Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore QCEbook61

Description: QCEbook61

Keywords: quality,QC

Search

Read the Text Version

หนังสือถอดบทเรียน ป 2561 งานมหกรรมคุณภาพ ครง้ั ท่ี 25 สารบญั งานมหกรรมคณุ ภาพ ครง้ั ที่ 25 คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหิดล

สารบญั หนังสือถอดบทเรียน งานมหกรรมคณุ ภาพ ครง้ั ที่ 25 คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล สวนที่ 1 การถอดบทเรยี นการบรรยาย ศนู ยพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย (MIND Center) นวัตกรรมทา มกลางความขาดแคลน บริการแหงคณุ คาเพอ่ื คนชายแดน เสวนา นวตั กรรมทางพันธศุ าสตรเ พ่ือสุขภาวะของผูปวย เสวนา นวตั กรรมไทยตอบโจทยสุขภาพโลก เสวนา นวตั กรรมเพื่อสงั คมและสุขภาพ สว นที่ 2 การนําเสนอผลงาน การนําเสนอผลงานเรอ่ื งเลา เราพลัง -แสงสุดทาย -คุณคาของชวี ิต -TransTelephonic หางกายใกลใจ -ชวี ติ ใหชีวิต การนาํ เสนอผลงาน CQI -เพิ่มประสิทธิภาพการชว ยฟนคืนชีวติ ผูปวยใน ฝายการพยาบาลศูนยก ารแพทยส ิรกิ ติ ิ์ -การลดอตั ราการเกดิ ภาวะปอดอกั เสบทส่ี ัมพันธกับการใชเครือ่ งชวยหายใจในหอผูปวยวิกฤตและก่งึ วิกฤตแบบ บรู ณาการ -Primary Nurse Care จากแนวคิดสูก ารปฏบิ ตั ิอยางเปนรปู ธรรม -ผลลัพธทางคลินิกของการใชย าปฏชิ วี นะในสตรีคลอดทางชอ งคลอดในโรงพยาบาลรามาธิบดี -RAMA Economy Gas Sampling line -ใหญพอม้ัย -ระบบแบบสอบถามออนไลน -SST ACU PLATE คําขอบคุณ ภาคผนวก กําหนดการงานมหกรรมคณุ ภาพฯ รายช่ือทมี ถอดบทเรยี น



ชอ่ื เรอื่ ง ศนู ยพัฒนานวตั กรรมทางการแพทย Medical Innovation Development Center (MIND CENTER) วันท่ี พฤหัสบดี ที่ 23 สงิ หาคม 2561 เวลา 09.05-09.15 น. หองประชุม ชัน้ 8-9 อาคารเรยี นและปฏิบัตกิ ารรวมดานการแพทยแ ละโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี หวั ขอบรรยาย ศูนยพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย(MIND CENTER) รูปแบบการนาํ เสนอการเสวนา วิทยากร รศ.นพ.ชาครีย กติ ยิ ากร หัวหนาศูนยพ ฒั นานวัตกรรมทางการแพทย ผศ.ดร.ยศชนนั วงศสวสั ดิ์ รองคณบดฝี ายบัณฑิตและวิเทศสัมพันธ คณะวศิ วกรรมศาสตร ผศ. น.ท. สรยทุ ธ ชํานาญเวช ภาควิชาศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัย มหิดล ผศ.ดร.นพ.ตุลยพฤกษ ถาวรสวัสด์ริ ักษ ภาควิชาออรโธปด ิกส คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล อ.พญ. พีรญา รธุ ิรพงษ ภาควิชาเวชศาสตรฟ นฟู คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล ************************************************************************************************** รศ.นพ.ชาครีย กิติยากร หัวหนาศนู ยพ ฒั นานวตั กรรมทางการแพทย เน้ือหา ความเปนมาของศูนยพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย (MIND CENTER)ตั้งอยูที่อาคาร 4 ชั้นใตดินเดิม เปนหองเวชระเบียนเกา ศูนยน้ีไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลรวมกับคณะวิศวกรรมมหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ วิทยาศาสตร มีแนวคิดทําตามพระราชบัญญัติของพระราชบิดา คือนําความสําเร็จไปประยุกตใช และการนําความคิด นอกกรอบไปสูการใชประโยชนไดอยางแทจริงเพื่อสนองนโยบายแหงชาติในดานสุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย ของกระทรวงสาธารณสขุ ซง่ึ พิธเี ปดศนู ยพ ฒั นานวัตกรรมทางการแพทย เปดดําเนินการภายในวนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2561 วัตถุประสงค เปนการเชอื่ มโยงผลงานในการผลิตนวัตกรรมทางการแพทยห ลายๆ ดาน โดยมีความรวมมือจาก แพทย วิศวกร และนักวิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัยกับการผลติ อยางแทจริงสําหรับภาคอุตสาหกรรมเพ่ือสราง พฒั นา ทดสอบนวัตกรรมทางการแพทย ท่ีตอบสนองความตองการในดานสุขภาพ สรางความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑที่ทําใน ประเทศไทย โดยผานการรับรองมาตรฐานสากล สรางเครือขายความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน สนับสนุน นวัตกรรมแหง ความคดิ ของบุคลากร และบริหารจัดการนวตั กรรมเพ่ือนําออกสเู ชิงพาณิชย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

โดยมวี ตั ถุประสงค - เพือ่ ใหบริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสรจ็ (One stop service)ในการพัฒนาเครื่องมอื แพทย - เปนพื้นทภ่ี ายในโรงพยาบาลที่รวบรวมความชาํ นาญทางดานตางๆ ทง้ั แพทย นกั วิทยาศาสตรและวศิ วกร - เพอื่ สราง พฒั นา ทดสอบ นวัตกรรมทางการแพทย ท่ีตอบสนองความตองการในดา นสุขภาพ - สรางความเช่ือมั่นในผลติ ภัณฑทท่ี าํ ในประเทศไทย โดยผา นการรบั รองจากมาตรฐานสากล - สนับสนุนนวัตกรรมแหงคงวามคิดสรางสรรคในการสรางนวัตกรรมแบบสหวิทยาการระหวางนักศึกษา บคุ ลากรทางการแพทย นกั วทิ ยาศาสตรและวิศวกร - สรางเครือขา ยความรวมมือระหวา งภาครับและเอกชน - การจดั การทรัพยสนิ ทางปญญา เพอ่ื ปกปอ งและขยายโอกาสทางธุรกิจ - บริหารจัดการนวัตกรรมเพ่ือนําออกสูเชิงพาณิชยมีการกระตุนใหเกิดองคกรแหงนวัตกรรม (Innovation culture)จัดกิจกรรมตางๆ เชน จัด work shop จัดสัมมนาจัดทุน และจัดผูเช่ียวชาญท้ังหลาย นําไปสูการ บริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology: IT) ตัวอยางเชน การรวมงานกับ ภาคเอกชนสรางความรวมมือกับบริษัท เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑทางการแพทย เชน กิจกรรมบมเพาะนักนวัตกรรมทางการแพทยและการคิดคนการรักษาโรคหลอดเลือดแดงใหญโปงพองบริเวณ ทอง(Abdominal Aortic Aneurysms)โดยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล University of Liverpool การทํางานของศนู ยพ ัฒนานวัตกรรมทางการแพทย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ศูนย MIND CENTER ยงั มีการจัดทรพั ยส ินทางปญ ญาดงั นี้ ผศ.ดร.ยศชนัน วงศสวสั ด์ิ รองคณบดฝี า ยบัณฑติ และวเิ ทศสมั พนั ธ คณะวศิ วกรรมศาสตร เนื้อหา คณะวิศวกรรมศาสตรไดคิดคนนวัตกรรมข้ึน โดยใชเทคโนโลยีเขา มาผสมผสานกับทา รําของไทย ใชทา รําของโขนมาเปนสวนประกอบในการรักษาผูปวย การรําโขนผูปวยไมตองออกแรงมากและเปนกิจกรรมท่ีทํางายๆ สงผลใหอารมณของผูปวยดี มผี ลตอคลื่นสมอง คลน่ื สมองก็จะสงไปที่ตัวเซ็นเซอร ซ่งึ เปน นวัตกรรมที่สามารถนํามาใชกับผปู วยทพุ ลภาพได อีกท้ังทาราํ บางทายังทําใหผ ูปวยไมตอ ง รบั ประทานยา ดังน้ัน จะดีหรือหากท่ีแพทยขณะทําการผาตัด ไมมีเคร่ืองมือชวยใหการผาตัดเสร็จ สมบูรณได จะเดินมาปรึกษากับกลุมที่มีความเช่ียวชาญในแตละดานท่ี MIND CENTER ซึ่งเปนศูนยรวมผูเชี่ยวชาญดานตางๆ ไวดวยกัน เพื่อใหเกิดนวัตกรรมเครื่องมือแพทย เกิดความรวมมือในการทําวิจัยท้ังดานนักวิจัย การศึกษา การวิจัยในทางคลินิก (Research Collaboration, Education Collaboration, Human Research Development)ขึ้น ผศ. น.ท. สรยุทธ ชํานาญเวช ภาควิชาศัลยศาสตร คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาล รามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล เนื้อหา อาจารยสรยุทธไดกลาวถึง หุนยนต(Robot)ที่ใชในการผา ตดั สมองโดยไม เปดกระโหลก (Transsphenoidal surgery)เปนหุนยนตที่ประกอบเองโดยมีทีมของคณะ วิศวกรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เขามามีสวนรวมในการนํา หุนยนต(Robot)มาชวยผาตัด หุนยนต(Robot) เปรียบเสมือนแขนของมนุษย โดยมี เปาหมายคือการผาตัดผานโพรงอากาศขางจมูก(Sphenoid Sinus)ลักษณะการทํางานจะ tracking ดวย QR code และใช joint ในการขับเคลื่อนเขาไป หลังจากขับเคลื่อนเขาไป แลวจะใช C- arm ดู view หนึ่งและ QR code tracking ดูอีก view หน่ึง surgeon ขับหุนยนตเขาไปตาม plan ท่ี คดิ ไว ควบคุมทิศทางและตาํ แหนง ที่กาํ หนด แตละจุดจะขบั เคลื่อนไปอยางชาๆตามเกลียวของเกยี ร หลังจากนนั้ เมือ่ นํา หุนยนต(Robot) ออก แลวใส endoscope เขาไปในจมูกเพื่อดูวาไดตําแหนงตามตองการหรือไม ถาหุนยนต(Robot) สามารถเขาไปในเปาหมายได surgeon จะสามารถเขาไปที่ โพรงอากาศขางจมูก(Sphenoid Sinus) ภายใน 5 นาที Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

คลิปวิดีโอทีแ่ สดงน้ี ยังไมสามารถใชไดจ ริงทางคลินิก เพยี งสรา งเปนตนแบบในการพฒั นา(proof-of-concept model) แสดงใหเ ห็นวา “เราทําได” และพยายามทจี่ ะทําตอไปเพอ่ื ใหไ ดใชจ รงิ ในอนาคต ผศ.ดร.นพ.ตุลยพฤกษ ถาวรสวสั ดร์ิ กั ษ ภาควชิ าออรโ ธปด กิ ส คณะ แพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล เนื้อหา อาจารยตุลยพฤกษ ไดกลาววาศัลยแพทยเปน Engineering โดย nature อยูแลว แตเดิมใช เนื้อเย่ือ(Tissue)เกายายจากที่หนึ่งไปอีกท่ีหน่ึง ปจจุบันสามารถสราง เนื้อเย่ือ(Tissue)ใหมได วิศวกรชีวการแพทยมีมา 20 ปแลว โดยนําเน้ือเย่ือในรางกาย กลับมาใชอีกครั้งหนึ่ง ไดมีการทดลองในหนูมาปลูกเนื้อเย่ือใหม เรามีความตองการเน้ือเย่ือ ชนิดตางๆเพ่ือการรกั ษา เชน ผิวหนัง กระดกู เสน เลือดเทียม ทางศลั ยกรรมมีความตองการ ใชตับและในการเปล่ียนถายอวัยวะ (transplant)ปจจุบันผูบริจาค(donor)มีนอย ถาสามารถสรางเน้ือเย่ือ(Tissue) ได ใหมจะดีมาก โดยใช แนวคิด(concept)ของ วิศวกรชีวการแพทยการเปลี่ยนขอใหมมีอายุการใชงาน ถาเปลีย่ นเน้ือเย่ือ (Tissue) ใหม อายุการใชงานจะมากขึ้น ปจจุบันสามารถสรางกระดูกออน(cartilage)ใหมไดแลว สําหรับกระดูก (bone)ท่ีไมติดหรือเปนมะเร็ง ตองตัดกระดูกจะสามารถใชกระดูกทดแทนได การเปล่ียนเนื้อเยื่อ(Tissue)ใหมนี้ ประกอบไปดวย 3 อยางคือ 1.เซลล(Cell)เปนเนื้อเย่ือในรางกาย โดยนักวิทยาศาสตรหรือ แพทยจะสรางข้ึนมา 2. กระดูกเทยี ม (Scaffold) หรือโครงสราง โดยวิศวกรเปนผูสราง 3. Cell Signaling คือgrowth factor ทีม่ ารวมกัน โดย นักวิทยาศาสตรเปนผูสราง ทางทีมศัลยกรรมกระดูก (Orthopedic) โรงพยาบาลรามาธิบดี ไดสรางกระดูกออนของ เซลล (Cell) ท่เี ลี้ยงในหลอดทดลองประมาณ 3 อาทิตยเกดิ กระดูกเล็กๆ เมด็ ละ ครึ่งเซนติเมตร ตามทุนทรัพยท่มี ี และ ไดร บั การตีพิมพแ ลว ถาตอ งการกระดูกที่ใหญข นึ้ กต็ อ งสรางโครงสรางใหมเพื่อใหเ ซลล (Cell) มาเกาะ ขณะทีอ่ าจารย ตุลยพฤกษ เปน แพทยประจําบาน(Chief Resident) ไดศึกษาวิจัยรวมกับทางมหาวิทาลัยสก็อตแลนด ทดลองใน กระดูกของแกะที่ตอไมติดโดยฉีดเซลล(Cell) เขาไปในตัวแบบของสัตว(model) ไดทําสําเร็จมาแลว ขอดีคือชวย growth factor กระตุนการทํางานของเซลล( Cell) ไดม ากขึ้น โดยทํางานรว มกับนักเทคนิคการแพทยทดสอบสารเคมีท่ี อยูในเลือดใหบริสทุ ธิ์ และใหเหมาะกบั เซลล( Cell) ที่ทาํ มา โดยพบวาสามารถกระตนุ การทํางานของเซลล(Cell) ไดดีข้ึน ในการทําวิจัยการใชเกล็ดเลือดที่มีความเขมขนกวาเกล็ดเลือดในกระแสโลหิตท่ัวไป(Platelet Rich Plasma : PRP) รักษาเอ็นอักเสบโดยใช ultrasound guide สามารถใชในเนื้อเย่ือออน(soft tissue)ในเสนเอ็นโดยไมตองทําผาตัด ขณะนี้เราตองการ หลอดเลือดเทยี ม (vascular graft) , เสนประสาท (nerve)ท่ียาว, ผวิ หนังเทียม(skin graft), กระดูก (bone)ที่ตอไมต ิด ก็คดิ วา ในอนาคตทางศูนยM INDจะชวยสานฝนใหก บั อาจารยไ ดเพ่อื ใหก ารรักษากบั ผูปว ยที่ดีขน้ึ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

อ.พญ. พีรญา รุธิรพงษภาควชิ าเวชศาสตรฟน ฟู คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล เนื้อหาอาจารยพีรญา ไดไปศึกษาปริญญาโท ในสาขาวิศวกรชีวการแพทย (biomedical engineer)และนําเรื่องท่ีทํานวัตกรรมรวมกับนักกายอุปกรณไปนําเสนอ (present)ท่ีประเทศสหรัฐอเมริกา อาจารยกลาวถึงการทําผลงานนวัตกรรม (innovation)อยากใหมองที่ ประโยชนคุณคา(value)กอน และมองปญหาท่ีแทจริงที่ ตองการแกไข โดยมีวิศวกรรมพรอมเขามาชวยเหลือ ทางอาจารยมองสิ่งที่ใกลตัวกอน แลวมองไปที่คุณภาพชีวิตของผูปวยและผูปวยประเภทไหนที่พบมาก ซึ่งพบวาผปู วยพาร กินสัน มีมากเปนอันดับ 2 ของโลกในผูปวยท่ีอายุเกิน 60 ป เม่ืออายเุ กิน 80 ปพบวามีถึง 3 เทา ผูปวยพารกินสันจะกาวเดินติดๆขัดๆ กาวขาไมคอยออก ไมอยากออกไปไหน ผูปวยไมยอมออกสูสังคม ผูปวย กลุมน้ียังไมมียารักษา ปจจุบันมีการคนพบวาการใชลานสายตาเปนการกระตุนใหผูปวยเดินไดมากขึ้น แตปญหาคือไม สามารถตีเสนสถานที่นอกบานได เสนทีต่ ีในบานอาจจะตีไดไมพ อดีกับกาวที่เดิน ในทองตลาดจะมีติดลานสายตาท่ีสี่ขา หรือไมเ ทา ผูปวยจะเกิดปญหาวาแขนลา อาจารยจึงคิดวานา จะตดิ ตวั ลานสาตาท่เี ทาผูปวย ผูป วยเดินเปนจังหวะทําให สามารถควบคุมการเดินไดดีขน้ึ เปนตัวของตัเอง อุปกรณทที่ ําข้นึ ในราคา 300 บาท แตพบปญหาคอื แบตเตอร่ีหมดเร็ว สายไฟดูไมสวยงาม และไดเขารว ม ผลงานนวัตกรรม(innovation)ของมหดิ ล ท่ีรวมกบั สถาบันบริหารจดั การเทคโนโลยี และนวัตกรรม(MIT)โดยมีกรรมการผูเช่ียวชาญมาใหขอเสนอแนะ(feedback ) เพื่อจะไดนําไปปรับปรุงแกไข กลุม ผูสนใจมีทั้งผูประกอบการ และกลุมการวิจัยทางการแพทย(medical research)เขามารวมแบงปนความคิด(share idea) Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

การสรุปตคี วามโดยทีมถอดบทเรยี น บทเรยี นที่ไดรบั /ปจจัยแหง ความสาํ เรจ็ /ขอเสนอแนะ ปจจัยแหงความสําเรจ็ คือ 1. การนําความคิดนอกกรอบไปใชประโยชนไดอยางแทจรงิ 2. ความรว มมอื ระหวางสหวิชาทั้งภาครฐั และเอกชนการทาํ งานรว มกนั ระหวาง วิศวกรชีวการแพทยแ ละแพทยเ ปน การ ประสานองคความรหู ลายสาขา วทิ ยาศาสตร วิศวกรรมศาสตรแ ละการแพทยเ ขา ดว ยกันการทํางานรว มกนั นําไปสู นวตั กรรมทางการรักษาใหก ับผูปวย ผูจดบันทกึ สงั กดั ภาควิชาศลั ยศาสตร นางสาวนภัสวรรณ เสนาเพง็ สงั กัด หนวยหอ งพักฟน ศัลยศาสตร งานการพยาบาลผาตัด ฝา ยการพยาบาล นางสาวรงุ จติ เติมศริ ิกุลชัย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ชอื่ เรอ่ื ง นวัตกรรมทา มกลางความขาดแคลน บรกิ ารแหง คุณคาเพ่ือคนชายแดน วนั ท่ี 23 สงิ หาคม 2561 เวลา09.20 – 10.00 น. หองประชมุ ช้นั 8-9 อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมดานการแพทยแ ละโรงเรยี นพยาบาลรามาธิบดี หัวขอ บรรยาย นวัตกรรมทามกลางความขาดแคลน บริการแหง คุณคา เพื่อคนชายแดน รปู แบบการนําเสนอบรรยาย วิทยากร นพ.วรวทิ ย ตันติวัฒนทรัพย ผอู ํานวยการโรงพยาบาลอมุ ผาง จงั หวดั ตาก ********************************************************************************************************** ประวัติวทิ ยากร สาํ เร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตรว ชริ พยาบาล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรุนท่ี 1 ไดรบั อนุมัติ วฒุ บิ ัตรจากแพทยสภา สาขาเวชศาสตรป อ งกนั แขนงสุขภาพจติ ชุมชน จบหลกั สูตรผูนาํ เครอื ขายรวมพัฒนาศักยภาพผนู ําการสรางสุขภาวะแนวใหมรนุ ท่ี 1 ไดร ับรางวลั ผอู าํ นวยการโรงพยาบาลชมุ ชนดีเดน และแพทยช นบทดีเดน ไดร บั ปริญญาศิลปศาสตรด ษุ ฎีบณั ฑติ จากสถาบนั การเรยี นรูเพื่อปวงชน ต้ังแตป  2535 ตง้ั แตป  2535 จนถึงปจจุบนั ปฏิบัตงิ านเปน ผูอาํ นวยการโรงพยาบาลอมุ ผาง เนื้อหา จังหวัดตากต้ังอยูภาคตะวันตกหรืออยูในภาคเหนือตอนลางของประเทศไทยอําเภออุมผาง จังหวัดตาก เปนอําเภอท่ีใหญท่ีสุดของประเทศไทย มีพ้ืนที่ 2,703,362.5 ไร หางจากอําเภอเมือง 247 กิโลเมตรต้ังอยูทางตอนใต ของจงั หวัดตากมี 6 ตาํ บล 38 หมูบาน ทิศตะวนั ตกติดตอกบั รัฐกะเหร่ียง กลมุ ชาติพนั ธุไ ทยมง และปกากะญอ จํานวนประชากรที่โรงพยาบาลอุมผางรับผิดชอบ มีจาํ นวนรวมทั้งหมด 80,766 คน ปญ หาท่ีพบในพน้ื ท่ีอําเภอ อมุ ผางก็คือประชากรกวา 50 เปอรเซ็นต เปนผไู มม ีหลักประกันสุขภาพ เน่ืองจากไมไดถอื สัญชาติไทยและมีปญ หาเร่ือง สถานะบคุ คลประชาชนสว นใหญร บั ประทานอาหารมังสวิรัติ ไมตัดผม และมดั จกุ การเดนิ ทางในพ้ืนทเี่ ปน ไปดว ยความยากลําบาก พื้นทีส่ วนใหญข องอําเภอเปนปา ดบิ ช้ืน ไมมถี นน และเสนทาง เปนดินโคลน การเดินทางไปโรงพยาบาลตองใชวิธีหาม ใชรถอีตอกหรือใชชางลากรถ บางคร้ังการเดินทางไปรับผูปวย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ตองใชเ วลาถึง1 วัน และเดินทางกลับอีก 1 วันกรณที ีม่ ผี ูปว ยหนักหรือผูปวยฉุกเฉนิ ตอ งขอเฮลิคอปเตอรเพอื่ ไปรับผปู วย มีเสาวิทยุใชสื่อสารในการติดตอจากสุขศาลากับโรงพยาบาลไดและปจจุบันบริษัท TOT ไดติดต้ัง Internet ผาน ดาวเทียมทําใหไ ดรบั ความสะดวกในการสื่อสารมากข้นึ ภาระงานของโรงพยาบาลอุมผาง 1. การเขา ถงึ บริการสุขภาพ 1.1 สุขศาลาประชากรประมาณ 25% อาศัยอยูในพื้นท่ีหางไกลทุรกันดารมากมีปญหาการเขาถึงบริการ สาธารณสุข จึงมีการจัดต้ังสถานบริการขั้นปฐมภูมิ ตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราช กุมารี คอื 1) สุขศาลาพระราชทาน โรงเรียน ตชด.บานเลตองคุ ต้ังอยูที่หมูบานเลตองคุ เปดใหบริการเมื่อ วนั ที่ 22 กรกฎาคม 2550 2)สุขศาลาพระราชทาน โรงเรียน ตชด.บานแมจันทะ ตั้งอยูท่ีหมูบานแมจันทะ เปดใหบริการคร้ัง แรกเมื่อวนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2550 ตอมาโรงพยาบาลอุมผางไดจัดต้ังเพิ่มเติมเปนสุขศาลาหมูบาน 13 แหงสุขศาลาขามแดน 3 แหง และ คลินกิ ขา มแดน 4 แหง ในป 2550 ไดมีโรคอหิวาตกโรคระบาดที่บานกอเซอ ประเทศพมา นพ.วรวิทย ตันติวัฒนทรัพย และ ทีมงานไดเดินทางไปควบคุมโรคสงเสริมศักยภาพชาวบานใหสามารถชวยเหลือตัวเองได โดยการจัดอบรม และ จัดเตรียมยารวมทั้งวัสดอุ ุปกรณทางการแพทยม าใหห ลังจากน้ันไมม โี รคอหิวาตกโรคระบาดอีกแตคลินิกขามแดนในพมา ยงั มีปญ หาอยูมากและยังไมม ีน้ําใช จึงไดดําเนินการขุดบอบาดาลใหแกโรงพยาบาลในชายแดนพมา และยังพบวามีการ ใหเ ลอื ดโดยใชวิธนี าํ เลอื ดผูใ หกบั ผูรับมารวมกันถา ไมต กตะกอนกใ็ หเ ลือดได 1.2 การคลอดท่ีบานภายใน1 ปมีผูคลอดประมาณ 1 พันคน เปนการคลอดนอกโรงพยาบาลประมาณ 500 คน และทําคลอดโดยหมอตําแยซึ่งมีการจัดกระเปาชวยคลอดพรอมอุปกรณทําคลอดใหแกหมอตําแย ภายใน ประกอบดวย ใบมีดตัดสายสะดือ เครื่องช่ังนํ้าหนักทารกใชแบบแขวน สายยางสวนปสสาวะลูกยางแดง ถุงมือสะอาด ชามสแตนเลส 2 ใบ ผาออมหอ ตัวเดก็ สายวัด เชือกผกู สายสะดือ ยา Terramycin ointment และน้ํายา Providine 2 ขวด เพื่อใชทําความสะอาดชองคลอด 1 ขวด และใชเช็ดสะดือทารก 1 ขวด ซ่ีงของทั้งหมดนี้มีราคา 95 บาทซึ่งใช กระเปาชวยคลอดน้ีไปแลวประมาณ 250-300 คนของผูที่คลอดและสอนใหหมอตําแย รูจักการสวนปสสาวะเพ่ือ ปองกันภาวะการคลอดติดขัด(Obstructed labour)ซ่ึงไดผลดีทําใหการไปรับผูปวยจากการท่ีหมอตําแยทําคลอดเอง ไมไดม ีระยะเวลาหางข้นึ จากประมาณทุก 2 สปั ดาหเ ปน ทกุ 3-4 เดือน พยาบาลเวชปฏิบัติสามารถทํา Ultrasound ไดDetect ความผิดปกติไดรวดเร็วและใหการรักษาที่ เหมาะสม (Early detection prompt treatment) และมีเคสท่ีเสียชีวิตจากการคลอดบุตรเพียง 1 รายในป 2550 หลังจากน้นั ไมมผี ปู ว ยทเ่ี สียชวี ติ จากการคลอดบตุ รอกี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

1.3 มาลาเรียบริเวณชายแดนของจังหวัดตากมียุงมาก จึงใชหลัก EDPT (Early detection prompt treatment) โดยเจอเร็วรักษาเร็ว และใชยา Gametocyte และใชเวลาควบคุมโรค 13 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2545 จน ปจจุบนั ไมมโี รคมาลาเรียเกิดข้นึ อกี 1.4 ตอกระจกมีการผาตัดเปล่ียนเลนส 150 เลนสตอปโดยทีมผาตัดตาจากโรงพยาบาลรามาธิบดีและ มูลนิธิโรคตาลําปางไดใหความชวยเหลือในการหาผูบริจาคเลนสและอุปกรณให และทีมงานจะเขมงวดในเรื่อง กระบวนการผา ตดั ทาํ ใหภ ายหลงั จากการผาตัดไมมีภาวะแทรกซอนเกิดข้ึน 1.5 ปากแหวงเพดานโหวมีจํานวนผูปวย 15 รายตอป โดยไดทีมศัลยแพทยตกแตงจากประเทศ สหรัฐอเมริกามาชวยเหลือในการพิมพปากเด็ก เพื่อทําเพดานเทียม (Obturator) โดยรอให Palate โตกอนจึงทําการ ผา ตัด 1.6 ขาเทียมเนื่องจากอาํ เภออุมผางเปนเขตชายแดน มกี ารสูรบ และมีชาวบานทีเ่ หยียบทุนระเบิดขาขาด ตองถูกตัดขาแลวประมาณ 1,000 ราย ไดขอขาเทียมมาฟรีประมาณ 400-500 ขา มีการจัดต้ังโรงงานทําขาเทียม พระราชทาน แตเ มอื่ ใสไปแลว ผปู วยอวนขึน้ หรือผอมลงกต็ องมาเปล่ียนขาเทยี มใหมในภายหลัง 2. ผลิตภาพ 2.1 ยาเหลือใชโดยการจัดทําถุงผาใหแกผูปวยเพื่อใสยาเกาที่เหลือมาพบแพทย มีการทําสัญลักษณให ผูปวยรับประทานยาใหถูกตอง เน่ืองจากอานหนังสือไมออก เชน ม้ือเชา ทําเปนรูปไกขัน มื้อกลางคืนทําเปนรูป พระจันทรหรือดวงดาว เปน ตน การปรับการส่ังยาของแพทยไมใหส่ังยาที่รับประทานในเวลาท่ีแตกตางกันมาก เภสัชกรจะเปนผูท่ีชวย ตรวจสอบเรื่องจาํ นวนยาและใหค ําแนะนําเรอ่ื งยาซ่ึงพบวามียาเหลอื ในปแรกทที่ ําการสาํ รวจเปนจาํ นวนเงนิ 453,000 บาท ซึ่งถารวมกันท้ังประเทศอาจจะมีมูลคาประมาณ 1 – 4 พันลานบาทจึงขอยาท่ีเหลือจากที่บานและมีการรับ บรจิ าคยามาใชใ นโรงพยาบาลเพอื่ ลดคา ใชจา ย สรุปมูลคา ยาตามโครงการยาเหลอื ใช ปง บประมาณ มลู คา ยาที่รับบรจิ าค (บาท) ปงบประมาณ 2559 3,010,279.77 ปง บประมาณ 2560 9,583,758.13 ปง บประมาณ 2561 (ขอมลู ถงึ ไตรมาส 2) 5,696,612.81 2.2 เด็กตัวเหลืองจากงานวิจัยของอาจารยจากคณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดลพบวา ชาวบานมักแตงงานกันเองภายในเครอื ญาติย่ิงเปน สายที่ใกลชดิ กันมาก เด็กท่ีเกิดมาจะมีความเสีย่ งท่ีจะผดิ ปกติมาก ซ่ึง สาเหตเุ กิดจากยีนดอย โดยปกติแลว ยีนของพอและแมอยา งละครง่ึ จะมยี ีนดอ ยที่แฝงโรคตางๆ ติดมาดว ย ทําใหเด็กมีโอกาสไดร ับ ยนี ดอยน้ีมากกวาปกติ โดยพบโรคภาวะพรองเอนไซด G6PD(G6PD Deficiency)ท่ีเกิดจากความผดิ ปกติทางพนั ธกุ รรม Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ประมาณ 10 คนตอ วนั ทําใหเ ดก็ มีความเสี่ยงตอ ภาวะตัวเหลืองมากขนึ้ กุมารแพทยจ ึงชว ยผลิตเคร่ืองรักษาดวยแสงไฟท่ี มคี วามยาวคลน่ื (wavelength)ระหวา ง 420-475 nm.(Phototherapy)โดย - รอบที่ 1 ใชง บประมาณ 25,000 บาท โดยใชห ลอดไฟ LED 1 Wattจาํ นวนหลายหลอดทดลองใชM eter วดั แสงได30-40 Microwatt ตอ ตารางเมตรและใสฟ ล มตดั แสง UV - รอบท2ี่ ใชหลอดไฟ30 Watt โดยใชเลนสก ระจายแสงแทน ปด โครงที่นอนเด็กดวยมานพลาสตกิ สีเหลือง และทาํ เปนริ้วเพือ่ ระบายอากาศผูปฏิบัตงิ านตอ งใสแวนสีเหลืองผลติ เปนเครอื่ งใชแสงไฟบําบัด (Double Photo) ใชมา เกอื บ10 ป ซึง่ ไดผลดไี มมีเด็กทตี่ องถา ยเลอื ด 2.3 ไบโอดีเซลเริ่มจากตอ งการคุมครองผูบ ริโภคจากการท่มี ผี ูนํานํา้ มันปาลม ที่ทอดซํ้าหลายครัง้ มาทําเปน นํ้ามันพืชมือ 2 ขายในทองตลาดโดยเติมสารกรดของกํามะถัน(Sulfuric Acid) แลวกรองออก ซึ่งพบวามีสารโพลารที่ เปนสารกอมะเร็งมากกวา 20% ซึ่งผิดกฎหมาย และไดถูกเจาหนาทจ่ี บั กุมแลวนาํ นา้ํ มนั พชื มือ 2 มามอบใหโ รงพยาบาล จํานวนมากจึงไดนํามาเขาเครื่องไบโอดีเซลราคา 60,000 บาท ผลิตเปนน้ํามันไบโอดีเซลใชกับรถของโรงพยาบาลและ รถอีตอกของชาวบาน 2.4 ไบโอแกสมีถังหมักแกสชีวภาพเพ่ือลดคาใชจายในการซ้ือแกส สวนของกลีเซอรีนที่ไดจากไบโอดีเซล สามารถนํามาทําน้ํายาลางจาน น้ํายาขัดหองนํ้า และน้ํายาถูพ้ืนภายในโรงพยาบาลได ทําใหในแตละปโรงพยาบาลอุม ผางสามารถประหยดั คาใชจ า ยไดเปนหลกั แสนบาท 2.5 ยากําจัดเหาเปนการหาสารชะลาง(Detergent)โดยทดลองใชเพอรเมทริน(Permethrin) คุณสม บัตการรักษาโรคเหาใชเปนแชมพูสระผมในชวงเชาและเย็น โดยเริ่มจากความเขมขนท่ี0.1% และทําการเก็บขอมูลซึ่ง หลังการใชประมาณ1,000 ราย ไมมีอาการผิดปกติเกิดข้ึนแตเ ม่ือผานไปสกั ระยะเริ่มไมไดผลจงึ เพิ่มความเขมขน เปน0.2 % พบวายังมีเหา จึงมีการปรับเปลี่ยนสูตรโดยเภสัชกรเปนเดลตาไซด โดยนํามาทดลองใชซ่ึงยังไมทราบวาจะมี ภาวะแทรกซอนหรือไม 3. การเขา ถงึ สทิ ธิขั้นพื้นฐาน การเขา ถงึ บรกิ ารทเ่ี ทาเทยี มอาจไมย ุติธรรม (Equality is not always Justice) 3.1 บัตรขาวดวยขอจํากัดของการจัดสรรงบประมาณเหมาจายรายหวั ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ(สปสช)ที่จะใหตามประชากรไทย อําเภออุมผางเปนพื้นที่ท่ีหางไกล และเต็มไปดวยผูคนหลากหลายชาติพันธุ สิ่งที่สําคัญที่สุดคือสิทธิในการเขารับการรักษาโดยไมตองเสียคาใชจายนั้นจํากัดเฉพาะคนสัญชาติไทยในขณะท่ี โรงพยาบาลอุมผางตองใหการรักษาพยาบาลฟรีแกผูปวยที่เปนชาวตางชาติและมีฐานะยากจนดวยรวมท้ังการ คลอดลกู ในปา ของเชือ้ ชาติกระเหรี่ยงจะไมไดแจงเกิด ไมม ีสญั ชาติ แตทางโรงพยาบาลทาํ บตั รขาวใหเ พื่อใชใ นการเขา ถึง บรกิ ารสาธารณสุขในเขตอําเภออุมผางซึ่งไดอ อกบัตรขาวไปแลวจาํ นวน 60,000 ใบ 3.2 คลินิกกฎหมายเน่ืองจากปญหาเร่ืองสัญชาติเปนอุปสรรคใหญที่ทําใหคนในอําเภออุมผางเขาไมถึง บริการสาธารณสุข จึงกอต้ังคลินิกกฎหมายอุมผาง เปนการใหความชวยเหลือดานกฎหมาย เพ่ือใหคนมีสถานะตามที่ สมควรจะเปน ไมใชทําใหเปนคนไทยท้ังหมด แตทําใหเปนคนไมไรรัฐ แสดงถึงการมีตัวตนบนโลกซึ่งเด็กที่เกิดใน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

โรงพยาบาลอุมผางจะไมตกเปนบุคคลไรรัฐเด็กทุกคนจะไดรับการดําเนินการแจงเกิดและออกสูติบัตรจากอําเภออุม ผางและมีการลงพนื้ ที่เพือ่ ชวยเหลอื ทางดานกฎหมายดวย การสรปุ ตีความโดยทีมถอดบทเรยี น บทเรยี นทีไ่ ดร บั /ปจ จัยแหงความสําเรจ็ /ขอ เสนอแนะ น.พ.วรวิทย ตันติวัฒนทรัพยแพทยชนบทผูอุทิศตัวทํางานอยูชายแดนถ่ินทุรกันดารนานถึง 26 ปไดใชความรู ความสามารถอยางเตม็ ศักยภาพ ไมไ ดทําหนา ท่ีเพียงรกั ษาผูปวยเทาน้ัน ดวยความท่ีชอบงานดานวิศวกรรมจึงไดคิดคน สิ่งประดิษฐที่เปนท้ังนวตั กรรมทางการแพทย และนวตั กรรมดานวิศวกรรมหลายชิ้นงาน เชน เครือ่ งไบโอดเี ซลผลิตเปน น้ํามนั ไบโอดีเซลเพ่ือใชก บั รถยนตของโรงพยาบาลไบโอแกสเครื่อง Phototherapy ที่ผลิตจากการคนควาหาความรูจ าก หลักฐานเชิงประจักษตางๆ แลวนํามาประยุกตใชไดผลดี โดยใชหลักการวา จะใชทรัพยากรที่มีอยูอยางไรใหคุมคา ประหยัด และเกิดประสิทธิภาพสูงสุดซ่ึงมีโครงการท่ีสามารถประหยัดคาใชจายจํานวนมาก เชน โครงการยาเหลือใช รับบรจิ าคยาที่เหลอื ใชจ ากบาน เปนตน รวมถงึ สามารถบริหารจดั การในการดูแลผปู วยไดในทุกดานแมจะเปนแพทยดา นเวชศาสตรท ว่ั ไป แตส ามารถ ใหการดูแลรักษาเฉพาะทางไดดว ย เชน การตดั ขาผปู วยทบ่ี าดเจ็บจากการเหยียบกับระเบิด การดูแลดานสูติกรรม เปน ตน ดานการดูแลสุขภาพชุมชน เปนการยึดหลักการมีมนุษยธรรมท่ีคนเราทุกคนตองไดรับการรักษาอยางเทา เทยี มคือ ไมไดดูแลสุขภาพเฉพาะคนไทยที่มีบัตรประชาชนเทาน้นั แตยงั ดูแลประชาชนทเ่ี ปนเช้ือชาติกะเหรยี่ งท่ไี มมี บตั รประชาชนไมมีหลักประกันสุขภาพใดๆ ไมสามารถเขา ถึงบริการสาธารณสุขได และรวมถึงประชาชนที่มาจาก เขตพมารวมท้ังขา มแดนไปชวยดแู ลประชาชนในเขตประเทศพมา ดวยดวยแนวคิดที่วาโรคทป่ี ระชาชนสวนใหญเปน นนั้ มักเปนโรคติดเชื้อและอันตรายถงึ ชวี ิต ซึ่งโรคเหลาน้ีสามารถติดตอ ไปยังผูอ่ืนได หากไมร ักษากจ็ ะไมสามารถควบคุม โรคเหลา นีไ้ ด จะมกี ารแพรก ระจายตอ ไป เชน โรคมาเลเรยี และวัณโรคเปน ตน นอกจากน้ี น.พ.วรวิทย ตันติวัฒนทรัพย และทีมงานดานกฎหมาย ยงั ทําหนาท่ีใหความรดู วยการจัดตัง้ คลนิ ิก กฎหมายเพอื่ ชว ยเหลอื ชาวบานดา นกฎหมายอกี ดว ย น.พ.วรวิทย ตันติวัฒนทรัพยจึงเปนบุคคลตนแบบในการคิดคนนวัตกรรม ทามกลางความขาดแคลน บริการแหง คณุ คา เพอื่ คนชายแดนดวยหัวใจอยางแทจริง ผูจดบันทกึ นางนิตยา โรจนนริ ันดรกิจ สังกัด งานการพยาบาลสูตศิ าสตร- นรีเวชวิทยา ฝายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ช่ือเรือ่ ง เสวนา นวตั กรรมทางพนั ธศุ าสตรเ พ่ือสขุ ภาวะของผปู วย วันที่ 23 สงิ หาคม 2561เวลา13.15 – 14.15 น. หอ งประชุม ชนั้ 8-9 อาคารเรยี นและปฏิบตั ิการรวมดานการแพทยและโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีวทิ ยากร หวั ขอบรรยาย นวัตกรรมทางพันธศุ าสตรเ พือ่ สุขภาวะของผูปว ย รปู แบบการนาํ เสนอการบรรยายประกอบสไลค วิดิทัศนแ ละนาํ เสนอดว ยวธิ กี ารเลาเร่อื ง วทิ ยากร ศ.นพ.สุรเดช หงสองิ ภาควิชากุมารเวชศาสตร นพ.สรุ คั เมธ มหาศิริงคล ผูอาํ นวยการศูนยพนั ธศุ าสตรการแพทย ผดู ําเนินรายการ อ.นพ.จกั รกฤษณ เอ้ือสนุ ทรวัฒนา ภาควชิ าเวชศาสตรช ุมชน ******************************************************************************************************** อ.นพ.จกั รกฤษณ เอ้ือสนุ ทรวฒั นาแนะนําวิทยากรท้ัง 2 ทา น และเกรนิ่ นําทกุ วนั นเ้ี ทคโนโลยีอยูใกลตวั เรา สามารถนาํ ความรทู างดา นพนั ธุศาสตรมาใชใ นการดแู ลผูป ว ยไดดีขึ้น เนื้อหา นพ.สุรัคเมธ มหาศิริงคล: มีการใชนวัตกรรมพันธุศาสตรทางการแพทยมาใชใน การดูแลผูปวยในกระทรวงสาธารสุข กลาวถึง2 เรื่องคือเภสัชพันธุศาสตร (การ ตรวจยีน) ในการปองกันการเกิดเหตุการณไมพึงประสงคจากการใชยา (Adverse drug event)และการปรับเปล่ียนนโยบายเรื่องการควบคุมวัณโรคการเกิด Stevens-Johnson syndrome (SJS)แ ล ะ ผื่ น แ พ ย า Toxic Epidermal Necrolysis (TEN) เปนปญหาการฟองรองอันดับ 1 เกิดจากการแพยาโบราณ ไดแกยาCotrimoxazole, Carbamazepine, Allopurinol ซ่ึงผูปวยท่ีฟองรองสวน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ใหญจ ะชนะคดี แมจ ะไมผ ิดตามกฎหมายของประเทศไทย และมกี ารชดเชยคา เสียหายใหผ เู สียหาย เรื่องที่ 1 แพยาในปพ.ศ.2552 ทีมProfessor Tai-Ming Ko ไดคนพบวา คนไตหวันท่ีแพยาจนเกิด SJS/ TEN มียีนเส่ียงที่สามารถทํานายไดวาคนไหนจะแพยา ทําใหรูวาการเกิด SJS/ TEN สามารถปองกันไดในปพ.ศ. 2550 องคก ารอาหารและยา (อ.ย.)ประเทศสหรฐั อเมรกิ าประกาศวาคนทต่ี องใหยา Carbamazepine, Allopurinol ใหตรวจ ยีนกอ นเร่มิ ยามกี ารเขยี นลงในฉลากยา ดังนน้ั การไมตรวจยีนจะกลายเปนไมทําตามมาตรฐาน ในประเทศไทยเฉพาะยา Carbamazepine ทําใหเกิด SJS/ TEN ประมาณ 100 รายตอป และถา เรามตี รวจ ยีนกอ นเร่ิมยาจะลดลงไดเหลือ 10 รายตอ ป ในประเทศสงิ คโปรแ ละไตห วันไดม กี ารตรวจ ยนี แลว สว นประเทศไทยพ่ึงประกาศไปเม่อื เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2561 กรมวิทยาศาสตรการแพทยซ่ึงเปน สว นหนึง่ ของกระทรวงสาธารณสุขไดพฒั นา ชุดตรวจยีนทม่ี รี าคาถูกและดีกวา ของตา งประเทศเหมาะกับการตรวจยีนของคนไทยซ่ึงไดร บั รางวัลนวตั กรรมแหง ชาติ ระดับชมเชย โดยมีการประเมินทางเศษฐศาสตรค ลนิ ิกพบวามคี วามคุมคา ทีจ่ ะตรวจยีน จากขอมลู ดงั กลาวนี้ สปสช. นํามาทดลองตรวจประชากรในกรุงเทพมหานครเมอ่ื 4 ปก อน จึงทาํ ใหทราบวาจะตองมีการปรับระบบการเตือนการแพ ยา (Drug Alert Cards)ถา ตรวจยีนแลวพบวา มีความเสยี่ งตอการแพย าตองรักษาเชน เดียวกบั ผูปว ยแพยา ระบบไมด ีจะ เกดิ การใหย าทแ่ี พได หลงั การเผยแพรความรดู า นนี้ ขณะนเี้ ภสัชกรท่วั ประเทศทราบวาการแพย า Carbamazepine, Allopurinolสามารถปอ งกนั ไดดวยการตรวจยีน ถา ตรวจยนี ไมไ ด ใหใ ชว ธิ ีการงดการใชยา 2 ชนิดนี้ จะทําใหก ารเกิด SJS/ TEN ลดลงเชน กนั เรื่องที่ 2กลาวถึงวัณโรคในประเทศไทยที่มีจํานวนผูปวยอยูในระดับ 10 อันดับแรกของโลก(Top ten) วัตถุประสงคเพ่ือควบคุมวัณโรคใหไดประสิทธิภาพ ดังน้ัน ตองคนพบผูปวยใหได 90% และตองรักษาใหหายขาด ทั้งหมด ซ่ึงไมเคยดําเนนิ การมากอนในประเทศไทย ทําใหเกิดการเปลยี่ นแปลงขึ้นเม่ือมีนโยบายวาจะตองลดวัณโรคให ไดป ล ะ 12% เรามีความรูจากการทบทวนวรรณกรรมในงานวจิ ัยทําใหคนพบวา มีความรูบางอยา งทเี่ ขาใจผดิ ในประเทศไทย พบ50% ของผูปวยท่ีตรวจเสมหะโดยการยอมสี และพบผลเสมหะมีเชื้อวัณโรค(smear positive) แพรเชื้อไดโดยไมมี อาการ เปนชาวพมา พบถึง70%ท่ี smear positiveแพรเชื้อโดยไมมีอาการ การคดั กรองแรงงานตา งชาติ จงึ มีการใชการ ถายภาพรงั สีทรวงอก แตในการตรวจวนิ ิจฉัยผูป วยของไทยใชก ารถามอาการกอ น ไดเปลยี่ นมาใชก ารถายภาพรังสที รวง อกเมื่อไมนานน้ี นอกจากนัน้ ยังมีเทคโนโลยีในการตรวจหาเช้อื วณั โรคเรยี กวา Gene Xpert เปนการตรวจ molecular testing(ตรวจจากเสมหะ) องคการอนามัยโลก (WHO) ไดแ นะนาํ วิธีตรวจใหพ บเชื้อวัณโรคไดต องถา ยภาพรังสีทรวงอก และเมือ่ มีภาพรังสีทรวงอกผิดปกติใหท ํา molecular testing ทุกรายจึงจะคนพบโรคได 90% และสามารถควบคุมโรค Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ดังกลาวไดตามที่องคการอนามัยโลกตั้งเปาไว จึงทําใหประเทศไทยเปล่ียนไปใชการถายภาพรังสีทรวงอกในการตรวจ วัณโรค นพ.สุรคั เมธ ไดนาํ เสนอวิดิทัศน 2 เร่ือง เรื่องแรก การนําเสนอการลดวัณโรคในเวทีระดับโลกจากวิดิทัศนสรุป ปจ จัยที่จะลดโรควัณโรคไดสําเรจ็ มี 4 ประเดน็ คือ นโยบายตองเขมแข็ง เสริมแรงดวยความรู ตองบูรณาการเร่อื ง HIV และ วัณโรคไปดวยกัน เรื่องท่ี 2 การยุติวัณโรคในยุคแหงการพัฒนาของประเทศไทยในวิดิทัศนน้ี ตองการ ช้ีใหเห็นวามีการเขาไปถายภาพรังสีทรวงอกใหนักโทษในเรือนจําทั้งประเทศในระยะเวลา 5 เดือน และกระทรวง สาธารณสุข ไดด าํ เนินการอยา งตอเน่ืองทําใหสามารถลดวัณโรคลงไดถ ึง 9% ในรอบ 50 ป ศาสตราจารย นพ.สุรเดช หงสอิง: มีความสนใจเก่ียวกับโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemias) ซึง่ ในขณะน้ัน (21 ปกอ น) ประเทศไทยเริม่ มีการปลูกถายเซลล ตนกําเนิดไขกระดูก (Steam cell) โดยมักจะทําในผูปวยผูใหญเปนสวนใหญ (พบ นอ ยในผปู วยเดก็ ) ขณะที่ทีมแพทยทานอ่ืนศึกษาโรคธาลัสซีเมีย ในดานการวินิจฉัยโรคและ การดแู ลผปู วยศาสตราจารย นพ.สุรเดช หงสอ งิ ไดเ หน็ ถึงความสาํ คัญและใหค วาม สนใจในดานวิธีการรักษาใหมๆ เนื่องจากมาตรการหรือแนวทางการรักษาของ ประเทศไทยขณะน้ันตองพึ่งพาและตองใชยาในการรักษาจากตางประเทศ จึงมี แนวคิดวาจะมีทางใดบางท่ีประเทศไทยไมตองไปซ้ือยาจากตา งประเทศที่มรี าคาสูง ความตองการลดตนทุนทางการรักษาพยาบาลจึงเปนสิ่งทาทายและเปนประเด็นสําคัญท่ีทานใหความสนใจเปนอยาง มาก (ซ่ึงทุกประเทศจะพบปญหาดานคาใชจายที่สูงมากในการรักษาพยาบาลโรคธาลัสซีเมีย ขณะที่คาใชจายในการ วินจิ ฉยั โรคไมส งู มากนกั ) ในประเทศไทยผลิตยาเองไดน อย ยาท่ีใชอยูมักตองซื้อตัวยาพ้ืนฐานมาจากตางประเทศ และนํามาตอกเม็ดเอง (สาํ หรับยาที่ประเทศไทยผลิตเองหรอื สังเคราะหเ องได เชน ยาขบั เหล็ก เปนตน) นอกจากเปาหมายท่ีตองการลดตนทุน การรักษาพยาบาลแลว อีกเหตุผลหน่ึงที่ตองการศึกษา เร่ืองโรคธาลัสซีเมีย เนื่องจาก โรคธาลัสซีเมีย เปนโรคท่ีมัก เกิดข้ึนในแถบภูมิภาคโซนเอเชียของประเทศไทยเราเอง ซึ่งผูปวยที่เปนธาลัสซีเมีย ถือเปนโรคทางพันธุกรรมที่พบบอย ท่ีสุดในประเทศไทย ปจจุบันในประเทศไทยมีผูปวยธาลัสซีเมียประมาณ เกือบ 300,000 คน ในจํานวนนี้มีผูปวย ประมาณ 100,000 คนท่ีตองรักษาโดยการใหเลือดและยาขับเหล็กตลอดชีวิต โดยผูปวยท่ีเปนโรคจะไดรับเลือดทุก เดือน ประชากรในประเทศไทยประมาณ 10 ถงึ 40 % ถือเปนพาหะของโรค และหากคนทีเ่ ปนพาหะกับพาหะแตงงาน กนั โอกาสทล่ี ูกจะปวยเปนโรคพบไดถ ึง 25% ซึง่ ท่ัวโลกจะพบพาหะของธาลัสซเี มีย ประมาณ 5% จึงถือไดวา โรคธาลัสซี เมยี เปนโรคทางพนั ธุกรรมทพ่ี บมากท่ีสุดในโลก การรักษาใหหายขาดมีเพียงทางเดียว คือ การปลูกถายเซลลตนกําเนิดจากผูบริจาคคือไดจากพ่ีนองของ ผูป วย หรือผูบริจาค จากสภากาชาดไทย พบวา มีเพียง 25 % เทาน้ันท่ีผบู ริจาคมีความเหมาะสมและสามารถเขากันได กบั ผปู วยธาลัสซเี มยี ซ่ึงในประเทศไทยมีผูปวยจํานวนมาก ที่กาํ ลังรอโอกาสในการรักษาโรคนช้ี วง 5 ปท ผี่ า นมา มีการใช เซลลตนกําเนิดจากพอ-แมของผูปวยนํามาทดลองรักษา ซึ่งถือเปนเรื่องใหมของวงการการรักษาโรคธาลัสซีเมีย โดย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ความยากคือการตัดตอยีน (ปกติลูกตองมีเน้ือเย่ือเหมือนกับแมคร่ึงหน่ึง พอครึ่งหน่ึง โดยตองมีการกําจัดเซลลท่ี กอใหเกิดการตอตานออกไปกอน) ซึ่ง ศาสตราจารย นพ.สุรเดช หงสอิง และทีมแพทยประเทศไทย ไดรวมมือกับ Professor Philippe Leboulch, นักวิจัยจาก University of Paris และทีมแพทยจากสหรัฐอเมริกา Harvard Medical School ในการใชเซลลตนกําเนิดจากพอแมของผูปวยนํามาทดลองรักษาโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งไดทําการทดลอง จนประสบความสําเร็จ โดยประเทศไทยเปน 1 ใน 8 แหงท่ัวโลกที่ทําการรักษาในรูปแบบนี้ ซ่ึงผลการวิจัยดังกลาว ยัง ไดรับการตีพิมพในวารสารทางการแพทยที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ สามารถสืบคนขอมูล (Gene therapy)ไดทั้ง จาก Pub Med และจาก Google ประมาณป พ.ศ. 2549 มีการคํานวณคาใชจายจาก สปสช. พบวา คนไทยหน่ึงคนท่เี กิดมาเปน ธาลสั ซีเมยี หาก มอี ายถุ งึ 30 ป จะตอ งเสียเงินคาใชจ ายในการรกั ษาพยาบาลท้งั หมดประมาณ 7 ลานบาท เปรียบเทียบกบั ปจจบุ ัน พ.ศ. 2561 (ผานมา 12 ป) พบวาคนไทยที่เกิดมาเปนธาลัสซีเมีย หากมีอายุถึง 30 ป จะมีคาใชจายในการรักษาพยาบาลสูง ถึง 11 ลานบาท ตอคน วิธกี ารรักษาธาลัสซเี มียใหหายขาด โดยการปลกู ถายเซลลต นกําเนดิ เปนวิธกี ารรักษาที่ทําเพียง คร้ังเดียว และจะคงประสิทธิภาพการรักษาไปตลอดทั้งชีวิตของผูปวย ซึ่งโอกาสหายจากโรคสูงถึง 95 % โดยจะมี คาใชจา ยเพยี ง1 ลานถงึ 3 ลานบาทตอคน (ขึ้นอยูกบั อายุของผูปวยรายนั้น) ปจ จุบัน สปสช.ใหสทิ ธิประโยชนปลูกถายอวัยวะ ฟรี (ยกเวนโรค ธาลัสซีเมีย) ซึ่งในวนั ที่ 4 กันยายน 2561 น้ี นพ.สุรเดช หงสอิง จะมีโอกาสไดเขารวมประชุม และจะนําขอมูล ผลการศึกษาทดลอง ผลการรักษาพยาบาล ผูปวยธาลัสซีเมียโดยวิธีการปลูกถายเซลลตนกําเนิด และเปนที่ยอมรับของวงการแพทยท่ัวโลก นําเสนอใหผูนําดาน สาธารณสุขของประเทศเห็นถึงความสามารถดานการรักษาโรคท่ีโอกาสหายจากโรคสูงถึง 95 % เพ่ือผลักดันใหเกิด การยอมรับการสนับสนุนจากภาครัฐดานคาใชจายในการปลูกถายเซลลตนกําเนิด ผูปวยธาลัสซีเมีย ฟรี ชวยให ความคุมคาในการลดตนทุนทางการรักษาพยาบาลผูปวยธาลัสซีเมีย อีกท้ังยังเปนการใหโอกาสแกผูปวยใหไดมี คณุ ภาพชวี ติ ท่ีดตี อไปในอนาคต การสรปุ ตีความโดยทีมถอดบทเรียน บทเรียนที่ไดร ับ /ปจจัยแหง ความสําเรจ็ /ขอ เสนอแนะ บทเรียนท่ีไดรับ 1. มีการนําความรูทางดานเภสัชพันธุศาสตรมาผลิตเปนนวัตกรรมใชในการดูแลผูปวยเพ่ือปองกันการเกิดอาการ แพย าทีไ่ มพ งึ ประสงค SJS/ TEN จากยา Carbamazepine, Allopurinol 2. การเปล่ียนวธิ ีการคัดกรองวัณโรคมาเปนการถายภาพรังสีทรวงอก รวมกับการใชเทคโนโลยีในการตรวจหาเชื้อ วณั โรคเรียกวา Gene Xpert เปนการตรวจ molecular testing(ตรวจจากเสมหะ) เมื่อภาพถายรังสีทรวงอก ผดิ ปกติ ทาํ ใหคน พบผปู วยและใหการรักษา สามารถลดวัณโรคลงไดถ ึง 9% ในรอบ 50 ป 3. การคนพบการปลูกถายเซลลตนกําเนิด ท่ีสามารถรักษาโรค ธาลัสซีเมีย ใหหายขาดได ถือเปนผลงานของทีม แพทยไ ทยทก่ี อใหเกิดประโยชนอยางใหญห ลวงท้งั แก คุณภาพชีวิตผูปวยในประเทศไทย เกิดประโยชนโดยตรง ตอประเทศชาติ รวมถึงเกิดประโยชนแกผ ปู วย ธาลสั ซเี มยี ทั่วโลก Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

4. ผลการคน พบการรักษาโรคธาลัสซีเมีย ของทีมแพทยประเทศไทย ไดสรางช่ือเสียง ไดร ับการเผยแพร และเปน ที่ยอมรับตอวงการแพทยทั่วโลก ใหไดรับรูถึงความรู ความสามารถ ของทีมแพทยประเทศไทย ท่ีมีความรู ความสามารถมากมาย ไมนอยกวา ประเทศใดๆในโลก ปจจยั แหงความสําเร็จ 1. การเผยแพรความรูใหมและพัฒนาระบบใหค รอบคลุมท้ังประเทศมีผลกระทบสงู ตอภาวะสุขภาพทด่ี ีของ ประชาชน 2. การทํางานวิจยั ถาไดคน พบ massage ทสี่ าํ คญั และนาํ ไปดาํ เนนิ การระดบั นโยบายจะสงผลอยา งกวา งขวาง 3. การทาํ งานวจิ ยั และนําไปเผยแพรท าํ ใหคนภายนอกรูวา เรากําลังทําอะไร 4. มีเปาหมายในการทํางานเพื่อผปู ว ย ผูจดบันทกึ งานบรกิ ารวิสัญญี ภาควชิ าวสิ ัญญีวทิ ยา นางสาวเพญ็ ศิริ พุม หริ ญั หองผา ตดั สูต-ิ นรเี วชฯ งานการพยาบาลผาตดั ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี นางศรสี วุ รรณ ชูกจิ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ช่อื เรอ่ื ง นวัตกรรมไทยตอบโจทยสุขภาพโลก วันที่ ศกุ รท ี่ 24 สงิ หาคม 2561 เวลา: 09.00 -10.00 น. หองประชมุ ชน้ั 8-9 อาคารเรยี นและปฏบิ ตั กิ ารรวมดานการแพทยแ ละโรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี หัวขอบรรยาย เสวนา นวตั กรรมไทยตอบโจทยสุขภาพโลก รูปแบบการนําเสนอ นาํ เสนอดว ยวธิ กี ารเลา การถาม-ตอบระหวางวทิ ยากรและผูดาํ เนนิ รายการ ประกอบสไลด ( Slide Power point) วิทยากร: คณุ เฉลิมพล ปุณโณทก ประธานเจา หนา ที่บรหิ าร บรษิ ทั ซที ี เอเชยี โรโบตกิ ส คุณสมศักด์ิ จติ ตพิ ลังศรี กรรมการผจู ัดการ บริษทั ซัยโจ เดนกิ อนิ เตอรเ นช่นั แนล จาํ กัด ผูดาํ เนนิ รายการ: รศ.ดร.เรณู พกุ บญุ มี ผูอาํ นวยการโรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี ********************************************************************************************************** ประวตั วิ ิทยากร 1. คุณเฉลิมพล ปุณโณทก เปนผูกอต้ังบริษัทซีที เอเชีย โรโบติกส ในปพ.ศ. 2552 ซ่ึงเปนผูสรางอุตสาหกรรม หุนยนตบริการตัวแรกของประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชีย ทช่ี ่ือวา “หุนยนตดินสอ” โดยปจจุบนั พัฒนาเปน หุนยนตท ด่ี ูแลผูสงู อายุและมีการสงออกไปยังประเทศญี่ปนุ ตั้งแตป พ.ศ. 2559 และมีบทบาทสําคัญในการเสนอ นโยบายใหแกภ าครัฐในการขบั เคลือ่ นอตุ สาหกรรมหนุ ยนตข องประเทศไทย 2. คุณสมศักด์ิ จิตติพลังศรี กรรมการผูจัดการ บริษัท ซัยโจ เดนกิ อินเตอรเนช่ันแนล จํากัดซ่ึงเปนผูผลิตราย ใหญ 10 อันดับแรกของโลก และสรา งยอดขายเปนอนั ดับ 2 ต้ังแตป พ.ศ. 2542เปนตน มา เน้ือหา ผูดําเนินรายการกลาวแนะนําทานวิทยากรทั้งสองทาน หลังจากน้ันเริ่มเขาสูการเสวนาในคําถามแรก แรง บนั ดาลใจในการคดิ สรางสรรคผลงาน การฝาฝน อุปสรรค และผลลัพธ ในการนาํ ผลงานออกสเู วทโี ลกนัน้ ไดอ ยา งไร Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ทานวิทยากรสมศกั ดิ์ จิตติพลังศรี กลาววา การประสบความสาํ เร็จไดไมจาํ เปนตองเปนสาขาท่ีเรียน ตลอดท้ัง ชีวติ จะใหความสําคญั กบั การคดิ ความคดิ นัน้ เปน ส่งิ สําคญั ทีจ่ ะพฒั นางานตาง ๆกอนคนอ่ืนได กอ นต้ังบรษิ ทั ซัยโจ เดนกิ เดิมเปน ธรุ กิจครอบครัวและเคยประสบปญหาเกือบลมละลายตัง้ แตเร่มิ ตนจึงเปล่ียนมุมมองวธิ ีคิดใหมวา “ถาเรายงั คง เปนอุตสาหกรรมเหมอื นเดิม ก็จะไมมีวันเปล่ียนแปลง”โดยมองวาตอ งทําอยางไรใหเปนเทคโนโลยีที่แทจรงิ ณ เวลาน้ัน ประเทศสหรฐั อเมริกาและประเทศญป่ี ุนเปนผนู ําในอนาคต บริษัทจึงเล็งเห็นวาประเทศญ่ปี ุนมคี วามละเอียดออนในการ บรู ณาการเทคโนโลยีหลาย ๆ อยางเขา ดว ยกัน จึงเดนิ ทางไปประเทศญี่ปุนเพอ่ื พฒั นาเชอ่ื มโยงธุรกิจกับบริษัท เดนกิ โช จิ รวมกนั เม่ือ 30 ปกอน การรวมมือกับบริษัทของประเทศญ่ีปนุ ทําไดยากมาก เพราะเปนบรษิ ัทปด เราตองกลับมามอง วา ทําอยางไรจึงจะเปดได อาจไมตองเปนบริษัทอันดับหนึ่ง แตตองยืนดวยขาของตนเอง ในชวงน้ันจึงไดสราง ความสัมพันธ (Connection) กับประเทศญี่ปุน เพ่ือพัฒนาการวิจัย (Research and Development: R&D)ใหเกิดข้ึน ในประเทศไทย บริษัท ซัยโจ เดนกิ กอต้ังขึ้นดวยแนวคิดพึ่งพาตนเอง การเริ่มตนของสินคาคือการจัดการกับการเปด- ปดเครอ่ื งปรบั อากาศทางโทรศัพท เมอ่ื 30 ปกอน ดวยแนวคิดนี้ถาเราไมสามารถบริหารจัดการอุณหภูมิกอนเวลาได ก็ จะไมไดรับความสะดวกสบายซ่ึงในสมัยนั้นมีปญหาเชิงระบบในการเช่ือมตอกับระบบการส่ือสาร บริษัทมองเห็นระบบ การเชื่อมตอน้ีเปนรายแรกในป 2541 จึงไดผลิตซอฟตแวร(Soft ware) คือชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชควบคุมการ ทํางานของคอมพวิ เตอรจากนักเขียนโปรแกรม ไดพ ัฒนาซอฟตแวรมือถือขึ้นเองเปนรายที่ 2 ของโลกโดยมแี นวความคิด วาผลิตภณั ฑท่อี อกตองมีความแตกตา ง การนําแนวความคิดน้มี าใชทําใหพบความผดิ พลาด จึงสรปุ ไดว า การดําเนินการ ใดๆเห็นควรพิจารณาใหรอบคอบกอนลงมือทํา หากเราไมสามารถแขงไดตองตัดสินใจทิ้ง ดังน้ันผลิตภัณฑดังกลาวจึง ตองปดตัวโครงการไป ในระหวางน้ันบริษัทของประเทศจีนขอซ้ือซอฟตแวร(Soft ware) มือถือ แตทางบริษัทตัดสินใจ ไมขายเพราะเลือกความเช่ือมั่นมากกวาที่จะเลือกเงิน ท้ังที่ในปพ.ศ. 2540 บริษัทเสียหายจากการลดคาเงินบาท ประมาณ5-6รอยลานบาท ซึ่งบริษัทท่ัวไปในขณะน้ัน 99% มีภาวะหน้ีท่ีไมกอใหเกิดรายได (NPL)รวมถึงบริษัทซัยโจ เดนกิ แตบริษัทเลือกท่ีจะชําระหนี้ตามระบบ ขณะเดียวกันไดมองเห็น “โอกาส” ถา เรายอมท่ีจะปดพักชําระหนแ้ี ละใช เวลากับการเจรจา สิ่งที่จะเสียไปคือ โอกาส บริษัทตัดสินใจไดถูกตอง สิ่งท่ีตามมาก็คือการไมผิดสัญญา ทําใหมีเรามี โอกาสท่ีจะทําหนาที่นั้นไดเต็มที่ จึงสามารถชําระหนี้ไดภายใน 3 ป จากสัญญา 5 ป การเปลี่ยนแปลงตลาด (Market share) ไมใชเปลี่ยนแปลงในภาวะรุงโรจน แตการเปลี่ยนท่ีดีท่ีสุดคือเปล่ียนแปลงในชวงสงครามหรือในชวงที่แยที่สุด ดังนั้นบริษัทจึงลงมือพัฒนาและผลิตสินคาไดเปนจํานวนมากสามารถพัฒนาระบบอินเวอรเตอร (Inverter) สําเร็จเปน รายแรกของประเทศไทยในสมยั เมื่อ 20 ปก อน รองจากประเทศญปี่ ุน ขอคิดในการแขงขันนั้นเราตองมองอุปนิสัยของคูแขงใหได แลวนํามาใชใหเปนประโยชน เชนถาคูแขงลงแขง ดวยจํานวนหรือปริมาณ (Volume) เราตองลงแขงดวยความแตกตาง (Difference)ทําใหเห็นวาไมมีคําวาเบ็ดเสร็จใน โลกน้ี ทุกอยางจะมีชองวางใหเสมอการเห็นชองวางของความแตกตาง คือตนทุนการพัฒนา(Research and Development Cost : RD cost) ซึ่งตองมองวาโอกาสของความสําเร็จนั้นไมใชลูกคาเปนผูกําหนด(Marketing survey) แตผูท่ีรูจักสินคาตัวนั้น ๆ เปน ผูกําหนดโดยบริษัทตองมีความเชื่อม่ันและมองเห็นความตางใหเปนโอกาส แลว สรางสรรคส่ิงใหม เพื่อนําเสนอลูกคาใหเห็นความสําคัญ ไมมองจากความเสียหายของลูกคา แตใหดูจากส่ิงแวดลอม รอบตวั แลวนํามาปรับส่ิงใหม เชน เมื่อ20 ปท ่ีกอนบริษัทไดผลติ สนิ คา จากการสงั เกตสิ่งรอบ ๆ ตัว คือเคร่ืองฟอกอากาศ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ปจ จุบันมีการสรางระบบอากาศภายในอาคาร การที่ทําอะไรท่ีนอกเหนือจากขอกําหนด (Term of Reference: TOR ) ควรคาํ นึงถึงปญ หาหลัก และประโยชนข องผูอน่ื ดว ย ผูดําเนินรายการ กลาวสรุปวาทุกอยางไมเบ็ดเสร็จทุกชวงเวลา จะมีชองวางใหเราคิดสิ่งดี ๆ เพ่ือเติมเต็ม เมื่อ เราไดทําเราไมเพียงจะกาวทันผูอ่ืนเรายังจะนําหนาผูอื่นดวย เปนที่มาของการไดรับรางรางวัลหลายอยาง เชน Green environment award ทา นวทิ ยากรเฉลิมพล ปณุ โณทก กลาววา มีหลายเร่ืองที่คลา ยคุณสมศักดิ์ เชน เร่อื งประเทศชาติ การคดิ นอก กรอบ สงหุนยนตไปขายท่ีประเทศญ่ีปุน สวนตัวมีแรงบันดาลใจ จากความรักความชอบ (Passion) ท่ีขับเคลื่อนแรงที่ บันดาลใจ น้ันสําคัญ เพราะถาแรงไมพอ ใจก็ไมทํางาน ถาใจไมทํางาน กายก็ไมทําแนนอน แรงบันดาลใจท่ีสําคัญคือ ประเทศไทย ความเปน คนไทย มีหลายส่ิงทป่ี ระเทศอนื่ ไมมี การมีโอกาสมากกวาคนอื่น ไดอ ยใู นสงั คมที่ดี มีการศกึ ษาท่ี ดี ทําใหคิดวาเราจะสามารถทําอะไรใหประเทศชาติได ถารักชาติจะตองทําอยางไร มองดูประเทศอ่ืนแลวคิดวาทําไม ประเทศอ่ืนถึงมีขนาดนี้ได แลวคนไทยทําอะไรกันอยู มีคนเกงมากมาย แตไมมีอะไรที่เปนสุดยอดออกมา ถึงมีก็นอย มาก จนเกิดแรงบันดาลใจแรก คือคิดจะประดิษฐหุนยนต ทั้งท่ีไมใชวิศวกร แตการคิดนอกกรอบ สามารถทําอะไร บางอยางที่คนสวนใหญที่อยูในกรอบทําไมได คําพูดท่ีวาจะสูญี่ปุนไดอยางไร เปนคําพูดที่บั่นทอนคนคิดนอกกรอบ ตลอดเวลาเปรียบเสมือนเราน่ังอยูในสายสิญจน แลวถูกหลอกเรื่องมีผี จะกอใหเกิดความกลัว จนไมกลาเดินออกนอก กรอบ เชนเดียวกับเรื่องการทํานวัตกรรม มีบางความคิดวาจะเหน่ือยทําไม ทํางานประจําก็ได ทําตามขอกําหนด (Term of Reference : TOR ) ก็พอ ถาเรากลัวก็จะอยูแตในที่ท่ีคุนเคยหรือเคยชิน (Comfort zone)โดยส่ิงที่หมดไป ทกุ วันคือเวลา ส่ิงท่ีหมดตามเวลาคือคุณคาของตัวเรา ถึงแมจะเรียนเกง เรียนสูง จบจากสถาบันท่ีดมี ีตําแหนง แตถ าไม ใชเวลา และอยูแตในกรอบ ไมเดินออกมา เวลากจ็ ะหมด คาความเปนคนก็หมด คาของประเทศชาติก็หมดตาม เปนส่ิง ที่เราตองตระหนักวาไมใชคิดแคตัวเรา แตตองมากกวาน้ัน จึงเปนแรงผลักใหเริ่มกอต้ังบริษัท ซอฟตแวร(Soft ware) เมื่อตอนอายุ 25 ป และเร่ิมทําหุนยนต เมอ่ื ประมาณ 10 ปกอน ซึ่งลงมือทําเองโดยจากการใชจินตนาการ ดังท่ีไอสไตล กลาวไววา “ จินตนาการสําคัญกวาความรู” กอนหนานั้นมีคนรอบขางบอกวา มันเปนไปไมได ไมสามารถจะสูกับ ประเทศญี่ปุนได จากคําพูดนี้ ถาแรงบัลดาลใจไมพอ ก็จะถอย ดวยเพราะมีแตผูมีประสบการณและอายุมากกวา ตักเตอื น แตก ็อยากลองพสิ จู นส กั คร้งั วา คนไทยกส็ ามารถทําได ซ่ึงตอ งนอมรับความคดิ เหน็ ตา ง ๆ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

เร่ิมพิสจู นโ ดยเดินทางไปดูงานหุนยนตที่ประเทศญป่ี ุน และมองหา สงิ่ ที่แตกตา งใหพ บ ศึกษาใหรูแจงวาดี และ เกงอยา งไร มองหาชองวางที่ยังไมม ี จึงพบส่ิงทีอ่ ยากจะทํา คือหุนยนตดแู ลผูสูงอายุ จงึ กลับมาดําเนินการอยา งจริงจัง มี การวางแผนเปนขั้นตอนโดยสรางหุนยนตเพ่ือเปนสีสันกอนปลอยอาวุธลับคือหุนยนตดูแลผูสูงอายุ ในระหวางนั้น ได ศึกษาเพ่ิมเติมและมีสินคาตัวอื่นออกมา เชนหุนยนตเสิรฟอาหารสงออกไปประเทศสวีเดน เมื่อ 6-7 ปกอน ซ่ึงถือวา เปนประวัติศาสตรคร้ังแรกท่ีประเทศกําลังพัฒนาอยางประเทศไทย ไดสงของไฮเทคไปยังทวีปยุโรปไดสําเร็จ แต เปาหมายเดิม ยังคงอยูคือ หุนยนตดูแลผสู ูงอายุ มีเรื่องท่ีนาคิดคือ หากเราตองการที่จะชนะ พอเริ่มรูวามชี องทาง ตอง หาจุดออนของคูแขงใหพบแตกอนจะหาจุดออนของคูแขง ใจตองคิดสูกอน หากใจไมคิดจะสรางนวัตกรรมเก่ียวกับ การแพทย และคิดวานวัตกรรมทางการแพทยท ําไดยากกวาจะผานการอนุมตั ิ โดยเฉพาะอปุ สรรค โอกาสจะไมเ กิด แต หาก มีพลังใจ จะทําใหมองหาโอกาส มองหาจุดออน และสรางโอกาสขึ้นมาได อีกท้ังคําพูด วา “ไมมีทางที่อะไรจะ สมบูรณ” เปนจุดออน ตองหาสาเหตุใหพบ บางคนการเชื่อม่ันในตนเอง มากเกินไป ไมเกิดผลดี ตองหาวิธีคิดเชิง นวัตกรรม เพอ่ื ใหผ ลิตภณั ฑนั้นตรงตามความตองการของผใู ชงาน (Branding)จึงมุงมนั่ ทีจ่ ะผลติ และสงไปขายทป่ี ระเทศ ญ่ีปุน เพราะเปนประเทศผูนําระดับโลกดานหุนยนต รวมท้ังการมองตลาดใหชัด จากนั้นก็ลงมือพัฒนาการวิจัย (Research and Development : R&D)ท่ีประเทศญี่ปุน มุมมองสวนใหญคนไทยถูกสอนใหเปนผูติดตาม (Super follower)และผูที่ซื้อของไปใช (Super consumer) ซึ่งอีกมุมมองหน่ึง เราตองตามใหทันเหตุใดเราไมเปลี่ยนแนวคิดท่ี จะเปนผูนําซึ่งอาจยากกันแตหากมองหาวาอะไรท่ีเขายังไมทํา แลวเราจะทําใหได เชนมีการพัฒนาหุนยนตดินสอ สามารถตรวจคัดกรองลมหายใจได ในกลุม 3 โรคหากจะพัฒนาตอยอดใหสามารถตรวจวินิจฉัยโรคไดมากขึ้น เชนการ ตรวจหาเช้ือวัณโรค รวมทั้งมีการวางแผนพัฒนาเปนหุนยนตคุณหมอเพ่ือคัดกรองเบ้ืองตน กอนสงปรึกษาแพทย จะ สมบูรณยิ่งขึ้น สรุปคือเราตองเปนเลิศในสิ่งที่เราเลือก จากจินตนาการและทําใหได ประเทศไทยมีคนเกงแตตองกลาท่ี จะลงมือทาํ ผูดําเนนิ รายการ กลา ววาท้ังสองทา น มใิ ชแคเ กงเฉพาะดา นความคิด ส่ิงทคี่ ขู นานคือการคดิ นอกกรอบ โดยการ ทําสิง่ ใหมๆ ใหเกดิ ขน้ึ ไมใ ชการวิ่งตามใคร และการทาํ งานตองควบคคู ุณธรรมไมใชแคเชิงธุรกจิ แตต องคิดถึงผูอนื่ ที่ดอย โอกาสดวย สุดทายทานท้ังสองไดฝากขอคิดและขอสรุปในการเปดวิสัยทัศน คิดสรางสรรคสิ่งใหม ไปจนถึงฝงฝนเพื่อ กา วเขาสเู วทีระดบั โลก ทานวทิ ยากรสมศักดิ์ จิตติพลงั ศรี กลา วสรุปวา มี 2 ประเด็นท่ีควรมีการเปล่ียนแปลง คือ 1. การสนบั สนนุ ซ่ึง กันและกันน้ันเปนหนาที่ของโลก ไมอยดู วยความเคยชิน และ การคิดนอกกรอบ 2. ตองคํานึงถึงวาใครคือคูแขง น่ันคือ ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence :AI) ถาไมสามารถเปลี่ยนตัวเองได ยังทํางานอยูกับความเคยชิน เราตองมอง วาเราจะอยูรว มกับปญญาประดษิ ฐ( Artificial Intelligence : AI)หรอื เหนือกวา AI ใหไ ด ทานวิทยากรเฉลิมพล ปุณโณทก กลาวสรุปวา เนนอยูท่ีใจและต้ังเปาหมายที่เหนือกวา แรงและพลังก็จะมี มากกวา ถาเรายังคดิ แคตืน่ เชามา ทําอะไรแบบเดิม เวลาก็จะหมดไปในแตล ะวนั แตถาเรามีเปาหมายที่ใหญกวา นัน้ กจ็ ะ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ดงึ พลังออกมา หากรวมกนั ก็จะเสริมพลังซึ่งกันและกัน กจ็ ะเกดิ เปนสงิ่ ท่ีย่ิงใหญขนึ้ มาได การเปล่ียนชุดความคิดใหมใน การท่จี ะนําและรวมมอื กนั ใหเกิดประโยชนส งู สดุ ผูดําเนินรายการ กลาวปดทายวาทางโรงพยาบาลรามาธิบดีก็กําลังรวมพลังกันในทุกภาคสวน เพื่อบูรณาการ ส่ิงตาง ๆ และกอต้ังศูนยนวัตกรรมของคณะฯ ขึ้นเพ่ือกาวท่ีสําคัญของโรงพยาบาลและประเทศชาติ โดยมีแนวคิด เหมือนทง้ั สองทาน คือต้ังความหวังไวใหใหญ และใชพลังในทกุ ภาคสว นเพือ่ ไปสูเปาหมาย ดังวัฒนธรรมองคกร คือ คดิ นอกกรอบ รว มกบั รบั ผิดชอบสังคม การสรุปตีความโดยผูจดบนั ทึก/ผถู อดบทเรียน บทเรียนทไ่ี ดร บั 1.ไมมีอะไรทจี่ ะสมบูรณแบบไปทุกอยาง พยายามหาจดุ ตา งใหเจอ แลวนาํ มาใชใหเ ปน โอกาสในการสรางสรรค ใหเกดิ สงิ่ ใหมทมี่ ีคุณคาได 2. มองหาคณุ คา ในตัวเอง ใชเ วลาท่มี ีทําประโยชนใ หค มุ คา กับตัวเอง สังคม และประเทศชาติ 3. การมีเปาหมายในการทํางาน และสรา งพลงั ใจที่ดี กอ ใหเ กิดพลังกายในการสรางสรรคสงิ่ ใหมข น้ึ ได 4. บคุ คลทมี่ ีความรู ความสามารถ แตก ลบั ไมนาํ มาใชใ หเกิดประโยชน ก็ยอมไมเ กิดผลท่ตี ามมา 5. การกระทาํ ส่งิ ใดกต็ าม ควรคดิ พจิ ารณาใหรอบคอบกอ นลงมือทาํ ปจ จยั แหงความสําเร็จ 1. การเลือกทําในส่ิงท่ีรัก (Passion) โดยตั้งเปาหมาย (Goals) พรอมสรางพลังใจทางบวก สรางความเช่ือม่ัน ความตัง้ ใจ เพ่อื ใหส งิ่ ทีร่ ักประสบความสําเร็จ 2. การคดิ นอกกรอบ มคี วามกลา ท่จี ะทาํ การมองหาจุดตา ง และลงมือทาํ พัฒนาจดุ นัน้ ใหส ําเรจ็ ได 3. การทํางานควบคูคุณธรรม ความสือ่ สัตย ความนอบนอ ม การรับฟง โดยไมย ดึ ตวั เองเปนหลกั 4. การศรัทธาและความเชื่อมั่นในตนเอง 5. การใชค ําสบประมาทเปนแรงผลกั ดนั ใหเ กดิ การสูตออุปสรรคจนสําเรจ็ ผูจดบนั ทกึ นางสาวปภาวี สุวรรณพันธ งานรงั สีวทิ ยา ศนู ยการแพทยสมเดจ็ พระเทพรัตน นางสาวกาญจนา ปานนอก หนว ยตรวจผูปว ยนอกแพทยทางเลอื ก งานการพยาบาลบริการเฉพาะ ฝา ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ชือ่ เรอื่ ง นวัตกรรมเพือ่ สังคมและสขุ ภาพ วันที่ 24 สิงหาคม 2561 เวลา : 13.00-14.00 น. หอ งประชุม ช้นั 8-9 อาคารเรียนและปฏิบตั ิการรวมดานการแพทยแ ละโรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี หวั ขอบรรยาย นวตั กรรมเพอื่ สังคมและสขุ ภาพ รปู แบบการนาํ เสนอ การเสวนา วทิ ยากร นพ.พูลชัย จติ อนันตวทิ ยา ประธานฝายการแพทยว สิ าหกจิ สขุ ภาพชมุ ชน (SHE) คุณสาธิก ธนะทกั ษ (โคช เปง ) นักวทิ ยาศาสตรการกีฬา EZ 2 Fit ผดู าํ เนนิ รายการ อ.ดร.นพ.วชิ ช เกษมทรพั ย ผูชวยคณบดฝี ายคุณภาพ ********************************************************************************************************* เนือ้ หา อ.ดร.นพ.วิชช เกษมทรัพย ผูชวยคณบดีฝายคุณภาพ ผูดําเนินรายการไดกลาวแนะนําวิทยากรที่จะมารวมเสวนาใน มุมมองของแตละทานเก่ียวกับนวัตกรรมเพื่อสังคมและสุขภาพ ซ่ึงจะมีทั้งในแงมุมของวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) และการมีกิจกรรมทางกายเพ่ือสงเสริมการมสี ุขภาพท่ีดี นพ.พูลชัย จติ อนนั ตวิทยา ประธานฝา ยการแพทยวิสาหกิจสุขภาพชุมชน (SHE) เมื่อพูดถึงนวัตกรรมทางการแพทย สวนใหญจะนึกถึงเคร่ืองมือหรืออุปกรณท่ีใชในการชวยดูแลผูปวย เชน นาฬิกาที่ประเมินความผิดปกติของการเตนของหัวใจ หรือ หุนยนตที่ชวยเคลื่อนยายผูปวย ฯ แตส่ิงท่ีทางองคกรไดทํา ข้ึนน้ัน ไมใชส่ิงท่ีตองใชเทคโนโลยีสูง แตเรียกวา “Social Health Enterprise” (SHE) หมายถึง การทําธุรกิจ เกี่ยวกับสุขภาพโดยมีผลลพั ธไ ปสสู ังคม งานทีท่ ําเปน ส่ิงทีท่ าํ ไดงา ย แตส ามารถแกไ ขปญหาที่แพรร ะบาดอยางรุนแรงไป Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ท่ัวโลกและทําใหเกิดการสูญเสียอยางมหาศาลในแตละป ซ่ึงนวัตกรรมท่ีทางองคกรไดคิดขึ้นมาสามารถท่ีจะทําไดทุก เพศ ทุกเช้ือชาติศาสนาและในทุกสถานท่ี เมื่อทําแลวตองไดผลลัพธท่ีเหมือนกัน โดยใชแนวคิด “Total body and mind relaxation in 10 minute” นวัตกรรมน้ีผานการประเมินโดย AIT ของธรรมศาสตร พบวาผานเกณฑที่ UN HCG กําหนดไว 12 ขอจากท้ังหมด 17 ขอ งานดังกลาว น้ันจะเสนอขายใหกับองคกรใหญๆ เชน CP SCG ก.ส.ท. ซึ่ง เรยี กวา “Work Place Stress (ภาวะตึงเครียดจากการทาํ งาน)” ใน Social Enterprise model เราจะตอ งคาํ นงึ ถึง 2 อยาง คือ Product (ผลิตภัณฑ) และ Customer (ลูกคา ) กลุมลูกคาท่ีดีตองมีเปนจํานวนมาก ก็คือ กลุมผูท่ีใช smartphone ซึ่งพบไดในทุกชวงวัยและพบวาสิ่งนี้เปนส่ิงท่ี กอใหเกิดการทําลายสุขภาพของผใู ชง าน ในสว นของ product ส่ิงท่ีทางองคกรนํามาขาย คือ “ความโลง ” จากเดิมเมื่อ เราตองการผอนคลายความเมื่อยลาจากการทํางาน เราจะตองไปนวด ใชเวลาอยา งนอย 2 ชั่วโมง ซึ่งเมอื่ นวดซํ้าบอยๆ ก็เกิดการช้ําระบม ทางองคกรจึงคิด Model ใหมท่ีนํามาใชโดยมีแนวคิด คือ “10 นาที โลงท้ังตัว สามารถทําซํ้าได บอ ยๆ โดยไมเกิดการบาดเจ็บและหลบั สบาย” การพัฒนานวัตกรรมนี้ตองการตอบโจทยในเรื่องของการลดภาวะเครียดและสามารถเพิ่มสมรรถนะ (Performance) ของผูที่ไดใ ชนวัตกรรม จึงไดมกี ารศึกษาและทบทวนความรูในดา นตางๆ เพื่อคนหาวธิ ีท่ีสามารถทําให ความเครียดลดลง และพบวาการใชชีวิตที่ไมเปนไปตามตารางที่กําหนด ทําใหเกิดสภาวการณเสียสมดุลระหวาง Sympathetic และ Parasympathetic ซ่ึงภาวะ Stress เปนตนเหตุของ Sympathetic active over activity สงผล ทาํ ใหเกิดโรคหัวใจและกลามเนื้อ ซึมเศรา กังวล การฆาตัวตาย sleep disorder และเกิดพฤติกรรมที่ไมดอี ื่นๆ ตามมา ซึ่งส่ิงเหลาน้ีทําใหเกิดการสูญเสียคาใชจายเปนจํานวนมาก นอกจากน้ียังพบวากลามเน้ือของมนุษยเม่ือมีการใชงาน มากๆ จะทําใหเกิดเปนตะคริว สงผลใหกลามเน้ือบริเวณนั้นเกิดการแข็งเกร็ง จึงเกิดอาการปวดตามตําแหนงอวัยวะ ตางๆ ขน้ึ เชน บา ไหล คอ ฯ ตะครวิ ที่เกิดขน้ึ ภาษาทางการแพทย เรียกวา “Trigger point” ดังนั้นแนวทางการรกั ษา ตะคริว ก็คือ การทํา Stretching กดไปยังตําแหนงท่ีเกิด Trigger point เม่ือกดลงไปจะทําใหรูสึกเจ็บ เมื่อปลอยมือที่ กดจะรูสึกชาและปลายมือจะแดง เพราะวาเสนเลือดขยายตัว สิ่งท่ีทําเปนการคลายกลามเน้ืออยางเปนระบบ จากการ ไปเปล่ยี นคาํ สัง่ ท่ีสมอง จึงทาํ ใหเ กดิ ความรสู ึก “โลง” หลงั จากท่ีเรานวดเสร็จ เมื่อกลาวถงึ Social Enterprise ธุรกิจท่ดี ี จะตองมี Product ท่ีดี มีลูกคาจํานวนมาก ใชบริการแลว ประทับใจ ทันที มีการบอกตอผูอนื่ ธุรกิจจึงจะสามารถอยรู อดและไปตอได นวัตกรรมท่ีทําข้ึนมาน้ันพบวาเปนท่ีตอ งการของหลาย องคกร แตบุคลากรที่มีอยูไมเพียงพอ จึงไดมีการทําขอตกลงความรวมมือระหวางองคกรกับกรมราชทัณฑ เพื่อฝกผู ตองโทษหญิงใหเปนผูบําบัด ซ่ึงโครงการน้ีเปนท่ีสนใจของ UN เปนอยางมาก เพราะส่ิงที่ทําเปนการผสานผูที่ตองการ โอกาสในการมีอาชีพกับปญหาสําคัญของโลก จึงทําใหนวัตกรรมที่องคกรสรางขึ้นอยูในระดับ Sustaining และจะกาว Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

เขาสูระดับ Scaling เพราะมีประเทศที่ตองการใหขยายนวัตกรรมนี้ไปใช เชน ญ่ีปุน อินเดีย ตอไปจะกาวเขาสูระดับ Systemic change ซง่ึ จะทําใหเกิดรายไดท่ีมเี ขามาอยางมากมาย นอกจากน้ียังพบวานวัตกรรมท่ีองคกรสรางขึ้นมายัง สามารถแกไขปญหาทางสังคมไดมากกวาหนึง่ อยา ง จากการรับฟงการนําเสนอผลงานตางๆ ในคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี พบวาบุคลากรมีความคิด ในการพัฒนางานตา งๆ แตย งั อยูแค 3 ระดับแรก คอื 1. Prompt 2. Proposals 3. Prototypes GMเทาน้ัน อยากให เกิดการพัฒนาตอยอดไปจนถึงระดับตอไปคือ 4. Sustaining 5. Scaling 6. Systemic change และสรา งสิ่งท่ีสามารถ ชว ยแกไขปญหาทางสังคมไดมากกวาหนง่ึ อยาง ซ่ึงบุคลากรของโรงพยาบาลรามาธิบดีเปนผูที่มีความรูความสามารถ มี ศกั ยภาพพอท่ีจะพฒั นาไปถึงจุดน้ันได คณุ สาธกิ ธนะทกั ษ (โคชเปง ) นักวิทยาศาสตรก ารกีฬา EZ 2 Fit “สุขภาพดี ไมม ีขาย อยากไดตองทําเอง” เปนแนวคิดท่นี ํามาสรา งนวัตกรรมเพื่อสุขภาพท่ีจะใหคนไดชวยเหลือ ตนเอง เพื่อคงไวซึ่งสุขภาพที่ดี โดยไดมีการจัดทําเพจเพื่อสุขภาพ ชื่อ EZ 2 Fit เพื่อสอนใหคนออกกําลังกายอยาง ถูกตอง เดิมเคยทํางานกับ สสส. มีความคิดท่ีอยากจะส่ือสารขอมูลใหคนอื่นไดรับรู จึงทําเพจขึ้นมาเปนธุรกิจแบบ Freemium โดยการสอนออกกําลังกายออนไลน สามารถเรียนไดฟรี เพราะไดรับเงินจากสปอนเซอรเปนจํานวนมาก แตกลับพบวาผูท่ีเขามาเรียนกลับไมมีผูที่สนใจท่ีจะทําการบานสง จึงปรับเปล่ียนวิธีการใหม โดยการเปดเพจสอนว่ิง ออนไลน แตเรียกเก็บเงิน กลับพบวามียอดผูมาลงทะเบียนเรียนเต็มเร็วจํานวนมาก และมีการสงการบานมาใหเปน จํานวนมาก จึงทําใหมองเห็นประเด็นสําคัญวา เมื่อคนเราตองเสียเงินเพื่อดูแลสุขภาพจะทําใหมองเห็นคุณคาของสิ่งที่ ทํา หลายโครงการท่ีเก่ียวกับสุขภาพท่ีเปดใหบริการคนฟรี คนกบั มองไมเห็นคุณคา ดงั นั้นจึงเห็นดวยอยา งยิ่งกับแนวคิด Social enterprise วา “จะทาํ ความดีตองไดเ งนิ ” จึงพยายามทําโครงการที่มใี หด แี ละมคี ุณภาพ ซ่งึ ประสบการณโดยตรงทเ่ี กิดข้ึนกบั ตนเอง คือ การท่เี ราเกดิ ภาวะ work place stress ในชว งที่ทาํ งานกบั ทาง สสส.และเรียนปริญญาเอกไปดวย เพราะตองทาํ งานอยูหนา notebook วนั ละ 12 ชั่วโมง ทาํ ใหเกิดอาการปวดบา คอ ไหล เจ็บศอก เจ็บขอมือ จนไมสามารถทํางานได จึงเปลี่ยนอุปกรณที่ใชในการทํางานใหม ก็ดีขึ้นอยูระยะหนึ่ง แตก็ยัง กลับมาเปนอีก จึงไปนวดเพ่ือคลายกลามเน้ือ แตก็ยังเปนอีก เพราะทา (posture) ของเรายังไมถูกตอง ตรงน้ีจึงเปน จุดเร่ิมตนของความสนใจเกี่ยวกับ “Stress และ Posture” เมื่อเราเกิดภาวะ stress และมี trigger point เราก็ตอง นวดเพ่ือใหเกิดการผอนคลาย ซึง่ ตองทําซ้ําบอยๆ แตถาเราคนพบตน เหตุท่ที ําใหเกิด trigger point เรากจ็ ะไมตองนวด อีกเลย จึงเปน การแกปญหาทีย่ งั่ ยนื ยกตัวอยาง Forward head การทําใหศ รี ษะ คอ ลําตัวตั้งฉากกัน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ในปจจุบันพบวาคนสวนมากไมสามารถทําได เพราะทาที่เราใชคนเปนทาท่ีคุนชิน คือ ศีรษะจะยื่นออกไปทาง ดานหนา จึงทําใหเกิดการดึงร้ังของกลามเน้ือคอและไหล หรือบางครั้งเกิดอาการท่ีกลามเน้ือเกิดการไขวกัน ท่ีเรียกวา “upper cross syndrome” ทําใหเกิดการตึงและดึงร้ังของกลาม สงผลทําใหไหลงุมลง ยกไหลไดไ มเต็มท่ี ท้ังหมดเกิด จากการใชทาทางท่ีไมถูกตอง โดยใหผูเขารับฟงในหองประชุมไดรวมทํากิจกรรม ไดแก การยืนขาเดียว การหมุน สะโพกโดยไมใ หตวั ดา นบนหมุนไปดวย เพอ่ื ประเมนิ วา กลามเน้ือของเราไดมีความแข็งแรงหรือออนแอ ซึ่งกลามเนื้อตางๆเหลานี้เราสามารถที่จะทําใหแข็งแรงไดดวยการออกกําลังกายและการฝกทําทาทาง (posture) ที่ ถูกตอง ดังนั้นการสอนออกกําลังกายออนไลน เพราะอยากใหทุกคนเชื่อวาการออกกําลังกายเปนสิ่งสําคัญ จําเปนตอง เรยี นรู และตองมี feedback เพื่อใหเ หน็ มลู คาของมนั มากขึน้ โดยคาดหวงั วา เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ จะชว ยทํา ใหเรามสี ขุ ภาพทีด่ ีขึน้ ตง้ั แตต น จึงอยากใหร ฐั บาลมีการสงเสรมิ และสนับสนุนเพือ่ ปอ งกนั ไมใหเ กิดโรคมากกวา รักษาโรค การสรุปตีความโดยทมี ถอดบทเรียน บทเรยี นที่ไดรบั /ปจจยั แหง ความสําเร็จ/ขอ เสนอแนะ 1. นวัตกรรมท่ีดีไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีชั้นสูง อาจทําไดงาย สามารถทําไดทุกคนและทุกท่ี แกปญหาไดและ สรางประโยชนใหก ับสังคม 2. การท่คี นเราจะมองเห็นวา สง่ิ ใดสําคัญและมีคุณคาสําหรับตัวเรา ก็ตอเมื่อเราตองลงทนุ กบั ส่งิ นั้น บางคร้ังของท่ี เราไดม าฟรี เราอาจไมเ หน็ ความสาํ คญั ของสิ่งน้ัน 3. การมีสขุ ภาพที่ดคี วรปลกู ฝง ตงั้ แตเ ริม่ ตน ไมตองรอใหเกดิ ปญ หาแลวจึงมาแกไข ชอ่ื ผูจดบันทึก 1. นางรงุ ทพิ ย ประเสริฐชยั งานการพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจติ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี 2. นางสาวนาตยา จลุ ลา งานการพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจติ ฝา ยการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

เร่อื งเลาเรา พลงั

ชื่อเรอื่ ง การนําเสนอเรือ่ งเลาเรา พลงั 4 เรือ่ ง (นําเสนอเรือ่ งละ 5 นาที เสนอแนะ 5 นาท)ี วันท่ี วนั พฤหัสบดที ี่ 23 สิงหาคม 2561 เวลา 11.15 – 12.00 น. (45นาที) หองประชมุ หอ งประชุม ชน้ั 8-9 อาคารเรยี นและปฏิบัติการรวมดา นการแพทยและโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี วทิ ยากร (ชอ่ื -สกุล) ผวู พิ ากษ รศ.ดร.พรรณวดี พธุ วฒั นะ โรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี ผศ.พญ.จริยา ไวศยารัทธ ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา คณุ สธุ รี  พมุ กุมาร ผูอาํ นวยการสถาบันกวีนิพนธไทย หวั ขอบรรยาย การนําเสนอเรอื่ งเลา เรา พลัง 4 เรือ่ ง (นําเสนอเรอ่ื งละ 5 นาที เสนอแนะ 5 นาท)ี รูปแบบการนาํ เสนอ รปู แบบวิดีทัศน *************************************************************************************** ผูวิพากษ รศ.ดร.พรรณวดี พุธวัฒนะ ผศ.พญ.จรยิ า ไวศยารทั ธ คณุ สธุ ีร พมุ กุมาร โรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา ผูอํานวยการสถาบันกวนี ิพนธไทย เจาของผลงาน ผลงานเรื่องท่ี 1 แสงสดุ ทาย ผลงานเรือ่ งท่ี 2 คุณคาของชีวติ ผลงานเร่ืองท่ี 3 Trans- ผลงานเร่อื งท่ี 4 ชีวติ ใหช ีวติ โดยคุณเฉลียว คงคา โดยคณุ ศศิวิมล ธุระพอ คา telephonic หา งกาย ใกลใจ โดยคุณพรภัทร เจยี มพงศ งานการพยาบาลปอ งกันโรค งานการพยาบาลสูตศิ าสตรน รี โดยคุณชยั วัฒน วนั ชวย ไพศาล และสงเสรมิ สขุ ภาพ เวชวิทยา งานการพยาบาลผูป ว ยวิกฤต งานการพยาบาลหอ งผาตัดและ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาล ฝายการพยาบาล โรงพยาบาล ฝายการพยาบาล ศูนย วกิ ฤต ฝา ยการพยาบลศนู ย รามาธิบดี รามาธิบดี การแพทยสมเด็จพระเทพรัตน การแพทยสิรกิ ิต์ิ รางวลั ชนะเลิศ ประเภท ผลงาน รางวัลชนะเลิศ ประเภท ผลงาน รางวัลชนะเลิศ ประเภท ผลงาน รางวลั ชนะเลิศ ประเภท ผลงาน เร่ืองเลา เราพลัง เรอ่ื งเลาเรา พลัง เรื่องเลา เราพลัง เรือ่ งเลา เรา พลัง Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

เนื้อหาบทความ ผลงานเรอ่ื งที่ 1 แสงสุดทา ย โดยคณุ เฉลียว คงคา งานการพยาบาลปอ งกนั โรคและสงเสริมสขุ ภาพ ฝา ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี “มิสฟลอเรนซ ไนติงเกล ไดรบั ขนานนามวา สุภาพสตรีแหงดวงประทีป เนือ่ งจากภาพลักษณที่ติดตาของผูคน ท่เี ห็นกิจวัตรการตรวจดูแลปวยของเธอโดยการถือตะเกียงในยามคํา่ คืน …..…..” เสียงอาจารยบรรยายถึงผูบุกเบิกดาน พยาบาลศาสตรยุคใหม ฉันนึกถึงภาพของผูหญิงคนหน่ึงท่ีมีดวงไฟสองสวางจากตัวเธอในความมืด มันคงจะเปนแสง แหงความหวังของผปู วยหลายๆ คนท่ีรับการดแู ลจากเธอ ฉันลงจากรถตูหลังฝาการจราจรอันหนาแนนในเมืองกรุง แมจะเปนความคุนเคยแตทามกลางอากาศอันรอน ระอุก็ทําใหฉันลาไปไดเหมือนกัน ตึกหลายหลังในชมุ ชนแหงน้ีเปนท่ีอาศัยของประชากรเรือนหม่ืน แตคุณภาพชีวิตกลับ แปรผกผนั กบั จาํ นวนคนท่นี ่ี “คุณปาพนาลีอยูม้ัยคะ” ฉันถามพลางเคาะประตู “หมอเขามาเลยจา ประตูไมไดล็อก” เสียงของหญิงวัย กลางคนตะโกนสวนออกมา ปา เรียกเจาหนา ทีใ่ นโรงพยาบาลวาหมอทุกคน ฉันพบคุณปาพนาลีครั้งแรกเม่ือวานน้ีหลังจากหองฉุกเฉินสงตอใหหนวยเย่ียมบานดวยเรื่องเหนื่อยหอบจาก ภาวะหัวใจวาย การดูแลภาวะแทรกซอนและแผลเร้ือรังที่เทาจากโรคเบาหวาน ฉันใหคุณปายืมเครื่องผลิตออกซิเจน และสอนการทาํ แผลใหแกคุณลงุ พฤกษผ ูเปนสามี กอนทหี่ องฉกุ เฉินจะจําหนายกลับบานเมื่อคนื หองเชาขนาดเล็กท่ีเมื่อพยาบาลเย่ียมบานมาเยือนแคเพียง 2 คนก็ทําใหอึดอัดไดพอสมควร ปาพนาลีกําลัง พยายามลุกข้ึนจากเตียงอยางยากลําบากดวยความท่ปี ามีลําตัวขนาดใหญ แตแขนขาทั้งสองขางลีบและออนแรง ทําให ไมสามารถพยุงตัวเองขึน้ มาได สว นแผนกระดานเตยี งทีป่ า นอนน้นั ทะลเุ ปนรกู วางทําใหต วั ของปา จมลงไปในท่นี อน “พยาบาลชวยคะ ” ฉันรีบเขาไปประคอง “ขอบคณุ นะหมอ ดีใจจริงๆ ท่ีมา ปารออยเู น่ีย นึกวา จะไมมาซะแลว กลัวจะหลอกใหคนแกดีใจ” ปาพนาลียกมือไหวพวกเรา นิ้วมือหลายน้ิวขาดหายไปจากการคุมเบาหวานไดไมดี และ ปลายน้วิ ทเี่ หลือบางนว้ิ เร่ิมมสี คี ลาํ้ ลง ฉันเรม่ิ ตรวจรางกายอยา งเปนระบบและมาสนิ้ สดุ ลงทีเ่ ทา “ปา พรอมมั้ยคะ” “เอาเลยหมอ ปาเจ็บจะแยแลวเนี่ย” หนองที่ฝาเทาท้ังสองขางดูเหมือนจะเตรียมปะทุขึ้นมาไดทุกเมื่อ แผลท่ี สนเทาก็ดูไมดี แถมยังมีแผลกดทับเพิ่มข้ึนมาที่ตาตุมและขางเทาเสียดวย ปาพนาลีพอจะอานสีหนาท่ีแฝงดวยความ หนกั ใจของฉนั ออก “ปาขอโทษนะหมอ ปาขยับตัวไมไหวนะ กมทําแผลเองก็ไมได ถามีเลือดมีหนองออกมาก็ตองรอลุงมาทําให ตอนเย็นทีเดียว” ในช30 วงกลางวนั ลงุ พฤ30 กษตองไปเปดแผงขายแวนตาหนา สํานักงานแหงหนึ่งกลางเมืองซ่ึงโชคดที ่ีไมตอ ง เสียคาเชาท่ี แตกวาจะเดนิ ทางจากบา นไปถึงกร็ วมสามช่วั โมง “ลงุ ปูเส่ือแลวนั่งขายแวนกับพื้น รอนก็ตองทนเอา ถาไมทําแบบน้ีก็ไมรูจะไปทําอะไรกิน” ลุงเคยคุยกับฉันเมื่อ ตอนท่ีปา อยูโรงพยาบาล “จรงิ ๆ คนเขาคงสงสารถงึ ชวยซ้ือ แตจะใหทาํ อยา งอ่ืนลงุ ก็ไมไดรูหนังสอื มาก ตาก็ไมคอยดี ไม มใี ครเขารับเขาทาํ งาน” Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ฉันเริ่มทําแผลท่ีเทาท่ีมีนิ้วเหลือเพียงแค 8 น้ิว และกําจัดหนองที่ไหลออก เสียงรองดวยความเจ็บปวดสลับกับ เสียงกัดฟนดังเปนระยะ ฉันกังวลกับแผลที่อยูตรงหนา ประเมินแลววากวาแผลจะหายคงตองใชเวลาเปนเดือน ถา ระหวางนีป้ า ไมไ ดล ุกน่งั หรือพลิกตะแคงตวั คงจะมแี ผลกดทบั เกดิ ข้ึนทสี่ ว นอ่นื ๆ ของรา งกายอีกแน เตียงผปู วยเปนสิ่งที่จําเปนมากในตอนนี้ ถาไดเ ตยี งมาอยา งนอยปากค็ งนอนไดส บายขึ้น อีกทั้งยงั สามารถปรับ ระดบั ของศีรษะและปลายเทา ได อาจจะทาํ ใหการขยบั หรือพลกิ ตัวไมล าํ บากมากนัก ฉนั ประสานงานกับผูบริจาคเตียงผูปวยใหกับปาพนาลี พรอมท้ังใหยืมท่ีนอนลม เงินจํานวนหนึ่งจากผูบริจาคท่ี เสียชีวิตไดนํามาวาจางรถเพ่ือนําเตียงไปสงใหท่ีบาน รวมถึงผาออมสําเร็จรูปท่ีหนวยสังคมสงเคราะหไดชวยเหลือ ลุง พฤกษมองของทงั้ หมดดว ยความซาบซึ้งใจ ดวงตาฝาฟาง 2 ขางเต็มไปดวยน้ําตา แววตาบงบอกถึงความขอบคุณ ลุงยก มือไหวพ รอมกลา วดวยเสียงสั่นเครือ “หมออยาทิง้ กันนะ ผมไมมีใครจริงๆ” ลงุ กลนั้ สะอืน้ ถึงแมจะไดสิ่งที่เอ้ืออํานวยตอความสะดวกในการดูแลมาบางสวน แตฉันก็ยังไมคลายความกังวลในการดูแล และอาการของคณุ ปา เทา ไหรน ัก สิ่งที่คาดคะเนไวไมมีผิด คร้ังตอมาปาพนาลีมีแผลกดทับเกิดขึ้นใหมที่หลังและกน ตอนนี้ปาออนแรงมากขึ้น ตอ งขับถายบนเตยี ง โดยตอนเชาลุงพฤกษจะชวยเชด็ ตวั และเตรียมอาหารไวใ ห แลว จงึ ออกไปทํางาน และในชว งเย็นจึง จะกลับมาเปลีย่ นเสอ้ื ผา และพลิกตะแคงตัวให แผลกดทับสีดําขนาดใหญกวาฝามือที่กน และแผลขนาดตางๆ กันอีกมากกวาสิบแผลตามรางกายแสดงถึง สภาวะออนลาของรางกายและความพรองทางภาวะโภชนาการไดเปนอยางดี ฉันวางแผนเย่ียมบานในทุกสัปดาหเพ่ือ ติดตามและประเมนิ ภาวะตางๆ “คันหัวมากเลย หมอมาทีถึงจะไดอาบนํ้า สระผม เปล่ียนผาผอนให ลุงคนเดียวทําไมคอยไหว” เสียงเหนอๆ ของปา พนาลีบอกทกุ ครง้ั ท่เี ราเจอกนั “พยาบาลดีใจนะคะทช่ี ว ยใหปา สบายตวั ขน้ึ ” แพทยดานโรคติดเช้ือประสานงานใหฉันชวยเจาะเลือดคุณปาเพื่อติดตามผลแลป ฉันเจาะเลือดในขณะที่ปา หลับโดยไมมีทีทาวาจะต่นื คงจะสบายตวั มากจรงิ ๆ ในชวงหลังมีแพทยเวชศาสตรครอบครัวรวมเย่ียมบานกับเราดวยอีกหลายคร้ัง ลุงกับปาเริ่มพูดคุยกันถึงเร่ือง การดแู ลในระยะสุดทายของชีวิต ปา พนาลีตดั สนิ ใจขอใชลมหายใจชวงสุดทา ยของชีวิตทบี่ า น “ไมใ สทอนะ ไมปม ดวย” น่นั หมายถึงการไมใสทอชวยหายใจและไมก ูชพี ซ่ึงปาคอยยํา้ กับฉนั และลุงพฤกษเ สมอ “หมอมาบอยๆ นะ อยาทิ้งปานะ” ปาจับมือฉันไวแนนเทาที่แรงจะมี พนมมือยกขึ้นเหนือศีรษะและใหพรทุก ครัง้ ทีร่ ํา่ ลากัน “พยาบาลไมทงิ้ ปา พนาลีแนน อนคะ พยาบาลสัญญา” ฉนั รับปาก “เจอกนั อกี ทหี ลังสงกรานตน ะคะ” วันสงกรานต ทุกแหงมีความชุมฉ่ําและชุมชื่นจากสายนํ้า แตในใจของฉันกลับแหงผากจากขาวที่ไมคอยดีนัก ของปา พนาลี “ปา ดูเหนอื่ ยมากขึ้น กินอะไรไมไ ดเลย ตอนนใ้ี หออกซเิ จนจากเครื่องของหมอแลวกย็ ังไมหายเหน่ือยเลยครับ” ลุงพฤกษโ ทรหาฉันในชวงวนั หยดุ ยาว ฉันเขาใจสภาวะนี้ดี และลุงพฤกษก็รดู ีวายงั ไงวันนีก้ ็ตอ งมาถึงเชนกัน แตตอนน้ี คณุ ลงุ เพียงแคต อ งการกําลงั ใจท่ีจะผา นพนชว งเวลาวิกฤตนิ ้ไี ปใหได Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

๑๗ เมษายน ๒๕๖๑ ฉันมีโอกาสไปเย่ียมคุณปาพนาลีอีกคร้ัง คราวนี้ปาไมสามารถพูดคุยหรือจับมือฉันได เหมือนเคย ไมมเี สียงเรยี กหรือเสียงรองคร่ําครวญเม่ือทําแผล จะไดยนิ ก็แคเ สียงหายใจทดี่ ังขนึ้ เปนคร้งั คราวเพียงเทา นน้ั ลุงพฤกษคอยดูแลอยูขางกายปาพนาลีไมหาง เหมือนกลัววาเสียงหายใจน้ันจะเงียบหายไป “ปาเคยบอกลุงวา หมอเปนเหมือนแสงสวางในชีวิต ในตอนที่ปากับลุงไมมีใคร........ ก็มีหมอนี่แหละที่คอยมาดูแล คอยชวยเหลือ ไม เคยท้ิงกันไปไหน เปนแสงสุดทา ยในชวี ติ ของปา” ๑๘ เมษายน ๒๕๖๑ เวลา ๔:๔๘ น. ปาพนาลีจากไปอยางสงบที่บานโดยมีลุงพฤกษคอยจับมือและสวดมนตนําทางใหปาพนาลีไปสูสุคติจนลม หายใจสุดทายขาดหายไป หนว ยเยี่ยมบา นรว มทาํ บุญกบั ลงุ พฤกษเพือ่ ปาพนาลีเปน ครัง้ สุดทาย ฉนั นึกถึงคําสอนของอาจารยพยาบาลท่ถี ึงแมจะผา นมาเนิ่นนานแตก็ยงั จาํ ไดเปน อยางดี “เวลาที่ผปู วยเห็นแสง ไฟก็รแู ลว วามิสฟลอเรนซก ําลังมาเยยี่ มพวกเขา น่นั เปนกําลงั ใจท่ีดีและเปนยาท่ดี ที ี่สดุ ในการดแู ลคนไข ถงึ แมวา สดุ ทาย จะไมห ายขาดหรือตอ งตายจากไป แตคนไขกร็ ับรูไดถึงสิ่งดีๆ ที่ไดรับจากพยาบาล” และฉันเองก็รับรูไดถึงความรูสึกดีๆท่ีลุงและปาไดมอบใหกับฉัน ...... น่ันคือความสุขจากการเปนผูใหใน การชว ยเหลอื ผูป ว ยตราบจนระยะสดุ ทา ยของชวี ติ เชนเดยี วกัน ผวู พิ ากษ รศ.ดร.พรรณวดี พุธวัฒนะ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี “สวัสดีคะ ทุกทานก็ไดรับชมจบไปแลว ก็คงมีความเหน็ รวมกันวาชื่อเรื่องกับเนือ้ เร่ืองไปดวยกัน ก็คือเรื่องของ แสงสุดทาย งานประชมุ ครั้งนี้เปนงานประชุม Innovation and Creativity ของคณะฯ แตวาในจดุ ที่มีเร่อื งเลาเราพลัง ซ่ึงทุกคนก็คงเห็นแลววาเปนการมาเผยแพรมุมเล็กๆ ของการทํางานที่จะชวยส่ือสารและผลักดันวาในทุกจุดของการ ทาํ งานสามารถจะสรา งประโยชน สรา งคณุ คา แลวที่สําคญั ก็คอื เกดิ ความสุขกับคนทาํ งาน ตัวอยางเร่ืองของการทํางานแสงสุดทายน้ีก็เปนความเห็นพองตองกันของคณะกรรมการวาเน้ือเรื่องและการ เรียบเรยี งสามารถถายทอดใหพวกเราไดมีอารมณท ี่คลอยตาม แลวก็มีการเรม่ิ ตน มีการจบลงในบทสรุปทท่ี ําใหม องเห็น ประเด็นสําคัญของเร่ืองน้ี รวมทั้งส่ิงท่ีอยากจะสือ่ มากท่ีสุดก็คอื การเห็นคุณคาของงานท่ีจะชวยผลักดันใหผูอานหรือ ผูที่รับรูเร่ืองนี้ไดคลอยตาม และเกิดพลังผลักดันใหทํางานของตัวเองในแนวที่มีคุณภาพดี เกิดประโยชน รวมท้ัง ตัวเองเปน สขุ กเ็ ลยไดร บั คัดเลอื กขน้ึ มาในวันน้ีคะ ” ผูวิพากษ คุณสธุ ีร พมุ กุมาร ผูอ ํานวยการสถาบันกวนี พิ นธไ ทย “เร่อื งน้ีผมชอบตั้งแตการขน้ึ ตนเพราะวา ผมเปน คนเขยี นหนังสือกึ่งๆ อาชพี พอเห็นมิสฟลอเรนซ ไนติงเกล ก็ รูสึกวาคนเขยี นนี่วางแผนการเขียน พอขน้ึ ตน ผมกจ็ ะดูวา พอเริ่มตนแลว จะไปยังไง จะไปจบลงตรงไหน พอมาพบชื่อตัว Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ละครของปา พนาลีกย็ ่งิ ชอบใหญเลย ความจรงิ เนื้อหา พลอตเร่ือง หรอื คอนเซปตของเร่ืองแนวน้ีมเี ยอะ เพียงแตว า รูปแบบการนําเสนอใชช นั้ เชงิ ทางวรรณศลิ ปเ ขามาชวยนําความเขา ไปสูสดุ ทายของเร่ืองไดอยางกลมกลนื แนบ เนียน ผมชอบชือ่ ปาพนาลี ไมร วู าเปน ชื่อจริงหรือเปลา หรือวาผูเ ขยี นตง้ั ขึน้ มาเอง เพราะวา เรอ่ื งนีท้ ําใหเราเหน็ เรือ่ งท่ี สอดแทรกเขามาตรงกลางเรื่อง ก็คือขอเท็จจริงของความเปนไปของชีวิต ในเรื่องน้ีเราจะเห็นความโดดเดนอยาง หน่ึงคือการไมทอดท้ิงกันในยามเจบ็ ปวย ชีวติ ตองดําเนินไปในรูปแบบของมันอยางน้ีอยูแลวแหละ แตวาการทส่ี ุดทาย ของชีวิตแลวเคาไมไดถูกทอดทิ้งแมกระทั่งคนท่ีไมใชคูชีวิตของเคา แตวาเปนมิสฟลอเรนซ ไนติงเกลนี่แหละ ซ่ึงก็ คือคณุ พยาบาลทง้ั หลายครบั ” การสรุปตีความโดยทีมถอดบทเรยี น บทเรยี นท่ีไดร บั /ปจจยั แหงความสําเร็จ/ขอ เสนอแนะ การดูแลผูปวยแบบองครวมและการทํางานรวมกันของทีมสหสาขาทําใหผูปวยไดรับการดูแลอยาง ครบถวนท้ังดานรางกายและจิตใจ ทําใหผูปวยเขาสูระยะสุดทายไดอยางสงบ สมศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย และการ ดแู ลไมเพียงเฉพาะตัวของผปู ว ยแตยงั รวมถงึ การดูแลบุคคลในครอบครัวอีกดว ย การดูแลผูปวยรายนี้เปนการทํางานดวยใจ ไมใชแคทําตามหนาที่ท่ีไดรับมอบหมาย ทําใหมีความสําเร็จ เพิ่มขึ้น ไมเพียงแคเปนการดูแลทางกายเทาน้ัน แตยังสามารถเขาถึงจิตใจและความเปนมนุษยของผูปวยและผูดูแลได เปนอยางดี รวมถึงสามารถสรางความไววางใจและเปนท่ีปรึกษาของผูปวยและครอบครัวไดตราบจนวาระสุดทายของ ชีวติ ทําใหผปู วยและครอบครัวสามารถยอมรับความตาย และเขา สูร ะยะสดุ ทา ยไดอ ยางสงบ ความรับผิดชอบและประสบการณในการดูแลผูปวยท่ีบานของพยาบาลเจาของไข ทําใหมีการวางแผนการ ดแู ลท่ีดแี ละเปนไปอยา งตอ เน่ือง มกี ารทํางานเปน ทมี และการทํางานรวมกันของทีมสหสาขาท่ีดีเยยี่ ม ซ่ึงการดูแลผปู วย รายนี้ แมจะเปนการดูแลผูปวยที่บาน แตสามารถประสานงานรวมกับแพทยผูรักษาและแพทยเจาของไขไดเปนอยางดี ทําใหผ ูป ว ยเขา ถงึ ระบบการรักษาพยาบาลไดอยางครบถว นแมว า จะไมสามารถมาโรงพยาบาลดว ยตัวเองได ชื่นชมในการทาํ งานของผูเ ขียน และเปน กรณีตวั อยางทดี่ ีในการทํางานรว มกนั ของสหสาขาวชิ าชพี ชือ่ ผจู ดบนั ทกึ นางสาวนนั ทติ า จุไรทศั นีย สังกัดหนว ยบริการพยาบาลผูป ว ยทบ่ี า น งานการพยาบาลปอ งกันโรคและสง เสริมสุขภาพ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ผลงานเรือ่ งที่ 2 คณุ คา ของชวี ิต โดยคุณศศวิ ิมล ธุระพอคา งานการพยาบาลสูตศิ าสตรน รเี วชวทิ ยา ฝา ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี เนอ้ื หา Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ผวู ิพากษ ผศ. พญ.จรยิ า ไวศยารทั ธ ภาควิชาพยาธวิ ทิ ยา “สวสั ดีคะ ไดช มคลิปน้ี 2-3 คร้งั ตอนทช่ี มคร้ังแรกไมม ีเสยี ง ยงั คิดวาเคา อาจจะเลา อยา งนีก้ ไ็ ดนะ เลาแบบไม มีเสียง เพราะวาตอนที่เคาเขียนก็เปดเร่ืองดวยคําถาม ซึ่งเปนการเขียนที่เรียกไดวาทาทายชนิดหน่ึง เคาเปดเร่ืองดวย คาํ ถามวา ‘คุณเคยสงสัยม้ัยวา คุณคาของคนเรามันอยูตรงไหน’ ตอนท่ีอานก็รูสึกวา เตะ เตะเขาไปในใจเราแลว อันนี้ก็ เปนเรื่องหน่ึงที่ประทับใจมาก เลาเรื่องของหองฉุกเฉิน แลวก็เลาเร่ืองดวยคําถาม ก็ทําใหเรางงนิดหน่ึงตรงที่เปดเร่ือง ดวยผหู ญิงคนหนึง่ เคาใชภ าษาวรรณศลิ ปเขามาบรรยาย 1. คียเ วิรดคอื ผหู ญงิ ชาวบา น รา งเล็ก ตัวเปอนเลอื ด แตเคา วาดการตนู เปนผูห ญิงเด็กๆ นะ เสรจ็ แลว ก็ทําใหคน อานงงหรือสงสัย แปลกใจไปอีกอันก็คือวา คุณพยาบาลถามวา ‘คุณเปนอะไรกับเคาคะ’ ‘ฉันไมไดเปนอะไร กบั เคาเลย’ มันเขาไปในใจเรานะ อันนี้เปนเทคนคิ ของการเขียนเร่ืองเลาเราพลัง คอื เคาไมไดเปนอะไรกันเลย แตเคาชวย แลวก็ไมไดชวยอยางเดียว เคาพามาสงแลวเคาก็นั่งรอ ผูหญิงคนน้ีน่ังรออยูหนาหองตลอด เพ่ือท่ีจะถามกบั คุณพยาบาลวา ‘เคาเปน อะไรหรือเปลา’ ‘เคาปลอดภัยดีใชมั้ย’ เพราะฉะน้ันผูเขียนเลาเร่ือง นีไ้ ดดี นําเทคนิคท่ีเรียกวาคาํ ถามขน้ึ มาถามเร่อื ง ถามคนอืน่ ถามผอู านใหสนใจอยากอา น 2. เร่ืองเลาน่ีเปนเร่ืองจริง กติกาอยางหน่ึงคือเอาเรื่องจริงมาเลา เพราะฉะน้ันเราก็จะขนลุกละวาเคาไมไดเปน อะไรกัน แตเคา ยินดีที่จะเปอนเลอื ด แลว ก็พามา แลวก็น่ังรอ และเมอื่ คนไขร อดชีวติ เคากด็ ีใจ คนเขียนก็ตบ ทา ยหรือสรุปวา คณุ คา ของชวี ิตนก่ี ็ตอบคําถามของเคา เองวา มนั วดั กันไมได อา นตรงนก้ี น็ ึกเลยคะวา ตรงน้คี ือการให การใหจ ากมนุษยแ กมนษุ ย แลว กช็ ีวติ ของบุคลากรอยา งพวกเรานี่ก็ เหมือนกนั เวลาเราทาํ งานเหน่ือยๆ เนี่ยเราก็คือผูให ตัวเราผูใหเ ราเคยสอนลูกศิษยบอกวา เราใหก็ตองภูมิใจดวยนะวา เราไดโ อกาสใหเ ราเปน ผูให เคากศ็ รัทธาเรา เพราะฉะน้นั ตอนท่ีอานก็รสู ึกถึงคําวาให ไมส น้ิ สดุ ของรามาธบิ ดีดว ย และ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ขอชมอีกอยางวาคลิปวิดีโอนี้ ดนตรีประกอบเนี่ยไพเราะมาก ฟงแลวดูไปดวยรูสึกวามันขัดกับเร่ืองก็จริง แตกลับนา เตนราํ ขอบคุณคะ ” ผวู ิพากษ คุณสธุ ีร พมุ กมุ าร ผอู ํานวยการสถาบนั กวีนิพนธไทย “ผมมีความเห็นคลายๆ คุณหมอจริยาตรงที่วา ผมขีดเสนใตเนนไวเลยวา เคาไมไดเปนอะไรกับผูบาดเจ็บที่ เลือดทวมตัว และเคาอยูจนกระทั่งคุณหมอรักษาเคาเสร็จเรียบรอยแลว ปลอดภัยแลว อันน้ีเปนมุมหนึ่งที่คนเลานํามา เลา แตไมอยากใหคนอานเชื่อไปทั้งหมด เพราะในขอเท็จจริงของชีวิต สังคมบังคับใหเราตองเปนคนใจแคบ การที่เรา เขาไปเก่ียวของกับเร่ืองเหลาน้ีซ่ึงมันเปนคดี จริงๆ นะครับมันเปนคดีเพราะวาอะไรก็แลวแต แคคุณเห็นเทานั้นแหละ คุณจะตองถูกเชิญไปโรงพัก ไปไตสวนขอเท็จจริง ไปเปนพยาน ส่ิงเหลาน้ีสังคมบังคับใหเราตองเปนคนใจแคบ ทั้งๆ ท่ี เราอยากเขาไปชวย แตช่ังน้ําหนักแลววาบานเมืองไมคอยไดใหโอกาสเรามากเทาไหร ความจริงเร่ืองเหลาน้ีจะตองมา สอบถามถึงท่ี แตเ รากลบั ถกู หมายเรียกใหไ ปโรงพัก นี่คือขอ เท็จจรงิ ของชวี ติ เรอ่ื งตรงน้ีท่ีผมเห็นโดดเดนมากทีส่ ุดก็คอื วา ขณะที่ผมอา นผมกเ็ กดิ ความโตแยงในใจวา ‘จริงหรือ’ ‘มหี รอื ’ คือ เคาไมไดบอกวาเอามายังไง แลวเลือดทวมตัว แลวน่ังรออยูอยางน้ี นี่คือสิ่งท่ีผมโตตอบกันอยูในใจวามีจริงหรือไม แตก็ ขอชมวานี่คือแพทเทริ นของการสรางมนุษยต นแบบทดี่ ีครบั ” การสรปุ ตคี วามโดยทีมถอดบทเรียน บทเรียนท่ีไดรับ ปจ จัยแหงความสําเร็จ คณุ คาของชีวิตหรือคุณคาของคนน้ันไมสามารถวัดกันได แมจะเปนบุคคลใดก็ตาม หากแตจิตใจท่ีงดงามและ การทาํ ประโยชนใหแ กส งั คมตา งหากทปี่ ระกอบเปน คุณคาของคน เจตคติท่ีดีทําใหเกิดจิตอาสาในการอยากชวยเหลือผูอื่น แมกระทั่งผูท่ีไมรูจัก ซ่ึงเปรียบไดกับอาชีพของ บุคลากรทางการแพทยทีพ่ รอ มจะใหความชว ยเหลือผูป วยทุกคนอยา งเตม็ ความสามารถ ความมุงม่ันในการชวยเหลือคนอื่นทั้งโดยวิชาชีพและความเปนมนุษย และการทํางานเปนทีมภายในหอง ฉกุ เฉนิ และความยินดใี นการชว ยเหลอื เพื่อนมนษุ ยแ มกระทั่งบคุ คลที่เราไมรจู ัก ขอเสนอแนะ เปนเร่ืองเลาท่ีดี นาชื่นชม แตตองระมัดระวังในการใชคํา การเขียนคําที่ถูกตอง และการผันวรรณยุกต คะ คะ ควรใชใหถูกตองตามบรบิ ท เชน - นะคะ ไมใ ช นะคะ - ใชไหมคะ ไมใ ช ใชไ หมคะ การใชภาษาเขียนท่ีผิดจะทําใหการอานสะดุด อรรถรสลดนอยลง ผูเขียนจึงควรเห็นคุณคาของภาษาไทย ใช ภาษาไทยใหถ ูกตอ งและเหมาะสมกับภาษาเขยี น ชอ่ื ผจู ดบันทกึ นางสาวนันทติ า จุไรทัศนีย สงั กัดหนวยบรกิ ารพยาบาลผูป ว ยทบี่ า น งานการพยาบาลปองกนั โรคและสงเสรมิ สขุ ภาพ ฝายการพยาบาล โรงพยาบาลรามาธิบดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ผลงานเรอ่ื งที่ 3 Trans telephonic หา งกาย ใกลใจ โดย คุณชยั วัฒน วนั ชวย งานการพยาบาลผปู วยวิกฤต ฝา ยการพยาบาล ศนู ยก ารแพทยส มเดจ็ พระเทพรัตน Trans- telephonic หรือเครอื่ งบนั ทึกคล่ืนไฟฟา หัวใจชนดิ พกพาเปนนวัตกรรมทางการแพทยสมัยใหม ที่ถูกพัฒนาเพื่อชวยในการตรวจวินิจฉัยผูปวยที่สงสัยภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะสําหรับกลุมผูปวยนอก ซ่ึงไมไดมี ใหบริการในโรงพยาบาลทั่วไป เน่ืองจากตองดูแลดวยแพทยและพยาบาลเฉพาะทางโรคหัวใจ ใชในผูปวยที่มีอาการ นํามาดวยใจส่ัน ใจเตนผิดปกติ วูบ หมดสติ แตไมสามารถวินิจฉัยไดดวยการตรวจคล่ืนไฟฟาหัวใจแบบปกติ เครื่อง Trans telephonic เปนเครื่องบันทึกคล่ืนไฟฟาหัวใจขนาดเล็ก สามารถพกพาไดสะดวก ผูปวยสามารถพกพาไปในท่ี ตาง ๆ หากมีอาการผิดปกติจะนําเครื่องมาแนบกับหนาอกแลวกดบันทกึ หลงั จากโทรศัพทมายังศูนยติดตามคลืน่ ไฟฟา หัวใจเพื่อสงเสียงที่บันทึกไดผานทางสัญญาณโทรศัพท ซึ่งจะมีเจาหนาท่ีพยาบาลรับและประเมินคลื่นไฟฟาหัวใจ ให คาํ แนะนํา จัดการตามความเหมาะสมตลอด 24 ชวั่ โมง ในชวงเย็นวันศุกร เวลาประมาณหกโมงเศษๆ พระอาทิตยคอยๆ คลอยตกดิน บรรยากาศยามเย็นทามกลาง ความวุนวายในกรุงเทพมหานคร เปนชวงที่การจราจรบนทองถนนหนาแนนติดขัดเปนประจําเหมือนทุก ๆ วัน เสียง โทรศัพทที่ศูนยฯ ดังขึ้น \"ศูนยติดตามคลื่นไฟฟาหัวใจ โรงพยาบาลรามาธิบดี สวัสดีครับ\" ผมกลาวทักทาย \"สวัสดีคะ ปาช่ือ...นงเยาว คะ\" หญิงสูงอายุ พูดเสยี งแหบแหงพลางกังวลใจ ประกอบกับสัญญาณโทรศัพทไมชัดเจนและขาดหาย เปนระยะ “สวัสดีครับ สวัสดีครับ คุณปาครับ จะสงคลื่นไฟฟาหัวใจหรือเปลาครับ\" \"ใชคะ ปาชื่อนงเยาว จะขอสง คลื่นไฟฟาหัวใจคะ\" สัญญาณมือถือกลับมาปกติ การสื่อสารชัดเจนข้ึน \"คุณปามีอาการอยางไรบางครับ\" \"รูสึกใจสั่น หัวใจเต็นเร็ว แลวก็เวยี นหัว หววิ ๆ บอกไมถกู รสู ึกไมคอ ยดีเทาไรคะ \" เสยี งบอกเลาอาการของคุณปา นงเยาวมีท้ังความ ตื่นเตนและปนไปดวยความกังวล มากพอท่ีเจาหนาที่จะสัมผัสไดจากน้ําเสียงในการสนทนา \"คุณปามีอาการตั้งแต เม่ือไหรค รับ\" พยาบาลถามตอ \"ประมาณหาโมงเยน็ ไดคะ\" \"มีอาการประมาณกน่ี าทีไดครบั \" \"ตอนน้ยี งั ไมห ายเลยคะ ยัง มีอาการอยู รูสึกไมสบายใจเลยลูก\" “ตอนคุณปาเริ่มมีอาการ ทําอะไรอยูครับ” “ปาก็เดินไปมาในบาน ทํางานบาน เล็กนอ ยคะ” \"ง้ัน คุณปากดสงคลื่นไฟฟาหัวใจไดเลยครับ\" …ตึ๊ดๆๆๆๆๆๆ….เสยี งสนทนาสลับไปมาระหวางพยาบาล และผปู วย คลื่นไฟฟาหัวใจท่ีปานงเยาว ไดบันทึกไวขณะมีอาการ ถูกสงผานโทรศัพทมือถือ มาปรากฎบนหนา จอแสดงผลใหเจาหนาที่เห็นเพ่ือประเมินและจัดการตามความเหมาะสม “SVT rate 150-160 ตอนาที” เปน คลืน่ ไฟฟาหัวใจชนิดท่ีเตนเรว็ กวาปกติ ประกอบกับผูปว ยมีอาการอ่นื รวมดวย มีความจําเปนตองไดรบั การแกไขโดยเร็ว ตามแนวทางปฏิบตั ขิ องแตละระดับความรุนแรง \"จากคลืน่ ไฟฟา หัวใจที่คณุ ปาสงมา มอี ัตราการเตนทีเ่ ร็วผิดปกติ และ คุณปามีอาการเวียนศีรษะรวมดวย พยาบาลแนะนําใหคุณปาไปโรงพยาบาลใกลบานตอนนี้เลย คุณปาสะดวกมั้ยครับ\" \"ตองไป โรงพยาบาลเลยเหรอ\" \"ใชครับ\" \"ใกลบ านปามีแตโรงพยาบาลเอกชน มันแพงมาก ปาไมมีตังคหรอกลูก ปา ขอไปรามาเลยไดไหม\" \"บานคุณปาอยูท่ีไหนครับ\" \"อยูนนทบุรีคะ เด๋ียวปาน่ังแท็กซี่ไป\" “คุณปาคิดวาจะมาถึง โรงพยาบาลภายในกี่นาทีครับ” “ ปาไมแนใจเพราะตอนน้ีรถก็ติด แท็กซี่ก็ไมคอยมีดวย” \"คุณปาสะดวกที่จะมา โรงพยาบาลรามาฯใชไหมครับ งนั้ ถาคุณปามีอาการผิดปกติอะไร หรือตองการจะแจงอะไร รบกวนแจงกลับมานะครับ\" Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

“ไดคะ ขอบคุณมากนะคะ” เม่ือผูปวยยืนยันจะมาโรงพยาบาลดวยตัวเอง ส่ิงที่พยาบาลตองคํานึงถึงคือ ทําอยางไรให ผูปวยมาถึงโรงพยาบาลอยา งปลอดภยั บทสนทนาจบลงดวยการชี้แจงทาํ ความเขาใจ และการตกลงกันระหวางเจาหนาที่พยาบาลกับผูปว ย ทั้งเรื่อง อาการของผูปวยที่จะตองเฝาระวังอยางตอเน่ือง และการรอผูปวยเดินทางจากบานมาท่ีโรงพยาบาล เวลาผานไปราวๆ เกอื บ 1 ชั่วโมงเจา หนาท่ไี ดติดตอคณุ ปานงเยาวกลบั ไปสอบถามอาการและการเดินทาง \"ปารูสึกเหนอื่ ย และใจสั่น ปา จะเปนอะไรไหมลูก\" \"คุณปาถงึ ไหนแลวครบั \" \"ปา ยงั อยบู านอยเู ลย ปา รอแท็กซอ่ี ยู แตป า ใจเตน มากเลย\" \"คุณปา ตอ งการใหร ถโรงพยาบาลไปรับไหมครบั ทางเราจะติดตอประสานงานให” \"ไมเ ปนไรๆ ปาไปได แตว า ใจส่ันมากเลย ปาจะไมเปน ไรใชไหม\" \"หากขณะเดินทาง คุณปา มีอาการอื่นๆ รบกวนโทรแจง และกดบันทึกคลื่นไฟฟาหวั ใจสงสัญญาณหรอื ติดตอ กลับมาไดเ ลยนะครับ\" บทสนทนาจบลงอีกคร้ัง อาการโดยรวมจากการสอบถามผูปวยยังเหมือนเดมิ เพม่ิ เติมคือมีความ วิตกกงั วลพอสมควร ทางเจาหนา ท่แี ผนกก็ยังรอคอยคุณปา ตอไป ต๊ดิ ๆๆ..... ปลายสายคุณปา นงเยาวตดิ ตอกลบั มาอีกครงั้ เหมือนเดิม \"ปาใจส่ันมากเลย แลวตอนนีร้ ถตดิ มาก ปาจะเปนอะไรไหม\" \"คุณปา กําลังเดนิ ทางมาหรอื ครบั ตอนนีม้ ีอาการอยา งไรบางครบั \" \"ปา ก็ใจสนั่ เหมอื นเดิมแตรถตดิ มากๆเลย ปากลวั \" \"คุณปาใจเย็นๆนะครับ ตอนน้ีหัวใจคุณปายังเตนเรว็ กวาปกติ แตยังไมม อี าการอนื่ ๆ รว มใชไหมครับ\" \"กเ็ หนอื่ ยๆ ใจสน่ั เหมือนเดมิ \" “ครับ งน้ั คุณปากดบนั ทกึ อกี ครง้ั แลว สงสัญญาณมาใหผมดหู นอ ยนะครับ” ภายหลังการสง คล่ืนไฟฟาหวั ใจกลับมาอีกหลายครั้ง คล่นื ไฟฟา หัวใจยงั คงเดิม แตผูปว ยมีความกังวลเพม่ิ มาก ย่ิงข้ึน อาจจะมีสาเหตุจากการจราจรที่ติดขัดอยางมาก ทําใหสภาวะจิตใจของผูปวยที่ใจจดใจจอตองเดินทางมาเขารับ การตรวจลาชาไปเรื่อยๆ ยิ่งมีความกังวลมากข้ึน ก็ยิ่งรูสึกวาอาการแยลง สิ่งเดียวท่ีจะสามารถลดความกังวลของ ผูปวยลงได คือการพูดคุย ใหขอมูล ซักถามอาการเปนระยะ คอยประคับประคองจิตใจผูปวย ระหวางเดินทางมา โรงพยาบาล มีการติดตอพูดคุยระหวางผูป วยรายเดิมและเจาหนาที่ประจําศูนยฯ ทุกๆ 30 นาที ผูปวยกังวลมาก โทร แจงอาการ และบอกถึงความกังวล ความกลัววาตนเองจะเปนอะไร ผมในฐานะพยาบาลประจําศูนยฯในวันนั้น รับรูไดถึงความวิตกกังวลดังกลาว สิ่งที่ชวยเหลือไดคือคอยประสานชี้แจงและสอบถามอาการอยูเสมอเพ่ือใหผูปวย บรรเทาความกลัวและรีบรับสายโทรศัพทอยางรวดเร็วทุกครั้งเพื่อไมใหผูปวยตองรอนาน จากน้ันปลายสายจากผูปวย คนเดิมก็ไดหายเงียบไปสักพัก หลังจากการสนทนาลาสุดรวมเกือบ 2 ชั่วโมงโทรศัพทดังขึ้นอีกคร้ังพรอมกับไดยินเสียง คุณปานงเยาววา “ปามาถึงโรงพยาบาลแลวนะลูก ขอบใจลูกมากนะ ท่ีคอยชวยปา” สุดทายคุณปานงเยาว ก็มาถึง โรงพยาบาลและไดเ ขารับสูกระบวนการรกั ษาอยางปลอดภยั ในสวนของการทํางานในวันน้ีอาจจะเหมือนกับทุกๆวันท่ีผมมาทํางานตามปกติ เย็นวันศุกรที่เปนจุดเริ่มตน ของวันหยุดสุดสปั ดาหข องใครหลาย ๆ คน คอื อกี วนั หนึง่ ของวิชาชีพพยาบาลท่ีจะตองเตรียมความพรอมในการบริการ ผูปวยอยเู สมอ ไมมวี นั หยุด ไมว าจะอยใู นบทบาทหนาท่ีใด จากเหตุการณว นั นี้ ทําใหผ มไดตระหนักรูวา ผปู วยแตละคน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

มคี วามแตกตางกัน ท้ังทางดานรางกาย จติ ใจ สงั คม ครอบครวั และส่ิงแวดลอมตางๆ การท่ีผูปว ยจะมาโรงพยาบาล ดวยสาเหตุใด ยอมมีปจจัยเบื้องลึกซอนอยูเสมอ ทุกคนท่ีกาวเขามาในโรงพยาบาลนั้น บางครั้งไมไดเจ็บปวยเพียง กาย หากแตก ระทบท้งั จิตใจ ครอบครัวและสงั คม ซง่ึ เปนสง่ิ ท่ีตองคาํ นึงถงึ ในการทํางาน ณ ท่ีแหงนี้ แมวาจะไมไ ดด ูแล ผูปว ยใกลชิดโดยตรง แตก ารดูแลทางไกลเชนน้ี กม็ ีสว นชว ยใหผ ปู วยรูแนวทางในการจดั การหรือการดูแลตัวเองไดอ ยา ง มาก การสงคล่ืนไฟฟาหัวใจของผูปวยมายังศูนยฯ อาจจะจบลงเพียงแคแนะนําใหผูปวยไปโรงพยาบาลก็นาจะเพียงพอ แตสิ่งสําคัญที่จะตองนํามาปรับใชในกระบวนการทํางานเพ่ิมเติม คือการประเมินผูปวยอยางครอบคลุมในทุกๆดาน กอนท่ีจะแนะนําใหผูปวยทําอะไร ตองคํานึงถึงสภาพความพรอมของผูปวยแตละคน ปจจัยเสริมตางๆหรือขอจํากัดใน การมาพบแพทยข องผปู วยแตละคน พยาบาลผูปฏิบตั ิหนาท่ีตองประเมินสิ่งเหลานี้ เพื่อหาแนวทางท่ีจะชวยเหลือผปู วย ตามแนวทางปฏิบัติบนพื้นฐานของมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งเปนส่ิงที่ผมไดเรียนรูที่จะนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน ตอไป ศูนยติดตามคล่ืนไฟฟาหัวใจ Trans-telephonic แมวาจะเปนการชวยดูแลผูปวยที่หางกาย แตมีความ ใกลชิดจิตใจผูปวยเสมอ เปนสิ่งหนึ่งที่สามารถเยียวยาจิตใจผูปวยได แมจะอยูหางจากโรงพยาบาลหรือสถานที่ท่ี ตนเองรักษา เราสามารถสรางความมั่นใจและลดความวิตกกังวลไดไมมากก็นอย ดวยกระบวนการทํางานตาม แนวทางปฏิบัติ ตลอดจนการปฏิบัติของเจาหนา ที่ท่ีไมม องขามถึงสภาวะจิตใจของผูปวยท่ีกําลังปวยทั้งทางรางกายและ อาจจะสงผลกระทบตอ ความรสู ึกภายในจิตใจ คณะกรรมการผูวิพากษ ผชู วยศาสตราจารย แพทยห ญิง จริยา ไวศยารัทธ ภาควิชาพยาธิวทิ ยา คณุ สุธีร พุม กุมาร ผอู าํ นวยการสถาบนั กวีนพิ นธไ ทย คณะกรรมการผูวพิ ากษรว ม ศาสตราจารย นายแพทย ปย ะมติ ร ศรธี รา คณบดีคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ดี • ขอแนะนําจากผูวพิ ากษ เร่ืองนี้เขากับหัวของานมหกรรมคุณภาพในครั้งนี้ ซึ่งเนื้อเรื่องไดมีการใชสวนหน่ึงของนวัตกรรม ทาง การแพทยม าเกี่ยวขอ ง ซึง่ ทาํ ใหเ ห็นอกี บทบาทหนง่ึ ที่อาจจะไมทราบวามใี นรามาธบิ ดี การเขียนแมจ ะเปน จดุ เล็ก ๆ ของ หนาที่ท่ีทํากันประจํา แตส ามารถส่ือใหผูอา นรูสกึ อยากติดตามตลอด การใชวรรณกรรม เชิงวรรณศิลป แมไมไดสราง ความรูสึกกระทบใจ เปนการสนทนาจาก 2 ทาง โดยไมไดเห็นหนากัน แตทําใหเกิดผลลัพธท่ีกระทบใจผูอานได และผูเขียนไดเขียนที่ทําใหเห็นบทบาทการดูแลที่ใจผูเลาเขาถึงใจผูปวย สําหรับการใชวรรณกรรม อาจจะใชภาษาที่ ยดื ยาวไมกระชับ ควรตัดใหสั้นลง การเขยี นอาจไมไดเรา พลงั แตกท็ ําใหผ ูอ านอยากจะรู ซึง่ ก็จบดวยความสขุ • ขอเสนอแนะจากคณบดี ไดเ หน็ ถึงความสําคญั ของการใชเ ทคโนโลยีแบบนใ้ี นการดูแลผปู ว ย ซึง่ อปุ กรณเ หลาน้ี สามารถท่ีจะเห็น Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ความผดิ ปกติของการเตนของหวั ใจ แมจะยังไมอ ันตรายตอชีวติ ขณะน้ี แตหากท้ิงไวก็จะเปนอันตรายมากข้ึนและอาจ เกิดภาวะหัวใจลมเหลวได ซง่ึ อนาคตรามาธบิ ดจี ะมนี วัตกรรมใหมเปนระบบนาฬิกา ท่ีสามารถประเมินผูป วยไดดีย่ิงขึ้น สรุปตคี วามโดยผูบันทึก/ ทีมถอดบทเรยี น บทเรียนท่ไี ดรบั /ปจ จัยแหง ความสาํ เรจ็ /ขอเสนอแนะ การดูแลทางไกลโดยใชเครื่องบันทึกคล่ืนไฟฟาหัวใจ Trans-telephonic ชวยใหผูปวยรูแนวทางใน การจัดการหรือการดูแลตัวเองไดอยางมาก สามารถเยียวยาจิตใจผูปวยได แมจะอยูหางจากโรงพยาบาล สามารถ ปองกันอันตรายที่อาจถึงชีวิตได บทบาทของพยาบาลท่ีตองดูแลและติดตามการประเมินผลคล่ืนไฟฟาหัวใจของผูปวย เปนบทบาทที่สําคัญสําหรับการดูแลในยุคนี้ ซ่ึงการติดตาม การประเมินผล การใหคําแนะนํา จะตองอาศัยความ เชี่ยวชาญในสาขาดังกลาว นอกจากน้ีพยาบาลผูปฏิบัติหนาท่ีตองมีการประเมินผูปวยอยางมีองครวม ทั้งสภาพจิตใจ ความพรอมของผูปวยแตละคน หรือขอจํากัดในการมาพบแพทยของผูปวยแตละคน เพื่อหาแนวทางที่จะชวยเหลือ ผปู ว ยไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โดยใชห ลกั ตามแนวทางปฏิบัตบิ นพน้ื ฐานของมาตรฐานวิชาชีพ บทบาทหนาของพยาบาลในการดําเนินงานการดูแลทางไกลโดยใชเครื่องบันทึกคล่ืนไฟฟาหัวใจ Trans- telephonic จะตองเปนผูท่ีมีความรู มีความเชี่ยวชาญ ในการใชเคร่ืองบันทึกคลื่นไฟฟาหัวใจ Trans-telephonic สามารถอานและแปลผลของการเปล่ียนแปลงของคลื่นหัวใจได จะตองมีทักษะการดูแลผูปวยอยางมีองครวม สามารถ ใหคําแนะนาํ เปนที่ปรึกษาไดตลอดเวลา แมวาอุปกรณจะชวยในการอานผลของความผดิ ปกติของรางกายไดระดับหนึ่ง แตการเขาถึงจิตใจของผูป วยถือเปน ความสําคัญ ท่ีจะชวยใหผูปวยสามารถกา วขามความวิตกกังวล และมาดูแลสุขภาพ ของตนใหดีตอไป การดูแลทางไกลโดยใชเครื่องบันทึกคล่ืนไฟฟาหัวใจ Trans-telephonic การติดตาม และการประเมินผล เปน เรือ่ งท่ีสาํ คัญ หากเปนภาวะทเี่ รง ดวน จะตอ งใหค าํ แนะนาํ ทางเลอื กใหผูปว ย เพ่อื ใหเกดิ ความปลอดภัยท่ดี ที ส่ี ุด ชอื่ ผูจ ดบนั ทึก นางอัญชลี สมโสภณ งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร ฝา ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธบิ ดี คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธบิ ดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

ผลงานเร่ืองที่ 4 ชีวิตใหชีวิต โดย นาย พรภทั ร เจยี มพงศไพศาล สงั กัด หองผา ตดั ศูนยการแพทยสิริกิติ์ และวกิ ฤต ศูนยการแพทยสิริกิต์ิ คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ในเวลาตีสองของคํ่าคืนวันศุกรห น่งึ ฉันกําลังเอนกายลงนอน เพื่อพักผอนหลังจากทํางานหนักมาท้ังสัปดาห แตเพียงแคไดหลับตาลงในหองท่ีมืดและเงียบสนิท เสียงโทรศัพทท่ีวางไวขางกายฉันก็ดังขึ้น ในใจฉันแอบเดาวางาน กําลังจะเขาอีกแลว ละสิ แตก็ภาวนาใหเปนเพอ่ื นของฉนั โทรมาเพ่ือชวนไปเท่ียวกแ็ ลวกนั แตท ันท่ีที่ไดเห็นช่ือผูที่โทรเขา มาหาฉัน การคาดเดาของฉันก็ถูกเสียแลวสิ งานเขาฉันจริง ๆ ดวย “นองตอง วันน้ีอาจจะมี Harvest ที่โรงพยาบาล แพร รถออกเวลาตี 5 นะคะ” เสียงพี่หัวหนาเวรวันนั้นไดบอกกลาวฉันผานโทรศัพท รางกายของฉันท่ีกําลังจะได พักผอน ก็ต่ืนขนึ้ มาทันที ราวกบั สมองไดร บั สารอดรนี าลนี Harvest คําเรียกอยางยอของท่ีทํางานฉัน จริงๆ แลวมีคําเต็มๆ วา “Organs Harvesting” หรือใน ปจจุบันเรียกวา “Organ Retrieval” คือการรับบริจาคอวัยวะจากผูบริจาคที่ถูกวินิจฉัยวาสมองตาย ฉันลุกจาก เตียงมาเปล่ียนชุดคลายจะออกไปทํางานอีกครั้งสวมเส้ือเชิ้ตสีขาว กางเกงสีกรมทา รองเทาผาใบสีดํา แบกกระเปาเป เตรียมของติดตวั ไปเทา ทจ่ี ําเปน เพ่ือเตรียมออกเดินทางไปยังโรงพยาบาลแพร ฉนั เดนิ ทางออกจากทีพ่ ักดวยรถแท็กซ่ีใน ยามค่ําคืนท่ีเงียบสงัด ผานสองขางทางท่ีดูมืดและคอนขางนากลัวราวกับวาที่ นี่ไมใชกรุงเทพมหานคร โชคดีท่ี โรงพยาบาล กับที่พักของฉันอยูไมไกลกันมากนัก ไมนานรถก็พาฉันมาถึงยังที่ทํางาน หองผาตัดศูนยการแพทยสิริกิต์ิ ทๆ่ี พวกเรามักพูดเปรียบเปรยแบบติดตลกวาเปนหองผาตัดท่ีมีจํานวนการผาตัดมากกวาเงินในบัญชี แสงไฟหองผาตัด ถูกเปดข้ึนเพื่อตอนรับการมาถึงของฉัน ฉันเขาไปในหองผาตัดเพื่อทําการเตรียมเคร่ืองมือ อุปกรณ และเอกสารท่ีใชใน การผาตัดรับบริจาคอวัยวะครั้งนี้ ทุก ๆ คร้ังท่ีฉันเขามาเตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณประสบการณครั้งกอน ๆ บอกกับ ฉันเสมอวา “โรงพยาบาลอ่ืน ๆ ไมไดมีพรอมทุกอยางเหมือนโรงพยาบาลเรา รบกวนเขาใหนอยท่ีสุด เตรียมเคร่ืองมือ และอุปกรณเราไปใหพรอมเสมอ เพือ่ ใหการผา ตัดนัน้ สาํ เร็จลุลว งไปดว ยดี และไมก ระทบกับการทํางานของเขา” เม่ือฉันและทีมพรอมออกเดินทางตามเวลาที่นัดหมาย เราตองรีบออกเดินทางแตเชามืด เพ่ือที่จะไปขึ้น เคร่ืองบิน เที่ยวบินเชาสุดของสายการบินที่ใชนกเปนพรีเซ็นเตอร ที่สนามบินดอนเมือง รถตูของคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี คือยานพาหนะที่จะพาเราไปยังสถานท่ีดังกลาว เม่ือทุกคนข้ึนรถ เวลาผานไปไมทันจะครบ 10 นาที รถก็เงียบสงัด ทุกคนกําลังหลับ สวนฉันนอนไมหลับแลว ดวยความต่ืนเตนหรอื อะไรก็ไมอาจทราบได ฉันไดแตนั่ง มองดวงไฟตามทองถนน และกดโทรศัพทอานบันทึกเก่ียวกับการสงผาตัด เพ่ือทบทวนการทําหนาท่ีในครั้งน้ีตลอดทาง รถตูพาเรามาถึงที่หมาย ทุกคนในทีมตางชวยกันขนของท่ีบรรทุกมาลงจากรถ ฉันและพ่ีชวยกันถือกระติกนํ้าแข็ง และ กระเปาลาก อาจารยแพทยชวยลากกระติกนํ้าแข็งใบใหญอีกใบ ทุกคนตางชวยกันเต็มที่เหมือนเชนทุก ๆ คร้ัง การ ขนสงของเหลวท่ีเราเตรียมมาโดยเคร่ืองบินนั้นชางเปน เร่อื งนาวุนวายใจยง่ิ นัก เพราะในกระตกิ แตละใบทเี่ ราเตรยี มมามี นํ้าแข็งและนํ้ายาที่จําเปนในการผาตัดไมตํ่ากวาหน่ึงหมื่นมิลลิลิตร ซึ่งเกินปริมาณท่ีสายการบินกําหนด ทําใหทีมตอง ติดตอประสานงานกับสภากาชาด เพ่ือใหชว ยดําเนินการเร่ืองดงั กลาว เปนชวงเวลาทว่ี ุนวายใจยิ่งนัก เพราะเราตางตอง ทาํ งานแขงกับเวลา เพ่ือไปใหทนั ผูบรจิ าคทนี่ าฬิกาชีวิตของเขากาํ ลังจะหยดุ ลง จนในที่สุดสนามบินก็ยินยอมใหเราผาน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

เขาประตูไปได แตก็เลนเอาเกือบจะไมทันเวลาขึ้นเคร่ืองเสียแลว ทุกคนตางตองเดินดวยความเรงรีบ เพื่อไปใหทันเวลา กอนประตูทางออกสนามบนิ จะปด และสุดทา ยทีมก็ไดเดินทางโดยเครอื่ งบินถึงทา อากาศยานจงั หวดั แพรโ ดยสวัสดิภาพ เมือ่ ฉนั และทีมมาถึงจังหวัดแพร พ่ีพยาบาลและทีมเจาหนาท่ขี องโรงพยาบาลแพรก็ไดใหการตอนรับเราอยา ง แข็งขัน เราโดยสารรถตูไปยังตึกฉุกเฉิน เพ่ือนาํ เครื่องมือและอุปกรณที่เตรยี มมาไปยังหองผาตัด ฉันและทีมเดินทางไป ถึงหองผาตัดหองที่ 8 ฉันรูสึกไดวาเปนหองผาตัดที่ใหญท่ีสุด ใหมที่สุดที่ฉันเดินผานมาในโรงพยาบาล เบื้องหนาฉันคือ รา งของผูปว ยท่ีถูกวินจิ ฉัยวาสมองตาย ซ่ึงกําลังหายใจตามจงั หวะของเครื่องชวยหายใจ หัวใจที่ยังเตนอยูไดดวยการใช ยาชวยกระตนุ หัวใจ และควบคุมความดันโลหิตใหอยใู นคามาตรฐาน มีสายอปุ กรณท างการแพทยร ะโยงระยาง เพ่ือชว ย พยุงใหอวัยวะตาง ๆ ยังคงทํางานไดดีเหมือนเชนผูป วยหนกั ในหอผปู วยวิกฤตทวั่ ไป เพยี งแคเ ขาไมส ามารถกลบั มามชี ีวิต เหมือนเดิมไดอีกแลวเวนแตจะมีปาฏิหาริย ภารกิจสรางแตมบุญครั้งยิ่งใหญของผูบริจาคอวัยวะและทีมไดเร่ิมข้ึน ทันที อาจารยแพทยไดตรวจสอบเอกสารการวินิจฉัยสมองตาย การบริจาคอวัยวะ และการรับบริจาคอวัยวะของ สภากาชาดไทย กอนเริ่มผาตัด ฉันในฐานะพยาบาลสงผาตัด ก็ไดจัดเตรียมอุปกรณ และเคร่ืองมือผาตัดใหพรอมใชสําหรับ การผาตัด คมมีดถูกกรดี ลงไปบนผิวหนังของผูบ ริจาคเพื่อเปดทอ งเขา ไปยงั อวัยวะเปาหมายคือ ตับ ไต และหวั ใจ แตละ อวัยวะถูกประเมินอยางละเอียด เพ่ือใหไดอวัยวะท่ีดีที่สุด และสามารถทําหนาที่ของมันตอไปได สายนํ้ายาท่ีเตรียม เอาไวสําหรับรักษาอวัยวะก็ถูกสอดใสเขาไปทั้งทางเสนเลือดแดงและเสนเลือดดํา เพ่ือไลเอาเลือดในรางกายและใน อวัยวะเหลาน้ันออกใหไดมากที่สุด นํ้าแข็งกอนหยาบผสมละเอียดถูกเทใสลงไปในชองทอง เพ่ือชวยรักษาอวัยวะ เหลา นน้ั ใหคงสภาพทีด่ ีทส่ี ดุ สีของผวิ หนังผบู ริจาคเรมิ่ ซดี ลงเรื่อย ๆ ใจหน่ึงของฉนั รูส ึกวาฉนั กาํ ลงั รว มสรางบุญที่ย่งิ ใหญ แตอีกใจรูสึกเหมือนเรากําลังมาทําใหเขาตองเสียชีวิตหรือเปลา การรับรูของฉันก็ไมตางจากคนท่ัว ๆ ไป ที่เขาใจ เกี่ยวกับการตายวาหมายถึงการหยุดทําหนาที่ของหัวใจและปอด การตายคือการไมหายใจ การตายคือหัวใจหยุด เตน แมตามทฤษฎจี ริง ๆ แลว ผปู วยรายนี้เสยี ชวี ิตไปแลวก็ตาม แตความรูสึกน้นั ก็ตองหกั ลบออกไป เมื่อฉันไดคิดถึง เนื้อหาที่เคยไดศึกษาเลาเรียนมาเก่ียวกับเกณฑการวินิจฉัยภาวะสมองตาย ซึ่งตองอาศัยแพทยไมนอยกวา 3 คน มีท้ัง แพทยเจาของไข แพทยเกี่ยวกับระบบประสาท และผูอํานวยการ มันชวยทําใหฉันไดยืนยันความคิดทางวิทยาศาสตร แบบสมัยใหมอีกคร้ังวาหากเมื่อสมองเราตาย เราก็ตาย แตอวัยวะตาง ๆ อาจจะยังคงทําหนาที่ตอไปได ภายใตการ ชวยเหลือดวยยาและอุปกรณทางการแพทย หากปราศจากส่ิงเหลาน้ี ในไมชาอวัยวะตาง ๆ ก็จะหยุดทําหนาท่ีของมัน เมอ่ื ทําการไลเลอื ดออกจากอวัยวะและรา งกายหมดแลว จากน้ันอาจารยแพทยก็จะคอย ๆ เอานํ้าแข็งออกและตัดอวัยวะเหลาน้ันออกจากรางของผูบริจาค ฉันรับ อวัยวะเหลาน้ันอยางระมัดระวังจนครบทุกอวัยวะ กอนนํามาใหอาจารยทําการทดสอบการกําซาบของอวัยวะนั้น ๆ และจัดเก็บอวยั วะเพื่อนาํ กลบั โรงพยาบาลและสภากาชาดไทย หลังจากทีมผาตัดเสร็จ ก็ไดกลาวคําขอขมา และอุทิศสวนบุญกุศลใหกับดวงวิญญาณของผูบริจาค เราได เตรียมตัวเดินทางกลับ เม่ือฉันออกมาถึงยังหนาประตูทางออกหองผาตัด สายตาของฉันก็ไมละความสนใจจาก ส่ิงแวดลอมรอบขาง รางที่ไรวิญญาณของผูบริจาคก็ถูกเข็นออกมาดวยรถนอนมีผาสีขาวของโรงพยาบาลคลุมออกมา พอดี ฉนั เดนิ ออกไปไมไ กลมากนกั ภาพทก่ี ําลังเห็นคอื ญาติของผูบ ริจาคไดมงุ อยรู อบ ๆ มเี สยี งสะอ้ืน เศราโศกเสียใจ ไดย นิ อยไู มห าง เสียงเลก็ ๆจากหญงิ รูปรางผอมสงู สวมชุดลกู ไมส ดี ํา “สมใจพแี่ ลว พี่ไดช วยคนอื่นอีกหลายคนเลย” Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

วลีสนั้ ๆ และภาพท่ฉี ันเห็น ทําใหชวนคดิ ถึงภาพท่ีฉันไดเห็นบอ ย ๆ ในหองผาตดั ศนู ยการแพทยสริ ิกิต์ิ และในสอื่ ตาง ๆ ของผทู ่รี ับการปลูกถายไต ผูทีไ่ ดรับการเปลี่ยนตับ ผูทไี่ ดร บั การเปลีย่ นหวั ใจ ภาพเหลา นัน้ กลับมาตอกยํา้ ฉนั วา นีค่ อื บุญ ท่ียิ่งใหญของเขา ในขณะที่ชีวิตของเขาไดดับสิ้น แตอีกหลายชีวิตกําลังจะไดเร่ิมใหม ในวันนี้เมื่อคิดดูแลวเขาไดให ชีวิตกวา 3 ชีวิตเปนอยางนอย ไตของเขาไดชวยทําหนาที่ใหกับผูปวยโรคไตอีก 2 คน ตับของเขาไดชวยทําหนาที่แทน ตับของผูปวยโรคตับอีก 1 คน กระจกตาของเขาไดชวยใหผปู วยโรคตาไดมองเห็นชัดอีกครั้งถึงสองคน แมวาปาฏิหาริย สําหรับผูบรจิ าครายนี้จะไมเกดิ ข้ึนดงั ในละคร แตในชวี ติ จรงิ เขาคอื ปาฏิหาริยข องใครอกี หลายคน การ Harvest ครั้งนี้ของฉันจึงเปนบทเรียนที่ทําใหฉันไดจดจํา และมีเรื่องราวท่ีประทับใจ แมจะ เหมอื นกับทเ่ี คยไดดู เคยไดฟงมาเกยี่ วกับการบรจิ าคอวัยวะไมว าจะจากวิทยากร หรือจากส่ือตางๆ แตมนั เปน ความ เหมือนทีเ่ ปนประสบการณของเราเอง ทกุ ครั้งทีส่ ายเขาเมือ่ มี Harvest จงึ ไมค อยแปลกใจวา ทาํ ไมทีมรับบริจาคอวัยวะ ของโรงพยาบาลถึงไมค อยปฏิเสธกัน แมวาการเดนิ ทางนน้ั จะยากลาํ บากมากก็ตาม เพราะอีกหลายชีวิตทร่ี อการมีชีวิต ใหมอีกครงั้ คณะกรรมการผวู ิพากษ รองศาสตราจารย ดร. พรรณวดี พุธวัฒนะ โรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี ผูช วยศาสตราจารย แพทยหญงิ จรยิ า ไวศยารัทธ ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา คณะกรรมการผวู ิพากษรวม ศาสตราจารย นายแพทย ปย ะมิตร ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี • ขอ แนะนําจากผูวิพากษ เปนเรอ่ื งเลา ทที่ าํ ใหเห็นมุมมองอกี ทางหนึ่งของการทํางานในโรงพยาบาลรามาธบิ ดี รูปแบบการเขียน ทําใหเห็นกระบวนการทํางานที่มีรายละเอียดอยางตอเนื่อง จนเห็นเปนมาตรฐานของการทํางานที่มี คุณภาพ สามารถเรียบเรียง และสะทอนใหเห็นรูสึกของผูเขียน เชนความขัดแยงทางจิตใจในบางดานในขณะที่ตอง ปฏิบัติงาน สามารถนําเสนอไดอยางประทับใจ การใชเทคนิคภาพเขียนการตูนขณะเลาเรื่อง สามารถทําใหผูดูเชื่อมโยง เรื่องราวกับเหตุการณจริง ไดอยางอยางมอี ารมณรว ม มีการใชวรรณศิลปในการเลาไดดีมาก แมวาการนําศัพททางการ แพทยท่ีเปนภาษาอังกฤษมาใช ซึ่งถือวาผิดกติกา แตผูเลาสามารถใชคําศัพทเหลานี้มาใชเปนความสําคัญของเรื่อง ได อยางนาสนใจนอกจากน้ี ผูเลายงั สอดแทรก เน้ือหาท่ีสะทอ นถึงดานคุณคาทั้งคุณธรรม วัฒนธรรม และ การรวมงานกับ ผูอนื่ ที่ไมท าํ ใหเขามีความลาํ บาก ซ่ึงทําใหเปน เรือ่ งเลา ท่เี ราอารมณข องผูฟงไดอยา งนา ประทบั ใจ • ขอ เสนอแนะจากคณบดี การทํางานดานการรับบริจาคอวัยวะ ถือเปนความสําคัญที่สามารถนํามาชวยชีวิตคนไดอีกมากมาย และ ปจจุบนั โรงพยาบาลรามาธิบดไี ดม กี ารปลกู ถายอวยั วะจํานวนมาก ทัง้ ตับ ไต หวั ใจ และไขกระดูก ซ่งึ ถอื ไดว า มกี ารปลูก ถา ยไดม ากที่สดุ ในประเทศไทย Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

การสรปุ ตคี วามโดยทผี ูบ ันทกึ /ทีมถอดบทเรียน บทเรียนที่ไดรบั /ปจจัยแหงความสาํ เร็จ/ขอ เสนอแนะ บทบาทของพยาบาล ในการไปรับบริจาคอวัยวะจากบุคคลท่ีมีภาวะสมองตาย ถือเปนบทบาทที่สําคัญ ซ่ึง ตองอาศัยปจจัยในการดําเนินงานในหลายๆดาน เพื่อใหเกิดประสิทธิผลท่ีทําใหการดําเนินงานราบร่ืนและประสบ ความสําเร็จ สามารถนําอวัยวะดังกลาวกลับมาใชเปนประโยชนตอผูปวยรายอื่นๆ โดยอาศัยปจจัยท้ังดานบุคลากร ทมี งาน การเตรยี มความพรอมในดา นอปุ กรณแ ละเครื่องมือทีจ่ าํ เปน การดําเนินงานรับบริจาคอวัยวะจากบุคคลท่ีมีภาวะสมองตาย เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ จะตองอาศัยปจจัย ดงั น้ี • ดานบคุ ลากรทางการพยาบาล 1.จะตองเปนผูที่มีความรู มีทักษะดานการวินิจฉัยและการเก็บอวัยวะที่รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ มีประสบการณใน การทํางานเปนทมี และเปน ผูรว มทมี งานทดี่ ี 2. เปนผูท่ีมีคุณธรรมประจําใจ เขาใจถึงความเช่ือความศรัทธา และวัฒนธรรมของผูที่บริจาคและญาติของผูบริจาค สามารถมีปฏิสัมพันธที่ดงี ามกับญาติผูบริจาค ชา งสังเกต และรวมแสดงความรูสึกกับภาวะการสูญเสียไดอยางงดงาม มี การดแู ลไดอยางมอี งคร วม 3.เปน ผทู ่ีพรอมจะเสียสละความสุขสวนตน แมว าเวลาของการทํางานจะแตกตา งกวา ทีเ่ คยปฏบิ ตั ิ • ดานเคร่อื งมือ และอปุ กรณ 1. ผูทํางานดานน้ีจะตองวางแผนสถานการณไดดี มีการเตรียมพรอมดานอุปกรณและเคร่ืองมือที่จําเปน เพื่อใชเก็บ อวยั วะทบี่ รจิ าคไดอยา งมีประสิทธิภาพ ในการไปรับบริจาคอวัยวะจากบุคคลท่ีมีภาวะสมองตาย ถือเปนบทบาทที่สําคัญ ซึ่งตองอาศัยปจจัยในการ ดาํ เนินงานในหลายๆดาน เพ่ือใหเกิดประสิทธิผลท่ีทําใหการดําเนนิ งานราบรน่ื และประสบความสําเร็จ จะตองวางแผน แนวทางในดา นตางๆใหรัดกุม มีการประสานงานและขอความรวมมือจากทกุ ภาคสวน และลดภาระการขนยา ยอุปกรณ บางสว นที่เกินความจาํ เปน ชอื่ ผจู ดบันทกึ นางอัญชลี สมโสภณ งานการพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร ฝายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธบิ ดี ผูจดบนั ทกึ หนว ยบรกิ ารพยาบาลผปู วยที่บา น งานการพยาบาลปอ งกันโรคและสง เสริมสขุ ภาพ ฝายการ นางสาวนันทติ า จุไรทัศนีย พยาบาล โรงพยาบาลรามาธบิ ดี งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร นางอัญชลี สมโสภณ ฝา ยการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

CQI

ชอ่ื เร่อื ง เพม่ิ ประสิทธภิ าพการชว ยฟนคืนชีวิตผปู ว ยใน ฝายการพยาบาลศูนยการแพทยสริ กิ ิติ์ วันท่ี 23 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 เวลา 14.00 – 15.30 น. หองประชุม ชนั้ 8-9 อาคารเรียนและปฏิบตั กิ ารรวมดา นการแพทยและโรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี หัวขอ นําเสนอผลงาน รปู แบบ การบรรยายประกอบ power point ผนู ําเสนอ คณุ รณิดา ตุละวภิ าค (พยาบาลวชิ าชพี ) ฝายการพยาบาล ศูนยก ารแพทยสริ ิกิติ์ ******************************************************************************************* เนือ้ หา การนําเสนอผลงานโครงการ : เพิ่มประสทิ ธิภาพการชว ยฟน คนื ชวี ติ ผปู วยใน ฝา ยการพยาบาลศูนยก ารแพทยส ิรกิ ิติ์ โดย คุณรณิดา ตุละวภิ าค (พยาบาลวิชาชพี ) ฝายการพยาบาล ศนู ยก ารแพทยส ิรกิ ิติ์ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามบิ ดี ยอนหลังเม่ือ 14 ปท่ีแลว ตั้งแตป พ.ศ. 2547 เปนตนมา ทางหอผูปวยในศูนยการแพทยสิริกิต์ิมีอุบัติการณทํา Cardiopulmonary resuscitation; CPR ประมาณ 8 ครั้ง มักเกิดชวงนอกเวลาราชการ ซึ่งทุกคร้ังจะประสบปญหา อุปกรณไมพรอม หอผูปวยมีหลากหลายลักษณะสถานที่ไมสะดวก และดานบุคลากรเองพบวายังมีขอจํากัด ทั้งขาดทักษะ และจํานวนบุคลากรพยาบาลไมเพียงพอ โดยเวรปกติ จะจัด 3 : 2 (RN : PN) แตชวงนอกเวลาจะจัด 2 : 2 (RN : PN) ซ่ึง หากเกิดเหตกุ ารณข นึ้ ยอ มไมสามารถจัดการได แมจะมหี นวย CPR กลางคอยชวยเหลือแตกม็ ีขอ จํากัดเนือ่ งจากการเดนิ ทาง ท่ลี าชา ทําใหเ กิดการทบทวนแผนการและวางแนวทางการปอ งกันแกไขปญ หาขึ้น โดยปรบั เปลย่ี น Policy และ Procedure ในการ CPR ไดแก สราง Flow Chart และ Check list ใหม, มีการอบรมใหความรูแกบุคลากรทุก 2 ป, ฝกซอมและ ประเมิน Skill นําผลท่ีไดมาพัฒนาปรับปรุงในแตละระยะเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแลวนํามาใชยึดถือเปนตนแบบใน การปฏิบัตงิ าน Ramathibodi Innovation & Creativity 2018

วัตถุประสงค 1. เพือ่ สรา งมาตรฐานในการ CPR ในศนู ยก ารแพทยส ริ ิกิติ์ 2. ใหบ คุ ลากรมีทกั ษะและเกิดความมัน่ ใจเม่ือทําการ CPR 3. เพ่ือสรางทมี ท่ีมคี ุณภาพและกําหนดบทบาทของบุคลากร 4. เพอ่ื ใหการชวยชวี ติ เปนไปอยางรวดเร็วและปลอดภัย การดาํ เนินงาน ประกอบดว ย 3 ระยะ ระยะ การดาํ เนินการ ระยะที่ 1 วเิ คราะหโ ครงสรา งและทาํ เลที่ต้ัง จดั หาอุปกรณและกําหนดแนวปฏิบัติ กําหนดมาตรฐานการทาํ งาน Work instruction ระยะที่ 2 ทบทวนปญหาจากการปฏิบตั ิแลวกําหนด Flow CPR ในฝา ยพัฒนามาตรฐาน ตรวจสอบรถฉุกเฉนิ วิธกี ารทํางาน สรางระบบควบคุมและติดตาม ฝกอบรมการใชเครื่องมือแกบ ุคลากร เขารบั การอบรม Basic Life Support; BLS ทกุ 2 ป ประเมนิ ประสทิ ธิภาพการ CPR ทกุ ครัง้ ทเี่ กิดเหตกุ ารณ ระยะที่ 3 ทบทวนปญหา แลวเพมิ่ ศกั ยภาพบคุ ลากรดว ยการอบรม BLS instructor กําหนดกลุมเปาหมายในการเพม่ิ สมรรถนะ CPR ฝก ซอม CPR สถานการณจาํ ลอง และประเมนิ Skill performance และเสนอแนะ ผลการดาํ เนินงาน 1. เกดิ การกาํ หนดและพฒั นาแนวปฏบิ ัติ CPR และทบทวนอยางตอเน่ืองทุก 2 ป (จากเดิมท่ีไมเคยม)ี 2. เกดิ การกําหนดมาตรฐานการจดั รถฉุกเฉินและตรวจสอบความพรอม (100%) 3. บุคลการเกิดการทํางานเปนทีม 3.1 CPR ไดอ ยา งถกู ตองรวดเร็ว (พรอ มภายใน 5 นาท)ี 3.2 บคุ ลากรเกดิ Skill performance ประกอบดวย Code activator (>80%), Pump man (>80%), Ventilator man (>80%), Drug man (>80%), Defibrillator man (>80%) ประโยชน 1. มกี ารสรา งและออกแบบระบบการ CPR กอนที่ทมี สว นกลางจะเขามาชวยเหลือ 2. มีมาตรฐานและแนวทางปฏิบัติ รวมถงึ มีการจดั ระเบยี บรถฉกุ เฉนิ 3. มีระบบความคุมและตรวจสอบอยา งสมา่ํ เสมอ Ramathibodi Innovation & Creativity 2018


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook