Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย ผอ.ฐิถิศักดิ์ เพิ่มพูน (2)

วิจัย ผอ.ฐิถิศักดิ์ เพิ่มพูน (2)

Published by dr.angthong, 2021-05-04 07:32:48

Description: วิจัย ผอ.ฐิถิศักดิ์ เพิ่มพูน (2)

Search

Read the Text Version

141 1.2.2 งบประมาณ 1.2.3 วสั ดอุ ปุ กรณ์ 1.2.4 การบริหารจดั การ 1.3 ประเมินกระบวนการในการดาเนนิ โครงการในประเด็นตอ่ ไปน้ี 1.3.1 การให้ขอ้ มูลขา่ วสาร 1.3.2 การสรา้ งทมี งานคุณภาพ 1.3.3 การสร้างแรงจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ าน 1.3.4 การจดั ฝกึ อบรมครใู นการใช้คอมพวิ เตอร์ 1.3.5 การจัดฝึกอบรมครูในการออกแบบการเรยี นรู้ 1.3.6 การจัดฝกึ อบรมครูในการทาวจิ ยั ในชัน้ เรียน 1.3.7 การศกึ ษาดงู าน 1.3.8 การประเมินห้องเรียนมาตรฐาน 1.3.9 การประเมินประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน 1.3.10 การนิเทศ ติดตามและประเมินผล 1.4 ประเมนิ ผลผลิตของโครงการในประเด็นต่อไปน้ี 1.4.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 1.4.2 การเปรียบเทียบผลการพฒั นาสมรรถนะกอ่ นและหลังดาเนนิ โครงการ 2. เครือ่ งมือท่ใี ช้ประเมนิ โครงการ เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ โครงการเป็นแบบสอบถามและแบบประเมินที่ผู้รายงานได้สรา้ ง และพัฒนาขนึ้ เพือ่ ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี 2.1 แบบสอบถามจานวน 3 ฉบับ เพอื่ สอบถามความเหมาะสม ด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจยั เบอ้ื งต้น และด้านกระบวนการของโครงการ 2.2 แบบประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) จานวน 1 ฉบับ เพื่อประเมิน ด้านผลผลติ ของโครงการ 3. การเกบ็ รวมรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้รายงานได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองจากกลุ่ม ตัวอย่าง จาแนกตามเวลาการประเมินโครงการในแต่ละด้าน ดงั นี้ 3.1 ก่อนดาเนินโครงการ นาแบบสอบถามด้านสภาพแวดล้อมและด้านปัจจัย เบ้ืองต้นของโครงการไปให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ประเมินผล และนาแบบประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) ไปให้ครผู สู้ อนประเมินผล 3.2 ขณะดาเนินโครงการ นาแบบสอบถามด้านกระบวนการในการดาเนินโครงการ ไปให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและคณะกรรมการบริหารโรงเรียนประเมนิ ผล

142 3.3 หลังดาเนินโครงการ นาแบบประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน (สมรรถนะ) ไปใหค้ รูผสู้ อนประเมนิ ผล สรุปผลการประเมนิ สรุปผลการประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน ของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวดั สลกั ได ดงั น้ี 1. ผลการประเมินโครงการตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน สรปุ โดยภาพรวมมีความคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก ( x = 4.15, S.D.=0.59) 2. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยูใ่ นระดับ มาก ( x = 4.15, S.D.= 0.62) คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน มคี วามคิดเหน็ อยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.11, S.D.= 0.67) สว่ นคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน มีความคิดเห็นอย่ใู นระดับมาก ( x = 4.18, S.D.= 0.57) 3. ผลการประเมินด้านปัจจยั เบอ้ื งต้นของโครงการ ในภาพรวมมีความคิดเหน็ อยู่ในระดับ มาก ( x = 4.16, S.D.= 0.52) คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มีความคดิ เหน็ อยู่ในระดับมาก ( x = 4.32, S.D.= 0.48) สว่ นคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน มคี วามคิดเหน็ อยู่ในระดับมาก ( x = 3.98, S.D.= 0.56) 4. ผลการประเมินด้านกระบวนการดาเนนิ โครงการ ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับ มาก ( x = 4.14, S.D.= 0.63) คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มคี วามคดิ เห็นอยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.13, S.D.= 0.65) สว่ นคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น มคี วามเหน็ อย่ใู นระดับ มาก ( x = 4.14, S.D.=0.60) 5. การประเมนิ ผลผลติ ของโครงการ จากการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) ของครูผู้สอนหลังดาเนินโครงการ พบว่า 5.1 ผลการประเมินตนเองของครผู สู้ อนดา้ นคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน (สมรรถนะ) จานวน 3 คน มคี ่าเฉลยี่ รวมก่อนดาเนินโครงการ เท่ากบั 63.33 และมคี ่าเฉลีย่ รวมหลงั ดาเนินโครงการ เท่ากับ 79.00 5.2 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพดา้ นผลผลิตของโครงการหลังดาเนินโครงการ ครูผสู้ อนโรงเรียนวัดสลกั ได มปี ระสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงานอยใู่ นระดบั ดีมาก จานวน 3 คน คดิ เป็น ร้อยละ 100 5.3 ผลการประเมนิ ดา้ นผลผลติ พัฒนาคุณภาพการปฏิบตั งิ าน (สมรรถนะ) ของครูผู้สอน กอ่ นดาเนินโครงการ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ควรปรับปรงุ ( x = 2.22, S.D.=0.43) สว่ นหลงั ดาเนนิ

143 โครงการ โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ดีมาก ( x = 3.52, S.D.=0.29) เมือ่ นาผลมาเปรียบเทียบด้วยค่าที (t – test) พบว่ากอ่ นและหลงั ดาเนนิ โครงการมีความแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05 อภิปรายผล จากผลการประเมินโครงการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ ขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลกั ได มีประเด็นท่คี วรนามาอภิปรายผล ดงั นี้ 1. การประเมินสภาพแวดลอ้ ม จากผลการประเมนิ พบวา่ ด้านสภาพแวดลอ้ มของโครงการมคี วามเหมาะสมอยใู่ น ระดบั มาก ซง่ึ ผลการประเมินดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกับผลงานวจิ ยั ของ ปยิ มาศ ฉายชูวงษ์ (2560 : 126) ทไี่ ด้ประเมินโครงการโรงเรียนสุจริตของโรงเรียนบา้ นประดู่งาม สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถม ศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 โดยประยุกต์ใช้ การประเมนิ ผลรปู แบบซิปโมเดลใน 5 ดา้ น พบวา่ ด้าน บริบท (สภาพแวดล้อม) ความสอดคลอ้ งของวัตถุประสงคข์ องโครงการ ความเป็นไปได้ ในทางปฏบิ ัติ และชุมชนให้การยอมรับต่อกจิ กรรมของโครงการ โดยภาพรวมผลการประเมิน อยู่ในระดบั มากที่สุด (ค่าเฉลยี่ 4.82) สอดคล้องกบั ผลงานวจิ ัยของ พิมพว์ ภิ า บารงุ ทรัพย์ (2561 : บทคดั ยอ่ ) ที่ได้ประเมิน ประเมนิ โครงการโรงเรยี นปลอดขยะของโรงเรยี นอนบุ าลราชบรุ ี โดยใช้รปู แบบการประเมิน CIPPI พบวา่ บรบิ ทของโครงการ มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งในระดบั มาก วัตถุประสงคข์ องการจดั ทา โครงการมีความสอดคลอ้ งกบั ปญั หาด้านขยะของโรงเรียน และสอดคลอ้ งกบั ผลวิจัยของ วทิ วฒั น์ บรู ะพันธ์ (2562 : 81) ได้ศกึ ษาการประเมนิ โครงการห้องเรียนพเิ ศษ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรยี นราชวินิตมธั ยม โดยใช้การประเมินแบบซปิ ป์ (CIPP Model) ผลการวิจัยพบว่า ผลการ ประเมนิ ความเหมาะสมดา้ นบริบท โดยผู้บรหิ าร และครผู ู้สอน ในภาพรวมมคี วามเหมาะสมอยใู่ น ระดับมากที่สุด และยังสอดคล้องกบั ผลงานวิจัยของ ยวุ ดี คาเงิน (2561 : 142) ได้ทาการศกึ ษาการ ประเมนิ โครงการพฒั นาจิตสาธารณะของนกั เรยี นในโรงเรียนสังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต 23 พบว่า ด้านบริบทของโครงการพัฒนาจิตสาธารณะของนกั เรยี นตามความคิดเห็น ของผู้บริหารและคณะกรรมการสถานศึกษาสังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 23 มี ความสอดคล้องของวตั ถปุ ระสงคก์ ับนโยบายและเป้าหมายของโครงการ โดยรวมอยู่ในระดบั มาก การที่ดา้ นสภาพแวดลอ้ มโครงการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก ทง้ั นอ้ี าจเนือ่ งมา จากเหตุผล ตอ่ ไปนี้ 1.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการในการจัดทาโครงการ และ วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในภายนอกองค์กร (SWOT) เพื่อหาจดุ อ่อน จุดแขง็ อุปสรรค และโอกาส จะทาให้ทราบประเด็นปัญหาและประเด็นพัฒนา ได้แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา จึงมีความสาคัญ จาเป็นอันดับแรกที่จะทาให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ซ่ึงสอดคล้อง กับผลการศึกษาของ ปิยมาศ ฉายชูวงษ์ (2560 : 143) ท่ีพบว่า การประเมินด้านบริบทของโรงเรียนในด้านปฏิรูปการเรียนรู้

144 เพ่ือหาความตอ้ งการจาเป็นในการพัฒนาโรงเรยี น คณะครู ได้คัดเลือกให้โครงการทาวิจัยในช้ันเรียน เพอ่ื พฒั นากระบวนการเรียนรเู้ ป็นโครงการทม่ี คี วามจาเป็นอนั ดับแรก 1.2 เปน็ โครงการพฒั นาครูและบคุ ลากรทมี่ ีความสาคญั และจาเปน็ อันดบั แรก ของโรงเรยี น มกี ารวิเคราะหบ์ ริบทของโรงเรียนทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคมการเมอื งและผลกระทบอ่นื ๆ แล้วเหน็ ว่าโครงการมีความเปน็ ไปได้ ปฏิบตั ิได้จริง วัตถปุ ระสงค์ ของโครงการชัดเจน และเป็น ประโยชน์ต่อครใู นการปฏบิ ตั งิ านให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น ซ่ึงจะส่งผลให้นักเรยี นได้รับการพฒั นา อยา่ งเต็มทต่ี ามศักยภาพของแต่ละบคุ คลด้วย จากเหตผุ ลดงั กลา่ วจึงทาให้ผลการประเมินดา้ น สภาพแวดลอ้ มของโครงการมีความเหมาะสมอย่ใู นระดับ มาก 2. การประเมินปัจจัยเบอ้ื งตน้ จากผลการประเมนิ ที่พบว่า ด้านปัจจยั เบอ้ื งตน้ ของโครงการมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มาก ซึ่งสอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของ ชรินทร์ทร บญุ มา (2562 : 96) ซึง่ ไดศ้ กึ ษาการประเมนิ โครงการส่งเสริมนกั ธรุ กจิ น้อย มคี ณุ ธรรม นาสเู่ ศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของสถานศึกษาสังกดั สานักงาน พื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 3 โดยใช้การประเมนิ ซิปป์ (CIPP Model) พบว่า ด้าน ปัจจัยนาเข้า ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก และสอดคลอ้ งกับผลงานวจิ ยั ของ พิมพว์ ิภา บารงุ ทรพั ย์ (2561 : บทคดั ย่อ) ท่ีได้ประเมนิ โครงการโรงเรยี นปลอดขยะของโรงเรียนอนุบาลราชบรุ ี โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPI พบวา่ ปัจจัยนาเข้า บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ มีความ เหมาะสมอยใู่ นระดับ “มาก” สอดคลอ้ งกับผลวิจัยของ ยุวดี คาเงนิ (2561 : 142) ได้ทาการศกึ ษา การประเมนิ โครงการพฒั นาจติ สาธารณะของนกั เรยี นในโรงเรียนสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา มธั ยมศึกษา เขต 23 พบว่า ผลการประเมินความเหมาะสมดา้ นปจั จยั นาเขา้ ของโครงการพฒั นาจิต สาธารณะของนกั เรียนในโรงเรียนตามความคิดเห็นของผูบ้ รหิ าร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพน้ื ฐานสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 23 มีความเหมาะสมในระดับมาก การทด่ี ้านปจั จัยเบ้อื งตน้ ของโครงการมคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก อาจเน่อื งจาก เหตุผล ดงั น้ี 2.1 บคุ ลากรมสี ว่ นร่วมในการวางแผน มีความกระตือรอื ร้น และมคี วามรู้ ความสามารถในการดาเนนิ โครงการ ซึ่งสอดคลอ้ งกับผลการศึกษาของ ยุวดี คาเงนิ (2561 : 144) ซง่ึ ได้ศกึ ษาการประเมนิ โครงการพัฒนาจิตสาธารณะของนกั เรียนในโรงเรียนสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 มจี ุดมงุ่ หมายเพอ่ื ประเมินปัจจยั นาเข้า ด้านความพร้อมของบคุ ลากร อาคารสถานที่ วสั ดุอุปกรณ์ ในการดาเนินงาน ตามความคิดเห็นของผบู้ ริหาร ครู และคณะกรรมการ สถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 23 ที่พบว่า ตวั แปรทีม่ คี วามสมั พนั ธ์ กับประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน คือ ความรคู้ วามสามารถ ในการปฏิบัติงาน

145 2.2 ความพร้อม และความเพียงพอด้านงบประมาณ เนื่องจาก โรงเรียนวัดสลักได เป็น โรงเรียนขนาดเลก็ จงึ ใช้งบประมาณเพียงเล็กน้อย ประกอบกับมีเงินทีไ่ ด้รบั จากการบริจาคจากชุมชน เพ่อื สนบั สนนุ โครงการ 2.3 ความเพียงพอดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งใช้สานกั งาน และเคร่ืองอานวยความ สะดวก และระยะเวลามคี วามเหมาะสม ซงึ่ สอดคล้องกบั ผลการวจิ ยั ของ วทิ วัฒน์ บรู ะพันธ์ (2562 : 98) ทพี่ บวา่ ตวั แปรทม่ี คี วามสัมพันธ์กบั ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน คือ ความพงึ พอใจในปัจจยั ที่ เกยี่ วขอ้ งกับการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ าน 2.4 ผู้บริหารโรงเรียนมีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบริหารจัดการ และให้ การสนบั สนนุ โครงการเปน็ อยา่ งดี เป็นปัจจยั หนึ่งท่มี ีความสาคญั ในการบริหารโครงการ ความพร้อมและเพียงพอด้านทรัพยากรการบริหารคือ คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการจดั การดงั กล่าว จึงมีผลให้ดา้ นปจั จยั เบื้องตน้ ของโครงการมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 3. การประเมินกระบวนการ จากผลการประเมินทพ่ี บวา่ ด้านกระบวนการดาเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสม อย่ใู นระดับ มาก ซง่ึ ผลการประเมนิ ดังกลา่ วสอดคลอ้ งกบั ผลงานวิจัยของ สุธารตั น์ ศรีวาลัย (2560 : 223) ได้ทาการประเมนิ โครงการรักการอ่านของโรงเรียนสิรริ ตั นาธร โดยประยุกต์ใช้รปู แบบการ ประเมินแบบ CPO ผลการประเมนิ โครงการรักการอ่านดา้ นกระบวนการปฏิบัติ พบวา่ ระหวา่ งดาเนิน โครงการ ผลการประเมนิ ในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก และสอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ อทุ ยั เพ็ชรหิน (2560 : 222) ไดศ้ กึ ษาการประเมนิ การดาเนินโครงการโรงเรยี นดี ศรีตาบล สงั กัดสานกั งาน เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 พบว่าผลการประเมินด้านกระบวนการ (Process) ปลกู ฝงั นสิ ยั นกั เรยี น ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก และยังสอดคล้องกับผลงนวิจัยของ เสาวนีย์ ตาดา (2560 : 188) ได้ศกึ ษาการประเมนิ โครงการการจดั การศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งของสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 1 พบว่า ผลการประเมินด้านกระบวนการดาเนินงาน ผลการประเมนิ โดยภาพ รวมอยใู่ นระดับมาก การท่ีด้านกระบวนการดาเนินโครงการ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก ท้งั น้ี อาจเนื่องจากมเี หตุผล ดงั น้ี 3.1 โรงเรียนไดม้ กี ารจัดกจิ กรรมและนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ย่างจรงิ จังและตอ่ เนอ่ื ง เช่น การสร้างแรงจงู ใจในการปฏิบัตงิ าน การจดั ฝึกอบรมครูให้มที กั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ การจัด ฝกึ อบรมครูผู้สอนใหส้ ามารถออกแบบการเรยี นรทู้ ี่เน้นทกั ษะกระบวนการคดิ วิเคราะห์ การจัด ฝึกอบรมครูด้านการทาวิจยั ในชน้ั เรียน เปน็ ต้น การจดั กิจกรรมดังกล่าวสอดคลอ้ ง กับผลการศึกษา ของ อุทัย เพ็ชรหิน (2560 : 222) ท่ีพบว่า ตวั แปรที่มีความสมั พนั ธ์กับประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน คือ ขวัญและกาลงั ใจในการปฏิบัติงาน การได้รบั การอบรม

146 3.2 การทีค่ รูผู้สอนไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารทถ่ี กู ต้องรวดเร็วทนั เหตุการณ์ ได้มกี าร แลกเปล่ียนเรยี นร้ภู ายในกลุม่ จากการทางานเปน็ ทมี มคี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพ่มิ เตมิ จากการ ไปศกึ ษาดงู านโรงเรยี นดีเด่น ทาใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการปฏิบตั งิ านมากขน้ึ ในขณะเดียวกัน การทโ่ี รงเรยี นจัดกจิ กรรมประเมนิ ห้องเรียนมาตรฐานขึน้ ทาให้ครูผู้สอนไดม้ ีการปรับปรงุ เปล่ยี นแปลง หอ้ งเรยี นอยา่ งต่อเนอ่ื งไมว่ า่ จะเป็นการจดั ส่ือ สภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในห้องเรียนใหเ้ อื้อ ตอ่ การเรยี นรูส้ ามารถพฒั นาผเู้ รียนและบริหารจดั การชั้นเรียนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3.3 การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการปฏิบัติงาน และนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล การปฏบิ ัตงิ านของครูผูส้ อนอย่างต่อเนื่อง เพือ่ เป็นข้อมูลเล่ือนขัน้ เลือ่ นตาแหนง่ เลือ่ นขั้นเงินเดอื น มอบหมายงานให้บคุ ลากรโดยยดึ หลักความรู้ความสามารถและความเป็นธรรม เปน็ การสง่ เสรมิ และ พฒั นาบคุ ลากรที่มีสมรรถนะสูงให้มีความกา้ วหน้า มคี วามมัน่ คงในการทางานซึ่งจะสง่ ผลใหก้ าร ปฏิบัติงานของครูมีประสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ ซึง่ สอดคล้องกบั ผลการศกึ ษาของ แสงเพ็ชร แสงจันทร์ (2560 : 206) ทไี่ ด้ศกึ ษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูอาชวี ศึกษาในจงั หวดั เชียงราย พบว่า ปัจจัย ท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านได้แก่ ความก้าวหนา้ ในการทางาน ความม่นั คงในการ ทางานและการไดร้ ับความยตุ ิธรรม ในการทางาน จากเหตุผลดงั ทกี่ ล่าวมา จึงทาให้ผลการประเมนิ ดา้ นกระบวนการดาเนนิ โครงการมคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับ มาก 4. การประเมินผลผลิต 4.1 จากผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการที่พบว่า ครูผู้สอนร้อยละ 100 มปี ระสิทธิภาพการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ดีมาก ซง่ึ สูงกวา่ เกณฑก์ ารประเมินท่กี าหนดไว้ ท้งั นี้ เป็น เพราะโครงการดังกลา่ วไดส้ นองตอบความต้องการของครผู ูส้ อนในการพัฒนาตนเองเพอ่ื ใหเ้ ขา้ สู่ มาตรฐานวิชาชีพครู ทงั้ มาตรฐานด้านความรแู้ ละประสบการณว์ ิชาชีพ มาตรฐานดา้ นการปฏิบตั ิตน และมาตรฐานดา้ นการปฏิบัตงิ าน การท่ีโรงเรยี นได้จัดกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะโดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ าน แตค่ รูผูส้ อนสว่ นใหญ่ มคี วามต้องการพฒั นาสมรรถนะเพ่อื เตรียมความพร้อมรับการประเมนิ เพ่อื ใหม้ ีหรือเล่ือนวิทยฐานะที่สงู ขึน้ ดังน้ัน ความตอ้ งการของ โรงเรียนท่จี ะพฒั นาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจาสายงานสาหรับใชป้ ระเมนิ ข้าราชการครู เพื่อใหม้ ีหรอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะเป็นครูชานาญการ ครูชานาญการพเิ ศษ หรือวิทยฐานะครูเชยี่ วชาญ และ ความตอ้ งการในการพฒั นาเดก็ นักเรยี นใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีขนึ้ ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ กาหนด ซึง่ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของครูผสู้ อนจึงเปน็ แรงกระตุ้นให้ครผู ู้สอนมคี วามสนใจ มีความมุ่งมั่นท่จี ะพัฒนาตน พัฒนางานอยา่ งเตม็ ความสามารถ เขา้ รว่ มกิจกรรมตามโครงการที่ โรงเรียนจัดทกุ ครัง้ ผลทเี่ กิดกบั ครผู ู้สอนคอื มสี มรรถนะในการปฏบิ ัติงานสงู มากขึน้ ทงั้ สมรรถนะดา้ น การมุง่ ผลสมั ฤทธ์ิ การบรกิ ารที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทมี ซึ่งเป็นสมรรถนะหลักและ สมรรถนะดา้ นการออกแบบการเรยี นรู้ การพฒั นาผ้เู รียนและการบริหารจดั การชั้นเรยี นซ่งึ เปน็ สมรรถนะประจาสายงาน ผลท่ีเกิดกับครูผู้สอนอีกประการหนงึ่ คือมคี วามมั่นใจท่จี ะนาเสนอผลงาน

147 เพอ่ื ขอรับการประเมินในรูปแบบต่าง ๆ หรอื แมก้ ระท่งั การประเมินให้มีหรือเล่ือนวทิ ยฐานะเป็นครู ชานาญการพเิ ศษ ครเู ชย่ี วชาญ และใหค้ วามสนใจสมัครเขา้ อบรมหลกั สูตรตา่ ง ๆ ท่ีหน่วยงานของรฐั และเอกชนจัดเปน็ จานวนมาก 4.2 จากผลการประเมนิ ดา้ นผลผลติ ของโครงการพบว่า ครผู ู้สอนมคี ณุ ภาพ การปฏิบตั ิงาน (สมรรถนะ) อยู่ในระดับ ดมี าก ทุกรายสมรรถนะและทกุ ตวั บง่ ช้ี ซง่ึ สูงกว่าเกณฑ์ การประเมินที่กาหนดไว้ การท่คี รูผู้สอนมีคณุ ภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) อยู่ในระดบั ดมี าก ทกุ รายสมรรถนะ ทง้ั น้ีเพราะมีสาเหตเุ ดยี วกนั กบั ข้อ 4.1 อย่างไรกต็ าม การทคี่ รูผู้สอนบางราย มคี วามกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี เช่น การไดเ้ ล่ือนข้นั เล่ือนตาแหน่งสงู ข้ึน และได้รับการประกาศยกยอ่ ง เชิดชูเกียรติที่มผี ลงานดเี ดน่ หรอื สรา้ งชอื่ เสียงใหก้ ับโรงเรยี น การได้รับสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ จากโรงเรียน การได้รบั การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านอย่างต่อเนอื่ ง ได้สบั เปลยี่ นหมุนเวียน ตาแหนง่ ได้ทางานตรงตามความรูค้ วามสามารถและเป็นธรรม และไดม้ ีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การศกึ ษา เปน็ ตน้ จึงเป็นปัจจยั สาคัญที่ทาให้ผลผลิตของโครงการคือครูผู้สอนมีคุณภาพการ ปฏบิ ัติงาน (สมรรถนะ) อยู่ในระดบั ดมี ากทกุ รายสมรรถนะและทกุ ตวั บง่ ช้ี 4.3 จากผลการประเมินดา้ นผลผลติ ของโครงการท่พี บว่า ผลการพฒั นาสมรรถนะ ของครูผู้สอนกอ่ นและหลงั ดาเนนิ โครงการแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 ทั้งนี้เนือ่ งจากเหตุผล ดังน้ี 4.3.1 กิจกรรมทงั้ หมดท่ีกาหนดในโครงการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานของข้าราชการครูโรงเรยี นวดั สลักได สามารถพัฒนาสมรรถนะหลักและ พฒั นาสมรรถนะประจาสายงานของครผู ูส้ อนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล โดยเฉพาะ กิจกรรมการประเมนิ หอ้ งเรยี นมาตรฐาน กจิ กรรมการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล และกจิ กรรม การประเมนิ ประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครู ซง่ึ โรงเรยี น ได้มีการนาแบบประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน (สมรรถนะ) ด้านท่ี 2 (1) สาหรับสายงานการสอนทใี่ ชป้ ระเมินข้าราชการครู เพื่อให้มหี รือเลือ่ นวิทยฐานะสงู ขน้ึ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่ ก.ค.ศ.กาหนดมาใช้ในขณะดาเนนิ โครงการและครผู สู้ อนไดร้ บั การประเมินอย่างตอ่ เน่อื ง จงึ สง่ ผลให้ครผู ู้สอนมสี มรรถนะหลังดาเนนิ โครงการสงู กวา่ ก่อนดาเนินโครงการแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 4.3.2 หลังจากมกี ารประกาศใช้พระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา พระราชบญั ญัติเงินเดอื น เงนิ วทิ ยฐานะและเงนิ ประจาตาแหนง่ ขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา และสานักงาน ก.ค.ศ. ไดก้ าหนดหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประเมิน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพอ่ื ให้มีหรอื เล่ือนวิทยฐานะตา่ ง ๆ เปน็ สาเหตุสาคัญประการ หนง่ึ ทีท่ าให้ครูผู้สอนท่เี ข้าร่วมโครงการทกุ คน มคี วามสนใจและมีความต้งั ใจทจี่ ะพฒั นาสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจาสายงานเพอื่ ให้มีผลงานตามเกณฑ์ การประเมนิ ท่ีกาหนดและมคี วามพร้อมที่จะ รับการประเมินเพือ่ ใหม้ หี รอื เล่อื นวทิ ยฐานะท่สี ูงขึ้นในปีการศกึ ษา 2563 จึงเปน็ แรงจูงใจและเปน็

148 ตัวกระต้นุ ใหค้ รูผ้สู อนสนใจพัฒนาสมรรถนะมากย่ิงขนึ้ สง่ ผลให้ครผู สู้ อนมคี ุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน (สมรรถนะ) หลงั ดาเนินโครงการสงู กว่ากอ่ นดาเนนิ โครงการแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 4.3.3 จากผลสมั ฤทธิ์ของโครงการทีบ่ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ละครูผู้สอนมีสมรรถนะ ก่อนและหลงั ดาเนนิ โครงการมีความแตกต่างอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิระดบั .05 สง่ ผลกระทบต่อ โครงการหลายประการ ดงั นี้ 4.3.3.1 ผลทเี่ กิดกบั นกั เรียนปกี ารศึกษา 2563 ที่สาคญั ๆ พอสรุปได้ ดังน้ี 4.3.3.1.1 นักเรยี นมคี วามรูท้ กั ษะท่จี าเป็นตามท่ีหลกั สตู รกาหนด เชน่ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทักษะทางภาษา ทกั ษะการแก้ปัญหา ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะการทางาน เป็นกลมุ่ ทกั ษะการเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นต้น 4.3.3.1.2 นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและมคี ณุ ลักษณะที่ พงึ ประสงค์ ตามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตรเป็นทย่ี อมรับของผปู้ กครอง ชุมชน สงั คมและผเู้ กย่ี วข้อง 4.3.3.1.3 นกั เรียนไดร้ ับรางวัลการแข่งขันกิจกรรมทางวิชาการ เชน่ - รางวัลเหรยี ญเงนิ จากการเข้าประกวดแขง่ ขนั กิจกรรมการ วาดภาพ งานมหกรรมวิชาการ กตญั ญู กตเวทติ า ทักษะจรยิ า ทาดีบชู าพระเทพวิทยาคม (หลวงพอ่ คูณ ปริสุทฺโธ) ของสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 อาเภอด่านขุนทด และวัดบ้านไร่ - รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั หนง่ึ จากการเข้าประกวดแขง่ ขนั กิจกรรมการเขียนเรียงความ ระดบั ช้นั ป.1-3 ของอาเภอเฉลิมพระเกียรติ - รางวลั ชนะเลิศอันดบั หน่ึง จากการเข้าประกวดแข่งขัน กิจกรรมการวาดภาพระบายสี ระดบั ชน้ั ป.1-3 ของอาเภอเฉลมิ พระเกียรติ - รางวลั ระดบั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 จากการเข้า ประกวดแขง่ ขนั กิจกรรมแข่งขนั หนุ่ ยนต์ระดบั พ้นื ฐาน ระดบั ชัน้ ป.1-ป.6 ในงานศลิ ปหัตถกรรม นักเรยี น ระดับสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา ครัง้ ท่ี 69 - รางวลั ระดบั เหรียญทอง จากการเข้าประกวดแข่งขัน กิจกรรม แข่งขันการสร้างสรรคภ์ าพดว้ ยการปะตดิ ระดับชั้น ป.1-ป.3 ในงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ครงั้ ที่ 69 - รางวลั ระดับเหรียญทอง จากการเข้าประกวดแข่งขัน กจิ กรรม แข่งขันการสรา้ งสรรคภ์ าพดว้ ยการปะตดิ ระดับช้ัน ป.4-ป.6 ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ครง้ั ท่ี 69 -

149 4.3.3.2 ผลที่เกดิ กับครู ท่สี าคญั ๆ พอสรปุ ได้ ดังนี้ - ครไู ดร้ ับผู้สนับสนุน โครงการ อย. นอ้ ย ท่ไี ดร้ บั การรับรอง มาตรฐานระดับ ดี จากสานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข - ครูไดร้ ับการคดั เลือกเป็น ครดู ีเดน่ ของสานักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2 - ครูไดร้ บั การเชญิ ให้เป็นวทิ ยากรผู้ฝกึ สอนการราบวงสรวง ทา้ วสุรนารี จากผู้วา่ ราชการจังหวดั นครราชสีมา - รางวัลเหรยี ญเงนิ จากการเขา้ ประกวดแข่งขนั กจิ กรรมการวาด ภาพ งานมหกรรมวชิ าการ กตัญญู กตเวทิตา ทกั ษะจรยิ า ทาดีบูชาพระเทพวทิ ยาคม (หลวงพ่อคณู ปรสิ ทุ ฺโธ) ของสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 อาเภอด่านขุนทดและ วดั บ้านไร่ - ครูผู้ฝกึ สอนจนได้รับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับหนงึ่ จากการเขา้ ประกวดแข่งขัน กิจกรรมการเขยี นเรียงความ ระดับช้นั ป.1-3 ของอาเภอเฉลมิ พระเกยี รติ - ครูผฝู้ กึ สอนจนได้รับรางวัลชนะเลศิ อันดับหน่งึ จากการเขา้ ประกวดแขง่ ขัน กจิ กรรมการวาดภาพระบายสี ระดบั ชัน้ ป.1-3 ของอาเภอเฉลมิ พระเกยี รติ - ครผู ู้ฝึกสอนจนได้รับรางวลั ระดบั เหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 1 จากการเขา้ ประกวดแข่งขัน กจิ กรรมแขง่ ขนั หุน่ ยนต์ระดบั พนื้ ฐาน ระดับชั้น ป.1-ป.6 ในงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คร้ังท่ี 69 - ครูผู้ฝกึ สอนจนไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญทอง จากการเขา้ ประกวดแข่งขัน กจิ กรรมแขง่ ขนั การสรา้ งสรรคภ์ าพด้วยการปะตดิ ระดับชั้น ป.1-ป.3 ในงาน ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา คร้งั ท่ี 69 - ครูผู้ฝกึ สอนจนได้รบั รางวัลระดบั เหรียญทอง จากการเข้า ประกวดแข่งขัน กจิ กรรมแขง่ ขนั การสรา้ งสรรคภ์ าพด้วยการปะตดิ ระดับชั้น ป.4-ป.6 ในงาน ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดับสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา คร้ังท่ี 69 4.3.3.3 ผลทเี่ กิดกับโรงเรียน พอสรปุ ได้ ดังนี้ - โรงเรยี นได้รบั การยกยอ่ งเปน็ โรงเรียนท่ีมนี กั เรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทมี่ ผี ลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผเู้ รยี น (Reading Test: RT) ทัง้ 3 ดา้ น คอื การอา่ นออกเสียง การอ่านรเู้ รื่อง และรวม 2 ด้าน อยู่ในระดบั ดีมากทุกคนและมี คะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ ระดบั ประเทศ

150 - โรงเรยี นไดร้ ับการยกยอ่ งเป็นโรงเรียนทมี่ นี ักเรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่มี ผี ลการประเมินคุณภาพผ้เู รียน (NT) ในดา้ นภาษาไทย (Thai Language) และ ด้านรวมความสามารถทั้ง 2 ดา้ น อยูใ่ นระดับดีทุกคนและมีคะแนนเฉลี่ยสงู กว่าระดับประเทศ - โรงเรียนได้รับการยกยอ่ งดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษามีผลการ ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ในรายวชิ าภาษา ภาษาอังกฤษทมี่ ผี ลการทดสอบสงู ขึน้ และในกล่มุ วชิ าไทย ทม่ี ีค่าคะแนนเฉลีย่ สูงขน้ึ และสงู กว่า ค่าเฉลยี่ ระดับประเทศ ขอ้ เสนอแนะ จากผลการประเมินด้านผลผลิตของโครงการซ่ึงพบว่า สมรรถนะท่ีมีค่าเฉล่ียต่าท่ีสุดได้แก่ สมรรถนะหลกั ที่ 1 การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ ผูร้ ายงานจงึ มขี อ้ เสนอแนะ ดังน้ี 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการประเมินไปใช้ 1.1 สาหรับโรงเรยี นควรมกี ารพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนดา้ นการมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ อย่างต่อเน่ืองทัง้ ตัวบ่งช้ที ่ี 1 คุณภาพงานด้านความถูกต้องครบถว้ นสมบรู ณ์ และตวั บง่ ช้ที ่ี 2 ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ การนานวัตกรรม/ทางเลอื กใหม่ ๆ มาใช้เพมิ่ ประสิทธิภาพของงานเพ่อื ให้ครผู สู้ อนมี ความรู้และทักษะในการปฏบิ ตั ิงานเพม่ิ ขน้ึ ซง่ึ จะสง่ ผลให้มผี ลงานไดค้ ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทยี่ อมรับ และเปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ีแกเ่ พอ่ื นรว่ มงานในโรงเรียนตอ่ ไป 1.2 นาผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาบคุ ลากรให้มีประสทิ ธิภาพ ในการปฏิบัตงิ านยิง่ ขนึ้ 1.3 สาหรับหนว่ ยงานต้นสังกัด คือ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา นครราชสมี า เขต 2 ควรมกี ารพฒั นาสมรรถนะครูผู้สอนในสังกดั หรือจดั งานมหกรรมวชิ าการ และมี การแสดงผลงานครแู ละนักเรียนทุกปี เพอ่ื เปดิ โอกาสให้ครูผสู้ อนทีม่ ีสมรรถนะหรือมศี กั ยภาพได้ แสดงผลงาน 2. ข้อเสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาครั้งตอ่ ไป 2.1 ควรมกี ารศึกษาลงลกึ ในรายละเอยี ดเกย่ี วกบั การพัฒนาสมรรถนะเปน็ ราย สมรรถนะโดยเฉพาะสมรรถนะดา้ นการมุ่งผลสัมฤทธ์เิ พื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ าน ของ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.2 ควรมกี ารศกึ ษากลยุทธ์หรอื วธิ กี ารพัฒนาบคุ ลากรรูปแบบอื่น ๆ เพือ่ เปน็ ทางเลอื กใหก้ ับสถานศกึ ษาและครูผู้สอนไดพ้ ฒั นาตนตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล 2.3 ควรมกี ารศกึ ษารูปแบบหรือแนวทางการประเมินโครงการตา่ ง ๆ เพอื่ จะไดม้ ี ข้อมลู หรือแนวทางการประเมินโครงการอนื่ ๆ ตอ่ ไป

บรรณานกุ รม

152 บรรณานกุ รม กมลานันท์ บญุ กล้า. (2559). การประเมนิ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้าน หนองปลาซิว สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั บูรพา. กรีน ผยุ ปโุ รย. (2558). การประเมินโครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สุขภาพของโรงเรียนโนนสีดาวิทยา อาเภอศรสี มเด็จ จงั หวดั รอ้ ยเอด็ . วทิ ยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฎมหาสารคาม. กษิรา วงศส์ วุ รรณ. (2560). ปัจจัยทมี่ อี ทิ ธิพลต่อประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากร โรงเรียนต้นแก้วผดุงพทิ ยาลัย สังกดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดเชยี งใหม.่ วิทยานิพนธ์ ปริญญาบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฎั เชียงใหม่. กาญจนา ชสู กุล. (2558). การประเมินโครงการรกั การอ่านโรงเรยี นเทศบาลบ้านสามเหล่ียม สังกัดเทศบาลนครขอนแกน่ โดยประยกุ ต์ใชร้ ูปแบบซิปป์. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภฎั มหาสารคาม. กาญจนา วัฒนายุ. (2548). การวจิ ัยเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ธนพรการพมิ พ.์ กาญจนา วัธนสนุ ทร. (2554). การประยกุ ตใ์ ชร้ ูปแบบการประเมิน CIPP ของสตัฟเฟิลบีม ในการ ประเมนิ โครงการทางการศึกษา. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. กริ ณา สงั ขเ์ สวก. (2556). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากลกรณีศึกษาโรงเรียน อนุบาลนครปฐม. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. กิตมิ า ปรดี ีดลิ ก. (2532). การบริหารและการนิเทศเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพฯ: อักษรบณั ฑติ . กานดา นาคะเวช. (2545). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากลกรณีศึกษาโรงเรยี น อนุบาลนครปฐม. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ขนิษฐา ปานผา. (2560). สมรรถนะการปฏบิ ัติงานในหนา้ ทขี่ องครตู ามความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ าร สถานศึกษาและครูสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ี. วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตร.ี คณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2560). คู่มือการประเมิน. กรงุ เทพ ฯ: สกสค. คมกรชิ ภูคงกิ่ง. (2560). การพฒั นาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะการจดั การเรียนรขู้ องครูสังกัด สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

153 จติ ราภรณ์ ใยศิลป.์ (2557). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล โดยใชก้ ารประเมนิ เชงิ ระบบ กรณีศึกษาโรงเรียนเฉลมิ ขวญั สตรี จังหวัดพษิ ณุโลก. พษิ ณโุ ลก: สถาบัน พัฒนาครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศึกษา. ชนัดดา บุบผามาศ. (2557). การประเมนิ โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพเจ้าหนา้ ทพ่ี ฒั นาชมุ ชน ฝกึ อบรมคอมพวิ เตอรข์ องสานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวัดสระแก้ว. วทิ ยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ชรินทร์ทร บุญมา. (2562). การประเมินโครงการสง่ เสรมิ นกั ธรุ กจิ นอ้ ย มคี ุณธรรม นาสูเ่ ศรษฐกิจ สรา้ งสรรค์ ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 3 โดยใช้การประเมินซปิ ป์ (CIPP Model). วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ . มหาวทิ ยาลัยพะเยา. ชเู กียรติ จากใจชน. (2560). การประเมนิ โครงการ. กรุงเทพฯ: เอชอาร์ เซนเตอร์. ณรงค์ นันทวรรธนะ. (2547). การบริหารงานมนษุ ยส์ มัยใหมภ่ าคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เอชอาร์ เซ็นเตอร์. ทรงศกั ดิ์ ภสู ีออ่ น. (2561). การประยุกตใ์ ช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมลู งานวิจยั . มหาสารคาม: ตักศิลาการพิมพ.์ ทะเวศร์ ศรรบศึก. (2560). ศึกษาระดับและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลกั ของครสู ังกดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 24. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาครศุ าสตร มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. ไท พานนนท.์ (2560). รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะการคิดเชงิ กลยุทธ์ของรองผูอ้ านวยการ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา. วิทยานพิ นธ์ปริญญาดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลัย นเรศวร. ธนวรรธ ตง้ั สินทรพั ยศ์ ิริ. (2550). การประเมินโครงการแนวคิดและการปฏิบตั ิ. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. นาซฟี ะ เจ๊ะมดู อ. (2560). การวจิ ยั เชิงประเมินโครงการเสริมศกั ยภาพครสู อนตาดกี าในโรงเรียน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้รปู แบบการประเมนิ ของเคริ ์กแพทริค. วิทยานพิ นธ์ ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี. นมิ ิตร ธยิ าม. (2558). การประเมินโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษ เอม็ อี พี โรงเรียนจอมทอง จงั หวัด เชียงใหม่. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

154 นริ สุ ณา เจ๊ะบ.ู (2560). การวิจัยเชิงประเมนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพครผู ู้สอนไมต่ รงวฒุ ิ ในพน้ื ท่สี ามจงั หวัดชายแดนภาคใต้ โดยประยกุ ต์ใชร้ ปู แบบการประเมินแบบไคโร (CIRO). วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี. บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). วจิ ัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาสน์ . บุศรา เขม็ ทอง. (2560). ศกึ ษาระดับและแนวทางการพฒั นาสมรรถนะหลักของครสู งั กัด สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 24. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. บษุ กร สุขแสน. (2556). การประเมนิ โครงการส่งเสริมศกั ยภาพเดก็ เป็นรายบุคคลเพอื่ ความเปน็ ผูน้ าในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนชลประทานผาแตก จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญา ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. ปิยมาศ ฉายชูวงษ.์ (2560). การประเมนิ โครงการโรงเรียนสจุ ริตของโรงเรยี นบา้ นประดู่งาม สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภฎั นครราชสีมา. พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนท่ี 74 ก, 19 สิงหาคม 2542, หน้า 1-23. พักตรพ์ ไิ ล วงค์ละ. (2560). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นดีประจาตาบลของโรงเรยี นในสงั กัด สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 4. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาครศุ าสตร มหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม. พัชรี โพธ์ิแกว้ . (2560). สภาพและแนวทางการพฒั นาสมรรถนะครู ดา้ นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจยั เพ่อื พฒั นาผู้เรยี น สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี มั ย์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฎบรุ รี ัมย์. พชิ ญ์ณัฏฐา งามมีศร.ี (2552). การประเมินโครงการพฒั นาความปลอดภยั ทางด้านอาหารใน โรงเรียนของสานกั งานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . วทิ ยานิพนธ์ปริญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิทยาภรณ์ บรรณาลยั . (2560). การประเมินผลตามโครงการพฒั นาครูโดยใช้กระบวนการสร้าง ระบบพี่เลยี้ ง จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม พมิ พล์ กั ษณ์ พิณจะโปะ. (2558). การประเมนิ โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ดา้ น ICT โรงเรยี น ปกั ธงชยั ประชานริ มติ สังกดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครราชสีมา.

155 พมิ พว์ ภิ า บารงุ ทรพั ย.์ (2561). การประเมนิ โครงการโรงเรยี นปลอดขยะของโรงเรยี นอนุบาล ราชบรุ ี โดยใชร้ ปู แบบการประเมิน CIPPI. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง. พิษณุ ฟองศรี. (2549). การประเมนิ โครงการค่ายเสริมสร้างคา่ นิยมหลัก 12 ประการสงั กดั สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั บุรีรัมย์. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฎบุรีรมั ย.์ พรี ะวัตร จนั ทกูล. (2560). รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะครูในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สารเพอื่ การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษา ดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลยั นเรศวร. ไพศาล วรคา. (2552). การวิจยั ทางการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพมิ พ์. ภูมิศรี จนั ทร์ดา. (2556). การประเมนิ โครงการ “ครหู ลงั ม้า” ของสานกั งานการประถมศึกษา จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน. แมฮ่ ่องสอน: หน่วยศึกษานิเทศก์ สานักงานการประถมศกึ ษาจังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน. มนิดา เจริญภมู .ิ (2559). การประเมินโครงการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของนักเรียนโรงเรียน แวงนอ้ ยศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 25 โดยประยกุ ตใ์ ช้ รูปแบบ CIPPIEST. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม. มยรุ ี อนุมานราชธน. (2546). กลยทุ ธก์ ารเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการปฏบิ ตั ิงานของครูโรงเรียน สงั กัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในเขตภาคเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตร ดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฎั เชยี งราย. ยวุ ดี คาเงิน. (2561). การศึกษาการประเมินโครงการพฒั นาจติ สาธารณะของนกั เรียนในโรงเรียน สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 23. วิทยานิพนธ์ปริญญาครศุ าสตร มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร. เยาวดี รางชยั กลุ . (2546). การประเมินโครงการแนวคดิ และการปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . รังสรรค์ สิงหเลิศ. (2558). ระเบยี บวิธวี จิ ยั และการใช้สถิติสาหรับการวิจยั ทางสงั คมศาสตร์. มหาสารคาม: ทริปเพิล้ กรุ๊ป จากดั . รัตนะ บวั สนธ.์ (2556). รูปแบบการประเมนิ CIPP และ CIPIEST มโนทัศน์ท่ีคลาดเคลื่อนและถกู ต้อง ในการใช.้ วารสารศิลปากรศึกษาศาสตรว์ ิจัย, 5(2), 7-24 ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.2525 (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: สานักพิมพอ์ กั ษรเจริญทัศน.์

156 ราไพ แสงนิกลุ . (2560). การประเมนิ โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย: กรณศี ึกษาสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต 2. วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม. รจุ มิ า ปรัชญาโณทยั . (2543). การประเมินโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพเจ้าหนา้ ท่ีพฒั นาชุมชน ฝกึ อบรมคอมพิวเตอร์ของสานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวดั สระแก้ว. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยบูรพา. โรงเรยี นวัดสลักได. (2556). แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2556-2561. (เอกสารอัด สาเนา) ลัดดาวัลย์ แก่นจกั ร. (2560). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะดา้ นการพฒั นาตนเอง ของครูโรงเรียนเอกชนในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ลอื ชัย ชูนาคา. (2560). รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะการบริหารวชิ าการของผบู้ รหิ าร สถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดษุ ฎี บัณฑติ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วทญั ญู วฒุ วิ รรณ์. (2560). รปู แบบการพัฒนาครูประถมศกึ ษาให้สามารถออกแบบการจัดการ เรยี นรูว้ ชิ าวิทยาศาสตร์ท่สี อดแทรกธรรมชาติของวิทยาศาสตร์. วิทยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎี บณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. วรรณนภิ า วงศส์ วาสดิ์. (2560). การพฒั นาแนวทางเสริมสร้างสมรรถนะครดู ้านการบรหิ าร จดั การชน้ั เรียนสาหรบั สถานศกึ ษาสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 24. วิทยานพิ นธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. วรรณา เครือบคนโท. (2561). การประเมนิ โครงการขยายผลการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่าน ดาวเทยี มของโรงเรียนขนาดเลก็ สงั กดั สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาบรุ รี ัมย์ เขต 4. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฎั บรุ ีรัมย์. วราภรณ์ ภิรมยน์ าค. (2559). การประเมินผลโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในโรงเรยี น ในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรมั ย์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญา ครศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฎบรุ รี มั ย์. วสนั ต์ ปานทอง. (2560). รูปแบบการพัฒนาครูเพอ่ื ศษิ ยใ์ นสถานศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษา. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาดษุ ฎีบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. วัชรี ธุวธรรม. (2563). การประเมนิ ผลโครงการ. กรงุ เทพฯ: มาสเตอรเ์ พรส. วันวสิ า ชนะวงศ์. (2561). การประเมนิ โครงการ English for Integrated Studies (EIS) โรงเรียนนนทบรุ พี ทิ ยาคม. วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัย บรู พา.

157 วาทนิ พฒุ เขยี ว. (2560). การพัฒนาแนวทางเสรมิ สรา้ งสมรรถนะครูในการจัดการเรยี นรสู้ าหรับ โรงเรยี นขนาดเลก็ สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิจารณ์ พานชิ . (2555). วิถสี รา้ งการเรยี นรู้เพอื่ ศิษยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสด ศรสี ฤษดวิ์ งศ.์ วิทยา ทัศม.ี (2560). การพัฒนาหลกั สตู รฝึกอบรมเพื่อเสรมิ สมรรถนะดา้ นการจดั การเรียน การสอนทเี่ สรมิ สรา้ งความสามารถดา้ นการคิดวิเคราะห์ของผูเ้ รยี นสาหรับครูระดบั ประถมศกึ ษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรชั ญาดุษฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสกลนคร. วิทวัฒน์ บูระพนั ธ.์ (2562). การประเมินโครงการห้องเรยี นพเิ ศษ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนราชวินิตมธั ยม โดยใชก้ ารประเมินแบบซปิ ป์ (CIPP Model). วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. ศกั ดิ์ชัย ภู่เจรญิ . (2557). การประเมนิ โครงการ CIPP Model. กรงุ เทพฯ: อักษรบณั ฑิต. ศิริกาญจน์ งาชา้ ง. (2560). การประเมินโครงการลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารขู้ องโรงเรยี นเชยี งดาว วทิ ยาคม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัย ฟาร์อสี เทอรน์ . ศิริพร ศรีปัญญา. (2560). การพฒั นาแนวทางเสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียน เป็นสาคญั ของครใู นสถานศกึ ษาสงั กัดสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาบงึ กาฬ. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศวิ พร วงศานันต.์ (2561). การประเมินโครงการยกระดับผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ของสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยบรู พา. สมนกึ ภัททยิ ธน.ี (2551). การวัดผลทางการศึกษา. พมิ พ์ครั้งท่ี 6. กาฬสนิ ธ์ุ: ประสานการพิมพ์. สมพิศ สุขแสน. (2545). การประเมนิ โครงการโรงเรียนดีประจาตาบลของโรงเรียนในสงั กัด สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 4. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตร มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2. (2561). แบบประเมินและค่มู อื การใช้ แบบประเมนิ เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีวิทยฐานะและเล่ือนวิทย ฐานะ ใน กฎหมายและหนงั สอื เวียน ก.ค.ศ. 2548-2549. นครราชสมี า. อัดสาเนา. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. (2553). คูม่ ือการประเมินสมรรถนะครู. กรงุ เทพ ฯ: สกสค. . (2560). มาตรฐานหลักเกณฑ์การใหข้ ้าราชการครมู ีวทิ ยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะ. กรุงเทพ ฯ: สกสค.

158 สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา. ที่ ศธ 0206.7/ว22 ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 “เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธกี ารพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ ศึกษา สายงานสอน”. . (2561). แบบประเมินและคมู่ ือการใชแ้ บบประเมินเพ่อื ให้ขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษามีวทิ ยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ ใน กฎหมายและหนงั สอื เวยี น ก.ค.ศ. 2548-2549. กรงุ เทพฯ. สานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2556). การพัฒนาครู ประจาปี 2556 ตามโครงการพฒั นาครโู ดยกระบวนการสร้างระบบพเี่ ลีย้ ง. กรงุ เทพฯ: สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน. สุกนั ต์ แสงโชติ. (2560). รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะทางการบรหิ ารของผบู้ ริหารมหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญารฐั ประศาสนศาสตรดุษฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. สจุ ติ รา ธนานนท.์ (2556). การประเมนิ โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมของนกั เรยี น โรงเรยี นแวงน้อยศกึ ษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 25 โดยประยุกต์ใช้รปู แบบ CIPPIEST. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฎมหาสารคาม. สทุ ศั น์ แก้วคา และคณะ. (2556). รายงานประเมินผลการดาเนนิ งานตามโครงการ พัฒนาครู โดยใช้ กระบวนการสรา้ งระบบพเี่ ล้ยี ง ; 19-23 สิงหาคม 2556. กาฬสนิ ธุ์: สานกั งานเขต พน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. สธุ ารตั น์ ศรวี าลยั . (2560). การประเมินโครงการรกั การอา่ นของโรงเรยี นสริ ิรัตนาธร โดย ประยุกตใ์ ชร้ ูปแบบการประเมินแบบ CPO. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยรามคาแหง. สวุ พชิ ญ์ คุณวิสฐิ สริ .ิ (2560). การพัฒนาแนวทางพฒั นาครูในการจัดการเรยี นรู้เพอ่ื ส่งเสรมิ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ สังกัดสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เสาวนีย์ ตาดา. (2560). การประเมินโครงการการจัดการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งของสถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร. แสงเพช็ ร แสงจันทร.์ (2560). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครอู าชวี ศึกษาในจังหวดั เชยี งราย. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชยี งราย.

159 อุทัย เพ็ชรหนิ . (2560). การประเมนิ การดาเนนิ โครงการโรงเรียนดศี รีตาบล สงั กัดสานักงานเขต พนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาครศุ าสตรมหา บณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั กาแพงเพชร. อุเทน นวสุธารตั น์. (2560). การประเมินผลการพฒั นาคุณภาพระบบฐานข้อมลู ผบู้ ริหาร ในหลักสูตรผูบ้ ริหารการสาธารณสุขระดับตน้ แบบมสี ว่ นร่วม. วทิ ยาลัยนกั บริหาร สาธารณสุข สถาบนั พระบรมราชชนก วทิ ยาลัยนกั บริหารสาธารณสขุ . Alkin, M.C. (2019). Evaluation Theory Development, Education Comment. Baron and Greenbery, (2009). Encyclopedia of Educational Evaluation. San Francisco : Jossey-Bass. Cronbach, L.J. (2018). Course Improvement Through Evaluation. Teachers College Record. Deighton , L.C. (2005). The Encyclopedia of Education (v.3). New York : The Macmillan Company and The Free Press. Dworaczyh, Wiliam J. (1998). Use of Stufflebeam’s CIPP Model to Assess a Change Effort in A Division of a University Library (Daniel L. Stufflebeam) Doctor’s Thesis Texas. University of North Texas. Elmore Petreson and E. Grosvenor Plawman. (1953). Effective Evaluation. San Francisco : Jossey-Bass Publishers. Good, Carter v. (1973). Dictionary of Education. New York : Mc Graw Hill Book Company. Kirkpatrick. (2018). Educational Evaluation : Theory and Practice. Ohio : Charles and Joanes. Iddle Mist and Hitt. (2006). Goal-Free Evaluation. In E. House (Ed.), School Evaluation : The Politics and Process. Berkerley : McCutchan. Moris. (2008). Evaluating with Validity. Beverly Hills, CA : Sage Publications. Nagel, Joseph Robert. (2004). Social Experimentation : A Methods for Planning and Evaluating Social Intervention. New York : Academic Press. Newstrom & Davis. (2002). Evaluation Models : Viewpoints on Educational and Human Services Evaluation. Boston : Kluwer-Nijhoff Publishing. Nicholson, Frank. M. and Joseph B. Tracy. (1998). Evaluation : A Systematic Approach. Beverly Hills, California : Sage Publications, Inc. Pehi. (2014). Utilization Focused Evaluation. Calif : Sage Publications, Inc.

160 Provus. (2019). Discrepancy Evaluation. Berkeley, California : McCutcheon Publishing Co. Ralph W.Tyler. (2018). Social Experimentation : A Methods for Planning and Evaluating Social Intervention. New York : Academic Press. Robbin. (2005). Evaluation Models : Viewpoints on Educational and Human Services Evaluation. Boston : Kluwer-Nijhoff Publishing. Robinson and Barberis-Ryam. (1995). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. 3rd. ed., Japan : Holt, Rinehart and Winston Scriven. (2019). The Methodology of Evaluation. In Perspectives of Curriculum Evaluation (AERA Monograph Series on Curriculum Evaluation, No. 1). Chicago : Rand McNally Stake. (2019). “Setting Standards for Educational Evaluators.” Evaluation New no. 2 Stufflebeam. (2017). Systematic Evaluation. A Self-Instructional Guide to Theory and Practice. Boston : Kluwer-Nijholf Publishing.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก โครงการพฒั นาสมรรถนะเพื่อเพิม่ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน ของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวัดสลักได

163 ช่ือโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงาน ของขา้ ราชการครูโรงเรียนวดั สลกั ได แผนงาน การบรหิ ารงานบุคคล สนองกลยทุ ธ์ท่ี 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและจรรยาบรรณวิชาชีพ และใหส้ ามารถจดั การเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ สถานท่ดี าเนินการ โรงเรียนวดั สลกั ได สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 2 ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ระยะเวลาดาเนนิ การ ปกี ารศึกษา 2563 ( 1 ตุลาคม 2563 – 30 มีนาคม 2564 ) 1. หลักการและเหตผุ ล การบรหิ ารงานบุคคลในหน่วยงานของทางราชการในปัจจุบัน เกิดข้ึนจากมีแนวคดิ ในการบริหาร จดั การภาครฐั แนวใหม่ หรือท่ีเรยี กว่า New Public Management โดยมีสาระสาคญั คอื การปฏิรปู ระบบราชการ การบริหารงานมงุ่ ผลสัมฤทธกิ์ ารบรกิ ารประชาชนส่คู วามเปน็ เลศิ โดยสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ าร และค่านิยมใหม่ในการทางานเพอื่ ประชาชน การสร้างระบบบริหาร กจิ การบ้านเมือง และสงั คมท่ีดี และ การบรหิ ารงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงานเชิงยทุ ธศาสตร์ ซงึ่ ในการปฏิรูประบบราชการทกุ ด้านจะ เก่ียวข้องกับการบรหิ ารงานบคุ คลของหน่วยงานภาครัฐด้วยทง้ั สนิ้ และที่สาคัญคอื การปรบั วฒั นธรรม วิธกี ารและขนั้ ตอนในการทางาน คา่ นิยมใหม่ในการทางานเพื่อประชาชน โดยยดึ เอาผลสาเร็จท่ี เกดิ ขน้ึ จากการใหบ้ ริการกบั ประชาชนเป็นเปา้ หมายหลักในการทางาน จากสภาพปัจจุบันปญั หาการปฏิบัติงานของข้าราชการครูในโรงเรียน จากการสารวจปัญหาและ ความตอ้ งการของบคุ ลากร และจากการระดมความคดิ เห็นในที่ประชมุ คณะครู พบว่า ครผู ู้สอนส่วน ใหญม่ ีปัญหาขาดความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับการปฏิบตั ิงานในหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบและงานทไี่ ดร้ ับ มอบหมายหลายด้าน เช่น 1. ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทาง การศกึ ษา พ.ศ. 2547 และขาดความรู้ความเขา้ ใจในการพัฒนาสมรรถนะดา้ นต่างๆ เพือ่ เสนอ ขอรับการประเมนิ และเตรยี มการประเมนิ ใหม้ หี รือเลอื่ นวิทยฐานะท่สี ูงข้ึนตามหลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด รวมท้ังกฎกระทรวงทเ่ี กี่ยวข้อง 2. ขาดความรูค้ วามเขา้ ใจ การออกแบบการเรยี นรู้ เชน่ การจัดการเรยี นร้ทู เี่ นน้ ผเู้ รยี น เป็นสาคญั การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวจิ ัยในชน้ั เรยี น เป็นตน้

164 การทขี่ า้ ราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได โดยเฉพาะครผู สู้ อนกล่มุ ดงั กล่าวมีปัญหา ขาดความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัตงิ านในหน้าที่และงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย มีสาเหตหุ ลายประการ เชน่ ขาด ความสนใจท่ีจะศกึ ษาค้นคว้า ขาดการเข้าประชุม อบรม สัมมนาทางวชิ าการ ขาดการนิเทศ ติดตามและ ประเมนิ ผล ขาดการตดิ ตามข่าวสาร ขาดแรงจูงใจ ขาดความสนใจ ไมเ่ หน็ ความสาคญั หรือความ จาเปน็ ของการเปล่ยี นแปลง มที ัศนคตทิ ีไ่ มด่ ีในการปฏบิ ตั งิ าน หรือต่อต้านการเปลีย่ นแปลง เปน็ ตน้ สาเหตุสาคัญประการหนึ่งคือ บางคนเป็นครทู ี่ไดร้ บั การบรรจุเป็นข้าราชการนาน มีความ เฉอ่ื ยในการทางาน ขาดแรงจูงใจ ยังไมม่ ีแนวทาง ทจ่ี ะพัฒนาตนเอง ไมท่ ราบกรอบ สมรรถนะของครู หรอื ครูผ้สู อนบางคนอาจไมไ่ ดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ งท้ังด้านวชิ าการและวิชาชพี ทาให้ขาดองค์ ความรูแ้ ละขาดความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ หรือสร้างนวัตกรรมขาดทางเลอื กใหม่ ๆ เพอื่ นาไปใช้ในการ ปรบั วฒั นธรรม วธิ ีการและข้นั ตอนในการทางาน คา่ นิยมใหมใ่ นการทางานเพื่อนกั เรยี น โดยยดึ เอา ผลสาเรจ็ ท่ีเกิดขึน้ จากการให้บริการกบั นกั เรียน เป็นเป้าหมายหลกั ในการทางานใหม่ ซ่ึงจะทาใหก้ าร ปฏบิ ัติงานในหนา้ ท่รี บั ผิดชอบ และงานท่ไี ด้รบั มอบหมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพตามที่โรงเรยี น ต้องการ ถ้าไม่แก้ปญั หาน้แี ล้ว จะทาให้ครูผู้สอนยงั คงปฏิบัติงานไม่มีประสิทธิภาพเหมอื นเดมิ หนว่ ยงานหรอื องคก์ รคือโรงเรียนไมเ่ กิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ผเู้ รียนและโรงเรยี นไม่มคี ณุ ภาพไม่ สามารถแข่งขนั กับโรงเรียนอ่นื ท่เี ป็นของรัฐและเอกชนได้ เพอ่ื แกป้ ัญหาดงั กลา่ ว โรงเรียนวดั สลักได จึงได้จดั ทาโครงการพฒั นาสมรรถนะเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการปฏิบตั ิงานของข้าราชการครขู ้นึ 2. วัตถปุ ระสงค์ 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ท่วั ไป เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครู โรงเรยี นวัดสลักได ตาบลหนองงเู หลือม อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา ประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2 1.2 วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ 1.2.1 เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิงานของครูผสู้ อนตามสมรรถนะหลกั ประกอบด้วย การมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ การบรกิ ารที่ดี การพฒั นาตนเองและการทางานเป็นทมี มีประสิทธภิ าพสงู ข้ึน 1.2.2 เพื่อใหก้ ารปฏบิ ัติงานของครูผสู้ อนตามสมรรถนะประจาสายงาน ประกอบด้วย การออกแบบการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรยี น และการบริหารจัดการชน้ั เรยี น มปี ระสิทธภิ าพสูงข้ึน

165 3. เป้าหมาย 3.1 ด้านปริมาณ 3.1.1 พัฒนาสมรรถนะหลัก การมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ การบรกิ ารทีด่ ี การพัฒนาตนเอง และการทางานเป็นทมี ในปีการศึกษา 2563 3.1.2 พัฒนาสมรรถนะประจาสายงาน การออกแบการเรียนรู้ การพัฒนาผูเ้ รียน และการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน ในปีการศึกษา 2563 3.1.3 ครผู ้สู อนที่เข้ารว่ มโครงการ จานวน 3 คน 3.2 ดา้ นคณุ ภาพ 3.2.1 ครูผสู้ อนร้อยละ 80 มผี ลการปฏบิ ัติงานอยใู่ นระดับดี 3.2.2 ครผู ู้สอนทุกคนมคี ุณภาพการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ) อยูใ่ นระดับดี 3.2.3 หลงั สนิ้ สดุ โครงการผลการพัฒนาสมรรถนะของครผู ้สู อนสงู ขน้ึ 4. วธิ ีดาเนนิ การ 4.1 วางแผนการดาเนนิ งาน 4.2 แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนนิ งาน 4.3 ประชมุ ช้ีแจงผู้เกี่ยวขอ้ งในการดาเนนิ โครงการ 4.4 ประสานงานและจดั หาวทิ ยากร 4.5 กาหนดกิจกรรมพฒั นาสมรรถนะ 4.6 ดาเนินงานตามโครงการ 4.6.1 ให้บรกิ ารขอ้ มูลข่าวสาร 4.6.2 สรา้ งทมี งานคุณภาพ 4.6.3 สรา้ งแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิงาน เช่น จดั สวัสดิการ การประกาศยกยอ่ ง เชิดชูเกียรติ เปน็ ตน้ 4.6.4 จัดฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการในการใช้คอมพิวเตอร์ 4.6.5 จดั ฝกึ อบรมเชิงปฏิบัติการในการออกแบบการเรียนรูท้ ่เี น้นทักษะ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ 4.6.6 จดั ฝึกอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารในการทาวิจยั ในช้ันเรียน 4.6.7 ศกึ ษาดูงานโรงเรยี นดีเด่น 4.6.8 ประเมินห้องเรียนมาตรฐาน 4.6.9 ประเมินประสทิ ธิภาพการปฏบิ ัติงาน 4.7 นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน

166 4.8 ประเมินผลโครงการ 4.9 รายงานการประเมินผลโครงการ 5. งบประมาณ 5.1 งบประมาณทใ่ี ช้รวมทัง้ สิน้ จานวน 17,000 บาท 5.2 แหล่งทีม่ าของงบประมาณแยกตามหมวดรายจา่ ยดังน้ี กิจกรรม จานวนเงิน รวม หมายเหตุ อุดหนนุ บกศ. บริจาค 1. วางแผนการดาเนินงาน -- - - 2. ใหบ้ ริการขอ้ มูลขา่ วสาร --- - 3. สร้างทมี งานคุณภาพ 500 - - 500 4. สรา้ งแรงจูงใจในการปฏบิ ัติงาน - - 10,000 10,000 5. อบรมการใช้คอมพวิ เตอร์ 1,000 - - 1,000 6. อบรมการออกแบบการเรยี นรู้ 1,000 - - 1,000 7. อบรมการวิจยั ในชน้ั เรยี น 1,000 - - 1,000 8. ศึกษาดงู านที่โรงเรียนดีเด่น - - 2,000 2,000 9. ประเมินห้องเรียนมาตรฐาน 1,500 - - 1,500 10. ประเมนิ ประสิทธิภาพการปฏิบัตงิ าน - - - - 11. การนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล -- - - 12. ประเมิน/รายงานการประเมินโครงการ - - - - รวม 5,000 - 12,000 17,000 6. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ ผอู้ านวยการ หวั หนา้ โครงการ 6.1 นายฐิถิศกั ดิ์ เพ่ิมพูน ครู กรรมการ 6.2 นางธัญลักษณ์ เทยี นงเู หลือม ครู กรรมการ 6.3 นางสมพร จันทรพ์ รม 7. การประเมนิ โครงการ 7.1 แบบสอบถามความเหมาะสมดา้ นสภาพแวดล้อมทวั่ ไปของโครงการ

167 7.2 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านปจั จยั เบ้อื งต้นในการดาเนินการโครงการ 7.3 แบบสอบถามความเหมาะสมด้านกระบวนการในการดาเนนิ การโครงการ 7.4 แบบประเมนิ คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน (สมรรถนะ) ดา้ นผลผลิตของโครงการ 8. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั 8.1 ครูผู้สอนท่ีเข้ารว่ มโครงการ มีการพฒั นาสมรรถนะหลัก ประกอบดว้ ย การมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ การบริการทดี่ ี การพัฒนาตนเองและการทางานเป็นทีมอย่างตอ่ เนอ่ื ง 8.2 ครูผู้สอนท่เี ข้าร่วมโครงการ มกี ารพฒั นาสมรรถนะประจาสายงาน ประกอบดว้ ย การออกแบบการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรยี น และการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นอยา่ งต่อเน่อื ง 8.3 ครูผู้สอนท่ีเขา้ รว่ มโครงการ ปฏิบัตงิ านในหน้าท่รี ับผิดชอบและงานทไ่ี ดร้ ับ มอบหมายมปี ระสทิ ธิภาพสูงข้ึน 8.4 โรงเรียนบริหารจดั การศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล 9. ปฏิทินปฏิบตั งิ านตามโครงการ ปีการศึกษา 2563 กิจกรรม / ระยะเวลา พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2563 1. วางแผนการดาเนินงาน ต.ค พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. 2. แต่งต้งั กรรมการดาเนนิ งาน 3. ประชุมชแี้ จงผ้เู กย่ี วข้องกับโครงการ 4. ประสานการจดั กจิ กรรมและวทิ ยากร 5. พัฒนาหลกั สูตร สื่อและกิจกรรม 6. ดาเนินงานตามโครงการ 1) ให้บรกิ ารข้อมูลขา่ วสาร 2) สรา้ งทมี งานคุณภาพ 3) สร้างแรงจูงใจในการปฏบิ ัติงาน 4) อบรมการใช้คอมพิวเตอร์ 5) อบรมการออกแบบการเรยี นรู้ฯ 6) อบรมการทาวจิ ัยในชนั้ เรียน

7) ศกึ ษาดงู านทีโ่ รงเรียนดีเดน่ 168 8) ประเมินห้องเรียนมาตรฐาน 9) ประเมนิ ประสิทธิภาพปฏบิ ตั งิ าน ผูอ้ นมุ ัติโครงการ 10) การนิเทศ/ติดตาม/ประเมินผล (นายฐิถศิ ักดิ์ เพ่มิ พูน) 7. ประเมินผลโครงการ ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดสลักได 8. รายงานการประเมินผล ผู้เสนอโครงการ (นางธญั ลักษณ์ เทียนงเู หลือม) ครู

ภาคผนวก ข รายนามผูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมอื ที่ใชป้ ระเมินโครงการ

170 รายนามผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือทใ่ี ช้ประเมนิ โครงการ 1 ช่ือ ดร.ไพฑรู ย์ การเพยี ร ตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2 สถานท่ีทางาน สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 2 วฒุ ิการศึกษา ศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต ศษ.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา) มหาวิทยาลัยวงษช์ วลติ กุล ความเช่ียวชาญ บรหิ ารการศึกษา และบริหารสถานศึกษา 2 ชื่อ นายภญิ โญ กันหา ตาแหน่ง รองผ้อู านวยการสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 2 สถานที่ทางาน สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 วุฒกิ ารศึกษา การศึกษามหาบัณฑติ กศ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ความเชี่ยวชาญ บรหิ ารการศกึ ษา และบรหิ ารสถานศึกษา 3 ชื่อ นายวทิ ยา จติ เงิน ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะผอู้ านวยการชานาญการพเิ ศษ สถานทีท่ างาน โรงเรียนอนบุ าลทา่ ช้างเฉลิมพระเกยี รติ สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 2 วุฒกิ ารศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต กศ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความเชีย่ วชาญ บริหารการศกึ ษา และบรหิ ารสถานศกึ ษา 4 ชือ่ นายสนุ ยั บรรจงรอด ตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา วิทยฐานะผู้อานวยการชานาญการพเิ ศษ สถานที่ทางาน โรงเรียนสมบูรณ์วฒั นา สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา นครราชสมี า เขต 2 วุฒกิ ารศกึ ษา ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ความเชย่ี วชาญ บริหารการศกึ ษา และบริหารสถานศกึ ษา

171 5 ช่อื นายประสิทธ์ิ เดชครอง ตาแหน่ง ผอู้ านวยการสถานศึกษา วทิ ยฐานะผ้อู านวยการชานาญการพเิ ศษ สถานท่ีทางาน โรงเรยี นชุมชนวัดรวง สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 2 วุฒกิ ารศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประกาศนียบัตรบัณฑติ (บริหารการศกึ ษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ความเชยี่ วชาญ บริหารการศกึ ษา และบริหารสถานศกึ ษา

ภาคผนวก ค เคร่ืองมือทใ่ี ชป้ ระเมินโครงการ

173 แบบสอบถามเพอ่ื ประเมินโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครู โรงเรียนวัดสลักได ------------------------------ คาชี้แจง 1. ผู้ตอบแบบสอบถามไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน และ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน 2. แบบสอบถามนีม้ ีวตั ถุประสงคท์ ่ีจะเก็บรวบรวมขอ้ มลู เพื่อประเมินโครงการพฒั นา สมรรถนะเพ่อื เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ในดา้ น สภาพแวดลอ้ มของโครงการ 3. คาตอบของท่านจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การประเมินโครงการครง้ั นเี้ ป็นอยา่ งยง่ิ และจะเปน็ ข้อมลู ในการพัฒนาโครงการในอนาคต ดงั นัน้ จึงขอความกรณุ าได้ตอบคาถามทกุ ขอ้ ตามความเปน็ จรงิ จงึ จะทาให้ผลการประเมินครั้งนมี้ ีความสมบูรณ์ 4. ในฐานะทท่ี า่ นเป็นผูป้ ฏิบตั ิงาน หรือมีสว่ นเกีย่ วขอ้ งในโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของข้าราชการครโู รงเรยี นวดั สลักได ขอให้ท่านประเมิน โครงการของรายการประเมินตามความเห็นของทา่ น โดยกาเครื่องหมายถูก ลงใน ชอ่ งระดบั ความคิดเห็นให้ตรงกบั ความจริงมากที่สุดเพยี งข้อละ 1 เครอื่ งหมาย โดยพิจารณาตาม เกณฑ์ต่อไปนี้ 5 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมากท่ีสดุ 4 หมายถงึ เห็นด้วยมาก 3 หมายถงึ เหน็ ด้วยปานกลาง 2 หมายถงึ เหน็ ด้วยน้อย 1 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยน้อยท่ีสุด ขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม นายฐิถศิ ักด์ิ เพม่ิ พูน ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั สลกั ได

174 ดา้ นที่ 1 ด้านสภาพแวดลอ้ ม ขอ้ ท่ี รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม 54321 1 มีการวเิ คราะห์สภาพปัจจบุ นั ปญั หาและความตอ้ งการ เพ่อื เปน็ ข้อมลู ในการจดั ทาโครงการ 2 มีการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกองคก์ ร (SWOT) ก่อนจัดทาโครงการ 3 โครงการนม้ี คี ุณค่าและเป็นประโยชนต์ ่อครูในการ ปฏบิ ัตงิ านให้มปี ระสิทธิภาพสูงยง่ิ ขน้ึ 4 บคุ ลากรท่ีเกย่ี วข้องเหน็ ความสาคญั ความจาเปน็ ยอมรับและเตม็ ใจสนบั สนุนโครงการ 5 วตั ถุประสงคข์ องโครงการมคี วามชัดเจน 6 โครงการไดร้ ะบุกลมุ่ เปา้ หมายในดา้ นปริมาณและ คุณภาพชัดเจน 7 โครงการไดก้ าหนดขอบเขตของการดาเนนิ งานและ ความรับผิดชอบไวอ้ ยา่ งชดั เจน 8 โครงการมกี ารระบทุ รพั ยากรตา่ ง ๆ ทจี่ าเปน็ ในการ ดาเนนิ งาน 9 โครงการมีการกาหนดระยะเวลาที่เร่ิมต้นและเวลาทส่ี ้ินสุด ท่ีแน่นอน 10 โครงการสามารถนาไปปฏบิ ัติได้จรงิ

175 แบบสอบถามเพือ่ ประเมนิ โครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครู โรงเรียนวดั สลกั ได ------------------------------ คาช้ีแจง 1. ผ้ตู อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน และคณะกรรมการ บรหิ ารโรงเรียน 2. แบบสอบถามนม้ี ีวตั ถุประสงคท์ ่ีจะเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเพ่ือประเมนิ โครงการพัฒนา สมรรถนะเพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครูโรงเรียนวัดสลักได ในด้านปัจจยั เบ้ืองต้นของโครงการ 3. คาตอบของท่านจะเป็นประโยชนต์ อ่ การประเมินโครงการคร้ังน้ีเป็นอย่างยงิ่ และจะ เป็นข้อมลู ในการพัฒนาโครงการในอนาคต ดงั น้นั จงึ ขอความกรุณาได้ตอบคาถามทกุ ข้อตามความเปน็ จรงิ จึงจะทาให้ผลการประเมินครั้งนม้ี ีความสมบรู ณ์ 4. ในฐานะที่ท่านเป็นผู้ปฏิบตั งิ าน หรอื มสี ว่ นเกีย่ วข้องในโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงานของข้าราชการครโู รงเรยี นวัดสลกั ได ขอใหท้ า่ นประเมิน โครงการของรายการประเมินตามความเห็นของท่าน โดยกาเครือ่ งหมายถกู ลงใน ช่องระดับความ คดิ เหน็ ให้ตรงกับความจริงมากที่สุดเพียงขอ้ ละ 1 เคร่อื งหมาย โดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ต่อไปน้ี 5 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมาก 3 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยปานกลาง 2 หมายถึง เหน็ ดว้ ยนอ้ ย 1 หมายถงึ เห็นดว้ ยน้อยที่สุด ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงทใ่ี ห้ความอนเุ คราะห์ในการตอบแบบสอบถาม นายฐิถิศักด์ิ เพ่มิ พูน ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดสลกั ได

176 ด้านท่ี 2 ดา้ นปัจจัยเบือ้ งต้น ขอ้ ที่ รายการประเมิน ระดบั ความเหมาะสม 54321 1 บคุ ลากรมีส่วนร่วมวางแผนทุกขนั้ ตอนในการดาเนินงาน ตามโครงการ 2 บุคลากรท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมหรือรว่ มดาเนนิ งาน ตามโครงการ 3 บคุ ลากรมีความพร้อมและกระตอื รอื รน้ ในการดาเนินงาน ตามโครงการ 4 บคุ ลากรมีความรคู้ วามสามารถในการดาเนนิ งาน ตามโครงการ 5 ความเพียงพอดา้ นงบประมาณในการสนบั สนนุ โครงการ 6 ความเพยี งพอดา้ นวสั ดุ อปุ กรณใ์ นการสนบั สนนุ โครงการ 7 ความเพียงพอของเครอ่ื งใชส้ านักงานและเคร่ืองอานวย ความสะดวกท่ีเปน็ เทคโนโลยีสมัยใหม่เพอ่ื นามาใช้ สนบั สนุนโครงการ 8 ความเพียงพอของแหล่งขอ้ มลู สาหรบั ครไู ด้ศึกษาคน้ ควา้ เพื่อพัฒนาตนและพัฒนางาน 9 ระยะเวลาในการดาเนนิ งานตามโครงการมีความเหมาะสม 10 ผบู้ ริหารโรงเรยี นใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการเปน็ อย่างดี

177 แบบสอบถามเพอื่ ประเมินโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของขา้ ราชการครู โรงเรยี นวดั สลักได ----------------------------------- คาช้แี จง 1. ผ้ตู อบแบบสอบถามได้แก่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน และคณะกรรมการ บริหารโรงเรยี น 2. แบบสอบถามนม้ี วี ัตถุประสงคท์ ี่จะเก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ ประเมนิ โครงการพัฒนา สมรรถนะเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวัดสลกั ได ในด้าน กระบวนการในการดาเนนิ โครงการ 3. คาตอบของท่านจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การประเมนิ โครงการครั้งน้เี ปน็ อย่างยงิ่ และจะเปน็ ขอ้ มูลในการพัฒนาโครงการในอนาคต ดังนนั้ จึงขอความกรุณาได้ตอบคาถามทกุ ขอ้ ตามความเปน็ จรงิ จงึ จะทาให้ผลการประเมินคร้ังนี้มีความสมบูรณ์ 4. ในฐานะทท่ี า่ นเปน็ ผู้ปฏิบัตงิ าน หรือมสี ่วนเกี่ยวขอ้ งในโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงานของขา้ ราชการครโู รงเรยี นวัดสลักได ขอใหท้ ่านประเมิน โครงการของรายการประเมินตามความเหน็ ของทา่ น โดยกาเคร่อื งหมายถกู  ลงในชอ่ งระดับ ความคดิ เห็นใหต้ รงกบั ความจรงิ มากท่ีสดุ เพียงขอ้ ละ 1 เคร่อื งหมาย โดยพิจารณาตามเกณฑ์ต่อไปน้ี 5 หมายถึง เห็นดว้ ยมากท่ีสดุ 4 หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก 3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยน้อย 1 หมายถึง เหน็ ด้วยนอ้ ยทส่ี ุด ขอขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสงู ที่ให้ความอนเุ คราะห์ในการตอบแบบสอบถาม นายฐิถิศกั ดิ์ เพมิ่ พนู ผ้อู านวยการโรงเรียนวดั สลกั ได

178 ด้านที่ 3 ด้านกระบวนการ ขอ้ ที่ รายการประเมิน ระดับความเหมาะสม 54321 1 จัดบรกิ ารใหข้ ้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ เพื่อใหค้ รูมคี วามรู้ ทันเหตกุ ารณ์ เข้าใจและยอมรับความเปลย่ี นแปลง 2 สง่ เสรมิ การทางานเป็นทีม หรือกลุ่มสมั พันธ์ในการทางาน การแก้ปัญหาและพฒั นาโรงเรยี น 3 มกี ารจัดบรกิ ารใหส้ วัสดิการต่าง ๆ ตามระเบียบของ โรงเรยี นเพือ่ สรา้ งแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 4 พฒั นาครูให้มีความรูแ้ ละทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ เพื่อนาไปใชใ้ นการทางานให้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน 5 พฒั นาครใู ห้มีความสามารถในการออกแบบการเรียนรใู้ น การจดั การเรยี นรูท้ ่เี นน้ ทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ 6 พฒั นาครูดา้ นการทาวจิ ยั ในช้นั เรยี นเพอื่ ใหส้ ามารถนาไป ปรับปรงุ การเรยี นการสอนและพัฒนาผู้เรียน 7 พัฒนาครเู พ่ือใหม้ คี วามรแู้ ละประสบการณ์เพมิ่ เติม โดยพาไปศึกษาดูงานสถานศึกษาดีเดน่ 8 จดั ให้มีการประเมนิ ห้องเรยี นมาตรฐานเพื่อพฒั นาครู ให้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจดั การช้ันเรียน 9 จัดใหม้ กี ารประเมนิ ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงานของครู เพือ่ นาไปประกอบการพิจารณาเลื่อนขน้ั เลอ่ื นตาแหน่ง 10 การจดั ให้มกี ารนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการ ปฏิบัติงานของอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง

179 แบบประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน (สมรรถนะ) เพือ่ ประเมินโครงการ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของขา้ ราชการครู โรงเรียนวัดสลกั ได --------------------------------------------- คาชแี้ จง 1. ผปู้ ระเมินไดแ้ ก่ ครผู สู้ อนโรงเรียนวัดสลักได 2. แบบประเมนิ นี้มีวัตถุประสงค์ทจ่ี ะเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่อื ประเมินโครงการพัฒนา สมรรถนะเพือ่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของข้าราชการครโู รงเรยี นวดั สลกั ได 3. การประเมนิ ของท่านจะเปน็ ประโยชนต์ ่อการประเมนิ โครงการครัง้ นเ้ี ป็นอยา่ งยิ่ง และจะเปน็ ข้อมูลในการพฒั นาโครงการในอนาคต ดงั นั้น จึงขอความกรณุ าไดป้ ระเมินทุกข้อตาม ความเป็นจริง จึงจะทาใหผ้ ลการประเมินคร้งั นม้ี ีความสมบรู ณ์ 4. ในฐานะทท่ี ่านเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิงานหรอื มสี ่วนเก่ยี วข้องในโครงการพฒั นาสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการครูโรงเรยี นวดั สลักได ขอใหท้ ่านพจิ ารณา ประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะของทา่ นตามรายการประเมินตามความเห็นของทา่ น 5. ขอใหท้ ่านทาเครือ่ งหมาย  ลงในช่องว่าง ซึง่ ตรงกบั ข้อความหรือรายการ ประเมินทเี่ ลอื กตามเกณฑ์ต่อไปนี้ 4 หมายถึง มีระดบั คุณภาพดมี าก 3 หมายถึง มีระดบั คุณภาพดี 2 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพพอใช้ 1 หมายถงึ มรี ะดบั คุณภาพควรปรับปรงุ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงทใี่ ห้ความอนุเคราะห์ในการประเมินโครงการ นายฐถิ ศิ กั ด์ิ เพิ่มพูน ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดสลกั ได

180 แบบประเมนิ คุณภาพการปฏิบัตงิ าน ( สมรรถนะ ) --------------------- คาช้ีแจง โปรดกาเครือ่ งหมาย  ลงในช่องว่างระดบั คุณภาพให้ตรงกับความจรงิ มากที่สดุ เพียงข้อละ 1 เครอ่ื งหมาย โดยพจิ ารณาคุณภาพการปฏิบตั งิ านของท่านตามเกณฑ์ การประเมินในแบบประเมิน 1. การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ : ความม่งุ มั่นในการปฏิบตั ิงานในหน้าท่ใี หม้ ีคณุ ภาพ ถกู ตอ้ งครบถว้ น สมบูรณ์ มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ และมกี ารพฒั นาผลงานใหม้ คี ุณภาพ อย่างตอ่ เนือ่ ง ตัวบง่ ช้ที ่ี ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมนิ 1234 1.1 คณุ ภาพงานด้าน ... ... ... ... 1– มีผลงานเปน็ ไปตามที่ไดร้ ับมอบหมาย แต่มีขอ้ ผดิ พลาดคอ่ นข้างมาก ความถกู ตอ้ งครบถว้ น 2– ผลงานครบถ้วนสมบูรณ์ แต่มีขอ้ ผดิ พลาดเล็กนอ้ ย สมบรู ณ์ ... ... ... ... 3– ผลงานมีความถกู ต้องครบถว้ นสมบูรณ์เปน็ สว่ นใหญ่ 4– ผลงานมีความถูกต้องครบถว้ นสมบูรณ์เกอื บทกุ รายการและเป็นแบบอย่างได้ 1.2 ความคดิ รเิ รมิ่ ... ... ... ... 1 – ปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางปกติ ยังไม่มีการนานวตั กรรม/วธิ กี ารใหม่ ๆ มาใช้ สรา้ งสรรค์ การนา 2 – มกี ารนานวัตกรรม/วธิ กี ารใหม่ ๆ มาใชใ้ นการพฒั นางานสามารถระบุ นวตั กรรม/ทางเลือก ใหม่ ๆ มาใชเ้ พ่ือเพ่มิ ลกั ษณะ/ประเภท นวตั กรรมได้ แตไ่ ม่มกี ารบนั ทกึ ไว้เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ประสทิ ธภิ าพของงาน 3 – มีการทดลองวธิ ีการหรอื จัดทาเอกสารประกอบการพฒั นางานใหม่ ๆ โดยมี 1.3 ความมงุ่ มั่นใน การบนั ทกึ หรอื กล่าวถึงในเอกสาร/หลกั ฐานลกั ษณะใดลกั ษณะหน่ึง ไม่มี การพฒั นาผลงาน การเผยแพร่ในวงกว้าง อยา่ งต่อเนื่อง 4 – มกี ารทดลองวิธีการหรอื จัดทาเอกสารประกอบการพฒั นางานใหม่ ๆ โดยมี การจดั ทา รายงานการพฒั นาทีเ่ ปน็ รปู ธรรมชัดเจน และมกี ารเผยแพรใ่ น วงกวา้ ง 1– มีการพฒั นาผลงานบางรายการทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2– มุ่งมั่น กระตือรือร้นในการพฒั นาผลงานให้บรรลุเปา้ หมาย 3– มุ่งมนั่ กระตือรอื ร้นในการพฒั นาผลงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย จนผลงานเปน็ ท่ี ยอมรับในองคก์ ร 4– มุ่งม่ัน กระตือรือร้นในการพัฒนาผลงานทกุ รายการท่ีได้รบั มอบหมาย จนปรากฏผลงานทีม่ ีคุณภาพเป็นทยี่ อมรบั ในองค์กรและนอกองคก์ รที่ เกย่ี วข้อง

181 2. การบรกิ ารท่ดี ี : ความตัง้ ใจในการปรบั ปรงุ ระบบบริการใหม้ ปี ระสิทธิภาพ เพอ่ื ตอบสนอง ความต้องการของผูร้ บั บรกิ าร ตัวบ่งช้ีท่ี ระดบั คุณภาพ เกณฑก์ ารประเมนิ 1234 2.1 การปรบั ปรงุ ... ... ... ... 1– ปรบั ปรงุ ระบบบริการเม่อื มีคาถาม หรอื ข้อเรียกรอ้ ง ระบบบรกิ าร 2– ศึกษาความตอ้ งการต้องการของผ้รู ับบรกิ าร นาขอ้ มลู มาปรบั ปรุง ... ... ... ... 2.2 ความพงึ พอใจ และพัฒนาระบบบรกิ ารเปน็ บางครง้ั ของผรู้ บั บริการ หรอื 3– ศึกษาความตอ้ งการตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร นาขอ้ มลู มาปรบั ปรงุ ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง และพัฒนาระบบบรกิ ารเป็นส่วนใหญ่ 4– ศึกษาความตอ้ งการต้องการของผู้รบั บริการ นาข้อมลู มา ปรบั ปรุง และพฒั นาระบบบรกิ ารในเกอื บทกุ รายการอย่างตอ่ เนือ่ ง 1– ผเู้ ขา้ รับบริการนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 มีความพึงพอใจในระดบั น้อยทีส่ ุด 2– ผู้เขา้ รับบรกิ ารรอ้ ยละ 60 – 69 มีความพงึ พอใจในระดับนอ้ ย 3– ผ้เู ขา้ รบั บริการร้อยละ 70 – 79 มีความพึงพอใจในระดับมาก 4– ผู้เขา้ รับบรกิ ารร้อยละ 80 ข้นึ ไป มคี วามพงึ พอใจในระดับมากที่สดุ

182 3. การพัฒนาตนเอง : การศึกษาคนควา้ หาความรู้ ตดิ ตามองค์ความรแู้ ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในวงวชิ าการและวิชาชพี เพอ่ื พฒั นาตนเองและพฒั นางาน ตวั บ่งชีท้ ี่ ระดับคณุ ภาพ เกณฑ์การประเมิน 1234 3.1 การศกึ ษา 1– มชี วั่ โมงอบรมน้อยกวา่ 20 ชั่วโมง/ปี หรือ มีการจดั ทาเอกสารนาเสนอต่อ คน้ คว้า หาความรู้ ท่ีประชุมเพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้ 1 รายการ/ปี ดว้ ยการ เขา้ ประชมุ ทางวิชาการ อบรม 2– มชี ั่วโมงอบรมไมน่ อ้ ยกวา่ 20 ชัว่ โมง/ปี หรอื มกี ารจัดทาเอกสารนาเสนอต่อ สัมมนา หรอื วธิ กี าร ... ... ... ... ทป่ี ระชมุ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยา่ งน้อย 2 รายการ/ปี 3– มีชว่ั โมงอบรมไมน่ อ้ ยกวา่ 20 ช่ัวโมง/ปี และ มีการจัดทาเอกสารนาเสนอต่อ อื่น ๆ ที่ประชมุ เพ่อื แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยา่ งนอ้ ย 1 รายการ/ปี 4– มีช่วั โมงเขา้ ประชุม อบรม สัมมนาไมน่ ้อยกว่า 20 ชั่วโมง/ปี และมกี ารจัดทา เอกสารนาเสนอตอ่ ท่ีประชุมเพ่ือแลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ยา่ งน้อย 2 รายการ/ปี 3.2 การวบรวมและ 1– มีการรวบรวมขอ้ มูลเพื่อใช้ในการพัฒนางาน แต่ไม่ไดจ้ ัดเปน็ หมวดหมู่ ประมวล ความรู้ 2– มกี ารรวบรวม ประมวลความรู้ จดั เป็นหมวดหมเู่ พอ่ื ใช้ในการพัฒนางาน ในการพัฒนาองคก์ ร ... ... ... ... 3– มีการรวบรวม ประมวลความรู้ จดั เปน็ หมวดหมู่ และ ปรบั ปรงุ ให้ทนั สมัย และวิชาชีพ เพื่อใช้ในการพฒั นางาน 4– มีการสังเคราะห์ขอ้ มลู ความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ ปรับปรงุ ใหท้ ันสมยั รวบรวมองคค์ วามรู้สาคัญ เพอ่ื ใช้ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง 3.3 การ แลกเปลี่ยน 1– เขา้ ประชมุ แลกเปลย่ี นเรยี นรูภ้ ายในหน่วยงานน้อยกว่า ความคิดเหน็ ดา้ น ร้อยละ 60 ของจานวนกจิ กรรมที่หนว่ ยงานจัด วิชาการ ในหมู่เพือ่ น ร่วมงาน 2– เขา้ ประชุมแลกเปล่ยี นเรียนรูภ้ ายในหนว่ ยงาน ร้อยละ … … … … 60 - 69 ของจานวนกิจกรรมทห่ี น่วยงานจดั 3– เข้าประชมุ แลกเปลีย่ นเรียนร้ภู ายในหน่วยงาน รอ้ ยละ 70 - 79 ของจานวนกจิ กรรมทห่ี นว่ ยงานจดั 4– เข้าประชมุ แลกเปล่ยี นเรยี นรูภ้ ายในหนว่ ยงาน รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป ของจานวนกิจกรรมทห่ี น่วยงานจดั

183 4. การทางานเปน็ ทีม : การใหค้ วามรว่ มมือ ช่วยเหลอื สนบั สนนุ เสริมแรง ให้กาลังใจ แก่เพื่อนร่วมงาน การปรบั ตวั เข้ากับบคุ คลอ่ืน หรือ แสดงบทบาท ผ้นู า ผู้ตามได้อยา่ งเหมาะสม ตวั บง่ ชที้ ี่ ระดับคณุ ภาพ เกณฑก์ ารประเมนิ 1234 4.1 การให้ความ 1– ให้ความรว่ มมือ ชว่ ยเหลือเพื่อนรว่ มงาน นาน ๆ ครัง้ ร่วมมอื ช่วยเหลือ ... ... ... ... 2– ให้ความร่วมมอื ช่วยเหลอื สนับสนุนเพื่อนรว่ มงาน เปน็ บางครั้ง สนบั สนุน เพือ่ น 3– ใหค้ วามรว่ มมอื ช่วยเหลอื สนบั สนนุ เพอ่ื นร่วมงาน เป็นสว่ นใหญ่ รว่ มงาน 4– ให้ความรว่ มมอื ช่วยเหลือ สนับสนนุ เพื่อนรว่ มงาน สมา่ เสมอเกอื บทกุ ครั้ง 4.2 การแสดงบทบาท 1– แสดงบทบาทผนู้ า/ผ้ตู ามในการทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน ผู้นา หรอื ผู้ตามได้ ไมเ่ หมาะสมในบางโอกาส/สถานการณ์ อยา่ งเหมาะสม 2– แสดงบทบาทผนู้ า/ผู้ตามในการทางานร่วมกบั ผู้อื่น ... ... ... ... อย่างเหมาะสมในบางโอกาส/สถานการณ์ 3– แสดงบทบาทผู้นา/ผตู้ ามในการทางานรว่ มกับผอู้ ื่น อยา่ งเหมาะสมในบางโอกาส/สถานการณ์ เป็นสว่ นใหญ่ 4– แสดงบทบาทผู้นา/ผู้ตามในการทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน อย่างเหมาะสมเกือบทุกโอกาส/สถานการณ์ 4.3 การปรับตวั เขา้ 1– ทางานร่วมกบั บคุ คล หรือคณะบุคคลในหนว่ ยงาน กับ สถานการณแ์ ละ ไดเ้ ฉพาะบคุ คลหรอื เฉพาะกล่มุ กลุ่มคนทหี่ ลากหลาย 2– ทางานรว่ มกบั บคุ คล หรือคณะบุคคลในหน่วยงานของตน ได้ทุกกลุม่ อย่างมปี ระสิทธิภาพ … … … … 3– ใช้ทกั ษะการบริหารจัดการในการทางานรว่ มกบั บุคคล หรอื คณะบุคคลในหน่วยงานของตนและต่างหน่วยงาน ไดท้ ุกกลมุ่ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพในสถานการณ์สว่ นใหญ่ 4– ใชท้ กั ษะการบริหารจัดการในการทางานรว่ มกับบคุ คล หรือคณะบคุ คลในหน่วยงานของตนและตา่ งหนว่ ยงาน ได้ทกุ กลุ่มอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพในเกือบทกุ สถานการณ์ 4.4 การเสริมแรง 1– ให้เกียรติ ยกย่อง ชมเชย ใหก้ าลังใจเพื่อนรว่ มงานในโอกาสท่ีเหมาะสม ใหก้ าลังใจ สง่ เสริม นาน ๆ ครง้ั สนับสนนุ เพ่ือน 2– ใหเ้ กยี รติ ยกย่อง ชมเชย ใหก้ าลังใจเพื่อนร่วมงานในโอกาสท่เี หมาะสม รว่ มงาน ในการ เปน็ บางครงั้ ปฏบิ ตั งิ าน ... ... ... ... 3– ใหเ้ กยี รติ ยกยอ่ ง ชมเชย ให้กาลังใจเพอ่ื นรว่ มงานในโอกาสท่เี หมาะสม เปน็ สว่ นใหญ่ 4– ให้เกยี รติ ยกยอ่ ง ชมเชย ให้กาลังใจเพือ่ นรว่ มงานในโอกาสที่เหมาะสม เกอื บทุกคร้งั

184 5. การออกแบบการเรียนรู้ : ตวั บ่งชที้ ่ี ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารประเมิน 1234 5.1 ความรู้ ความ 1– สามารถกาหนดผลการเรียนร้ขู องผู้เรียนได้ชดั เจน กาหนดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เข้าใจเรือ่ ง การ ... ... ... ... และออกแบบการประเมินผลทสี่ อดคลอ้ งกับคณุ ลักษณะของผูเ้ รียนที่ ออกแบบ การเรยี นรู้ ต้องการให้เกิดข้ึน 2– สามารถกาหนดผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนทเ่ี น้นการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประยกุ ต์ ได้เหมาะสมกบั สาระ/กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ความแตกต่างและ ธรรมชาติของผู้เรียน กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ ของผู้เรียนที่ต้องการให้ เกดิ ขน้ึ 3– สามารถกาหนดผลการเรียนร้ขู องผ้เู รียนท่เี น้นการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประยกุ ต์ ริเร่มิ ได้เหมาะสมกบั สาระ/กล่มุ สาระการเรียนรู้ ความแตกตา่ ง และธรรมชาติของผเู้ รยี น กาหนดกิจกรรมการเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรียนสะท้อน ความสามารถตามขอ้ กาหนดในผลการเรียนรูแ้ ละออกแบบการประเมินผล อยา่ งต่อเนอื่ งท่สี อดคลอ้ งกับผลการเรียนรู้ 4– สามารถกาหนดผลการเรียนรขู้ องผเู้ รียนท่ีเน้นการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยกุ ต์ ริเรม่ิ ได้เหมาะสมกับสาระ/กลุ่มสาระการเรียนรู้ ความแตกต่าง และธรรมชาติของผู้เรยี น กาหนดกจิ กรรมการเรียนรู้ทใ่ี ห้ผู้เรียนสะท้อน ความสามารถตามขอ้ กาหนดในผลการเรียนรแู้ ละออกแบบการประเมนิ ผล อย่างต่อเนื่องทีส่ อดคลอ้ งกับผลการเรียนรู้ และแนะนาแกเ่ พ่อื นครูได้ 5.2 ความสามารถ 1– การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย ในการออกแบบการ เรยี นรู้ 2– การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้อย่างหลากหลาย และ เหมาะสมกับ ผู้เรยี น 3– การออกแบบกจิ กรรมการเรียนร้ไู ด้อยา่ งหลากหลาย ส่งผลให้ผเู้ รียนได้ รบั การพฒั นาตามผลการเรียนรู้ที่ต้องการใหเ้ กิดขึ้น มีความสามารถในการ ... ... ... ... คิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประยุกต์ ริเริ่มได้เหมาะสมตามวัยและตรงตาม ความต้องการของผู้เรียน และชมุ ชน 4– การออกแบบกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้อย่างหลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนได้ รบั การพฒั นาตามผลการเรียนร้ทู ่ีต้องการให้เกิดขน้ึ มคี วามสามารถในการ คิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประยุกต์ รเิ ร่มิ ได้เหมาะสมตามวัยและตรงตาม ความต้องการของผเู้ รียนและชุมชน ให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการกาหนด กจิ กรรม และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

185 ตวั บ่งชีท้ ่ี ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก์ ารประเมนิ 1234 1– นาผลการออกแบบการเรียนร้ไู ปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้จรงิ 5.3 การนาผลการ 2– นาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้จรงิ และมกี ารปรับใช้ ออกแบบการเรียนรไู้ ป ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม ใช้ในการจดั การ 3– นาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในการจดั การเรียนรจู้ รงิ และมกี ารปรบั ใช้ เรียนรู้ ... ... ... ... ตามสถานการณ์อยา่ งเหมาะสม และเกิดผลกับผเู้ รียนตามทคี่ าดหวัง 4– นาผลการออกแบบการเรียนรไู้ ปใชใ้ นการจัดการเรียนรจู้ ริง และมีการปรบั ใช้ ตามสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสม และเกิดผลกบั ผูเ้ รยี นตามทคี่ าดหวัง และมี การประเมนิ ผลการออกแบบการเรยี นรู้ 6. การพฒั นาผู้เรียน : ตัวบง่ ชท้ี ี่ ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมิน 1234 6.1 การปลกู ฝงั 1– มีการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมแก่ผเู้ รยี นในการจัดการเรยี นรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ... ... ... ... 2– มกี ารสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผเู้ รยี นในการจัดการเรียนรอู้ ยา่ ง ใหแ้ ก่ผูเ้ รียน ... ... ... ... สม่าเสมอ โดยให้ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการกาหนดและปฏบิ ัติกิจกรรมสง่ เสรมิ 6.2 การพฒั นา คณุ ธรรม จริยธรรม ทกั ษะชีวติ สุขภาพ 3– มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแกผ่ ู้เรยี นในการจัดการเรียนร้อู ย่าง กาย และ สขุ ภาพจิต สมา่ เสมอ โดยให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วมในการกาหนดและปฏบิ ัติกิจกรรมส่งเสรมิ ของผู้เรยี น คุณธรรม จริยธรรมและผู้เรียนร่วมกิจกรรมทางศาสนา 4– มีการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมแกผ่ ู้เรียนในการจดั การเรียนรู้อยา่ ง สมา่ เสมอ โดยใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการกาหนดและปฏิบัตกิ ิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรมและผเู้ รียนร่วมกจิ กรรมทางศาสนาและครูประพฤตติ น เปน็ แบบอย่างทีด่ แี กผ่ เู้ รยี น 1– มีการจัดกจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนได้รบั การพฒั นาเก่ียวกับการรู้จักดแู ลตนเอง 2– มีการจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นได้รับการพฒั นาเก่ียวกับการรู้จักดแู ลตนเอง มีทักษะการเรียนรู้ 3– มีการจดั กิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้รับการพฒั นาเก่ียวกบั การรจู้ ักดแู ลตนเอง มีทกั ษะการเรียนรู้ และการทางาน 4– มีการจดั กจิ กรรมให้ผ้เู รียนได้รับการพฒั นาเก่ียวกับการรูจ้ ักดูแลตนเอง มที กั ษะการเรียนรู้ การทางาน การอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ และรเู้ ทา่ ทนั ต่อสงั คมท่เี ปลี่ยนแปลงอยา่ งเหมาะสมตามวัย

186 ตัวบ่งชที้ ่ี ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมิน 1234 1– ปลูกฝงั ใหผ้ เู้ รยี นใชเ้ หตผุ ลในการตัดสินใจแก้ปัญหา เคารพความคดิ เห็น 6.3 การปลกู ฝัง การ ของผู้อื่น เป็นประชาธิปไตย 2– ปลูกฝงั ให้ผเู้ รยี นใชเ้ หตุผลในการตัดสนิ ใจแกป้ ัญหา เคารพความคิดเห็น และความภาคภมู ิใจใน ของผู้อน่ื รกั ษาความสามัคคขี องหมูค่ ณะ ความเป็นไทย ใหก้ ับ 3– ปลูกฝงั ใหผ้ ู้เรียนใช้เหตผุ ลในการตัดสินใจแก้ปญั หา เคารพความคิดเห็น ผู้เรียน ... ... ... ... ของผูอ้ ่นื รกั ษาความสามัคคขี องหมคู่ ณะ มกี ารแสดงออกเก่ียวกบั มารยาท ไทยและวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น 6.4 การจดั ระบบดแู ล ชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน 4– ปลูกฝงั ให้ผ้เู รยี นใชเ้ หตุผลในการตดั สินใจแก้ปัญหา เคารพความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น รักษาความสามคั คีของหมู่คณะ มีการแสดงออกเก่ียวกบั มารยาท ... ... ... ... ไทยและวัฒนธรรมท้องถ่นิ และนิยมใช้ของไทย 1– จัดทาขอ้ มลู ผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล นาข้อมูลไปใช้ในการช่วยเหลือผู้เรียน ด้านการเรียนด้านการปรับพฤติกรรม 2– จัดทาข้อมูลผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล นาขอ้ มลู ไปใชใ้ นการชว่ ยเหลือผู้เรยี น ดา้ นการเรียนด้านการปรับพฤติกรรม ดูแลความปลอดภยั ของผูเ้ รียน มีกิจกรรมปอ้ งกันและแกป้ ญั หายาเสพตดิ 3– จัดทาข้อมูลผู้เรียนเปน็ รายบุคคล นาข้อมลู ไปใชใ้ นการช่วยเหลือผ้เู รียน ด้านการเรียนดา้ นการปรับพฤตกิ รรม ดูแลความปลอดภยั ของผู้เรียน มกี จิ กรรมป้องกันและแก้ปัญหายาเสพติด ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนปฏิบตั ติ นให้ เหมาะสมกบั ค่านยิ มอนั ดงี าม 4– จัดทาข้อมูลผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล นาขอ้ มลู ไปใชใ้ นการชว่ ยเหลือผเู้ รียน ด้านการเรียนด้านการปรับพฤติกรรม ดูแลความปลอดภัยของผเู้ รียน มกี ิจกรรมป้องกันและแกป้ ญั หายาเสพติด ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนปฏิบตั ิตนให้ เหมาะสมกบั คา่ นยิ มอันดีงาม และมกี ารดแู ลอย่างท่ัวถงึ ทันเหตุการณ์

187 7. การบรหิ ารจดั การเรียนช้ันเรียน : ตัวบ่งชที้ ่ี ระดบั คุณภาพ เกณฑ์การประเมิน 1234 7.1 การ 1– มีความยืดหยุน่ ในการจัดห้องเรยี น มปี า้ ยนิเทศ หรือ สอ่ื การเรียนการสอน จดั บรรยากาศ การ ... ... ... ... หรอื มมุ วิชาการ สาหรับศกึ ษาคน้ คว้าทีเ่ ปน็ ปจั จุบนั สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน จดั เรียน การสอน ช่วยเหลือเกื้อกลู กนั ... ... ... ... 7.2 การ 2– มีความยืดหยนุ่ ในการจัดห้องเรยี น มีป้ายนิเทศ หรือ ส่ือการเรียนการสอน จัดทาขอ้ มลู หรือมมุ วิชาการ สาหรบั ศกึ ษาคน้ ควา้ ท่เี ปน็ ปัจจุบนั สง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี น สารสนเทศ ชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกันการมปี ฏิสัมพันธท์ ่ีดีระหวา่ งครูกับผเู้ รียน และผู้เรยี น และเอกสารประจาชน้ั กับผู้เรยี น เรียน/ประจาวิชา 3– มีความยดื หยุ่นในการจัดห้องเรยี น มปี า้ ยนเิ ทศ หรอื ส่ือการเรียนการสอน หรอื มุมวิชาการ สาหรับศกึ ษาค้นคว้า ทีเ่ ปน็ ปัจจบุ ัน ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี น ช่วยเหลอื เก้ือกูลกนั การมีปฏสิ ัมพนั ธท์ ดี่ รี ะหว่างครกู บั ผเู้ รียน และผเู้ รียน กับผเู้ รียน ผูเ้ รียนมีความกระตือรอื ร้นในการเรียน 4– มีความยดื หยุ่นในการจัดห้องเรยี น มปี า้ ยนเิ ทศ หรอื ส่อื การเรียนการสอน หรือมมุ วิชาการ สาหรบั ศกึ ษาคน้ ควา้ ทเี่ ปน็ ปจั จบุ นั ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี น ช่วยเหลือเก้ือกูลกนั การมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ีระหว่างครูกบั ผ้เู รียน และผู้เรียน กับผู้เรยี น ผู้เรียนมีความกระตอื รือร้นในการเรยี นและผเู้ รยี นมคี วามสขุ 1– จาแนกข้อมลู ทจ่ี าเป็นและเอกสารประจาชัน้ เรียน/ ประจาวิชา จดั ทาระบบ ขอ้ มลู และเอกสารประจาชั้นเรียน/ประจาวิชา 2– จาแนกขอ้ มูลที่จาเป็นและเอกสารประจาชั้นเรียน/ ประจาวชิ า จดั ทาระบบ ขอ้ มลู และเอกสารประจาชั้นเรียน/ ประจาวิชาใหถ้ กู ต้องครบถ้วนและเป็น ปจั จุบัน 3– จาแนกขอ้ มลู ท่ีจาเป็นและเอกสารประจาชั้นเรียน/ ประจาวชิ า จดั ทาระบบ ข้อมลู และเอกสารประจาชั้นเรียน/ ประจาวิชาให้ถกู ต้องครบถ้วนและเปน็ ปัจจบุ นั และ สามารถนาไปใช้ในการพฒั นาผู้เรียนได้บางส่วน 4– จาแนกขอ้ มลู ที่จาเป็นและเอกสารประจาชั้นเรียน/ ประจาวชิ า จัดทาระบบ ขอ้ มลู และเอกสารประจาช้ันเรียน/ ประจาวิชาให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็น ปัจจบุ ัน และสามารถนาไปใชใ้ นการพัฒนาผเู้ รยี นได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพ

188 ตัวบง่ ช้ีท่ี ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมิน 1234 7.3 การกากบั ดแู ล 1– มีการสรา้ งขอ้ ตกลงในการอยู่รว่ มกนั ในชน้ั เรียน/ประจาวิชา เพอ่ื ให้ผู้เรียน ชน้ั เรียน/ประจาวิชา ... ... ... ... ไดเ้ รียนรู้อย่างเตม็ ศักยภาพ 2– มีการสรา้ งข้อตกลงในการอยู่รว่ มกนั ในชน้ั เรียน/ประจาวิชา เพื่อให้ผูเ้ รยี น ไดเ้ รียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ กากบั ดูแล การปฏบิ ตั ิของผเู้ รียนให้เปน็ ไป ตามข้อตกลง 3– มีการสรา้ งข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในชัน้ เรียน/ประจาวิชา เพื่อใหผ้ ู้เรียน ไดเ้ รยี นรู้อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ กากับ ดูแล การปฏบิ ัติของผ้เู รียนให้เปน็ ไป ตามข้อตกลงและสามารถปรบั พฤติกรรมผู้เรียนให้เรียนรว่ มกันได้ 4– มีการสร้างขอ้ ตกลงในการอยู่รว่ มกันในช้นั เรียน/ประจาวิชา เพื่อใหผ้ ู้เรยี น ไดเ้ รียนรู้อย่างเตม็ ศกั ยภาพ กากับ ดแู ล การปฏิบตั ขิ องผเู้ รียนให้เป็นไป ตามขอ้ ตกลงและสามารถปรบั พฤติกรรมผูเ้ รียนให้เรียนร่วมกันได้อย่างราบรื่น

ภาคผนวก ง คา่ ดัชนีความสอดคลอ้ งของแบบสอบถาม เพือ่ ประเมนิ โครงการพัฒนาสมรรถนะเพื่อเพ่มิ ประสิทธภิ าพ ในการปฏบิ ตั ิงานของขา้ ราชการครู โรงเรียนวัดสลักได

190 ค่าดชั นีความสอดคล้องของแบบสอบถาม เพ่อื ประเมนิ โครงการพฒั นาสมรรถนะเพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน ของข้าราชการครู โรงเรยี นวดั สลักได ด้านสภาพแวดลอ้ ม ข้อคาถาม ความคิดเหน็ ผเู้ ชีย่ วชาญคนที่ รวม IOC ผล 123 4 5 ใชไ้ ด้ ใช้ได้ 1. มีการวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาและความตอ้ งการ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 ใชไ้ ด้ ใช้ได้ เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการจดั ทาโครงการ ใชไ้ ด้ ใชไ้ ด้ 2. มกี ารวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก 0 +1 +1 +1 +1 4 0.8 ใช้ได้ ใช้ได้ องค์กร(SWOT) ก่อนการจดั ทาโครงการ ใชไ้ ด้ ใช้ได้ 3. โครงการน้มี ีคณุ ค่าและเปน็ ประโยชน์ตอ่ ครู +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 ในการปฏบิ ัตงิ านให้มีประสิทธิภาพมากข้นึ 4. บุคลากรท่เี ก่ยี วขอ้ งเห็นความสาคญั ความจาเปน็ +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 ยอมรับและเตม็ ใจสนับสนนุ โครงการ 5. วัตถุประสงค์ของโครงการมคี วามชดั เจน +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 6. โครงการไดร้ ะบกุ ลมุ่ เปา้ หมาย +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 ในด้านปรมิ าณ และคณุ ภาพชัดเจน 7. โครงการได้กาหนดขอบเขตของการดาเนินงาน +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 และความรบั ผิดชอบไวอ้ ยา่ งชดั เจน 8. โครงการมีการระบุทรัพยากรต่างๆ ทจี่ าเป็น +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 ในการดาเนนิ งาน 9. โครงการมีการกาหนดระยะเวลาที่เริม่ ต้น +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0 และเวลาท่ีสิ้นสดุ ทแ่ี นน่ อน 10.โครงการสามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้จริง +1 +1 +1 +1 +1 5 1.0


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook