Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน 2565_compressed

คู่มือนักเรียน 2565_compressed

Published by pyizone.myint, 2022-05-16 18:34:52

Description: คู่มือนักเรียน 2565_compressed

Search

Read the Text Version

ข้อ ๗ ทรงผม นักเรียนต้องปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไว้ทรงผม ดังนี้ ๗.๑ นักเรียนชาย จะไว้ผมสั้นหรือยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลังต้องยาวไม่เลยตีนผม ด้านหน้าและกลาง ศีรษะให้เป็นไปตามความเหมาะสม และมีความเรียบร้อย ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามความเหมาะสม และมีความเรียบร้อย โดยยึดหลักความเหมาะสมในการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี ของนักเรียน ทรงผมของนักเรียนชายด้านหน้าปลายผมจะต้องยาวไม่ถึงคิ้ว และไม่ไว้จอน ๗.๒ นักเรียนหญิง จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม และรวบให้เรียบร้อย ๗.๓ นักเรียนต้องห้าม ดัดผม ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม ไว้หนวดหรือเครา หรือการกระทำ�อื่นใดซึ่งไม่เหมาะสมกับ สภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรงสัญลักษณ์ หรือเป็นลวดลาย ข้อ ๘ เครื่องประดับ เครื่องประดับผมนักเรียนหญิงสามารถ ใช้ที่คาดผม สิ่งที่ติดผมสีสุภาพ โดยกำ�หนด ๔ สี คือ ดำ� ขาว น�ำ้ ตาล นำ้�เงนิ เท่านั้น โดยมีขนาดที่เหมาะสม และไม่มีลวดลาย ห้ามใช้เครื่องประดับเพื่อความสวยงามทุกชนิด อาทิ สร้อยคอ แหวน กำ�ไล ต่างหู แว่นกันแดด เครื่องประดับที่อนุโลมให้ใช้ได้ คือ นาฬิกาข้อมือ ให้ใช้แบบที่สุภาพและราคาพอเหมาะกับสภาพนักเรียน สร้อย คอที่ทำ�ด้วยเงินหรือสแตนเลส ต้องใส่ซ่อนไว้ในเสื้อ ส่วนสร้อยคอ แหวนหรือกำ�ไลที่ทำ�ด้วยทองคำ�ไม่อนุญาตให้สวมใส่ ต่างหูขอให้เป็น แบบห่วงหรือหมุด ข้างละหนึ่งรูบริเวณติ่งหู ที่ดูเรียบร้อย ส่วนนักเรียนชายห้ามใส่ต่างหู / แว่นตา (แว่นสายตา) เป็นแบบที่สุภาพ กรณีนักเรียนต้องการจะสวมใส่สิ่งของซึ่งเป็นความเชื่อทางศาสนาไม่มีลักษณะเห็นเด่นชัดต้องขออนุญาตเป็น ลายลักษณ์อักษรที่สำ�นักงานกิจการนักเรียน โดยจะพิจารณาอนุมัติเป็นราย ๆ ไป ข้อ ๙ เครื่องแบบนักเรียนพลศึกษา เป็นเครื่องแบบที่โรงเรียนกำ�หนดขึ้นเพื่อความเหมาะสมในการเรียนพลศึกษาและใช้ใน เวลาเล่นกีฬา ทั้งนักเรียนหญิงและชาย ดังนี้ กางเกง ใช้กางเกงวอร์มสีกรมท่า มีแถบสีชมพู เสื้อ ใช้เสื้อยืดคอปกแขนสั้นสีชมพู ที่คอเสื้อและปลายแขนมีแถบสีตามสีที่นักเรียนสังกัดที่หน้าอกเสื้อมี เครื่องหมายพระเกี้ยว รองเท้า ใชร้ องเท้าผ้าใบ สขี าวล้วน ไม่มลี วดลาย หรอื รองเทา้ เฉพาะกฬี าแตล่ ะประเภท เช่น ฟตุ บอล รกั บ ้ี เป็นต้น ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าสีขาว ไม่มีลวดลาย ลายปัก หรือเครื่องหมายใด ๆ ไม่มีสีอื่นปน โดยมีความยาวจากตาตุ่มขึ้นไป สุดปลายถุงเท้า อยู่ระหว่าง ๒ - ๓ นิ้ว ข้อ ๑๐ เครื่องแบบนักศึกษาวิชาทหาร ให้นักเรียนปฏิบัติตามระเบียบการแต่งกายของนักศึกษาวิชาทหารตามข้อตกลงของผู้กำ�กับนักศึกษาวิชาทหาร 151

ข้อ ๑๑ เครื่องแบบลูกเสือเนตรนารี ให้นักเรียนปฏิบัติตามระเบียบการแต่งกายของลูกเสือเนตรนารี ข้อ ๑๒ เครื่องหมายสภานักเรียนเป็นเครื่องหมายที่โรงเรียนกำ�หนดให้เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แสดงการเป็นกรรมการ สภานักเรียน มีลักษณะเป็นเข็มรูปตราพระเกี้ยวติดที่หน้าอกเสื้อด้านขวาเหนือชื่อ ซึ่งนักเรียนต้องติดด้านเดียวกับชื่อของ นักเรียนตลอดปีการศึกษาและห้ามมิให้บุคคลอื่นที่มิใช่กรรมการสภานักเรียนขอยืมไปติด ข้อ ๑๓ เครื่องหมายบำ�เพ็ญประโยชน์ เป็นเครื่องหมายแสดงว่าเป็นลูกเสือหรือเนตรนารีที่ได้บำ�เพ็ญประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม คือ ทั้งแก่โรงเรียนและกิจการลูกเสือ เนตรนารี ข้อ ๑๔ เสื้อสามารถของนักกีฬาของโรงเรียน เป็นเสื้อชุดสากลสีกรมท่า ปักเครื่องหมายของโรงเรียนและข้อความว่า “นักกีฬาเสื้อสามารถของโรงเรียน” ที่กระเป๋าด้านซ้าย ให้สวมทับชุดเครื่องแบบนักเรียนหรือใช้สวมเข้ากับชุดสากล ข้อ ๑๖ ผู้ที่ฝ่าฝืนระเบียบ จะถูกลงโทษตามระเบียบของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการลงโทษ นักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๗ บรรดากฎ ระเบียบ แนวทางปฏบิ ตั ิ หรอื คำ�สงั่ ใด ๆ ท่ีออกตามระเบยี บโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยเครื่องแบบและการแต่งกายของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ยังคงมีผลใช้บังคับได้ ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบฉบับนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข) ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ 152

เครอ่ื งแตง่ กายของนกั เรยี นโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยม เครอ่ื งแบบนักเรียนหญงิ เครื่องแบบนักเรียนชาย 153

เครื่องแบบพลศกึ ษา เครอ่ื งแบบลูกเสือ เคร่ืองแบบเนตรนารี เคร่อื งแบบนกั ศกึ ษาวิชาทหาร 154

แนวปฏิบตั ิการไว้ทรงผมของนกั เรียน ตามระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยเครื่องแบบ และการแต่งกายของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๗ ข้อย่อย ๗.๑ ทรงผม นักเรียนชาย จะไว้ผมสั้นหรือยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลังต้องยาว ไม่เลยตีนผม ด้านหน้า และกลางศีรษะให้เป็นไปตามความเหมาะสมและมีความเรียบร้อย ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามความ เหมาะสม และมีความเรียบร้อย โดยยึดหลักความเหมาะสม ในการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีของนักเรียน ทรงผมของนักเรียน ชายด้านหน้าปลายผมจะต้องยาวไม่เกินคิ้ว และไม่ไว้จอน ข้อย่อย ๗.๒ นักเรียนหญิง จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม และรวบให้เรียบร้อย และข้อย่อย ๗.๓ นักเรียนต้องห้าม ดัดผม ย้อมสีผมให้ผิดไปจาก เดิม ไว้หนวดหรือเครา หรือการกระทำ�อื่นใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่งทรงผมเป็นรูปทรง สัญลักษณ์ หรือเป็นลวดลาย ดังนั้น ในการพิจารณาการไว้ทรงผมของนักเรียนตามระเบียบดังกล่าว เพื่อให้มีความชัดเจน และเกิดความเข้าใจที่ตรงกัน และถือปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันระหว่างอาจารย์ นักเรียน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง จึงเห็นสมควรออกแนวปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ความยาวผมด้านหน้าของนักเรียนชายที่กำ�หนดให้ปลายผมจะต้องยาวไม่เกินคิ้ว พิจารณาจาก กรณีที่ปล่อยผมตามธรรมชาติ ไม่ต้องใช้มือกด หรือดึงผมให้ต่ำ�ลงมา ๒. นักเรียนชายห้ามใช้อุปกรณ์ตกแต่งทรงผม เช่น ยางรัดผม ที่คาดผม และสิ่งติดผม เป็นต้น ๓. นักเรียนชายห้ามกันผม กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง และด้านหลังต้องยาวไม่เลยตีนผม การแสกผม ให้เป็นไปตามความเหมาะสม และมีความเรียบร้อย ๔. นักเรียนหญิงที่ไว้ผมยาวจะต้องรวบ หรือถักเปียให้เรียบร้อย และทรงผมไม่ควรปิดบังใบหน้า ๕. ไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อตกแต่งทรงผมทุกชนิด เช่น เจล มูส สเปรย์ และแว็กซ์ เป็นต้น ๖. กรณีที่นักเรียนดัดผม หรือย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม จะต้องดำ�เนินการแก้ไขโดยการยืดผม หรือย้อมสีผมกลับคืนให้เป็นปกติภายในระยะเวลาที่กำ�หนด 155

ระเบียบโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยมธั ยม ว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยที่ระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยมว่าด้วยการลงโทษนักเรียน พ.ศ.๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน สาระสำ�คัญและรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการป้องปรามและป้องกัน ให้นักเรียน ทุกคนใช้ชีวิตในโรงเรียนอย่างสันติสุข ไม่รบกวนและล่วงเกินสิทธิของผู้อื่น ยังไม่เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบันดังนั้นเพื่อให้เกิดความ เป็นระเบียบเรียบร้อยของส่วนรวมของนักเรียน มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบันตลอดจนเพื่อให้นักเรียนรู้จักประพฤติ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในทางที่ควร จึงสมควรปรับปรุงและให้ตราเป็นระเบียบใช้บังคับดังต่อไปนี้ ทั้งนี้โดยยึดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นแนวทาง ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบยี บนเี้ รียกวา่ “ระเบยี บโรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมัธยม ว่าด้วยการลงโทษนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๓” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่มีอยู่เดิม หรือคำ�สั่งอื่นใดที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ และให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “ผู้อำ�นวยการและรองคณบดี” หมายถึง ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และ รองคณบดีคณะครุศาสตร์ “รองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียน” หมายถึง รองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน” หมายถึง คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อกำ�หนดนโยบาย มาตรการต่างๆ ในการป้องปราม แก้ไข และพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รวมทั้งให้ มีอำ�นาจหน้าที่ในการพิจารณาลงโทษ และ ตัดคะแนนความประพฤติ “อาจารย์” หมายถึง อาจารย์ที่สอนอยู่ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “นักเรียน” หมายถึง นักเรียนปัจจุบันของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “ผู้ปกครอง” หมายถึง ผู้ที่ได้ลงชื่อเป็นผู้ปกครองนักเรียนในเอกสารมอบตัวนักเรียนที่ให้ไว้กับทางโรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ใหร้ องผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น เปน็ ผรู้ กั ษาการตามระเบยี บน ้ี ในกรณที ม่ี ปี ญั หาเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บน ้ี ใหผ้ อู้ �ำ นวยการโรงเรยี นเปน็ ผวู้ นิ จิ ฉยั ชข้ี าด 156

ข้อ ๕ นักเรียนที่ประพฤติขัดต่อระเบียบของโรงเรียน ต่อไปนี้ ถือว่ามีความผิด ต้องถูกลงโทษ ๕.๑ ระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติตนของนักเรียน ๕.๒ ระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบและการแต่งกาย ๕.๓ ระเบียบของโรงเรียนอื่นใดที่ตราขึ้นก่อนหรือหลังระเบียบนี้และมีบทลงโทษนักเรียนที่ฝ่าฝืน ข้อ ๖ นักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบตามข้อ ๕ จะได้รับโทษในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ๖.๑ อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน ๖.๒ ทำ�ทัณฑ์บน ๖.๓ ตัดคะแนนความประพฤติ ๖.๔ ทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ ๗ ขั้นตอนในการรับโทษตามข้อ ๖ มีดังนี้ ๗.๑ ว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนกระทำ�ความผิดไม่ร้ายแรง ๗.๒ การทำ�ทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียนที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน หรือกรณีทำ� เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของโรงเรียน หรือฝ่าฝืนระเบียบของโรงเรียน หรือได้รับโทษ ว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่ยังไม่เข็ดหลาบ การทำ�ทัณฑ์บนให้ทำ�เป็นหนังสือและเชิญบิดามารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิดและรับรองการทำ�ทัณฑ์บนไว้เป็นลายลักษณ์อักษรด้วย ๗.๓ การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ นักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และให้ทำ�บันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ๗.๔ การทำ�กิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้ในกรณีที่นักเรียนกระทำ�ความผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เช่น การกระทำ�ความผิดอยู่ซ้ำ� ๆ บ่อย ๆ การทำ�ความผิดร้ายแรง ข้อ ๘ การพิจารณาลงโทษ จะพิจารณาตามระดับความผิด หากเป็นความผิดขั้นร้ายแรง เป็นโทษภัยหนักหนาสาหัสต่อส่วนรวม อาจพิจารณาให้ลาออก หรือคัดชื่อออก โดยไม่ต้องผ่านการลงโทษตามขั้นตอนลำ�ดับ ข้อ ๙ ความผิดร้ายแรง ได้แก่ ความผิดที่นำ�ความเสื่อมเสียมาสู่โรงเรียนและส่วนรวมอย่างร้ายแรงหรือเป็นความผิดตามประมวล กฎหมายอาญาหรือเป็นความผิดที่กระทบกระเทือนต่อระเบียบวินัย หรือศีลธรรมอันดีงามของส่วนรวม ดังนี้ ๙.๑ ก่อการทะเลาะวิวาทจนนำ�มาซึ่งการแตกแยกสามัคค ี ๙.๒ พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิดมาโรงเรียน ๙.๓ แสดงตนเป็นนักเลงอันธพาล หรือทำ�ร้ายร่างกายผู้อื่น จนเป็นความทางอาญา ๙.๔ ลักขโมย ทั้งในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียนในสภาพนักเรียน ๙.๕ เล่นการพนัน ๙.๖ ทำ�ลายทรัพย์สินส่วนรวม หรือของผู้อื่นให้เสียหายโดยเจตนา ๙.๗ ดื่มสุราหรือเสพสิ่งเสพติด หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสุราหรือสิ่งเสพติด ๙.๘ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพความเป็นนักเรียน ๙.๙ ทุจริตในการสอบ ๙.๑๐ ขัดค�ำ ส่ังของโรงเรียนในเร่ืองระเบียบวินัยและความสงบเรียบรอ้ ยของส่วนรวมหรือความผิดท่ีเข้าขัน้ ร้ายแรงอืน่ ๆ 157

ข้อ ๑๐ อาจารย์ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ทุกคนมีสิทธิในการว่ากล่าวตักเตือนหรือลงโทษ นักเรียนที่มีอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ เพื่ออบรมบ่มนิสัยให้นักเรียนทุกคนเป็นคนดี เป็นพลเมืองที่ดีของสังคมตั้งแต่เบื้องต้นและบันทึก แจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อฝ่ายกิจการนักเรียนในกรณีที่สำ�คัญ เพื่อบันทึกพฤติกรรมลงประวัตินักเรียนต่อไป ข้อ ๑๑ ความผิดในขั้นร้ายแรง ให้อาจารย์ประจำ�ชั้น หัวหน้าระดับชั้น และอาจารย์ผู้สอนกิจกรรมแนะแนว ร่วมกับอาจารย์ ฝ่ายกิจการนักเรียนหรือผู้อำ�นวยการโรงเรียนในกรณีสำ�คัญ ร่วมกันพิจารณาลงโทษ ข้อ ๑๒ คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนจะเป็นผู้พิจารณาความผิดอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุว่าเป็นความผิดร้ายแรง ตามควรแก่กรณี หากเห็นว่าเข้าขั้นเป็นความผิดร้ายแรง จะพิจารณาโทษสถานหนักก็ได้ ข้อ ๑๓ นักเรียนที่เคยทำ�ความผิดมาแล้วถ้ายังทำ�ผิดซ้ำ�อีก อาจถูกลงโทษเพิ่มหรือหนักขึ้นตามสมควรแก่กรณี ข้อ ๑๔ บรรดากฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ หรือคำ�สั่งใด ๆ ที่ออกตามระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่า ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบฉบับนี้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข) ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ 158

ระเบียบปฏิบัตวิ ่าด้วยการตดั คะแนนความประพฤตินักเรยี น โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามที่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ได้ออกระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๑ ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว สาระสำ�คัญและรายละเอียดเกี่ยวกับการตัดคะแนนความประพฤติยังไม่เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อที่จะให้นักเรียนมี ความตั้งใจเล่าเรียน มีความประพฤติเรียบร้อย แต่งกายถูกระเบียบ สุภาพเรียบร้อย เหมาะสมเป็นนักเรียนที่ดี ตลอดจนรู้จักประพฤติ ปฏิบัติตนให้ถูกต้องในทางที่ควร และเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของโรงเรียน จึงเป็นการสมควรกำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตัดคะแนนความประพฤติเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องและชัดเจนต่อนักเรียน คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ในการประชุม เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงมีมติให้มีการวางระเบียบว่าด้วย การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนฉบับนี้ขึ้นไว้ ทั้งนี้ โดยยึดระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่ระบุว่า “การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำ�หนด และให้ทำ�บันทึก ข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน” เป็นแนวทางการปฏิบัติต่อไป ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๓” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่มีอยู่เดิม หรือค�ำ สั่งอ่ืนใดที่ขัดแยง้ กับระเบยี บนีแ้ ละให้ใชร้ ะเบียบนีแ้ ทน ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “ผู้อำ�นวยการและรองคณบดี” หมายถึง ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และ รองคณบดีคณะครุศาสตร์ “รองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียน” หมายถึง รองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน” หมายถึง คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งเพื่อกำ�หนดนโยบาย มาตรการต่าง ๆ ในการป้องปราม แก้ไข และพัฒนาพฤติกรรมนักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รวมทั้งให้ มีอำ�นาจหน้าที่ในการพิจารณาลงโทษ และ ตัดคะแนนความประพฤติ “อาจารย์” หมายถึง อาจารย์ที่สอนอยู่ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “นักเรียน” หมายถึง นักเรียนปัจจุบันของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “ผู้ปกครอง” หมายถึง ผู้ที่ได้ลงชื่อเป็นผู้ปกครองนักเรียนในเอกสารมอบตัวนักเรียนที่ให้ไว้กับทางโรงเรียนสาธิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม “ความผดิ ” หมายความว่า การกระท�ำ ใด ๆ ท่ีขัดต่อระเบียบ ข้อบังคับ ค�ำ สัง่ ของโรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝ่ายมธั ยม 159

“ความผิดไม่ร้ายแรง” หมายความว่า การกระทำ�ใด ๆ ดังต่อไปนี้ ๑. การกระทำ�ผิดระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบ และการแต่งกายของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒. การปฏิบัติตนของนักเรียนที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ ๒.๑ การมาโรงเรียนสาย ๒.๒ การใช้สื่อ หรืออุปกรณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนในเวลาที่ไม่เหมาะสม ๒.๓ การไม่รักษามารยาท ๒.๔ การไม่ให้ความร่วมมือในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ๒.๕ ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน “ความผิดร้ายแรง” หมายความว่า การกระทำ�ใด ๆ ดังต่อไปนี้ ๑. การเสพ การครอบครองสิ่งเสพติด และการเกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด ๒. การแสดงตนเป็นอันธพาล หรือก่อเหตุทะเลาะวิวาท ๓. การลักขโมยทรัพย์ของผู้อื่น ทั้งในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน ๔. การละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น ๕. การเผยแพร่ภาพหรือข้อความที่ไม่เหมาะสม ในพื้นที่สาธารณะ ๖. การปลอมแปลงเอกสารของทางโรงเรียน หรือเอกสารของทางราชการ ๗. การเล่นการพนัน หรือครอบครองอุปกรณ์ที่ใช้เล่นการพนัน ๘. การพกพาอาวุธอันตราย หรือวัตถุระเบิดมาโรงเรียน ๙. การทำ�ลายทรัพย์สินส่วนรวม หรือของผู้อื่นให้เสียหายโดยเจตนา ๑๐. การกระทำ�โดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ หรือทรัพย์สินเสียหาย ๑๑. การทุจริตในการสอบ ๑๒. การหนีเรียนหลบเลี่ยงไม่เข้าชั้นเรียน ไม่เข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียน ๑๓. การยั่วยุให้เกิดการแตกแยกรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายต่อร่างกาย ชื่อเสียงและทรัพย์สิน ๑๔. การแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวไม่เคารพต่ออาจารย์ และบุคลากร ๑๕. การก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงของโรงเรียน ๑๖. การไม่เชื่อฟัง หรือไม่ปฏิบัติตามการเตือน ทำ�ความผิดซ้ำ�ในกรณีเดิมบ่อยครั้ง และ/หรือไม่ทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ เพื่อปรับพฤติกรรมตามระยะเวลาที่กำ�หนด ๑๗. ความผิดร้ายแรงอื่น ๆ ให้เป็นไปตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน “การบันทึกความผิด” หมายความว่า การลงบนั ทึกขอ้ มลู ความผิดของนกั เรยี น ในแบบบนั ทึกนักเรียนทีก่ ระทำ�ผดิ ระเบียบโรงเรียน “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนที่กระทำ�ความผิด โดยมีความมุ่งหมายเพื่อ การอบรมสั่งสอน “การปรับพฤติกรรม” หมายความว่า การอบรม หรือว่ากล่าวตักเตือน การบำ�เพ็ญประโยชน์ หรือการทำ�กิจกรรมเพื่อปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม “การทำ�ทัณฑ์บน” หมายความว่า การทำ�หนังสือสัญญาระหว่างโรงเรียน และผู้ปกครองเพื่อควบคุมความประพฤติของนักเรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียน “คะแนนความประพฤติ” หมายความว่า คะแนนเรื่องการประพฤติ หรือการปฏิบัติตนของนักเรียนแต่ละคน “การบำ�เพ็ญประโยชน์” หมายความว่า การปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์เพื่อพัฒนาตนเอง และสังคมส่วนรวม “การทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม” หมายความว่า การบำ�เพ็ญประโยชน์ภายนอกโรงเรียน ในที่สาธารณะ เช่น โรงพยาบาล, วัด, สถานที่ทางศาสนา เป็นต้น ให้รองผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการนักเรียนเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้มติใด ๆ ของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน โดยความเห็นชอบของผู้อำ�นวยการและ รองคณบดีถือเป็นเด็ดขาด ข้อ ๕ นักเรียนทุกคนจะมีคะแนนความประพฤติ ตลอดระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) ๑๐๐ คะแนน และตลอด ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖) ๑๐๐ คะแนน โดยจะไม่นำ�มาคิดรวมกัน 160

ข้อ ๖ การตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน จะทำ�ได้ในกรณีต่อไปนี้ ๖.๑ พบว่านักเรียนกระทำ�ความผิดไม่ร้ายแรง และเคยถูกอบรมหรือว่ากล่าวตักเตือนในความผิดนั้นมาแล้ว ๖.๒ พบว่านักเรียนกระทำ�ความผิดร้ายแรง ข้อ ๗ การตัดคะแนนความประพฤติจะดำ�เนินการตามลำ�ดับความรุนแรงของการกระทำ�ความผิดของนักเรียน ๗.๑ การทำ�ความผิดไม่ร้ายแรง จะตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละ ๑ – ๓ คะแนน ดังนี้ ๑) การกระทำ�ผิดระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบ และการแต่งกายของนักเรียน พ.ศ. ๒๕๖๓ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑ คะแนน / กรณีความผิด ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๑.๑) ทรงผม การทำ�สีผม หนวด เครา และจอน ๑.๒) ต่างหู/ยางรัดผม/เครื่องประดับ ๑.๓) เสื้อ กางเกง กระโปรง เข็มขัด ๑.๔) รองเท้า ถุงเท้า ๑.๕) เล็บมือ ๑.๖) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๒) การปฏิบัติตนของนักเรียนที่ไม่เหมาะสม ตัดคะแนนความประพฤติ ๒ – ๓ คะแนน ดังนี้ ๒.๑) การมาโรงเรียนสาย การมาสายทุก ๘ ครั้ง ตัดคะแนนความประพฤติ ๒ คะแนน ๒.๒) การไม่รักษามารยาท ตัดคะแนนความประพฤติ ๒ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๒.๒.๑) การไม่รักษามารยาทการเข้าห้องประชุม และห้องสมุด ๒.๒.๒) การไม่รักษามารยาทการทำ�กิจกรรมหน้าเสาธง ๒.๒.๓) การพูดจาไม่สุภาพ หรือพูดจาหยาบคาย หรือใช้ถ้อยคำ�ที่ไม่เหมาะสม ๒.๒.๔) การไม่เก็บภาชนะในการรับประทานอาหารในโรงเรียน ๒.๒.๕) การวิ่งเล่น หรือตะโกนเสียงดัง ทำ�ให้รบกวนผู้อื่น หรือรบกวนการเรียนการสอน ๒.๒.๖) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๒.๓) การใช้สื่อหรืออุปกรณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนในเวลาที่ไม่เหมาะสม ตัดคะแนนความประพฤติ ๓ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๒.๓.๑) การใช้อุปกรณ์สื่อสาร และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในเวลาเรียน หรือกิจกรรมต่าง ๆของทางโรงเรียน หรือเวลาสอบโดยไม่ได้รับอนุญาต ๒.๓.๒) การอ่านการ์ตูน หรือนิตยสารอื่นใดที่ไม่ใช่เอกสารประกอบการเรียน ในเวลาเรียน หรือกิจกรรม ต่าง ๆ ของทางโรงเรียน โดยไม่ได้รับอนุญาต ๒.๓.๓) การเล่นเกม หรือการ์ดเกม ในเวลาเรียน หรือกิจกรรมต่าง ๆของทางโรงเรียน โดยไม่ได้รับอนุญาต ๒.๓.๔) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน 161

๒.๔) การไม่ให้ความร่วมมือในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ตัดคะแนนความประพฤติ ๓ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ� เกี่ยวกับ ๒.๔.๑) การไม่เชื่อฟัง หรือไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ที่เหมาะสมของอาจารย์ทุกท่านในโรงเรียน ๒.๔.๒) การนำ�เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดมาใช้ในโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต ๒.๔.๓) การนำ�อาหาร และเครื่องดื่มออกนอกบริเวณโรงอาหาร ๒.๔.๔) การก่อกวนหรือไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมอื่น ๆ ของโรงเรียน ๒.๔.๕) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๗.๒ การทำ�ความผิดร้ายแรง จะตัดคะแนนความประพฤติ ครั้งละ ๑๐ – ๘๐ คะแนน ดังนี้ ๑) การเสพ การครอบครองสิ่งเสพติด และการเกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด ๑.๑) สิ่งเสพติดให้โทษทั่วไป ได้แก่ บุหรี่ และเครื่องดื่มมึนเมา ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่ นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๑.๑.๑) การครอบครองสิ่งเสพติดให้โทษทั่วไป ๑.๑.๒) การเสพสิ่งเสพติดให้โทษทั่วไป ๑.๑.๓) การเกี่ยวข้องยุยงส่งเสริมบุคคลอื่นให้มีการเสพ การครอบครองสิ่งเสพติดให้โทษทั่วไป ๑.๑.๔) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๑.๒) สิ่งเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๑.๒.๑) การครอบครองสิ่งเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ๑.๒.๒) การเสพสิ่งเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ๑.๒.๓) การเกี่ยวข้องยุยงส่งเสริมบุคคลอื่นให้มีการเสพ การครอบครองสิ่งเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ๑.๒.๔) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๒) การแสดงตนเป็นอันธพาล หรือก่อเหตุทะเลาะวิวาท ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๒๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่ นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๒.๑) การแสดงตนเป็นอันธพาล ข่มขู่ผู้อื่นเป็นเหตุให้ได้รับความเดือดร้อน ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๒.๒) การก่อเหตุทะเลาะวิวาท ๒.๒.๑) เป็นผู้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์ และยั่วยุส่งเสริมให้เกิดการทะเลาะวิวาท ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๒.๒.๒) เป็นผู้ร่วมในการทะเลาะวิวาทโดยเจตนา ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๒.๒.๓) เป็นผู้เริ่มต้นก่อเหตุทะเลาะวิวาท ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ๒.๒.๔) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๓) การลักขโมยทรัพย์ของผู้อื่น ทั้งในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๒๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๓.๑) การร่วมรู้เห็นเป็นใจ ให้มีการลักทรัพย์ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๓.๒) การลักขโมยสิ่งของ ของผู้อื่น ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน และหากทรัพย์สินที่นักเรียนนำ�ไป เกิดการชำ�รุดเสียหายนักเรียนจะต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้น ๓.๓) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน 162

๔) การละเมดิ สทิ ธขิ องบคุ คลอน่ื ตดั คะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๒๐ คะแนน ไดแ้ ก่ ความผดิ ทน่ี กั เรยี นกระท�ำ เกย่ี วกบั ๔.๑) การละเมดิ สทิ ธขิ องบุคคลอื่น แต่ไม่ก่อใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ รา่ งกาย ชอ่ื เสียงและทรพั ย์สนิ ตัดคะแนน ความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๔.๒) การละเมดิ สทิ ธขิ องบคุ คลอ่นื และก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อรา่ งกาย ชอ่ื เสียงและทรัพยส์ นิ ตดั คะแนน ความประพฤติ ๒๐ คะแนน ๔.๓) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๕) การเผยแพร่ภาพหรือข้อความที่ไม่เหมาะสม ในพื้นที่สาธารณะ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๖) การปลอมแปลงเอกสารของทางโรงเรียน หรือเอกสารของทางราชการ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๗) การเล่นการพนัน หรือครอบครองอุปกรณ์ที่ใช้เล่นการพนัน ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๒๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๗.๑) การร่วมรู้เห็นเป็นใจ ให้มีการเล่นการพนัน หรือรับฝากอุปกรณ์ที่ใช้เล่นการพนันตัดคะแนน ความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๗.๒) การเล่นการพนัน ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ๗.๓) การครอบครองอุปกรณ์ที่ใช้เล่นการพนัน ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ๗.๔) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๘) การพกพาอาวุธอันตรายมาโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๘๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียน กระทำ�เกี่ยวกับ ๘.๑) การพกพาวัตถุสิ่งของอุปกรณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือมีพฤติกรรมบ่งชี้ถึงเจตนาที่ จะใช้วัตถุดังกล่าวในทางที่มิชอบ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ – ๔๐ คะแนน ๘.๒) การพกพาอาวุธร้ายแรง เช่น ปืน วัตถุระเบิด หรืออาวุธที่ก่อให้เกิดอันตราย ตัดคะแนนความประพฤติ ๕๐ – ๘๐ คะแนน ๘.๓) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๙) การทำ�ลายทรัพย์สินส่วนรวม หรือของผู้อื่นให้เสียหายโดยเจตนา ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๑๐) การกระทำ�โดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ หรือทรัพย์สินเสียหาย ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ได้แก่ ความผิดที่นักเรียนกระทำ�เกี่ยวกับ ๑๐.๑) การกระทำ�โดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ๑๐.๒) การกระทำ�โดยประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหาย ทั้งนี้นักเรียนต้องชดใช้ค่าเสียหาย ๑๐.๓) ความผิดอื่น ๆ ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๑๑) การทุจริตในการสอบ ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๑๒) การหนีเรยี นหลบเล่ียงไมเ่ ขา้ ชน้ั เรียน ไมเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๑๓) การยั่วยุให้เกิดการแตกแยกรุนแรง ก่อให้เกิดความเสียหายต่อร่างกาย ชื่อเสียง และทรัพย์สินตัดคะแนนความ ประพฤติ ๒๐ คะแนน ๑๔) การแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวไม่เคารพต่ออาจารย์ และบุคลากร ด้วยท่าทาง และ/หรือวาจา ตัดคะแนนความ ประพฤติ ๒๐ คะแนน 163

๑๕) การก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงของโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน ๑๖) การไม่เชื่อฟัง หรือไม่ปฏิบัติตามการเตือน ทำ�ความผิดซ้ำ�ในกรณีเดิมบ่อยครั้ง และ/หรือไม่ทำ�กิจกรรมบำ�เพ็ญประโยชน์ เพื่อปรับพฤติกรรมตามระยะเวลาที่กำ�หนด ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน ๑๗) ความผิดร้ายแรงอื่น ๆ ให้เป็นไปตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ข้อ ๘ นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติ จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรม ดังนี้ ๘.๑ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๑๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรม ในข้อต่อไปนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิดเพื่อปรับความประพฤติ ทั้งนี้ให้เชิญผู้ปกครองมาลงนามรับทราบการบันทึกความผิดเพื่อปรับพฤติกรรมของนักเรียน ๘.๒ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๒๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรมในข้อต่อไปนี้ทั้งหมด หรือบางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิดเพื่อปรับความประพฤติ - บำ�เพ็ญประโยชน์จำ�นวน ๑๐ ชั่วโมง ทั้งนี้ให้เชิญผู้ปกครองมาลงนามรับทราบการบันทึกความผิดเพื่อปรับพฤติกรรม และจำ�นวนชั่วโมงที่นักเรียนต้องบำ�เพ็ญ ประโยชน์ ๘.๓ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๓๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรมในข้อต่อไปนี้ทั้งหมด หรือบางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิด และทำ�สัญญาเพื่อปรับความประพฤติ - บำ�เพ็ญประโยชน์จำ�นวน ๒๐ ชั่วโมง ทั้งนี้ให้เชิญผู้ปกครองมาลงนามรับทราบการบันทึกความผิด และทำ�สัญญาเพื่อปรับความประพฤติ และจำ�นวนชั่วโมงที่นักเรียน ต้องบำ�เพ็ญประโยชน์ ๘.๔ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๔๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรมในข้อต่อไปนี้ทั้งหมด หรือบางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิด และทำ�ทัณฑ์บนควบคุมความประพฤติ - บำ�เพ็ญประโยชน์จำ�นวน ๓๐ ชั่วโมง ทั้งนี้ให้เชิญผู้ปกครองมาลงนามรับทราบการบันทึกความผิด และจำ�นวนชั่วโมงที่นักเรียนต้องบำ�เพ็ญประโยชน์ พร้อมทั้งลงนาม รับรองการทำ�ทัณฑ์บนควบคุมความประพฤติ ผู้ปกครองจะต้องส่งจดหมายเพื่อรับรองการดูแลควบคุมพฤติกรรมของนักเรียนที่ฝ่าย กิจการนักเรียน ๘.๕ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๕๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรมในข้อต่อไปนี้ทั้งหมดหรือ บางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิด และทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๑๐ วัน ทง้ั นใ้ี หเ้ ชญิ ผปู้ กครองมาลงนามรบั ทราบการบนั ทกึ ความผดิ และดแู ลการท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของนกั เรยี นจ�ำ นวน ๑๐ วนั 164

๘.๖ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๖๐ คะแนน จะต้องได้รับการปรับพฤติกรรมในข้อต่อไปนี้ทั้งหมดหรือ บางส่วน ดังนี้ - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิด และทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๑๕ วัน ทง้ั นใ้ี หเ้ ชญิ ผปู้ กครองมาลงนามรบั ทราบการบนั ทกึ ความผดิ และดแู ลการท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของนกั เรยี นจ�ำ นวน ๑๕ วนั ๘.๗ หากนักเรยี นถกู ตดั คะแนนความประพฤตคิ รบ ๗๐ คะแนน จะตอ้ งไดร้ บั การปรับพฤตกิ รรมในขอ้ ต่อไปน้ที ้งั หมดหรอื บางส่วน ดังน้ี - อบรมหรือว่ากล่าวตักเตือน - บันทึกความผิด และทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๒๐ วัน ทง้ั นใ้ี หเ้ ชญิ ผปู้ กครองมาลงนามรบั ทราบการบนั ทกึ ความผดิ และดแู ลการท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของนกั เรยี นจ�ำ นวน ๒๐ วนั ๘.๘ หากนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๘๐ คะแนน จะต้องได้รับการพิจารณาคัดชื่อออกจากสถานศึกษา ทั้งนี้ขึ้น อยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน และให้เชิญผู้ปกครองมารับทราบการพิจารณา ข้อ ๙ ในระดับความผิดที่ระเบียบระบุไว้ว่าให้เชิญผู้ปกครองมารับทราบ หากปรากฏว่าผู้ปกครองไม่มา โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ ถือว่าผู้ปกครอง ได้รับทราบ และได้ให้ความยินยอม ต่อคำ�สั่งของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนแล้ว ข้อ ๑๐ ความผิดบางกรณีที่คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนเห็นพ้องร่วมกัน และมีมติเห็นสมควรไม่ตัดคะแนนความประพฤติ จะให้นักเรียนบำ�เพ็ญประโยชน์ตามที่กำ�หนดแทนก็ได้ ข้อ ๑๑ การพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติพิจารณาโดยคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ในกรณีที่อาจารย์พบนักเรียนกระทำ� ความผิด และสมควรเสนอให้พิจารณาตัดคะแนนความประพฤติ ขอให้อาจารย์นำ�นักเรียนมาที่ฝ่ายกิจการนักเรียน เพื่อแจ้งข้อมูลพฤติกรรม เป็นลายลักษณ์อักษร แล้วคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนจะพิจารณาดำ�เนินการต่อไปตามระเบียบ ข้อ ๑๒ การบันทึกความผิดจะต้องแจ้งอาจารย์ประจำ�ชั้น อาจารย์ผู้เกี่ยวข้อง และผู้ปกครองรับทราบทุกครั้ง ข้อ ๑๓ กรณีนักเรียนกระทำ�ความผิดร้ายแรง การตัดคะแนนความประพฤติ เริ่มต้นที่ ๑๐ คะแนน กรณีการพิจารณาตัดคะแนน ความประพฤติมากกว่า ๑๐ คะแนน ขึ้นไป ให้พิจารณาตามระดับความรุนแรงของความผิด โดยเป็นไปตามมติที่ประชุมร่วมของคณะ กรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ที่มีอาจารย์ประจำ�ชั้น และอาจารย์ผู้สอนกิจกรรมแนะแนวของนักเรียนที่กระทำ�ความผิดร้ายแรงเข้าร่วม การพิจารณาด้วย ข้อ ๑๔ เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนความประพฤติ และต้องบำ�เพ็ญประโยชน์ หรือทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หากดำ�เนินการยังไม่เสร็จสิ้น แล้วกระทำ�ความผิดระเบียบของโรงเรียน และต้องบำ�เพ็ญประโยชน์ หรือทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเพิ่ม ให้นับรวมจำ�นวนชั่วโมง/วัน เดิม และจำ�นวนชั่วโมง/วัน ที่ได้รับเพิ่ม แล้วดำ�เนินการให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำ�หนด ข้อ ๑๕ นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๕๐ คะแนน สามารถเสนอกิจกรรม และโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ในการขอคืนคะแนนความประพฤติได้ที่ฝ่ายกิจการนักเรียน ทั้งนี้ การได้รับจำ�นวนคะแนนความประพฤติคืน ให้เป็นไปตามการพิจารณาของ คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ข้อ ๑๖ บรรดากฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ หรือคำ�สั่งใด ๆ ที่ออกตามระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไ ปเพียงเท่า ที่ไม่ขัดห รือแย้งกับปรระะเบกียาบศฉบณับนวี้ นั ท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสุข) ผู้อำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ 165

แนวปฏบิ ตั กิ ารขอคนื คะแนนความประพฤติ ตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๕ นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติครบ ๕๐ คะแนน สามารถเสนอกิจกรรม และโครงการเพื่อสังคม และ สาธารณประโยชน์ ในการขอคืนคะแนนความประพฤติได้ที่ฝ่ายกิจการนักเรียน ทั้งนี้การได้รับจำ�นวนคะแนนความประพฤติคืน ให้เป็นไป ตามการพิจารณาของคณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ดังนั้นเพื่อให้การดำ�เนินการคืนคะแนนความประพฤตินักเรียนมีความชัดเจน จึงให้ปฏิบัติตามแนวทางต่อไปนี้ ๑. นักเรียนนำ�เสนอโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ เพื่อขอคืนคะแนนความประพฤติตามแบบฟอร์ม การนำ�เสนอ โครงการที่กำ�หนด ๒. นักเรียนที่มีความประสงค์ขอคืนคะแนนความประพฤติต้องนำ�เสนอโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ต่อที่ประชุม คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียน ๓. คณะกรรมการฝ่ายกิจการนักเรียนพิจารณาโครงการเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตามที่นักเรียนนำ�เสนอ หากมีมติอนุมัติ นักเรียนจึงจะดำ�เนินการตามโครงการได้ ๔. เมื่อนักเรียนดำ�เนินการตามโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์เสร็จสิ้นแล้ว จะต้องส่ง การสรุปโครงการเพื่อขอคืนคะแนนความประพฤติที่ฝ่ายกิจการนักเรียนตามระยะเวลาที่กำ�หนด เพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ฝ่ายกิจการนักเรียนให้พิจารณาคืนคะแนนความประพฤติ โดยมีเกณฑ์ ดังนี้ ๔.๑ พิจารณาคืนคะแนนความประพฤติ ๑๐ คะแนน เมื่อมีระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการตามโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ จำ�นวน ๑๐ วัน ๔.๒ พิจารณาคืนคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนน เมื่อมีระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการตามโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ จำ�นวน ๒๐ วัน ๔.๓ พิจารณาคืนคะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนน เมื่อมีระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการตามโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ จำ�นวน ๓๐ วัน ๕. หากนักเรียนไม่ส่งการสรุปโครงการเพื่อขอคืนคะแนนความประพฤติที่ฝ่ายกิจการนักเรียน ตามระยะเวลาที่กำ�หนด นักเรียน จะไม่ได้คะแนนความประพฤติคืน ๖. ระยะเวลาที่ใช้ในการดำ�เนินการตามโครงการเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ที่จะใช้เพื่อขอคืนคะแนนความประพฤติ นั้น ไม่จัดเป็นส่วนหนึ่งของการนำ�มาพิจารณาจำ�นวนชั่วโมงการบำ�เพ็ญประโยชน์ หรือจำ�นวนวันในการอทำ�กิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน 166

167

168

169

170

เกณฑ์การพิจารณาประกาศเกียรติคณุ นกั เรียนดีเด่น รางวลั พระเก้ียวเกยี รติยศ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ รางวัลพระเก้ยี วเกียรตยิ ศมอบใหแ้ กน่ ักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ ท่ีเพยี บพรอ้ มด้วยความรแู้ ละคณุ ธรรม สมควรทจี่ ะไดร้ ับ การยกย่องให้เป็นแบบอย่างของนักเรยี นในรุ่นต่อๆ ไป โดยมีเกณฑ์พิจารณามอบรางวัล ดงั นี้ ๑. นกั เรียนกำ�ลังศกึ ษาในช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ๒. นกั เรียนมผี ลการเรียนเฉล่ียสะสมระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๕ ภาคเรียนไมต่ ่�ำ กว่า ๓.๗๕ ๓. นักเรยี นไม่เคยได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นเป็น ๐, ร, มผ ในรายวชิ าใดวิชาหน่งึ และต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์, การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในการประเมินปกติ ๔. นักเรียนมีความประพฤตดิ ี เปน็ ที่ยอมรับของคณาจารยแ์ ละเปน็ แบบอย่างทด่ี ีแกเ่ พอื่ นและนกั เรยี นรนุ่ นอ้ ง ๕. นักเรยี นเป็นผู้สรา้ งช่ือเสียงให้แก่โรงเรยี นและช่วยงานกจิ กรรมของโรงเรยี น อย่างสมำ�่ เสมอและตอ่ เนื่องเปน็ ระยะเวลา ๓ ปี ในระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โดยมผี ลงาน หรือการปฏิบตั ติ นทโ่ี ดดเดน่ เปน็ ทป่ี ระจกั ษช์ ดั เจนของประชาคมสาธิตจฬุ าฯ ******************************************************** หมายเหต ุ หากมีปญั หาเกย่ี วกบั เกณฑ์ในการพจิ ารณา มติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ถือเป็นท่สี ้ินสดุ 171

172

โครงการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี น สาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมธั ยม 173

โครงการกอ่ สร้างอาคารเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยมธั ยม แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วนั กรุงเทพมหานคร 1. จำ�นวนชัน้ ท้งั สน้ิ 17 ช้นั (ความสงู เทียบเท่าไดก้ บั อาคาร 18 ชั้น) 2. พน้ื ทีใ่ นการกอ่ สร้างท้งั หมด 16,496 ตารางเมตร 3. รายละเอียดในการใช้พนื้ ทภ่ี ายใน 3.1 ชนั้ ใตด้ นิ : พืน้ ที่ 1,402 ตารางเมตร เปน็ การจัดพื้นทรี่ องรบั การสนบั สนุนภารกิจงานบริหาร / งานพฒั นานกั เรยี น โดยเป็นพ้นื ท่ี ให้บรกิ ารส�ำ หรบั บคุ ลากรภายในโรงเรียน และท่ีจอดรถส�ำ หรับผบู้ ริหาร / อาจารย์พเิ ศษ / วิทยากร ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - ทจ่ี อดรถ เพอ่ื เปน็ พน้ื ที่สนบั สนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร โดยสามารถรองรับการจอดรถไดจ้ �ำ นวน 22 คนั ส�ำ หรับผบู้ ริหาร / อาจารย์พิเศษ/ วิทยากร - หอ้ งหนว่ ยอาคาร สถานท่ี และ เพ่ือเปน็ พื้นท่ีสนบั สนุนภารกจิ งานบริหาร ประกอบไปด้วยพื้นท่ี ยานพาหนะ ต่าง ๆ ดงั น้ี - ห้องหนว่ ยอาคาร / หอ้ งชา่ ง / หอ้ งเกบ็ ของ / ห้องพนักงาน ขบั รถ / ในบางโอกาสต้องใช้พ้ืนทีจ่ อดรถบางส่วนเพอ่ื เก็บของ รอการแทงจ�ำ หนา่ ย - ห้องสำ�หรับซัก - ลา้ ง ท�ำ ความสะอาดร่างกาย (ไม่มีหอ้ งสุขา) - หอ้ งเก็บของฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น เพอ่ื เปน็ พ้ืนท่ีสนบั สนุนภารกิจงานบริหาร / การพฒั นานกั เรยี น ในส่วนของการเก็บ วัสดุ / อปุ กรณ์ ในการท�ำ กิจกรรมต่าง ๆ ของ นักเรยี น เชน่ อปุ กรณท์ ี่ใช้ในพฒั นาโรงเรยี น อุปกรณท์ ีใ่ ช้ใน การจดั กจิ กรรมเชียร์ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการบำ�เพ็ญประโยชนต์ ่าง ๆ ของนกั เรยี น เป็นต้น 174

3.2 ช้ัน 1 : พื้นท่ี 1,411 ตารางเมตร เปน็ การจัดพน้ื ที่รองรับการสนับสนุนภารกจิ งานบริหาร / งานพฒั นานักเรียน โดยเป็นพ้นื ทสี่ ว่ น หนา้ ในการรบั รองผูป้ กครอง / นกั เรยี น / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน / บุคลากรของจุฬาฯ / ผูม้ าติดต่อ ราชการต่าง ๆ ซ่ึงมแี นวคิดในการจดั พื้นทเ่ี ป็นแบบ One Stop Service เพ่อื อ�ำ นวยความสะดวกในการ ติดต่อประสานงานของโรงเรยี น รวมถงึ การรักษาความปลอดภยั ในพ้ืนทภี่ ายในโรงเรยี น ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ประชาสัมพนั ธ์ เพ่อื เป็นพน้ื ที่สนบั สนุนภารกิจงานบรหิ าร โดยการอำ�นวยความ สะดวกกับผู้มาติดต่อราชการ / รับเร่อื ง / ประสานงานให้ข้อมลู ข่าวสาร / เผยแพรอ่ ข้อมลู ข่าวสาร / ใหค้ �ำ แนะนำ� กบั ผมู้ าติดตอ่ ราชการ อีกทง้ั ยังสามารถกระจายเสียงตามสายไปยังสถานทต่ี ่าง ๆ / ควบคุมส่ือที่ใช้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบริเวณหน้าโรงเรียนและภายใน โรงเรียน โดยเฉพาะโถงอาหาคารอเนกประสงค์ - ห้องรับรองฝ่ายประชาสมั พันธ์ เพ่อื เป็นพน้ื ทีส่ นับสนุนภารกิจงานบริหาร โดยเปน็ การรองรับผ้มู า ติดตอ่ ราชการ / ผปู้ กครอง เมือ่ แจ้งความประสงคแ์ ล้วนั่งรอ หรือให้ ไปพบบุคลากรทีน่ ดั หมายไว้อย่างถูกต้อง รวดเรว็ รวมท้งั เปน็ ที่ให้ นกั เรียน และผู้ปกครอง น่ังรอพบฝ่ายกจิ การนกั เรียน และผปู้ กครอง มารอรบั นกั เรียน - หอ้ งส�ำ หรบั เจา้ หนา้ ท่ีรกั ษาความ เพ่อื เปน็ พนื้ สนับสนนุ ภารกิจงานบรหิ าร ในการรกั ษาความปลอดภยั ปลอดภัย ในบริเวณทางเข้าหลักของโรงเรียน และยังดูแลการเขา้ - ออก ของ นกั เรียน (สแกนลายน้วิ มือ) หรอื การเข้า - ออกของนกั เรยี นท่มี ีผู้ ปกครองมารบั การขอเข้ามาตดิ ต่องานราชการในโรงเรียนตอ้ งผา่ น เจา้ หนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภัย ที่จุดน ี้ และเขา้ มาท่ปี ระตทู างเข้า D13 และเข้ามาติดต่อหน่วยประชาสัมพันธ์ของโรงเรียนเพ่ือดำ�เนินการตาม ข้ันตอนของการรกั ษาความปลอดภัย โดยท่หี อ้ งเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความ ปลอดภัยยังตดิ ต้งั ทวี ขี องระบบ CCTV เพอ่ื ดเู หตุการณ์ในจุดสำ�คญั ต่าง ๆ ภายในบริเวณโรงเรียน ดูแลการเข้า - ออก ของรถท่จี ะนำ� เขา้ มาจอดทีช่ นั้ ใต้ดนิ 175

ประเภท (หอ้ งตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - หอ้ งสำ�นกั งานฝ่ายกจิ การ เพื่อเป็นพืน้ ทขี่ องฝา่ ยกิจการนักเรยี น เป็นสว่ นส�ำ คัญทีม่ ีหน้าที่ดูแลนกั เรยี น นกั เรียน อำ�นวยความสะดวกให้ผู้ปกครองของนักเรียนได้มาติดต่อราชการในส่วนท่ี เก่ียวขอ้ งกบั การมาพบนกั เรียน การขอนกั เรียนกลับบ้านในระหว่างเวลาเรียน การเข้าเรยี นสาย การมารับนักเรียนทีไ่ ม่สบายกลับบ้าน รวมถงึ การดูแล แก้ ปญั หา และสง่ เสริมในด้านพฤติกรรมนักเรียน รวมถึงการสง่ เสริมนักเรยี นเพ่ือ ขอรบั รางวลั ดา้ นพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ทง้ั ในระดบั จังหวดั และระดับประเทศ โดยมี พื้นที่ใช้สอยภายในหอ้ งดังน้ี - พน้ื ท่หี ้องส�ำ นักงานฝ่ายกจิ การนักเรียน ส�ำ หรบั อาจารยแ์ ละบคุ ลากรที่ เก่ียวข้อง - พน้ื ท่ใี นสว่ นของระบบกระจายเสยี งภายในโรงเรียนเพ่อื ประชาสมั พันธ์ในเรือ่ ง ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั นักเรียน และการให้นักเรยี นไดใ้ ชร้ ะบบกระจายเสยี งใน การประชาสมั พันธ์กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่นี กั เรียนดำ�เนนิ การ - พื้นทใ่ี นสว่ นของภาพจากระบบ CCTV เพือ่ ดแู ลความปลอดภยั นกั เรียน และ บันทึกภาพเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไว้ - พื้นทีใ่ นการต้อนรบั ผู้ปกครอง / พดู คุยส่วนตัวเฉพาะกลมุ่ กับผู้ปกครอง / ประชุมหารือภายในสว่ นของฝา่ ยกจิ การนกั เรียน - หอ้ งสภานกั เรียน - เพ่อื รองรับนกั เรยี นดำ�เนนิ กจิ กรรมของสภานักเรียน โดยมีอาจารยท์ ี่ปรึกษา จากฝ่ายกิจการนักเรียนให้คำ�แนะน�ำ ดูแล และใช้เป็นที่ทำ�งานในเชิงนโยบาย ของนกั เรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย ท่สี นบั สนุนให้นกั เรียนมสี ่วนร่วม ในเชงิ นโยบายและทำ�ให้นักเรยี นเกิดภาวะผู้น�ำ รวมถงึ ท�ำ ใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จรงิ - โถงอเนกประสงค์ เพอ่ื เป็นพน้ื ทใ่ี นภารกจิ อเนกประสงค ์ ดังนี้ - เปน็ พนื้ ทใ่ี หน้ ักเรยี นน่ังพักรอ ทำ�กิจกรรมระหวา่ งนงั่ รอผปู้ กครองมารบั เพ่อื อำ�นวยความสะดวกในการรักษาความปลอดภัยของนักเรียนโดยให้นักเรียนอยู่ รวมกันในช่วงหลังเลกิ เรยี น - เปน็ พื้นท่ปี ระชมุ นกั เรยี น โดยรองรับได้ 5 ระดับชั้น ประมาณ 1,000 - 1,100 คน - เป็นพนื้ ที่ท�ำ กิจกรรมการเรียนการสอนในรม่ - เป็นพ้ืนทแี่ สดงนทิ รรศการ โดยมกี ารออกแบบใช้บอรด์ แบบแขวนบรเิ วณช่อง โล่งกลางโถงท่ที ะลชุ นั้ 2 ซ่ึงสามารถดึงขนึ้ ดา้ นบนเม่อื ไมใ่ ชง้ าน และปลอ่ ยลง ดา้ นล่างเมอ่ื มกี ารจดั นิทรรศการโดยใชบ้ อร์ดแสดง อกี ท้งั ยงั ใช้แขวนแสดงผล งานในชอ่ งโลง่ ได้อีกด้วย- การจัดกิจกรรมด้านวิชาการของโรงเรยี น / การจัด แสดงผลงานนักเรยี นที่ไดร้ บั รางวลั 176

ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - หอ้ งถา่ ยเอกสาร เพือ่ เปน็ พ้ืนทีส่ �ำ หรบั ให้บรกิ ารถา่ ยเอกสาร ของหน่วยงานเอกชนทมี่ าเชา่ พืน้ ท่ี ของโรงเรยี น ในการใหบ้ รกิ ารถ่ายเอกสารกับบุคลากรของโรงเรียน นกั เรียน ผู้ ปกครอง ตลอดจนผูม้ าติดต่องานราชการกับโรงเรียน - ห้องประชมุ (ใชร้ ะบบ Service เพื่อเป็นพน้ื ท่ีสนบั สนุนภารกิจงานบรหิ าร ใชร้ ับรอง / ห้องประชมุ / ผูป้ กครอง Center) มารอพบผบู้ ริหาร / หอ้ งประชมุ ส�ำ หรับประชุมหารอื การแก้ปัญหาส�ำ หรับผู้ ปกครอง ในลกั ษณะกลุม่ ใหญ่และต้องการความเปน็ สว่ นตัว - ห้องฝา่ ยช่าง (ผู้ดแู ลอาคาร) เพื่อเปน็ พื้นทสี่ ำ�หรับเจา้ หน้าที่งานชา่ งทีด่ แู ลอาคารตลอด 24 ชม. - หอ้ งควบคุมสายสัญญาณ ระบบ เพื่อเป็นพน้ื ทีส่ �ำ หรับห้องควบคุมระบบ CCTV และควบคุมเสยี งทว่ั ทั้งโรงเรียน CCTV / ระบบเสยี ง / ระบบเครอื โดยเชื่อมโยงการใชง้ านระบบ CCTV (ภาพ) ไปทีห่ อ้ งกจิ การนกั เรยี น / ห้อง ข่ายคอมพวิ เตอร์ รปภ. ฯลฯ และควบคุมระบบเสียงเชื่อมโยงไปยงั ห้องกจิ การนักเรียน / หนว่ ย เทคโนฯ / หนว่ ยประชาสัมพนั ธ์ ฯลฯ - สขุ าชาย / สขุ าหญิง / สขุ าผู้ เพื่อเปน็ พ้ืนที่หอ้ งสขุ ารองรับอารายสถาปัตย์ (Universal design) ในการอำ�นวย พิการ ความสะดวกและแก้ไขปญั หาให้กบั ผู้พกิ ารทีม่ ารับบริการตดิ ตอ่ ราชการ รวมท้งั การใหบ้ ริการแก่นักเรยี น / นิสติ / ผปู้ กครอง / บุคลากร 177

3.3 ชนั้ 2 : พ้ืนท่ี 854 ตารางเมตร เป็นการจดั พน้ื ท่ีรองรบั การสนับสนุนการเรยี นการสอน / สนบั สนุนภารกิจงานบรหิ าร / งานพฒั นา นักเรียน โดยเป็นพ้นื ทใ่ี หบ้ ริการสำ�หรับนกั เรยี น / นสิ ิต / บุคลากรของโรงเรยี น / บุคลากรของจุฬาฯ / ผปู้ กครองทมี่ าตดิ ตอ่ ราชการตา่ ง ๆ / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซงึ่ มแี นวคดิ ในการจดั พนื้ ทเ่ี ปน็ แบบ One Stop Service ในสว่ นทเ่ี กย่ี วข้องกับงานปกครองนกั เรยี นกบั ศนู ยแ์ นะแนว รวมถึงการใช้ระบบ Service Center เพือ่ อ�ำ นวยความสะดวกในการใหบ้ ริการภายในของโรงเรียน ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - โถงนทิ รรศการ เพือ่ เป็นพนื้ ที่ในการสนับสนุนการเรียนการสอน / การจัดนิทรรศการ / การประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมตา่ ง ๆ ดังน้ี - การจัดนิทรรศการและการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของกลุ่ม กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น กจิ กรรมของศนู ยแ์ นะแนว - การประชาสมั พนั ธ์หนังสือท่นี า่ สนใจ และแนะนำ�หนังสือใหม่ของ หอ้ งสมุด - การจดั แสดงผลงานนวัตกรรมของนักเรยี นในด้านตา่ ง ๆ โดยจดั กจิ กรรมหมนุ เวียน และเปล่ียนไปตามความเหมาะสม ตลอดปีการ ศกึ ษา - ห้องสมุด เปน็ พนื้ ท่สี ำ�หรบั หอ้ งสมดุ ท่ีทนั สมยั ในยคุ 4.0 สำ�หรบั สนับสนุนดา้ น การเรียนการสอน โดยมีการแบ่งพนื้ ทีภ่ ายในดังน้ี - ห้องส�ำ นกั งานของบคุ ลากรของห้องสมดุ - หอ้ งสมดุ ท่บี รรจุหนงั สือไวใ้ หบ้ รกิ ารนกั เรยี น นสิ ิตฝึกประสบการณ์ วิชาชพี ครู และบคุ ลากรของโรงเรียน - ห้องสมดุ E - library / E - books ท่มี ีระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ไรส้ ายไว้รองรบั ในการใชบ้ รกิ ารของนักเรยี น นสิ ิตฝึกประสบการณ์ วิชาชีพคร ู และบุคลากรของโรงเรียน - การจดั พืน้ ที่ให้บริการหอ้ งยอ่ ย 4 ห้อง ในรูปแบบ Co Working Space ทีม่ ีเทคโนโลยีทท่ี ันสมัยรองรับการให้บรกิ ารแกน่ กั เรียน นสิ ติ ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู และบคุ ลากร 178

ประเภท (หอ้ งตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ศนู ยแ์ นะแนว เปน็ พ้นื ที่สำ�หรับสนบั สนุนด้านการเรยี นการสอน และพฒั นานักเรียน โดยมีการแบง่ พ้นื ทภี่ ายในดงั นี้ - ห้องสำ�นักงานของบุคลากรภายในศูนย์ - ห้องให้การปรึกษาโดยจิตแพทย์ โดยเปน็ บรเิ วณพืน้ ทสี่ ่วนตัว สงบ รักษาความลับของผู้มาปรกึ ษา จ�ำ นวน 1 หอ้ ง - พ้นื ท่สี �ำ หรับเกบ็ ข้อมลู นกั เรียน (ระเบียนสะสม) - ห้องปรึกษารายกล่มุ (Group Counseling) ส�ำ หรับคน 10-15 คน - ห้องปรกึ ษารายบุคคล (Individual Counseling) จ�ำ นวน 3 ห้อง (อาจารยแ์ นะแนว นั่งประจ�ำ ห้องปรกึ ษารายบคุ คล) - ห้องกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น เป็นพ้ืนที่สำ�หรับสนับสนุนด้านการเรียนการสอนของกลุ่มกิจกรรม พัฒนาผเู้ รียน ทีส่ ง่ เสรมิ พฒั นานกั เรยี นให้มที ักษะทางดา้ นการดำ�รง ชีวิต อันได้แก ่ กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี กิจกรรมแนะแนวการ ศึกษาตอ่ ของนกั เรียน ซึ่งเป็นสว่ นหนึ่งของการจัดการเรยี นการสอน ขนั้ พื้นฐาน - ห้องประชมุ (ใชร้ ะบบ Service เพอ่ื เปน็ พื้นสนับสนุนภารกจิ งานบริหาร รองรบั การจัดประชมุ / การ Center) บรรยายกลมุ่ ยอ่ ย / การน�ำ เสนอผลงานกลุ่มย่อย / การตอ้ นรบั ผ้มู า เยยี่ มชม / ผู้ปกครองและนักเรียนมารอบอาจารยข์ องศนู ย์แนะแนว - หอ้ งควบคุมระบบเครือขา่ ย เพื่อเปน็ พ้ืนที่สำ�หรับควบคมุ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (SERVER) คอมพวิ เตอร์ (SERVER) ท่ีเชื่อมโยงสญั ญาณคอมพิวเตอรภ์ ายในอาคาร - สขุ าชาย / สุขาหญิง / สขุ าผู้ เพ่ือเป็นพ้ืนทห่ี ้องสขุ ารองรบั อารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการที่มารับบริการ ติดต่อราชการ รวมทงั้ การให้บริการแกน่ กั เรียน / นสิ ิต / ผปู้ กครอง / บคุ ลากร 179

3.4 ช้ัน 3 : พื้นท่ี 1,720 ตารางเมตร เป็นการจัดพื้นท่ีรองรับการสนับสนุนการเรยี นการสอน / สนับสนุนภารกิจงานบรหิ าร / งานพัฒนา นกั เรียน / การบรกิ ารวชิ าการสูช่ ุมชน โดยเป็นพน้ื ท่ใี ห้บริการส�ำ หรบั นักเรียน / นสิ ติ / บุคลากรของโรงเรียน / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบระบบ Service Center เป็นหอประชุมขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนได้ทั้งโรงเรียนเมื่อใช้พื้นที่เต็ม ตั้งแต่ชั้น 3 – 5 และเป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเรียนการสอนทั้งในและนอกหลักสูตร เพื่อให้นักเรียนได้ ฝกึ การท�ำ งาน การวางแผนงาน การบริหารจดั การ การดำ�เนนิ กิจกรรมในรูปแบบจรงิ ท้งั สถานที่ ฉาก แสง สี เสยี ง ไดฝ้ กึ ความสรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการใหก้ ับนกั เรียนและนิสิตประสบการณ์วชิ าชีพคร ู เปน็ การสร้าง ภาวะผู้นำ�สู่สงั คมไทย ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใช้งาน - หอ้ งประชมุ ใหญ ่ (ใชร้ ะบบ เปน็ พ้นื ทใี่ นการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน / สนับสนุน Service Center) ภารกิจงานบรหิ าร / การพฒั นานกั เรียน ซงึ่ สามารถใชใ้ นการเรยี น การสอนทั้งในและนอกหลกั สตู ร โดยมีการแบง่ พ้ืนท่ภี ายในดงั น้ี - พ้นื ท่ีสามารถจไุ ด ้ 1,400 คน (เมื่อน่ังเต็ม ชัน้ 3 - 5) - พนื้ ที่บรรจคุ นได้ 920 คน (พนื้ หอ้ งเรียน เพอื่ ใช้งานอเนกประสงค)์ ในชั้น 3 - ใชง้ านด้านการจัดกจิ กรรมบรรยาย การเสวนา การเรยี นการสอน การนำ�เสนอนวัตกรรม - ใชง้ านด้านการจัดกจิ กรรมวดั และประเมินผลของนกั เรียน ซึ่ง เป็นการฝึกการแสดงออกของนักเรยี น การทำ�งานรว่ มกันเป็นทมี การวางแผนการจดั กจิ กรรม (Organizer) การแกป้ ัญหาต่าง ๆ - ใชง้ านด้านพฒั นากระบวนการความเป็นครูให้นิสติ ฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชพี ครู ให้มปี ระสบการณ์ในการรว่ มดูแลกจิ กรรมของนกั เรียนร่วม กบั อาจารย์ประจ�ำ ของโรงเรยี น - ใช้งานดา้ นการให้บริการด้านวิชาการและบริการสังคมส่ชู มุ ชน - เวที เปน็ พื้นทใ่ี นการสนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน / ภารกิจสนับสนุน งานบริหาร / การพฒั นานกั เรยี น โดยมีเวทีการแสดงเสมือนจริง ที่ สามารถมองเหน็ ไดท้ ัง้ หอประชมุ (3 ชัน้ ) เพื่อใหน้ ักเรียนได้ฝกึ การ ทำ�งาน การวางแผนงาน การบรหิ ารจดั การ การดำ�เนนิ กจิ กรรมใน รูปแบบจริง ทั้งสถานที่ ฉาก แสง ส ี เสียง ไดฝ้ กึ ความสร้างสรรค์ และจินตนาการให้กับนักเรียนและนิสิตประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นการสรา้ งภาวะผูน้ �ำ สสู่ งั คมไทย 180

ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอียดในการใช้งาน - หอ้ งควบคุม เปน็ พืน้ ที่ในการสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอน / สนับสนนุ ภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรยี น โดยเป็นศูนยค์ วบคมุ สื่อทศั นปู กรณ ์ แสง สี เสยี ง การเปลยี่ นฉาก การบนั ทึกภาพ เคล่ือนไหวท่ีเกดิ ข้นึ บนเวทแี ละหอประชุม โดยเปน็ สว่ นทส่ี ามารถ ใหน้ กั เรยี นและนิสติ ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ได้เข้ามามีสว่ นร่วมใน การฝึกการใช้อุปกรณ์จริงในสถานที่จริงร่วมกันกับผู้มีประสบการณ์มือ อาชีพจากภายนอก ท�ำ ใหเ้ กดิ ประสบการณ์ในการจดั กจิ กรรมจริง - หอ้ งนกั แสดงและห้องน�ำ้ เป็นพ้ืนทใ่ี นการสนับสนุนการพฒั นานักเรียน โดยเป็นพ้นื ทีใ่ ห้ (2 ดา้ น : ซ้ายและขวา) นกั เรยี นแสดงพัก เปลย่ี นชดุ แต่งหน้า เตรยี มตัวในการแสดง เพ่อื ให้ นักเรียนไดฝ้ ึกการท�ำ งาน การวางแผนงาน การบรหิ ารจัดการ การ ด�ำ เนนิ กจิ กรรมในรูปแบบจริง ทั้งสถานที่ ฉาก แสง สี เสยี ง ไดฝ้ ึก ความสร้างสรรคแ์ ละจนิ ตนาการ เปน็ การสรา้ งภาวะผนู้ ำ�สสู่ ังคมไทย - ห้องรบั รอง เป็นพื้นทส่ี นบั สนนุ ภารกิจงานบรหิ าร ใช้ในการตอ้ นรับแขกผูม้ เี กยี รติ ที่ได้รับเชญิ มารว่ มงาน โดยมีอาจารย์และนักเรียนเป็นผู้ให้การตอ้ นรับ ซ่ึงมีหอ้ งรับรองจ�ำ นวน 2 ห้อง ไว้รองรับ 181

3.5 ชัน้ 4 : พืน้ ท ่ี 1,041 ตารางเมตร เปน็ การจดั พน้ื ทต่ี อ่ เนือ่ งจากชัน้ 3 เพือ่ เป็นการรองรบั การสนบั สนุนการเรียนการสอน / สนบั สนุน ภารกิจงานบรหิ าร / งานพัฒนานักเรียน / การบรกิ ารวิชาการสชู่ ุมชน โดยเปน็ พนื้ ท่ใี ห้บริการส�ำ หรับนกั เรยี น / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ าร ในรูปแบบระบบ Service Center เป็นหอประชุมขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับนักเรียนและบุคลากรของ โรงเรียนได้ทั้งโรงเรียนเมื่อใช้พื้นที่เต็มตั้งแต่ชั้น 3 – 5 และเป็นพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเรียนการสอนทั้งใน และนอกหลักสูตร เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการทำ�งาน การวางแผนงาน การบริหารจัดการ การดำ�เนิน กิจกรรมในรูปแบบจริง ทั้งสถานที่ ฉาก แสง สี เสียง ได้ฝึกความสร้างสรรค์และจินตนาการให้กับ นกั เรียนและนิสิตประสบการณว์ ิชาชีพครู เป็นการสรา้ งภาวะผ้นู ำ�สู่สงั คมไทย ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - ห้องประชุมใหญ่ (อฒั จนั ทร ์ 2 เป็นพ้ืนทีส่ �ำ หรับน่ังชมกจิ กรรมบนเทวท ี หรือกิจกรรมทจี่ ัดในโถง ข้าง) หอ้ งประชุมใหญ ่ โดยผชู้ มนงั่ ชมในมมุ สงู ของอฒั จนั ทร ์ 2 ฝงั่ ขา้ งหอ ประชุมชน้ั 4 - หอ้ งนักแสดงและหอ้ งนำ�้ เป็นพน้ื ท่ใี นการสนบั สนนุ การพฒั นานกั เรยี น โดยเปน็ พ้ืนท่ใี ห้ (2 ดา้ น : ซา้ ยและขวา) นกั เรยี นแสดงพัก เปลย่ี นชดุ แตง่ หนา้ เตรยี มตัวในการแสดง เพ่ือให้ นกั เรยี นไดฝ้ ึกการทำ�งาน การวางแผนงาน การบรหิ ารจดั การ การ ดำ�เนินกจิ กรรมในรปู แบบจริง ทง้ั สถานท ่ี ฉาก แสง ส ี เสียง ได้ฝึก ความสรา้ งสรรคแ์ ละจินตนาการ เปน็ การสร้างภาวะผ้นู ำ�สู่สังคมไทย - สุขาชาย / สุขาหญิง / สขุ าผู้ เพ่อื เป็นพน้ื ท่ีห้องสุขารองรบั อารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พกิ าร การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการท่ีมารับบริการ ตดิ ตอ่ ราชการ รวมทัง้ การให้บรกิ ารแกน่ กั เรยี น / นิสติ / ผปู้ กครอง / บคุ ลากร - พ้นื ทีส่ ่วนกลางของชน้ั 4 (บนั ได อ / โถงทางเข้า / CORE อาคาร / ห้องเกบ็ ของ / ทางเดินดา้ นขา้ ง และด้านหลังเวที / โถงทางเดิน) 182

3.6 ชั้น 5 : พ้นื ท ี่ 438 ตารางเมตร เป็นการจดั พื้นท่ีตอ่ เนือ่ งจากชัน้ 3 และช้นั 4 เพื่อเป็นการรองรับการสนับสนนุ การเรยี นการสอน / สนบั สนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร / งานพฒั นานกั เรยี น / การบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน โดยเปน็ พน้ื ทใ่ี หบ้ รกิ ารส�ำ หรบั นกั เรยี น / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ าร ในรูปแบบ ระบบ Service Center เป็นหอประชุมขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับนักเรียนและบุคลากร ของโรงเรียนไดท้ ้ังโรงเรยี นเมอื่ ใชพ้ น้ื ทเ่ี ตม็ ตง้ั แตช่ น้ั 3 – 5 และเปน็ พน้ื ทท่ี ส่ี ามารถใชใ้ นการ เรยี นการสอนทัง้ ในและนอกหลกั สตู ร เพือ่ ใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ การท�ำ งาน การวางแผนงาน การบรหิ ารจดั การ การด�ำ เนนิ กจิ กรรมในรปู แบบจรงิ ทง้ั สถานท ่ี ฉาก แสง ส ี เสยี ง ไดฝ้ กึ ความสรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการใหก้ บั นกั เรยี นและนสิ ติ ประสบการณว์ ชิ าชพี คร ู เปน็ การสรา้ งภาวะผนู้ �ำ สสู่ งั คมไทย ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใช้งาน - หอ้ งประชุมใหญ่ (ย่อย) เป็นพื้นท่ใี นการสนบั สนุนการจดั การเรยี นการสอน / สนับสนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร / การพัฒนานักเรียน ลกั ษณะเปน็ อฒั จนั ทร์ที่มี พื้นทเ่ี ป็นขนั้ บนั ได 12 ขน้ั จัดเก้าอต้ี ดิ ตงั้ ตายตัว สามารถบรรจุ เก้าอไ้ี ด ้ 324 ทน่ี ั่ง ใชน้ ่งั ชมการแสดง / การบรรยาย บนเวท ี โดย สามารถรองรบั รบั กิจกรรมดงั น้ี - การประชมุ นกั เรยี นทง้ั โรงเรยี นพร้อมกันทั้ง 6 ระดับชน้ั / การจัด กจิ กรรมไหวค้ รู (รวมชน้ั 3 - 5) - การจัดใหม้ ีการบรกิ ารวชิ าการ โดยการปิดผนังก้นั ห้องดา้ น หน้า เพ่อื ใชจ้ ัดประชมุ / บรรยาย กลุม่ ยอ่ ย รวมถึงการติดต้งั เคร่อื ง ปรบั อากาศแยกสว่ นเพอื่ ใช้เฉพาะในสว่ นนไ้ี ด้ (เพอ่ื ความประหยดั ) สามารถจุผ้เู ข้ารับฟังการบรรยายได ้ 320 คน (ใชเ้ ฉพาะหอ้ งประชุม ช้ัน 5) เชน่ บรรยายให้นักเรียน 1 ระดับช้ัน เปน็ ต้น - สุขาชาย / สุขาหญิง / สุขาผู้ เพ่อื เปน็ พน้ื ท่หี อ้ งสขุ ารองรับอารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พกิ าร การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการที่มารับบริการ ตดิ ตอ่ ราชการ รวมท้ังการให้บริการแกน่ กั เรียน / นสิ ติ / ผปู้ กครอง / บคุ ลากร 183

3.7 ชั้น 6 : พนื้ ที ่ 1,690 ตารางเมตร เปน็ การจดั พ้ืนท่ีรองรับการสนบั สนนุ การเรยี นการสอน / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / งานพฒั นา นกั เรยี น / การบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน โดยเปน็ พน้ื ทใี่ หบ้ รกิ ารส�ำ หรบั นกั เรยี น / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบระบบ Service Center เป็นพ้นื ท่ีรองรบั ส�ำ หรับการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพือ่ ให้นักเรียนไดฝ้ ึกการท�ำ งาน การวางแผนงาน การบรหิ าร จัดการ การดำ�เนินกิจกรรมในรูปแบบจริง ทั้งสถานที่ ฉาก แสง สี เสียง ได้ฝึกความสร้างสรรค์และ จินตนาการใหก้ บั นักเรยี นและนสิ ิตประสบการณว์ ชิ าชีพครู เปน็ การสรา้ งภาวะผูน้ ำ�สู่สังคมไทย ประเภท (ห้องตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ลานกจิ กรรม (ใชร้ ะบบ Service เป็นพืน้ ที่ในการสนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอน / สนบั สนุน Center) ภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานกั เรยี น สามารถจคุ นไดจ้ �ำ นวน 500 คน โดยมกี ารแบง่ พนื้ ท่ีภายในดังนี้ - มีเวทกี ลางแจง้ อยู่บรเิ วณดาดฟา้ ของช้นั 6 ทท่ี ดแทนพ้นื ทส่ี วน ศกึ ษาทีจ่ ะตอ้ งดำ�เนินการจัดทำ�เป็นพน้ื ทส่ี เี ขยี ว ตามผงั แมบ่ ทดา้ น กายภาพ ระยะที่ 7 จงึ ไดม้ กี ารออกแบบลานกิจกรรมน ้ี ซงึ่ เป็นลาน ทปี่ ูหญา้ เทยี ม เพ่ือใช้ในในการจดั การเรยี นการสอน การจัดกจิ กรรม กลางแจ้ง การทำ�กจิ กรรมเสรมิ พฒั นาการทางการเรยี นรู้ของเดก็ โครงการการศึกษาพิเศษ การจดั กิจกรรมเพอื่ สุขภาพของนกั เรยี นและ บคุ ลากร - มที ่ีน่ังในรูปแบบอัฒจันทร ์ 4 ระดับ จัดวางเป็นรูปตัว U เพ่อื ให้ มีพืน้ ทใ่ี นการน่ังชมการจดั กิจกรรมกลางแจ้ง โดยขอบริมอาคารฝัง่ ทศิ ตวันออกแลตะวันตก จะมกี ารปลูกต้นไม้เพ่อื เป็นการเพ่ิมพนื้ ท่ีสีเขียว และความรม่ ร่นื ใหก้ บั ลานกลางแจ้ง - มเี วทีกลางแจง้ บรเิ วณฝ่งั ทศิ เหนอื และมีหลงั คาเหนอื เวที เพือ่ ใชใ้ น การจัดกิจกรรมกลางแจ้ง - โถงเอนกประสงค์ เป็นพืน้ ที่ในการสนับสนุนการจดั การเรยี นการสอน / สนบั สนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร / การพัฒนานักเรียน เพือ่ ใช้ในการจัดกิจกรรมใน รม่ การจดั นทิ รรศการท่เี กย่ี วข้องกบั การจัดกจิ กรรมกลางแจง้ - ห้องประชมุ (ใชร้ ะบบ Service เพื่อเป็นพืน้ สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอน / สนับสนนุ ภารกิจ Center) งานบริหาร เพือ่ ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนของนกั เรยี นโครงการ การศกึ ษาพิเศษ (บางรายวชิ า) รองรบั การจัดประชุม ตอ้ นรับผูม้ ี เกยี รติท่ีมาร่วมกจิ กรรม ห้องเตรยี มตัวสำ�หรบั ผูท้ ำ�กจิ กรรมกลางแจง้ 184

ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - หอ้ งโครงการศึกษาพเิ ศษ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนโครงการ การศกึ ษาพเิ ศษ ทตี่ ้องการการดแู ลเปน็ พิเศษ ซงึ่ เปน็ โครงการทเี่ ปดิ โอกาสให้นักเรียนได้เขา้ มาศกึ ษาในโรงเรยี น รวมถงึ เปน็ การศึกษา วิจัย และทดลองรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนส�ำ หรับเดก็ ท่ตี อ้ งการ การดูแลเปน็ พเิ ศษ โดยมกี ารแบง่ พื้นทภ่ี ายในดงั น้ี- หอ้ งเรียนยอ่ ย จำ�นว 2 หอ้ งเรยี น เพื่อสง่ เสริมพัฒนา / ซอ่ มเสริม และท�ำ กจิ กรรม วิชาการวชิ าต่าง ๆ แกน่ กั เรียน ท่ีเรยี นเฉพาะกลมุ่ ในโครงการฯ และ กรณนี กั เรยี นเรยี นรว่ ม เรยี นตามกำ�หนดนัดหมาย โดยการจดั ชน้ั เรียนจะแบ่งผู้เรียนเป็นหลายกลุ่มตามความพร้อมและความสามารถ ของนักเรยี นเพือ่ ใหน้ กั เรยี นรอู้ ยา่ งเต็มศกั ยภาพของตน- หอ้ งเตรยี ม ทักษะงานอาชีพ ตามความถนดั และความสนใจของนกั เรยี น โดยรปู แบบกิจกรรมมคี วามหลากหลาย เน้นใหน้ กั เรียนได้รบั การฝึกฝนชว่ ย เหลอื ตนเองให้ไดม้ ากทีส่ ดุ เพื่อให้สามารถดำ�รงชีวิตไดอ้ ย่างอสิ ระ ดขี ึ้น และเตรียมทักษะงานอาชพี ก่อนจบการศึกษาจากโครงการฯ เกณฑ์อายุ 18 ปี หรือมากกว่าตามแผนการศกึ ษารายบุคคล- ห้อง สุขาเพ่ือให้นักเรียนโครงการการศึกษาพิเศษเปลี่ยนเคร่ืองแต่งกาย เปน็ การฝกึ ฝนความรับผดิ ชอบในการดูแลตนเองของนักเรยี น - ศูนยส์ ่งเสริมสมรรถภาพทางกาย เพ่อื เปน็ พ้ืนทสี่ นับสนนุ การจัดการเรียนการสอน / สนับสนนุ ภารกิจ งานบรหิ าร ในการให้บรกิ ารนกั เรียนและบุคลากรของโรงเรียน ตลอด จนนสิ ิตฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู โดยแบง่ พื้นทีภ่ ายในดงั นี้ - มีพื้นทีว่ า่ งส�ำ หรับการออกก�ำ ลังกายในรม่ เชน่ การเต้นแอโรบิก โยคะ เป็นตน้ - มพี ้ืนท่สี ำ�หรับวางเครือ่ งออกก�ำ ลงั กาย เพอื่ ใหบ้ รกิ ารนักเรยี นวชิ า พละศึกษาได้เข้าใช้และบนั ทึกขอ้ มลู ในการออกก�ำ ลงั าย - มพี นื้ ทส่ี ำ�หรับการเปลยี่ นเคร่อื งแตง่ กาย และลอ็ คเกอร์เก็บเคร่อื ง แต่ - สขุ าชาย / สขุ าหญิง / สขุ าผู้ เพอื่ เป็นพนื้ ท่ีห้องสุขารองรับอารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการท่ีมารับบริการ ตดิ ตอ่ ราชการ รวมทง้ั การให้บริการแก่นกั เรียน / นสิ ิต / ผู้ปกครอง / บคุ ลากร 185

3.8 ช้ัน 7 : พ้นื ท่ ี 638 ตารางเมตร เปน็ การจดั พื้นทร่ี องรับการสนับสนนุ การเรยี นการสอน / สนบั สนุนภารกจิ งานบรหิ าร / งานพัฒนา นกั เรยี น / การบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน โดยเปน็ พน้ื ทใ่ี หบ้ รกิ ารส�ำ หรบั นกั เรยี น / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบระบบ Service Center เปน็ พน้ื ทร่ี องรบั การจดั การเรยี นการสอน ที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแสดงศักยภาพในด้านต่าง ๆ การจัดกิจกรรมกลุ่มในเชิงการอบรม การทดลองทฤษฎีการ จัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมและตามความสนใจของผู้เรียน ซึ่งมีลักษณะเปิดโล่งแบบ Open Space เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลายและสามารถให้อาจารย์สามารถดูแลนักเรียนได้อย่างสะดวก รวมถึงการมีบุคลากรจากส่วนกลาง มาดแู ลใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการบรกิ ารนกั เรยี นทกุ คน และนกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ มจี ดั พน้ื ทเ่ี ปน็ โถงใหญ ่ จดั ให ้ มีมุมค้นควา้ จัดใหม้ ีพ้ืนท่ีในการทำ�งานแบบรายบคุ คลและแบบกล่มุ จดั ให้มมี เี ทคโนโลยที ่ีทันสมัยไวใ้ หบ้ รกิ ารตาม สัดส่วนทีเ่ หมาะสมกบั ผูใ้ ช้บริการ ประเภท (หอ้ งตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใช้งาน - Co Working Space (ใช้ เพื่อเป็นพื้นท่สี นบั สนุนการจดั การเรียนการสอน / สนบั สนุนภารกิจ ระบบ Service Center) บรหิ าร / การพฒั นานกั เรยี น จัดบรรยากาศใหอ้ ยใู่ นรปู แบบการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมแสดงศักยภาพในด้าน ต่าง ๆ การจัดกจิ กรรมกลุ่มในเชงิ การอบรม การทดลองทฤษฎีการ จดั การเรยี นรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ทีเ่ หมาะสมและตามความสนใจของผู้ เรยี น ซ่งึ มีลักษณะเปิดโล่งแบบ Open Space เพอ่ื ใหร้ ู้สกึ ผ่อนคลาย และสามารถให้อาจารยส์ ามารถดแู ลนักเรียนได้อย่างสะดวก รวม ถงึ การมีบคุ ลากรจากสว่ นกลางมาดูแลใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการบรกิ าร นักเรยี นทกุ คน และนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มจี ดั พน้ื ทเ่ี ปน็ โถงใหญ ่ จัดให้มีมมี ุมค้นควา้ จดั ใหม้ ีพ้นื ท่ใี นการท�ำ งานแบบราย บคุ คลและแบบกลุม่ จดั ใหม้ มี เี ทคโนโลยที ที่ ันสมัยไวใ้ ห้บรกิ ารตาม สัดส่วนท่ีเหมาะสมกบั ผใู้ ช้บริการ โดยมกี ารแบ่งพ้นื ทภ่ี ายในดังนี้ - Student Club - Innovation Classroom - นกั เรียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษ - สภานกั เรยี น - ห้องประชุม (ใชร้ ะบบ Service เพื่อเปน็ พื้นทส่ี นบั สนุนการจดั การเรียนการสอน / สนบั สนุนภารกิจ Center) บรหิ าร / การพัฒนานักเรียน โดยเปน็ 3 หอ้ งย่อย สามารถรองรับ นักเรียนได้ห้องละ 4 คน 6 คน และ 12 คน ตามล�ำ ดับ เพ่อื ใช้ จดั กิจกรรมเฉพาะท่ีตอ้ งมีการเกบ็ เสยี ง หรือการเรียนการสอนเฉพาะ กลมุ่ (นักเรยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ) การระดมความคิดในการ สรา้ งนวัตกรรมของนกั เรยี น - สุขาชาย / สขุ าหญิง / สขุ าผู้ เพ่ือเป็นพื้นทีห่ อ้ งสขุ ารองรับอารายสถาปัตย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการท่ีมารับบริการ ติดตอ่ ราชการ รวมท้ังการให้บริการแก่นักเรยี น / นสิ ิต / ผูป้ กครอง / บุคลากร 186

3.9 ช้นั 8 : พื้นท่ ี 638 ตารางเมตร เป็นการจดั พน้ื ที่รองรับการสนบั สนนุ การเรียนการสอน / งานพฒั นานกั เรยี น / การบริการวชิ าการ สู่ชุมชน โดยเป็นพ้ืนท่ีให้บริการสำ�หรับนักเรียน / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน/ผู้มาเย่ียมชมโรงเรียน ซ่ึง มีการให้บริการในรูปแบบระบบ Service Center เป็นพื้นท่ีรองรับในการเสริมความรู้ทางด้านภาษา เช่น องั กฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น เกาหลี สเปน เปน็ ต้น ซ่ึงมีการติดต้งั ระบบการส่ือสาร โสตทศั นปู กรณ์ เทคโนโลยีรองรบั ในการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการจัดนิทรรศการรวมและเปล่ียนหัวข้อตามโอกาส ตา่ ง ๆ ซึง่ เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมและมอี าจารยเ์ ปน็ ทป่ี รกึ ษา เพือ่ ให้การน�ำ เสนอใน แนวคดิ ทเ่ี หมาะสมกับปจั จบุ ันและใชภ้ าษาท่ีหลากหลาย นำ�มาซึง่ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งผู้เรยี น อาจารย ์ บุคลากร ประเภท (ห้องตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ห้องเสริมความรูเ้ ฉพาะทาง เปน็ พื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจดั การการเรียนการสอน / การพฒั นา (ใชร้ ะบบ Service Center) นักเรยี น ในการเสรมิ ความรู้ทางด้านภาษา เช่น อังกฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมนั จีน ญี่ปนุ่ เกาหลี สเปน เป็นต้น ซง่ึ มกี ารติดตง้ั ระบบการ สอื่ สาร โสตทศั นปู กรณ ์ เทคโนโลยรี องรบั ในการจดั การเรียนการ สอน โดยมกี ารแบ่งพน้ื ท่ภี ายในเป็นห้องย่อยจ�ำ นวน 6 หอ้ ง ดงั น้ี - หอ้ งเรยี นภาษา จำ�นวน 2 ห้อง ทเี่ หมาะกับกลุ่มผู้เรียน 20 คน เพือ่ ใหค้ วามรู้เฉพาะทางและภาษาที่นกั เรียนเลอื กและมคี วามสนใจ - ห้องเสรมิ ความรเู้ ฉพาะทางด้านภาษา จำ�เนวน 4 ห้อง ที่เหมาะ ส�ำ หรับผู้เรียน 12 คน จ�ำ นวน 4 หอ้ ง เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ ฉพาะทาง และภาษาท่นี กั เรยี นเลือกและตามความสนใจ - โถงจัดกิจกรรม เปน็ พืน้ ที่สนับสนุนกจิ กรรมการจัดการการเรยี นการสอน / การ พฒั นานกั เรียน เป็นโถงกลางทีใ่ ช้จัดนิทรรศการ / กิจกรรม ใหค้ วาม ร้ทู างดา้ นภาษานานาชาต ิ โดยจะจดั นิทรรศการรวมและเปลย่ี นหัวข้อ ตามโอกาสต่าง ๆ ซง่ึ เน้นใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมและ มอี าจารย์เปน็ ท่ีปรึกษา เพอ่ื ใหก้ ารน�ำ เสนอในแนวคิดท่ีเหมาะสมกบั ปัจจุบนั และใช้ภาษาทหี่ ลากหลาย นำ�มาซึง่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผ้เู รียน อาจารย ์ บุคลากร ตลอดจนผทู้ ีส่ นใจ - สุขาชาย / สุขาหญิง / สุขาผู้ เพื่อเป็นพ้นื ท่หี ้องสขุ ารองรับอารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการท่ีมารับบริการ ตดิ ต่อราชการ รวมทงั้ การให้บริการแก่นกั เรียน / นิสิต / ผปู้ กครอง / บุคลากร 187

3.10 ช้ัน 9 : พ้ืนที ่ 638 ตารางเมตร เป็นการจดั พ้นื ทร่ี องรับการสนับสนุนภารกจิ งานบรหิ าร / งานพฒั นานักเรียน โดยเป็นพ้นื ทีใ่ นการ ให้บรกิ ารสำ�หรับผูป้ กครอง / นกั เรยี น / นิสติ / บคุ ลากรของโรงเรียน / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผ้มู าตดิ ตอ่ ราชการตา่ ง ๆ ซึ่งมแี นวคิดในการจดั พ้ืนที่เปน็ แบบ One Stop Service เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการ ติดต่อประสานงานของโรงเรียน ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - หนว่ ยผลติ เอกสาร เพ่อื เปน็ พ้นื ท่ีสนบั สนุนภารกิจงานบริหาร เปน็ หน่วยใหบ้ ริการจดั ทำ�เอกสารการเรยี นการสอน ขอ้ สอบ จดหมายโรงเรียน ตลอดจน เอกสารตา่ ง ๆ ของโรงเรียน - ฝา่ ยบรหิ าร เพื่อเป็นพน้ื ทีส่ นับสนุนภารกจิ งานบริหาร เป็นพนื้ ทที่ ำ�งานของผู้ บรหิ ารฝา่ ยบริหาร ทมี่ ีภารกิจตดิ ตอ่ กบั บคุ ลากรท้งั ภายในโรงเรียน และจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตลอดจนบคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาตดิ ตอ่ ราชการ - ห้องประชมุ (ใช้ระบบ Service เพอ่ื เป็นพน้ื สนับสนุนภารกจิ งานบริหาร รองรบั การจดั ประชมุ และมี Center) ห้องประชมุ จำ�นวน 2 หอ้ ง รองรบั ผเู้ ขา้ ร่วมจ�ำ นวน 20 คน และ 12 คน ตามล�ำ ดบั โดยจดั พ้ืนทไี่ วส้ �ำ หรบั บรกิ าร การประชมุ / การ บรรยายกลุ่มย่อย / การนำ�เสนอผลงานกลมุ่ ย่อย / การตอ้ นรบั ผ้มู า เยีย่ มชม - สุขาชาย / สขุ าหญงิ / สขุ าผู้ เพ่อื เป็นพนื้ ทห่ี อ้ งสุขารองรบั อารายสถาปัตย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการที่มารับบริการ ตดิ ต่อราชการ รวมทัง้ การให้บริการแกน่ กั เรียน / นสิ ิต / ผู้ปกครอง / บุคลากร 188

3.11 ชน้ั 10 : พน้ื ที่ 638 ตารางเมตร เป็นการจัดพนื้ ท่ีรองรับการสนบั สนนุ ภารกิจงานบริหาร / งานพัฒนานักเรียน โดยเป็นพืน้ ท่ีในการ ให้บริการสำ�หรับผู้ปกครอง / นักเรียน / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน / บุคลากรของจุฬาฯ / ผู้มาติดต่อ ราชการต่าง ๆ ซึ่งมีแนวคิดในการจัดพื้นที่เป็นแบบ One Stop Service เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการ ตดิ ตอ่ ประสานงานของโรงเรยี น ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - ฝา่ ยวิชาการ หลกั สูตรและการ เพอ่ื เป็นพื้นทสี่ นับสนนุ ภารกจิ งานบริหาร เปน็ พ้นื ทีท่ ำ�งานของผู้ สอน / ศนู ยป์ ระสบกาณ์วชิ าชีพ บริหารฝ่ายวชิ าการ หลักสตู รและการสอน และศูนย์ประสบการณ์ วชิ าชีพทม่ี ีภารกิจติดตอ่ กบั บคุ ลากรทัง้ ภายในโรงเรียนและจุฬาลงกรณ์ - หนว่ ยทะเบียนและประเมนิ ผล มหาวิทยาลยั ตลอดจนบุคคลภายนอกทเี่ ข้ามาติดต่อราชการ เพอื่ เปน็ พื้นสนับสนนุ ภารกิจงานบริหาร ในการตดิ ต่อกับบคุ ลากร ภายในโรงเรยี น นกั เรยี น และผู้ปกครอง ดา้ นการออกหนงั สอื รับรอง เอกสารแสดงผลการเรยี น การเปลย่ี นวิชาเลือกต่าง ๆ ฯลฯ - หนว่ ยการเงินและบญั ชี เพื่อเปน็ พนื้ สนับสนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร ในการติดต่อกับบคุ ลากร ภายในโรงเรียน นักเรยี น และผูป้ กครอง ดา้ นการเงิน และการท�ำ เร่ืองเบิกจา่ ยต่าง ๆ ฯลฯ - หนว่ ยพสั ดุ เพื่อเปน็ พนื้ สนับสนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร ในการติดต่อกับบคุ ลากร ภายในโรงเรียน ดา้ นการทำ�เรือ่ งเบกิ จา่ ยตา่ ง ๆ ฯลฯ - หอ้ งประชุม (ใช้ระบบ Service เพอ่ื เปน็ พน้ื สนบั สนุนภารกจิ งานบรหิ าร รองรับการจดั ประชมุ Center) สามารถรองรบั ผเู้ ข้ารว่ มได ้ 8 - 10 คน โดยจดั พื้นทไี่ วส้ �ำ หรับบริการ การประชมุ / การบรรยายกลุ่มยอ่ ย / การน�ำ เสนอผลงานกล่มุ ย่อย / การต้อนรบั ผู้มาเย่ยี มชม - สุขาชาย / สขุ าหญงิ / สขุ าผู้ เพื่อเปน็ พ้นื ทห่ี อ้ งสขุ ารองรับอารายสถาปตั ย์ (Universal design) ใน พิการ การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการท่ีมารับบริการ ติดตอ่ ราชการ รวมทั้งการให้บริการแก่นักเรียน / นสิ ติ / ผู้ปกครอง / บคุ ลากร 189

3.12 ชัน้ 11 : พื้นท่ี 638 ตารางเมตร เป็นการจัดพื้นที่รองรับการสนับสนุนภารกิจงานบริหาร / งานพัฒนานักเรียน โดยเป็นพื้นที่ในการ ให้บริการสำ�หรับผู้ปกครอง / นักเรียน / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน / บุคลากรของจุฬาฯ / ผู้มาติดต่อ ราชการต่าง ๆ ซึ่งมีแนวคิดในการจัดพื้นที่เป็นแบบ One Stop Service เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการ ติดตอ่ ประสานงานของโรงเรียน ประเภท (ห้องตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ฝา่ ยแผนงบประมาณ และประกัน เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนภารกิจงานบริหาร เป็นพื้นที่ทำ�งานของผู้ คุณภาพ บริหารฝา่ ยแผนงบประมาณ และประกันคณุ ภาพ ทมี่ ีภารกิจตดิ ต่อกบั บุคลากรทั้งภายในโรงเรียนและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจน บคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาติดตอ่ ราชการ - ฝา่ ยวริ ัชกจิ และกิจการพเิ ศษ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนภารกิจงานบริหาร เป็นพื้นที่ทำ�งานของผู้ บริหารฝ่ายวิรัชกิจและกิจการพิเศษ ที่มีภารกิจติดต่อกับบุคลากร ทั้งภายในโรงเรียนและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนบุคคล ภายนอกที่เข้ามาติดต่อราชการ - ฝ่ายวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนภารกิจงานบริหาร เป็นพื้นที่ทำ�งานของ ผู้บริหารฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ ที่มีภารกิจติดต่อกับบุคลากร ทั้งภายในโรงเรียนและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนบุคคล ภายนอกที่เข้ามาติดต่อราชการ - ห้องประชุม (ใชร้ ะบบ Service เพือ่ เปน็ พ้ืนสนับสนนุ ภารกจิ งานบริหาร รองรบั การจดั ประชมุ และมี Center) หอ้ งประชมุ จ�ำ นวน 3 หอ้ ง รองรบั ผเู้ ข้าร่วมจำ�นวน 10 คน 15 คน และ 10 คน ตามล�ำ ดับ โดยจัดพ้ืนท่ีไว้ส�ำ หรบั บรกิ าร การประชุม / การบรรยายกลมุ่ ย่อย / การนำ�เสนอผลงานกลุ่มย่อย / การตอ้ นรบั ผู้ มาเยยี่ มชม / ประชมุ อาจารยผ์ ทู้ ำ�วจิ ยั - สุขาชาย / สุขาหญิง / สุขาผู้ เพื่อเป็นพื้นที่ห้องสุขารองรับอารายสถาปัตย์ (Universal de- พกิ าร sign) ในการอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการ ที่มารับบริการติดต่อราชการ รวมทั้งการให้บริการแก่นักเรียน / นิสิต / ผู้ปกครอง / บุคลากร 190

3.13 ชน้ั 12 : พ้ืนที ่ 638 ตารางเมตร เปน็ การจดั พืน้ ทีร่ องรบั การสนบั สนุนภารกจิ งานบรหิ าร / งานพฒั นานกั เรยี น โดยเปน็ พนื้ ทใี่ นการ ให้บริการสำ�หรับผู้ปกครอง / นักเรียน / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน / บุคลากรของจุฬาฯ / ผู้มาติดต่อ ราชการต่าง ๆ ซึ่งมีแนวคิดในการจัดพื้นที่เป็นแบบ One Stop Service เพื่ออำ�นวยความสะดวกในการ ติดต่อประสานงานของโรงเรยี น ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใช้งาน - หอ้ งผ้อู ำ�นวยการ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนภารกิจงานบริหาร เป็นการจัดพื้นที่ เอื้ออำ�นวยความสะดวกให้กับการทำ�งานทางด้านบริหารที่มีห้อง ทำ�งานของฝ่ายต่าง ๆ อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน (ชั้น 9 - 12) และการติดต่อกับบุคลากรทั้งภายในโรงเรียนและจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ตลอดจนบุคคลภายนอกที่เข้ามาติดต่อราชการ ที่ มีประสิทธิภาพ - หอ้ งประชมุ (ใช้ระบบ Service เพื่อเป็นพื้นสนับสนุนภารกิจงานบริหาร รองรับการจัดประชุม Center) และมีห้องประชุมจำ�นวน 2 ห้อง รองรับผู้เข้าร่วมจำ�นวน 40 คน และ 20 คน ตามลำ�ดับ โดยจัดพื้นที่ไว้สำ�หรับบริการ การ ประชุม / การบรรยายกลุ่มย่อย / การนำ�เสนอผลงานกลุ่มย่อย / การต้อนรับผู้มาเยี่ยมชม โดยเฉพาะการประชุมคณะกรรมการ บริหารโรงเรียน คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการที่ปรึกษา ด้านนโยบายและการบริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา คณะ กรรมการสมาคมผู้ปกครองและครูฯ คณะกรรมการสมาคมนัก เรียนฯ - หอ้ งรับรอง / หอ้ งพระประจ�ำ เพื่อเป็นพื้นสนับสนุนภารกิจงานบริหาร รองรับผู้มารอพบผู้ โรงเรียน อำ�นวยการโรงเรียนฯ - HALL OF FAME เพ่ือเป็นพื้นท่ีรองรับสำ�หรับแสดงประวัติความเป็นมาท่ีสำ�คัญของ โรงเรยี น และถว้ ยรางวลั ตา่ ง ๆ ท่โี รงเรียนไดร้ บั - สขุ าชาย / สขุ าหญิง / สขุ าผู้ เพื่อเป็นพื้นที่ห้องสุขารองรับอารายสถาปัตย์ (Universal de- พิการ sign) ในการอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการ ที่มารับบริการติดต่อราชการ รวมทั้งการให้บริการแก่นักเรียน / นิสิต / ผู้ปกครอง / บุคลากร 191

3.14 ช้ัน 13 : พน้ื ท่ ี 638 ตารางเมตร เปน็ การจัดพื้นที่รองรบั การสนบั สนนุ การเรียนการสอน / สนบั สนุนภารกิจงานบรหิ าร / งานพฒั นา นักเรียน / การบรกิ ารวิชาการส่ชู มุ ชน โดยเปน็ พ้นื ทใี่ หบ้ รกิ ารสำ�หรับนักเรียน / นิสิต / บคุ ลากรของโรงเรียน / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบระบบ Service Center เป็นการรองรับการใช้งานในอนาคตของห้องเรียน / ห้องปฏิบัติการ / ห้องพักอาจารย์ เพื่อแก้ปัญหาสำ�หรับ การรื้อถอนอาคารเรียน การรองรับการเพิ่มจ�ำ นวนห้องเรียนจากระดับชั้นละ 7 ห้องเรียน เป็นระดับชั้นละ 8 ห้องเรียน และการรองรับการใช้พื้นที่สำ�หรับผลิตนวัตกรรมของอาจารย์และนักเรียน ที่ต้องใช้ระยะเวลา ตอ่ เน่ืองในการด�ำ เนนิ การ ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใช้งาน - พ้ืนที่รองรับหอ้ งเรียน / ห้อง เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / ปฏิบตั กิ าร / หอ้ งพักอาจารย์ / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นการ พ้ืนท่ผี ลิตนวตั กรรม รองรับการใช้งานในอนาคตดังต่อไปนี้ - การรองรับห้องเรียน / ห้องปฏิบัติการ / ห้องพักอาจารย์ ใน อนาคต เพื่อแก้ปัญหาสำ�หรับการรื้อถอนอาคารเรียน - การรองรับการเพิ่มจำ�นวนห้องเรียนจากระดับชั้นละ 7 ห้องเรียน เป็นระดับชั้นละ 8 ห้องเรียน - การรองรับการใช้พื้นที่สำ�หรับผลิตนวัตกรรมของอาจารย์และ นักเรียน ที่ต้องใช้ระยะเวลาต่อเนื่องในการดำ�เนินการ 192

3.15 ชน้ั 14 : พื้นที ่ 638 ตารางเมตร เป็นการจัดพน้ื ทร่ี องรบั การสนับสนนุ การเรยี นการสอน / สนบั สนุนภารกิจงานบริหาร / งานพัฒนา นกั เรยี น / การบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน โดยเปน็ พนื้ ทใ่ี หบ้ รกิ ารส�ำ หรบั นกั เรยี น / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเยย่ี มชมโรงเรยี น ซง่ึ มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบระบบ Service Center เปน็ การ รองรบั การใชง้ านในอนาคตของหอ้ งเรยี น / หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร / หอ้ งพกั อาจารย์ เพอ่ื แกป้ ญั หาส�ำ หรบั การรอ้ื ถอน อาคารเรยี น การรองรบั การเพมิ่ จ�ำ นวนหอ้ งเรยี นจากระดบั ชน้ั ละ 7 หอ้ งเรยี น เปน็ ระดบั ชน้ั ละ 8 หอ้ งเรยี น และการรองรับการใช้พื้นที่สำ�หรับผลิตนวัตกรรมของอาจารย์และนักเรียน ที่ต้องใช้ระยะเวลาต่อเนื่อง ในการดำ�เนนิ การ ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอียดในการใช้งาน - พ้นื ท่ีรองรบั ห้องเรียน / ห้อง เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / ปฏิบตั กิ าร / หอ้ งพักอาจารย์ / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นการ พน้ื ท่ผี ลติ นวัตกรรม รองรับการใช้งานในอนาคตดังต่อไปนี้ - การรองรับห้องเรียน / ห้องปฏิบัติการ / ห้องพักอาจารย์ ใน อนาคต เพื่อแก้ปัญหาสำ�หรับการรื้อถอนอาคารเรียน - การรองรับการเพิ่มจำ�นวนห้องเรียนจากระดับชั้นละ 7 ห้องเรียน เป็นระดับชั้นละ 8 ห้องเรียน - การรองรับการใช้พื้นที่สำ�หรับผลิตนวัตกรรมของอาจารย์และ นักเรียน ที่ต้องใช้ระยะเวลาต่อเนื่องในการดำ�เนินการ 193

3.16 ช้นั 15 : พนื้ ที่ 638 ตารางเมตร เปน็ การจัดพ้นื ท่รี องรับการสนับสนุนการเรียนการสอน / สนบั สนนุ ภารกจิ งานบริหาร / งานพัฒนา นกั เรียน / การบรกิ ารวชิ าการสู่ชุมชน โดยเปน็ พ้ืนทใี่ ห้บรกิ ารสำ�หรบั นกั เรียน / นิสิต / บุคลากรของโรงเรียน / บคุ ลากรของจฬุ าฯ / ผปู้ กครอง / ผมู้ าเย่ียมชมโรงเรียน ซึง่ มีการให้บริการในรูปแบบระบบ Service Center เปน็ การรองรับการใช้งานในอนาคตของหอ้ งเรียน / หอ้ งปฏบิ ัติการ / หอ้ งพักอาจารย์ เพื่อแก้ปญั หาสำ�หรับ การรือ้ ถอนอาคารเรียน การรองรบั การเพม่ิ จำ�นวนห้องเรยี นจากระดบั ชนั้ ละ 7 หอ้ งเรยี น เป็นระดบั ชัน้ ละ 8 ห้องเรียน และการรองรบั การใช้พนื้ ที่ส�ำ หรับผลติ นวตั กรรมของอาจารยแ์ ละนักเรยี น ที่ต้องใช้ระยะเวลาต่อ เนื่องในการด�ำ เนินการ ประเภท (ห้องตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - พืน้ ท่รี องรบั ห้องเรยี น / หอ้ ง เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / ปฏิบัติการ / ห้องพกั อาจารย์ / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นการ พ้นื ทผี่ ลติ นวัตกรรม รองรับการใช้งานในอนาคตดังต่อไปนี้ - การรองรับห้องเรียน / ห้องปฏิบัติการ / ห้องพักอาจารย์ ใน อนาคต เพื่อแก้ปัญหาสำ�หรับการรื้อถอนอาคารเรียน - การรองรับการเพิ่มจำ�นวนห้องเรียนจากระดับชั้นละ 7 ห้องเรียน เป็นระดับชั้นละ 8 ห้องเรียน - การรองรับการใช้พื้นที่สำ�หรับผลิตนวัตกรรมของอาจารย์และ นักเรียน ที่ต้องใช้ระยะเวลาต่อเนื่องในการดำ�เนินการ 194

3.17 ชนั้ 16 : พน้ื ท ่ี 638 ตารางเมตร เปน็ การจัดพน้ื ทีร่ องรบั การสนบั สนนุ การเรียนการสอน / สนับสนุนภารกจิ งานบริหาร / งานพฒั นา นักเรยี น โดยเป็นพื้นท่ีใหบ้ ริการสำ�หรบั นักเรยี น / นสิ ติ / บุคลากรของโรงเรียน / ผมู้ าเย่ียมชมโรงเรยี น ซึ่งมกี ารใหบ้ ริการในรปู แบบระบบ Service Center เป็นการรองรับการให้บรกิ ารการจัดการเรยี นการสอนใน ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ / กลมุ่ กจิ กรรม และเปน็ สถานที่ฝึกประสบการณใ์ ห้กับนักเรยี นและนิสิตในการใช้ โสตทศั นปู กรณ์ เพือ่ ผลติ สื่อการเรยี นรู้ / สือ่ การเรยี นการสอน ประเภท (หอ้ งต่างๆ ) รายละเอยี ดในการใช้งาน - หน่วยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / (ใช้ระบบ Service Center) สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นหน่วย ให้บริการการจัดการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ / กลุ่มกิจกรรม และเป็นสถานที่ฝึกประสบการณ์ให้กับนักเรียนและ นิสิตในการใช้โสตทัศนูปกรณ์ เพื่อผลิตสื่อการเรียนรู้ / สื่อการ เรียนการสอน โดยมีพื้นที่ภายในหน่วยดังนี้ - ห้องผลิตสื่อ Multimedia - ห้องอัดภาพและเสียง - ห้องสื่อประสมขนาดเล็ก - ห้องเก็บอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ - อื่น ๆ - หอ้ งส่อื ประสมทรงกระบอก เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน (ใชร้ ะบบ Service Center) / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน สามารถ รองรับการให้บริการสูงสุดจำ�นวน 100 คน / ครั้ง โดยจะมีโสต ทัศนูปกรณ์ 2D / 3D / VR ในมุมมองต่าง ๆ ตั้งแต่ พาโนรา มา / 900 / 1800 / 3600 เพื่อให้ผู้เข้าใช้บริการสามารถชมได้ ทั่วถึง สามารถใช้เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำ�กัดของอาจารย ์ นักเรียน นิสิต และผู้สนใจ สร้างความรู้สึกเสมือนจริง กระตุ้น ความสนใจ สร้างความสนุกสนานในการเรียนรู้ โดยมีพื้นที่การ เรียนรู้ใน 3 ส่วน ดังนี้ 1.บริเวณผนัง จะฉายบนผนังทรงกระบอก ทำ�ให้เสมือนอยู่ ในบรรยากาศจริง สร้างความน่าสนใจในการเรียนรู้ อีกทั้งยัง กระตุ้นให้ผู้ผลิตสื่อ (อาจารย์ / นักเรียน / นิสิต) เกิดความคิด สร้างสรรค์ที่จะผลิตสื่อในหลากหลายรูปแบบ รวมทั้งเป็นการให้ผู้ ผลิตสื่อได้ใช้อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ของจริงในการผลิตสื่อ 2. บริเวณพื้นห้องที่เป็นพื้นเรียบ ยังสามารถฉายภาพที่พื้นเพื่อ สร้างบรรยากาศเสมือนจริง เช่น การยืนอยู่ในป่า การอยู่บนน้ำ� เป็นต้น สอดคล้องกับภาพที่ปรากฎบนผนังห้อง 3. บริเวณหลังคาโดม ซึ่งคลอบห้องสื่อประสมทรงกระบอก เพื่อ ใช้สมมติเป็นท้องฟ้าในการเรียนรู้ด้านดาราศาสตร์ ภูมิศาสตร ์ ท้องฟ้าจำ�ลอง 195

ประเภท (ห้องต่างๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - พนื้ ท่ผี นังภายนอกของหอ้ งส่ือ ประสมทรงกระบอก (ใชร้ ะบบ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / Service Center) สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยใช้เป็น พื้นที่สำ�หรับการเรียนรู้ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น จัดนิทรรศการ - สขุ าชาย / สุขาหญิง / สขุ าผู้ เรียนรู้ตามความสนใจ ทำ�งานกลุ่ม Co - Working Space พกิ าร กิจกรรมสันทนาการ ฯลฯ เป็นต้น เพือ่ เป็นพืน้ ทหี่ อ้ งสขุ ารองรับอารายสถาปัตย์ (Universal design) ใน การอำ�นวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้กับผู้พิการที่มารับบริการ ติดต่อราชการ รวมทั้งการให้บรกิ ารแกน่ ักเรยี น / นิสิต / ผู้ปกครอง / บุคลากร 3.18 ช้ัน 17 : พน้ื ที่ 547 ตารางเมตร เป็นการจดั พน้ื ทีร่ องรบั การสนับสนุนการเรยี นการสอน / สนับสนนุ ภารกจิ งานบรหิ าร / งานพัฒนา นกั เรยี น โดยเปน็ พ้นื ทใี่ หบ้ รกิ ารสำ�หรับนักเรยี น / นิสติ / บคุ ลากรของโรงเรยี น / ผมู้ าเยี่ยมชมโรงเรียน เปน็ การรองรบั การจดั การเรียนการสอนดา้ นดาราศาสตร์และอวกาศของนกั เรยี น / นิสติ การใหบ้ รกิ าร วิชาการดา้ นดาราศาสตรแ์ ละอวกาศส�ำ หรับผู้มาเย่ียมชมโรงเรยี น ประเภท (ห้องตา่ งๆ ) รายละเอียดในการใชง้ าน - ศูนยส์ งั เกตการณโ์ ลกและอวกาศ เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / เพื่อการเรยี นรู้ สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นศูนย์ ที่ให้การสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนในด้านโลก ดาราศาสตร์และอวกาศในระดับมัธยมศึกษา เป็นแหล่งค้นคว้า รวบรวม และอ้างอิง เกี่ยวกับความรู้ด้านโลก ดาราศาสตร์และ อวกาศในระดับมัธยมศึกษา รวมถึงเป็นส่วนหนึ่งในการผลิตและ พัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศระดับมัธยมศึกษา ตลอดจนสร้างเครือข่ายเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และการจัดการเรียนการสอนของ คณาจารย์ในด้านโลก ดาราศาสตร์และอวกาศระดับมัธยมศึกษา และสามารถพัฒนาตนเองในระดับอุดมศึกษาและเกิดประโยชน์ กับประเทศชาติได้ 196

3.19 ชน้ั ดาดฟ้า : พนื้ ท ่ี 278 ตารางเมตร เป็นการจดั พืน้ ท่รี องรับการสนับสนนุ การเรียนการสอน / สนบั สนุนภารกิจงานบริหาร / งานพฒั นา นกั เรยี น โดยเป็นพนื้ ทใ่ี หบ้ ริการส�ำ หรบั นกั เรียน / นสิ ติ / บคุ ลากรของโรงเรียน / ผ้มู าเย่ียมชมโรงเรยี น เปน็ การรองรบั การจดั การเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ิด้านดาราศาสตร ์ อวกาศ และอุตนุ ยิ มวิทยา ของ นักเรียน / นสิ ิต การให้บรกิ ารวิชาการภาคปฏิบัติด้านดาราศาสตร ์ อวกาศ และอตุ นุ ยิ มวิทยา ส�ำ หรับผู้มา เย่ยี มชมโรงเรียน ประเภท (หอ้ งตา่ งๆ ) รายละเอยี ดในการใชง้ าน - ดาดฟา้ และหลังคา เพื่อเป็นพื้นที่สนับสนุนกิจกรรมการจัดการการเรียนการสอน / สนับสนุนภารกิจงานบริหาร / การพัฒนานักเรียน โดยเป็นการ เรียนรู้ทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ซึ่งมีความสำ�คัญต่อการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ เพื่อให้นักเรียนสาธิตมีความรู้และ ความพร้อมในการศึกษาต่อและสร้างนวัตกรรม โดยสามารถเผย แพร่องค์ความรู้ให้กับผู้สนใจจากภายนอก และเข้าศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงมี - หอดูดาว ซึ่งมีกล้องโทรทัศน์ ขนาด 0.4 เมตร ที่มีประสิทธิภาพ ในการดูดาว โดยมี หลังคาเป็นโดม ที่สามารถเปิด – ปิดได้ เมื่อใช้งาน - สนามอุตุนิยมวิทยา ที่จะมีอุปกรณ์เครื่องมือในการให้นักเรียน ศึกษา ค้นคว้า และทดลองในการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ สภาพอากาศ - ท้องฟ้าจำ�ลองดิจิตอล จะเป็นหลังทางโดมที่โผล่ออกมาจาก ชั้น 16 ที่เป็นหน่วยเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีห้องสื่อประสม อเนกประสงค์ ทรงกระบอกที่ใช้ Multimedia โดยมีหลังคาทรง โดมโผล่ขึ้นไปบนดาดฟ้า เพื่อให้เป็นการฉายภาพท้องฟ้าจำ�ลอง ดิจิตอล จำ�ลองการเรียนรู้จากสภาพเหมือนจริงสามารถสร้างองค์ ความรู้ให้กับนักเรียน/คณาจารย์/นิสิต และผู้สนใจที่เข้าเยี่ยมชม 3.20 พน้ื ท่ีอาคารเครอ่ื งกล : พ้นื ที่ 825 ตารางเมตร ๔. ระยะเวลากอ่ สรา้ ง รวมเวลา 3 ปงี บประมาณ จำ�นวน 1,065 วนั เร่ิม : ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (14 กันยายน 2564) สิ้นสดุ : ปงี บประมาณ พ.ศ.2567 (13 สงิ หาคม 256๗) 197

198

199

200


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook