Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR-61พนัสนิคม

SAR-61พนัสนิคม

Published by 420st0000051, 2021-02-26 11:53:32

Description: SAR-61พนัสนิคม

Search

Read the Text Version

40 เป้าประสงค์ และตัวช้ีวัดความสำเร็จ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ 1. จดั และสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 1. จำนวนกลมุ่ เปา้ หมาย ผ้ดู อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทาง ตามอธั ยาศยั ใหม้ คี ุณภาพให้กับกลุ่มเป้าหมาย อย่างเท่า การศกึ ษาท่ีได้รับบรกิ ารการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา เทยี มและท่ัวถงึ ขั้นพนื้ ฐาน ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพ ปญั หาและความต้องการ ที่มี คุณภาพอยา่ งเท่าเทยี มและทั่วถงึ 2. รอ้ ยละของผู้ไมร่ หู้ นงั สอื ท่ีผ่านการประเมินการรหู้ นงั สือตาม หลกั สูตรส่งเสริมการร้หู นังสอื 2. สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือข่ายในการจดั 3. รอ้ ยละภาครฐั และเอกชนทุกภาคสว่ น รว่ มเป็นภาคี การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เครือข่ายในการจดั สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ งาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. สง่ เสรมิ ให้ประชาชน นกั ศกึ ษา กศน. ได้รับการ 4. ร้อยละของประชาชน นักศกึ ษา กศน. ไดร้ บั การสร้างเสริม ยกระดับการศึกษาสรา้ งเสรมิ และปลูกฝงั คุณธรรม และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมส่คู วามเป็นพลเมอื งทด่ี ใี นระบอบ จริยธรรมและความเปน็ พลเมือง อันนำไปสู่การยกระดบั ประชาธิปไตย คุณภาพชีวติ และเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ชุมชน เพื่อ พัฒนาไปส่สู ังคมที่ย่ังยนื 4. พัฒนาบุคลากร ผ้เู รียน ผู้รับบริการ และส่งเสริมการ 5. รอ้ ยละบคุ ลากร ผู้เรียน ผู้รับบริการ ได้รับการพัฒนาการนำ นำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการยกระดบั การจัดการ เทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อการสื่อสารมาใช้ในการปฏิบัตงิ าน เรยี นรู้ และเพิ่มโอกาสทางการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชน การศึกษา และการดำเนินชีวิตประจำวันใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ และนักศึกษา กศน. โดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและการมี สว่ นร่วม 5. จัดทำหลกั สูตร และพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั 6. สถานศึกษามหี ลักสตู ร และพฒั นาหลักสูตร รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ เทคโนโลยี สอื่ และนวตั กรรม การวดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เทคโนโลยี สือ่ และนวัตกรรม การวัดและ และประเมินผลในทกุ รปู แบบให้สอดคล้องกับบริบทใน ประเมินผลในทุกรูปแบบให้สอดคล้องกบั บริบทในพน้ื ท่ี พนื้ ท่ี 6.ประชาชนได้รบั การสรา้ งและสง่ เสริมใหม้ ีนิสยั รักการ 7.รอ้ ยละการอ่านของประชาชนในพ้นื ท่ี เพ่ิมมากข้นึ อ่านเพ่ือการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 7. สถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในและมีการ 8. รอ้ ยละสถานศึกษามีระบบประกนั คุณภาพภายในและมีการ จัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง จัดทำรายงานการประเมินตนเอง

41 กลยุทธ์ กลยุทธท์ ี่ 1 บรหิ ารงานตามนโยบาย กลยทุ ธ์ที่ 2 มากมายแหล่งเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 3 ควบคู่เครอื ข่าย กลยทุ ธ์ที่ 4 หลากหลายกิจกรรม กลยทุ ธท์ ี่ 5 นำสกู่ ลุ่มเป้าหมาย แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ จำนวน ตวั ชีว้ ดั กจิ กรรม เป้าหมาย ความสำเร็จ 1. โครงการ จัดการศกึ ษา (คน) นอกระบบระดับ 1. จดั และสง่ เสริม กลยุทธท์ ่ี 1 การศกึ ษา 2,400 คน 1. ผูเ้ รียนการศึกษาข้นั การศกึ ษานอกระบบและ บริหารงานตาม ขน้ั พ้นื ฐาน การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้ นโยบาย พื้นฐานจบหลักสตู ร มคี ุณภาพใหก้ บั กลยทุ ธ์ท่ี 4 2. โครงการ กลมุ่ เป้าหมาย อยา่ งเท่า หลากหลาย สง่ เสรมิ การรู้ สามารถนำความรู้ไป เทยี มและทัว่ ถึง กจิ กรรม หนงั สอื ประยกุ ตใ์ ช้พฒั นาตนเอง 1. โครงการหนว่ ย บรกิ ารเคลือ่ นท่ี ได้ 2. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรมในการดำรงชีวติ 14 คน 1. ผเู้ รียนสามารถพัฒนา ทกั ษะการอ่านออก เขียนได้ คดิ เลขได้ 2. ผู้เรียนสามารถนำ ความรไู้ ปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ 2. สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ ม กลยุทธท์ ี่ 2 944 คน ภาคีเครอื ข่ายให้การ ของภาคเี ครือขา่ ยในการ มากมายแหลง่ จัดการศึกษานอกระบบ เรยี นรู้ สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั และการศกึ ษาตาม กลยทุ ธท์ ี่ 3 ควบคู่ อัธยาศัย เครอื ข่าย กิจกรรมการศกึ ษานอก กลยทุ ธท์ ่ี 4 หลากหลาย ระบบ และการศกึ ษาตาม กิจกรรม อธั ยาศัย

42 3.สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชน กลยุทธ์ท่ี 1 1. โครงการ 2,400 คน 1. ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม พฒั นาคุณภาพ จริยธรรมในการดำรงชวี ิต นกั ศึกษา กศน. ได้รับการ บริหารงานตาม ผ้เู รียน 2. ผ้เู รยี นสามารถนำ ความรพู้ ัฒนาคณุ ภาพชีวิต ยกระดบั การศึกษาสรา้ ง นโยบาย 2. โครงการจัด ได้ การศึกษาเพื่อ เสริมและปลูกฝงั คณุ ธรรม กลยทุ ธ์ที่ 2 พัฒนาสงั คมและ 665 คน ผูเ้ รยี นสามารถนำความรู้ ชมุ ชน พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ได้ จรยิ ธรรมและความเปน็ มากมายแหลง่ พลเมือง อันนำไปส่กู าร เรียนรู้ ยกระดบั คุณภาพชวี ติ และ กลยุทธท์ ี่ 4 เสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้ หลากหลาย ชุมชน เพ่ือพฒั นาไปสู่ กจิ กรรม สงั คมที่ยัง่ ยืน กลยุทธ์ที่ 5 นำสู่ กลมุ่ เปา้ หมาย 4. พฒั นาบคุ ลากร ผ้เู รียน กลยุทธ์ที่ 1 3. โครงการจัด 950 คน ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ผรู้ บั บรกิ าร และส่งเสริม บรหิ ารงานตาม การศกึ ษาเพื่อ 304 คน พัฒนาคุณภาพชวี ิตได้ การนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มา นโยบาย พฒั นาทักษะชวี ิต 380 คน ใชใ้ นการยกระดบั การ กลยทุ ธท์ ี่ 4 4. โครงการ 570 คน ผู้เรียนสามารถนำความรู้ จัดการเรียนรู้ และเพมิ่ หลากหลาย จัดการเรียนร้หู ลกั พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ได้ โอกาสทางการเรียนรู้ กิจกรรม ปรัชญาของ 32 คน ให้กบั ประชาชน และ กลยทุ ธ์ที่ 5 นำสู่ เศรษฐกิจพอเพยี ง ผู้เรียนสามารถนำความรู้ นักศึกษา กศน. โดยยึด กลมุ่ เปา้ หมาย 5. โครงการเพ่มิ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตได้ หลักธรรมาภิบาลและการ ประสิทธภิ าพการ มีส่วนร่วม บริหารจัดการ 1. ผู้เรยี นสามารถนำ ขยะมูลฝอย ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีไป 1. โครงการ ใช้ในการประกอบอาชีพได้ พฒั นาเศรษฐกจิ 2. ผู้เรียนสามารถนำ ดิจทิ ัล ความรู้พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ได้ 2. โครงการ บุคลากรไดร้ บั การพัฒนา พฒั นาบคุ ลากร และนำความรู้มาใชใ้ นการ กศน.อำเภอพนสั ปฏิบตั งิ านได้ นิคม

43 5. จดั ทำหลกั สตู ร และ กลยุทธ์ท่ี 1 3. โครงการ 90 คน 1. ผเู้ รียนมคี วามร้คู วาม พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบ บรหิ ารงานตาม ภาษาองั กฤษเพื่อ 285 คน เขา้ ใจในภาษาองั กฤษเพื่อ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ นโยบาย การสอื่ สารด้าน 2,400 คน การสื่อสารด้านอาชพี เทคโนโลยี สอ่ื และ กลยทุ ธท์ ี่ 2 อาชพี 2.ผเู้ รยี นสามารถนำความรู้ นวัตกรรม การวดั และ มากมายแหลง่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ได้ ประเมินผลในทุกรูปแบบ เรยี นรู้ 4. โครงการ 1. ผู้เรียนสามารถนำ ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทใน กลยทุ ธ์ท่ี 3 ควบคู่ Smart Onie เพอ่ื ความรูด้ ้านเทคโนโลยีไป พืน้ ที่ เครอื ข่าย สรา้ ง Smart ใช้ในการประกอบอาชีพได้ กลยุทธท์ ่ี 5 นำสู่ Farmer ประจำปี 2. ผเู้ รียนสามารถนำ กล่มุ เปา้ หมาย งบประมาณ ความรพู้ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 2561 ได้ 1. โครงการ หลกั สตู รสถานศึกษาไดร้ บั จดั การศกึ ษา การพัฒนา นอกระบบ ระดบั การศึกษา ข้ันพน้ื ฐาน 2.. โครงการศนู ย์ 1,140 คน 1. ผูเ้ รียนสามารถนำ ฝกึ อาชีพชมุ ชน ความรไู้ ปประกอบอาชีพ 2. ผเู้ รยี นสามารถนำ 3. โครงการหนึง่ ความรพู้ ฒั นาคุณภาพชวี ิต อำเภอหน่งึ อาชพี ได้ 90 คน 1. ผเู้ รียนสามารถนำ ความรู้ไปประกอบอาชพี 2. ผเู้ รียนสามารถนำ ความรพู้ ฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้

44 6.ประชาชนไดร้ ับการสรา้ ง กลยุทธ์ที่ 1 1. โครงการจัด 4,602 คน 1. ผรู้ ับบริการได้รบั การ การศึกษาตาม ส่งเสรมิ การอา่ น และส่งเสริมให้มีนิสัยรัก บริหารงานตาม อธั ยาศยั 2. ผรู้ บั บริการสามารถ เรียนรตู้ ลอดชวี ิต การอ่านเพื่อการแสวงหา นโยบาย 2. โครงการบ้าน หนงั สือชุมชน 3,561 1. ผู้รับบรกิ ารได้รับการ ความรู้ดว้ ยตนเอง กลยทุ ธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ การอา่ น 3. โครงการ 2. ผู้รบั บริการสามารถ มากมายแหลง่ อาสาสมคั ร เรยี นรตู้ ลอดชีวิต ส่งเสรมิ การอา่ น เรียนรู้ 41 1. ผู้รับบริการได้รบั การ 1. โครงการ ส่งเสรมิ การอ่าน กลยุทธท์ ่ี 3 ควบคู่ ประชมุ สัมมนา 2. ผู้รับบริการสามารถ คณะกรรมการ เรยี นรู้ตลอดชวี ติ เครอื ข่าย สถานศึกษา การประกนั กลยทุ ธท์ ่ี 4 คณุ ภาพภายใน หลากหลาย 2. โครงการ พัฒนาบุคลากร กจิ กรรม กศน.อำเภอพนสั นิคม กลยุทธท์ ่ี 5 นำสู่ กลมุ่ เปา้ หมาย 7. สถานศึกษามรี ะบบ กลยทุ ธ์ที่ 1 - บคุ ลากร สถานศึกษามีระบบ กศน.อำเภอ ประกันคุณภาพภายใน ประกันคุณภาพภายใน บริหารงานตาม พนสั นคิ ม และมกี ารจดั ทำรายงาน 32 คน การประเมินตนเอง และมกี ารจัดทำรายงาน นโยบาย การประเมนิ ตนเอง กลยุทธ์ท่ี 3 ควบคู่ เครือข่าย - คณะกรรม การสถาน ศกึ ษา 9 คน 32 คน บคุ ลากรไดร้ บั การพฒั นา และนำความรู้มาใชใ้ นการ ปฏิบัติงานได้

45 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปี โครงการ/ วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เป้าหมาย อำเภอพนัสนคิ ม 1 ตุลาคม (บาท) โครงการ 1. เพ่อื ให้นักศึกษา - ผู้ด้อยโอกาส 2,400 คน ทง้ั 19 ตำบล 2560 3,262,225 จดั การ ระดบั - ผู้พลาด ศกึ ษา ประถมศกึ ษา โอกาส 14 คน ถงึ 30 7,700 นอกระบบ ระดับมัธยมศึกษา - ผู้ขาดโอกาส กนั ยายน ระดับ ตอนตน้ และระดบั - ประชาชน 2561 การศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอน ท่วั ไป ขนั้ พ้นื ฐาน ปลายจบ อำเภอพนสั นิคม 1 ตุลาคม การศึกษาตาม ท้ัง 19 ตำบล 2560 โครงการ เกณฑ์ทกี่ ำหนดไว้ สง่ เสรมิ การ 2. เพอ่ื ให้นักศึกษา ถงึ 30 รูห้ นังสอื มคี ณุ ธรรม กนั ยายน จริยธรรม 2561 มีสตปิ ญั ญา มคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี มศี กั ยภาพในการ ประกอบอาชีพ และเรียนรู้อยา่ ง ต่อเนื่อง สามารถ นำความรูท้ ีไ่ ด้รบั ไปยกระดับ คุณภาพชีวติ ของ ตนเองได้ เพื่อสง่ เสริมการรู้ ผู้พลาดโอกาส หนงั สอื และคง สภาพการรู้หนังสือ

46 โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน พ้นื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม - ผูด้ อ้ ยโอกาส เป้าหมาย อำเภอพนัสนคิ ม 1 ตลุ าคม (บาท) โครงการ 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ - ผูพ้ ลาด 1,140 คน ทง้ั 19 ตำบล 2560 912,000 ศูนย์ฝกึ ให้กลมุ่ เปา้ หมายได้ โอกาส อาชพี ชมุ ชน เรยี นรู้เกยี่ วกบั - ผ้ขู าดโอกาส 90 คน ถึง 30 81,000 การศกึ ษาเพอ่ื การ - ประชาชน กันยายน โครงการ พัฒนาอาชีพ ทัว่ ไป 2561 หนึ่งอำเภอ 2. เพอ่ื ให้ หนงึ่ อาชพี กลมุ่ เป้าหมาย - ผู้ด้อยโอกาส ตำบล 1 ตลุ าคม ไดเ้ ห็นช่องทางการ - ผพู้ ลาด หน้าพระธาตุ 2560 ประกอบอาชีพหรือ โอกาส อำเภอพนัสนคิ ม ถงึ 30 การตอ่ ยอดอาชีพเดิม - ผู้ขาดโอกาส สามารถ - ประชาชน กันยายน พ่งึ พาตนเองได้ ทว่ั ไป 2561 3. ให้กลุม่ เปา้ หมาย ดำรงชีวติ อยู่ในสงั คม อย่างมีความสขุ สอดคลอ้ งตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้กลุ่มเป้าหมายได้ เรยี นรเู้ ก่ียวกับ การศึกษาเพอื่ การ พฒั นาอาชีพ 2. เพอ่ื ให้ กลุ่มเปา้ หมาย ได้เห็นชอ่ งทางการ ประกอบอาชีพหรือ การต่อยอดอาชพี เดิม สามารถพ่ึงพาตนเอง ได้

47 3. ให้กลุ่มเปา้ หมาย ดำรงชวี ติ อยใู่ น สังคมอย่างมคี วามสขุ สอดคลอ้ งตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการจดั เพอื่ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย - ผ้ดู ้อยโอกาส 950 คน อำเภอพนัสนิคม 1 ตุลาคม 109,250 การศกึ ษา 665 คน ทงั้ 19 ตำบล 2560 266,000 เพอื่ พัฒนา ไดร้ บั การพัฒนา - ผู้พลาด ทกั ษะชีวติ ถึง 30 ทกั ษะชีวติ ใหม้ ีความรู้ โอกาส กันยายน โครงการจัด 2561 การศกึ ษา ความสามารถในการ - ผู้ขาดโอกาส เพอ่ื พฒั นา อำเภอพนัสนิคม 1 ตุลาคม สังคมและ จดั การชวี ติ - ประชาชน ทั้ง 19 ตำบล 2560 ชุมชน ของตนเองให้อยู่ใน ท่วั ไป ถงึ 30 กันยายน สังคมได้ 2561 อยา่ งมีความสขุ 1. เพ่อื สง่ เสริมและ - ผดู้ ้อยโอกาส สนบั สนนุ ให้ - ผู้พลาด ประชาชนได้รบั โอกาส ความรคู้ วามเข้าใจใน - ผู้ขาดโอกาส การบริหารจัดการ - ประชาชน ตนเอง ทว่ั ไป ครอบครัว และชุมชน ได้ 2. เพื่อเสริมสรา้ ง อุดมการณ์ให้กับ ประชาชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

48 โครงการ/ วตั ถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย จำนวน พนื้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรม เปา้ หมาย (บาท) 304 คน อำเภอ 1 ตุลาคม 121,600 โครงการ 1. เพื่อให้ลุ่มเป้าหมาย - ผู้ดอ้ ยโอกาส พนสั นคิ ม 2560 380 ทัง้ 19 ถงึ 30 จดั การเรียนรู้ ไดร้ ับความรู้ความเขา้ ใจ - ผู้พลาดโอกาส ตำบล กนั ยายน 90 2561 หลักปรัชญา ในโครงการพระราชดำริ - ผูข้ าดโอกาส ของ หรอื โครงการอนั - ประชาชน เศรษฐกิจ เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ทัว่ ไป พอเพียง 2. เพ่ือให้ลุม่ เป้าหมาย สามารถนำความรู้ท่ี ไดร้ บั ไปประยุกต์ใชก้ ับ ตนเองครอบครวั และ ชมุ ชนไดอ้ ย่างเหมาะสม ในชีวิตประจำวันได้ โครงการเพ่ิม 1.เพ่อื สง่ เสริมให้ - ผู้ดอ้ ยโอกาส อำเภอ 1 ตลุ าคม 38,000 พนสั นิคม 2560 ประสทิ ธภิ าพ ประชาชนในอำเภอพนสั - ผพู้ ลาดโอกาส ท้ัง 19 ถงึ 30 ตำบล กันยายน การบริหาร นิคมมคี วามรู้ ความ - ผูข้ าดโอกาส 2561 จดั การขยะ เข้าใจในการจัดการขยะ - ประชาชน มูลฝอย มูลฝอยอย่างถกู วิธี ทั่วไป 2.เพ่ือใหป้ ระชาชนมี ความรู้ความเข้าใจใน การคัดแยกขยะมลู ฝอย ไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม โครงการ 1.เพื่อฝึกอบรม - ผูด้ อ้ ยโอกาส 93,000 ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเพ่ือการ - ผพู้ ลาดโอกาส เพ่อื การ ส่อื สารดา้ นอาชีพให้กบั - ผขู้ าดโอกาส สือ่ สารด้าน ประชาชนในอำเภอพนสั - ประชาชน ตำบล 1 ตุลาคม หนองปรือ 2560 อาชีพ นิคม ท่ัวไป ตำบลหวั ถงึ 30 ถนน กันยายน 2. เพ่อื ใหป้ ระชาชน ตำบล 2561 หมอนนาง กลุ่มเปา้ หมายทผี่ า่ นการ อบรม สามารถนำความรู้ ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน

49 การประกอบอาชพี และ อำเภอ ดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ได้ พนสั นคิ ม โครงการ 1.เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารว่ ม - ผ้ดู อ้ ยโอกาส 285 อำเภอ 1 ตุลาคม 288,800 570 พนัสนิคม 2560 204,060 Smart Onie กจิ กรรมฝกึ อบรม ดา้ น - ผู้พลาดโอกาส 4,602 คน ทั้ง 19 ถงึ 30 265,297 ตำบล กนั ยายน เพ่ือสรา้ ง การนำเทคโนโลยไี ปใช้ - ผขู้ าดโอกาส 2561 Smart อาชีพเกษตรกร - ประชาชน Farmer ท่วั ไป ประจำปี งบประมาณ 2561 โครงการ เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม - ผดู้ ้อยโอกาส อำเภอ 1 ตลุ าคม พนัสนิคม 2560 พฒั นา ฝึกอบรมสามารถนำ - ผพู้ ลาดโอกาส ท้ัง 19 ถึง 30 ตำบล กันยายน เศรษฐกจิ เทคโนโลยีมาใช้ใน - ผูข้ าดโอกาส 2561 ดิจิทัล ชีวติ ประจำวันและเป็น - ประชาชน ช่องทางจำหนา่ ยสินค้า ทว่ั ไป ออนไลน์ โครงการจดั 1. เพ่ือส่งเสริมการอ่าน - ผู้ด้อยโอกาส อำเภอ 1 ตลุ าคม พนัสนิคม 2560 การศึกษา ให้กบั นกั ศึกษาและ - ผ้พู ลาดโอกาส ทงั้ 19 ถงึ 30 ตำบล กนั ยายน ตามอัธยาศัย ประชาชนทวั่ ไป - ผู้ขาดโอกาส และ 2561 ห้องสมุดฯ 2. เพอ่ื ส่งเสรมิ - ประชาชน ใหน้ กั ศึกษาและประชน ทว่ั ไป ท่วั ไป

50 โครงการ/ วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กจิ กรรม เป้าหมาย (บาท) เห็นประโยชน์และ - ผู้ดอ้ ยโอกาส อำเภอพนัส 1 ตลุ าคม โครงการบ้าน ความสำคญั ของ - ผู้พลาด 3,561 คน นิคม 2560 - หนงั สอื ชมุ ชน การอา่ นมนี สิ ยั โอกาส ทง้ั 19 ตำบล ถึง 30 - รักการอา่ นและ - ผขู้ าดโอกาส 41 คน กนั ยายน - โครงการ พฒั นาตนเองให้ - ประชาชน 944 คน 2561 10,000 อาสาสมคั ร เป็นนกั อา่ นท่มี ี ท่ัวไป สง่ เสรมิ การ คณุ ภาพได้ - ประชาชน 32 คน อำเภอพนสั 1 ตุลาคม อา่ น เพอื่ เปน็ การ ทว่ั ไป 9 คน นิคม 2560 ส่งเสริมการอา่ น ท้งั 19 ตำบล ถงึ 30 ให้กบั ผู้รับบรกิ าร กันยายน อำเภอพนัส 2561 เพ่ือสง่ เสริมใหม้ ี นคิ ม 1 ตุลาคม อาสาสมคั ร ทั้ง 19 ตำบล 2560 ส่งเสรมิ การอ่าน ถงึ 30 กนั ยายน โครงการ เพอื่ ส่งเสรมิ การ - ผูด้ ้อยโอกาส 2561 หนว่ ยบริการ จัดกจิ กรรมบริการ - ผพู้ ลาด เคล่ือนท่ี ประชาชนร่วมกับ โอกาส ภาคีเครือขา่ ย - ผู้ขาดโอกาส - ประชาชน ทั่วไป โครงการ 1.เพอ่ื ให้ - บุคลากร กศน.อำเภอ 1 ตุลาคม พนสั นคิ ม 2560 ประชมุ สัมมนา สถานศึกษานาํ กศน.อำเภอ ถงึ 30 กนั ยายน คณะกรรมการ มาตรฐานการ พนสั นคิ ม 2561 สถานศึกษา ประกนั คุณภาพ - คณะกรรม ภายใน กศน. การสถาน อําเภอ/เขตมา ศกึ ษา

51 การประกัน เป็น เป้าหมายใน คณุ ภาพ การจัดการศกึ ษา ภายใน 2. เพื่อใหบ้ ุคลากร ของ สถานศกึ ษา นาํ วงจร คุณภาพ โครงการ มาใช้ในการ - บุคลากร 33 คน กศน.อำเภอ 1 ตลุ าคม 170,000 พัฒนา ปฏิบัตงิ าน กศน.อำเภอ พนสั นคิ ม 2560 บคุ ลากร 3. เพอื่ ให้ พนสั นคิ ม ถงึ 30 สถานศึกษาวาง กนั ยายน ระบบประกัน 2561 คุณภาพภายใน เพื่อพัฒนา บุคลากร ทุก ระดบั ทุกประเภท ให้มีสมรรถนะ สงู ข้นึ อยา่ ง ต่อเน่อื ง

52 เพ่อื ใหก้ ารดำเนนิ การประกนั คณุ ภาพเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย สถานศึกษาจงึ ได้ร่วมกันกำหนด ค่าเป้าหมาย ซึ่งเป็นค่าความสำเร็จ หรือระดับผลการดำเนินงานที่สถานศึกษาคาดหวังว่าสามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในมาตรฐานที่ 1 ดงั น้ี ประเด็น ค่าเป้าหมาย (จำนวน หรอื ร้อยละ) การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ตัวบง่ ชี้ 1.1 ผเู้ รยี นการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีคุณธรรม รอ้ ยละ 73.67 48 คน ประเด็นที่ 1 ผเู้ รียนมคี ุณธรรม ประเดน็ ที่ 5 ผเู้ รยี นที่เป็นตัวอยา่ งที่ดี หรอื ตน้ แบบดา้ นคณุ ธรรม ร้อยละ 72.67 ตัวบง่ ชี้ 1.2 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานมีทกั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหา ความรเู้ รยี นรูอ้ ย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดำรงชีวติ 48 คน ประเดน็ ท่ี 1 ผเู้ รยี นมที กั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ เอกสารดังตารางท่ี อยา่ งต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชีวติ 10,11,12,13,14,15 ประเด็นที่ 5 ผเู้ รียนท่ีเป็นตวั อยา่ งทด่ี ี หรอื ตน้ แบบด้านทักษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ ร้อยละ 23.33 ในการดำรงชวี ิต 48 คน ตัวบง่ ช้ี 1.3 ผู้เรียนการศึกษาข้นั พนื้ ฐานมีความรพู้ น้ื ฐาน ประเด็นท่ี 1 ผเู้ รียนมีความรพู้ ื้นฐาน ร้อยละ 57.00 ร้อยละ 79.00 ประเด็นที่ 2 ผู้เรยี นนำความรพู้ นื้ ฐานไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิต การทำงานหรือ การประกอบอาชีพ 115 คน ประเดน็ ท่ี 5 ผูเ้ รยี นท่ีเป็นตวั อย่างทีด่ ี หรอื ตน้ แบบในการนำความร้ไู ปใช/้ ประยกุ ตใ์ นการดำรงชีวิต การศึกษาต่อเนื่อง ตวั บ่งชี้ 1.4 ผเู้ รียนหรือผเู้ ขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ ในการประกอบอาชีพ ประเดน็ ที่ 1 ผ้เู รยี นมีความรู้ ความสามารถตามวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร ประเดน็ ท่ี 2 ผูเ้ รียนนำความรไู้ ปใชใ้ นการลดรายจา่ ย หรอื เพิ่มรายได้ หรือประกอบ อาชพี หรอื พฒั นาต่อยอดอาชีพ หรอื การเพิม่ มูลคา่ ของสนิ ค้า หรือบรกิ าร ประเดน็ ที่ 5 ผเู้ รยี นเปน็ ตวั อย่างท่ีดี หรอื ต้นแบบในการนำความรูไ้ ปใช้

53 ประเดน็ ค่าเป้าหมาย (จำนวน หรอื ร้อยละ) ตวั บ่งชี้ 1.5 ผู้เรยี นหรือผเู้ ขา้ รับการอบรมปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง รอ้ ยละ 96.00 รอ้ ยละ 100 ประเด็นท่ี 1 ผเู้ รียนหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ ในหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 77 คน ประเด็นท่ี 2 ผู้เรียนหรอื ผ้เู ขา้ รับการอบรมปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ร้อยละ 77.00 ประเดน็ ที่ 5 ผเู้ รียนเปน็ ตวั อย่างทด่ี ี หรือต้นแบบในการปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญา ร้อยละ 67.00 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั บง่ ช้ี 1.6 ผเู้ รยี นหรือผเู้ ข้ารบั การอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม 47 คน ประเด็นที่ 1 ผเู้ รียนหรอื ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจและมคี วามสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี 5,682 ประเดน็ ท่ี 2 ผู้เรยี นหรือผูเ้ ขา้ รับการอบรมสามารถนำความร้ไู ปใชใ้ นการแก้ปัญหา รอ้ ยละ 95.00 และพฒั นาการดำรงชีวติ หรือประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม ประเด็นที่ 5 ผ้เู รียนเป็นตวั อยา่ งทีด่ ี หรือตน้ แบบในการใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม 116 คน การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตวั บง่ ชี้ 1.7 ผู้รบั บรกิ ารได้รบั ความร้แู ละ/หรือประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/ โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเด็นท่ี 1 ผู้รบั บรกิ ารเข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ ท่ี 2 ผรู้ บั บริการที่ไดร้ บั ความรแู้ ละ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ ม กิจกรรม/โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประเดน็ ท่ี 5 ผรู้ ับบรกิ ารเปน็ ตัวอย่างทดี่ ี หรือตน้ แบบในการนำความรจู้ ากการเขา้ รว่ ม กจิ กรรม/โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั ไปใช้

54 ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 ผลการ งบประมาณท่ใี ช้ ประเภทงบประมาณ เปา้ หมาย ดำเนิน คดิ เปน็ งบประมาณ คดิ เปน็ (คน) งาน รอ้ ยละ ทไี่ ด้รบั จำนวน (บาท) ร้อยละ 1. โครงการจัดการศึกษานอกระบบ (คน) ระดบั การศกึ ษาชัน้ พื้นฐาน 2. โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน 2,400 2,452 100 3,262,225 2,900,170 88.90 3. โครงการหนง่ึ อำเภอหนึ่งอาชพี 1,140 2,498 100 912,000 911,000 99.89 4. โครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นา 100 81,000 81,000 ทกั ษะชวี ิต 90 96 100 5. โครงการการศึกษาเพื่อพฒั นา สังคมและชมุ ชน 950 1,046 100 109,250 106,375 97.37 6. โครงการจัดการศึกษาตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 665 721 100 266,000 265,959 99.98 7. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ บรหิ ารจัดการขยะมูลฝอย 304 355 100 121,600 121,500 99.92 380 466 100 38,000 38,000 100 ผลการ งบประมาณท่ีใช้ ดำเนนิ ประเภทงบประมาณ เปา้ หมาย งาน คิดเป็น งบประมาณ จำนวน (บาท) คิดเป็น (คน) (คน) ร้อยละ ทีไ่ ดร้ ับ ร้อยละ 8. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการ ส่ือสารด้านอาชีพ 90 90 100 93,000 93,000 100 9. โครงการ Smart Onie เพือ่ Smart Farmer ประจำปี 285 350 100 288,800 288,800 100 งบประมาณ 2561 570 662 100 204,060 204,060 100 10. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัล 4,602 6,575 100 420,500 419,319 99.71 11. โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั 11,476 15,311 1100 5,796,435 5,429,183 93.66 รวมท้ังส้ิน

55 บทท่ี 3 ผลการประเมินตนเอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม ไดด้ ำเนนิ การประเมินคุณภาพ การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2561 ซง่ึ เป็นไปตามกฎกระทรวงศึกษาธกิ าร กำหนด ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาท่ีจดั การศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 ทีอ่ าศยั อำนาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม และมาตรา 25 วรรคหนง่ึ แห่งพระราชบัญญัตสิ ง่ เสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 และเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ งมาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2560 ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน 20 ตวั บ่งชี้ ดงั รายละเอียดผลการประเมินคุณภาพการจดั การศึกษา ดังต่อไปนี้ ผลการประเมินตนเองตามรายมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การประเมินคุณภาพของผู้เรียน/ผู้รับบริการ การจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศยั มผี ลการประเมินดังน้ี ตวั บง่ ช้ที ่ี 1.1 ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานมคี ุณธรรม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ดำเนินการประเมินคุณธรรมของ ผู้เรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 มีผลการดำเนินงานตาม ปีงบประมาณ 2561 มจี ำนวน 2 ภาคเรยี น คือ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 มีผเู้ รียนระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 51 คน ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน 436 คน ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 778 คน รวมท้ังส้ิน จำนวน 1,265 คน และภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 มีผู้เรียนระดับประถมศึกษา 46 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 359 คน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 768 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,173 คน รวมทั้งปีงบประมาณ จำนวน 2,438 คน ในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรม และจริยธรรมอันพึงประสงค์ ได้แก่ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ในการพบกลุ่ม การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ส่งผลให้ ผูเ้ รียนมีคุณธรรม ตามประเดน็ ต่อไปนี้ 1. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้กำหนดค่าเป้าหมายให้ ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรมในระดับดีมาก ร้อยละ 73.67 ซึ่งผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาปีงบประมาณ 2561 พบว่าผู้เรียนมีคุณธรรมระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยระดับดีมาก เท่ากับ ร้อยละ74.45 ซงึ่ สูงกวา่ ค่าเปา้ หมายทีก่ ำหนด ดงั รายละเอยี ดในตารางตอ่ ไปนี้

56 ค่าเปา้ หมาย ภาคเรียนที่ 2/2560 ภาคเรียนที่ 1/2561 คา่ เฉลย่ี ปีงบประมาณ ระดับ ระดับ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ดีมาก ผลการดำเนนิ งาน 2561 ประถม ผเู้ รียน ดีมาก ระดบั ผู้เรยี น ดมี าก ระดบั 74.21 สูงกว่าคา่ เปา้ หมาย ม.ตน้ 74.00 ทกี่ ำหนด ทั้งหมด ดีมาก ทง้ั หมด ดมี าก 74.11 ระดบั 73.00 สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย 51 38 74.51 46 35 76.09 ค่าเฉลี่ย ที่กำหนด ม.ปลาย ค่าเป้าหมาย ระดับ เฉลย่ี ปงี บประมาณ 436 322 73.85 359 267 74.37 ดมี าก ผลการดำเนนิ งาน 2561 ภาคเรียนท่ี 2/2560 ภาคเรยี นท่ี 1/2561 75.03 สูงกวา่ ค่าเป้าหมาย ทีก่ ำหนด 74.00 จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ 74.45 สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย 73.67 ผู้เรยี น ดมี าก ระดับ ผู้เรยี น ดีมาก ระดบั ที่กำหนด ทัง้ หมด ดีมาก ทั้งหมด ดมี าก 778 582 74.81 768 578 75.26 เฉล่ยี 74.39 เฉล่ีย 74.52 ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทุกระดับของสถานศึกษา มีคุณลักษณะด้านคุณธรรมเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด การจัดกระบวนการการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับผู้เรียน โดยสอดแทรก กระบวนการฝึกฝนให้ผู้เรียน เกดิ คณุ ธรรมดา้ นความสะอาด สภุ าพ กตัญญกู ตเวที ขยนั ประหยัด ซื่อสตั ย์ สามคั คี มีนำ้ ใจ มีวินยั ส่งผลใหผ้ ู้เรียน มีความอ่อนน้อม รู้จักประหยัด อดออม เคารพครูอาจารย์ มีความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อ่ืน ก่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี ทำให้ผู้เรียนอยู่ในครอบครัว ชุมชน สังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามกจิ กรรม/โครงการ ตา่ ง ๆ ดังรายละเอียดในตารางต่อไปน้ี

57 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม จำนวน ผลการ รอ้ ยละ พฤตกิ รรมตามตัวบ่งช้ี กลุ่มเปา้ หมาย ดำเนินงาน ในแตล่ ะคณุ ธรรม 1 โครงการคา่ ยทกั ษะชีวติ อบรมธรรม จริยธรรม (คน) (คน) 100 - สะอาด - สภุ าพ 80 80 - กตญั ญูกตเวที - ขยนั - ประหยดั - ซอ่ื สัตย์ 2 โครงการอบรม คณุ ธรรม จริยธรรม 500 500 - สามัคคี - มนี ำ้ ใจ นำศาสตรพ์ ระราชามาใชใ้ น - มวี นิ ัย ชีวติ ประจำวัน 203 100 - สะอาด - สภุ าพ 3 โครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ 200 100 - กตญั ญกู ตเวที - ขยัน นักศกึ ษาเพอ่ื แลกเปลีย่ นเรียนรสู้ ู่ 100 - ประหยดั - ซือ่ สัตย์ ประชาคมอาเซยี น 150 150 - สามคั คี - มนี ำ้ ใจ - มวี นิ ัย 4 โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 432 ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย และตาม 100 - สะอาด - สภุ าพ รอยบรู พกษัตริย์ไทยน้อมรำลึกใน - ขยนั - ประหยัด พระมหากรณุ าธิคุณ - ซ่อื สัตย์ - สามัคคี - มีน้ำใจ - มีวินยั 5 โครงการเสรมิ สร้างคุณภาพชีวิตของ ผ้เู รียนตามคา่ นิยมไทย 100 - สะอาด - สุภาพ - กตัญญกู ตเวที - ขยัน 6 โครงการกีฬาสานสมั พนั ธ์ กศน. 400 - ประหยัด - ซ่ือสัตย์ อำเภอพนสั นคิ ม - สามัคคี - มีน้ำใจ - มีวนิ ัย 100 - สะอาด - สภุ าพ - กตัญญกู ตเวที - ขยัน - ประหยัด - ซอ่ื สตั ย์ - สามัคคี - มีนำ้ ใจ - มวี นิ ยั 100 - สะอาด - สภุ าพ - ขยนั - ประหยัด - ซอ่ื สตั ย์ - สามคั คี - มีนำ้ ใจ - มวี ินยั

58 7 โครงการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษา 200 200 100 - สะอาด - สภุ าพ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม - กตญั ญูกตเวที - ขยัน - ประหยดั - ซื่อสตั ย์ 8 โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ “สนกุ จดั 80 - สามคั คี - มีนำ้ ใจ เตม็ กบั สะเตม็ ศึกษา” สำหรบั 500 - มวี ินยั นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอพนสั นิคม 80 100 - สะอาด - สุภาพ 9 โครงการให้ความรูป้ ระวตั ศิ าสตร์ - ขยัน - ประหยดั ชาติไทย เสรมิ สรา้ งศักยภาพ - ซอ่ื สตั ย์ - สามคั คี นกั ศึกษา กศน.ภาคเรียนที่ 1/2561 - มีนำ้ ใจ - มวี นิ ัย 10 โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม 600 507 100 - สะอาด - สภุ าพ จริยธรรม สำหรับนักศกึ ษา กศน. - กตัญญูกตเวที - ขยัน ภาคเรยี นที่ 1/2561 - ประหยัด - ซอ่ื สตั ย์ - สามคั คี - มีน้ำใจ 11 โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ 500 - มวี นิ ยั ขบั เคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามรอยพอ่ 600 100 - สะอาด - สภุ าพ - กตญั ญูกตเวที - ขยัน 12 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ 400 - ประหยดั - ซอื่ สตั ย์ กระบวนการเรียนรูต้ ามแนวคิด - สามคั คี - มนี ้ำใจ สะเตม็ ศึกษา - มีวินัย 521 100 - สะอาด - สภุ าพ - กตัญญกู ตเวที - ขยัน - ประหยัด - ซื่อสัตย์ - สามัคคี - มีนำ้ ใจ - มวี นิ ยั 400 100 - สะอาด - สภุ าพ - กตัญญูกตเวที - ขยนั - ประหยัด - ซ่อื สัตย์ - สามคั คี - มีนำ้ ใจ - มีวินัย 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการประเมินคุณธรรมของ ผู้เรียน โดยมีการจัดประชุมครูและบุคลากรของสถานศึกษา ในเรื่องการประเมินคุณธรรม ก่อนเปิดภาคเรียน

59 ทุกภาคเรียน โดยชี้แจงในเรื่องเอกสารการประเมิน ระยะเวลาการประเมิน เกณฑ์การประเมิน โดยมีรูปแบบการ ประเมินที่ชัดเจน ได้แก่ แบบประเมินคุณธรรมรายบุคคล วิธีการเก็บข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลทุกคน โดยการ สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม สอบถามรายบุคคลแล้วนำมาสรุปผลในแบบประเมินคุณธรรม โดยงานทะเบียนนำ ข้อมูลผลการประเมินคุณธรรมบันทึกลงในฐานระบบข้อมูลโปรแกรม ITW51 ของผู้เรียนทุกคน และนำผลที่ ประเมินคุณธรรมรายงานเสนอผู้บริหารลงนามรับทราบ เพื่อนำผลการประเมินมาวิเคราะห์ในการพัฒนาปรบั ปรุง ในภาคเรยี นตอ่ ไป 3. การดำเนินงานของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ในปีงบประมาณ 2561 สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยสอดแทรกกิจกรรมตา่ ง ๆ เพื่อพัฒนา คุณธรรมของผู้เรยี นอย่างต่อเนือ่ ง และได้จัดกิจกรรม/โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน และกิจกรรมพฒั นาคุณภาพ ชีวิต (กพช.) เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณธรรมตามเป้าหมายที่สถานศึกษาตั้งไว้ โดยสถานศึกษาได้จัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเ้ รยี น ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 ดังน้ี 1. โครงการปรับปรุงแหล่งเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพยี งและพฒั นา กศน.ตำบล ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2560 - 4 มีนาคม 2561 2. โครงการอบรม คณุ ธรรม จริยธรรม นำศาสตร์พระราชามาใช้ในชวี ิตประจำวัน วนั ท่ี 3 ธันวาคม 2560 ณ ศาลาประชาคมอำเภอพนสั นิคม 3. โครงการคา่ ยทักษะชีวติ อบรมธรรมะจริยธรรม วนั ท่ี 7-8 ธนั วาคม 2560 ณ วดั พนมพนาวาส ตำบลคลองขุด อำเภอบา้ นโพธ์ิ จังหวัดฉะเชงิ เทรา 4. โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตนักศกึ ษาเพอื่ แลกเปล่ียนเรียนรูส้ ู่ประชาคมอาเซยี น วนั ท่ี 17 ธันวาคม 2560 ณ สวนสาธารณะเทศบาลเมืองพนสั นคิ ม 5. โครงการส่งเสรมิ การเรยี นร้ปู ระวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และตามรอยบรู พกษตั รยิ ไ์ ทยนอ้ มรำลึกใน พระมหากรุณาธคิ ุณ วันท่ี 27 ธันวาคม 2560 ณ ทอ้ งสนามหลวง กรุงเทพมหานคร และพพิ ิธภัณฑส์ ถานแหง่ ชาติ 6. โครงการเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ิตของผู้เรียนตามค่านยิ มไทย วนั ท่ี 18 กมุ ภาพันธ์ 2561 ณ สวนสาธารณะเทศบาลเมอื งพนัสนคิ ม 7. โครงการกฬี าสานสมั พันธ์ กศน.อำเภอพนัสนิคม วนั ที่ 25 กมุ ภาพันธ์ 2561 ณ โรงเรยี น เทศบาล 4 เจรญิ อปุ ถมั ภป์ ญั ญาธร 8. โครงการปจั ฉมิ นเิ ทศนักศึกษา กศน.อำเภอพนัสนคิ ม วนั ที่ 4 มีนาคม 2561 ณ โรงเรียนเทศบาล 4 เจริญอปุ ถมั ภป์ ัญญาธร 9. โครงการคา่ ยวิทยาศาสตร์ “สนุกจดั เตม็ กับสะเต็มศึกษา”สำหรบั นักศึกษา กศน.อำเภอ พนัสนคิ ม วันที่ 9-10 มนี าคม 2561 ณ ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาสระแก้ว ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม ไดด้ ำเนินการจัดกจิ กรรม/ โครงการตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 ดงั น้ี 1. โครงการให้ความร้ปู ระวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย เสรมิ สรา้ งศักยภาพนักศึกษา กศน.ภาคเรียนท่ี

60 1 ปกี ารศึกษา 2561 วนั ท่ี 3 มิถุนายน 2561 ณ อาคารอเนกประสงคส์ วนสาธารณะเฉลมิ พระเกียรติเทศบาล เมอื งพนัสนิคม 2. โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สำหรับนกั ศกึ ษา กศน.ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา2561 วันที่ 24 มถิ ุนายน 2561 ณ อาคารอเนกประสงค์สวนสาธารณะเฉลมิ พระเกียรติเทศบาลเมืองพนัสนิคม 3. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามรอยพ่อ วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2561 ณ ศาลาประชาคมอำเภอพนัสนคิ ม 4. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารกระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวคิดสะเตม็ ศึกษา วนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2561 ณ โรงเรียนเทศบาล 1 ศรกี ิตตวิ รรณนุสรณ์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ส่งเสริมและสนับสนุนการ จดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.) เพือ่ พฒั นาผ้เู รยี นให้มีคณุ ธรรมตามเป้าหมายที่สถานศึกษาต้ังไว้ ดังน้ี 1. โครงการพฒั นา กศน.ตำบลไรห่ ลักทอง วันที่ 19-28 พฤศจิกายน 2560 ณ กศน.ตำบล ไร่หลกั ทอง อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี 2. โครงการบรจิ าคโลหติ ชว่ ยเพอื่ นมนษุ ย์ วันที่ 17 มิถนุ ายน ถงึ วนั ที่ 31 ตลุ าคม 2561 ณ พื้นที่ ตา่ ง ๆ ในอำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี 3. โครงการสบื สานวนั วสิ าขบูชา ประจำปี 2561 วนั ที่ 21-31 มิถนุ ายน 2561 ณ วดั ต่าง ๆ ในอำเภอพนัสนคิ ม และจังหวัดชลบรุ ี 4. โครงการอาสายวุ กาชาด New Gen Volunteers เรื่อเคร่ืองหมายกาชาดกับการสร้างจิตอาสา วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2561 ณ โรงเรยี นชลราษฎรอำรงุ อำเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบรุ ี 5. โครงการอบรมอาสายวุ กาชาดพ่งึ พาได้ เรื่องปฐมพยาบาล วันท่ี 5 กรกฎาคม 2561 ณ ศาลาประชาคม อำเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี 6. โครงการเพ่ิมพืน้ ที่สีเขยี วให้กับชมุ ชน วันท่ี 8-24 กรกฎาคม 2561 ณ ถนนสายบ้าน เนินดนิ แดง หมูท่ ่ี 4 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี 7. โครงการสืบสานวันเขา้ พรรษา ประจำปี 2561 วันท่ี 15-31 กรกฎาคม 2561 ณ วดั ตา่ ง ๆ ในอำเภอพนัสนิคม และจงั หวัดชลบุรี 8. โครงการจติ อาสา ทำความดดี ้วยหวั ใจ วนั ท่ี 17-31 กรกฎาคม 2561 ณ พน้ื ที่ต่าง ๆ ในอำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี 9. โครงการบรจิ าคโลหิต ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการดำเนินงานสอดคล้องกับ แผนการศึกษาชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 นโยบายและจุดเน้น สำนกั งาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ดังน้ี สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจดั การศกึ ษาเพื่อความมั่นคงของ

61 สังคมและประเทศชาติ ข้อ 2.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข (1) ร้อยละของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่จี ัดกิจกรรมสง่ เสริมการ เรียนรู้ที่สะท้อนความรักและการธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติและการยึดมั่นในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเพิ่มขึ้น ข้อ 2.3 คนทุกช่วงวัยได้รับการศึกษา การดูแลและ ป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ (1) ร้อยละของสถานศึกษาที่จัดกระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนว ทางการจัดการความขัดแย้งโดยแนวทางสันติวิธีเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและ การสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 2.1 ผเู้ รยี นมีทักษะและคณุ ลกั ษณะพืน้ ฐานของพลเมืองไทย ทกั ษะและคุณลักษณะ ท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 (2) ร้อยละของผเู้ รียนทุกระดับการศกึ ษามพี ฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความมวี ินยั และมีจิต สาธารณะเพ่ิมขึ้น สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ 2561 1. จดุ เน้นดา้ น ความมั่นคง แนวทางหลัก 1.3 การยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ และเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษ โครงการหลัก 3. การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลกั ชาติ โครงการพัฒนาคุณภาพเด็กไทยและเยาวชนไทย การเรียนรู้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ การ พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย/สถาบันพระมหากษัตริย์ แนวทางหลัก 1.4 การพัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกนภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ โครงการหลัก 4. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกัน และพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความมั่นคง การสร้างเสริมความรู้และทักษะความเป็นพลเมือง (Civic Education) 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล โครงการหลัก 5. การส่งเสริมและสร้างคนดี โรงเรียนคุณธรรม โครงการส่งเสริมกิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี เพื่อสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมและลกั ษณะที่พึงประสงค์ การรณรงค์ “เกลียดการโกง ความ ไม่ซ่ือสัตย์” การสร้างวินยั หนา้ ที่ และความเป็นพลเมือง สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ข้อ 1.1 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลที่ 10 (1) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่นยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและ อุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒธรรม (2) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ความยึดมัน่ ในสถาบนั หลักของชาติรวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรม ลูกเสือ กศน. และกจิ กรรมอนื่ ๆ ตลอดจนสนบั สนุนใหม้ ีการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กบั บคุ ลากรในองค์กร 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นิคม มีผเู้ รียนทีเ่ ปน็ ต้นแบบดา้ น คณุ ธรรม จำนวน 48 คน ซึง่ เป็นไปตามค่าเป้าหมายท่กี ำหนดไว้ ประกอบดว้ ย 1. นางสาวสุวนนั ท์ เผอื กวงษ์ 6111-00006-4 ระดับประถมศึกษา นกั ศึกษา กศน. อ.มทุ ิกา การงานดี เป็นตวั อย่างที่ดีดา้ นความสะอาด สภุ าพ กตัญญูกตเวที 2. นางสาวทวิ าพร สรวมศิริ 5923-00184-3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา

62 อ.มุทิกา การงานดี เป็นตวั อย่างท่ดี ีด้านความสะอาด สภุ าพ กตัญญูกตเวที 3. นางสาวชลธชิ า เข่ียงสถุง 6012-00026-0 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ นักศกึ ษา อ.เฟอ่ื งฟา้ คลงั สินธ์ เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ีดา้ นความขยัน ซื่อสัตย์ 4. นางสาวอรญา ทับทมิ สขุ 5923-00052-9 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.เฟอื่ งฟ้า คลงั สินธ์ เป็นตวั อยา่ งท่ดี ดี ้านความขยัน ซื่อสัตย์ 5. นายพงษ์สิทธิ์ ระจติ ดำรง 5913-00176-1 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.วชั รนิ ท อุดานนท์ เปน็ ตวั อย่างที่ดีดา้ นความกตัญญูกตเวที ขยนั หมน่ั เพียร 6. นางสาวนทิ ิกา แกว้ คำดง 6013-00198-9 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา อ.วัชรนิ ทร์ อุดานนท์ เป็นตวั อย่างท่ดี ีดา้ นความกตัญญูกตเวที ขยนั หมัน่ เพยี ร 7. เดก็ ชายนลิ ปทั ม์ ทองสุกใส 6011-00005-2 ระดบั ประถมศึกษา นักศึกษา อ.โสพศิ รายศิริ เปน็ ตวั อย่างทดี่ ีดา้ นความขยันและซอ่ื สตั ย์ 8. นายจักรกริช คำพา 6113-00134-8 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.โสพศิ รายศริ ิ เป็นตวั อยา่ งท่ีดีด้านความขยัน 9. นางสาวทพิ วัลย์ ศรมี ่วง 6112-00058-0 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล ไรห่ ลักทอง เปน็ ตัวอย่างท่ดี ีด้านความขยนั และซ่ือสตั ย์ 10. นายณฎั ฐวฒั น์ วรศรสี นุ ทร 6013-00029-0 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง เป็นตัวอย่างที่ดีดา้ นความขยันและซอ่ื สัตย์ 11. นางสาวรัชชนก ศรีสุข 5923-00009-7 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล บา้ นช้าง เปน็ ตวั อย่างท่ีดีด้านความตรงต่อเวลา 12. นางสาวมนสั นนั ท์ กรดี กราย 5913-00019-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลบา้ นช้าง เปน็ ตวั อย่างท่ีดดี ้านความเสียสละ 13. นางสาวนริ มล แก้วทอง 6012-00084-0 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น นักศกึ ษา กศน.ตำบล หนองปรอื เป็นตัวอย่างท่ีดดี ้านความขยัน 14. นางสาวสุดารตั น์ บญุ เทศ 6113-00156-9 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลหนองปรือ เปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ีด้านความประหยัด 15. นางสาวลลั น์ลลิต มงคลโสภากลุ 5923-00128-1 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลบา้ นเซดิ เปน็ ตัวอย่างทด่ี ีดา้ นความเอ้ือเฟือ้ เผ่ือแผ่ 16. นางสาวกลมลชนก มีทองคำ 5923-00139-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลบ้านเซดิ เปน็ ตวั อยา่ งที่ดีด้านความเอื้อเฟือ้ เผื่อแผ่ 17. นางสุภาพร พวงคต 5923-00159-9 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล กุฎโง้ง เป็นตัวอย่างท่ดี ีดา้ นความซอ่ื สัตย์

63 18. นายศักดส์ิ ิทธ์ิ นาเอยี่ ม 6012-00118-2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล กุฎโงง้ เปน็ ตัวอยา่ งที่ดดี ้านความเสียสละ 19. นายสมเกียรติ ทีรณุ 6012-00118-2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นักศึกษา กศน.ตำบล นาเรกิ เป็นตัวอย่างที่ดีด้านความมนี ้ำใจ 20. นางสาวเครือฟา้ วงศ์สวัสด์ิ 6113-00199-1 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลนาเรกิ เป็นตวั อยา่ งท่ดี ดี ้านความขยัน 21. นายยอดเพชร พนู สิน 6013-00152-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล หน้าพระธาตุ เปน็ ตวั อย่างท่ีดีดา้ นความขยัน และประหยัด 22. นางสาวมณีรัตน์ สกุลคุณสวัสดิ์ 6113-00033-2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ เป็นตัวอย่างทดี่ ีด้านความสามัคคี มนี ้ำใจ 23. นางสาวจิตตมิ า บุตรสอน 6013-00047-8 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลหนองเหยี ง เป็นตวั อย่างท่ีดดี า้ นความขยนั 24. นายณัฐพล บญุ กะยะ 6013-00165-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบล หนองเหยี ง เป็นตัวอย่างทีด่ ดี ้านความมนี ำ้ ใจ 25. นางนิศารัตน์ ดีศรี 6112-00052-6 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นักศึกษา กศน.ตำบล โคกเพลาะ เปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ีด้านความขยัน 26. นางกมลพร พรงาม 6112-00051-7 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล โคกเพลาะ เป็นตัวอย่างทดี่ ดี ้านความมนี ำ้ ใจ 27. นางสาวสุภาพร ขันแขง็ 5923-00036-9 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลทุ่งขวาง เป็นตวั อย่างทด่ี ีดา้ นความขยนั 28. นางสาวแจสมนิ เวเี ลาะห์ 6013-00097-3 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลทุ่งขวาง เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดีดา้ นความตรงต่อเวลา 29. นางสาวกนกกร พงษ์ชมพร 6013-00138-1 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลหมอนนาง เป็นตัวอยา่ งทีด่ ีดา้ นความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด 30. นายวิชยั แอม 6012-00063-5 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น นกั ศึกษา กศน.ตำบลหมอนนาง เปน็ ตวั อยา่ งท่ีดีด้านความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยดั 31. นางสาวอติกาญจน์ จันทรเดช 6023-00060-8 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบลสระสี่เหลยี่ ม เปน็ ตัวอย่างท่ีดดี า้ นความประหยัด ขยัน 32. นางสาวทิพยว์ รรณ จันทิมางกรู 6023-00060-8 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลสระส่ีเหลีย่ ม เปน็ ตวั อย่างทด่ี ดี า้ นความซื่อสตั ย์ 33. นางวมิ ล อังคะนาวนิ 6013-00056-2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล วัดโบสถ์ เป็นตัวอยา่ งที่ดดี า้ นความซอื่ สตั ย์

64 34. นางเฉลา นำ้ ฟา้ 6013-00051-7 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล วดั โบสถ์ เปน็ ตัวอยา่ งทีด่ ีดา้ นความขยัน 35. นางสาวปวณี า รักสงิ ห์ 5922-00107-3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล ท่าข้าม เป็นตัวอย่างทด่ี ีด้านความขยนั 36. นายจอมพล เกตุนุวัตน์ 5922-00109-4 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล ท่าข้าม เป็นตัวอย่างทดี่ ีด้านความกตัญญูกตเวที ความรับผดิ ชอบ 37. นางสาวศิรวิ รรณ สมคิด 6012-00095-2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลหัวถนน เปน็ ตัวอย่างทีด่ ดี ้านความกตญั ญูกตเวที ความรับผิดชอบ 38. นายทรงพล รตั นติสรอ้ ย 6023-00165-0 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลหัวถนน เป็นตวั อย่างท่ีดีด้านความซ่อื สตั ย์ 39. นายธนะสิน ศรณี รงค์ 5923-00119-7 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล นาวงั หนิ เปน็ ตวั อยา่ งที่ดดี ้านความกตัญญูกตเวที 40. เด็กหญิงอนธุ ดิ า เถาทอง 6012-00098-9 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นักศกึ ษา กศน.ตำบล นาวงั หิน เป็นตัวอย่างที่ดีด้านความซ่ือสตั ย์ 41. นางประนอม ถาวรกจิ 6023-00025-1 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล นามะตูม เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดดี า้ นความกตญั ญูกตเวที ขยนั หม่ันเพยี ร 42. นายขนั ชยั พานทอง 6013-ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบลนามะตมู เป็นตวั อยา่ งท่ดี ีด้านความกตัญญูกตเวที ขยนั หมน่ั เพยี ร 43. นายพัชรพร พุทธรักษา 5921-00004-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล วดั หลวง เปน็ ตัวอย่างท่ดี ีด้านความขยนั ซ่ือสัตย์ ประหยัด 44. นางสาวขวญั จิต ทองคำแท้ 6012-00128-5 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลหลวง เป็นตวั อย่างทีด่ ีดา้ นความขยัน ซ่ือสตั ย์ ประหยดั 45. นายภูวนยั นามขนั ท์ 6022-00072-6 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นักศึกษา กศน.ตำบล หนองขยาด เปน็ ตัวอยา่ งที่ดีดา้ นความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด 46. นางสาวแก้วนภา มหามกุ ค์ 6113-00022-0 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน. ตำบลหนองขยาด เป็นตัวอย่างท่ดี ดี า้ นความขยัน ซ่ือสตั ย์ ประหยดั 47. นางสาววรรณภา คำมี 6112-00104-6 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น นักศกึ ษา กศน. อ.กนกกร ฮกโก้ เป็นตัวอยา่ งทด่ี ีด้านความสะอาด สุภาพ กตัญญูกตเวที 48. นางสาวรตั นาภรณ์ บัวพันธ์ 6112-00050-8 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น นักศึกษา กศน. อ.กนกกร ฮกโก้ เปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ดี ้านความสะอาด สภุ าพ กตญั ญกู ตเวที

65 จากการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาในตวั บง่ ชี้ที่ 1.1 ผู้เรียนการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมีคุณธรรม ได้ 4 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดี ตวั บ่งช้ที ี่ 1.2 ผูเ้ รยี นการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อยา่ ง ต่อเน่อื ง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำรงชีวิต ผลการดำเนินงาน 1. ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนสั นิคม ได้กำหนดคา่ เปา้ หมายให้ผู้เรียน การศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถ นำไป ประยกุ ต์ใช้ในการดำรงชวี ติ ในระดบั ดมี าก ร้อยละ 72.67 ซ่ึงผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษาปงี บประมาณ 2561 พบว่าผ้เู รียนมที ักษะ กระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื ง และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ ในการดำรงชีวิตระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยระดับดีมาก เท่ากับ ร้อยละ 73.42 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนด ดังรายละเอียดในตารางต่อไปนี้ ค่าเปา้ หมาย ภาคเรยี นที่ 2/2560 ภาคเรียนที่ 1/2561 คา่ เฉลย่ี ปีงบประมาณ ระดับดี ระดบั จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ มาก ผลการดำเนินงาน 2561 ประถม ผู้เรยี น ดมี าก ระดับ ผเู้ รยี น ดมี าก ระดบั สงู กว่าคา่ เปา้ หมาย ม.ต้น 72.00 ทกี่ ำหนด ม.ปลาย ทง้ั หมด ดมี าก ทงั้ หมด ดีมาก เฉลี่ย 73.00 สงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย 51 37 72.55 46 34 73.91 73.23 ทก่ี ำหนด 73.00 436 319 73.17 359 264 73.54 73.35 สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย 72.67 ทีก่ ำหนด 778 570 73.26 768 569 74.09 73.68 สงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย เฉล่ยี 72.99 เฉลีย่ 73.85 73.42 ท่ีกำหนด 2. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนิคม ประเมินความสามารถของผเู้ รียน ตามคำอธบิ าย ตวั บง่ ช้ที ี่1.2 ประเมนิ จาก 1) การทำกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ ประเมินจากใบงาน ชนิ้ งาน รายงาน 2) การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ประเมินจาก สมุดบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม ชิ้นงาน ใบงาน สมุดบันทึกการอ่าน 3) การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ประเมินจากรายงานผลการจัด กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) และมีการสังเกตผู้เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ทุกกจิ กรรม

66 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ ผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ อยา่ งตอ่ เน่อื ง และสามารถไปประยุกต์ในการดำรงชีวิต โดยการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการ แสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสรา้ งองคก์ รความรู้สำหรบั ตนเอง ชมุ ชน และสงั คม ซึง่ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” ประกอบด้วย 4 ข้นั ตอน ดังน้ี ขัน้ ท่ี 1 กำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation) เป็นการเรียนรู้ จากสภาพ ปัญหา หรือความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และสังคม โดยให้เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม และ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ของหลกั สูตร ขั้นท่ี 2 แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) การแสวงหาข้อมูล และ จัดการเรียนรู้ โดยศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และรวบรวมข้อมูลของตนเอง ข้อมูลของชุมชน สังคม และข้อมูลทาง วิชาการ จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายมีการระดมความคิดเห็น วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็น ความรู้ ขน้ั ที่ 3 ปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกตใ์ ช้ (I : Implementation) นำความรทู้ ่ไี ดไ้ ปปฏิบัติ และ ประยุกตใ์ ชใ้ ห้สอดคล้องกับสถานการณ์ เหมาะสมกบั วฒั นธรรมและสงั คม ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) ประเมิน ทบทวน แกไ้ ขข้อบกพร่อง ผลจากการ นำความรไู้ ปประยุกต์ใชแ้ ล้วสรุปเป็นความรใู้ หม่ พร้อมกบั เผยแพร่ผลงาน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนคิ ม ได้ดำเนินการจัดกจิ กรรม/ โครงการตา่ ง ๆ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2560 ดังนี้ 1. โครงการปรับปรงุ แหลง่ เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงและพัฒนา กศน.ตำบล ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 วนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2560 - 4 มนี าคม 2561 2. โครงการอบรม คุณธรรม จรยิ ธรรม นำศาสตรพ์ ระราชามาใช้ในชวี ติ ประจำวัน วันท่ี 3 ธนั วาคม 2560 ณ ศาลาประชาคมอำเภอพนัสนิคม 3. โครงการค่ายทกั ษะชีวิต อบรมธรรมะจรยิ ธรรม วันที่ 7-8 ธนั วาคม 2560 ณ วดั พนมพนาวาส ตำบลคลองขุด อำเภอบ้านโพธิ์ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา 4. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตนักศึกษาเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน วันที่ 17 ธันวาคม 2560 ณ สวนสาธารณะเทศบาลเมอื งพนสั นิคม 5. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย และตามรอยบูรพกษตั ริย์ไทยน้อมรำลึกใน พระมหากรณุ าธคิ ุณ วันท่ี 27 ธันวาคม 2560 ณ ท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร และพพิ ธิ ภัณฑ์สถานแหง่ ชาติ 6. โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ ของผู้เรียนตามค่านิยมไทย วนั ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 ณ สวนสาธารณะเทศบาลเมอื งพนสั นิคม

67 7. โครงการกีฬาสานสัมพนั ธ์ กศน.อำเภอพนัสนคิ ม วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงเรียน เทศบาล 4 เจริญอปุ ถัมภป์ ญั ญาธร 8. โครงการปัจฉิมนเิ ทศนักศกึ ษา กศน.อำเภอพนสั นคิ ม วนั ท่ี 4 มนี าคม 2561 ณ โรงเรียน เทศบาล 4 เจริญอปุ ถัมภป์ ัญญาธร 9. โครงการค่ายวทิ ยาศาสตร์ “สนุกจดั เตม็ กับสะเตม็ ศกึ ษา”สำหรับนกั ศึกษา กศน.อำเภอ พนัสนิคม วนั ท่ี 9-10 มนี าคม 2561 ณ ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาสระแก้ว ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ดำเนนิ การจัดกิจกรรม/ โครงการต่าง ๆ อย่างตอ่ เน่อื ง ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ดังน้ี 1. โครงการใหค้ วามร้ปู ระวตั ศิ าสตรช์ าติไทย เสริมสร้างศกั ยภาพนักศึกษา กศน.ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 วนั ท่ี 3 มิถนุ ายน 2561 ณ อาคารอเนกประสงคส์ วนสาธารณะเฉลมิ พระเกยี รติเทศบาล เมอื งพนัสนิคม 2. โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรม สำหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา2561 วันท่ี 24 มถิ นุ ายน 2561 ณ อาคารอเนกประสงค์สวนสาธารณะเฉลิมพระเกยี รตเิ ทศบาลเมืองพนสั นคิ ม 3. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ัติการขับเคลือ่ นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ วันท่ี 22 กรกฎาคม 2561 ณ ศาลาประชาคมอำเภอพนัสนิคม 4. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการกระบวนการเรยี นรูต้ ามแนวคดิ สะเต็มศึกษา วนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2561 ณ โรงเรียนเทศบาล 1 ศรีกิตติวรรณนุสรณ์ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นิคม ส่งเสริมและสนับสนุนการ จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณธรรมตามเป้าหมายที่สถานศึกษาตั้งไว้ ดงั นี้ 1. โครงการพัฒนา กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง วันที่ 19-28 พฤศจิกายน 2560 ณ กศน.ตำบล ไรห่ ลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี 2. โครงการบรจิ าคโลหติ ช่วยเพือ่ นมนุษย์ วนั ที่ 17 มิถนุ ายน ถึงวนั ที่ 31 ตลุ าคม 2561 ณ พื้นท่ี ตา่ ง ๆ ในอำเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี 3. โครงการสืบสานวันวิสาขบชู า ประจำปี 2561 วนั ที่ 21-31 มิถนุ ายน 2561 ณ วัดตา่ ง ๆ ในอำเภอพนัสนิคม และจังหวัดชลบุรี 4. โครงการอาสายุวกาชาด New Gen Volunteers เรอ่ื เครอ่ื งหมายกาชาดกบั การสร้างจิตอาสา วันท่ี 2 กรกฎาคม 2561 ณ โรงเรยี นชลราษฎรอำรุง อำเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรี 5. โครงการอบรมอาสายวุ กาชาดพ่งึ พาได้ เร่ืองปฐมพยาบาล วันท่ี 5 กรกฎาคม 2561 ณ ศาลาประชาคม อำเภอเมืองชลบุรี จังหวดั ชลบรุ ี 6. โครงการเพ่มิ พื้นทีส่ ีเขยี วใหก้ ับชุมชน วันท่ี 8-24 กรกฎาคม 2561 ณ ถนนสายบ้าน เนินดินแดง หมูท่ ่ี 4 ตำบลบ้านช้าง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี 7. โครงการสบื สานวนั เข้าพรรษา ประจำปี 2561 วันที่ 15-31 กรกฎาคม 2561 ณ วดั ตา่ ง ๆ

68 ในอำเภอพนัสนิคม และจงั หวัดชลบุรี 8. โครงการจิตอาสา ทำความดดี ว้ ยหัวใจ วันท่ี 17-31 กรกฎาคม 2561 ณ พน้ื ที่ตา่ ง ๆ ในอำเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี 9. โครงการบรจิ าคโลหติ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 4. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีการดำเนินงานสอดคล้องกับ แผนการศึกษาชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 นโยบายและจุดเน้น สำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ดงั นี้ สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและมีทักษะและ คณุ ลกั ษณะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21 (1) รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีมีลกั ษณะและทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพมิ่ ขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 1. จุดเน้นด้าน ความมั่นคง แนวทางหลัก 1.4 การพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามใน รูปแบบใหม่ โครงการหลัก 4. การส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันและพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อความมั่นคง โครงการ TO BE NUMBER ONE โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรเู้ พ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ิต สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้าน การพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 พัฒนา กำลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ (1) สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชนมีความรู้พืน้ ฐานด้าน Digital และความรู้เรื่อง กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สำหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันรวมทั้งการ พฒั นาและการเข้าสอู่ าชพี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 3.1 เตรียม ความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ (Smart Aging Society) (1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับ ประชาชนที่สร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจใน พัฒนาการของช่วงวัยรวมท้ังเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัวและชุมชน (2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุที่ เหมาะสมและมีคุณภาพ ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สำหรับผู้เรียนและประชาชน โดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พัฒนาทักษะชีวิตสู่การประกอบอาชีพ ข้อ 3.7 ยกระดับคุณภาพ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นฐาน โดยพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด การเรียนการสอน และกิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพของสื่อและนวัตกรรม รวมทั้งมาตรฐานของการวัดและประเมินผล เพื่อสร้างความ เช่อื มั่นให้สงั คมเก่ยี วกบั คณุ ภาพการจัดการศึกษาของสำนักงาน กศน.

69 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีด้าน ทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำรงชีวิต จำนวน 48 คน ซึง่ เปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ ประกอบดว้ ย 1. นางสาวสุวนนั ท์ เผอื กวงษ์ 6111-00006-4 ระดับประถมศึกษา นกั ศึกษา กศน. อ.มุทิกา การงานดี เปน็ ตวั อย่างที่ดดี ้านการศกึ ษาหาความรู้ เพือ่ พัฒนาตนเองและพัฒนาอาชีพในการทำงาน 2. นางสาวทิวาพร สรวมศิริ 5923-00184-3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. อ.มทุ กิ า การงานดี เป็นตวั อย่างท่ดี ดี ้านการศกึ ษาหาความรู้ เพ่ือพฒั นาตนเองและพัฒนาอาชีพในการทำงาน 3. นายมานพ โพทอง 6013-00161-7 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา อ.เฟื่องฟา้ คลังสนิ ธ์ เป็นตวั อย่างที่ดีด้านการนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั และพัฒนาการประกอบอาชีพ 4. นางสาววไิ ลวรรณ เนื่องจำนงค์ 6023-00124-9 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา อ.เฟ่อื งฟ้า คลังสนิ ธ์ เป็นตัวอย่างท่ดี ดี ้านการประกอบอาชพี ตามท่ีตนเองชอบ 5. นายพงษส์ ทิ ธิ์ ระจติ ดำรงค์ 5913-00176-1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา อ.วชั รนิ ทร์ อดุ านนท์ เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการนำความรเู้ ทคโนโลยีไปใชป้ ระกอบอาชีพ 6. นางสาวขวญั ตาขนุ ทพิ ย์ 6023-00100-7 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา อ.วชั รินทร์ อดุ านนท์ เปน็ ตวั อย่างท่ดี ีดา้ นการนำความรู้เทคโนโลยไี ปใชป้ ระกอบอาชีพ 7. นายสิทธชิ ยั แก้วกิจ 6113-00135-7 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา อ.โสพศิ รายศิริ เป็นตวั อย่างที่ดีด้านการนำความรู้ทไี่ ด้ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั และพฒั นาการประกอบอาชีพ 8. นายนภดล สมุ่ ตาย 6113-00177-7 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.โสพศิ รายศิริ เป็นตัวอยา่ งท่ดี ีดา้ นการนำความรู้ทไี่ ด้ไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันและพฒั นาการประกอบอาชีพ 9. นางสาวเกศกนกร สมพละชยั ยา 6112-00001-2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น นกั ศึกษา อ.กนกกร ฮกโก้ เปน็ ตัวอย่างท่ีดีดา้ นการศึกษาหาความรูเ้ พื่อยกระดับการศึกษา เพื่อพัฒนาตนเองและพฒั นา อาชพี ในการทำงาน 10. เดก็ ชายภัทรพงศ์ อทิ ธปิ ระเสริฐ 6022-00033-3 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น นกั ศึกษา อ.กนกกร ฮกโก้ เป็นตัวอย่างท่ีดดี า้ นการเรยี นพร้อมกับช่วยครอบครัวทำงานหารายได้ เปิดบรกิ ารอู่ซอ่ มรถ 11. นายชยากร คำนนท์ 5922-00050-8 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน.ตำบล ไร่หลักทอง เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการเป็นผู้นำครอบครัวในการทำงานหารายได้เลี้ยงครอบครัว โดยการพัฒนา ตนเองอย่างสมำ่ เสมอ 12. นางสาวณัฐวรรณ ศิรวิ รรณ 5923-00084-6 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลไร่หลกั ทอง เป็นตวั อย่างทด่ี ดี ้านการเรยี นรู้ในการเขา้ ร่วมกิจกรรมเกดิ ความรแู้ ละได้นำความรู้ท่ีได้รบั มาใช้ โดยการขายสินค้าออนไลน์ 13. นางสาวมานิตา สขุ จรสั 6013-00002-1 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลบา้ นช้าง เปน็ ตวั อย่างที่ดดี ้านการนำความรทู้ ี่ไดไ้ ปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันและพัฒนาการประกอบอาชีพ

70 14. นางสาวธดิ าเทพ ศิรศิ ักดา 6113-00123-6 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลบา้ นชา้ ง เปน็ ตัวอย่างทด่ี ดี ้านการนำความรทู้ ่ีได้ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันและพัฒนาการประกอบอาชีพ 15. นางสาวเอมอร มีสุข 6022-00061-4 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น นักศกึ ษา กศน.ตำบล หนองปรือ เป็นตวั อย่างที่ดดี ้านการใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์โดยการช่วยผู้ปกครองหารายไดโ้ ดยการขายของ ออนไลนส์ ร้างรายได้ให้กบั ครอบครวั 16. นางสาวสุพรรษา อินทมาพลอย 6113-00083-7 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลหนองปรือ เปน็ ตัวอย่างที่ดีดา้ นการใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการชว่ ยผปู้ กครองหารายไดโ้ ดยการ ขายของออนไลน์สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว 17. นางสาวลัลน์ลลติ มงคลโสภากุล 5923-00128-1 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบลบา้ นเซิด เป็นตัวอย่างท่ีดดี ้านความประหยดั อดออม 18. นางสาวกลมลชนก มที องคำ 5923-00139-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลบา้ นเซดิ เปน็ ตัวอย่างท่ีดดี ้านการหารายได้จุนเจอื ครอบครัว 19. นายแสงจนั ทร์ พมิ พช์ ัย 6012-00017-6 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบล กุฎโง้ง เป็นตวั อย่างท่ดี ีด้านการคดิ วเิ คราะห์ 20. นายสุวนั ชยั เสมาชัย 5922-00102-8 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ นกั ศึกษา กศน.ตำบล กุฎโงง้ เป็นตัวอย่างทด่ี ดี ้านการคดิ วเิ คราะห์ 21. นายชนายุทธ ขนุ วิสตู ร 5913-00152-9 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลนาเริก เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง ครอบครวั 22. นางสาวเอษณีย์ อ่อนหลา้ 5923-00085-5 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลนาเริก เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว 23. นางสาววรรณิศา ไพรินทร์ 6023-00203-1 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลหน้าพระธาตุ เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการช่วยผู้ปกครองหารายได้โดยการ ขายของออนไลน์สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั 24. นางสาวศวิ พร อุทารส 6023-00055-0 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบล หน้าพระธาตุ เป็นตวั อย่างด้านชว่ ยครอบครัวหารายไดโ้ ดยการขายของออนไลน์เพ่ือเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 25. นายณฎั ฐ์ เบญจดำรงกุล 6113-00049-9 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน. ตำบลหนองเหียง เป็นตัวอย่างด้านสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการศึกษาทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง สรา้ งรายได้ใหก้ ับครอบครัว 26. นายทพิ วฒั น์ พรมจันทร์ 6113-00049-9 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.

71 ตำบลหนองเหียง เป็นตัวอย่างด้านสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการศึกษาทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง สรา้ งรายไดใ้ ห้กับครอบครัว 27. นายสนุ ทร ดารากรณ์ 5922-00043-2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล โคกเพลาะ เป็นตวั อยา่ งด้านใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการศึกษาทฤษฎีเศรษฐกจิ พอเพียง สรา้ งรายได้ให้กับ ครอบครัว 28. นางสาวอัญชลี ทองนพคุณ 5923-00177-7 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบลโคกเพลาะ เป็นตัวอย่างด้านใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการศึกษาทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง สร้าง รายไดใ้ ห้กับครอบครัว 29. นายอนุพงษ์ เจริญศิลป 5913-00132-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลท่งุ ขวาง เป็นตัวอยา่ งด้านเป็นผู้นำครอบครัวในการทำงานหารายไดเ้ ลย้ี งครอบครวั โดยการพัฒนาตนเองอยู่ ตลอดทัง้ การเรยี นและการงาน 30. นางสาววิวิศนา ทูลทน 6023-00171-7 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลทุ่งขวาง เปน็ ตัวอย่างด้านชว่ ยเหลือครอบครัวในการทำงานหารายได้เลยี้ งครอบครวั โดยการพฒั นาตนเองอยู่ ตลอดทง้ั การเรยี นและการงาน 31. นางสาวพัชรินทร์ กลับบัวเขียว 6013-00144-8 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลหมอนนาง เป็นตัวอย่างด้านสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ศึกษาหาความรู้ใหม่ๆในอาชีพที่ ประกอบ 32. นายอิทธินพ รนื่ ฤทัย 6012-00064-4 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน.ตำบล หมอนนาง เปน็ ตัวอย่างด้านชว่ ยครอบครวั หารายได้โดยการขายของออนไลนเ์ พ่ือเพม่ิ รายได้ให้กบั ครอบครัว 33. นางเนยี บ นาคเจริญสขุ 6013-00059-9 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ นกั ศึกษา กศน. ตำบลสระสี่เหลี่ยม เป็นตัวอยา่ งด้านเศรษฐกจิ พอเพียง สามารถนำไปประยุกต์ใน ชีวิตประจำวัน โดยการ เลี้ยงไก่ ไข,่ ปลูกผกั สวนครวั ไวท้ านเองและขายเพ่อื เพิ่มรายได้ 34. เด็กชายพลวัฒน์ ปญั ญวัฒนกิจ 6022-00028-5 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบลสระสีเ่ หลี่ยม เปน็ ตัวอย่างที่ดดี ้านการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากการทำงานที่บา้ น โดยช่วยงาน ทบ่ี ้านและหารายได้พเิ ศษจากการทำงานนอกบา้ น เช่น เป็นลูกมอื ทำเครอ่ื งเสยี งตามงานต่างๆ เพือ่ หาความรู้นำไป ประกอบอาชีพในอนาคต 35. นายสหรัถ สหี ะมาน 6013-00043-2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล วัดโบสถ์ เป็นตวั อยา่ งท่ีดดี ้านความประหยดั อดออม 36. นางสาวอญั ชลี ขาวสะอาด 6013-00024-2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน. ตำบลวัดโบสถ์ เปน็ ตวั อย่างทด่ี ดี ้านการหารายไดจ้ นุ เจอื ครอบครัว 37. นางสาวแพรวลี รัตนวงศ์ 6110-00101-9 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นักศึกษา กศน.ตำบล

72 ทา่ ขา้ ม เป็นตัวอยา่ งทดี่ ดี า้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู จากอินเตอรเ์ น็ต เพิ่มเติมจากการพบกลมุ่ ปกติอย่เู สมอ 38. นางสาวภัคจิรา เลยี บทวี 6012-00124-9 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น นักศึกษา กศน. ตำบลท่าข้าม เป็นตัวอยา่ งทด่ี ดี ้านการศกึ ษาค้นควา้ จากหอ้ งสมุดเพ่ิมเติมอยูเ่ สมอ 39. นางสาวรศั มี จูชา้ ง 6013-00227-6 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล หัวถนน เปน็ ตัวอย่างท่ีดดี า้ นการเข้ารบั การอบรมโครงการตา่ ง ๆ และนำไปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชีพ 40. นายอนวุ ัฒน์ เขียวขำ 6113-00181-6 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล หัวถนน เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการมีทักษะและกระบวนการคิดอ่านได้รวดเร็ว ส่งการบ้านได้ถูกต้องตามเวลาที่ กำหนด เป็นผ้คู ดิ คน้ การสรา้ งโรงเพาะเห็ดจากขวดนำ้ 41. นายสายฝน รักษาพล 6022-00079-9 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นกั ศึกษา กศน.ตำบล นาวังหิน เป็นตวั อย่างท่ดี ีด้านการใช้เวลาว่างในการหารายไดเ้ สรมิ และเรียนรู้เพ่ือการพฒั นาอาชีพอย่างต่อเน่ือง 42. นางสาวบัณฑิตา สิงหา 5923-00116-0 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล นาวังหิน เป็นตวั อยา่ งที่ดดี ้านการใช้เวลาวา่ งในการหารายไดเ้ สรมิ และเรียนรเู้ พ่อื การพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง 43. นายชวนากร พลอยสารกั ษ์ 6113-00179-5 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลนามะตูม เป็นตวั อยา่ งท่ีดีดา้ นการนำความรเู้ ทคโนโลยไี ปใช้ในการประกอบอาชีพ 44. นายขันชัย พานทอง 6013-00207-0 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล นามะตูม เปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ดี า้ นการนำความรู้เทคโนโลยไี ปใช้ในการประกอบอาชพี 45. นายอธพิ งษ์ อ่อนเฉวียง 6022-00016-0 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ นกั ศึกษา กศน.ตำบล วัดหลวง เป็นตัวอย่างท่ดี ีด้านการใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ศกึ ษาหาความรใู้ หมๆ่ ในการประกอบอาชีพ 46. นางสาวภคนันท์ โล่อทุ ยั 6013-00092-8 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลวัดหลวง เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการช่วยครอบครัวหารายได้โดยการขายของออนไลน์เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัว 47. นางสาววาสนา วัชโรสินธ์ 6112-00048-7 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น นักศึกษา กศน. ตำบลหนองขยาด เปน็ ตัวอย่างทด่ี ดี ้านการใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการชว่ ยผ้ปู กครองหารายได้โดยการขาย ของออนไลนส์ ร้างรายได้ให้กับครอบครัว 48. นางสาวสรุ ิยาพร นวลละออง 6113-00023-9 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลหนองขยาด เป็นตัวอย่างที่ดีด้านการช่วยครอบครัวหารายได้โดยการขายของออนไลน์เพื่อเพิ่มรายได้ ใหก้ บั ครอบครัว จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ 1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีทักษะ กระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้เรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวติ ได้ 3.50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู่ในระดับคณุ ภาพ ดี

73 ตัวบ่งช้ที ี่ 1.3 ผู้เรยี นการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมคี วามรพู้ ้ืนฐาน ผลการดำเนินงาน 1. ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนสั นคิ ม ได้กำหนดคา่ เป้าหมายให้ผเู้ รยี น การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มีความรู้พืน้ ฐาน รายวชิ าบังคบั และผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2561 พบวา่ ผเู้ รียนมคี วามรู้พืน้ ฐานสงู กวา่ คา่ เปา้ หมายทีก่ ำหนด แตไ่ ม่ครบทกุ รายวิชา ดังรายละเอยี ดในตารางต่อไปน้ี ระดับประถมศกึ ษา ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยคะแนนผลการสอบ ผลการ ปงี บประมาณ เปรียบเทยี บกบั รายวชิ าบังคบั ปลายภาคของสถานศึกษา ค่าเป้าหมาย 2561 2/2560 1/2561 ค่าเฉล่ยี 2 ภาคเรยี น 1. ภาษาอังกฤษพนื้ ฐาน 12 - - - - 2. คณติ ศาสตร์ 12 12.00 10.00 11.00 ต่ำกว่า 3. เศรษฐกจิ พอเพียง 24 - 20.92 20.92 ต่ำกวา่ 4. ทักษะการเรียนรู้ 22 20.72 - 20.72 ต่ำกว่า 5. ภาษาไทย 28 - 19.38 19.38 ต่ำกวา่ 6. ศลิ ปศกึ ษา 18 - 12.00 12.00 ต่ำกวา่ 7. ช่องทางการเขา้ สอู่ าชีพ 22 - 20.85 20.85 ตำ่ กว่า 8. ทกั ษะการประกอบอาชพี 20 - - - - 9. สุขศกึ ษา พลศึกษา 25 - 16.00 16.00 ตำ่ กวา่ 10. สงั คมศึกษา 13 21.81 10.00 15.91 สูงกวา่ 11. วทิ ยาศาสตร์ 27 38.00 19.76 28.88 สงู กวา่ 12. พัฒนาอาชีพใหม้ ีอยู่กนิ 17 - 12.00 12.00 ต่ำกวา่ 13. ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง 21 - 20.00 20.00 ต่ำกวา่ 14. การพฒั นาตนเอง ชมุ ชนสงั คม 24 - 11.00 11.00 ตำ่ กวา่

74 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คา่ เปา้ หมาย ค่าเฉลย่ี คะแนนผลการสอบ ผลการ ปีงบประมาณ เปรยี บเทียบกบั รายวชิ าบังคับ ปลายภาคของสถานศึกษา ค่าเป้าหมาย 2561 1. ภาษาอังกฤษในชีวติ ประจำวัน 2/2560 1/2561 คา่ เฉลยี่ ต่ำกว่า 2. คณิตศาสตร์ 21 2 ภาคเรียน ต่ำกว่า 3. เศรษฐกิจพอเพียง 22 สงู กว่า 4. ทกั ษะการเรยี นรู้ 20 11.25 12.20 11.73 ต่ำกวา่ 25 รายวิชาบังคบั 14.22 14.60 14.41 ผลการ คา่ เปา้ หมาย เปรียบเทยี บกบั 5. ภาษาไทย ปีงบประมาณ 25.11 28.80 26.96 ค่าเป้าหมาย 6. ศิลปศกึ ษา 7. ช่องทางการพฒั นาอาชีพ 2561 19.66 22.00 20.83 ต่ำกวา่ 8. ทกั ษะการพฒั นาอาชีพ สูงกวา่ 9. สขุ ศึกษา พลศึกษา 28 คา่ เฉลย่ี คะแนนผลการสอบ สงู กว่า 10. สงั คมศึกษา 17 ตำ่ กวา่ 11. วิทยาศาสตร์ 17 ปลายภาคของสถานศกึ ษา ต่ำกวา่ 12. พฒั นาอาชีพให้มีความเข้มแขง็ 23 ตำ่ กวา่ 13. ศาสนาและหน้าท่พี ลเมือง 25 2/2560 1/2561 ค่าเฉล่ีย ตำ่ กวา่ 14. การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม 19 2 ภาคเรยี น สงู กว่า 18 ตำ่ กวา่ 17 24.40 24.85 24.63 สงู กวา่ 22 18 15.33 27.00 21.17 22.00 26.49 24.25 20.00 19.88 19.94 23.13 26.00 24.57 17.37 20.17 18.77 13.63 20.69 17.16 16.57 24.09 20.33 17.63 24.36 21.00 13.50 24.11 18.81

75 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คา่ เป้าหมาย คา่ เฉลยี่ คะแนนผลการสอบ ผลการ ปงี บประมาณ เปรยี บเทียบกับ รายวชิ าบังคบั ปลายภาคของสถานศึกษา คา่ เปา้ หมาย 2561 1. ภาษาองั กฤษเพื่อชวี ติ และสงั คม 2/2560 1/2561 ค่าเฉลย่ี สงู กวา่ 2. คณติ ศาสตร์ 12 2 ภาคเรยี น ต่ำกว่า 3. เศรษฐกจิ พอเพียง 14 สูงกวา่ 4. ทกั ษะการเรียนรู้ 20 18.70 11.67 15.19 สงู กวา่ 5. ภาษาไทย 21 สูงกว่า 6. ศลิ ปศกึ ษา 22 11.64 13.36 12.50 ตำ่ กวา่ 7. ชอ่ งทางการขยายอาชีพ 20 ต่ำกว่า 8. ทักษะการขยายอาชีพ 21 25.67 28.02 26.85 สงู กว่า 9. สุขศกึ ษา พลศกึ ษา 20 สงู กวา่ 10. สังคมศึกษา 22 21.52 23.20 22.36 ตำ่ กวา่ 11. วทิ ยาศาสตร์ 18 สงู กวา่ 12. พฒั นาอาชีพให้มีความม่ันคง 16 22.20 22.15 22.18 ต่ำกว่า 13. ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง 17 สงู กว่า 14. การพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม 21 16.00 18.30 17.15 ต่ำกว่า 23 20.75 20.09 20.42 15.00 26.50 20.75 18.00 28.11 23.06 17.47 12.83 15.15 13.90 18.32 16.11 15.00 14.50 14.75 20.57 22.10 21.34 18.29 23.10 20.70 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้กำหนดค่าเป้าหมายให้ ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพื้นฐานนำความรูพ้ ื้นฐานไปใชใ้ นการ ดำรงชีวิต การทำงาน หรือการประกอบอาชีพได้ระดับดี มากร้อยละ 23.33 ซึ่งผลการดำเนินงาน ของสถานศึกษาปีงบประมาณ 2561 พบว่านำความรูพ้ ื้นฐานไปใช้ในการ ดำรงชีวิต การทำงาน หรือการประกอบอาชีพได้ระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยระดับดีมาก เท่ากับ ร้อยละ 26.75 ซึ่งสงู กว่าค่าเปา้ หมายทกี่ ำหนด ดงั รายละเอยี ดตามตารางนี้

76 ค่าเป้าหมาย ภาคเรียนท่ี 2/2560 ภาคเรยี นที่ 1/2561 คา่ เฉลย่ี ผลการ ปีงบประมาณ ระดับดี ดำเนนิ งาน ระดับ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ มาก 2561 ผู้เรียน ดมี าก ระดับ ผูเ้ รียน ดมี าก ระดบั สงู กวา่ ค่า 24.81 เป้าหมาย ทงั้ หมด ดีมาก ท้ังหมด ดีมาก ท่ีกำหนด ประถม 23.00 51 12 23.53 46 12 26.09 สูงกวา่ ค่า 29.18 เป้าหมาย ม.ตน้ 23.00 436 116 26.61 359 114 31.75 ทก่ี ำหนด สูงกว่าค่า ม.ปลาย 24.00 778 202 25.96 768 204 26.56 26.26 เป้าหมาย ท่ีกำหนด เฉล่ยี 23.33 เฉลยี่ 25.37 เฉล่ยี 28.13 สงู กว่าค่า 26.75 เป้าหมาย ท่ีกำหนด ผูเ้ รยี นนำความรู้พนื้ ฐานไปใชใ้ นการดำรงชีวติ การทำงาน หรอื การประกอบอาชีพไดส้ งู กว่าค่า เป้าหมายท่ี กำหนด โดยผเู้ รียนนำความรทู้ ่ีได้รับไปยกระดับพฒั นาคุณภาพชวี ิตของตนเอง สามารถนำไป ปรับเปลี่ยนตำแหน่ง หน้าท่กี ารงานใหส้ ูงขึน้ ปรับอัตราเงนิ เดือนให้สงู ข้นึ และนำความรู้ทจ่ี บในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ไปศึกษาต่อใน ระบบอาชีวศึกษา สายอาชีพ และศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของกศน. หรือผู้ที่จบในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย นำวฒุ กิ ารศึกษาไปศกึ ษาตอ่ ในระดบั สูงขนึ้ 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ในรูปแบบที่หลากหลาย โดย ครูผู้สอนดำเนินการ ดังนี้ 1) วิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อจัดทำแผนการ สอนรายบคุ คล 2) จัดทำแผนการเรียนการสอนรายวชิ าทล่ี งทะเบยี นเรียน โดยวิเคราะห์เนอ้ื หาออกเปน็ เนอ้ื หาง่าย ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เนื้อหาปานกลาง ครูนำมาจัดกระบวนการเรียนรู้ เนื้อหายากมาก ครูเชิญวิทยากรสอน เสริม 3) ครูผู้สอน และผู้เรียนจัดทำบันทึกข้อตกลงร่วมกัน 4) ครูผู้สอนดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรัชญา “คิดเป็น” ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ ข้ันท่ี 1 กำหนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรียนรู้ (O : Orientation) เป็นการเรียนรู้

77 จากสภาพ ปัญหา หรือความต้องการของผู้เรียน และชุมชน สังคม โดยให้เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม และ สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นร้ขู องหลักสตู ร ขนั้ ท่ี 2 แสวงหาขอ้ มูลและจดั การเรยี นรู้ (N : New ways of learning) การแสวงหาขอ้ มลู และ จัดการเรียนรู้ โดยศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ และรวบรวมข้อมูลของตนเอง ข้อมูลของชุมชน สังคม และข้อมูลทาง วิชาการ จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายมีการระดมความคิดเห็น วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และสรุปเป็น ความรู้ ขนั้ ท่ี 3 ปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) นำความรทู้ ่ไี ดไ้ ปปฏิบัติ และ ประยกุ ต์ใชใ้ ห้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ เหมาะสมกับวฒั นธรรมและสังคม ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ขั้นที่ 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (E : Evaluation) ประเมนิ ทบทวน แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ผลจากการ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้แล้วสรุปเป็นความรู้ใหม่ พร้อมกับเผยแพร่ผลงานโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่ หลากหลาย เชน่ สื่อเทคโนโลยี google Classroom Line Facebook แบบเรียน แหล่งเรียนรู้ ผู้รู้ ภูมิ ปัญญา ใบงาน ใบความรู้ กรต. 5) จัดทำ Pre-test และ Post-test 6) ทดสอบกลางภาค 7) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ 8) การ วดั ผลและประเมินผลปลายภาคเรยี น 4. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นิคม มีการดำเนนิ งานสอดคล้องกบั แผนการศกึ ษาชาติ 20 ปี นโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 นโยบายและจดุ เนน้ สำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ดังนี้ สอดคลอ้ งกับแผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลติ และพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวตั กรรม เพอ่ื สร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.1 กำลงั คนมีทกั ษะทส่ี ำคัญจำเป็นและมี สมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (9) ประชากรวัย แรงงาน (15 – 59 ปี) มีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (10) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุก ช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตาม มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ (6) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี มีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขน้ึ (7) รอ้ ยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์เพ่ือ ยกระดับคุณวฒุ ิการศึกษาเพ่ิมขน้ึ ข้อ 2.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสตู รอยา่ งมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน (3) จำนวนสถานศกึ ษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จดั การศึกษา ตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียบทางการศึกษา ข้อ 2.1 ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสและความ เสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ (5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย เพิม่ ขึ้น สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2561 2. จุดเน้นการ ผลิตพัฒนากำลังคนและสร้างความสามารถในการแข่งขนั แนวทางหลัก 2.1 การผลิตและพัฒนากำลงั คนใหค้ วาม

78 เชี่ยวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน มีสมรรนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โครงการหลัก 4. การส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างการผลิตและ พัฒนากำลังคน โครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) 5. ส่งเสริมและพัฒนาทาง วิชาการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการการแข่งขัน โครงการพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันของผู้เรียน 3. จุดเน้นด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แนวทางหลัก 3.1 พัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการ สอน การวัดและประเมนิ ผล โครงการหลกั 7. การขบั เคลอ่ื น STEM Education โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน โครงการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นด้านคณิตศาสตร์ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นสำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้าน การพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 พัฒนา กำลังคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนา ประเทศ (1) สง่ เสริมการจดั การเรียนรดู้ ้าน Digital เพอื่ ใหป้ ระชาชนมคี วามรู้พนื้ ฐานด้าน Digital และความรู้เรื่อง กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สำหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันรวมทั้งการ พัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 3.3 ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) สำหรับผู้เรียนและประชาชนโดย บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวัน พฒั นาทกั ษะชวี ติ สกู่ ารประกอบอาชีพ 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในการนำความรไู้ ปใช้/ประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชีวติ จำนวน 46 คน ซงึ่ น้อยกวา่ คา่ เปา้ หมายที่กำหนดไว้ คือ จำนวน 48 คนประกอบด้วย 1. นางสาวณัฐธิดา เที่ยงธรรม 6012-00025-1 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นักศึกษา อ.เฟื่องฟ้า คลังสินธ์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเองอย่างมีคุณภาพ สามารถนำความรู้ที่ ไดร้ ับจากการเรยี นไปใช้ในการประกอบอาชีพและการพัฒนาวิชาชีพของตน 2. นายชัชวาล ตาช่งั 6113-00241-1 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา อ.เฟื่องฟา้ คลังสินธ์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน พรอ้ มทงั้ มกี ารวางแผนการทำงาน ทำใหก้ ล้าคดิ กล้าแสดงออก 3. นายสรุ ิยา วไิ ล 6013-00230-6 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.วชั รินทร์ อดุ านนท์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้รู้จักหน้าที่ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ รู้จักการเป็น ผู้นำ และผู้ตามที่ดี ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักการแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา รู้จักการแก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนำไปพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ของตนเองใหด้ ีข้ึน 4. นายธนศักดิ์ แพงไพรี 5922-00026-3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา อ.วัชรินทร์ อุดานนท์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำวิชาคณิตศาสตร์ไปใช้ในงานด้าน

79 ค้าขาย เพราะที่บ้านมีกิจการร้านค้าเวลามี ลูกค้ามาซื้อของจะได้คิดเงินเป็น สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้ หรือ การคำนวณตน้ ทนุ กำไร และการทำ บัญชีครวั เรอื น รายรับรายจา่ ยได้ 5. นางสาวกชกร จันทรพ์ ฤกษ์ 6113-00132-0 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา อ.โสพิศ รายศิริ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในงาน ดา้ นการพ่ึงตนเอง เพราะที่บา้ นมีพ้ืนท่ีในการทำเกษตรกรรมเพื่อพึง่ พาตนเอง ปลูกทกุ อย่างท่กี นิ กนิ ทกุ อยา่ งท่ปี ลกู 6. นางสาวอญั ชนา รอบคอบ 6113-00133-9 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา อ.โสพิศ รายศิริ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในงาน ด้านการพง่ึ ตนเอง ในการประหยดั อดออม 7. นางสาวรตั นาภรณ์ บวั พันธ์ 6112-00050-8 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นกั ศึกษา อ.กนกกร ฮกโก้ เป็นผู้เรยี นทนี่ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวันของตนเอง นำวชิ าเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในงานด้าน การพง่ึ ตนเอง ในการประหยดั อดออม 8. นางสาวอารี หมทอง 6112-00003-0 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นกั ศกึ ษา อ.กนกกร ฮกโก้ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ในการประกอบอาชีพรับจ้างโรงงาน อุตสาหกรรม กับการทำงานเป็นทมี หมู่คณะ 9. นางสาวอารยา แลหาด 6113-00214-9 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล ไรห่ ลักทอง เป็นผเู้ รยี นที่นำความร้ไู ปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ของตนเอง ได้รจู้ กั การทำงานรว่ มกันเปน็ หมูค่ ณะ รูจ้ กั การเป็นผ้นู ำ และผตู้ ามทดี่ ีทำให้เกดิ การพัฒนาความคิด 10. นางสาวสพุ ัชนี อุมา 6013-00028-1 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบล ไรห่ ลักทอง เปน็ ผู้เรียนที่นำความรูไ้ ปใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวันของตนเอง ได้นำวชิ าวทิ ยาศาสตร์มาใช้ในเรื่อง การวางแผน การคาดคะเน น่าจะเปน็ ในการตัดสินใจประกอบอาชพี 11. นายภาวิต เรอื งศรี 6113-00004-2 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล บ้านช้าง เป็นผู้เรียนที่นำความรูไ้ ปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ในการประกอบอาชีพรับจ้างโรงงาน อตุ สาหกรรม กบั การทำงานเป็นทมี หมคู่ ณะ 12. นางสาวสมใจ พรหมเพ็ชร 6113-00013-6 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ตำบลบ้านชา้ ง เปน็ ผ้เู รียนทน่ี ำความรไู้ ปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง นำวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ใน งานดา้ นการพึ่งตนเอง ในการประหยัด อดออม 13. นายพิสัย ใจกรา้ ง 6012-00108-9 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบล หนองปรือ เป็นผู้เรยี นทีน่ ำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั ของตนเองอยา่ งมีคุณภาพ สามารถนำความรู้ท่ี ได้รบั จากการเรียนไปใช้ในการประกอบอาชีพและการพัฒนาวิชาชพี ของตน 14. นายธนกฤต สีหะวงค์ 6022-00031-5 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล

80 หนองปรือ เป็นผ้เู รียนทีน่ ำความรไู้ ปใชใ้ นการดำเนินชีวติ ประจำวนั ของตนเอง ไดร้ ้จู ักหนา้ ที่ และมคี วามรับผิดชอบ มากขึ้น รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ รู้จักการเป็น ผู้นำ และผู้ตามที่ดี ทำให้เกิดการพัฒนาความคิด และ รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื รูจ้ กั การแบ่งเวลา และการตรงต่อเวลา รู้จกั การแก้ปัญหาต่าง ๆ เพ่ือนำไปพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตของตนเองใหด้ ขี ึน้ 15. นางสาวลลั น์ลลิต มงคลโสภากุล 5923-00128-1 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบลบ้านเซิด เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการ ทำงาน ประสานงาน พร้อมท้งั มกี ารวางแผนการทำงาน ทำใหก้ ล้าคดิ กล้าแสดงออก 16. นางสาวอริษา เพียราดโยธา 5923-00134-8 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลบ้านเซิด เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำทักษะความรู้ สาระการ เรียนรู้ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างพอเพยี ง เรื่องการจำหน่ายค้าปลีก มีการทำบัญชีรายรับจ่ายการคิดคำนวณใน การจำหนา่ ยสนิ ค้า 17. นายสุวันชยั เสมาชัย 5922001028 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น นกั ศึกษา กศน.ตำบลกฎุ โงง้ เป็นผู้เรยี นที่นำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตประจำวันของตนเอง เกี่ยวกับเรือ่ งความรับผิดชอบ กระบวนการจิต อาสา ความเปน็ ระเบียบ รูจ้ ักหน้าที่ของตนเอง การวางแผน และการแบง่ หน้าท่ีการทำงานในกลุม่ 18. นายศักด์สิ ทิ ธิ์ นาเอย่ี ม 6013000366 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล กุฎโงง้ เปน็ ผูเ้ รียนทน่ี ำความรไู้ ปใชใ้ นการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำประสบการณ์จากการเรียนรู้ ในชน้ั เรยี น การทำงานกล่มุ โดยการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น ห้องสมุด กศน.ตำบล หนงั สือเรียน ทางเว็บไซด์ แลว้ นำข้อมลู มาใช้ประโยชน์ในการแกป้ ัญหาในการทำงาน 19. นายธรรศกร เปล่ยี นเมฆ 6022-00052-0 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบล นาเริก เปน็ ผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำประสบการณจ์ ากการเรียนรู้ ในชั้นเรียน ช่วยขัดเกลาให้มีจิตสำนึกและคุณธรรม รู้ว่าสิ่งใดควรทำ ไม่ควรทำ ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และ สามารถนำความรู้ที่ได้รับ จากการเรียนไปใช้ในการประกอบอาชีพ และการพัฒนาวิชาชีพของตนได้ สามารถ ดำรงชวี ิตอย่างมี ความสขุ 20. นางสาววรรเพ็ญ โพธิมากูล 6013-00078-6 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลนาเริก เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ในการประกอบอาชีพรับจ้าง โรงงานอตุ สาหกรรม กับการทำงานเปน็ ทมี หมคู่ ณะ 21. นางสาวเจนจิรา โสภา 6013-00211-9 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล หน้าพระธาตุ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน พร้อมท้งั มีการวางแผนการทำงาน ทำใหก้ ลา้ คดิ กล้าแสดงออก 22. นายวรกิจ วงศิริ 6113-00034-1ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล หน้าพระธาตุ เป็นผเู้ รียนทน่ี ำความรไู้ ปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง โดยนำความรวู้ ิชาภาษาไทย

81 ไปสอนเพอื่ นท่ีทำงานทเี่ ป็นคนต่างด้าว ท่ีพูดภาษาไทยไม่ได้ จนสามารถพดู ภาษาไทยได้ สามารถติดตอ่ สื่อสารกับ คนอืน่ ได้ 23. นายทพิ วฒั น์ พรมจนั ทร์ 6113-00049-9 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล หนองเหียง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง โดยศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย และเมื่อได้รับวุฒิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สถานประกอบการได้ปรับเงินเดือนเพ่ิมขึ้น ปรับตำแหน่ง หน้าท่ีการงานสงู ขนึ้ 24. นายณัฐพล บุญกะยะ 6013-00165-3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล หนองเหียง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ประกอบอาชีพรับจ้าง (เสมียน) ด้านการจดบันทึกรายการ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในสถานประกอบการ และกระบวนการคิด วิเคราะห์ด้านการ ทำบัญชี รายการ รบั -จา่ ย ในสถานประกอบการท่ที ำงานอยู่ 25. นายสนุ ทร ดารากรณ์ 5922-00043-2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล โคกเพลาะ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก Google Classroom มาปรับประยุกต์ใชใ้ นการหาข้อมูล สง่ งาน ออกแบบงานต่าง ๆ ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว 26. นายสุนทร ดารากรณ์ 5922-00043-2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล โคกเพลาะ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก คิวอาร์โคด้ (QR code) มาปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ในการหาขอ้ มูล ออกแบบงานตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ 27. นางสาววรรณพร เทพกลุ 5913-00140-8 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลทุ่งขวาง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก Google form มาปรบั ประยกุ ต์ใชใ้ นการหาขอ้ มูล ออกแบบงานต่าง ๆ ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว 28. นางสาวเมฑยา นสุ ทิ ธ์ิ 6023-00112-8 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นักศกึ ษา กศน.ตำบล ทุ่งขวาง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในงาน ดา้ นการพึง่ ตนเอง ในการประหยัด อดออม 29. นายวราภรณ์ ทญั ญาลักษณ์ 6112-00042-3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน. ตำบลหมอนนาง เปน็ ผู้เรยี นทน่ี ำความรไู้ ปใช้ในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง ได้นำวชิ าวทิ ยาศาสตร์มาใช้ใน เร่อื ง การวางแผน การคาดคะเน นา่ จะเป็นในการตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ 30. นางสาวนภิ าวดี มีขวด 6013-00146-6 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล หมอนนาง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก Google Classroom มาปรับประยกุ ต์ใชใ้ นการหาข้อมลู ส่งงาน ออกแบบงานต่าง ๆ ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว 31. นางสาววราพร จกุ สดี า 6013-00089-8 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน.ตำบล สระสี่เหลี่ยม เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการทำงาน ประสานงาน พร้อมท้ังมีการวางแผนการทำงาน ทำให้กล้าคิด กลา้ แสดงออก 32. นางสาววราพร จุกสดี า 6013-00089-8 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล

82 สระสี่เหลี่ยม เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง เกี่ยวกับเรื่องความรับผิดชอบ กระบวนการจติ อาสา ความเปน็ ระเบยี บ รจู้ กั หนา้ ที่ของตนเอง การวางแผน และการแบ่งหน้าทก่ี ารทำงานในกลุ่ม 33. นางสาวศรัญญา พรหมสามพราน 6012-00023-3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ นักศึกษา กศน. ตำบลวัดโบสถ์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำประสบการณ์จาก การเรียนรู้ในชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม โดยการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด กศน.ตำบล หนังสือเรยี น ทางเว็บไซด์ แลว้ นำข้อมูลมาใช้ประโยชนใ์ นการแกป้ ญั หาในการทำงาน 34. นางสาวดวงกมล บุตรทอง 6113-00237-2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบล วัดโบสถ์ เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำประสบการณ์จากการ เรยี นรใู้ นชั้นเรยี น ช่วยขดั เกลาให้มีจิตสำนึกและคุณธรรม ร้วู า่ สิง่ ใดควรทำ ไมค่ วรทำ ทำใหม้ คี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี และ สามารถนำความรู้ที่ได้รับ จากการเรียนไปใช้ในการประกอบอาชีพ และการพัฒนาวิชาชีพของตนได้ สามารถ ดำรงชีวติ อย่างมี ความสขุ 35. นางสาวราตรี ดใี จ 5922-00105-5 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นกั ศึกษา กศน.ตำบลทา่ ขา้ ม เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก Google Classroom มาปรบั ประยกุ ต์ใช้ในการหาขอ้ มลู สง่ งาน ออกแบบงานต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ 36. นางสาวปวณี า รักสงิ ห์ 5922-00107-3 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น นักศึกษา กศน.ตำบล ทา่ ข้าม เปน็ ผ้เู รยี นทนี่ ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตประจำวนั ของตนเอง สามารถนำเอาการเรยี นรจู้ าก Google form มาปรับประยกุ ต์ใช้ในการหาข้อมูล 37. นายเจษฎา แก้วสุข 6012-00097-0 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน.ตำบล หัวถนน เป็นผเู้ รยี นท่นี ำความรูไ้ ปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวันของตนเอง สามารถนำเอาการเรยี นร้จู าก คิวอาร์โค้ด (QR code) มาปรบั ประยุกตใ์ ช้ในการหาข้อมูล ออกแบบงานตา่ ง ๆ ได้อย่างคลอ่ งแคลว่ 38. นางสาวนฤภร โกสินทร 6023-00188-3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล หวั ถนน เป็นผูเ้ รียนท่นี ำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรู้จาก Google Classroom มาปรบั ประยุกต์ใชใ้ นการหาข้อมลู สง่ งาน ออกแบบงานต่าง ๆ ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว 39. นางสาวพรรณษา ทรัพยอ์ ดุ ม 6112-00077-7 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น นกั ศึกษา กศน. ตำบลนาวังหิน เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง เกี่ยวกับเรื่องความรับผิดชอบ กระบวนการจิตอาสา ความเป็นระเบยี บ รู้จกั หนา้ ที่ของตนเอง การวางแผน และการแบง่ หนา้ ทก่ี ารทำงานในกลมุ่ 40. นางสาวสภุ าพร ประกอบ 6023-00162-3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลนาวังหิน เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ในการประกอบอาชีพรับจ้าง โรงงานอุตสาหกรรม กบั การทำงานเป็นทมี หมูค่ ณะ

83 41. นายชวนากร พลอยสารักษ์ 6113-00179-5 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน. ตำบลนามะตูม เป็นผู้เรียนท่ีนำความรู้ไปใชใ้ นการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง นำวิชาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในงานด้านการพึ่งตนเอง ในการประหยดั อดออม 42. นายขนั ชัย พานทอง 6013-00207-0 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล นามะตูม เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง ได้นำวิชาวิทยาศาสตร์มาใช้ในเรื่อง การวางแผน การคาดคะเน น่าจะเปน็ ในการตดั สนิ ใจประกอบอาชพี 43. นายอธิพงษ์ อ่อนเฉวยี ง 6022-00016-0 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล วัดหลวง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง สามารถนำประสบการณ์จากการ เรยี นรูใ้ นชั้นเรยี น ช่วยขัดเกลาให้มจี ิตสำนึกและคุณธรรม ร้วู ่าสงิ่ ใดควรทำ ไม่ควรทำ ทำใหม้ คี ณุ ภาพชีวิตที่ดี และ สามารถนำความรู้ที่ได้รับ จากการเรียนไปใช้ในการประกอบอาชีพ และการพัฒนาวิชาชีพของตนได้ สามารถ ดำรงชวี ติ อย่างมี ความสขุ 44. นางสาวอนงค์ หว่ งสกลุ 6113-00040-8 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นกั ศึกษา กศน.ตำบล วัดหลวง เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง โดยนำความรู้วิชาภาษาไทยไปสอน เพอื่ นที่ทำงานท่เี ป็นคนตา่ งดา้ ว ทพี่ ูดภาษาไทยไม่ได้ จนสามารถพูดภาษาไทยได้ สามารถตดิ ต่อสอื่ สารกบั คนอ่นื ได้ 45. นางสาวพชั รธญั ณ เชยี งใหม่ 6022-00074-4 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ นกั ศกึ ษา กศน. ตำบลหนองขยาด เปน็ ผูเ้ รยี นทน่ี ำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง สามารถนำเอาการเรียนรจู้ าก Google Classroom มาปรบั ประยกุ ต์ใชใ้ นการหาข้อมลู ส่งงาน ออกแบบงานตา่ ง ๆ ได้อย่างคล่องแคลว่ 46. นายชัยวฒั น์ เสฐยี ร 6112-00010-6 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ นักศกึ ษา กศน.ตำบล หนองขยาด เป็นผู้เรียนที่นำความรู้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันของตนเอง เกี่ยวกับเรื่องความรับผิดชอบ กระบวนการจติ อาสา ความเปน็ ระเบยี บ รู้จักหน้าที่ของตนเอง การวางแผน และการแบง่ หนา้ ท่ีการทำงานในกล่มุ จากการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาในตวั บ่งช้ที ่ี 1.3 ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมีความรูพ้ ้ืนฐาน ได้ 3 คะแนน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน อยใู่ นระดับคุณภาพ พอใช้ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.4 ผู้เรียนหรือผูเ้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชีพ ผลการดำเนนิ งาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพใน 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมชั้นเรียน วิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 2) กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะ สั้น (กลุม่ สนใจ ไม่เกนิ 30 ช่วั โมง) และ 3) กิจกรรม 1 อำเภอ 1 อาชีพ ซงึ่ มผี ลการดำเนินงานของสถานศึกษาดงั น้ี 1. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้จัดกิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ ( 31 ชั่วโมงขึ้นไป) 2) กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) และ 3) กิจกรรม1 อำเภอ 1 อาชีพ โดยกำหนด

84 ค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ร้อยละ 57.00 ของผู้เรียนทั้งหมด ผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พบว่า ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ตามวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร รอ้ ยละ 100 ซึ่งสงู กวา่ คา่ เป้าหมายทก่ี ำหนด ดังรายละเอยี ดในตารางตอ่ ไปนี้ ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร ท่ี กิจกรรม จำนวน ค่าเปา้ หมาย ผลการ ร้อยละ ผลการ ผเู้ รียน ดำเนินงาน เปรียบเทยี บกบั 1 ช้ันเรยี นวิชาชีพ 924 คา่ เป้าหมาย (31 ชม.ขึ้นไป) 1,574 57.00 924 100 สูงกวา่ 2 การพฒั นาอาชีพ 96 ระยสั้น (กลุ่มสนใจ 57.00 1,574 100 สูงกวา่ ไม่เกนิ 30 ชม.) 57.00 96 100 สูงกว่า 3 1 อำเภอ 1 อาชพี 57.00 100 สูงกว่า รวม 2. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ดำเนินการติดตามผลผู้เรียน ภายหลังเสรจ็ สิ้นโครงการโดยใช้แบบตดิ ตาม ผู้เรียนหลงั จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง กิจกรรมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพ 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) 2) กิจกรรมพัฒนาอาชีพระยะสนั้ (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ชั่วโมง) และ 3) กิจกรรม 1 อำเภอ 1 อาชพี โดยกำหนดค่าเปา้ หมายให้ผ้เู รียนนำความรไู้ ปใช้ ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพหรือเพิ่มมูลค่าของสินค้าหรือ บริการ ร้อยละ 79.00 ของผู้เรียน/ผู้รับบริการทั้งหมด ผลการดำเนินงานของสถานศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำนวนผู้เรียนรวมทั้งส้ิน 2,594 คน พบว่า ผู้เรียนนำความรู้ไปใชใ้ นการลดรายจ่าย จำนวน 1,603 คน เพิ่ม รายได้ จำนวน 165 คน ประกอบอาชีพ จำนวน 45 คน พัฒนาต่อยอดอาชีพ จำนวน 225 คน และเพิ่มมูลค่าของ สนิ ค้าหรอื บริการ จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 2,058 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 79.34 ซึ่งสูงกวา่ ค่าเป้าหมายทก่ี ำหนด 3. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม ได้ดำเนินการประเมินผู้เรียน โดยการประเมินจากสอบถามความรู้ความเข้าใจ สังเกตการปฏิบัติในระหว่างการเรียนรู้การจัดกิจกรรม จากกระบวนการมีสว่ นร่วม ประเมินโดยการให้ สาธิต แสดงขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ ดูจากชิ้นงานหรือผลงาน และมี การติดตามผลของผู้เรียนในการนำความรู้ไปใช้หลังจากเสรจ็ สิ้นการจัดกิจกรรม โดยใช้เครื่องมือจากแบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ แบบติดตามผู้เรียนหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ตามที่กำหนดไว้ใน คู่มือการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559) ในทุกกิจกรรมและได้มีการบันทึก ข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูลเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ สำนักงาน กศน. (DMIS 61)

85 4. ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนัสนิคม มกี ารดำเนนิ งานสอดคลอ้ งกับ แผนการศกึ ษาชาติ 20 ปี นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงี บประมาณ 2561 นโยบายและจดุ เนน้ สำนกั งาน กศน.ปงี บประมาณ 2561 ดงั นี้ สอดคล้องกับแผนการศึกษาชาติ 20 ปี ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การผลิตและพฒั นากำลงั คน การวจิ ัย และนวตั กรรม เพ่อื สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ขอ้ 2.1 กำลังคนมีทกั ษะทส่ี ำคัญจำเป็นและมี สมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ (9) ประชากรวัย แรงงาน (15 – 59 ปี) มีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น (10) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ปี) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปเพิ่มขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุก ช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ข้อ 2.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตาม มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ (6) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี มีจำนวนปกี ารศกึ ษาเฉล่ยี เพ่ิมขน้ึ (7) รอ้ ยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์เพ่ือ ยกระดบั คุณวุฒิการศึกษาเพิ่มขึ้น (8) จำนวนผสู้ ูงวยั ทีไ่ ด้รับการบริการการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะอาชีพและทักษะ ชีวิตเพิ่มขึ้น (9) จำนวนสาขาและวิชาชีพที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงวัยได้รับการส่งเสริมให้ทำงานและถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์เพมิ่ ขึ้น สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เนน้ สำนักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2561 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ดา้ นการพัฒนา กำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ข้อ 2.2 พัฒนากำลังคนให้ เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ที่มีทักษะด้านภาษาและทักษะดิจิทัล เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (1) ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ดา้ น Digital เพือ่ ใหป้ ระชาชนมีความรู้พ้ืนฐานดา้ น Digital และความรู้เรื่องกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรส์ ำหรับการใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั รวมท้ังการพฒั นาและการ เขา้ สอู่ าชพี (2) สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะพืน้ ฐานใหก้ ับประชาชนเก่ียวกับการทำธุรกจิ และการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล (3) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของ ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรมโดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 3.1 เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ (Smart Aging Society) (1) ส่งเสริมการจัด กิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ( Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัยรวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายใุ นครอบครัวและ ชุมชน (2) พัฒนาการจดั บรกิ ารการศึกษาและการเรียนรสู้ ำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ ท่ีเหมาะสมและมคี ุณภาพ (3) จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ สำหรับผสู้ งู อายุภายใต้แนวคดิ “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาทักษะชีวิตให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และ รู้จกั ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี (4) สรา้ งตระหนักถึงคุณคา่ และศักด์ิศรีของผู้สงู อายเุ ปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิ ปัญญาของผ้สู งู อายแุ ละให้มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมดา้ นต่าง ๆ ในชมุ ชน เช่น ดา้ นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวัฒนาธรรม ข้อ 3.2 ส่งเสริมการจั ดการเรียนรู้ด้านเกษ ตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง)

86 โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรมในการจดั กระบวนการเรียนรู้ ด้านเกษตรกรรมท่ีเหมาะสมกับบริบทของ พื้นที่และความต้องการของชุมชนรวมทั้งการเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตรและสร้างช่องทางการจำหน่ายสินค้า ผ่านช่องทางตา่ ง ๆ โดยตระหนกั ถงึ คุณภาพของผลผลิตความปลอดภัยต่อระบบนเิ วศนช์ ุมชนและผู้บริโภค ข้อ 3.5 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่ “วิสาหกิจชุมชน” ชุมชนพึ่งตนเองทำได้ขายเป็น” (1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ี สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชนและความต้องการของตลาดรวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะ วิสาหกิจชุมชนสร้างรายได้ใหกับชุมชนให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง (2) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิม ให้กับสินค้าการทำช่องทางเผยแพร่และจำหนา่ ยผลิตภัณฑข์ องวิสาหกิจชมุ ชนให้เป็นระบบครบวงจร 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพนัสนิคม มีผู้เรียนที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในการนำความรู้ไปใช้ จำนวน 115 คน ซ่งึ เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมายท่ีกำหนดไว้ คือ จำนวน 115 คน ประกอบดว้ ย 1. กศน.ตำบลไรห่ ลกั ทอง 1.)เปน็ ตวั อย่างท่ดี ี หลกั สตู ร การถักกระเปา๋ เชอื กร่ม โดยนำความรู้ไป ทำใช้เองภายในครอบครวั เพอื่ ลดรายจา่ ย จำนวน 5 คน ไดแ้ ก่ นางประยงค์ ทองแตง,นางสาวประทนิ สมชิต,นาง รำไพ เหลืองออ่ น,นางสาวสุกัญญา พุทธศรี,นางเกยี ง แซ่เตยี ว 2.)เป็นตวั อย่างทดี่ ี หลักสตู ร การถกั กระเป๋าเชือก ร่ม โดยได้นำความรู้ไปพัฒนาการถักกระเป๋าเชือกร่มให้มีรูปแบบต่างๆตามความต้องการที่จะซ้ือให้กับลูกค้าท่ี ต้องการทำให้มีรายได้เสริมเฉลี่ยเดือนล 1,000 – 1,500 บาท/คน จำนวน 2 คน ได้แก่ นางสาวสาฤนี ธรรมมิญ, นางนงค์เยาว์ พุกถกึ สรุปไดด้ ังน้ี ลดรายจา่ ย จำนวน 5 คน เพม่ิ รายได้ จำนวน 2 คน รวมท้ังส้ิน 7 คน 2. กศน.ตำบลบ้านช้าง 1.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การจักสานฝาชีลายดอกลายพิกุล โดยได้ นำความรู้ไปพัฒนาอาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาชีพที่มีรายได้จุนเจอื ครอบครัวทำให้ครอบครัวมี ความสุขในการดำเนินชีวิตครอบครัว จำนวน 2 คน ได้แก่ นางสาวรำไพ ตันวัฒนกุล,นางสาวละมูล จิตเสงี่ยม 2.)เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ี หลักสตู ร การจกั สานชะลอม โดยได้นำความรู้ด้านการจักสานชะลอมทำเป็นอาชีพเสรมิ เพื่อเพ่ิม รายไดใ้ หก้ ับตนเองและจุนเจอื ครอบครัวเพิ่มขนึ้ จำนวน 5 คน ไดแ้ ก่ นางสุจนิ ต์ แพงดี,นางดวงพร สิงโตเลก็ , นางทพิ ปภา จติ เสงี่ยม,นางไพรนิ ทร์ สงิ หา,นางอนงค์ ศิริรักษ์ สรุปได้ดงั นี้ ประกอบอาชีพ จำนวน 2 คน เพ่ิมรายได้ จำนวน 5 คน รวมทั้งส้นิ 7 คน 3. กศน.ตำบลหนองปรือ 1.)เปน็ ตวั อย่างที่ดี หลกั สูตร ช่างตดั ผมชายเบอื้ งต้น นำความรู้ดา้ นช่าง ตดั ผมชายเบ้อื งต้นทศ่ี ึกษาไปประกอบ เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับตนเองและจนุ เจือครอบครวั มีรายเฉลีย่ ตอ่ เดือนละ 7,000 -8,500 บาท/เดือน จำนวน 1 คน ได้แก่ นางสาวภิรม แสงจันทร์ 2.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร ช่างตัดผม ชายเบื้องต้น โดยนำความรู้ทีไ่ ด้จากการเรียนศึกษาหาความรู้ดา้ นช่างตัดผมชายเบือ้ งต้น ไปรับจ้างตัดผมตามบา้ น เป็นอาชีพเสริมทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากอาชีพหลักที่ทำอยู่แล้ว จำนวน 1 คน ได้แก่ นางสุเนตร นวลละออง 3.) เปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ี หลักสูตรชา่ งตดั ผมชายเบือ้ งต้น โดยนำความรู้ทไ่ี ด้จากการเรียนศกึ ษาหาความรดู้ า้ นช่างตัดผมชาย เบอ้ื งตน้ ไปตดั ให้บุคคลภายในครอบครัว ทำให้ลดรายจา่ ยภายในครอบครวั จำนวน 5 คน ไดแ้ ก่ นางถวลิ สขุ เกษม, นางสมปอง สืบแกว้ ,นางสุพกั ต์ เสมา,นางสาวชลชญา สุรดษิ ธนากร สรปุ ได้ดงั นี้ ประกอบอาชพี จำนวน 1 คน เพ่มิ รายได้ จำนวน 1 คน ลดรายจ่าย จำนวน 4 คน รวมทงั้ สิน้ 6 คน

87 4. กศน.ตำบลบ้านเซิด 1.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ โดยนำความรู้จากการศึกษาเรียนรู้การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จัดทำสินค้าจำหน่าย เช่น ตะกร้า กระจาดใส่ของจากกระป๋องเบยี ร์ เพ่อื เพิ่มรายไดใ้ หก้ บั ต้นเองและครอบครวั จำนวน 3 คน ได้แก่ นางยพุ นิ สากร, นางปัทมา สุทธิเจริญ,นางวนั เพญ็ แสงสว่าง 2.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ โดยนำความรู้จากการศึกษาเรียนรู้การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ มาทำของใช้ในครัวเรือน เช่น ตะกร้า กระจาดใส่ของ เปน็ ตน้ เพอ่ื ลดรายจ่าย จำนวน 4 คน ไดแ้ ก่ นางบญุ ชู วฒั นะศริ ขิ จร,นางวไิ ลวรรณ พมิ ลา, นางอุไร บุญญา สรปุ ได้ดังนี้ เพมิ่ รายได้ จำนวน 3 คน ลดรายจา่ ย จำนวน 3 คน รวมท้งั สนิ้ 6 คน 5. กศน.ตำบลกุฎโง้ง 1.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรดอกไม้จากผ้าใยบัว โดยนำความรู้จาก การศกึ ษาการทำดอกไม้จากผ้าใยบวั มาจัดตง้ั เป็นกลุ่มอาชพี ทำให้เกิดรายได้เพิ่มให้กับสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 3 คน ได้แก่ นางสาวกาณดา ประพันธ์,นางไพศรี รุนสา,นางวันนา กำจัด 2.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรช่างซ่อม เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน โดยนำความรู้ที่ได้ศึกษามาซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านของตนเองได้เพื่อเป็นการลด รายจ่าย จำนวน 4 คน ได้แก่ นายสมชาย ปามา,นายวาสนา แดงเข้ม,นายบุญเจตน์ ภูมะโคตร,นางเฉลา เศรษฐ์คมสนั สรุปได้ดงั นี้ เพมิ่ รายได้ จำนวน 3 คน ลดรายจา่ ย จำนวน 4 คน รวมทงั้ ส้ิน 7 คน 6. กศน.ตำบลนาเริก 1.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การถักเสื้อไหมพรมด้วยโครเชต์ โดยนำ ความรู้จากการศึกษาการถักเส้ือไหมพรมด้วยโครเชต์ นำมาเป็นอาชีพเสริมเพือ่ เพิ่มรายได้ใหก้ ับตนเองและจุนเจือ ครอบครัว จำนวน 3 คน ได้แก่ นางเรียม สลับสี,นางบังอร ระจิตดำรง,นางชนกานต์ รัตน์วิทยากรณ์ 2.)เป็นตัวอยา่ งท่ีดี หลักสูตร การถกั เสื้อไหมพรมด้วยโครเชต์ โดยนำความรูจ้ ากการศึกษาการถักเส้ือไหมพรมด้วย โครเชต์ นำมาเป็นถักเสื้อให้กับตนเองและคนในครอบครัว เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 4 คน ได้แก่ นางสาวมารียะห์ หมัดลัง,นางสาวไพริน โสภี,นางสาวเพ็ญจิต แซจ่ งึ ,นางสาวสมจติ ร์ แซ่เหลือ สรุปได้ดงั นี้ เพ่ิมรายได้ จำนวน 3 คน ลดรายจ่าย จำนวน 4 คน รวมทงั้ ส้นิ 7 คน 7. กศน.ตำบลหน้าพระธาตุ 1.)เปน็ ตัวอยา่ งท่ดี ี หลักสตู ร วิชาการสานตะกร้าไหมฟาง โดยได้นำ ความรู้ไปพัฒนาอาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาชีพที่มีรายได้จุนเจือครอบครัวทำให้ครอบครัวมี ความสุขในการดำเนนิ ชวี ิตครอบครวั จำนวน 3 คน ได้แก่ นางดวงแข บุญชุ่ม,นางปราณี บญุ ชุ่ม,นางวสิ ยั อนิ เติน 2.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร วิชาขนมปุยฝ้าย โดยได้นำความรู้ด้านการทำขนมปุยฝ้ายทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อเพ่ิม รายไดใ้ หก้ บั ตนเองและจุนเจือครอบครวั เพ่ิมขึน้ จำนวน 4 คน ได้แก่ นางประทมุ ทองระอา,นางธัญลักษณ์ เฉลิม, นางอญั ชลี ลอ้ มวงษ์ สรปุ ไดด้ งั นี้ ประกอบอาชีพ จำนวน 3 คน เพิ่มรายได้ จำนวน 3 คน รวมทั้งส้นิ 6 คน 8. กศน.ตำบลหนองเหียง 1.) เป็นตัวอยา่ งที่ดี หลักสูตรการประดิษฐผ์ ลติ ภัณฑจ์ ากวสั ดุเหลือใช้ โดยนำความรู้จากการศึกษาเรียนรู้การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ จัดทำสินค้าจำหน่าย เช่น ตะกร้า กระจาดใส่ของจากกระป๋องเบยี ร์ เพ่ือประกอบอาชีพไดส้ ร้างรายไดใ้ ห้กับตนเองและครอบครวั จำนวน 1 คน ไดแ้ ก่ นางวิไลวรรณ อาศัย 2.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การสานตะกร้าไหมฟางลายองุ่น โดยได้นำความรู้ด้านการสาน ตะกร้าไหมฟางลายองุ่นทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครัวเพิ่มขึ้น จำนวน 1 คน ได้แกน่ างสาวนติ ยา มัตโิ ก 3.) เปน็ ตวั อยา่ งท่ดี ี หลกั สตู รการประดิษฐผ์ ลิตภัณฑ์จากวสั ดเุ หลือใช้ โดยนำความรู้จาก

88 การศึกษาเรียนรกู้ ารประดษิ ฐ์ผลิตภณั ฑจ์ ากวสั ดุเหลือใช้ มาทำของใชใ้ นครัวเรือน เชน่ ตะกร้า กระจาดใส่ของ เป็น ต้น เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 4 คน ได้แก่ นางสาวทวี สิริจรรยาบรรณ,นางนาง เปลี่ยนศรี,นางสาวดลพร เชื้อวงษ์, นางระเบยี บ ถิ่นทวี สรุปไดด้ งั น้ี ประกอบอาชีพ จำนวน 1 คน เพ่มิ รายได้ จำนวน 1 คน ลดรายจา่ ย 4 คน รวมท้ังสนิ้ 6 คน 9. กศน.ตำบลโคกเพลาะ 1.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร วิชาการสานตะกร้าไหมฟาง โดยได้นำ ความรู้ไปพัฒนาอาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันเป็นอาชีพที่มีรายได้จุนเจือครอบครัวทำให้ครอบครัวมี ความสุขในการดำเนินชีวิตครอบครัว จำนวน 1 คน ได้แก่ นางสาวนงนุช สุรินทร์ 2.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การสานตะกร้าไหมฟาง โดยไดน้ ำความรูด้ ้านการสานตะกร้าไหมฟางทำเปน็ อาชีพเสริมเพอ่ื เพม่ิ รายได้ให้กับตนเอง และจุนเจือครอบครัวเพิ่มขึ้น จำนวน 1 คน ได้แก่ นางศรีนวล หน่ายคอน 3.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรการ ประดิษฐ์ผลิตภัณฑจ์ ากวสั ดุเหลือใช้ โดยนำความรู้จากการศึกษาเรียนรู้การประดษิ ฐ์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลอื ใช้มา ทำของใช้ในครัวเรือน เช่น ตะกร้า กระจาดใส่ของ เป็นต้น เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางสอิ้ง ดีศรี นางสาวอำพล พิทักษ์พรชัยกุล 4.) เป็นตัวอย่างทีด่ ี หลักสูตรวิชาการทำกระเป๋าหนังเย็บด้วยมือโดยนำความรูจ้ าก การศึกษาเรียนรูก้ ารประดิษฐ์กระเป๋าหนงั เย็บด้วยมือใช้เองเอง เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางนิศารัตน์ ดีศรี,นางจารุนีย์ สิทธิยศ สรุปได้ดังนี้ ประกอบอาชีพ จำนวน 1 คน เพิ่มรายได้ จำนวน 1 คน ลดรายจ่าย 4 คน รวมทง้ั ส้ิน 6 คน 10. กศน.ตำบลทุ่งขวาง 1.)เปน็ ตัวอยา่ งที่ดี หลักสตู ร การถักเสอื้ ไหมพรมดว้ ยโครเชต์ โดยนำ ความร้จู ากการศึกษาการถกั เสอื้ ไหมพรมด้วยโครเชต์ นำมาเปน็ อาชีพเสรมิ เพ่ือเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือ ครอบครัว จำนวน 2 คน ได้แก่ นางนพวรรณ ประพนั ธ์,นางสาวเจนจริ า จารุรัตนานนท์ 2.)เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี หลักสตู ร การถกั เสื้อไหมพรมดว้ ยโครเชต์ โดยนำความร้จู ากการศึกษาการถักเสอื้ ไหมพรมดว้ ยโครเชต์ นำมาเป็นถักเสอ้ื ให้กบั ตนเองและคนในครอบครัว เพ่ือลดรายจา่ ย จำนวน 4 คน ไดแ้ ก่ นางนารนิ ทร์ สรุ กลุ ,นางน้องน้อย แก้วทอง, นางชูศรี เพชรพนั ล้าน,นางรำพงึ บวรศรมี กุ ดา สรปุ ได้ดงั น้ี เพมิ่ รายได้ จำนวน 2 คน ลดรายจา่ ย จำนวน 4 คน รวมทั้งส้ิน 6 คน 11. กศน.ตำบลหมอนนาง 1.)เป็นตวั อย่างท่ีดี หลักสตู ร อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม โดยนำความรู้ จากการศึกษาการทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม นำมาเป็นอาชีพเสริมรับทำเป็นอาหารว่างในการอบรมงานต่าง ๆ เพื่อเพิม่ รายได้ให้กบั ตนเองและจุนเจือครอบครัว จำนวน 2 คน ไดแ้ ก่ นางแพงศรี ประทีปจรัสแสง, นางสาวอรณุ วดี แซต่ ๊ัง 2.)เป็นตัวอย่างท่ีดี หลกั สตู ร การทำอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม โดยนำความรู้จากการศึกษา การทำอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื ทำรับประทานเองและคนในครอบครวั เพ่อื ลดรายจ่าย จำนวน 2 คน ไดแ้ ก่ นางนิตยา บุญชุ่ม, นางสายรุ้ง โยธา 3.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การแปรรูอาหารจากเนื้อสัตว์(เนื้อไก่) โดยนำ ความรู้จากการศึกษาการแปรรูอาหารจากเนื้อสัตว์(เนื้อไก่) ทำรับประทานเองกับคนในครอบครัว เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางอุทัย จึงสุนทรกุล,นางบุญที บุญญา สรุปได้ดังน้ี เพิ่มรายได้ จำนวน 2 คน ลดรายจ่าย จำนวน 4 คน รวมท้ังสนิ้ 6 คน

89 12. กศน.ตำบลสระสเี่ หลี่ยม 1.)เปน็ ตัวอย่างท่ีดี หลกั สูตร การสานเสน้ พลาสติก โดยนำความรู้ จากการศึกษาการสานเส้นพลาสติก รับทำในรูปแบบต่างๆ เช่นตะกร้า เป็นต้น ตามความต้องการเป็นอาชีพเสริม เพ่อื เพิม่ รายได้ใหก้ ับตนเองและจุนเจือครอบครวั จำนวน 2 คน ไดแ้ ก่ นางสาวพนิ จิ มาสุข,นางสาวสมพร หม่นื ยุทธ 2.)เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การทำกาแฟโบราณ โดยนำความรู้จากการศึกษาการชงกาแฟโบราณ ทำขายเป็น อาชีพเสริม เพือ่ เพ่ิมรายได้ใหก้ บั ตนเองและจุนเจือครอบครวั จำนวน 1 คน ได้แก่ นางสำเภา หนเู สริม 3.)เป็นตัวอย่างทดี่ ี หลักสตู ร การแปรรูปอาหาร โดยนำความรจู้ ากการศึกษาการแปรรูปอาหาร ทำรับประทานเอง กับคนในครอบครัว เช่น การทำฮ้อยจ้อ เพอื่ ลดรายจา่ ย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางสมบรู ณ์ คำพนู ,นางสาวแปง้ หอม โตทมิ สรปุ ได้ดงั นี้ เพ่มิ รายได้ จำนวน 3 คน ลดรายจ่าย จำนวน 2 คน รวมท้งั ส้นิ 5 คน 13. กศน.ตำบลวัดโบสถ์ 1.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตรการทำอาหารและขนม โดยนำความรู้ จากการศึกษาการทำอาหารและขนม มาจัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพทำให้เกิดเป็นอาชีพให้กับสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 3 คน ไดแ้ ก่ นางถวลั รตั น์ วุฒิไตรรัตน์,นางสำลี ทรพั ย์ประสงค์,นางสำเนยี ง ทองสนธิ 2.) เปน็ ตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การเดินเส้นลายทองบนผ้า โดยนำความรู้จากการศึกษาการเดินเส้นลายทองบนผ้า มาจัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพทำให้ เกิดเป็นอาชีพให้กับสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 2 คน ได้แก่ นางอาภรณ์ ศรีเมฆ,นางสาวพิมพ์ แก่นนาค 3.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การทำอาหารและขนม โดยนำความรู้จากการทำอาหารและขนม นำมาเป็นอาชีพ เสริมรับทำเป็นอาหารว่างในการอบรมงานต่างๆเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครัว จำนวน 1 คน ได้แก่ นางเฉลา น้ำฟา้ สรุปได้ดังน้ี ประกอบอาชีพ จำนวน 5 คน เพม่ิ รายได้ จำนวน 1 คน รวมทั้งสิน้ 6 คน 14. กศน.ตำบลท่าข้าม 1.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การสานตะกร้าไหมฟาง โดยได้นำความรู้ ด้านการสานตะกร้าไหมฟาง ทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครัวเพิ่มขึ้น จำนวน 2 คน ได้แก่ นางเคลือวัลย์ ทองฤทธิ์,นางสาวพจนา อินกลัด 2.) เป็นตัวอยา่ งที่ดี หลักสูตร การทำอาหารและขนม โดยนำความรู้จากการทำอาหารและขนม นำมาเป็นอาชีพเสริมรับทำเป็นอาหารว่างในการอบรมงานต่าง ๆ และ วางขายตามตลาดนัดในชมุ ชนเพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครวั จำนวน 2 คน ได้แก่ นางสาวสุดใจ พาแกว้ ,นางสาวนิตยา ศรีวเิ ศษ 3.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลกั สตู ร การทำค่ัวกลิ้งปลา โดยนำความรจู้ ากการทำค่ัวกล้ิง ปลานำมาเป็นอาชีพเสริมทำวางขายตามตลาดนัดในชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครัว จำนวน 1คน ได้แก่ นางอำนวย ไหมทอง 4.) เป็นตวั อย่างท่ีดี หลักสตู ร การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า โดยนำความรู้ จากการศึกษาการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ไว้รับประทานเองกับคนในครอบครัว เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 1 คน ได้แก่ นายสเุ ชาว์ ทองเหลอื ง สรปุ ไดด้ งั นี้ เพม่ิ รายได้ จำนวน 5 คน ลดรายจา่ ย จำนวน 1 คน รวมท้ังส้ิน 6 คน 15. กศน.ตำบลหัวถนน 1.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การสานตะกร้าไหมฟาง โดยได้นำความรู้ ด้านการสานตะกร้าไหมฟางทำเป็นอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและจุนเจือครอบครั วเพิ่มขึ้น จำนวน 2 คน ไดแ้ ก่ นางสาวสายฝน จันทุมมี,นางสาวสุมาลา หนูคง 2.) เปน็ ตวั อย่างทด่ี ี หลักสตู ร การแปรรปู เห็ดนางฟ้า โดยนำความรู้จากการแปรรูปเห็ดนางฟ้า นำมาเป็นอาชีพเสริมวางขายตามตลาดนดั ในชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ ตนเองและจุนเจือครอบครัว จำนวน 1 คน ได้แก่ นางสุกัญญา ภู่ภูษิต 3.) เป็นตัวอย่างที่ดี หลักสูตร การแปรรูป