140 พูดคุย หารือ การทำหนังสือราชการ เพื่อให้เครือข่ายเข้าใจหลกั การ และวัตถุประสงค์ของการจัดการศกึ ษาแต่ละ ประเภท ให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล ร่วมติดตามผล สถานศึกษาทำ หนังสือขอบคุณภาคีเครือข่ายที่จัด หรือ ร่วมจัดการศึกษาของภาคีเครือข่าย ภายหลังเสร็จสิ้นกิจกรรม และ สถานศึกษาได้จัดลงนามความร่วมมือ (MOU) กับเครือข่ายบางหน่วยงาน เช่น เทศบาลตำบลกุฎโง้ง นอกจากนี้ สถานศกึ ษายังให้ความร่วมกับภาคีเครือข่ายในการรว่ มจัดกจิ กรรมของภาคีเครือข่าย เพอ่ื ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ ดีระหวา่ งหน่วยงาน 2. ภาคเี ครือข่ายมีสว่ นร่วมในการจัด หรอื ร่วมจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยร่วม คิด ร่วมวางแผน ร่วมกันจัดกิจกรรม และร่วมเสนอแนะในการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การจัดกิจกรรม 4 ศูนย์ ได้แก่ 1) ศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตําบล (ศส.ปชต.ในการดําเนินงานขับเคลื่อน ร่วมกับ กกต.จังหวัดชลบุรี เช่น การให้ความรู้คณะกรรมการ ศส.ปชต. และให้ ความรู้กับประชาชนในเรื่องเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเลือกต้งั 2) ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ได้ส่งเสริมสนับสนุน การดําเนินงานร่วมกับ สํานักงานสถิติจังหวัดชลบุรี บริษัททีโอที และอำเภอพนัสนิคม มามีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดําเนินงาน เช่น การอบรมการใช้เน็ตประชารัฐ 3) ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง ได้ดําเนินงานขับเคลื่อน จัดตั้งศูนย์เรียนรู้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจําตําบล ทุกตําบล ร่วมกับภาคีเครือข่าย ทั้งผู้นําท้องถิ่น และ ภาคีเครือข่ายส่วนอื่น ๆ ในทุกตําบล 4) ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชวี ิต ได้ขบั เคลอ่ื นรว่ มกับภาคเี ครือข่ายสว่ นอ่ืน จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เช่น องค์กรปกครองท้องถิ่นได้ประสานความร่วมมือกันจัดกิจกรรมร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ และได้ ดําเนินงานตามนโยบายอื่น ๆ ของ กระทรวงศึกษาธิการ เช่น การขับเคลื่อน สู่ Smart ONIE ในการจัดการศึกษา และการเรียนรู้ที่เสริมสร้าง ศักยภาพของประชาชน ให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ได้มีการส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ด้าน เกษตรกรรม Smart Farmer เกษตรกรปราดเปรื่อง โดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ จากหนว่ ยงาน ต่าง ๆ มาร่วมเปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ เป็นตน้ 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการติดตามการจัดกิจกรรม ร่วมกบั ภาคเี ครือข่าย โดยการนเิ ทศติดตาม การสมั ภาษณ์ สอบถาม การประชมุ การพดู คยุ แลกเปล่ียนจากผู้เรียน ผู้รับบริการที่เกี่ยวข้องกับภาคีเครือข่าย มีการบันทึกข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์สรุปผล และนำข้อมูลที่ได้จากการ ตดิ ตาม ไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการของสถานศกึ ษาตอ่ ไป 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการทบทวน ติ ดตาม กระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดหรือร่วมจัด กิจกรรมของภาคีเครือข่าย สถานศึกษาได้มีการติดตาม วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการดำเนินงานสถานศึกษา โดยบุคลากรของสถานศึกษาร่วมประชุม สนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพ การดำเนินงาน การจัดหรือร่วมจัดการศึกษา เพื่อนำผลไปแก้ไขปัญหา พัฒนาปรบั ปรุงอยา่ งต่อเน่ืองสม่ำเสมอ เพอ่ื สรา้ งความยง่ั ยนื ในความสมั พนั ธ์ของภาคีเครอื ขา่ ยที่เข้ารว่ มดำเนินการ พร้อมนำสรุปผลการจัดกิจกรรมรายงานต่อผู้บริหาร เพื่อนำไปเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการ เรยี นรใู้ นโอกาสตอ่ ไป
141 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม มีกระบวนการในการส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจัดหรือร่วมจัดการศึกษา โดยการสร้างสัมพันธ์ ประสานความร่วมมือ สร้างความเข้าใจ ประชมุ แต่งตัง้ สร้างแรงจูงใจ จดั กจิ กรรม จดั การศกึ ษาร่วมกนั ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ ภาคเี ครือข่ายท่รี ว่ มจัด จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ 3.2 การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของ ภาคีเครือขา่ ย ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี ตัวบ่งช้ี 3.3 การมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา 1. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีกระบวนการการสรรหาและ คัดเลือกกรรมการและประธานกรรมการสถานศึกษา ตามคู่มือการสรรหาและแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจัดทำประกาศรับสมัครการสรรหา และการคัดเลือกคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการศึกษา ด้านศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ดา้ นพฒั นาสงั คม ชมุ ชนและสิ่งแวดล้อม ด้านการเมือง การปกครอง ด้านความมั่นคง ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ ดา้ นภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน และดา้ นสาธารณสุข สถานศึกษาแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รบั สมัคร และตรวจสอบ คุณสมบัติผู้สมคั รให้ถูกต้องตามประกาศ แล้วประกาศรายชื่อผูม้ ิสิทธิเขา้ รับการคัดเลือกเป็นกรรมการสถานศึกษา ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละด้าน สถานศึกษาเชิญประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อเลือกประธาน คณะกรรมการสถานศึกษา แลว้ เสนอรายชอื่ คณะกรรมการสถานศึกษาต่อผู้อำนวยการสำนกั งานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี เมื่อได้แต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษาดังกล่าวแล้ว สถานศึกษาได้เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาประชุม เพื่อชี้แจงให้ทราบถึงภารกิจของสถานศึกษา บทบาทหน้าท่ี ของคณะกรรมการสถานศึกษา วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ สถานศกึ ษาอย่างน้อยปลี ะ 1 คร้ัง 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ชี้แจงบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมครั้งแรก และในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษาเสนอ แผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษา ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา การจัดหาหนังสือเรียน และข้อหารือต่าง ๆ เพื่อขออนุมัติ ขอคำปรึกษา ข้อเสนอแนะ โดยมกี ารพูดคุย ซักถาม และให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาได้แสดงความคิดเหน็ ซ่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ในแต่ละด้าน ทั้ง 8 ด้าน เป็นคณะกรรมการสถานศึกษา ดังนี้ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ได้แก่ นางปราณี หนูขาว 2) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ได้แก่ นายสมดุล ทำเนาว์ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพัฒนา สังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ นางผ่องใส สุคาคม 4) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเมืองการปกครอง ได้แก่ นายมงคล นิยม 5) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านความมั่นคงได้แก่ พ.ต.ท.สมศักดิ์ โปปัญจมะกุล 6) ผู้ทรงคุณวุฒิด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสารสนเทศได้แก่ นายสุบิน มณีแสง 7) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นได้แก่ นายทำนนท์ แซ่ล้ี 8) ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ ้านสาธารณสขุ นายสมศกั ด์ิ กรี ตหิ ตั ถยากร
142 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ให้คณะกรรมการสถานศึกษามี ส่วนร่วมตามบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนดในการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา และเมื่อ สถานศึกษาเสนอแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ แผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร สถานศึกษา ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา รายงานการประเมินตนเอง การจัดหาหนังสือเรียน และข้อหารือ ต่าง ๆ เพ่ือขอความเหน็ ชอบ ขอคำปรึกษา ข้อเสนอแนะต่าง ๆ คณะกรรมการสถานศกึ ษาได้มีการพิจารณาถึงเหตุ และผลของการดำเนินงานในประเด็นตา่ ง ๆ อยา่ งรอบคอบ รดั กุม กอ่ นให้ความเห็นชอบทุกคร้งั นอกจากนี้ในด้าน ความร่วมมือในการดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ สถานศึกษาได้เชิญคณะกรรมการสถานศึกษาร่วมในโครงการ / กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา และรว่ มเปน็ วิทยากรในการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ทบทวนกระบวนการในการ สรรหา และกระบวนการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนดให้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา โดยให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาร่วมซกั ถาม และแสดงความคิดเหน็ 5. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นิคม มกี ารดำเนินงานสอดคลอ้ งกับ แผนการศึกษาชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 นโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน.ปงี บประมาณ 2561 ดงั นี้ สอดคลอ้ งกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบ บริหารจัดการศึกษา ข้อ 2.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางศึกษา มีความเป็นธรรม สร้างขวัญกำลังใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างเต็มตามศักยภาพ (1) มีระบบการสรรหาและแต่งตั้งผู้บริหาร สถานศึกษาตามหลักเกณฑ์ความรู้ ความสามารถประสบการณ์การจัดการเรียนการสอสน การบริหารการศึกษา และความสำเร็จในวิชาชพี สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 6. จุดเน้นด้าน การพัฒนาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก 6.3 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัด การศึกษา โครงการหลัก 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการในการจัดการศึกษา โครงการพัฒนา รูปแบบ/แนวทาง การส่งเสริมการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาจากทกุ ภาคส่วนของ สังคม โครงการส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายการศึกษาในการจัดการศึกษาในพื้นที่ อาทิ สมัชชาการศึกษาหรือ สภาการศึกษาจังหวดั หรือสถาบนั และองค์กรต่าง ๆ ในสงั คม จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งช้ี 3.3 การมสี ว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
143 1. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการจัดระบบการประกัน คุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนและผู้รับบริการตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ที่อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยพ.ศ. 2551 โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบท่ี กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนดและพัฒนามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใ นส่วนที่เป็นลักษณะเฉพา ะ ของสถานศึกษา 2) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ โดยนำการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามปีงบประมาณ 2557 ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ปีงบประมาณ 2557 และผลการประเมินตนเองปีงบประมาณ 2560 ของสถานศึกษา เป็นขอ้ มูลสารสนเทศในการ พัฒนาและปรับปรุง 3) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 4) จดั ให้มกี ารนเิ ทศ ติดตาม ตรวจสอบการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทุกกิจกรรม โดยแต่งต้ัง คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งจัดทำแผนการนิเทศเสนออนุมัติ ดำเนินการนิเทศตามแผน สรุปและรายงานผลการนิเทศเสนอต่อผู้เกี่ยวข้องและนำผลการนิเทศไปพัฒนาและ ปรับปรุงงานให้มีคุณภาพ 5) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดย แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ร่วมกันรวบรวม ข้อมูล ตรวจสอบ วิเคราะห์ ข้อมูลสารสนเทศที่เกีย่ วข้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ประเมินตนเองตาม มาตรฐาน และตัวบ่งชี้ วิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง 6) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปีงบประมาณ 2561 7) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคี เครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน 8) นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพ่ือ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 9) จัดระบบบริหาร และสารสนเทศให้พร้อมในการใช้ในการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 10) ยึดหลักการมีส่วนรว่ มของคณะกรรมการ สถานศึกษา บุคลากรทกุ คนในสถานศึกษา ภาคีเครือขา่ ย และผู้รับบรกิ าร 2. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม ไดม้ อบหมายและแต่งตง้ั บคุ ลากร รับผิดชอบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จากนั้นสถานศึกษาจัดประชุมบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เตรียมความพร้อมการดำเนินงานประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เป็นการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจใหแ้ กบ่ คุ ลากรในการดาเนินงานตามระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ทบทวนหรือประเมินระบบการ ประกันคณุ ภาพภายในทส่ี ่งผลต่อคุณภาพผูเ้ รยี นและผูร้ บั บรกิ าร โดยสถานศกึ ษาดำเนนิ การประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการและการทำงานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ดำเนินการตามแผน ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง บุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ ประกันคุณภาพภายในทุกขั้นตอน โดยใช้หลักการทำงานตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ตั้งแต่กำหนด
144 เป้าหมาย วางแผนตดิ ตามดำเนินการ ตรวจสอบ ประเมินผล พัฒนาหรือปรบั ปรุง เมื่อจัดโครงการ /กิจกรรมตา่ ง ๆ เรียบร้อยแล้ว จัดทำสรุปผลการดำเนินงานเพื่อใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงในการจัดโครงการ/กิจกรรมต่อไป และสถานศกึ ษาจดั ประชมุ บุคลากรของสถานศกึ ษาทุกเดอื นเพื่อติดตามการดำเนนิ การจดั โครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม จัดประชุมบุคลากรของ สถานศึกษาเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อชี้แจง อธิบายวิธีการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรของสถานศึกษาทุกคนร่วมกันกำหนดค่าเป้าหมายในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ปีงบประมาณ 2561 ที่คาดหวังว่าสามารถทำ ให้เกิดขึ้นได้ตามศักยภาพและบริบทของสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูล สารสนเทศจากการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2560 เพื่อใช้เป็นข้อมูลเทียบเคียง ตรวจสอบ และประเมินผลการ ดำเนินงานว่าเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้หรือไม่ และเพื่อให้บุคลากรของสถานศึกษาใช้เป็น แนวทางในการดำเนินงาน 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยประชุมบคุ ลากรของสถานศึกษา เพอ่ื ชแี้ จง อธบิ ายวิธกี ารดำเนินงานการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นประจำ เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจให้กับบุคลากร และในการปฏิบัติงาน สถานศึกษาดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ หรอื กจิ กรรมที่กำหนดไว้ นิเทศตดิ ตามผล และมกี ารรายงานผลการ จดั กิจกรรม นเิ ทศ ตดิ ตามการดำเนนิ งาน และรายงานผลการดำเนินงาน เพอ่ื นำผลการดำเนนิ งานไปปรับปรุงและ พัฒนาการจดั กจิ กรรมต่อไป จากการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชที้ ่ี 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ได้ 3.50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดี จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การศึกษา ดังรายละเอียดข้างต้น สามารถสรุปคะแนนที่ได้ และระดับคุณภาพจากผลการประเมินตนเองของ สถานศกึ ษา ได้ดงั รายละเอียดในตารางตอ่ ไปน้ี มาตรฐาน น้ำหนกั ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 3 ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.1 การบรหิ ารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและหลักธรรมาภิบาล 5 4.00 ดี ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.2 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาของภาคี เครือข่าย 5 4.00 ดี ตัวบ่งชท้ี 3่ี .3 การมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 4.00 ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 3.4 การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 5 3.50 ดี รวม 20 15.50 ดี
145 สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศกึ ษา มคี ะแนนรวม เท่ากบั 15.50 คะแนน ซ่งึ มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี โดยมีจดุ เด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา วธิ ีปฏิบตั ทิ ่ีดี หรอื นวตั กรรม หรือต้นแบบ และขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา ดงั น้ี จุดเดน่ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการบริหารสถานศกึ ษา 2. ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทุกคนมีความรัก ความสามคั คี มกี ารทำงานร่วมกันเป็น ทีม ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งการปฏิบัติงานเพื่อนำไปสู่ ความสำเรจ็ รว่ มกนั อยา่ งถูกตอ้ งโปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุนความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการจัดการหรือร่วมกันจัด การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต ตั้งแต่ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วม ตรวจสอบ และร่วมประเมินผล จุดท่คี วรพัฒนา 1. สถานศึกษาควรมกี ารทบทวนหรือประเมินระบบการประกนั คุณภาพภายในทส่ี ่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน อย่างตอ่ เน่ือง 2. สถานศกึ ษามีการประชมุ ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับครูและบุคลากรทุกคนเห็นความสำคัญของการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา วธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ีดี หรือนวัตกรรม 1. สถานศึกษามีโครงสร้างการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ทำให้กระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพ เนื่ องจาก บคุ ลากรทกุ คนของสถานศึกษารับทราบและปฏบิ ตั ิงานตาม บทบาทหนา้ ทขี่ องตนเอง 2. สถานศึกษาจัดการศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายที่มีศักยภาพ จัดหรือร่วมจัด การศึกษา ในทุกกจิ กรรม และทกุ ขนั้ ตอน 3. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ติดตาม การจัด การศึกษาของ สถานศกึ ษา ข้อเสนอแนะในการพฒั นา 1. สถานศึกษาควรมีการประชุม ติดตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสำหรับ บคุ ลากร และคณะกรรมการสถานศกึ ษา 2. สถานศึกษาควรจัดประชมุ สัมมนาภาคีเครือข่ายที่จัดหรือร่วมจัดการศึกษา และมอบใบ ประกาศเกียรติ คุณเพ่อื ยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ
146 บทที่ 4 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา การประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2560 เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา ได้ดังน้ี การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา การสรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลไดเ้ ป็น 2 ส่วน คอื 1) สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 2) สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการพฒั นา 1. สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1คณุ ภาพของผเู้ รียน/ผูร้ บั บรกิ าร 35 25.00 ดี การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.1 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม 5 4.00 ดี ตัวบง่ ช้ที ี่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมที ักษะ กระบวนการคิด ทักษะการ แสวงหาความรู้ เรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่อื ง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการ ดำรงชวี ติ 5 3.50 ดี ตวั บ่งชี้ท่ี 1.3 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานมีความรู้พืน้ ฐาน 5 3.00 พอใช้ การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ตวั บ่งชท้ี ่ี 1.4 ผู้เรยี นหรือผเู้ ข้ารับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะ ในการประกอบอาชีพ 5 4.00 ดี ตัวบ่งชี้ท่ี 1.5 ผเู้ รียนหรือผู้เขา้ รบั การอบรมปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 5 4.00 ดี ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.6 ผูเ้ รียนหรอื ผูเ้ ข้ารบั การอบรมสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ ง 5 เหมาะสม 3.00 พอใช้ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
147 มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ นำ้ หนกั ผลการประเมินตนเอง (คะแนน) คะแนนท่ไี ด้ ระดับ คณุ ภาพ ตัวบ่งชท้ี ่ี 1.7 ผู้รบั บริการไดร้ ับความรู้และ/หรือประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ ม กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศัย 5 3.50 ดี มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษา/การให้บรกิ าร 45 34.00 ดี การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ตวั บ่งชี้ท่ี 2.1 คณุ ภาพครูการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 5 4.00 ดี ตวั บ่งชที้ ี่ 2.2 คณุ ภาพของหลักสูตรสถานศึกษา 5 3.50 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.3 คณุ ภาพสอ่ื ตามหลกั สตู รสถานศึกษา 5 3.50 ดี ตวั บง่ ชี้ที่ 2.4 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั สูตรสถานศกึ ษา 5 4.00 ดี การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.5 คุณภาพวทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนื่อง 5 4.00 ดี ตัวบ่งชท้ี ี่ 2.6 คณุ ภาพหลกั สูตรและสื่อการศึกษาต่อเน่อื ง 5 3.50 ดี ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.7 คุณภาพการจดั กระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง 5 4.00 ดี การศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 คุณภาพผู้จัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5 4.00 ดี ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.9 คณุ ภาพกระบวนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั 5 3.50 ดี มาตรฐานที่ 3 ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการการศึกษา 20 15.50 ดี ตัวบง่ ช้ีที่ 3.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล 5 4.00 ดี ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.2 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของภาคเี ครือข่าย 5 4.00 ดี ตวั บง่ ชี้ท3ี่ .3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 5 4.00 ดี ตัวบ่งชที้ ี่ 3.4 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 5 3.50 ดี รวม 100 74.50 ดี สถานศกึ ษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม โดยมคี ะแนนรวม เทา่ กบั 74.50 คะแนน ซึ่งอย่ใู นระดบั คุณภาพ ดี
148 2. สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพ่อื การพัฒนา สรปุ ผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพือ่ การพัฒนา จดุ เดน่ 1. สถานศกึ ษาได้จัดกระบวนการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนทีห่ ลากหลาย โดยสอดแทรกระบวนการ เรียนรู้ให้ผูเ้ รียนเกดิ คุณธรรมในเรอ่ื งความสามคั คี ความซ่ือสัตย์ ความมนี ้ำใจ ความกตญั ญกู ตเวที ขยัน มวี นิ ัย ความสะอาด สภุ าพ ประหยดั เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นอยูใ่ นครอบครวั ชุมชน สงั คม ได้อยา่ งมีความสุข และมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ี 2. สถานศกึ ษาจดั การเรยี นรู้โดยใชก้ ารจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรอื ONIE MODEL ซงึ่ เป็น กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ที่จัดขนึ้ อยา่ งเป็นระบบ ตามปรชั ญา “คดิ เป็น” มุ่งพัฒนาผู้เรียนสคู่ วามเปน็ คน “คดิ เป็น” โดยเนน้ พัฒนาทกั ษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใชค้ วามรแู้ ละสร้างองค์ความรู้ สำหรับตนเอง และชมุ ชน 3. สถานศกึ ษาไดเ้ ชญิ วิทยากรตรงตามสาขาวิชามาสอนปรับพื้นฐานผู้เรียนในช่วงตน้ ภาคเรียน และสอนเสริมให้ ผู้เรียนในชว่ งปลายภาคเรียน เพ่ือเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของผเู้ รียน 4. สถานศึกษาจัดการศึกษาต่อเนอื่ งทีห่ ลากหลายสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรียน/ ผู้รบั บริการ และชุมชน จดั กระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ทำใหผ้ ู้เรียน/ผู้รบั บริการ นำความรู้ ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ในการลดรายจา่ ย หรือเพม่ิ รายได้ หรือประกอบอาชีพ หรอื พฒั นาตอ่ ยอดอาชพี หรือเพิ่มมลู ค่าของสินค้า หรือ บริการ 5. สถานศึกษา ได้ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย โดยห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อำเภอ พนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี ให้บริการต่าง ๆ หลากหลายกจิ กรรม ทง้ั ภายใน ภายนอกห้องสมุด ร่วมกับ กศน.ตำบล ให้บรกิ ารในชุมชน ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ เคลื่อนท่ี กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน เพื่อส่งเสริมการ อ่านของ ประชาชน อนั จะนำไปสู่การอ่านเพื่อการเรียนรู้ 6. ครกู ารศึกษาข้ันพื้นฐาน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ ต้องการของผู้เรียน เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั มุ่งให้ผูเ้ รยี น/ผู้รับบริการมที ักษะการคดิ การตัดสินใจ เรยี นรจู้ ากการ ฝึกปฏิบตั ิ สามารถ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั หรอื นำไปประกอบอาชีพได้จริง โดยใชก้ ารจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ ONIE MODEL พรอ้ มท้ังนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน 7. วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนื่องหรอื ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มีความรู้ ความสามารถ มที ักษะการถา่ ยทอด การจัด กระบวนการเรียนการสอนให้แกผ่ ู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งมีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันและนำไป ประกอบอาชีพหรือพฒั นาอาชีพได้จริง มีการใชส้ ่ือและเทคโนโลยมี าจดั กระบวนการเรียนการสอนทำให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นรู้ ได้หลายช่องทางรวมทั้งสรา้ งบรรยากาศเพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรภู้ ายในกลุ่ม 8. ผู้บริหารสถานศึกษาบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าล โดยนอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการ บริหารสถานศึกษา 9. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาสง่ เสริมใหค้ รแู ละบุคลากรทกุ คนมคี วามรัก ความสามัคคี มีการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีม ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นซง่ึ กนั และกัน มีความรับผิดชอบ ความซอื่ สตั ย์สจุ ริต มุ่งการปฏิบัตงิ านเพ่ือนำไปสู่ ความสำเรจ็ ร่วมกนั อย่างถูกต้องโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
149 จดุ ท่คี วร สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพื่อการพัฒนา พฒั นา 10. สถานศึกษามีการสง่ เสริม สนบั สนุนความร่วมมือกับภาคเี ครอื ข่ายในการจดั การหรือร่วมกนั จดั การศึกษานอก ระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั และการศกึ ษาตลอดชวี ติ ตง้ั แต่ร่วมวางแผน รว่ มปฏบิ ตั ิ รว่ มตรวจสอบ และร่วม วิธปี ฏิบัติ ประเมนิ ผล ที่ดี หรอื 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน นวัตกรรม 2. การติดตามผ้เู รยี น/ผูร้ บั บริการ หลังจบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ ผเู้ รียน/ผ้รู ับบริการ หรอื นำความรู้ ทกั ษะทีไ่ ดร้ บั ไปใช้ในการเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชพี หรือพฒั นาต่อยอดอาชพี หรือเพ่ิมมลู คา่ ของ ตัวอยา่ ง สนิ คา้ ท่ดี ี หรอื 3. ครกู ารศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน บางคนยังขาดความรใู้ นการนำเทคโนโลยมี าใช้ในการจดั กระบวนการเรยี นรูผ้ ู้เรยี น/ ต้นแบบ ผู้รบั บรกิ าร 4. วทิ ยากรการศึกษาต่อเน่ือง บางคนขาดทักษะกระบวนการออกแบบ และการจัดกระบวนการ เรยี นร้ใู ห้กบั ผเู้ รยี น/ผู้รบั บริการ 5. สถานศกึ ษา มีระบบการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลวิทยากรการศกึ ษาต่อเน่อื ง แต่ยงั ไม่เป็นระบบสารสนเทศ 6. สถานศึกษาควรมีการทบทวนหรือประเมนิ ระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีสง่ ผลต่อคณุ ภาพผเู้ รยี น อย่าง ต่อเนอื่ ง 7. สถานศกึ ษามีการประชุม ตดิ ตาม ทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อสร้าง ความรู้ ความเขา้ ใจใหก้ ับครแู ละบุคลากรทุกคนเห็นความสำคญั ของการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา วิธปี ฏิบตั ทิ ด่ี ี หรือนวัตกรรม 1. สถานศึกษาใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนในยุคดิจิทัล โดยนำนวัตกรรม Google Classroom และ Google form มาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทุกท่ี ทุกเวลา 2. สถานศึกษามีโครงสร้างการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ทำให้กระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบุคลากรทุก คนของสถานศกึ ษารบั ทราบและปฏบิ ตั งิ านตาม บทบาทหน้าท่ขี องตนเอง 3. สถานศึกษาจดั การศึกษาส่งเสริมสนบั สนุนให้ภาคีเครอื ข่ายทม่ี ีศักยภาพ จดั หรอื ร่วมจัด การศกึ ษา ในทุกกิจกรรม และทกุ ขน้ั ตอน 4. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ติดตาม การ จัด การศึกษาของ สถานศึกษา ตวั อยา่ งทดี่ ี 1. สถานศึกษามีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีด้านคุณธรรม จำนวน 48 คน โดยพิจารณาจากการประเมินคุณธรรม รายบุคคล การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้เรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับผู้เรียน โดยสอดแทรกเรือ่ งคุณธรรมจริยธรรม ระหว่างการจดั กิจกรรม 2. สถานศึกษามีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนือ่ งและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชวี ิต จำนวน 48 คน โดยการจัดกระบวนการ
150 สรปุ ผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นา เรยี นรู้ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยม่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนคิดเป็น มที ักษะในการแสวงหาความรู้และสร้างองค์ความรสู้ ำหรับตนเอง ชุมชน และสงั คม 3. สถานศกึ ษามีผู้เรยี นการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ทเี่ ปน็ ตัวอย่างท่ดี ี ดา้ นความรูพ้ ้นื ฐาน จำนวน 46 คน โดยสถานศึกษา จดั กระบวนการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั และมกี ารสอนเสรมิ ในรายวิชาหลกั ให้กบั ผเู้ รยี น 4. สถานศึกษามีผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีที่มีความรู้ ความสามารถ แล ะทักษะในการ ประกอบอาชีพ จำนวน 115 คน โดยผู้เรียนได้นำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ประกอบอาชีพพัฒนา ตอ่ ยอดอาชพี เพมิ่ มลู ค่าสินค้าหรือบรกิ าร 5. สถานศึกษามีผู้เรียน หรือผู้เข้ารับการอบรม ที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จำนวน 77 คน ซึ่งผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. สถานศกึ ษามผี ู้เรยี น หรอื ผู้เข้ารบั การอบรม ทเี่ ปน็ ตัวอยา่ งทดี่ ีที่สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อยา่ งเหมาะสม จำนวน 47 คน ซ่งึ ผู้เรียน หรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมนำเทคโนโลยมี าใช้ในการแกป้ ัญหาและการดำเนินชวี ิต 7. สถานศึกษามีผู้รับบริการ ที่ได้รับความรู้ หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการการศึกษาตาม อัธยาศัย ที่เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน 116 คน โดยสถานศึกษาจัดกิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศัยที่ หลากหลาย ทำให้มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงานและใน การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวันได้ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา จากผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เหน็ ควรใหส้ ถานศึกษาจดั โครงการ/กจิ กรรม เพ่อื การปรับปรงุ หรอื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตามลำดบั ความสำคัญ ดงั นี้ 1. โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนด้านวิชาการ 2. โครงการอบรมและพัฒนาบุคลากรครู ด้านออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3. โครงการพฒั นาส่อื นวตั กรรม การเรียนการสอน 4. โครงการพฒั นาวทิ ยากรต่อเนือ่ ง ในการจดั กระบวนการเรียนการสอน 5. โครงการประชุมติดตามทบทวน ระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา **************
151 คณะผู้จดั ทำ ทีป่ รกึ ษา นายอนชุ า พงษ์เกษม ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดชลบรุ ี นางสาวอุไรรัตน์ ชนะบำรงุ ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ชลบรุ ี นางณัชธกญั หมื่นสา ตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอพนัสนิคม รวบรวมขอ้ มูล นางสาวมทุ กิ า การงานดี ตำแหน่ง ครู นางปลื้มจติ ร ศรเี ทพ ตำแหนง่ บรรณารกั ษป์ ฏิบัติการ นางสาวเฟอ่ื งฟ้า คลังสนิ ธ์ ตำแหน่ง ครูอาสาสมัครฯ นายวัชรนิ ทร์ อดุ านนท์ ตำแหน่ง ครอู าสาสมัครฯ นางโสพิศ รายศริ ิ ตำแหนง่ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวเบญจมาศ นอ้ ยประเสรฐิ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลบา้ นชา้ ง นางสาวจนั ทกานต์ ทำเนาว์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลไร่หลักทอง นางสาวณฐั วรรณ เลอื ดสงคราม ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลหนองเหียง นางสาวอมุ าพร ฤกษ์งาม ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลนาเรกิ นายธีรพงศ์ เขยี วหวาน ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลกุฎโง้ง นางสาวพจนีย์ ประทุมทอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลหนา้ พระธาตุ นางสาวเนตรณภิษ พยงุ วงษ์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลโคกเพลาะ นายไพรัช ขวัญครี ี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลนาวงั หนิ นางสาวชญั ญานขุ พิทักษ์เมฆา ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลหมอนนาง นางสาวณฏั ฐา เนาวอ์ ดุ ม ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลท่าข้าม นางสาวศรยิ า พทุ ธมาลี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลสระส่ีเหล่ียม นางสาววภิ า หนรู อง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลวดั โบสถ์ นางสาวนิตยา นำ้ ฟา้ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลทุง่ ขวาง นางสาวสนุ ทรี เพชรประเสริฐ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลบ้านเซดิ นางสาวนฤมล เอมเปีย ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลหนองขยาด นางสาวทวพี ร เคนรำ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลหัวถนน นางสาวชลิตดา ใจพรหม ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลวดั หลวง นางสาวกนกกร ฮกโก้ ตำแหนง่ ครูศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน นางสาวนฤมล อนิ ทศร ตำแหนง่ ครศู นู ย์การเรยี นชุมชน นางสาวเยาวทพิ ย์ เกลาเกล้ียง ตำแหน่ง บรรณารกั ษ์อตั ราจา้ ง
152 ภาคผนวก
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186