Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนวิชาพระพุทธศาสนา 1 หน่วยที่ 5-7

สื่อการสอนวิชาพระพุทธศาสนา 1 หน่วยที่ 5-7

Description: สื่อการสอนวิชาพระพุทธศาสนา 1 หน่วยที่ 5-7

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 5 หน้าทีช่ าวพุทธ และมารยาทชาวพทุ ธ

วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจหน้าที่ชาวพทุ ธในฐานะเป็นศาสนาประจาชาติ 2. เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจมารยาทของชาวพทุ ธ และปฏิบัติตนได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

หน้าท่ี ชาวพุทธ

1.1 การปฏิบัติตนเปน็ ชาวพทุ ธทีด่ ีต่อพระภิกษุ

1) การเข้าใจกิจของสงฆ์ 1.1) การศกึ ษาอบรม 1. ด้านศีล คือ การควบคมุ กาย วาจา ให้เปน็ ระเบียบเรียบร้อย ได้แก่ ▪ ศีลในปาฎิโมกข์ คอื ศีลทีส่ าคัญ 227 ข้อ (สาหรบั ภิกษุสงฆ์) และ 311 ข้อ (สาหรบั ภิกษุณี สงฆ์) ▪ ศีลนอกปาฎิโมกข์ คอื ศีลเลก็ ๆ น้อย ๆ นอกเหนือจาก 227 ข้อ และ 311 ข้อ 2. ด้านสมาธิ คือ การฝกึ จิตใจด้วยการฝกึ สมาธวิ ิปสั สนา ▪ ฝึกสมถภาวนา คอื การหาวิธีหรืออปุ กรณ์เพื่อให้จติ ยึดเหนีย่ วเปน็ สมาธิ ▪ ฝึกวิปสั สนาภาวนา คือ การฝึกตามวธิ ีการในขอ้ 1 3. ด้านปัญญา คือ พระสงฆต์ ้องศกึ ษาอบรมตนใหเ้ ป็นผมู้ ปี ญั ญา ▪ ปัญญาระดับสตุ ะ คือ ความรู้ระดบั โลกยี ะ เช่น การศึกษาเล่าเรียนด้วยการฟงั ▪ ปญั ญาระดบั ญาณ คอื ความหย่งั รู้สิ่งท้ังหลายตามความจริง

1) การเข้าใจกิจของสงฆ์ 1.2) การปฏิบตั แิ ละเปน็ นกั บวชที่ดี ▪ สร้างศรัทธาในพระพุทธศาสนาและทาตนเป็นตัวอย่างที่ดี ▪ ระดับพ้ืนฐาน เน้นไปที่การประสบผลสาเร็จ ▪ ระดับกลาง เน้นไปทีค่ วามมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ▪ ระดับสงู เน้นไปที่การลดละกิเลสไดเ้ ดด็ ขาด ▪ สร้างความเข้าใจตอ่ พระพุทธศาสนา ▪ สอนให้ละความช่วั ▪ สนับสนุนใหท้ าความดี ▪ สร้างบุคคลากรทีม่ คี ณุ ภาพสืบทอดพระพทุ ธศาสนา

2) คุณสมบัติของทายกและปฏิคาหก ทายก หมายถึง ผใู้ ห้ทาน ปฏิคาหก หมายถึง ผรู้ บั ทาน การให้ในทาง ▪ ให้วตั ถสุ ิ่งของ พระพุทธศาสนา ▪ ใหค้ วามรู้ แบ่งเปน็ 3 ประเภท ▪ ให้อภัย การคานึงถึง ▪ ให้ทานแก่บุคคลที่ควรให้ คณุ สมบตั ิของผู้ให้ ▪ ใหใ้ นสิง่ ที่ควรให้ ▪ ให้ดว้ ยเจตนาทีบ่ ริสุทธ์ิ และผรู้ ับ

1.2 การปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกทีด่ ีของครอบครวั และสงั คม

1) การรักษาศีล 8 1. เว้นจากการฆ่าสตั ว์ 2. เว้นจากการลักขโมย 3. เว้นประพฤติผิดทางกาม 4. เว้นการพดู เทจ็ 5. เว้นจากน้าเมา 6. เว้นบริโภคอาหารแต่เที่ยงวนั 7. เว้นการละเลน่ สงั สรรค์ 8. เว้นจากที่นอนอันสูงใหญ่ ลิงค์ขา่ ว https://www.thansettakij.com/politics/450647

2. การปฏิบัตติ นเปน็ สมาชกิ ที่ดขี องครอบครวั ตามทิศเบื้องบนในทิศ 6 1. หา้ มปรามจากคนชัว่ 2. ให้ตั้งอยู่ในความดี 3. อนเุ คราะห์ดว้ ยน้าใจอนั งาม 4. ให้ไดฟ้ ังในสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟงั 5. ทาในสิง่ ที่เคยฟังแล้วใหแ้ จ่มแจ้ง 6. บอกทางสวรรค์ คือ ความสขุ ความเจริญให้

3. การปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครัวตามหลกั ทิศเบื้องหลงั ในทิศ 6 สามีปฏิบตั ิต่อภรรยา ภรรยาปฏิบตั ติ ่อสามี ▪ ยกย่องใหเ้ กียรติสมฐานะ ▪ จดั งานบ้านให้เรียบร้อย ▪ ไมด่ หู มิน่ ▪ สงเคราะห์ญาติมติ รทั้งสอง ▪ ไมน่ อกใจ ▪ มอบความเป็นใหญ่ในบ้านให้ ฝ่ายดว้ ยดี ▪ ยกย่องใหเ้ กียรติสมฐานะ ▪ ไมน่ อกใจ ▪ รกั ษาทรพั ย์สมบัติทีห่ ามาได้ ▪ ขยันท้ังปวง

4. การเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชิกขององค์กรชาวพุทธ การเข้าร่วมกิจกรรมและเปน็ สมาชิกขององค์กรชาวพุทธ เชน่ วัด สมาคม ค่ายพทุ ธธรรม มลู นธิ ฯิ และชมรม

มารยาท ชาวพุทธ

2.1 การปฏิบัติตนต่อพระภิกษทุ างกาย วาจา และใจ ที่ประกอบด้วยเมตตา

1) ทางกาย ▪ มีสมั มาคารวะ แสดงความเคารพทีเ่ หมาะสม ตามโอกาส ▪ ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรมตามทีพ่ ระสงฆ์ชแี้ นะ ▪ รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี อันมีรากฐาน มาจากพระพทุ ธศาสนา

2) ทางวาจา ▪ พูดไพเราะ ไม่เสียสี แดกดนั ทานองดหู มิ่น ▪ ใช้คาพูดถูกต้องเหมาะสมแก่ สถานภาพของตนและ พระสงฆ์ ▪ ไม่พูดล้อเล่นกบั พระสงฆ์

3) ทางใจ ▪ คิดถึงท่านดว้ ยเมตตาจิต ▪ คิดหาโอกาสที่จะสนับสนุน บารงุ ท่านดว้ ยปัจจัย 4

2.2 การปฏิสนั ถารต่อพระภิกษใุ นโอกาสต่าง ๆ

1) การลุกขึน้ ต้อนรับ ▪ ถา้ นง่ั เกา้ อ้ีพงึ ลกุ ข้นึ ยืนรบั ▪ ถ้าน่งั พืน้ ไม่ต้องยืนรบั

2) การให้ที่นง่ั พระสงฆ์ ▪ ใหพ้ ระสงฆ์นั่งสถานที่เหมาะสม ▪ ให้นง่ั เก้าอดี้ า้ นซ้ายมือท่านเสมอ ▪ ต้องมบี รุ ุษเพศนัง่ ค่ันในระหว่างกลาง ระหว่างพระสงฆ์และสตรีเพศ ▪ จัดอาสนะเล็กใหพ้ ระสงฆ์น่งั ส่วนตัวท่าน

3) การรับรอง ▪ เม่อื ท่านมาถึงบ้านควรต้อนรับดว้ ย ไมตรีอันดี ▪ ถวายของรบั รอง เช่น น้าดื่ม น้าชา เปน็ ต้น ▪ ควรน่งั สนทนากบั ท่านดว้ ยความ พอใจ

4) การตามส่งพระสงฆ์ ▪ ถ้านงั่ เก้าอพี้ ึงลุกข้นึ ยืน ▪ ถา้ น่ังกับพืน้ ไมต่ ้องยนื ▪ เจา้ ภาพในงานควรเดินสง่ ท่าน จนพ้นบริเวณงานและยกมือไหว้ สง่ ท่าน

อ้างอิง วิทย์ วิศทเวทย์ และ เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2553). หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน พระพุทธศาสนา ม. 4 : ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์คร้ังที่ 7. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์. อา้ งอิงสื่อ ขอบคณุ ข้อมลู ภาพประกอบทกุ ภาพจากสือ่ อนิ เทอร์เน็ต (ใชเ้ พื่อจัดกาเรยี นการสอน)

หนว่ ยที่ 6 วันสำคัญทำง พระพุทธศำสนำ และศำสนพิธี

วตั ถุประสงค์ 1. เข้าใจวนั สาคัญทางพระพุทธศาสนาและสามารถนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 2. เข้าใจศาสนพิธที างพระพุทธศาสนาและสามารถนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้

1.วันสำคัญทำง พระพทุ ธศำสนำ

1.1 หลกั ธรรมที่เกี่ยวเน่อื งในวนั สำคัญทำงพระพุทธศำสนำ • เวียนเทียน “ วันมำฆบูชำ ” ▪ ตรงกบั วนั เพญ็ เดือน 3 ของทกุ ปี (ถ้าปีใดมีเดือน 8 สองหนก็เลื่อนไปเป็นวันเพ็ญเดือน 4) ▪ ถือเปน็ “วันพระธรรม” ▪ พระพุทธองค์ทรงแสดง โอวำทปำฏโิ มกข์ ประมวลหลกั คาสอน 3 ประการ ▪ การไม่ทาความชว่ั ▪ การทาแต่ความดี ▪ การทาจิตใจให้สะอาดบรสิ ุทธิ์ ชว่ งเชา้ ช่วงค่า • ทาบุญตกั บาตร • รกั ษาศีล • ฟงั ธรรม

“ วนั วิสำขบชู ำ ” • เวียนเทียน ▪ ตรงกับวันเพ็ญเดือน 6 ของทุกปี (ถ้าปีใดมีเดือน 8 สองหนก็เลื่อนไปเป็นวันเพญ็ เดือน 7) ▪ เป็นวนั คล้ายวันประสตู ิ ตรัสรู้ และปรินิพพานของ พระพทุ ธเจ้า ▪ หลกั ธรรมสาคัญคือ อริยสจั 4 เปน็ หัวใจสาคญั ของพระพุทธศาสนา ▪ ทุกข์ (สภาพที่ทนได้ยาก) ▪ สมทุ ยั (เหตแุ ห่งความทุกข์) ▪ นิโรธ (ความดบั ทกุ ข์) ▪ มรรค (ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์) ชว่ งเช้า ชว่ งคา่ • ทาบุญตักบาตร • ฟังธรรมเทศนา

“ วนั อัฏฐมบี ูชำ ” ▪ ตรงกับวนั แรม 8 ค่า เดือน 6 หรือเดือน 7 นับถดั จากวนั วิสาขบชู าไป 7 วนั ▪ เป็นวนั คล้ายวนั ถวายพระเพลิงพระพทุ ธสรีระ ▪ หลกั ธรรมสาคัญ ▪ อัปปมำทะ (ความไมป่ ระมาท) ▪ กำรบูชำ 2 ประกำร ▪ อามิสบูชา (การบชู าด้วยวัตถุสิ่งของ) ▪ ปฏิบตั ิบชู า (การบูชาด้วยการประพฤติตนตาม หลักธรรมคาสอน)

“ วนั อำสำฬหบูชำ ” ▪ เปน็ การบูชาในวันเพญ็ เดือน 8 ▪ มีความสาคญั โดยสรปุ ได้ 3 ประการ ▪ เป็นวันทีพ่ ระพทุ ธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ▪ เปน็ วันทีม่ ีพระสงฆ์เกิดขนึ้ องค์แรกใน พระพทุ ธศาสนา ▪ เปน็ วันทีพ่ ระรตั นตรัยครบบริบรู ณ์ ▪ หลกั ธรรมที่แสดง คือ ธมั มจักกปั ปวตั ตนสูตร ชว่ งเชา้ ชว่ งคา่ • ทาบญุ • เวียนเทียน • ตักบาตร

1.2 หลกั ธรรมที่เกีย่ วเน่อื งในธรรมสวนะและเทศกำลสำคัญ วนั ธรรมสวนะ ▪ วนั ธรรมสวนะ หรือวันพระ ในหนึง่ เดือนมี 4 วัน ▪ วนั ขนึ้ 8 ค่า ▪ วนั ขนึ้ 15 คา่ ▪ วนั แรม 8 ค่า ▪ วันแรม 14 หรือ 15 ค่า ▪ หลกั ธรรมสาคัญ คือ กำเลน ธมั มสำกจั ฉำ (การสนทนาธรรมตามกาล) ▪ การฟงั ธรรมนิยมฟังกันในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะวนั พระ และวันอืน่ ๆ

ขอ้ พงึ ปฏิบัติในกำรสนทนำธรรมเพื่อจะได้ผลดี ▪ มุ่งแสวงหาธรรมจริง ๆ ▪ รักษามารยาทในการสนทนา ▪ ไม่ดูหมิ่นคสู่ นทนา ▪ ไม่ดหู มิ่นตนเอง ▪ ยึดถอื เหตุผลอยา่ ยึดถอื บุคคลคล

วนั เทศกำลสำคัญ วนั เข้ำพรรษำ 1 เริม่ วนั แรม 1 คา่ เดือน 8 ถึงวันขึน้ 15 คา่ เดือน 11 2 พระภิกษจุ ะพักอาศัยอยู่ในวัดใดวัดหนึ่งเป็นเวลา 3 เดือน 3 เพื่อศึกษาพระธรรมวินัย 3 หมวดใหญ่ เรียกว่า สทั ธรรม 3 ปริยตั ิสัทธรรม ปฏิบัติสทั ธรรม ปฏิเวธสัทธรรม

วนั ออกพรรษำและวนั ตักบำตรเทโวโรหณะ 1 ตรงกับวนั ขึน้ 15 ค่า เดือน 11 เปน็ วนั สิน้ สุดระยะการจา พรรษา 3 เดือน 2 เป็นวันที่พระสงฆ์พร้อมใจกันทา ปวารณากรรม เปิดโอกาส ให้มีการแนะนาและตกั เตือนระหว่างทีป่ ระชมุ สงฆ์ 3 พทุ ธศาสนิกชนจะมีการทาบุญตกั บาตรเนือ่ งในโอกาสเปน็ วนั คล้ายวนั ที่พระพทุ ธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ หลังจากเสดจ็ ไปโปรดพระพุทธมารดา 4 หลกั ธรรมสาคัญที่พระสงฆ์พงึ ปฏิบตั ิในวันนีเ้ รียกว่า อริยวงศ์ 4 ได้แก่ จีวรสนั โดษ ปิณฑปาตสนั โดษ เสนาสนสนั โดษ ภานาปหานารามตา

2.ศำสนพิธี

2.1 ศำสนพิธีเนื่องดว้ ยพทุ ธบัญญตั ิ พิธีแสดงตนเปน็ พุทธมำมกะ: การประกาศตนของผู้แสดงว่า เป็นผู้รับนบั ถือ พระพทุ ธเจ้าเปน็ ของตน ▪ ให้ผู้แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะนุ่งขาวห่มขาว ▪ ถวายพานเครือ่ งสักการะแด่พระสงฆ์ ▪ กล่าวคาปฏิญาณตนต่อหน้าพระสงฆ์ ▪ พระสงฆ์ให้โอวาท ▪ พระสงฆ์สวดอนุโมทนา

พธิ ีเวยี นเทียน : ระเบียบปฏิบัติ ▪ เมือ่ ถงึ เวลำ ทางวดั จะตีระฆงั สัญญาณให้พุทธบรษิ ทั มาประชมุ พร้อมกนั ที่ หน้าพระอุโบสถหรือลานพระเจดีย์ โดยภิกษุยนื แถวหน้า ถดั ไปเป็นสามเณร ท้ายสดุ คอื อบุ าสกและอุบาสิกา โดยให้ทุกคนถอื ดอกไม้ธูปเทียน ▪ พระภกิ ษุผูเ้ ป็นประธำนนำจุดธูปเทียนและนำกลำ่ ว “นโม…” พรอ้ ม กนั 3 จบ และคาบูชาพระรัตนตรัยตามแบบทีก่ าหนดไว้ ▪ พระภกิ ษุผเู้ ปน็ ประธำนเดินนำแถวไปทางขวามือของสถานที่เวียนเทียน ในการเดินเวยี นเทียนแต่ละรอบควรราลกึ ถงึ พระคณุ ของพระรตั นตรัยตาม

❖ เดินเวียนรอบท่ี 1 ให้ราลึกพระพุทธคุณ โดยการสวดบท “อิติปิโส ภควา…” ❖ เดินเวยี นรอบท่ี 2 ให้ราลึกพระธรรมคุณ โดยการสวดบท “สวากขฺ าโต ภควตา ธมฺโม…” ❖ เดินเวยี นรอบท่ี 3 ให้ราลึกพระสงั ฆคุณ โดยการสวดบท “สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺ โฆ…” เมอ่ื เดินครบ 3 รอบแล้ว…… นาดอกไม้ธูปเทียนไปปกั บูชา จากน้ันจึงเข้าไปประชมุ พร้อมกนั ในพระอโุ บสถ วิหารหรือ ศาลาการเปรยี ญ แล้วสวดมนต์ทาวตั รพร้อมกัน หลังจากน้ันฟังพระธรรมเทศนา เป็นอันเสรจ็ พิธี

พิธีถวายสังฆทาน : ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ สังฆทาน (ทานทีอุทศิ แก่พระสงฆ์โดยมไิ ด้เจาะจงพระภกิ ษรุ ปู ใดรูปหนงึ ) 1 เตรียมภตั ตาหารและเครื่องไทยธรรมให้เรียบร้อย จะถวายกี่รูปกไ็ ด้ตาม ความศรัทธา 2 นิมนต์พระภิกษกุ ีร่ ูปกไ็ ด้ แต่ที่สาคัญคอื ต้องไมเ่ จาะจงพระภิกษรุ ูปใดรปู หนึ่งอาจจะ เปน็ พระภิกษทุ ี่กาลังออกบิณฑบาตอยู่ก็ได้ 3 การจัดสถานที่ ถ้าเปน็ ในบ้านควรจัดห้องใดห้องหนึ่งให้เรียบร้อย ถ้ามีพระพุทธรูป ควรตั้งที่บูชาด้วยพอสมควร เม่อื พระสงฆ์มาพร้อมกันแล้วให้นาภัตตาหารตั้ง ตรงหน้าพระสงฆ์อาราธนาศีลแล้วกล่าวคาถวายสงั ฆทาน 4 ขณะกล่าวคาถวาย พระสงฆ์จะประนมมือ พอผถู้ วายกล่าวจบ ผรู้ ่วมพธิ ีกจ็ ะรับ “สาธ”ุ พรอ้ มกัน ต่อจากนั้นผู้ถวายจะประเคนภัตตาหารและของบริวาร (ถ้ามี) แด่ พระสงฆ์ 5 พระสงฆส์ วดคาอนุโมทนา ขณะที่พระสงฆส์ วดว่า “ยถา…” ให้ผู้ถวายกรวดน้ากะ ให้พอดีน้าลืน่ ไหลหมด เม่อื พระสงฆ์สวดรบั พร้อมกันว่า“สพพฺ ีติโย…” ก็ให้ผถู้ วาย ประนมมือรบั พรไปจนจบเป็นอนั เสรจ็ พิธี

พธิ ีถวำยผ้ำอำบนำฝน ผ้าอาบนา้ ฝน ผ้าสาหรับผลดั เปลย่ี นอาบนา้ ของพระสงฆ์ กาหนดเวลาการถวายผ้าอาบน้าฝนจะเริ่มตั้งแต่วนั แรม 1 คา่ เดือน 7 จนถึง วันขนึ้ 15 คา่ เดือน 8 แต่ส่วนมากนิยมถวายในวนั ขึ้น 15 ค่า เดือน 8

พิธที อดกฐิน : ขั้นตอนการปฏบิ ัติ • การทอดกฐนิ เป็นประเพณีที่นยิ มทากนั ตั้งแต่วันแรม 1 คา่ เดือน 11 ไปจนถึงกลางเดอื น 12 • การทอดกฐนิ การนาผา้ กฐนิ ไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างน้อย 5 รูป แล้วให้พระสงฆ์รูปหนึง่ ทีไ่ ด้รบั เลือกจากคณะสงฆ์โดยเอกฉนั ท์เป็นผรู้ ับผ้ากฐิน 1 เจ้าภาพผู้มีจติ ศรัทธาหากประสงคท์ ี่จะทอดกฐินท่ีวัดใด ต้องไปกราบเรียนแสดง ความจานงต่อเจ้าอาวาสวัดน้ัน ตกลงวันเวลาที่แน่นอนเพ่อื การทอดกฐิน 2 เจ้าภาพเตรียมเครื่องกฐินใหพ้ รอ้ ม 3 เจ้าภาพนาเครือ่ งกฐินไปถวายพระสงฆ์ที่วดั ตามวนั เวลาที่กาหนด เม่อื พระภิกษุ สงฆป์ ระชมุ พรอ้ มกันแล้ว เริม่ ถวายผา้ กฐินด้วยการกล่าว “นโม…” 3 จบ แล้ว กล่าวคาถวายผา้ กฐิน 4 เม่อื กล่าวคาถวายจบแล้วพระสงฆ์รบั พร้อมกนั ว่า “สาธุ” เจ้าภาพนาผ้ากฐินไป ถวายพระสงฆ์รูปที่จะรับครองกฐิน ต่อจากนั้นจะเป็นพธิ ีสังฆกรรมที่พระสงฆ์ ปฏิบัติตามหลกั พระธรรมวินัยต่อไป

พธิ ีปวำรณำ ▪ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดอื น 11 ▪ การปวารณา การท่พี ระสงฆ์เปิดโอกาสให้มีการวา่ กล่าวตักเตือนกัน เม่อื ได้ฟงั ได้เห็น หรือมีข้อรังเกียจใน ความประพฤติของกันและกัน เม่อื สงสยั ในความประพฤติระหว่างที่อยู่ร่วมกนั ตลอดพรรษา กใ็ ห้มีการว่ากล่าว ตักเตือนกนั ได้ ▪ พุทธศาสนิกชนในวันนอี้ าจมีการทาบุญตกั บาตร สมาทานศีลและฟังพระธรรมเทศนา เพอ่ื อบรมกาย วาจา และใจ

2.2 ศำสนพิธีทน่ี ำพระพทุ ธศำสนำเข้ำไปเกีย่ วเน่อื ง กำรทำบุญเลียงพระในงำนมงคล มีขั้นตอนในการปฏิบตั ิ ดังนี้ กำรเตรียมกำร ▪ อาราธนาพระสงฆม์ าเจริญพระพทุ ธมนต์ นิยมเป็นจานวนคี่ เช่น 5 รปู 7 รปู หรือ 9 รปู ▪ เตรียมที่ตั้งพระพุทธรปู พร้อมเครือ่ งบชู า ▪ ตกแต่งสถานทีบ่ ริเวณพธิ ี ▪ วงด้ายสายสิญจน์โดยรอบอาคารหรือจะวงที่ฐานพระพุทธรูป แล้วโยงมาทีภ่ าชนะสาหรับ น้ามนต์ก็ได้ ▪ อญั เชญิ พระพุทธรูปมาตั้งบนทีบ่ ูชา ▪ ปอู าสนะสาหรบั พระสงฆ์ ▪ เตรียมเครื่องรบั รองพระสงฆต์ ามควรแก่ฐานะ ▪ ต้ังภาชนะสาหรับทาน้ามนต์

กำรดำเนินพิธี ▪ เมือ่ พระสงฆ์มาถึงแล้ว นิมนต์พระสงฆ์นงั่ บนอาสนะ แล้วประเคนเครือ่ งรบั รอง ▪ เจ้าภาพหรือผู้แทนจุดธูปเทียนที่โต๊ะหมู่บชู า แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์ ▪ อาราธนาศีลและรับศลี ▪ อาราธนาพระปริตร ▪ พระสงฆ์เจริญพระพทุ ธมนต์ ▪ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ เสร็จแล้วถวายเครือ่ งไทยธรรม ▪ พระสงฆ์อนโุ มทนา ขณะทีพ่ ระสงฆ์วา่ บท “ยถา…” ให้เรม่ิ กรวดน้าให้เสร็จก่อนจบบท พอพระสงฆ์วา่ บท “สพพฺ ีติโย…” ให้น่งั ประนมมือ รบั พรตลอดไปจนจบ ▪ พระสงฆ์ประพรมน้าพระพุทธมนต์ เปน็ อนั เสรจ็ พิธี

กำรทำบุญเลียงพระในงำนอวมงคล การทาบุญเก่ยี วกบั เรื่องการตาย นิยมทากันอยู่ 2 อยา่ ง คอื การทาบุญหน้าศพ หรือทีเ่ รียกกันว่า ทาบุญ 7 วนั 50 วัน หรือ 100 วนั กับ การทาบญุ อฐั ิ หรือการทาบุญในวนั คล้ายวนั ตายของผู้ล่วงลบั มีขั้นตอนและ การปฏิบัติเหมือนกับการทาบญุ เลยี้ งพระในงานมงคล แต่มีข้อแตกต่างกนั คอื กำรทำบุญงำนอวมงคล ▪ การอาราธนาพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ นิยมจานวน 8 หรือ 10 รูป แล้วแต่กรณี แต่ต้องเปน็ จานวนคู่ และการอาราธนาพระสงฆ์สาหรับทาบญุ งานอวมงคลไม่ใช้คาว่า “ขออาราธนาเจริญพระ พทุ ธมนต์” เหมือนอย่างทาบุญงานมงคล แต่ใช้คาว่า “ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต์” ▪ ไม่ต้องวงด้ายสายสญิ จน์ และไม่ต้องตั้งภาชนะสาหรบั ทาน้ามนต์ ▪ เตรยี มสายโยงหรือภษู าโยงต่อจากศพหรืออัฐิไว้เพ่อื ใช้บังสกุ ุล ▪ เมื่อพระสงฆ์มาถึงตามกาหนดเวลา มีข้อพึงปฏิบัติพิเศษ คือ มีการจดุ ธปู เทียนที่โต๊ะหมู่บูชากับการ จุดธูปเทียนที่หน้าศพ ▪ วนั เลีย้ งพระมีการปฏิบัติเช่นเดียวกับงานมงคล เพียงแต่หลงั จากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้วนิยมให้มีการ บังสกุ ุลแล้วจงึ ถวายไทยธรรม เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา จึงกรวดน้าอทุ ิศสว่ นกุศลต่อไป

อำ้ งอิง วิทย์ วิศทเวทย์ และ เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2553). หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ม. 4 : ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครง้ั ที่ 7. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์. อำ้ งอิงสื่อ ขอบคณุ ข้อมลู ภาพประกอบทกุ ภาพจากสือ่ อนิ เทอร์เน็ต (ใช้เพ่อื จัดกาเรียนการสอน)



หนว่ ยที่ 7 การบริหารจิตและ การเจรญิ ปญั ญา

วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื เขา้ ใจหลักการบริหารจิต 2. เพอ่ื เขา้ ใจหลกั วิธกี ารเจริญปัญญา

1. การบริหารจิต