี ทงั้ หมด 2 ชนิด ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบประเมิน 1.1 แบบสอบถาม มที งั้ หมด 3 ฉบบั ไดแ้ ก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ จานวน 10 ข้อ เพื่อสอบถามคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน โดย กาหนดใหค้ ะแนนความเหมาะสม ดังนี้
115 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมมากท่ีสุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ยทีส่ ดุ ฉบบั ท่ี 2 แบบสอบถามความเหมาะสมดา้ นปัจจยั เบ้อื งตน้ ของโครงการ จานวน 10 ขอ้ เพื่อสอบถามคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐานและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน โดยกาหนดให้คะแนนความเหมาะสม ดังนี้ 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมมากที่สดุ 4 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ย 1 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อยท่สี ุด ฉบับท่ี 3 แบบสอบถามความเหมาะสมดา้ นกระบวนการในการดาเนนิ โครงการ จานวน 10 ขอ้ เพื่อสอบถามคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน โดยกาหนดให้คะแนนความเหมาะสม ดังน้ี 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมมากท่ีสุด 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยทส่ี ุด 1.2 แบบประเมนิ ประเมนิ คณุ ภาพด้านผลผลติ โครงการ จานวน 7 สมรรถนะ 22 ตัว บ่งช้ี เพอ่ื ประเมนิ คณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ าน (สมรรถนะ) ครผู สู้ อน โดยกาหนดใหค้ ะแนนการประเมนิ ดงั นี้ ระดบั 1 หมายถงึ มคี ุณภาพน้อย หรือ ควรปรับปรงุ ระดบั 2 หมายถึง มคี ุณภาพพอใช้ หรอื ปานกลาง ระดบั 3 หมายถึง มคี ุณภาพดี หรือ สูง ระดับ 4 หมายถึง มคี ุณภาพดมี าก หรือ สูงมาก
116 2. การสร้างและพฒั นาคุณภาพเครือ่ งมือ การสร้างและพัฒนาคุณภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินโครงการ ผู้รายงานได้ดาเนินการ ตามขั้นตอนดังนี้ 2.1 แบบสอบถาม 2.1.1 ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้องกบั การประเมนิ โครงการพฒั นา สมรรถนะเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครูโรงเรียนวดั สลักได 2.1.2 กาหนดตัวแปรหรือประเดน็ ที่มุ่งประเมนิ 2.1.3 จดั ทากรอบแนวทางในการประเมนิ ดงั รายละเอยี ดในตาราง 3.1 2.1.4 รา่ งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมนิ เปน็ แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณ ค่า (Rating Scale) ทผ่ี ู้รายงานสรา้ งข้ึนตามวธิ ีการของ ลิเคิรท์ (Likert) 2.1.5 นาเคร่อื งมือที่ร่างข้นึ และปรับปรงุ แกไ้ ขแลว้ ไปให้ผู้เชยี่ วชาญ 5 ท่าน (ภาคนวก ข) ตรวจหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Validity) ใชด้ ัชนคี วามสอดคล้อง (Index of Item Objective Comgruemce : IOC) โดยกาหนดคะแนนไว้ดงั นี้ (ทรงศกั ด์ิ ภสู อี อ่ น. 2561 : 50) ถ้าเหน็ วา่ สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน +1 ถ้าเหน็ วา่ ไม่แนใ่ จ ใหค้ ะแนน 0 ถ้าเห็นวา่ ไม่สอดคลอ้ ง ใหค้ ะแนน -1 ถ้าไดค้ า่ ดชั นีความสอดคล้องตัง้ แต่ 0.5 ถือวา่ อยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ 2.1.6 ผลการประเมินความเที่ยงตรงด้านเน้ือหา โดยผู้เช่ียวชาญท้ัง 5 ท่าน ได้ค่าดัชนี ความสอดคลอ้ งของแบบสอบถามทงั้ 2 ฉบับ สงู กว่า 0.5 รายละเอยี ดภาคผนวก ง 2.1.7 ปรบั ปรงุ เครือ่ งมือตามคาแนะนาและขอ้ เสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญ แล้วนา เครอื่ งมือที่ปรบั ปรุงแลว้ ไปทดลองใช้ (Try Out) กบั คณะบุคคลทไ่ี มใ่ ช่กลมุ่ เป้าหมาย จากโรงเรยี น บ้านด่านพัฒนา ตาบลพระพุทธ อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวัดนครราชสมี า เนอื่ งจากเปน็ โรงเรียนท่ี มีลกั ษณะบริบทคลา้ ยคลึงกับโรงเรยี นวัดสลักได จานวน 15 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พืน้ ฐานโรงเรยี นบา้ นดา่ นพัฒนา จานวน 4 คน คณะกรรมการบริหารโรงเรียนบา้ นดา่ น พัฒนา จานวน 4 คน และครผู ้สู อนโรงเรียนบ้านด่านพฒั นา จานวน 7 คน 2.1.8 คานวณหาค่าความเช่ือม่นั และค่าอานาจจาแนกโดยใช้สูตรสมั ประสทิ ธิ์ แอลฟา (Alpha-Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ซงึ่ ปรากฏ ดังนี้ ฉบับที่ 1 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ มีค่าความเชอ่ื มั่นเท่ากับ 0.88 และมคี ่าอานาจจาแนกตัง้ แต่ 0.87 - 0.93 ฉบับที่ 2 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ มคี ่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.90 และมีคา่ อานาจจาแนกต้ังแต่ 0.84 - 0.93
117 ฉบับท่ี 3 แบบสอบถามเก่ยี วกับความเหมาะสมด้านกระบวนการในการดาเนิน โครงการ มคี ่าความเชือ่ มั่นเทา่ กบั 0.89 และมีคา่ อานาจจาแนกต้งั แต่ 0.89 - 0.95 2.1.8 ปรับปรุงเคร่ืองมือในส่วนท่ีบกพร่องตามข้อเสนอแนะและข้อมูลท่ีได้รับ และจัดพมิ พเ์ ครอ่ื งมอื ทีม่ ีคุณภาพแลว้ นาไปเกบ็ ขอ้ มลู กบั กลมุ่ ประชากร 2.2 แบบประเมนิ 2.2.1 ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการประเมนิ โครงการพฒั นา สมรรถนะเพอื่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของขา้ ราชการครู 2.2.2 กาหนดตวั แปรหรือประเดน็ ทีม่ ุง่ ประเมนิ 2.2.3 จดั ทากรอบแนวทางในการประเมิน ดังรายละเอียดในตารางท่ี 3.1 2.2.4 พฒั นาเครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ ผูร้ ายงานไดพ้ ัฒนาจากแบบประเมนิ และ คมู่ ือการใช้แบบประเมนิ คุณภาพการปฏิบัตงิ าน (สมรรถนะ) แบบประเมินด้านที่ 2 (1) สาหรับ วทิ ยฐานะครูชานาญการและวทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ ตามหนงั สอื สานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21 เรอ่ื ง หลักเกณฑแ์ ละวิธีการใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู มวี ทิ ยฐานะและเล่อื นวทิ ยฐานะ ลงวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2560 และหนงั สอื ที่ ศธ 0206.4/ ว 20 เรื่อง การปรับปรงุ มาตรฐานตาแหนง่ และมาตรฐานวทิ ยฐานะของขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาสายงานสอน ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษา. 2560 : 27) 2.2.5 นาเคร่อื งมือทีร่ า่ งข้ึนและปรบั ปรงุ แกไ้ ขแลว้ ไปให้ผ้เู ชย่ี วชาญ 5 ท่าน (ภาคผนวก ข) ตรวจหาความเที่ยงตรงตามเนอ้ื หา (Validity) ใช้ดัชนีความสอดคลอ้ ง (Index of Item Objective Comgruemce : IOC) โดยกาหนดคะแนนไวด้ งั น้ี (ทรงศกั ด์ิ ภูสีออ่ น. 2561 : 50) ถา้ เหน็ ว่า สอดคล้อง ให้คะแนน +1 ถ้าเหน็ ว่า ไม่แน่ใจ ใหค้ ะแนน 0 ถา้ เหน็ ว่า ไมส่ อดคล้อง ให้คะแนน -1 ถ้าได้คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องตงั้ แต่ 0.5 ถือว่าอย่ใู นเกณฑ์ใช้ได้ 2.2.6 ปรับปรงุ เครื่องมือตามคาแนะนาและขอ้ เสนอแนะของผู้เชย่ี วชาญ แลว้ นา เครือ่ งมือท่ปี รบั ปรงุ แลว้ ไปทดลองใช้ (Try Out) กบั ครูผสู้ อนทไี่ ม่ใช่กลมุ่ เป้าหมาย ซึง่ เป็นโรงเรียน บา้ นดา่ นพัฒนา ท่มี ลี ักษณะสภาพบรบิ ทคล้ายคลึงกับโรงเรียนวดั สลกั ได 2.2.7 คานวณหาค่าความเช่ือมั่นและค่าอานาจจาแนกโดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิ แอลฟา (Alpha-Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ซ่ึงปรากฏว่าแบบประเมินสาหรับ ประเมินสมรรถนะครูผู้สอนมคี า่ ความเชอ่ื มัน่ เทา่ กบั .096 และมีค่าอานาจจาแนกต้งั แต่ 0.84 - 0.96
118 2.2.8 ปรับปรงุ เคร่ืองมอื ในส่วนท่บี กพรอ่ งตามขอ้ เสนอแนะและข้อมูลท่ีไดร้ บั และจัดทา เครื่องมือทมี่ ีคุณภาพแลว้ นาไปเก็บข้อมูลกบั กลุ่มเปา้ หมาย วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูลการประเมนิ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพ ในการปฏบิ ัติงานของขา้ ราชการครโู รงเรยี นวดั สลักได ในคร้ังน้ี ผ้รู ายงานได้ดาเนนิ การตามลาดับ ขน้ั ตอน ดังต่อไปนี้ 1. กอ่ นดาเนนิ โครงการ ผู้รายงานได้เก็บรวบรวมขอ้ มลู ด้วยตวั เอง ระหว่างวนั ท่ี 12 ตุลาคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2563 โดยดาเนินการ ดงั นี้ 1.1 นาแบบสอบถามเก่ียวกับความเหมาะสมดา้ นสภาพแวดลอ้ ม และด้านปัจจัย เบือ้ งต้น ในการดาเนนิ โครงการไปให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานตอบ จานวน 9 คน และเกบ็ คืนได้ทัง้ หมด 9 ฉบบั แบบสอบถามทีไ่ ด้รบั คนื คิดเป็นรอ้ ยละ 100 1.2 นาแบบสอบถามเกยี่ วกบั ความเหมาะสมดา้ นสภาพแวดล้อม และด้านปัจจยั เบอ้ื งตน้ ในการดาเนนิ โครงการไปให้คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นตอบ จานวน 20 คน และเกบ็ คืน ไดท้ ง้ั หมด 20 ฉบับ แบบสอบถามทไี่ ด้รบั คนื คิดเปน็ ร้อยละ 100 1.3 นาแบบประเมนิ ไปให้ครูผู้สอนประเมนิ สมรรถนะตนเองจานวน 3 คน และเก็บ คนื ไดท้ ้ังหมด 3 ฉบับ แบบประเมินที่ไดร้ บั คืน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 2. ขณะดาเนินโครงการ ผูร้ ายงานไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูลด้วยตวั เอง ระหวา่ งวนั ท่ี 2 – 20 พฤศจิกายน 2563 โดย ดาเนนิ การ ดงั นี้ 2.1 นาแบบสอบถามเกีย่ วกบั ความเหมาะสมดา้ นกระบวนการในการดาเนินโครงการ ไปให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานตอบ จานวน 9 คน และเก็บคืนได้ท้ังหมด 9 ฉบับ แบบสอบถามท่ไี ด้รับคืน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2.2 นาแบบสอบถามเกีย่ วกับความเหมาะสมดา้ นกระบวนการในการดาเนนิ โครงการ ไปใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนตอบ จานวน 20 คน และเก็บคนื ไดท้ ัง้ หมด 20 ฉบับ แบบสอบถามทีไ่ ด้รับคืน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 3. หลงั ดาเนินโครงการ ผรู้ ายงานได้เกบ็ ข้อมูลด้วยตนเอง ระหว่างวนั ท่ี 21 – 30 พฤศจิกายน 2563 โดยนา แบบประเมินคณุ ภาพการปฏบิ ัติงานไปให้ครผู ู้สอนประเมินตนเอง จานวน 3 คน และเก็บคนื ได้ ทงั้ หมด 3 ฉบับ แบบประเมินที่ไดร้ ับคนื คิดเปน็ ร้อยละ 100
119 สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล สถิตทิ ี่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ครัง้ น้ี แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1. สถติ ิในการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามและแบบประเมิน ได้แก่ 1.1 ใช้ค่าอานาจจาแนกรายข้อ โดยใช้วิธีหาสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเปียร์สัน (Item-total Correlation) ใชส้ ูตรดังน้ี (รังสรรค์ สงิ หเลิศ. 2558 : 286) =r xy N XY ( X )(Y ) [N X 2 ( X )2 ][N Y 2 (Y )2 ] เมื่อ r xy แทน สมั ประสิทธสิ์ หสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปร X และ Y ผลรวมของค่าตวั แปร X x แทน ผลรวมของคา่ ตัวแปร Y Y แทน ผลรวมของผลคูณระหว่างค่าตวั แปร X และ Y XY แทน ผลรวมของกาลังสองของคา่ ตัวแปร X X 2 แทน ผลรวมของกาลงั สองของคา่ ตวั แปร Y Y 2 แทน จานวนค่ขู องค่าตวั แปรหรอื จานวนสมาชิกในกลุ่ม N แทน 1.2 การหาสัมประสิทธิ์การเช่ือมนั่ แบบสอบถามและแบบประเมิน โดยใช้สูตรการ หาค่า Alpha – Coefficient ของครอนบาค (Cronbach) ดังนี้ (ทรงศักดิ์ ภูสอี อ่ น. 2561 : 90) =( )αk k 1 1- ∑S2i S2t - เมื่อ α แทน ค่าสมั ประสิทธ์คิ วามเชอ่ื มั่น จานวนข้อเคร่ืองมอื วัด k แทน ผลรวมของความแปรปรวนของแตล่ ะข้อ ความแปรปรวนของคะแนนรวม ∑s2i แทน s 2 แทน t 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู 2.1 สถติ พิ นื้ ฐานไดแ้ ก่ 2.1.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ใช้สูตรดังน้ี (รงั สรรค์ สงิ หเลศิ . 2558 : 143)
120 P = f ×100 N เมือ่ P แทน ร้อยละ f แทน ความถท่ี ี่ตอ้ งการแปลงเปน็ ร้อยละ N แทน จานวนความถ่ที ง้ั หมด 2.1.2 ค่าเฉลย่ี (Mean) ใช้สูตรดังนี้ (รงั สรรค์ สิงหเลิศ. 2558 : 170) X = ∑x n เม่ือ X แทน คา่ เฉลีย่ ของกลุ่มตัวอย่าง ∑x แทน ผลรวมคะแนนทงั้ หมดของกลุม่ ตัวอย่าง n แทน จานวนคะแนนของกลุ่มตัวอย่าง 2.1.3 คา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร ดงั นี้ (รังสรรค์ สิงหเลิศ. 2558 : 170) S.D. = n∑x2 (∑x)2 n(n 1) เมือ่ S.D. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของกลมุ่ ตวั อยา่ ง X แทน คะแนนแตล่ ะตวั ( )∑x2 แทน ผลรวมของกาลังสองของคะแนนแตล่ ะตัว ∑x 2 แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกาลงั สอง n แทน จานวนกล่มุ ตัวอยา่ ง
121 2.2 สถติ ิในการทดสอบสมมตุ ฐิ าน ได้แก่ การทดสอบค่าที (t - test) ใช้สตู ร ดงั นี้ (รงั สรรค์ สิงหเลศิ . 2558 : 173) t = D n D2 D2 n 1 เมอ่ื t แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรยี บเทียบกับค่าวกิ ฤตเพือ่ ทราบความมีนยั สาคญั แทน คา่ ผลต่างระหวา่ งคู่คะแนนจากการประเมิน คณุ ภาพการ D ปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) ของครูผู้สอน กอ่ นดาเนินโครงการ n และหลังดาเนินโครงการ แทน จานวนกลุม่ ตัวอย่างหรอื จานวนคคู่ ะแนน การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลจากการประเมินโครงการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ในครั้งน้ี ผู้รายงานได้ดาเนินการตามลาดับข้ันตอน ดงั น้ี 1. แบบสอบถาม 1.1 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามท่ีได้รับคืน ปรากฏว่าแบบสอบถาม ทไ่ี ด้รับคืนทุกฉบับมีความสมบรู ณ์ หรอื ตอบคาถามครบทกุ ขอ้ คิดเป็นร้อยละ 100 1.2 นาคาตอบในแบบสอบถามมาลงรหัสในแบบบันทึกรหัสข้อมูลแลว้ นาไปคานวณหา คา่ สถติ ิ วิเคราะห์การประเมินโครงการ โดยการหาคา่ เฉลีย่ แล้วแปลผลระดบั การประเมินโครงการตาม เกณฑท์ ี่กาหนด ดงั นี้ (ทรงศกั ดิ์ ภศู รีออ่ น. 2561 : 50-55) ด้านสภาพแวดลอ้ ม ค่าคะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมมากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมมาก คา่ คะแนนเฉลยี่ 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง คา่ คะแนนเฉลีย่ 1.51 – 2.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมน้อย คา่ คะแนนเฉล่ีย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ยท่สี ุด
122 ดา้ นปจั จัยเบื้องตน้ คา่ คะแนนเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมากท่สี ุด ค่าคะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมาก คา่ คะแนนเฉล่ยี 2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมนอ้ ย คา่ คะแนนเฉลีย่ 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ยท่ีสุด ดา้ นกระบวนการ ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่สี ุด คา่ คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก คา่ คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมปานกลาง คา่ คะแนนเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมนอ้ ย คา่ คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมน้อยทส่ี ุด 2. แบบประเมิน 2.1 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบประเมินที่ได้รับคืน ปรากฏว่า แบบประเมินท่ีได้รับคืน ทุกฉบับมีความสมบรู ณ์ หรอื ประเมนิ ครบทุกขอ้ คิดเป็นร้อยละ 100 2.2 นาคาตอบในแบบประเมินมาลงรหัสในแบบบันทึกรหัสข้อมูลแล้วนาไปคานวณ หาค่าสถิติ โดยการหาค่าร้อยละแล้วแปลผลระดับการประเมินโครงการตามเกณฑ์การประเมิน คุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ตามแบบประเมินด้านที่ 2 (1) สาหรับวิทยฐานะครูชานาญการ และวิทยฐานะครูชานาญการพิเศษตามเกณฑ์ที่กาหนด ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา. 2560 : 75) ด้านผลผลติ คา่ รอ้ ยละของคะแนนต้ังแต่ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป หรือได้คะแนน 70 – 88 หมายถงึ มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานอยู่ในระดบั ดีมาก ค่ารอ้ ยละของคะแนนร้อยละ 70 – 79 หรอื ได้คะแนน 62 – 69 หมายถงึ มปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงานอย่ใู นระดับดี คา่ ร้อยละของคะแนนรอ้ ยละ 60 - 69 หรือได้คะแนน 53 - 61 หมายถึง มีประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านอยู่ในระดบั พอใช้ ค่าร้อยละของคะแนนตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 หรอื ได้คะแนน 22 – 52 หมายถึง มีประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านอยู่ในระดับควรปรับปรุง เกณฑ์ประเมินขั้นตา่ : ครผู ู้สอนรอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไปมปี ระสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ าน อย่ใู นระดับดี
123 2.3 นาคาตอบในแบบประเมิน (ฉบับเดยี วกบั ข้อ 2.2) มาลงรหสั ในแบบบนั ทกึ รหัส ขอ้ มูลแลว้ นาไปคานวณหาคา่ สถิติ วเิ คราะห์การประเมนิ โครงการ โดยการหาค่าเฉลย่ี แล้วแปลผลระดบั การ ประเมินโครงการตามเกณฑ์ทก่ี าหนดคอื แบบประเมินคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน (สมรรถนะ) แบบประเมนิ ด้าน ท่ี 2 (1) กรณีขอเล่อื นเปน็ วทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษา. 2560 : 38) ดา้ นผลผลติ ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.18 – 4.00 หมายถงึ มีระดบั คณุ ภาพดีมาก คา่ คะแนนเฉลยี่ 2.80 – 3.17 หมายถึง มีระดบั คุณภาพดี คา่ คะแนนเฉลีย่ 2.40 – 2.79 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพพอใช้ ค่าคะแนนเฉล่ีย 1.00 – 2.39 หมายถงึ มีระดับคุณภาพควรปรับปรุง 2.4 เปรียบเทียบการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ของครูผู้สอนก่อนดาเนิน โครงการและหลงั ดาเนนิ โครงการโดยการทดสอบคา่ ที (t-test)
บทท่ี 4 ผลการประเมินโครงการ การประเมินโครงการพฒั นาสมรรถนะเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานของข้าราชการ ครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ในคร้ังน้ี ผู้รายงานได้นาเสนอผลการประเมนิ โครงการ โดยจาแนกเป็น 4 ดา้ น ตามลาดบั หวั ขอ้ ดงั นี้ 1. ผลการประเมินโครงการ 2. ผลการประเมนิ ด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ 3. ผลการประเมนิ ดา้ นปจั จัยเบอ้ื งต้นของโครงการ 4. ผลการประเมินด้านกระบวนการในการดาเนินโครงการ 5. ผลการประเมนิ ด้านผลผลติ ของโครงการ ผลการประเมินโครงการ จากผลการประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของ ข้าราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได โดยรวม 3 ด้าน ดังนี้ ตาราง 4.1 สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน ของข้าราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการ สถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรยี นโดยภาพรวมทงั้ 3 ด้าน คอื ด้านสภาพแวดล้อม ปัจจัยเบ้อื งต้น และกระบวนการดาเนนิ โครงการ ดังน้ี คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ สรุปภาพรวม บริหารโรงเรยี น ด้านการประเมิน ขน้ั พืน้ ฐาน x S.D แปลผล x S.D แปลผล x S.D แปลผล 1. สภาพแวดลอ้ ม 4.11 0.67 มาก 4.18 0.57 มาก 4.15 0.62 มาก ของโครงการ 2. ปจั จัยเบอื้ งตน้ 4.32 0.48 มาก 3.98 0.56 มาก 4.16 0.52 มาก ของโครงการ 3. กระบวนการ 4.13 0.65 มาก 4.14 0.60 มาก 4.14 0.63 มาก ดาเนนิ โครงการ รวมเฉลยี่ 4.19 0.60 มาก 4.10 0.58 มาก 4.15 0.59 มาก
125 จากตาราง 4.1 แสดงวา่ การดาเนินโครงการตามความคดิ เห็นของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานและคณะกรรมการบริหารโรงเรียน สรปุ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยใู่ น ระดับมาก ( x = 4.15, S.D.=0.59) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่าดา้ นปัจจยั เบ้อื งต้นของโครงการมีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั มาก โดยมีค่าเฉล่ียสูงท่ีสดุ ( x = 4.16, S.D.=0.52) รองลงมาคอื ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ของโครงการมคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยมคี า่ เฉลีย่ ( x = 4.15, S.D.=0.62) และด้าน กระบวนการดาเนินโครงการมคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก โดยมีคา่ เฉลย่ี ตา่ ทส่ี ุด ( x = 4.14, S.D.=0.63) ผลการประเมนิ ด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการประเมินความเหมาะสมด้านสภาพแวดล้อมท่ัวไป ของโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ านของข้าราชการครูโรงเรยี น วัดสลกั ได ปรากฏผลดงั รายละเอยี ดในตาราง 4.2 ตาราง 4.2 แสดงค่าเฉล่ียและค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดบั ความเหมาะสมดา้ นสภาพแวดล้อม ท่ัวไปของโครงการ ตามความคิดเหน็ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน จาแนกเปน็ รายขอ้ ขอ้ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่ สถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน บริหารโรงเรียน x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 1 มกี ารวิเคราะห์สภาพปญั หา 4.22 0.67 มาก 3.79 0.59 มาก และความตอ้ งการเพอื่ เป็นข้อมลู ในการจดั ทาโครงการ 4.33 0.71 มาก 3.83 0.64 มาก 2 มกี ารวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม 4.56 0.53 มาก 4.41 0.50 มาก ภายในและภายนอกองค์กร ท่ีสุด (SWOT) กอ่ นการจดั ทาโครงการ 3 โครงการน้ีมีคุณค่าและเป็น ประโยชนต์ อ่ ครใู นการปฏบิ ัติงาน ให้มปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น
126 ตาราง 4.2 (ต่อ) ขอ้ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่ สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน บริหารโรงเรยี น x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 4 บคุ ลากรท่ีเก่ยี วขอ้ งเหน็ 4.11 0.60 มาก 4.04 0.46 มาก ความสาคญั ความจาเปน็ ยอมรบั และเตม็ ใจสนับสนุนโครงการ 3.89 0.78 มาก 4.45 0.51 มาก 3.56 0.53 มาก 4.54 0.51 มาก 5 วตั ถุประสงค์ของโครงการมี ความชัดเจน 4.44 0.53 มาก ท่ีสดุ 4.41 0.65 มาก 6 โครงการได้ระบกุ ลมุ่ เป้าหมาย 4.22 0.83 มาก ในด้านปรมิ าณ และคุณภาพ 3.78 0.83 มาก 4.04 0.62 มาก ชดั เจน 4.33 0.76 มาก 4.00 0.71 มาก 7 โครงการได้กาหนดขอบเขตของ 4.11 0.67 มาก 3.91 0.50 มาก การดาเนินงานและความ 4.18 0.57 มาก รับผดิ ชอบไวอ้ ยา่ งชัดเจน 8 โครงการมีการระบุทรัพยากร ตา่ ง ๆ ทีจ่ าเป็นในการดาเนินงาน 9 โครงการมกี ารกาหนดระยะเวลา ทเี่ รมิ่ ตน้ และเวลาทสี่ ้ินสดุ ที่ แน่นอน 10 โครงการสามารถนาไปปฏบิ ัติได้ จริง รวมเฉลย่ี จากตาราง 4.2 แสดงว่า คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มคี วามคิดเห็นด้าน สภาพแวดลอ้ มของโครงการมีความเหมาะสมโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.11, S.D.= 0.67) เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ มีความเหมาะสมมากท่ีสดุ 1 ขอ้ เหมาะสมมาก 9 ข้อ โดย รายการที่มีคา่ เฉลี่ยสงู สุด ได้แก่ ข้อ 3 โครงการนมี้ คี ณุ ค่าและเป็นประโยชน์ต่อครูในการปฏิบัตงิ านให้ มปี ระสิทธิภาพมากข้นึ ( x = 4.56, S.D.= 0.53) ส่วนรายการท่มี ีคา่ เฉล่ียต่าสุด ได้แก่ ขอ้ 6 โครงการ ได้ระบุกลมุ่ เปา้ หมายในดา้ นปรมิ าณ และคณุ ภาพชัดเจน ( x = 3.56, S.D.= 0.53) เรยี งลาดบั รายการ
127 ท่มี คี ่าเฉลย่ี จากมากไปหานอ้ ย 3 อันดบั แรก ได้แก่ ขอ้ 3 โครงการน้ีมคี ณุ คา่ และเป็นประโยชนต์ อ่ ครู ในการปฏิบัตงิ านให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ( x = 4.56, S.D.= 0.53) ข้อ 7 โครงการได้กาหนด ขอบเขตของการดาเนนิ งานและความรบั ผิดชอบไว้อยา่ งชดั เจน ( x = 4.44, S.D.= 0.53) ขอ้ 2 มีการ วเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกองค์กร (SWOT) กอ่ นการจดั ทาโครงการ ( x = 4.33, S.D.= 0.71) สว่ นคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น มคี วามคดิ เหน็ ด้านสภาพแวดลอ้ มของโครงการ มคี วามเหมาะสม โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก ( x = 4.18, S.D.= 0.57) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า มคี วามเหมาะสมมากทสี่ ุด 1 ข้อ เหมาะสมมาก 9 ข้อ โดย รายการทมี่ คี ่าเฉลี่ยสูงสุดไดแ้ ก่ ข้อ 6 โครงการได้ระบุกลุม่ เป้าหมายในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ ชดั เจน ( x = 4.54, S.D.=0.51) ส่วนรายการทม่ี คี ่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ ขอ้ 1 มีการวิเคราะหส์ ภาพ ปญั หาและความต้องการเพอ่ื เป็นขอ้ มลู ในการจัดทาโครงการ ( x = 3.79, S.D.=0.59) เรียงลาดับ รายการทมี่ ีคา่ เฉลย่ี จากมากไปหานอ้ ย 3 อันดบั แรก ไดแ้ ก่ ขอ้ 6 โครงการได้ระบุกลมุ่ เปา้ หมายใน ดา้ นปริมาณ และคณุ ภาพชัดเจน ( x = 4.54, S.D.=0.51) ขอ้ 5 วัตถุประสงค์ของโครงการมีความ ชัดเจน ( x = 4.45, S.D.=0.51) ขอ้ 3 โครงการนมี้ คี ุณค่าและเป็นประโยชน์ตอ่ ครูในการปฏบิ ัตงิ าน ให้มปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ ( x = 4.41, S.D.=0.50) ข้อ 7 โครงการไดก้ าหนดขอบเขตของการดาเนิน งานและความรับผดิ ชอบไว้อยา่ งชดั เจน ( x = 4.41, S.D.=0.65)
128 ผลการประเมนิ ดา้ นปัจจยั เบอ้ื งตน้ ของโครงการ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเกย่ี วกับการประเมินความเหมาะสมดา้ นปัจจยั เบอ้ื งตน้ ของโครงการ พัฒนาสมรรถนะ เพอื่ เพมิ่ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครูโรงเรียนวดั สลกั ได ปรากฏผลดังรายละเอียดในตาราง 4.3 ตาราง 4.3 แสดงคา่ เฉล่ียและคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน ของระดับความเหมาะสมด้านปัจจัยเบือ้ งต้น ของโครงการ ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน จาแนกเปน็ รายข้อ ข้อ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ท่ี สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน บรหิ ารโรงเรยี น x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 1 บุคลากรมีสว่ นร่วมวางแผนทกุ 4.67 0.44 มาก 3.74 0.54 มาก ขัน้ ตอนในการดาเนนิ งานตาม ที่สุด โครงการ 2 บุคลากรที่เข้ารว่ มกจิ กรรมหรอื 4.22 0.44 มาก 3.71 0.55 มาก ร่วมดาเนนิ งานตามโครงการ มีจานวนเพียงพอ 3 บคุ ลากรมีความพร้อมและ 4.22 0.50 มาก 4.29 0.69 มาก กระตอื รือรน้ ในการดาเนนิ งาน ตามโครงการ 4 บุคลากรมีความรูค้ วามสามารถใน 4.22 0.44 มาก 3.63 0.57 มาก การดาเนินงานตามโครงการ 5 ความเพยี งพอดา้ นงบประมาณ 4.33 0.44 มาก 4.17 0.38 มาก ในการสนับสนนุ โครงการ 6 ความเพียงพอดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ 4.44 0.71 มาก 4.21 0.59 มาก ในการสนับสนนุ โครงการ 7 ความเพยี งพอของเครื่องใช้ 4.22 0.53 มาก 4.17 0.56 มาก สานกั งานและเครอื่ งอานวยความ สะดวกทีเ่ ป็นเทคโนโลยสี มยั ใหม่ เพอื่ นามาใช้สนบั สนนุ โครงการ
129 ตาราง 4.3 (ต่อ) ขอ้ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่ สถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน บริหารโรงเรยี น x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 8 ความเพียงพอของแหล่งขอ้ มูล 4.22 0.44 มาก 3.74 0.54 มาก สาหรับครูไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื พฒั นาตนและพฒั นางาน 4.11 0.33 มาก 4.17 0.56 มาก 9 ระยะเวลาในการดาเนินงาน 4.56 0.53 มาก 3.92 0.58 มาก ตามโครงการมีความเหมาะสม 4.32 0.48 ทีส่ ุด มาก 3.98 0.56 มาก 10 ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการเปน็ อย่างดี รวมเฉลย่ี จากตาราง 4.3 แสดงวา่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความคิดเห็น ดา้ นปจั จยั เบ้ืองต้นของโครงการมคี วามเหมาะสม โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( x = 4.32, S.D.= 0.48) เม่อื พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ มคี วามเหมาะสมมากทสี่ ุด 2 ข้อ และมคี วามเหมาะสมมาก 8 ข้อ โดยรายการท่มี ีคา่ เฉลยี่ สูงสดุ ได้แก่ ขอ้ 1 บคุ ลากรมสี ่วนรว่ มวางแผนทุกข้นั ตอนในการดาเนนิ งาน ตามโครงการ ( x = 4.67, S.D.=0.44) ส่วนรายการทม่ี ีคา่ เฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ ขอ้ 9 ระยะเวลาในการ ดาเนินงาน ตามโครงการมีความเหมาะสม ( x = 4.11, S.D.=0.33) เรียงลาดบั รายการทม่ี ีค่าเฉลี่ย จากมากไปหานอ้ ย 3 อนั ดับแรกไดแ้ ก่ ขอ้ 1 บุคลากรมสี ่วนร่วมวางแผนทุกขนั้ ตอน ในการ ดาเนินงานตามโครงการ ( x = 4.67, S.D.=0.44) ข้อ 10 ผบู้ รหิ ารโรงเรียนใหก้ ารสนับสนนุ โครงการ เป็นอยา่ งดี ( x = 4.56, S.D.=0.53) ขอ้ 6 ความเพยี งพอด้านวัสดุ อุปกรณ์ในการสนับสนนุ โครงการ ( x = 4.44, S.D.=0.71) สว่ นคณะกรรมการบริหารโรงเรียน มีความคิดเหน็ ด้านปัจจยั เบื้องต้นของโครงการ มีความเหมาะสมโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( x = 3.98, S.D.= 0.56) เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ มคี วามเหมาะสมมากทกุ ข้อ โดยรายการที่มีค่าเฉล่ยี สูงสุด ไดแ้ ก่ ขอ้ 3 บุคลากรมคี วามพรอ้ มและกระตือรือรน้ ในการดาเนนิ งานตามโครงการ ( x = 4.29, S.D.=0.69) สว่ นรายการที่มีค่าเฉล่ียตา่ สดุ ไดแ้ ก่ ข้อ 4 บุคลากรมคี วามรู้ความสามารถในการ ดาเนินงานตามโครงการ ( x = 3.63, S.D.=0.57) เรียงลาดบั รายการที่มีค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 3 อนั ดับแรกได้แก่ ขอ้ 3 บุคลากรมีความพรอ้ มและกระตอื รอื ร้นในการดาเนนิ งานตามโครงการ
130 ( x = 4.29, S.D.=0.69) ข้อ 6 ความเพียงพอด้านวัสดุ อปุ กรณ์ในการสนบั สนุนโครงการ ( x = 4.21, S.D.=0.59) ข้อ 5 ความเพยี งพอด้านงบประมาณในการสนับสนนุ โครงการ ( x = 4.17, S.D.=0.38) และขอ้ 7 ความเพยี งพอของเครื่องใช้สานักงานและเคร่อื งอานวยความสะดวกท่เี ป็นเทคโนโลยี สมยั ใหมเ่ พอื่ นามาใช้สนบั สนนุ โครงการ ( x = 4.17, S.D.=0.56) และ ข้อ 9 ระยะเวลาในการ ดาเนินงานตามโครงการมคี วามเหมาะสม ( x = 4.17, S.D.=0.56) ผลการประเมินดา้ นกระบวนการในการดาเนินโครงการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการประเมินความเหมาะสมด้านกระบวนการในการดาเนิน โครงการพัฒนาสมรรถนะ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ปรากฏผลดงั รายละเอยี ดในตาราง 4.4 ตาราง 4.4 แสดงคา่ เฉลีย่ และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของระดบั ความเหมาะสมด้านกระบวนการ ดาเนินโครงการ ตามความคิดเหน็ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน และคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น จาแนกเป็นรายขอ้ ขอ้ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่ สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน บริหารโรงเรยี น x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 1 จดั บรกิ ารให้ข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ 4.00 0.71 มาก 3.83 0.64 มาก เพ่ือใหค้ รมู คี วามรู้ ทันเหตุการณ์ เขา้ ใจและยอมรบั การเปล่ยี นแปลง 2 ส่งเสรมิ การทางานเป็นทมี 4.22 0.67 มาก 4.13 0.74 มาก หรือกลมุ่ สมั พนั ธใ์ นการทางาน การแกป้ ญั หาและพฒั นาโรงเรียน 3 มกี ารจัดสวัสดิการตา่ ง ๆ ตาม 4.44 0.53 มาก 4.38 0.77 มาก ระเบยี บของโรงเรียนเพ่อื สร้าง แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 4 พัฒนาครูใหม้ ีความรู้และทักษะ 4.00 0.50 มาก 4.17 0.56 มาก การใชค้ อมพิวเตอร์ เพอ่ื ใหน้ าไป ใชใ้ นการทางานให้มปี ระสิทธภิ าพ มากขึ้น
131 ตาราง 4.4 (ต่อ) ข้อ รายการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ที่ สถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน บรหิ ารโรงเรยี น x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 5 พฒั นาครใู หม้ ีความสามารถในการ 4.15 0.64 มาก 4.28 0.55 มาก ออกแบบการเรยี นร้ใู น การจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ทกั ษะ 4.11 0.78 มาก 4.29 0.55 มาก กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ 4.22 0.67 มาก 4.00 0.58 มาก 6 พัฒนาครูด้านการทาวจิ ยั ในชัน้ 3.89 0.78 มาก 4.54 0.50 มาก เรียนเพื่อใหส้ ามารถนาไป ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนและ 4.00 0.50 มาก ทส่ี ุด พฒั นาผูเ้ รียน 3.91 0.50 มาก 4.22 0.67 มาก 7 พฒั นาครเู พ่ือใหม้ คี วามรู้และ 3.87 0.61 มาก ประสบการณ์เพมิ่ เตมิ โดยพาไป 4.13 0.65 มาก ศึกษาดูงานสถานศึกษาดเี ด่น 4.14 0.60 มาก 8 จัดให้มีการประเมนิ ห้องเรียน มาตรฐานเพอ่ื พัฒนาครใู ห้มี ความรคู้ วามสามารถในการ บริหารจดั การชัน้ เรยี น 9 จัดใหม้ ีการประเมินประสิทธิภาพ การปฏบิ ัตงิ านของครเู พ่อื นาไป ประกอบการพิจารณาเลือ่ นขน้ั เลอื่ นตาแหน่ง 10 การจดั ให้มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ของครอู ย่างเปน็ ระบบและ ตอ่ เนือ่ ง รวมเฉลย่ี จากตาราง 4.4 แสดงว่า คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีความคิดเห็นด้านกระบวนการ ในการดาเนนิ โครงการมีความเหมาะสมโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ( x = 4.13, S.D.= 0.65)
132 เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความเหมาะสมมากทุกข้อ โดยรายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ ข้อ 3 มีการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ตามระเบียบของโรงเรียนเพ่ือสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ( x = 4.44, S.D.=0.53) ส่วนรายการท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ ข้อ 8 จัดให้มีการประเมินห้องเรียน มาตรฐานเพ่ือพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการช้ันเรียน ( x = 3.89, S.D.=0.78) เรียงลาดับรายการที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้อ 3 มีการจัด สวัสดิการต่าง ๆ ตามระเบียบของโรงเรียนเพ่ือสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ( x = 4.44, S.D.=0.53) ข้อ 7 พัฒนาครูเพื่อให้มีความรู้และประสบการณ์เพ่ิมเติมโดยพาไปศึกษาดูงานสถาน ศึกษาดีเด่น ( x = 4.22, S.D.=0.67) ข้อ 10 การจัดให้มีการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัตงิ านของครูอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง ( x = 4.22, S.D.=0.67) ข้อ 7 สว่ นคณะกรรมการบริหารโรงเรียน มคี วามเห็นดา้ นกระบวนการดาเนินโครงการมคี วาม เหมาะสมโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ( x = 4.14, S.D.=0.60) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ มีความเหมาะสมมากที่สุด 1 ข้อ มีความเหมาะสมมาก 9 ข้อ โดยรายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ ข้อ 8 จัดให้มีการประเมินห้องเรียนมาตรฐานเพ่ือพัฒนาครูให้มี ความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการช้ันเรียน ( x = 4.54, S.D.=0.50) ส่วนรายการท่ีมีค่าเฉลี่ย ต่าสุดได้แก่ ข้อ 1 จัดบริการให้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เพ่ือให้ครูมีความรู้ทันเหตุการณ์ เข้าใจและ ยอมรบั การเปลี่ยนแปลง ( x = 3.83, S.D.=0.64) เรียงลาดับรายการที่มีค่าเฉล่ยี จากมากไปหาน้อย 3 อันดับแรกได้แก่ ข้อ 8 จดั ใหม้ ีการประเมินห้องเรยี นมาตรฐานเพ่อื พัฒนาครใู ห้มีความรู้ความสามารถ ในกาบริหารจัดการชั้นเรียน ( x = 4.54, S.D.=0.50) ข้อ 3 มีการจัดสวัสดิการต่าง ๆ ตามระเบียบ ของโรงเรยี นเพ่ือสรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั งิ าน ( x = 4.38, S.D.=0.77) ข้อ 6 พฒั นาครูด้านการทา วิจัยในชั้นเรียน เพ่ือให้สามารถนาไปปรับปรุงการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียน ( x = 4.29, S.D.=0.55) ผลการประเมนิ ด้านผลผลติ ของโครงการ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพด้านผลผลิตของโครงการพัฒนา สมรรถนะ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนวัดสลักได แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่การหาค่ารอ้ ยละ การหาคา่ เฉลย่ี และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานและทดสอบค่าที (t – test) 1. การหาค่ารอ้ ยละ การหาคา่ ร้อยละด้านผลผลติ ของโครงการ จาแนกเป็นรายบคุ คลและตามลาดับคุณภาพ กอ่ นและหลังดาเนนิ โครงการ ปรากฎผลรายละเอยี ดในตาราง 4.5 - 4.6
133 ตาราง 4.5 แสดงประเมนิ คุณภาพการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) ในการประเมนิ ตนเองของครูผูส้ อน จาแนกเป็นรายบคุ คล / ก่อนและหลังดาเนนิ โครงการ คนท่ี คะแนนประเมนิ (สมรรถนะ) ก่อนดาเนินโครงการ หลงั ดาเนินโครงการ 1 69 77 2 57 79 3 64 81 รวม 190 237 เฉลี่ย 63.33 79.00 จากตาราง 4.5 แสดงคะแนนการประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) ตนเองของ ครูผูส้ อน จานวน 3 คน มีค่าเฉล่ียรวมกอ่ นดาเนนิ โครงการ เทา่ กับ 63.33 และมคี ่าเฉลย่ี รวมหลงั ดาเนินโครงการ เท่ากับ 79.00 และในการหาค่ารอ้ ยละของระดับคณุ ภาพด้านผลผลิตของโครงการโดยภาพรวม ปรากฏผล ดังรายละเอียดในตาราง 4.6 ตาราง 4.6 แสดงค่ารอ้ ยละของระดบั คุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน ด้านผลผลิตของโครงการในภาพรวม ระดับคุณภาพ กอ่ นดาเนินโครงการ หลงั ดาเนินโครงการ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ ดมี าก ดี -- 3 100 -- -- พอใช้ 2 66.67 -- ควรปรับปรุง 1 33.33 -- จากตาราง 4.6 แสดงวา่ กอ่ นดาเนนิ โครงการการประเมินด้านผลผลิตของโครงการ ครผู ู้สอนมีประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน จาแนกเปน็ อย่ใู นระดบั ดีมาก จานวน - คน คดิ เป็นร้อยละ 0.00 อยู่ในระดับดี จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.00 อยู่ในระดับพอใช้ จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 66.67 อยู่ในระดับควรปรับปรงุ จานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.33
134 และจากตาราง 4.6 ดังกล่าว หลงั ดาเนินโครงการการประเมินดา้ นผลผลติ ของโครงการ ครูผูส้ อนมีประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน จาแนกเปน็ อยู่ในระดบั ดีมาก จานวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 อยใู่ นระดับดี จานวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 อยใู่ นระดบั พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.00 อยใู่ นระดับควรปรบั ปรุง จานวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.00 สรุป ประสิทธภิ าพด้านผลผลิตของโครงการหลงั ดาเนนิ โครงการ ครผู ูส้ อนโรงเรียนวัดสลกั ได มีประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านอย่ใู นระดับดีมาก จานวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซ่ึงแสดงให้เห็น วา่ ครผู ู้สอนมปี ระสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ านเพิ่มขน้ึ 2. การหาคา่ เฉลย่ี และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมนิ ด้านผลผลิตของโครงการ จาแนกเปน็ การวเิ คราะห์ ขอ้ มูลก่อนดาเนนิ โครงการและหลงั ดาเนนิ โครงการ ปรากฏผลดงั รายละเอยี ดในตาราง 4.7 ตาราง 4.7 แสดงค่าเฉล่ยี และคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานของระดบั คณุ ภาพดา้ นผลผลติ ของโครงการ ในการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอนจาแนกเปน็ รายสมรรถนะ / ตัวบง่ ชี้ สมรรถนะท่ี ตวั บง่ ช้ีที่ ก่อนดาเนินโครงการ หลงั ดาเนนิ โครงการ x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 1. การมุง่ 1. คุณภาพงานด้านความ 2.23 0.45 ปรับปรงุ 3.50 0.23 ดมี าก ผลสัมฤทธิ์ ถกู ต้องครบถว้ นสมบูรณ์ 2.31 0.46 ปรับปรุง 3.37 0.24 ดีมาก 2. ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ 2.41 0.43 พอใช้ 3.35 0.26 ดมี าก การนานวตั กรรม/ทางเลือก 2.32 0.45 ปรบั ปรุง 3.41 0.24 ดีมาก ใหม่ๆ มาใช้ เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพ 3. ความมงุ่ มน่ั ในการ พัฒนาผลงานอย่างตอ่ เนือ่ ง รวมเฉลย่ี
135 ตาราง 4.7 (ตอ่ ) สมรรถนะที่ ตวั บ่งช้ีท่ี กอ่ นดาเนินโครงการ หลงั ดาเนินโครงการ x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 2. การบรกิ าร 1. การปรบั ปรงุ 2.13 0.42 ปรบั ปรงุ 3.65 0.42 ดมี าก ที่ดี ระบบบรกิ าร 2.12 0.43 ปรบั ปรงุ 3.75 0.21 ดมี าก 2.ความพงึ พอใจของ 3. การพฒั นา รับบรกิ าร หรือ 2.12 0.42 ปรบั ปรุง 3.70 0.31 ดีมาก ตนเอง เกีย่ วขอ้ ง 2.25 0.43 ปรบั ปรงุ 3.45 0.25 ดีมาก 4. การทางาน รวมเฉลย่ี 2.21 0.42 ปรบั ปรงุ 3.46 0.27 ดีมาก เป็นทีม 1.การศกึ ษา คน้ ควา้ หาความรู้ ดว้ ยการเข้า 2.22 0.41 ปรบั ปรุง 3.52 0.26 ดีมาก ประชุมทางวชิ าการ 2. การรวบรวมและ 2.23 0.42 ปรบั ปรงุ 3.48 0.26 ดมี าก ประมวลความรู้ในการ 2.23 0.42 ปรับปรงุ 3.36 0.21 ดมี าก พฒั นาองค์กรและ วิชาชีพ 2.24 0.41 ปรับปรุง 3.67 0.34 ดมี าก 3. การแลกเปล่ยี น ความคิดเห็นดา้ น วิชาการในหมเู่ พือ่ น ร่วมงาน รวมเฉล่ยี 1. การให้ความ ร่วมมือชว่ ยเหลอื สนับสนนุ เพอื่ น รว่ มงาน 2. การแสดงบทบาท ผนู้ าหรือผู้ตาม ไดอ้ ย่างเหมาะสม
136 ตาราง 4.7 (ตอ่ ) สมรรถนะท่ี ตวั บ่งช้ีท่ี ก่อนดาเนินโครงการ หลงั ดาเนินโครงการ x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 5. การ 3. การปรับตวั เขา้ กับ 2.14 0.43 ปรบั ปรุง 3.54 0.25 ดมี าก ออกแบบการ สถานการณ์และกลมุ่ เรยี นรู้ คนทหี่ ลากหลาย 2.24 0.45 ปรับปรุง 3.53 0.26 ดีมาก 4. การเสริมแรงให้ 6. การพฒั นา กาลังใจสง่ เสริม 2.21 0.43 ปรบั ปรงุ 3.53 0.27 ดมี าก ผู้เรียน สนบั สนุนเพือ่ นร่วม 2.22 0.47 ปรับปรงุ 3.34 0.23 ดมี าก งานในการปฏบิ ตั ิงาน 2.23 0.48 ปรบั ปรงุ 3.43 0.22 ดมี าก รวมเฉลี่ย 1. ความรู้ ความเขา้ ใจ 2.24 0.48 ปรบั ปรงุ 3.52 0.32 ดีมาก เรอื่ งการออกแบบการ เรียนรู้ 2.23 0.48 ปรบั ปรุง 3.43 0.26 ดีมาก 2. ความสามารถใน 2.21 0.45 ปรับปรุง 3.51 0.32 ดมี าก การออกแบบการ เรียนรู้ 2.23 0.45 ปรบั ปรุง 3.53 0.42 ดีมาก 3. การนาผลการ ออกแบบการเรยี นรไู้ ป ใช้ในการจดั การเรยี นรู้ รวมเฉล่ีย 1. การปลกู ฝัง คณุ ธรรมจริยธรรม ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น 2. การพฒั นาทักษะ ชวี ิต สุขภาพกายและ สขุ ภาพจติ ของผ้เู รียน
137 ตาราง 4.7 (ต่อ) สมรรถนะที่ ตวั บ่งชท้ี ี่ กอ่ นดาเนนิ โครงการ หลงั ดาเนินโครงการ x S.D. แปลผล x S.D. แปลผล 3. การปลูกฝังการ 2.14 0.40 ปรบั ปรงุ 3.56 0.41 ดีมาก เป็นประชาธิปไตยและ ความภาคภูมิใจใน 2.25 0.43 ปรบั ปรุง 3.46 0.31 ดีมาก ความเปน็ ไทยให้กับ 2.21 0.43 ปรบั ปรงุ 3.52 0.37 ดีมาก ผู้เรียน 2.23 0.40 ปรับปรุง 3.57 0.32 ดมี าก 4. การจัดระบบดแู ล ช่วยเหลอื ผู้เรยี น 2.21 0.40 ปรับปรุง 3.43 0.21 ดีมาก รวมเฉลยี่ 2.22 0.43 ปรบั ปรงุ 3.75 0.42 ดมี าก 7. การบรหิ าร 1. การจัดบรรยากาศ 2.22 0.41 ปรบั ปรุง 3.58 0.32 ดมี าก จัดการชน้ั การจดั การเรียนการ 2.22 0.43 ปรบั ปรุง 3.52 0.29 ดมี าก เรยี น สอน 2. การจดั ทาขอ้ มลู สารสนเทศและเอกสาร ประจาชัน้ เรยี น/ประจา วิชา 3.การกากับดูแล ชั้นเรยี น/ประจาวิชา รวมเฉลยี่ คา่ เฉลย่ี รวมท้ังสิน้ จากตาราง 4.7 แสดงว่าก่อนดาเนนิ โครงการ การประเมินตนเองของครูผสู้ อนด้านผลผลติ มีคณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน (สมรรถนะ) โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ควรปรบั ปรงุ ( x = 2.22, S.D.=0.43) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายสมรรถนะพบว่า มคี ณุ ภาพในการปฏบิ ตั ิงาน (สมรรถนะ) อยใู่ นระดบั ปรับปรงุ ทุกสมรรถนะ โดยสมรรถนะท่ีมีค่าเฉลีย่ สูงสุดได้แก่ สมรรถนะที่ 1 การมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ ( x = 2.32, S.D.=0.45) และสมรรถนะท่ีมีคา่ เฉลี่ยต่าสุดได้แก่ สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี ( x = 2.12, S.D.=0.42) เรียงลาดับสมรรถนะทมี่ คี ่าเฉลีย่ จากมากไปหาน้อย ได้แก่ สมรรถนะท่ี 1
138 การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ( x = 2.32, S.D.=0.45) สมรรถนะที่ 5 การออกแบบการเรียนรู้ ( x = 2.23, S.D.=0.48) สมรรถนะท่ี 3 การพัฒนาตนเอง ( x = 2.23, S.D.=0.42) สมรรถนะท่ี 7 การบรหิ าร จดั การช้นั เรียน ( x = 2.22, S.D.=0.41) สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม ( x = 2.21, S.D.=0.43) สมรรถนะที่ 6 การพัฒนาผูเ้ รยี น ( x = 2.21, S.D.=0.43) สมรรถนะที่ 2 การบรกิ ารท่ีดี ( x = 2.12, S.D.=0.42) หลงั การดาเนนิ โครงการ การประเมนิ ตนเองของครผู สู้ อนด้านผลผลิตมีคุณภาพการ ปฏบิ ตั งิ าน (สมรรถนะ) โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ( x = 3.52, S.D.=0.29) เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายสมรรถนะพบวา่ มีคณุ ภาพในการปฏิบตั ิงาน (สมรรถนะ) อยใู่ นระดบั ดีมาก ทกุ สมรรถนะ โดยสมรรถนะทีม่ ีคา่ เฉลี่ยสูงสุดไดแ้ ก่ สมรรถนะท่ี 2 การบรกิ ารทด่ี ี ( x = 3.70, S.D.=0.31) ส่วนสมรรถนะทม่ี ีคา่ เฉลย่ี ต่าสดุ ได้แก่ สมรรถนะท่ี 1 การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ ( x = 3.41, S.D.=0.24) เรยี งลาดับสมรรถนะทมี่ คี ่าเฉล่ยี จากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี ( x = 3.70, S.D.=0.31) สมรรถนะท่ี 7 การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น ( x = 3.58, S.D.=0.32) สมรรถนะที่ 4 การทางานเปน็ ทมี ( x = 3.53, S.D.=0.27) สมรรถนะที่ 6 การพฒั นาผูเ้ รยี น ( x = 3.52, S.D.=0.37) สมรรถนะท่ี 3 การพัฒนาตนเอง ( x = 3.48, S.D.=0.26) สมรรถนะที่ 5 การออกแบบการเรยี นรู้ ( x = 3.43, S.D.=0.26) สมรรถนะท่ี 1 การม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ ( x = 3.41, S.D.=0.24) 3. การหาค่าที ( t – test ) เปรียบเทียบด้านผลผลติ ของโครงการ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าทีเพื่อเปรียบเทียบด้านผลผลิตของโครงการ พัฒนาสมรรถนะเพ่ือเพ่มิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ปรากฏ ดงั รายละเอยี ดในตาราง 4.8 ตาราง 4.8 แสดงการเปรยี บเทียบระดบั คณุ ภาพดา้ นผลผลติ ของโครงการ (ผลการพฒั นา สมรรถนะ) ในการประเมินตนเองของครผู ู้สอน จาแนกเปน็ กอ่ นดาเนนิ โครงการและหลงั ดาเนนิ โครงการ สมรรถนะ ก่อนดาเนนิ โครงการ หลงั ดาเนนิ โครงการ t (n=3) (n=3) 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 23.43* 2. การบริการท่ีดี x S.D. x S.D. 22.87* 3. การพฒั นาตนเอง 2.32 0.45 3.41 0.24 21.61* 2.12 0.42 3.70 0.31 2.23 0.42 3.48 0.26
139 ตาราง 4.8 (ต่อ) ก่อนดาเนนิ โครงการ หลังดาเนนิ โครงการ t (n=3) (n=3) สมรรถนะ 21.65* x S.D. x S.D. 20.24* 4. การทางานเปน็ ทมี 2.21 0.43 3.53 0.27 24.31* 5. การออกแบบการเรยี นรู้ 2.23 0.48 3.43 0.26 23.31* 6. การพัฒนาผเู้ รียน 2.21 0.43 3.52 0.37 7. การบรหิ ารจัดการชั้นเรยี น 2.22 0.41 3.58 0.32 (.05 t2 = 1.658 ) จากตาราง 4.8 แสดงว่า คุณภาพด้านผลผลิตของโครงการคือครูผู้สอนโรงเรียนวัดสลักได มีคณุ ภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ทกุ รายสมรรถนะก่อนดาเนินโครงการ และหลงั ดาเนินโครงการ แตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05
บทที่ 5 สรุปผลการประเมนิ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การประเมินโครงการพัฒนาสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู โรงเรยี นวัดสลกั ได ผรู้ ายงานได้ดาเนนิ การตามข้ันตอนของการประเมิน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. วตั ถุประสงค์ของการประเมิน 2. วิธีดาเนินการประเมนิ 3. สรุปผลการประเมิน 4. อภปิ รายผล 5. ขอ้ เสนอแนะ วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมิน การประเมนิ โครงการมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนวดั สลักได ในปกี ารศึกษา 2563 ดงั นี้ 1. เพอื่ ประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ 2. เพื่อประเมินปัจจยั เบอื้ งตน้ ของโครงการ 3. เพ่ือประเมนิ กระบวนการในการดาเนนิ โครงการ 4. เพ่อื ประเมินผลผลิตของโครงการ วิธดี าเนินการประเมิน วธิ กี ารประเมินโครงการ ผ้รู ายงานได้ดาเนนิ ประเมนิ ตามกรอบการประเมนิ โดยใช้รูปแบบ การประเมินโครงการแบบซิป (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบมี (Stufflebeam) มาเป็นกรอบในการ ประเมนิ ซง่ึ ประกอบดว้ ย การประเมินด้านสภาพแวดล้อม (Context Evaluation : C) การประเมนิ ดา้ นปจั จยั เบ้ืองต้น (Input Evaluation : I) การประเมนิ ด้านกระบวนการ (Process Evaluation : P) การประเมินดา้ นผลผลติ (Product Evaluation : P) ซ่งึ กาหนดตวั แปรทม่ี งุ่ ประเมินโครงการ มีดังนี้ 1. ตวั แปรท่ีมุ่งประเมนิ มีประเดน็ การประเมิน ดงั นี้ 1.1 ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มของโครงการในประเดน็ ต่อไปนี้ 1.1.1 สภาพแวดลอ้ มทัว่ ไปของโรงเรยี น 1.1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.2 ประเมนิ ปจั จยั เบื้องต้นของโครงการในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1.2.1 บุคลากร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244