Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001

สรุปเนื้อหาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001

Published by s.pannawitt, 2022-06-18 03:23:53

Description: สรุปเนื้อหาช่องทางการขยายอาชีพ อช31001

Search

Read the Text Version



ข เอกสารสรปุ เนอ้ื หาท่ตี อ งรู รายวิชา ชอ งทางการขยายอาชพี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั อช31001 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนา ย หนังสอื เรยี นนจ้ี ดั พมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผน ดินเพอ่ื การศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธิ์เปน ของสาํ นกั งาน กศน.สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิกา



ง สารบัญ หนา คาํ นาํ สารบัญ คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนื้อหาทตี่ องรู บทที่ 1 ชองทางการเขา สูอ าชพี .............................................................................................1 เรือ่ งที่ 1 ความสําคญั และความจําเปน ในการขยายอาชพี ..................................................1 เรื่องที่ 2 การขยายอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป............................2 เรื่องที่ 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ....................................................................................................3 เรื่องท่ี 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม............................................................................................11 เรื่องท่ี 5 การอนรุ ักษพ ลงั งานและสงิ่ แวดลอ มในการขยายอาชีพในชมุ ชน สังคม และภูมภิ าค 5 ทวปี ...........................................................................................12 แบบฝก หดั ........................................................................................................................15 บทท่ี 2 ชองทางการขยายอาชพี ..........................................................................................17 เรอ่ื งท่ี 1 ความจาํ เปนในการมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชีพ....................................17 เรอื่ งที่ 2 ความจาํ เปนไปไดของการขยายอาชพี ...............................................................18 เร่อื งที่ 3 การกําหนดวธิ ีการขัน้ ตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของการขยายอาชพี .......21 แบบฝก หัด ........................................................................................................................26 บทท่ี 3 การตดั สนิ ใจเลือกขยายอาชพี .................................................................................28 เรื่องท่ี 1 ภารกจิ เพ่ือความม่นั คงในการทําธุรกิจ...............................................................28 เรื่องที่ 2 การวดั และประเมินผลความมน่ั คงในอาชพี .......................................................32 เรื่องที่ 3 การตัดสินใจขยายอาชีพดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ..........................................40 แบบฝกหดั ........................................................................................................................42 เฉลยแบบฝก หัด ...................................................................................................................43 บรรณานกุ รม ......................................................................................................................48 คณะผจู ดั ทํา .........................................................................................................................49

จ คําแนะนาํ การใชเ อกสารสรุปเนอ้ื หาทตี่ อ งรู หนงั สอื สรุปเนอื้ หาทต่ี องรูหนงั สือเรยี นรายวชิ า ชอ งทางการขยายอาชีพ เลมน้ีเปนการ สรปุ เน้ือหาจากหนังสอื เรียนรายวชิ าบงั คับ สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า ชอ งทางการขยาย อาชีพ อช31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพ่ือใหนักศึกษาไดเรียนรูและทํา ความเขาใจในเนื้อหาสาระของรายวิชาชองทางการขยายอาชีพ อช31001 ที่สําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาใจยงิ่ ข้ึน ในการศึกษาหนังสือสรุปเนื้อหาที่ตอ งรหู นังสือเรียนรายวิชา ชองทางการขยายอาชพี เลม น้ี นกั ศึกษาควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ศึกษาหนงั สือเรยี นรายวิชา ชองทางการขยายอาชีพ อช31001 สาระการประกอบ อาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2554) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใหเ ขาใจกอ น 2. ศึกษาเน้อื หาสาระของหนังสือสรุปเน้อื หาทตี่ อ งรูหนังสือเรียนรายวิชา ชองทางการ ขยายอาชีพ อช 31001 ใหเขาใจอยางถองแท พรอมท้ังทําแบบฝกหัดทายบททีละบท และ ตรวจคาํ ตอบจากเฉลยแบบฝกหัดทายเลมใหครบ 3 บท 3. หากนักศึกษาตองการศึกษารายละเอียดเนื้อหาสาระรายวิชา ชองทางการขยาย อาชีพ อช31001 เพิ่มเติมสามารถศึกษาคนควาไดจากส่ืออื่น ๆ ในหองสมุดประชาชน อินเทอรเ น็ต หรือครูผสู อน

1 บทที่ 1 ชองทางการเขา สูอาชีพ เรอ่ื งท่ี 1 ความสําคญั และความจําเปน ในการขยายอาชีพ การขยายขอบขายอาชีพ หมายถึง กิจกรรมอาชีพท่ีมีอยูแลว และสามารถขยาย กจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วของและสัมพันธกับอาชีพเดิมออกไปเปนอาชีพที่สรางรายไดเพ่ิมขึ้น โดยใชทุน ทรพั ยากรจากอาชีพหลกั ใหเ กิดคณุ คา และสรา งความเขม แข็งย่งั ยนื ในอาชีพ เชน 1. การขยายขอบขายอาชีพจากการหมุนเวียนเปล่ียนรูปผลิตภัณฑหรือผลพลอยได ไปสูกจิ กรรมใหม เชน 1.1 สรา งธุรกิจแปรรูปหมูจากฟารม สุกรของตนเอง 1.2 สรางธุรกจิ ปยุ หมักจากมูลสกุ ร 1.3 สรา งธุรกิจขนมหวานเยลลีจ่ ากหนงั สุกร 2. การขยายขอบขายอาชีพจากการสรางและพัฒนาเครือขา ยจากอาชีพ เชน 2.1 เฟรนไชส ชายส่ีบะหมเ่ี กยี๊ ว 2.2 การสรา งเครือขายนาขาวอินทรีย 3. การขยายขอบขายอาชพี จากการตลาด เชน 3.1 สวนมะพราวน้ําหอมแมตุม ศูนยกลางรับซื้อและขายสงมะพราวนํ้าหอม ภายใตการควบคมุ คณุ ภาพของตนเอง 4. การขยายขอบขา ยอาชพี จากการสง เสรมิ การทองเทยี่ ว เชน 4.1 จัดบรกิ ารทองเที่ยวพักผอ น กินอาหารเกษตรอนิ ทรียท่ไี รสุดปลายฟา 4.2 ทองเท่ยี วชมิ ผลไม ชมสวนชาวไรจ นั ทบุรี 5. การขยายขอบขา ยอาชีพกบั การสง เสรมิ สขุ ภาพและอนามยั เชน 5.1 การพักฟน รับประทานอาหารธรรมชาติไรสารพิษ ปฏิบัติธรรมกับ Home Stay คลองรางจระเข 6. การขยายขอบขายอาชีพกบั การเรียนรู เชน 6.1 เรยี นรูร ะบบนิเวศ ความพอเพียงที่ไรนาสวนผสม

2 เร่อื งท่ี 2 การขยายอาชพี ในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี การประกอบอาชพี ในปจ จบุ นั ไดมกี ารกาํ หนดลักษณะอาชีพ แบงได 5 ลกั ษณะอาชพี ดังน้ี 2.1 งานอาชีพดานเกษตรกรรม กลุมอาชีพดานการเกษตร คือ การพัฒนาอาชีพในดานการเกษตรเก่ียวกับการ ปลูกพืช เล้ียงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยี นวัตกรรม มาพัฒนาให สอดคลองกับศักยภาพหลักของพื้นที่ เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม ธุรกิจการเกษตร เปน ตน 2.2 งานอาชีพดานอตุ สาหกรรม กลุม อาชพี ดา นอุตสาหกรรม คือ การพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพ หลักของพ้ืนท่ี เชน ผูผลิตช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสเคร่ืองใชไฟฟาหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ผูประกอบรถยนตและยานยนตประเภทตาง ๆ ผูผลิต ตัวแทนจําหนายหรือผูประกอบช้ินสวน หรอื อะไหลร ถยนต ผใู หบ ริการซอ มบํารงุ รถยนต ผจู ดั จําหนา ยและศูนยจําหนายรถยนตมือสอง ผผู ลติ และจําหนา ยเคร่อื งจกั รและเคร่อื งมือทกุ ชนิด ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของ เครือ่ งใชไ ฟฟาตาง ๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา การผลิตอลูมิเนียม ผลิตและตัวแทน จําหนายผลิตภัณฑเหล็ก สแตนเลส ผูผลิตจําหนายวัสดุกอสราง วัสดุตกแตง สุขภัณฑ การกอ สรางอาคารหรอื ท่อี ยูอ าศัย 2.3 งานอาชีพดานพาณชิ ยกรรม กลมุ อาชพี ดานพาณิชยกรรม คือ การพัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพดานพาณิชย กรรม เชน ผูให บรกิ ารจาํ หนา ยสินคาท้ังแบบคาปลีกและคาสงใหแกผูบริโภคทั้งมีหนารานเปน สถานทีจ่ ัดจาํ หนาย เชน หา งราน หา งสรรพสนิ คา ซปุ เปอรส โตร รา นสะดวกซอ้ื และการขาย ท่ีไมมีหนาราน เชน การขายผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (รานคาออนไลน) ซึ่งปจจุบันมี ผูประกอบการธุรกิจลกั ษณะน้ีมากขน้ึ เพราะมกี ารลงทนุ นอ ย 2.4 งานอาชีพดานความคิดสรางสรรค กลมุ อาชีพดานความคิดสรา งสรรค เปนอาชีพท่อี ยูบนพ้ืนฐานของการใชองคความรู การศึกษา การสรางสรรค และการใชทรัพยสินทางปญญา ที่เช่ือมโยงพ้ืนฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรูของสังคม และเทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม ดังนั้นกลุมอาชีพดานความคิด

3 สรางสรรค จงึ เปน การตอยอดหรือการพฒั นาอาชพี ในกลมุ อาชพี เดมิ ในกลุมอาชีพเกษตรกรรม กลุมอาชีพอตุ สาหกรรม กลมุ อาชีพพาณิชยกรรม กลุมอาชพี คหกรรม กลมุ อาชีพหตั ถกรรมและ กลุมอาชีพศิลปกรรม ทําใหเกิดผลผลิตหรือผลิตภัณฑท่ีทันสมัยมากขึ้น เชน แฟช่ันเส้ือผา เครื่องประดับ เคร่ืองสําอาง ทรงผม สปาสมุนไพร การออกแบบส่ือ/ภาพยนตร/โทรทัศน เคร่ืองใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วัสดุกอสรางแบบประหยัดพลังงาน เซรามิก ผาทอ จักสาน แกะสลกั รถยนตพ ลังงานทางเลือก ขาเทียมหุนยนตเพื่อคนพิการ การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ตลาดนาํ้ อโยธยา เปน ตน 2.5 งานอาชีพดา นอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง กลมุ อาชพี ดานอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง เชน ธุรกิจบรกิ ารทองเทีย่ ว ธุรกิจ บริการสุขภาพ ธุรกิจบริการ โลจิสติกส ธุรกิจภาพยนตร ธุรกิจการจัดประชุมและแสดง นิทรรศการ บรกิ ารทปี่ รกึ ษาดานอสงั หาริมทรัพย ท่ีปรกึ ษาทางธุรกจิ โดยงานอาชพี ดา นอํานวยการและอาชพี เฉพาะทาง ในอนาคตจะมีการเติบโตทาง ธุรกิจมากขึ้น จึงมีความตองการเจาหนาท่ี บุคคล พนักงาน เพ่ือควบคุมและปฏิบัติงานท่ีมี ความรู ความสามารถและทกั ษะฝมือเปน จาํ นวนมาก เรอื่ งที่ 3 การขยายกระบวนการจัดการงานอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป กระบวนการจดั การงานอาชีพมีความสําคญั ตอการดาํ เนนิ ธรุ กจิ มีรายละเอียดดงั นี้ 3.1 การจัดการการผลิต กระบวนการของการจดั การการผลติ มีความสําคัญและจําเปนท่ีจะตองมีข้ันตอน ท่ีกําหนดไวกอนหลังอยางชัดเจน เพื่อใหผูดําเนินการสามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง การ กําหนดกระบวนการผลิตจําเปนตองมีความเขาใจและสามารถจัดระบบการบริหารจัดการได อยางมีประสิทธิภาพ เพราะเปนการกําหนดแนวทางการสื่อสาร การประกันคุณภาพ การ ประเมนิ การควบคมุ การตดิ ตามตรวจสอบ การดาํ เนินงาน การแกปญหา และเปนเครื่องมือใน การสรางนวตั กรรม รวมถึงการพยากรณส่งิ ท่เี กดิ ข้นึ ใหเหมาะสมยิง่ ข้ึน กระบวนการของการจดั การการผลิต เปนการวเิ คราะหล กั ษณะ ขอบขา ย ทีเ่ กย่ี วของกับการจัดการการผลติ ประกอบดวย

4 1. การวางแผน การวางแผนเปนจุดเรมิ่ ตน ของการทาํ งานตามนโยบาย เพื่อบรรลุวัตถุประสงคของธุรกิจ โดยกําหนดกิจกรรมไวชัดเจนวา จะใหใครทําอะไร ที่ไหน เม่ือใด เพราะอะไร ดวยวิธีใด เม่ือพบปญหาและอุปสรรคท่ีคาดวาจะมี จะเกิดอยางไรน้ัน จะแกไขอยางไร ในชวงเวลาขางหนา ของการดาํ เนนิ การภายใตงบประมาณท่ีตัง้ ไว องคประกอบของการวางแผนงาน สรปุ ไดด ังนี้ 1. การวางแผนเปน จดุ เริ่มตนของการลงมือทาํ งาน 2. แผนตองสอดคลองกบั นโยบาย ซึง่ นโยบายสนองตอบวัตถุประสงค 3. แผนงานประกอบดว ยกิจกรรมตาง ๆ ตามลําดับความสําคัญและวิธีการทํางาน อยางเปน ข้ันตอน 4. ทุกข้ันตอนแตละกิจกรรม ตอบคําถามไดวา ใคร ทําอะไร เรื่องอะไร ทําท่ี ไหนทําเมื่อใด เพาะอะไร จะไดผ ลอะไร กําหนดวิธีทํางานในแตล ะขน้ั ตอนแลวจะเกิดอะไรขึ้น 5. ตองกาํ หนดชว งเวลาของแผน 6. ในทุกกจิ กรรมตองใชท รพั ยากรหรืองบประมาณเทาไร ประเภทของแผนงาน มกี ารแบง ประเภทของแผนงาน ดงั นี้ 1. การวางแผนตามระยะเวลา ดังนี้ 1.1 แผนระยะสน้ั 1.2 แผนระยะปานกลาง 1.3 แผนระยะยาว 2. การวางแผนตามขอบเขตของการวางแผน 2.1 แผนแมบ ท 2.2 แผนกลุมหนา ทีห่ รือกลุมงาน เชน แผนงานขาย แผนการเงิน แผนการ ตลาด แผนการผลิต 2.3 โครงการ เชน โครงการสง เสรมิ การขาย โครงการจัดแสดงสนิ คา 2.4 แผนสรุป เชน แผนการศึกษา 2.5 แผนกิจกรรม 3. การวางแผนตามลักษณะของการใช 3.1 แผนงานทใี่ ชประจํา 3.2 แผนงานท่ีใชค รง้ั เดยี ว

5 4. การแบงการวางแผนตามขอบขายของการใชแผน 4.1 แผนกลยุทธ 4.2 แผนกลวธิ ี ลกั ษณะของแผนท่ีดี มีดงั นี้ 1. มวี ตั ถปุ ระสงคห รอื เปาหมายที่ชัดเจน 2. ครอบคลุมรายละเอียดอยางเพียงพอท่ีสามารถจะปฏิบัติใหสําเร็จไดตาม วัตถุประสงค 3. มคี วามยดื หยุนพอสมควรปรับใชไ ดก บั สถานการณท ีเ่ ปลีย่ นแปลง 4. มีระยะเวลาดําเนินการทแ่ี นนอน 5. มีการกําหนดบทบาหนา ที่ของผูปฏบิ ัติตามแผนชัดเจน 6. ผูเกยี่ วขอ งกับแผนมีสวนรว มในการวางแผนที่ชดั เจน 7. ใชขอมลู เปน พน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจทกุ ขัน้ ตอน 2. การจัดทาํ โครงการ โครงการ หมายถึง งานที่มีการดําเนินการในขอบเขตที่จํากัด โดยมุงหวัง ความสําเร็จของงานเปน สาํ คญั ความสําคัญของโครงการ การดําเนินโครงการ มีการใชทรัพยากรตาง ๆ ของ องคกร ซึง่ เก่ียวพันกบั คา ใชจ า ยที่เกิดขน้ึ จากการใชทรัพยากร การกําหนดโครงการมีการจัดทํา งบประมาณท่ตี อ งใชตลอดโครงการและกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของโครงการ หากการดําเนิน โครงการเสร็จสิ้นตามระยะเวลาท่ีกําหนด จะมีการใชเงินตามงบประมาณ แตหากการ ดําเนินงานโครงการมีการเลื่อนกําหนดเวลาออกไป จะมีผลทําใหตองเพิ่มงบประมาณ การดําเนินโครงการตองมีการควบคุมเวลาใหแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนดเพ่ือควบคุม ตน ทนุ คา ใชจา ยและผลกระทบตา ง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขึ้นได สวนประกอบของโครงการ มดี งั นี้ 1. ชื่อโครงการ ควรตั้งช่ือโครงการอาชีพใหสื่อความหมายไดชัดเจน ครอบคลุมความหมายของกิจกรรมอาชพี ทท่ี าํ ใหช ดั เจนวา ทําอะไร 2. ชอื่ ผดู าํ เนนิ โครงการหรือผูจดั ทาํ โครงการ อาจจะเปนบุคคลคนเดียวหรือเปน กลุมบคุ คลก็ได 3. หลักการและเหตุผลหรือความสําคัญของโครงการหรือของงานนั้น ๆ วามี เหตุผลอะไร มีความจาํ เปน มีคุณคา และประโยชนมากนอ ยเพยี งใด

6 4. วัตถุประสงค ระบวุ า มงุ ที่จะใหเ กิดผลอะไร อยางไร หรือแกใคร มีปริมาณ และคณุ ภาพมากนอ ยเพยี งใด 5. เปา หมาย กําหนดเปาหมายของผลผลิตใหชัดเจนคืออะไร มีปริมาณเทาใด และคุณภาพเปน อยา งไร 6. ระยะเวลา กาํ หนดระยะเวลาต้งั แตเร่ิมตนจนส้นิ สดุ การดาํ เนินโครงการ 7. งบประมาณ จัดทํารายละเอียดรายจายที่เกิดขึ้นในการดําเนินโครงการ ตง้ั แตข ้นั ตอนแรกจนถงึ ขัน้ ตอนสดุ ทาย 8. ข้ันตอนวิธีดําเนินงาน กําหนดรายละเอียดข้ันตอนของการทํางาน ตั้งแต เร่ิมตนจนส้ินสุดโครงการ โดยเขียนเปนแผนปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวยหัวขอ กิจกรรม ระยะเวลา สถานท่ี ทรพั ยากร/ ปจ จัย เปนตน 9. การติดตามและการประเมินผล ระบุวิธีการหรือเทคนิคในการดูแลและ ควบคุมการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงค ท้ังนี้ตองบอกใหชัดเจนวากอนเริ่มทําโครงการ ระหวางทาํ โครงการและหลงั การทาํ โครงการจะมีการตดิ ตามและประเมนิ ผลอยา งไร 10. ผลที่คาดวาจะไดรับ ใหระบุผลที่จะเกิดขึ้นเม่ือเสร็จส้ินโครงการ ผลที่ ไดรับโดยตรงและผลพลอยไดหรือผลกระทบจากโครงการ ที่เปนผลในดานดีเปนอยางไร สอดคลอ งกับวัตถุประสงคแ ละเปาหมายอยางไร ตวั อยางการเขียนโครงการอาชพี 1. ช่ือโครงการ โครงการจาํ หนา ยอาหารสาํ เรจ็ รูป 2. ชอ่ื ผดู ําเนินโครงการ 1. นางสาวอารยี า ศริ มิ าลา 2. นางสาวสรวงสุดา วภิ าวรรณ 3. นางสาววภิ าวดี วเิ ชยี รสวุ รรณ 4. นางสาวอภสิ มัย ศรคี มสัน 5. นายยรุ นนั ต ภมรศักดิ์ 3. ชอ่ื อาจารยที่ปรกึ ษาโครงการ 1. อาจารยร อบรู สอนดี 2. อาจารยฉลาด ดีพรอม

7 4. หลักการและเหตผุ ล อาหารเปนสง่ิ จําเปนสําหรบั ทกุ คน เราตองรบั ประทานอาหารทกุ วนั คนในหมูบานของ กลมุ ผูดําเนินโครงการสวนใหญประกอบอาชีพนอกบาน มักไมมีเวลาประกอบอาหารเอง ใกล หมูบานยงั มสี าํ นักงานของเอกชนซ่งึ มพี นักงานจาํ นวนมาก แตใ นบริเวณน้ีมีรานจําหนายอาหาร สําเร็จรูปนอย คุณภาพอาหารและการบริการไมคอยดี ไมมีรานจําหนายอาหารสําเร็จรูปท่ีมี คุณภาพดี และราคาปานกลาง สมาชิกของกลุม มีความสามารถในการประกอบอาหารไดดี และ บริเวณบานของสมาชิกมีสถานที่กวางเหมาะท่ีจะจัดเปนราน จําหนายอาหาร จึงไดจัดทํา โครงการจําหนา ยอาหารสาํ เรจ็ รูป 5. วัตถุประสงค 1. เพือ่ ใหมีประสบการณในการประกอบอาชพี จาํ หนา ยอาหารสาํ เร็จรปู 2. เหน็ ชอ งทางและมีความรคู วามสามารถในการประกอบอาชีพจาํ หนา ยอาหาร สําเรจ็ รปู 3. สามารถนาํ ความรูท ไี่ ดจากการเรยี นและประสบการณการปฏิบัติโครงการอาชีพไป ใชประโยชน ในการประกอบอาชีพไดอ ยางเหมาะสม 6. เปาหมาย ดา นปรมิ าณ ปรงุ และจาํ หนายอาหารสาํ เรจ็ รปู ในวันเสารแ ละวันอาทิตย ดา นคณุ ภาพ นักเรียนทุกคนในกลมุ เห็นชองทางในการประกอบอาชีพและพัฒนาการ ประกอบอาชพี ไดอ ยางเหมาะสม 7. ระยะเวลาดําเนนิ โครงการตลอดโครงการ ตั้งแตเปดภาคเรียนจนถึงปดภาคเรียน (20 พฤษภาคม - 30 กันยายน และ 1 พฤศจกิ ายน – 15 มีนาคม) 8. สถานท่ีประกอบอาชีพ บานของนางสาวอารยี า ศิรมิ าลา ในหมบู า นชื่นใจ แขวงลาดยาว เขตลาดพรา ว กรุงเทพมหานคร 9. งบประมาณ 1. แหลงเงินทุน เงินสะสมของสมาชิกกลุม คนละ 1,000 บาท และเงินยืมจาก ผปู กครองของ นางสาวอารยี า ศิรมิ าลา เปนเงิน 10,000 บาท รวมเปนเงนิ 15,000 บาท 2. จาํ นวนเงินทุน เร่ิมโครงการ 15,000 บาท

8 3. ทรัพยส นิ ถาวร โตะ เกา อ้ี ถวย ชาม ชอน และเคร่ืองครัว สวนหน่ึงยืมใชชั่วคราว / จดั ซ้อื 4. ทรัพยสนิ ส้นิ เปลือง อาหารสด ซ้อื เปน รายวนั 5. เงินทุนขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความสําเร็จก็จะนํากําไรมาขยายกิจการ และขอยืมเพ่มิ เตมิ จากผปู กครอง 6. กําไร (คาดการณ) ในระยะเริ่มแรกมกี ําไรประมาณวันละ 300-500 บาท 10. ขน้ั ตอนการดําเนินงาน 10.1 การเตรียมการ - ศึกษาสาํ รวจขอมลู - เขียนโครงการ - ขออนุมัตโิ ครงการ - เตรยี มหาทุน - กาํ หนดรายการอาหารท่จี ะปรงุ จาํ หนา ย - ประชาสัมพันธใ หลูกคา เปาหมายทราบ 10.2 การเตรยี มสถานท่ี - จัดตกแตงสถานที่ - เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ 10.3 ข้นั ตอนการดําเนินงานอยางละเอียด - ศกึ ษาหาความรูเ บอื้ งตนเก่ยี วกบั การปฏบิ ัติงานอาชีพ - ศึกษาสํารวจขอ มลู ตา ง ๆ เพื่อสํารวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชพี - วเิ คราะหข อ มูล - ตดั สินใจเลือกอาชพี - ศกึ ษาวิธเี ขยี นโครงการอาชพี - ขออนุมัตโิ ครงการอาชีพ - ศึกษาคนควาหาความรเู พ่มิ เตมิ - กาํ หนดรายการอาหารทจ่ี ะจําหนา ย - ประชาสมั พนั ธบอกกลุมลกู คา เปาหมาย - เตรียมอปุ กรณก ารปรุงอาหาร ภาชนะตาง ๆ - ตกแตง สถานที่

9 - ลงมือปรุงอาหารจาํ หนาย โดยสับเปลยี่ นหมนุ เวยี นการปฏบิ ตั ิหนาที่ ดงั นี้ ซื้ออาหารสด ตกแตง / ทําความสะอาดราน / ลา งภาชนะ บรกิ าร ลกู คา เกบ็ เงิน – ทาํ บญั ชี - ประเมินการปฏบิ ตั ิงานเปนรายวนั / รายสัปดาห - ประเมินสรุปเม่ือปฏิบัติงานเสร็จสิ้น - เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชพี 11. ปญหาและแนวทางแกไข 11.1 ปญหาท่ีคาดวาจะเกดิ ขึ้นระหวา งปฏิบัตงิ าน 1) จาํ นวนลกู คาไมเ ปน ไปตามเปาหมาย 2) ประสบการณใ นการจาํ หนา ยสินคา ไมเพยี งพอ 11.2 แนวทางแกไข 1) นาํ อาหารสําเรจ็ รูปใสถุงไปจาํ หนา ยตามบาน / ชุมชน 2) ขอคาํ แนะนาํ จากอาจารยท ีป่ รกึ ษาเปน ระยะ 12. ผลทค่ี าดวาจะไดร บั - ดานความรูและประสบการณ นักเรียนทุกคนมีประสบการณในการประกอบอาชีพ เห็นชอ งทางใน การประอบอาชีพในอนาคต - ดานผลผลิต ทรพั ยสนิ กาํ ไร นกั เรียนมรี ายไดระหวางเรียน ทําใหเห็นคุณคาของการ ประกอบอาชีพ แบงเบาภาระผปู กครอง ลงชอื่ ผเู สนอโครงการ ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นางสาวอารียา ศิรมิ าลา) (นางสาวอภิสมยั ศรีคมสัน) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นางสาวสรวงสดุ า วิภาวรรณ) (นางสาววิภาวดี วิเชยี รสุวรรณ) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นายยุรนันต ภมรศักด์)ิ

10 ลงช่ืออาจารยทปี่ รกึ ษาโครงการ ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) (นายรอบรู สอนด)ี (นายฉลาด ดพี รอม) 3. การใชว สั ดอุ ปุ กรณ วสั ดุ หมายถงึ ส่งิ ท่ีใชแ ลว สิ้นเปลืองและหมดไป อุปกรณ หมายถึง ส่ิงที่ใชแลว ยังคงเหลือ สามารถนาํ กลบั มาใชไ ดอ กี 4. การใชแ รงงาน แรงงาน หมายถึง บุคคลท่ีผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความ เหมาะสมของงาน และความสามารถของแตละบคุ คล ซ่งึ มีท้ังแรงงานประเภทท่ีมีความชํานาญ แรงงานท่ีมีฝมือ แรงงานประเภทไรฝมือที่ตองใชกําลังแบกหาม ดังนั้น เจาของกิจการ หรือ ผปู ระกอบการจําเปน จะตอ งเลือกบุคลากรท่ีมีความรู ความสามารถทํางานตามความถนัดของ แตล ะบคุ คลเพอ่ื ประสทิ ธิภาพของงาน 5. การใชสถานท่ี สถานที่ หมายถึง อาคาร บริเวณทป่ี ระกอบอาชพี ธุรกิจ ของผปู ระกอการ 6. การใชทุน ทุน หมายถงึ ปจจยั ในการผลติ ทใี่ ชในการสรา งสนิ คา หรอื บรกิ ารอน่ื ๆ 3.2 การจดั การการตลาด การจดั การการตลาด ประกอบดว ย 1. การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการศึกษาตลาดจากปจจัยภายนอกและ ภายใน ทาํ ใหผูประกอบการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจ และสามารถบอกรายละเอียดใน การดาํ เนินงานไดอ ยางชดั เจน 2. การหาความตอ งการของตลาด 3. การขนสง 4. การขาย 5. การกําหนดราคาขาย 6. การทาํ บญั ชีประเภทตาง ๆ เปนการบนั ทึกรายรับ รายจาย ที่เกิดข้ึนจริงในการใชจาย ตาง ๆ ของสถานประกอบการ

11 เรอื่ งที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผูประกอบการจะตอ งมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรรม เก่ยี วกบั เร่อื งความรับผิดชอบในการผลิต สนิ คา เชน ความสะอาด ความประณตี ความซอ่ื สตั ย โดยเฉพาะดานความปลอดภยั ตอ สุขภาพ ของผูบริโภคหรอื การใหบ ริการท่ปี ลอดภัยแกผูรบั บริการ ในสวนตัวของผูประกอบอาชีพใหมีความม่ันคงน้ัน ตองมีคุณลักษณะเปนคนขยัน ซือ่ สตั ย รจู ักประหยัด อดออม มีความพากเพยี ร มีอุตสาหะ เพื่อความมนั่ คงในการพัฒนาอาชีพ ของตนเองใหม ีความมน่ั คง 4.1 การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดาํ ริ 4.1.1 มีความรู ความสามารถ 4.1.2 รูจักการประยุกตใ ช 4.1.3 คดิ อยางรอบคอบ 4.1.4 ใชปญ ญา 4.1.5 มีสติและสงบสํารวม 4.1.6 มีความจริงใจและมีสจั จะ 4.1.7 มวี ินยั 4.1.8 สรางสรรคและพฒั นา 4.1.9 วางแผนในการทาํ งาน 4.2 การพฒั นาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา 4.2.1 ทาน คือ การให เปนหลักปฏิบัติในการพัฒนาตนเองสําหรับที่จะใชในการ เก้อื หนุนจนุ เจอื ซ่ึงกันและกนั 4.2.2 ศลี คอื การรกั ษา กาย วาจา ใจ ใหต้ังอยูอยางปกติ ไมเบียดเบียนกันความ สงบสขุ ยอมเกิดข้นึ 4.2.3 ปริจจาคะ คือ การสละส่ิงท่ีเปนประโยชนนอย เพ่ือประโยชนท่ีมากกวา การสละเพ่ือรักษาหนาที่ รักษากิจท่ีพึงกระทํา รักคุณความดี เพื่อความสุข ความเจริญใน การอยูรวมกนั 4.2.4 อาชวะ คือ ความเปนผูซ่ือตรงตอตนเอง บุคคล องคกร มิตรสหาย หนาที่ การงาน

12 4.2.5 มทั วะ คอื ความออ นโยน มีอธั ยาศัยไมตรี ออนโยน มีสัมมาคารวะตอผูใหญ ไมด ื้อดึง ถอื ตนวางอาํ นาจ 4.2.6 ตบะ คือ ความเพยี ร ผูมคี วามเพยี รสามารถปฏิบตั ิหนา ท่ีใหบรรลุลวงสําเร็จ ไดด ว ยดี มกั เปน ผมู คี วามอดทนสูง 4.2.7 อักโกธะ คือ ความไมโกรธ ตลอดจนไมพยาบาทมุงทํารายผูอ่ืน ความไม โกรธมขี ้นึ ไดเ พราะความเมตตา หวังความสขุ ความเจริญซึ่งกนั และกนั 4.2.8 อหิงสา คือ การหลีกเลี่ยงความรุนแรงและไมเบียดเบียนหรือเคารพในชีวิต ของผอู ่นื 4.2.9 ขันติ คือ ความอดทน อดทนตอการตรากตราํ ประกอบการตาง ๆ อดทนตอ ถอยคาํ ไมพ งึ ประสงคหรือส่งิ อนั ไมชอบใจตาง ๆ ในการอยรู วมกันของคนหมมู าก 4.2.10 อวิโรธนะ คือ ความไมผิด ผิดในท่ีน้ี หมายถึง ผิดจากความถูกตอง ทุก อยา งท่คี นท่ัวไปทําผิด เพราะไมรูวาผิด หรือรูวาผิดแตยังด้ือดึงทํา ทั้ง ๆ ท่ีรู ถาปลอยเชนน้ีไป เรอ่ื ย ๆ กไ็ มรูจ ัก ไมอ าจปฏบิ ัติในสิง่ ท่ถี กู ตอ งไดเลย เร่อื งที่ 5 การอนุรกั ษพ ลังงานและสิง่ แวดลอมในการขยายอาชพี ในชุมชน สังคม และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ทรัพยากร เปนปจจัยท่ีสําคัญในการประกอบอาชีพ แบงเปน 2 ประเภท คือ ทรพั ยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรในการประกอบการ การใชทรพั ยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึง ความหมดเปลอื ง และการใชทรัพยากรอืน่ ทดแทน 5.1 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่ปรากฏและเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนาํ มาใชป ระโยชนไ ด เชน อากาศ ดนิ นํ้า ปา ไม สตั วป า แรธาตุ พลังงาน สง่ิ แวดลอม หมายถึง สง่ิ ตาง ๆ ทอี่ ยูร อบตัวเรา ทง้ั ส่ิงมีชีวิต และไมมีชีวิต รวมทั้ง สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ส่ิงท่ีมนุษยสรางข้ึน หรือกลาวไดวา ส่ิงแวดลอมประกอบดวย ทรัพยากรธรรมชาติและทรพั ยากรมนษุ ยทีส่ รางขึ้นในชวงเวลาหน่ึงเพ่ือสนองความตองการของ มนุษยน่ันเอง

13 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติที่ใชแ ลวไมห มดสน้ิ เชน นาํ้ อากาศ พลังงานแสงอาทิตย 2. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแลว ทดแทนได เชน พชื ปาไม สัตวป า มนุษย 3. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใ่ี ชแ ลวหมดส้นิ ไป ไดแก นํา้ มันปโตรเลียม กาซธรรมชาติ ถา นหนิ 4. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่สี ามารถนาํ มาใชใ หมได เชน แรโลหะ แรอ โลหะ การอนุรักษพ ลังงาน หมายถึง การใชพ ลังงานอยางมีประสทิ ธิภาพ และประหยัด การอนุรกั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอม นอกจากจะชวยลดปริมาณจากแหลงที่ใชพลังงาน ซึ่งเปน การประหยดั คา ใชจ า ยในกิจกรรมแลว ยงั ชว ยลดปญหาสิ่งแวดลอมทีเ่ กดิ จากแหลง ทใ่ี ชและผลิต พลังงานดวย การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง ประหยัด ใหเ กิดคณุ คา และประโยชนส ูงสุด รวมท้งั ปรับปรงุ หมนุ เวียนนํากลับมาใชใหม เพ่ือให เกิดการสญู เสียนอ ยท่สี ดุ การอนุรักษสิ่งแวดลอม หมายถึง การใชส่ิงแวดลอมไมใหเกิดพิษภัยตอสังคม สวนรวม ดํารงไวซึ่งสภาพเดิมของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีมนุษยสรางขึ้น รวมทั้งการกาํ จดั และปองกนั มลพษิ สง่ิ แวดลอ ม ในการขยายขอบขายอาชพี ผูประกอบอาชีพจําเปนตองคํานึงถึงผลกระทบที่เกิด จากการใชทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน และส่ิงแวดลอม เชน ปาไม ดิน น้ํา ทรัพยากรมนุษย ตน ทุนการผลติ อยา งคุม คา และวถิ ีชีวติ ของคนในชุมชน สงั คมนัน้ ๆ 5.2 แนวทางการอนุรักษพลงั งาน มดี ังนี้ 5.2.1 ใชพ ลังงานอยางประหยัดและคุมคา 5.2.3 ใชพลงั งานอยางรูคุณคา จะตองมีการวางแผนใชอยางมีประสิทธิภาพและ เกดิ ประโยชนส งู สุด มกี ารลดการสญู เสยี พลังงานทุกข้นั ตอน 5.2.4 ใชพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานท่ีไดจากธรรมชาติ เชน พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานลม พลงั งานน้ํา 5.2.5 เลือกใชเครอ่ื งมือและอุปกรณท ม่ี ปี ระสิทธภิ าพสูง 5.2.6 เพ่ิมประสิทธิภาพเช้ือเพลิง เชน การเปล่ียนโครงสราง ทําใหเชื้อเพลิงให พลังงานมากข้นึ

14 5.2.7 หมุนเวียนกลับมาใชใหม โดยการนําวัสดุท่ีชํารุดนํามาใชใหม การลดการท้ิง ขยะที่ ไมจําเปน หมนุ เวียนกลบั มาผลิตใหม 5.3 กจิ กรรมทีส่ ง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม มดี งั นี้ 5.3.1 อุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมเหมืองแร เหมอื งทองคํา 5.3.2 เกษตรกรรม เชน การใชสารเคมี การใชยาฆา แมลง 5.3.3 กจิ กรรมการบรโิ ภคของมนษุ ย เชน การซอ้ื สนิ คา การใชน้ํา

15 แบบฝกหัด ใหผูเรียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1. ใหผูเรียนอธิบายความสําคญั และความจาํ เปน ในการขยายอาชีพ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหผูเรียนอธิบายลกั ษณะการขยายอาชีพดานเกษตรกรรม พรอ มยกตวั อยา ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. ใหผเู รียนอธบิ ายลักษณะการขยายอาชพี ดา นพาณชิ ยกรรม พรอมยกตัวอยาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. ใหผ เู รียนบอกขอ ดีของการขยายอาชพี ดา นความคดิ สรางสรรค ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

16 5. ใหผเู รยี นบอกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดําริ มาอยา งนอย 5 ขอ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 6. การซอ้ื สินคาผานระบบออนไลนเปน การอนุรักษทรพั ยากรหรือไม อยางไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

17 บทท่ี 2 ชอ งทางการขยายอาชพี เรื่องที่ 1 ความจําเปนในการมองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชีพ การมองเห็นชอ งทางการประกอบอาชพี โอกาสและความสามารถท่ีจะนํามาประกอบอาชีพไดกอนผูอื่น เปนหัวใจสําคัญของ การประกอบอาชพี หากผูประกอบอาชีพสามารถผลิตสินคาหรือบริการไดตามที่ตลาดตองการ ไดกอน และเปนอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณในขณะนั้น ยอมทําใหมีโอกาสประสบ ความสาํ เร็จ สามารถพฒั นาตนเองใหม องเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพได หลกั สําคัญของชอ งทางในการขยายอาชพี มดี ังน้ี 1. ความชํานาญจากงานท่ีทําในปจจุบัน มีสวนชวยใหมองเห็นโอกาสในการประกอบ อาชพี ไดมาก เชน บางคนมคี วามชํานาญทางดานการทาํ อาหาร ตัดเย็บเสื้อผา ซอมเครื่องใชไฟฟา ตอทอนํ้าประปา ชางไม ชางปูกระเบ้ือง ชางทาสี ฯลฯ ซึ่งสามารถนําความชํานาญดังกลาวมา พัฒนาและประกอบอาชีพได บางคนทํางานที่โรงงานตัดเย็บเสื้อผา เมื่อกลับมาภูมิลําเนาเดิม ของตนเอง ก็นําความรคู วามสามารถและความชํานาญมาใชเปน ชอ งทางการประกอบอาชีพของ ตนเองได 2. ความชอบความสนใจสวนตัว เปนอีกทางหนึ่งท่ีชวยใหมองเห็นชองทางโอกาสใน การประกอบอาชีพ บางคนชอบประดิษฐดอกไม บางคนชอบวาดรูป ทําใหบุคคลเหลานี้พัฒนา งานทช่ี อบ ซ่งึ เปน งานอดเิ รกกลายเปนอาชีพหลัก สรางรายไดเปนอยา งดี 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตาง ๆ โดยการพูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ บคุ คลผทู ่ปี ระสบความสําเร็จ เปนการเรียนรูจากแหลงความรูและกอใหเกิดความคิดริเร่ิมเปน อยา งดี ในบางครัง้ ตัวเราเองอาจจะมีความคดิ แลว และไดพูดคุยกับบุคคลตาง ๆ จะชวยใหการ วิเคราะหความคิดมีความชัดเจนขึ้น ชวยใหมองไปขางหนาไดอยางรอบคอบกอนที่จะลงมือ ทํางานจริง 4. การศึกษาคนควา จากหนงั สือ นิตยสาร หนังสอื พิมพ เว็บไซต การดวู ีดที ัศน ฟงวิทยุ ดูรายการโทรทัศน จะชวยใหเกดิ ความรูและความคดิ ใหม ๆ

18 5. ขอมูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนวยราชการและเอกชน รวมท้ังแผนพัฒนา เศรษฐกจิ ของประเทศในการมองหาชองทางในการประกอบอาชีพ ผูท่ีจะมองหาอาชีพ พัฒนา อาชีพ ควรใหความสนใจขอมูลตาง ๆ ในการติดตามเหตุการณใหทัน แลวนํามาพิจารณา ประกอบการตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ เรอื่ งท่ี 2 ความเปน ไปไดข องการขยายอาชีพ การประเมินความเปนไปไดในการนํากรอบแนวคิดไปใชใ นการขยายอาชพี ไดจริง จากแผนภูมิดังกลาวแสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมินความเปนไปได ท่ีมี องคประกอบรว มกนั 5 องคป ระกอบ โดยในแตละองคประกอบมตี ัวแปรดังน้ี 1. รปู แบบการขยายอาชีพ มีตัวแปรรวม ดงั นี้ 1.1 ผลผลติ เชน การผลติ สินคาไดต รงตามความตองการของตลาด 1.2 กระบวนการผลิต เชน การใชเทคโนโลยีทท่ี นั สมยั ในการผลิต 1.3 ปจ จัยนาํ เขาการผลติ เชน วตั ถุดิบในการผลติ 2. ความยากงายของการดําเนนิ การจัดการ มตี ัวแปรรวม ดังน้ี 2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงินทุน เชน การบริหารจัดการกระบวนการผลิต การขนสง ชอ งทางการตลาด ชอ งทางการหาแหลงทุน 2.2 แผนธุรกิจ เชน มีการศึกษาชองทางการตลาด แผนงานการขยายชองทาง การตลาด

19 3. การรับไดข องลกู คา มตี ัวแปรรวมดงั น้ี 3.1 ผลผลิตอยูในความนิยม เชน มีการพัฒนา ปรับปรุง สินคาใหตรงตามความ ตองการของผูบ รโิ ภค 3.2 เปน สิง่ จาํ เปนตอชีวิต เชน สนิ คาทเี่ ปน ที่ตองการและใชเปนประจํา 3.3 ราคา เชน การกาํ หนดราคาขายท่เี หมาะสมกับสินคา 4. การรับไดข องสงั คมชมุ ชน มีตัวแปรรว ม ดงั นี้ 4.1 สภาพแวดลอม เชน สถานท่ีประกอบการไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของ สังคมชมุ ชน 4.2 วัฒนธรรมประเพณี เชน การขยายอาชีพไมขัดแยงกับประเพณีวัฒนธรรมของ สังคมชุมชน 5. ความเหมาะสมของเทคนคิ วิทยาการทีใ่ ชในการขยายอาชพี 5.1 เทคนิควิทยาการเพ่ือการลดตนทุน เชน นําเทคโนโลยีมาใชเพื่อลดตนทุนใน การผลิต 5.2 เทคนิควิทยาการเพ่ือการลดของเสีย เชน การนําวัสดุเหลือใชกลับมาใช ประโยชนอ ีก วธิ ีการวเิ คราะห การวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจมีความจําเปนท่ีเจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจ ดวยตนเองสําหรับกรณีที่ธุรกิจมีหุนสวนหรือผูเกี่ยวของ ควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธี ความสัมพันธรวมกนั โดยมวี ิธกี ารวิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบดวยตนเอง ดวย รายละเอียดและความเปนไปได ความเปน พวกเดียวกัน โดยทบทวนหลาย ๆ ครั้ง จนมั่นใจ แลว จึงตัดสินใจ ตัวอยาง ความเปน ไปไดของการขยายอาชีพ “ลงุ อนิ ปลูกขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอง อยา ง ตอเนื่องไดผลผลติ สปั ดาหละ 250 กโิ ลกรัม ขายใหกับลูกคาประจํา มีรายได 2,500 บาท คอนขา งแนน อน แตปนี้ลูกของลุงอินเขาเรียนระดับอุดมศึกษา 2 คน จะตองมีรายจายเพิ่มอีก เดือนละ 10,000 บาท ลงุ อนิ หาตลาดขาวโพดหวาน ไดลูกคาเพิ่มสามารถรับซื้อขาวโพดหวาน ตามปริมาณที่เพิ่มข้ึนไดตามตองการ อยูมาไมนานเพ่ือนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูก ขาวโพดหวานขาย ทําใหขาวโพดมีปริมาณมาก ราคาตก ลุงอินเห็นวาเพื่อนบานตางก็ยากจน

20 หากปลอยใหสภาพเหตุการณเปนเชนนี้ก็จะพากันขาดทุนเสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณ ขาวโพดหวานที่ผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณสัปดาหละ 3,000 กิโลกรมั จึงตัดสินใจไปพบ พอคาขายสงรายใหมต อ งการขาวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอิน สามารถรวบรวมผลผลิต ควบคมุ คุณภาพใหไดมาตรฐานที่ตองการและจัดการสงมอบใหได จะ รับซ้ือกโิ ลกรัมละ 15 บาท ลุงอินจงึ เจรจารับซือ้ ขาวโพดหวานของเพื่อนบานใหราคากิโลกรัมละ 10 บาท หักคาขนสง กโิ ลกรมั ละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมีรายได 48,000 บาท พอเพียงใชจายดาํ รงชวี ติ สง ลูกเรียนได” จากกรณีตวั อยา งขา งตน จะเหน็ ไดวา กรอบแนวคิดการขยายอาชีพเปน ไปไดจ รงิ มีองคประกอบ ดงั น้ี 1. รปู แบบการขยายอาชีพ 1. เปน ตัวแทนรบั ซ้ือขา วโพดจากเพอื่ นบานเพื่อสง ใหผ รู ับซ้อื รายใหม 2. การควบคมุ คุณภาพของขาวโพด 2. ความยากงายของการ 1. ขาวโพดมีผลผลิตมาก ราคาตก ดําเนนิ การจดั การ 2. การรวบรวมขาวโพดเพ่ือขายใหผ คู า รายใหม 3. การควบคมุ คุณภาพของขา วโพด 3. การรับไดของลูกคา 1. ผรู ับซอ้ื รายใหมม คี วามตอ งการสนิ คา จาํ นวนมาก 2. ผรู บั ซอ้ื พึงพอใจกบั คณุ ภาพของสินคา 4. การรบั ไดข องสังคม 1. เพ่ือนบานมคี วามพึงพอใจกับการทขี่ ายใหผูร บั ซอ้ื รายใหม 2. เพื่อนบานมีรายไดท ี่แนนอน 5. ความเหมาะสมของเทคนคิ 1. มเี ทคนคิ การปลูกเพอื่ ใหมีผลผลติ ตลอดทงั้ ป วทิ ยาการทีใ่ ชใ นการขยาย 2. มีการรวบรวมผลผลติ จํานวนมากเพอ่ื ขายใหผรู ับซอื้ ราย อาชพี ใหม

21 เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดวิธีการขัน้ ตอนการขยายอาชีพและเหตผุ ลของการขยายอาชพี เปน ขน้ั ตอนการปฏิบัติการในอาชีพท่ีจะตองใชองคความรูที่ยกระดับคุณคาเพื่อมาใช ปฏิบัติการ จึงเปนกระบวนการของการทํางานที่เริ่มจากการนําองคความรูที่จัดทําในรูปของ คมู ือคณุ ภาพหรอื เอกสารคูมือดําเนินงานมาศึกษาวิเคราะหจัดระบบปฏิบัติการ จัดปจจัยนําเขา ดําเนินการ ทํางานตามข้ันตอนและการควบคุมผลผลิตใหมีคุณภาพเปนไปตามขอกําหนด ดําเนินการตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางาน ปฏิบัติแกไขขอบกพรองเปนวงจรอยาง ตอเนื่อง และมีการปรับปรุงพัฒนาเอกสารคูมือดําเนินงานไปเปนระยะ ๆ ก็จะทําใหการ ปฏิบัติการในกิจกรรมอาชีพประสบความสําเร็จสูความเขมแข็ง มั่นคง ยั่งยืน ตามกรอบ ความคดิ นี้ 1. การปฏบิ ตั กิ ารใชความรู โดยใชว งจรเดม็ มงิ่ เปนกรอบการทํางาน 1.1 P- Plan ดวยการจัดทําเอกสารคูมือดําเนินงาน โดยศึกษาวิเคราะหจัด ระบบปฏิบตั ิการที่ประกอบดวย กจิ กรรมขัน้ ตอน และผูรบั ผิดชอบกาํ หนดระยะเวลาการทํางาน กาํ หนดปจจัยนาํ เขาดาํ เนินงานใหส ามารถทาํ งานไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ การจัดทําแผนปฏิบัติการ (P) การจัดทําแผนปฏิบัติการทางอาชีพ เปนการดําเนินการท่ีมีองคประกอบรวม ดังนี้

22 1. เหตุการณหรือข้ันตอนการทํางาน ซึ่งจะบอกวาเหตุการณใดควรทําพรอม กัน หรอื ควรทาํ ทีหลัง เปนการลาํ ดับขัน้ ตอนในแตล ะกจิ กรรมใหเ ปนแผนการทํางาน 2. ระยะเวลาที่กําหนดวา ในแตละเหตุการณจะใชเวลาไดไมเกินเทาไร เพอื่ ออกแบบการใชปจ จยั ดาํ เนินงานใหสัมพนั ธกนั 3. ปจจัยนําเขาและแรงงาน เปนการระบุปจจัยนําเขาและแรงงานในแตละ เหตกุ ารณว าควรใชเทาไร การจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารทางอาชีพ มักจะนิยมใชผังการไหลของงาน มาใชออกแบบการทํางานใหมองเห็นความสัมพันธรวมระหวางเหตุการณ ระยะเวลา ปจจัย นําเขาและแรงงานจะชวยใหผูปฏิบัติงานและผูจัดการไดขับเคลื่อนการทํางานสูความสําเร็จได ดังนั้น ในการออกแบบแผนปฏิบัติงาน จําเปนตองใชองคความรูท่ีสรุปไดในรูปของเอกสาร ขัน้ ตอนการทาํ งานมาคิดวิเคราะหแ ละสรางสรรคใ หเ กิดแผนปฏบิ ตั กิ าร 1.2 D-Do การปฏบิ ตั ิการทํางานตามระบบงานท่ีจัดไวอยางเครงครัด ควบคุมการ ผลติ ใหเ สียหายนอ ยท่ีสดุ ไดผลผลิตออกมามคี ณุ ภาพเปนไปตามขอ กําหนด การทาํ งานตามแบบแผนปฏิบตั กิ าร (D) การทํางานตามแผนปฏิบัตกิ ารของผรู ับผดิ ชอบ ยังใชวงจรเด็มมิ่ง เชนเดียวกัน โดยเริ่มจาก P : ศึกษาเอกสารแผนปฏบิ ตั กิ ารใหเ ขา ใจอยางรอบคอบ D : ทาํ ตามเอกสารข้ันตอนใหเ ปน ไปตามขอ กําหนดทุกประการ C : ขณะปฏบิ ตั กิ ารตองมกี ารตรวจสอบทุกขัน้ ตอนใหเ ปนไปตามขอ กําหนด A : ถา มกี ารทําผดิ ขอ กาํ หนด ตองปฏิบัติการแกไขใหเ ปนไปตามขอกําหนด 1.3 C-Check การตรวจสอบหาขอบกพรองในการทํางานโดยผูปฏิบัติการหา เหตผุ ลของการเกิดขอบกพรองและจดบันทึก การตรวจสอบหาขอบกพรอ ง (C) เปนข้ันตอนที่สําคัญของการปฏิบัติการใชความรู สรางความเขมแข็ง ยั่งยืน โดยมรี ปู แบบการตรวจตดิ ตามขอบกพรองดงั นี้

23 1.4 A-Action การนําขอบกพรองท่ีตรวจพบของคณะผูปฏิบัติการมารวมกันเรียนรู หาแนวทาง แกไขขอบกพรองจนสรุปไดผลแลว นําขอมูลไปปรับปรุงเอกสารคูมือดําเนินงานเปน ระยะ ๆ จะทําใหไดองคความรูสูงข้ึนโดยลําดับ แลวสงผลตอประสิทธิภาพของธุรกิจ ประสบ ผลสําเร็จนําไปสูค วามเขม แข็งยัง่ ยืน การปฏิบัติการแกไ ขและพฒั นา (A) เปนกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาขอบกพรอง และกําหนด แนวทางแกไขขอ บกพรอ งโดยมกี าํ หนดระยะเวลา เมื่อถงึ กําหนดเวลาจะตองมีการติดตามผลวา ไดมีการปฏิบัติการแกไขขอบกพรองตามแนวทางท่ีกําหนดไวหรือไมเกิดผลอยางไร โดยมี ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานดงั น้ี 1. ตรวจตดิ ตามเอกสารสรุปประเมินผลการศึกษา 2. เชญิ คณะผรู ับผิดชอบแกไขขอบกพรองมาประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู เสนอ สภาพปญ หาขอ บกพรอ ง ปจ จยั ท่ีสง ผลตอ ความบกพรองและการแกไ ข 3. ผรู บั ผิดชอบตรวจตดิ ตามและผูร ับผดิ ชอบแกไขขอ บกพรองเขาศึกษาสภาพ จรงิ ของการดําเนินงาน แลวสรุปปจ จัยที่เปน เหตแุ ละปจ จยั สนบั สนุนการแกไข 4. นําขอมูลท่ีไดนําสูการปรับปรุงแกไขพัฒนาเอกสารองคความรู ใหมี ประสิทธภิ าพสูงย่ิงข้นึ

24 ตวั อยาง การใชวงจรเดม็ มิ่ง (PDCA) เปนกรอบการทํางาน “ลุงอินปลูกขาวโพดหวาน ขนาดรองกวาง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหละ 5 รอ งอยา ง ตอเน่ืองไดผลผลิตสัปดาหละ 250 กิโลกรัม ขายใหกับลูกคาประจา มีรายได 2,500 บาท คอ นขางแนนอน แตป น ล้ี ูกเขา เรียนระดับอุดมศึกษา 2 คน จะตองมีรายจายเพ่ิมอีกเดือน ละ 10,000 บาท ลุงอินหาตลาดขาวโพดหวาน ไดลูกคาเพิ่มสามารถรับซ้ือขาวโพดหวานตาม ปริมาณทเ่ี พิ่มข้นึ ไดตามตอ งการ อยูมาไมนานเพ่ือนบานหลายครอบครัวเอาอยางปลูกขาวโพด หวานขาย ทําใหขาวโพดมีปริมาณมาก ราคาตก ลุงอิน เห็นวา เพื่อนบานตางก็ยากจน หากปลอยใหสภาพเหตุการณเปนเชนนี้ก็จะพากันขาดทุน เสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณ ขาวโพดหวานที่ผลิตไดและมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณ สัปดาหละ 3,000 กโิ ลกรัม จึงตัดสนิ ใจไปพบพอ คาขายสงรายใหมตองการขาวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอิน สามารถรวบรวมผลผลิต ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานท่ีตองการและจัดการสงมอบใหได จะรับซือ้ กิโลกรมั ละ 15 บาท ลุงอนิ จงึ เจรจารบั ซ้อื ขาวโพดหวานของเพ่ือนบา นใหราคากโิ ลกรัม ละ 10 บาท หักคาขนสงกิโลกรัมละ 1 บาท ลุงอินไดกําไรกิโลกรัมละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมี รายได 48,000 บาท พอเพียงใชจายดํารงชีวิต สงลูกเรียนได ท่ีดินที่เคยปลูกขาวโพดและวาง เปลา จํานวน 20 ไร ลุงอิน ปลูกไมปาตนยางนา ตนสัก เปนไมโตไวได 2,000 ตน อีก 15 ป ขา งหนา จะสามารถตัดโคนขายไดตนละ 5,000 บาท คาดวา จะไดเ งนิ ประมาณ 10 ลานบาท” จากกรณีตวั อยา งขา งตนจะเหน็ ไดว า การใชวงจรเดม็ ม่ิง (PDCA) เปนกรอบการทาํ งาน ดงั น้ี การจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ าร (P) 1.มกี ารวางแผนการเพาะปลูกขา วโพดใหม ผี ลผลติ ตลอด ท้ังป 2.วางแผนรับซ้ือขา วโพดจากเพอ่ื นบา นเพอื่ ขายตอ 3.มปี ลกู ตน ไมย ืนตนเพือ่ ใหม รี ายไดระยะยาว การทํางานตามแบบแผนปฏบิ ัตกิ าร 1.ลงมือเพาะปลูกขาวโพดตามแผนการเพาะปลกู (D) 2.รบั ซือ้ ขาวโพดจากเพ่อื นบานเพื่อนาํ ไปขายตอ 3.ปลกู ตน ไมยืนตน เพือ่ ใหมรี ายไดในอนาคต การตรวจสอบหาขอ บกพรอ ง (C) 1.ปริมาณของขาวโพดทม่ี ากข้นึ 2.ตรวจสอบคุณภาพของขา วโพด

25 การปฏิบัติการแกไ ขและพัฒนา (A) 1.ควบคมุ คุณภาพของขา วโพด 2.ปลกู ตน ไมย ืนตนเพือ่ ประกันความเส่ียงของรายได 2. ทุนทางปญญา ผลจากการนําองคความรูไปใช มีการตรวจสอบหาขอบกพรอง และปฏิบัติการแกไขขอบกพรองเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ืองทําใหองคความรูสูงข้ึนเปนลําดับ จนกลายเปนทุนทางปญ ญาของตนเองหรอื ของชุมชนทีจ่ ะเกดิ ผลตอ ธรุ กจิ ดงั นี้ 2.1 องคความรูสามารถใชสรางผลผลิตท่ีคนอ่ืนไมสามารถเทียบเคียงได และไม สามารถทาํ ตามได จงึ ไดเ ปรยี บทางการแขงขัน 2.2 การเปลย่ี นแปลงยกระดบั คณุ ภาพผลผลติ อยางตอเน่ือง ทําใหลูกคาเช่ือม่ันตอ การทาํ ธรุ กจิ รว มกัน 2.3 เปนการสรางทุนทางมนุษยผูรวมงานไดเรียนรูบริหารระบบธุรกิจดวยตนเอง สามารถเกิดภูมิปญญาในตัวบุคคล ทําใหชุมชนพรอมขยายขอบขายอาชีพออกสูความเปน สากล 3. ธุรกิจสูความเขมแข็งยั่งยืน การจัดการความรูทําใหองคความรูสูงข้ึนโดยลําดับ การขยายของอาชีพจึงเปนการทํางานท่ีมีภูมิคุมกัน โอกาสของความเส่ียงในดานตาง ๆ ตํ่าลง ดงั นัน้ ความนาจะเปนในการขยายอาชีพจึงประสบความสําเร็จคอนขางสูง เพราะมีการจัดการ ความรู ยกระดับความรูนําไปใชและปรับปรุง แกไขเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง จึงสงผลทําให ธรุ กิจเขม แขง็ ยงั่ ยืนได เพราะรจู กั และเขาใจตนเองตลอดเวลา บทสรปุ การขยายขอบขายอาชีพเพื่อสรางความเขมแข็งและย่ังยืนใหกับธุรกิจ จําเปนจะตอง ดําเนนิ งานอยา งเปน ระบบ ไมใชท าํ ไปตามท่ีเคยทํา ดังนนั้ การจัดการความรูเปนเร่ืองสําคัญของ ทุกคนที่ประกอบอาชีพ จะขยายชองทางการประกอบอาชีพออกไป จําเปนตองมีคุณสมบัติ ดังน้ี 1. เปนบุคคลที่ทาํ งานบนฐานขอมูล ซึ่งจะตองใชความรูดานตาง ๆ เขามาบูรณาการ รวมกนั ทัง้ ระบบของอาชพี 2. ตองใชกระบวนการวิจัยเปนเคร่ืองมือ หมายถึง ผูประกอบการตองตระหนักและ เห็นถึงปญหาเพื่อการจัดการความรูหรือใชแกปญหา จัดการทดลอง สรุปองคความรูใหมั่นใจ แลว นําไปขยายกิจกรรมเขาสกู ารขยายขอบขายอาชีพออกไป

26 3. ตองเปนบุคคลท่ีมีความภูมิใจในการถายทอดประสบการณการเรียนรูแลกเปลี่ยน เรยี นรู สรางองคค วามรูใหส ูงสงเปน ทุนทางปญญาของตนเอง ชุมชนได แบบฝกหัด ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ใหผ เู รียนอธบิ ายความจาํ เปนและความเปน ไปไดในการขยายอาชพี พรอมยกตวั อยา ง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหผ เู รียนยกตวั อยา งอาชีพและความเปน ไปไดตามกรอบแนวคิดการขยายอาชีพ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

27 ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................

28 บทท่ี 3 การตัดสนิ ใจเลือกขยายอาชีพ เรอื่ งที่ 1 ภารกจิ เพอ่ื ความมน่ั คงในการทําธรุ กิจ ความมั่นคงในอาชีพเปนเรื่องที่ตองสรางตองทําดวยตนเอง สรางองคความรูสําหรับ ตนเองสูการพ่ึงพาตนเองได และการที่จะสรางความมั่นคงอาชีพ จําเปนตองมีภารกิจเพื่อสราง ความยงั่ ยนื ในอาชีพ อยา งนอ ย 5 ภารกจิ ดงั นี้ 1. บทบาทหนาที่เจาของธุรกิจ มีหนาที่ตองกําหนดทิศทางธุรกิจที่ผูประกอบอาชีพ จะตองกําหนดทิศทางของธุรกิจวา จะดําเนินไปทางไหนเพ่ือใหสอดคลองกับสภาวะทาง เศรษฐกจิ สงั คมทเ่ี ปน อยแู ละจะเกิดข้ึนในอนาคต ตองทาํ 2 กิจกรรม ดงั นี้ 1.1 การกาํ หนดวสิ ยั ทศั น การกําหนดทิศทางของอาชีพท่ีจะเปนไปหรือจะตองการ ใหเกิดขึ้นในอนาคต 3-5 ป ขางหนา ดวยความรอบคอบและมีความเปนไปไดจนมั่นใจ จึงกําหนดเปนขอ ความเปน วิสยั ทศั นทต่ี องการใหเ กดิ กบั อาชพี ตอไป 1.2 การจัดทําแผนพัฒนาอาชีพ เพ่ือใชในการพัฒนาอาชีพใหบรรลุวิสัยทัศนดวย การกําหนดภารกจิ วิเคราะหภารกจิ กําหนดกลยทุ ธส ูค วามสําเร็จ วิเคราะหกลยุทธ กําหนดตัว บงชคี้ วามสําเรจ็ และจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ าร 2. การบริหารทรัพยากรดําเนินการ เปนการจัดการใหเกิดระบบการควบคุมการใช ทรัพยากรใหเกิดความคุมคามากทีส่ ุด ประกอบดว ย 2.1 การวางแผนใชแ รงงานคนและจัดคนใหเหมาะสมกับงาน 2.2 ระบบการควบคมุ วัสดุอุปกรณและปจ จัยการผลติ 2.3 การควบคมุ การเงนิ 3. การบริหารการผลิต เปนการควบคุมการดําเนินงานใหเกิดผล ซ่ึงเก่ียวของกับกิจ กรรมการบริหารอยางนอย 3 กิจกรรม ดังน้ี การควบคุมคนทํางานใหเปนไปตามข้ันตอนท่ี กําหนด การควบคมุ ระยะเวลา การตรวจสอบคดั เลือกผลิตภณั ฑใหม คี ุณภาพ 4. การจัดการสงมอบผลิตภณั ฑ ผูป ระกอบการตองพฒั นาระบบการสงมอบผลผลิตให ถึงมอื ลกู คา ไดตามขอกําหนดในเรื่องตา ง ๆ ดงั นี้

29 4.1 การบรรจุภัณฑเพื่อการปกปอ งผลผลิตไมใหเสียหาย 4.2 การสงสินคามีหลายรูปแบบท่ีจะนําสินคาไปถึงลูกคาไดอยางปลอดภัย สามารถเลอื กวิธีการท่เี อกชนและภาครฐั จัดบรกิ ารใหหรอื จัดสงเอง 4.3 การจัดการเอกสารสงมอบ ใชเพ่ือควบคุมใหทราบถึงผลผลิตที่นําออกไปมี ปริมาณเทา ใดไปถึงลกู คา ดว ยวธิ ีใดและไดร บั หรอื ไม 5. การวิจัยและพัฒนา เปน การดําเนนิ งานใหธ ุรกิจที่ทําอยูใหไดรับความนิยมและกาว ทันตอการเปล่ยี นแปลง ดังน้ี 5.1 ตดิ ตามขอมูลกระแสความนิยมในสนิ คา 5.2 ติดตามประเมนิ เทยี บเคยี งคณุ ภาพผลติ ภณั ฑของคูแขงและสภาวะของตลาด 5.3 ดาํ เนินการวจิ ยั และพัฒนา ดวยการคนควาหาขอมูล สรางองคความรู พัฒนา ผลผลติ ใหอ ยใู นกระแสความนยิ มหรือเปลีย่ นโฉมออกไปสตู ลาด จากสาระความเขาใจภารกิจเพื่อความมั่นคงในอาชีพเปนการนําเสนอแนวคิดที่เปน ธุรกจิ คอ นขา งขนาดใหญ ดงั นั้น ผปู ระกอบการจึงจาํ เปนตอ งคดิ สรา งสรรคเพื่อตนเองวาธุรกิจท่ี ดาํ เนินการจะทําอะไร เทาไรและอยางไร ตัวอยาง ธุรกจิ ไรทนเหนือ่ ย เปน ธุรกจิ ขยายแลวดําเนินการผลิตผักสดผลไมใ นระบบเกษตรอินทรียบนพื้นท่ี 130 ไร ระบบการบริหารจัดการดานตาง ๆ ตองลงมือทําดวยตนเองในครอบครัวเพียง 3 คน ภารกิจ สรางความม่ันคงจะตองคิดสรางสรรคออกแบบใหเหมาะสมกับตนเอง ตัวอยางบทบาทหนาท่ี เจา ของธุรกจิ ซึง่ จะตองกําหนดทศิ ทางและแผนงานดว ยตนเอง ดวยการกําหนดวิสยั ทัศน จัดทํา แผนควบคุมเชงิ กลยุทธและโครงการพัฒนาที่จําเปนและมีพลังทําใหการขับเคลื่อนการทํางาน เขาสแู ละเปนไปตามวิสัยทัศนไ ด ดงั ตวั อยางการคิดสรางสรรคกําหนดทิศทางและแผนงานของ ไรท นเหน่ือย ดังน้ี ตัวอยาง : แผนการควบคุมเชิงกลยุทธ วิสัยทัศน “ป 2551 ไรทนเหน่ือยผลิตผักสด ผลไมอินทรีย เขาสตู ลาดประเทศสิงคโปรได”

30 แผนควบคมุ เชิงกลยุทธ เงื่อนไข ดานการลงทนุ ดา นลกู คา ดา นผลติ ผล ดา นการพฒั นา ตนเอง 1.เปา หมาย 1.1 จัดพ้นื ที่การ 1.1 ผสู งออก 1.1 ผลผลติ ตอ งผา น 1.1 พัฒนา เชงิ กลยุทธ ผลติ ตามแผน ดําเนินการสรา ง การประเมินรบั รอง คนงานในแตละ จาํ นวน 80 ไร ความเช่อื ถือดวย คณุ ภาพจาก ฟารมใหทํางาน การประชาสัมพันธ หนวยงานอาหาร ตามขนั้ ตอนได ทางอินเทอรเน็ต และยาและ ถกู ตอ ง 1.2 จดั สงเสริม สาํ นักงานมาตรฐาน 1.2 การตรวจ การตลาดกับการ เกษตรอินทรียของ ตดิ ตามหา ผลติ ผลตวั เดนในแต ประเทศสงิ คโปร ขอบกพรองใน ละฤดกู าล การทาํ งาน เงอื่ นไข ดานการลงทนุ ดา นลกู คา ดา นผลติ ผล ดา นการพฒั นา ตนเอง 2. ปจ จัย 2.1จัดซื้อรถไถ 2.1 จดั ทาํ สารคดี 2.1 เมล็ดพนั ธุ นําเขา 2.1 เอกสาร ดําเนนิ งาน พรวน เผยแพรค ณุ ภาพ ออแกนิค ขั้นตอนการ ทาํ งานของ ขนาด26 แรงมา ผลผลิตและ 2.2 จลุ นิ ทรีย คนงานแตล คน 2.2 เอกสาร 2.2ซอ้ื ข้ีวัว ราํ ขา ว กระบวนการผลติ อารักขาพชื ระบบการตรวจ ติดตามหา เพ่อื ขยายจลุ ินทรยี  2.3 จุลินทรีย ขอบกพรอง ในรปู แหง ตรึงไนโตรเจนใน 2.3จดั หาและจดั ซื้อ ดิน เมล็ดพันธปุ ยุ พชื สด 2.4 จุลินทรีย สรางฟอสฟอรัส ในดิน

31 3. ตวั บง ชี้ 3.1ดาํ เนนิ การ 3.1 ยอดสงั่ ซ้อื 3.1 ผลการ 3.1 คนงาน ความสาํ เร็จ พัฒนาคุณภาพดนิ เพ่มิ ขึ้นเปน ระยะ ตรวจสอบ ทาํ งานถกู ตอง ได ตามขอกาํ หนดครบ อยางตอเน่ือง คุณภาพและ ไดตามเอกสาร 80 ไร 3.2ภายใน 6 รอบ ความปลอดภยั ขั้นตอนการ การผลิตยกเลกิ การ ใชข วี้ วั ของผลิตผล ทาํ งาน 3.3 เกบ็ เมลด็ พนั ธุ ปยุ พชื สดใชเองได ตรวจสอบผาน อยางพอเพยี ง 4. กจิ กรรม ทุกคร้ังเกี่ยวกับ โครงการท่ี ตอ งทํา (1) สารพษิ (2) ตกคา ง (2) จุลินทรยี  บดู เนา 4.1 กิจกรรม 4.1 โครงการผลิต 4.1 โครงการ รวมมือกบั ผู เมล็ดพันธใุ ชเ อง จดั ทําเอกสาร สงออกและผจู ัด 4.2 โครงการผลิต ขนั้ ตอนการ จําหนายที่ จลุ นิ ทรยี อ ารกั ขา ทํางาน ประเทศสงิ คโปร และบํารงุ พืชเพ่ือ 4.2 โครงการ จดั ทําVDO ใชเ อง ศึกษาจดั ทํา เผยแพรค ณุ ภาพ ระบบการตรวจ ผลผลติ และ ตดิ ตามหา กระบวนการผลิต ขอบกพรองและ ปฏบิ ตั ิการแกไข

32 เร่อื งที่ 2 การวดั และประเมนิ ผลความมนั่ คงในอาชีพ การประเมินความม่ันคงในอาชีพ ผูรับผิดชอบในการวัดและประเมินผลที่ดีที่สุด คือ ตัวผปู ระกอบอาชพี เอง เพราะการวัดและประเมินผลความมน่ั คงในอาชีพ เปนเรื่องที่บูรณาการ สิ่งตา ง ๆ ในตัวของประกอบการอาชพี เอง ต้ังแตการเรียนรูวาตนเองจะทําอยางไร การคิดเห็น คุณคาของกิจกรรมความมั่นคง ความจดจําในกิจกรรมและความรูสึกพอใจตอกิจกรรม เปน เรอื่ งภายในท้งั สิน้ บุคคลอ่ืนไมสามารถรูเทาตัวของผูประกอบอาชีพ ดังนั้น ความม่ันคงใน อาชีพตัวแปรตน เหตุทีส่ าํ คัญ คอื ใจของผูประกอบอาชพี ซงึ่ มหี ลกั การประเมนิ สภาวะของธุรกิจ ประกอบดวย ตวั แปร 4 ตัว ดงั นี้ 1. การรบั รู (วญิ ญาณ) วิธกี ารรับรูท ใ่ี ชศึกษาภารกจิ สรา งความม่นั คง 2. ความคิด (สังขาร) ประเมนิ คณุ คาวา ดหี รือไมด ีของภารกจิ ความม่นั คงที่จะ ดําเนนิ การ 3. จําได หมายรู (สญั ญา) ประเมนิ ความจําวา ตนเองเอาใจใสต อภารกจิ ความมั่นคง มากนอ ยเพยี งใด 4. ความรสู กึ (เวทนา) ประเมินความรสู ึกทต่ี นเองพึงพอใจหรือชอบตอ ภารกิจความ มน่ั คงแบบใด กรอบการประเมินความเปนไปไดใ นการนํากรอบแนวคิดการขยายอาชีพไปใชจริง กรอบแนวคิดในการประเมนิ ความเปน ไปไดดังนี้

33 A B F รปู แบบการ ความยากงายของการ ความเปนไปไดในการนาํ ขยายอาชีพ ดําเนินการขยายอาชีพ กรอบแนวคดิ การขยาย C อาชพี ไปใชจริง การรบั ไดข องลกู คา D การรบั ไดข องสงั คม ชมุ ชน E ความเหมาะสมกบั เทคนคิ วทิ ยาการท่ใี ชในการขยาย อาชีพ จากแผนภูมิดังกลาว แสดงใหเห็นกรอบแนวคิดในการประเมิน ความเปนไปได มอี งคป ระกอบรวมกัน 6 องคป ระกอบ ในแตละองคประกอบมตี วั แปรบง ชี้วดั ดังน้ี 1. รูปแบบการขยายอาชีพ มตี วั แปรรวม ดงั นี้ 1.1 ผลผลติ 1.2 กระบวนการผลติ 1.3 ปจ จัยนําเขาการผลติ 2. ความยากงา ยของการดาํ เนินการจดั การ มีตวั แปรรว ม ดงั น้ี 2.1 การบริหารจดั การ แรงงาน เงินทนุ 2.2 แผนธุรกจิ 3. การรบั ไดของลกู คา มตี ัวแปรรว ม ดังนี้

34 3.1 ผลผลติ อยูในความนิยม 3.2 เปน สงิ่ จําเปนตอชวี ติ 3.3 ราคา 4. การรบั ไดข องสังคมชุมชน มตี วั แปรรวม ดงั นี้ 4.1 สภาพแวดลอม 4.2 วฒั นธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนิควทิ ยาการทีใ่ ชในการขยายอาชีพ 5.1 เทคนคิ วิทยาการเพ่อื การลดตนทุน 5.2 เทคนคิ วทิ ยาการเพอ่ื การลดของเสีย เปา หมายการประเมนิ ผล การประเมินความเปนไปไดในการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชจริง มีเปาหมายท่ีจะ วเิ คราะห ดงั นี้ 1. วเิ คราะหบ ทความสมั พนั ธส อดคลองรับกนั ได ระหวา งองคประกอบ 1.1 ความสมั พนั ธ ระหวา ง AB AC AD AE 1.2 ความสัมพันธ ระหวาง BC BD BE 1.3 ความสัมพันธ ระหวาง CD CE 1.4 ความสัมพันธ ระหวาง DE

35 2. ประเมนิ ตดั สินใจรบั ความเปน ไปได 2.1 ตารางวิเคราะหความสมั พนั ธส อดคลองรับกนั ไดระหวา งองคป ระกอบ AB CD E รปู แบบการ ความยาก การรบั ไดข อง การรับไดของ ความ ขยายอาชีพ งายของการ ลกู คา สังคมชุมชน เหมาะสม -ผลผลติ ดาํ เนินการ -ผลผลติ อยูใน -สภาพแวดลอ ม ของ A -กระบวนการ -การจดั การ ความนยิ ม -วฒั นธรรม เทคโนโลยี รูปแบบการขยาย ผลิต -แผนธรุ กิจ -จําเปน ตอ ชวี ิต ประเพณี -เทคนคิ อาชีพ -ปจจยั นําเขา -ราคา วิทยาการ B AB √ เพ่ือลดตน ทุน ความยากงาย -เทคนคิ ของการดาํ เนนิ การ วิทยาการ C AC √ BC √ เพ่ือลดของ การรับไดข อง เสีย ลกู คา D AD √ BD √ CD √ การรับไดข อง สังคมชมุ ชน E AE √ BE √ CE √ DE ความเหมาะสม ของ เทคโนโลยี

36 2.2 เกณฑการประเมิน 2.2.1 คะแนนระหวาง 1 - 3 คะแนน ถือวา นาํ รปู แบบไปใชไมได 2.2.2 คะแนนระหวาง 4 - 7 คะแนน ถอื วา มีความเปน ไปไดต า่ํ ตอง ทบทวน พฒั นา 2.2.3 คะแนนระหวาง 8 -10 คะแนน ถือวา มีความเปนไปไดในการนําไปใช วิธีการวิเคราะห การวิเคราะหเพ่ือการตัดสินใจ มีความจําเปนที่เจาของธุรกิจจะตองประเมินตัดสินใจ ดวยตนเองสําหรับกรณีที่ธุรกิจมีหุนสวนหรือผูเก่ียวของควรจะใชวิธีสนทนาเจาะลึกและวิธี ความสมั พันธร วมกนั โดยมีวิธกี ารดงั น้ี 1. การวเิ คราะหตัดสินใจตัวบง ช้คี วามสัมพันธระหวางองคประกอบทีละคู ดวยการใช วิจารณญาณของตนเอง นึกคิดในรายละเอียดความสัมพันธความไปกันได และความเปนพวก เดยี วกันวาหนักไปทางมคี วามสมั พันธ 2. การใหคะแนนโดยใหคูองคประกอบท่ีมีความสัมพันธไดคะแนน 1 คะแนน คูที่ไม สัมพันธใ ห 0 คะแนน วิธีการประเมนิ การรวมคะแนนจากองคประกอบการประเมินแตละขอ แลวประเมินสรุปตามเกณฑ การประเมิน เชน 1. แนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสาน มีคูความสัมพันธขององคประกอบการ ประเมินรวมคะแนนได 9 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมจักสาน มคี วามเปน ไปไดใ นการนาํ ไปใชจรงิ 2. แนวทางขยายอาชีพของกลุมเล้ียงปลา มีคูความสัมพันธขององคประกอบการ ประเมนิ รวมคะแนนได 3 คะแนน สามารถอธิบายไดวาแนวทางขยายอาชีพของกลุมเลี้ยงปลา เปน รปู แบบท่มี ีความเปนไปไดตา่ํ มากรปู แบบไมส ามารถนําไปใชได สรุป แนวทางประเมนิ ความเปนไปไดข องการนํารูปแบบขยายอาชีพไปใชเปนรูปแบบที่เนน การใชเหตุผลเปนหลัก ไมใชการหาความสัมพันธเชิงคณิตศาสตร เปนการมองหาเหตุผลดวย วิจารณญาณของตนเอง เพอื่ รบั ผดิ ชอบตนเองและนําตนเองได

37 ตวั อยาง : การวเิ คราะหก ําหนดตัวบงช้ีภายในองคป ระกอบของการประเมนิ A รปู แบบของการขยาย B ความยากงาย C การรบั ได D การรบั ได E ความ เหมาะสมของ อาชีพ ของการบรหิ าร ของลกู คา ของสงั คม เทคนคิ วิทยาการ E1วทิ ยาการลด จัดการ ชมุ ชน ตน ทุน - ไมมมี ลพษิ A1ผลผลติ ผกั สด ผลไมไ ร B1การบริหาร C1 อยูใน D1 - มีเสียงรบกวน E2วทิ ยาการลด สารพิษ จัดการ ความนยิ ม สภาพแวดลอ ม ของเสีย - ไมทาํ ใหแ หลง A2กระบวนการผลิต - ใชแ รงงานทองถน่ิ -เปนอาหาร -ตอ งไมม ีกลน่ิ น้ําเนา เสีย - สง่ิ ปฏิกลู ตองมี - สรา งความสมดลุ ใน - เพิม่ ทนุ จากสว น สขุ ภาพ รบกวน การบาํ บัด แปลงเกษตร แบง รายไดร อ ยละ -เปน อาหารไร -อากาศตอง - ไมใชป ุย เคมี แตใชปยุ 10 สารพษิ สะอาด พชื สด - ปจ จัยการผลติ ที่ C2เปน ปลอดภยั ไร - ไมใ ชส ารพษิ ฆาแมลง เนน การพงึ่ พา ส่งิ จําเปน ตอ สารพษิ แตใ ชก ารจดั การโดยชวี ปจจยั ภายนอกให ชวี ติ -เกือ้ กูล วิธี นอ ยทสี่ ดุ -ผกั ผลไมตอ ง ธรรมชาติ A3ปจ จัยการผลิต - ระบบจดั การใช รบั ประทาน แวดลอม - เมล็ดพนั ธุออแกนคิ วิธกี ารทํางานตาม ทกุ วนั D2วฒั นธรรม - เมลด็ พนั ธปุ ุย ขน้ั ตอนทีร่ ะบุไวใ น C3ราคา ประเพณี พชื สดออแกนิค เอกสารอยา ง -สามารถซอ้ื -ไมกระทบกบั - จลุ นิ ทรียคุณภาพจาก เครงครดั รับประทาน ศีลธรรม กรมวิชาการเกษตรและ B2แผนธรุ กจิ เองไดอ ยาง -ไมกระทบตอ กรมพัฒนาท่ีดนิ - ตลาดนาํ การผลติ ตอ เน่ือง จารีตประเพณี - กาํ หนดสาขาที่ ลูกคามีพลังซื้อกนิ ไดอยางตอ เนือ่ ง

38 ตวั อยา ง : การวิเคราะหค วามสัมพนั ธท ีเ่ ก่ียวของระหวางตวั แปรภายในของรปู แบบการ ขยายอาชพี กบั การรบั ไดข องสงั คม ชุมชน A รูปแบบการขยาย D การรบั ไดของ เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชพี สังคม ชุมชน 1. กระบวนการผลติ มคี วามสัมพันธ อินทรียเปนระบบท่ี ระหวางAD A1ผลผลติ D1 สภาพแวดลอม เปนมติ รกับ ส่งิ แวดลอม - ผักสด ผลไม ไร ของชุมชนไมตองการ 2. การปลูกผัก ผลไม เปน ธรุ กจิ ไมผ ิด สารพษิ กล่นิ รบกวน อากาศ ศีลธรรมการบาํ รุงพชื ใชปยุ พืชสดเปนสิ่งท่ี A2กระบวนการผลิต ตองสะอาดไมมีฝนุ สะอาด ไมใชอจุ จาระ ของคนซง่ึ ผิดจารีต ดวยการสรา งความ ละอองปลอดภยั จาก ความรสู ึกของคนใน ชมุ ชน สมดลุ ของแปลงเกษตร สารพษิ และเกอ้ื กูล ทีใ่ ชป ุย พืชสดแทน ธรรมชาติแวดลอม ปยุ เคมีและใชการ D2 วัฒนธรรม จัดการกบั แมลงโดยใช ประเพณีของชมุ ชน ชวี วธิ แี ทนการใช ยึดมัน่ ในศีลธรรม สารพิษ จารตี ประเพณที ่มี มี า A3 ปจจัยการผลติ ใช เมลด็ ผักจากระบบออ แกนิค ใชจลุ ินทรีย คุณภาพจากกรม วชิ าการเกษตรและ กรมพัฒนาทด่ี ิน

39 ตัวอยา ง : การวิเคราะหค วามสมั พันธท ี่เกี่ยวของระหวา งตัวแปรภายในของรปู แบบการ ขยายอาชีพกบั การรบั ไดข องลกู คา Aรูปแบบการขยาย D การรับไดข อง เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชีพ ลกู คา A1ผลผลติ C1 อยใู นความนยิ ม 1.ผกั สด ผลไมไ ร มคี วามสมั พนั ธ - ผกั สด ผลไม ไร เปน อาหารสขุ ภาพ สารพิษอยูในความ ระหวา งAC สารพิษ เปนอาหารไรสารพิษ นิยมเปน สิ่งจําเปน ตอ A2กระบวนการผลิต C2 เปนสิ่งจําเปน ตอ ชวี ิตตอ งรับประทาน ดว ยการสรางความ ชวี ิตตอ งรับประทาน ทกุ วนั สมดุลของแปลง ทุกวนั อยางปลอดภยั 2.กระบวนการผลิต เกษตรทใ่ี ชป ุยพชื สด C3 ราคา ยืนยนั ใหเห็นวา เปน แทนปยุ เคมีและใช -สามารถรบั ประทาน ระบบท่ที ําใหผักสด การจัดการกับแมลง ไดอ ยางปลอดภัย ผลไมมีคณุ ภาพ ไร โดยใชช วี วิธีแทนการ สารพษิ ใชสารพษิ Aรปู แบบการขยาย D การรบั ไดของ เหตผุ ล ผลการวิเคราะห อาชีพ ชุมชน A3 ปจ จัยการผลิตใช เมลด็ ผกั จากระบบ ออแกนคิ ใช จุลนิ ทรยี ค ุณภาพจาก กรมวชิ าการเกษตร และกรมพัฒนาที่ดิน

40 เรอ่ื งที่ 3 การตดั สินใจขยายอาชพี ดว ยการวิเคราะหศกั ยภาพ การสรา งความม่นั คงยงิ่ ขน้ึ ผูประกอบการควรพจิ ารณาวิเคราะหศกั ยภาพในการขยาย อาชพี 5 ดา น ดังนี้ 1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตล ะพน้ื ท่ี 2. ศักยภาพของพืน้ ที่ตามลักษณะภูมอิ ากาศ 3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทําเลท่ีต้งั ของแตละพื้นที่ 4. ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ีชีวติ ของแตละพื้นที่ 5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยในแตละพืน้ ที่ 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตละพ้นื ที่ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถ นาํ ไปใชใ หเกดิ ประโยชนต อชวี ติ ประจําวนั และการประกอบอาชีพ ทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแก ปา ไม แมนํา้ ลาํ คลอง อากาศ แรธ าตตุ าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดท่ีใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษย สามารถสรางทดแทนขึ้นใหมได การขยายอาชีพตองพิจารณาวาทรัพยากรท่ีจะตองนํามาใชในการขยายอาชีพใน พ้ืนที่มีหรือไมมีเพียงพอหรือไม ถาไมมีผูประกอบการตองพิจารณาใหมวาจะขยายอาชีพที่ ตัดสินใจเลือกไวห รอื ไมหรอื พอจะจัดหาไดในพ้ืนท่ีใกลเคียง ซ่ึงผูประกอบการตองเสียคาขนสง คุมคา กบั การลงทุนหรือไม เชน ตดั สนิ ใจจะขยายอาชีพจากเดิมเล้ยี งสุกร 100 ตัว ตองการเลี้ยง เพ่ิมเปน 200 ตัว ซึ่งเพิ่มอีกเทาตัวจะตองพิจารณาวาอาหารสุกรหาไดในพ้ืนที่หรือไม เชน รํา ขาวในพ้นื ทมี่ ีพอเพยี งทจี่ ะเล้ียงสุกรท่ีเพ่ิมขนึ้ หรอื ไม 2. ศกั ยภาพของพน้ื ท่ตี ามลกั ษณะภูมิอากาศ แตละพื้นท่ีจะมีลักษณะภูมิอากาศแตกตางกัน เชน ภาคกลางอากาศรอน ภาคใต ฝนตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพ ภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน ในพ้ืนท่ีมีการปลูกลิ้นจ่ี ลําไยอยูแลวและมีผลผลิตออกมากใน ฤดูกาล ทําใหราคาตกตํ่าตองการแปรรูปใหเปนลําไยตากแหง เพ่ือใหไดราคาดี ดังนั้น ตอง พิจารณาวา ในชว งน้นั มีแสงแดดพอเพียงที่จะตากลําไยไดหรอื ไม

41 3. ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศและทาํ เลท่ีต้ังของแตล ะพ้นื ที่ สภาพภมู ปิ ระเทศและทําเลที่ต้ังของแตละพ้ืนที่จะแตกตางกนั เชน เปนภูเขา เปนท่ี ราบสูง ท่ีราบลุมแตละพื้นท่ีตองพิจารณาวาแหลงทองเที่ยวแหงใหมในภูมิประเทศนั้น ๆ สามารถดงึ ดูดนักทอ งเท่ียวไดหรือไม หรือตองการขยายสาขารานกาแฟสดไปอีกสถานท่ีหนึ่งก็ ตอ งพจิ ารณาทาํ เลทต่ี ั้งแหงใหมว าจะขายกาแฟไดหรือไม 4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวิถีชีวติ ของแตละพนื้ ที่ ประเทศไทยและตางประเทศมีศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่แตกตางกัน ดังนนั้ แตละพ้นื ทีส่ ามารถนาํ เอาส่ิงเหลาน้ีมาใชเปนอาชีพได เชน เปนสถานที่ทองเที่ยวเขาชม ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีพ้ืนบานหรือพาชมวิถีชีวิตอาจจะขยายอาชีพโดยเพิ่มจํานวนรอบท่ี เขา ชมใหพ อเพียงกับตลาดเปาหมาย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตล ะพื้นที่ ทรัพยากรมนุษยใ นแตละพ้ืนท่ี หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยที่เปนภูมิ ปญญาท้ังในอดีตจนถึงปจจุบัน ดานการประกอบอาชีพตาง ๆ ในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ เมื่ออาชีพนั้นมี ความมั่นคงในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ แลว อาจจะขยายไปพ้ืนที่อ่ืน ๆ การกระจายความสามารถของ ทรัพยากรมนษุ ยก ็สามารถทําไดโ ดยการอบรมผูสนใจ ในความรนู นั้ ๆ ใหสามารถนาํ ไปขยายยัง พ้นื ทอ่ี น่ื ๆ ได

42 แบบฝกหัด ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอไปน้ี 1. จากการทผ่ี เู รยี นไดศกึ ษาบทที่ 3 การตดั สนิ ใจขยายอาชีพควรมอี งคประกอบในการตดั สินใจ กอี่ งคป ระกอบ ผูเรยี นสามารถนาํ ไปใชตัดสนิ ใจไดอ ยางไรจงอธิบาย ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. เพอ่ื เปนการสรา งความม่ันคงย่งิ ขน้ึ ผปู ระกอบการควรพจิ ารณาการตดั สินใจขยายอาชีพดวย การวิเคราะหศักยภาพในการขยายอาชีพกี่ดาน จงอธิบายยกตัวอยางการตัดสินใจขยาย อาชพี ของทานทีส่ อดคลองมา 1 ตัวอยาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................

43 เฉลยแบบฝกหัด บทท่ี 1 1. ใหผเู รยี นอธิบายความสําคญั และความจาํ เปนในการขยายอาชพี ความสําคัญและความจําเปนในการขยายอาชีพ เนื่องมาจากความเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นและสงผลกระทบตอกัน ในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม สงผลให เกดิ อาชีพใหมท ีส่ รา งรายได และสรางความเขมแขง็ ในอาชพี ได 2. ใหผเู รียนอธิบายลักษณะการขยายอาชีพดานเกษตรกรรม พรอ มยกตัวอยา ง การขยายอาชพี ดานเกษตรกรรม เปนการนําองคความรูใหม ๆ เทคโนโลยี นวัตกรรม พัฒนาใหสอดคลองกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ทําเล ทต่ี ้ัง รวมถงึ ศลิ ปวัฒนธรรม ประเพณี และวิถี ชวี ติ ในแตล ะพ้นื ที่ เชน อาชีพเกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เปนตน 3. ใหผูเ รยี นอธบิ ายลักษณะการขยายอาชีพดา นพาณิชยกรรม พรอมยกตัวอยา ง การขยายอาชีพดานพาณิชยกรรม เปนการนําวิธีการตาง ๆ เพ่ือตอบสนองความ ตองการของผูบริโภคในยุคปจจุบัน เชน การขายสินคาในระบบออนไลน หนาเว็บไซตตาง ๆ หนาเฟซบคุ หนา อนิ สตารแ กรม อนิ เทอรเนต็ แบงคก ้งิ 4. ใหผูเรยี นบอกขอ ดีของการขยายอาชพี ดานความคิดสรางสรรค การขยายอาชีพดานความคิดสรางสรรคทําใหผูผลิตเกิดการแขงขันในดานความคิด สติปญญา ในการผลิตสินคาในดานรูปลักษณ ทําใหสินคาดูมีราคานาใช และผูบริโภคมี ทางเลือกในการซือ้ สนิ คาไดมากย่ิงขึ้นตรงตามความตองการ ในราคาทีย่ ุตธิ รรม

44 5. ใหผเู รยี นบอกคณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดําริ มาอยางนอย 5 ขอ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี เชน การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดําริ ดังนี้ 1. มคี วามรู ความสามารถ 6. มีความจริงใจและมีสจั จะ 2. รจู กั การประยกุ ตใช 7. มีวินยั 3. คดิ อยา งรอบคอบ 8. สรา งสรรคแ ละพฒั นา 4. ใชปญญา 9. วางแผนในการทาํ งานสํารวม 5. มสี ตแิ ละสงบ 6. การซ้อื สินคาผานระบบออนไลนเปน การอนุรกั ษท รพั ยากรหรือไม อยา งไร การซื้อสินคาผานระบบออนไลนเปนการอนุรักษทรัพยากร เน่ืองจากเปนการ ประหยัดเวลาและคาใชจายในการเดินทางของผูซื้อ ประหยัดทรัพยากรในการดําเนินกิจการ ของผผู ลิต เชน นํา้ มนั ไฟฟา นํา้ กระดาษ เปนตน บทที่ 2 1. ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายความจําเปน และความเปน ไปไดในการขยายอาชพี พรอ มยกตัวอยา ง ในการประกอบอาชีพ การมองเห็นชองทางการประกอบอาชีพกอนคนอ่ืน จะทําให ประสบความสําเร็จไดกอ น ประกอบดว ยสงิ่ ตา ง ๆ ดังน้ี 1. ความชํานาญในงานทท่ี ํา 2. ความชอบ ความสนใจของตัวเอง 3. การฟงความคิดเห็นจากแหลงตา ง ๆ แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กับบุคคลผูที่ประสบ ความสาํ เร็จ 4. การศกึ ษาคนควา จากแหลง ตา ง ๆ เชน สือ่ ส่งิ พิมพ สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส ส่ือออนไลน 5. ขอ มูล สถิติ รายงาน ขาวสารจากหนว ยราชการและเอกชน

45 ตัวอยา งการขยายอาชพี นางมาลี เปนพนกั งานตดั เยบ็ เสื้อผา ที่โรงงานเอ เปน เวลากวา 10 ป จากประสบการณ การเปนพนักงานตัดเย็บเสื้อผา จึงไดลาออกเพ่ือเปดรานตัดเย็บเสื้อผาของตนเอง ท่ีบานเกิด ของตนเอง 2. ใหผเู รยี นยกตัวอยางอาชีพและความเปนไปไดตามกรอบแนวคดิ การขยายอาชพี อาชพี รานกาแฟเดลิเวอรี่ อธิบายกรอบแนวคิดความเปนไปไดใ นการขยายอาชีพ ดังน้ี 1. รูปแบบการขยายอาชีพ การบริการสงกาแฟเดลิเวอร่ี โดยผูซื้อสามารถโทรศัพท สัง่ ซื้อ หรอื สัง่ ออนไลน ผา นทางแอพพลิเคชน่ั เชน เฟซบุก ไลน เปน ตน 2. ความยากงายของการดําเนนิ การจัดการ เนื่องจากปจจุบันผูบริโภคมีความนิยมด่ืม ชา กาแฟ เปนจาํ นวนมาก และรานกาแฟก็มีจาํ นวนมากเชน กัน วิธีการบริการเดลิเวอร่ี สงถึงที่ จงึ เปน ทางเลอื กทด่ี สี าํ หรับผูบรโิ ภค โดยเฉพาะผทู ี่ทํางานในสํานักงานตางๆ ที่มีปริมาณการซ้ือ จาํ นวนมาก จงึ เปน ชองทางในการจาํ หนายท่ีดี กาแฟเดลิเวอร่ี จัดสงเคร่อื งด่ืม ชา กาแฟ และเบ เกอรี่ ใหกับลูกคาถึงท่ี โดยผูซ้ือสามารถโทรศัพทส่ังซื้อ หรือ ส่ังซื้อออนไลน ผานทาง แอพพลเิ คชน่ั เชน เฟซบุก ไลน เปนตน นอกจากนี้ยังรับจดั อาหารวา ง ในการจดั ประชมุ อกี ดว ย 3. การรับไดของลูกคา ในปจ จุบันผูบริโภคมีความนิยมดื่ม ชา กาแฟ เปนจํานวนมาก เครื่องดื่มบริการสงถึงท่ี กาแฟเดลิเวอร่ี จึงการตอบความตองการของผูบริโภค เพราะไมตอง เสยี เวลามาท่ีรานกาแฟเอง ประหยดั เวลา คาใชจ ายในการเดนิ ทาง ราคาทเี่ หมาะสมกบั สนิ คา 4. การรับไดของสังคมชุมชน กาแฟเดลิเวอร่ี ไมสงผลกระทบตอสังคมชุมชน และยัง สรา งรายไดใ หแ กช มุ ชน เชน คนสงกาแฟ คนทาํ ขนมเบเกอรี่ เปน ตน 5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการที่ใชในการขยายอาชีพ กาแฟเดลิเวอร่ี มีการ ใชส่ือเทคโนโลยี โดยผูซื้อสามารถโทรศัพทสั่งซื้อ หรือ ส่ังซ้ือออนไลน ผานทางแอพพลิเคช่ัน เชน เฟซบกุ ไลน เปน ตน ดังนัน้ อาชพี กาแฟเดลเิ วอรี่ จึงเปนอาชีพทม่ี ีความเปนไปไดในการขยายอาชีพ เพราะ มีการบริการที่อํานวยความสะดวกใหแกผูบริโภค เพ่ือใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจในสินคา และบรกิ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook