Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.คู่มือแนวทางขับเคลื่อน-PLC

3.คู่มือแนวทางขับเคลื่อน-PLC

Published by Ton Kao, 2018-07-21 02:40:43

Description: 3.คู่มือแนวทางขับเคลื่อน-PLC

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity : PLC) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาจากแนวคิดการพัฒนาครูของกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงาน ก.ค.ศ. ไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน เพ่ือใหการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนไปอยางมีระบบ มีความตอเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการไดนําหลักการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพPLC (Professional Learning Community) มาใชในการพัฒนาครู เพราะครูเปนปจจัยหนึ่งที่มีสวนเก่ยี วขอ งกับคณุ ภาพทางการศกึ ษาซง่ึ แนวคดิ ของการอบรม PLC คือ การนําคนมาอยูรวมกัน เกิดการเรยี นรู และแบงปน ความรูก นั ระหวางผูเ ขา รว มอบรม จนกระท่ังเกิดการสะทอนความคิดในดานตาง ๆทีจ่ ะเปน แนวทางการพฒั นา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษาในฐานะท่ีเปนหนวยงานในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีบทบาทหนาท่ีสําคัญในการสงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศม่ันคงกาวหนาในวิชาชีพ ตลอดจนพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ.กําหนด สํานักพัฒนาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา จงึ จดั ทาํ “แนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา” สําหรับเผยแพรใหแกวิทยาลัยในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสามารถนาํ ไปสกู ารปฏบิ ตั ิ เพ่อื ดา นการพัฒนาผูเรยี น ทั้งดา นความรู สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงคตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ เพอื่ บรรลุเปา หมายพฒั นาผเู รยี นระดบั อาชีวศึกษาตอ ไป สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ขสารบัญคาํ นํา กสารบัญ ขสารบัญภาพ จบทสรปุ ผูบรหิ าร ฉบทที่ 1 บทนาํ 1 ความเปน มาและความสาํ คัญ 1 วตั ถปุ ระสงค 2 เปา หมาย 3บทที่ 2 ชมุ ชนการเรียนรูท างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) 4 ในการพัฒนาครูเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นอาชีวศึกษา 1. แผนการพัฒนาอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 5 2. นโยบายเนนสงเสริมใหผ ูเ รียนอาชีวะมคี ุณสมบัติหรือทักษะทส่ี ําคญั คือ3R และ 8C 7 3. กฎ ระเบียบ การนําชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC) มาใชในการปฏบิ ตั หิ นาที่ 8 ของครสู ายงานการสอน 4. ความหมายของชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 8 5. วัตถุประสงคของชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC) 9 6. ความเชือ่ ของชมุ ชนการเรยี นรูท างวชิ าชพี (PLC) 9 7. หลกั การของชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC) 9 8. องคประกอบสําคัญของชุมชนการเรยี นรูทางวชิ าชีพ (PLC) 9 9. การแบง ระดับของชมุ ชนการเรยี นรูทางวิชาชพี (PLC) 10 10. กระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) 11 11. ประโยชนการพัฒนาครูดว ยกระบวนการชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชพี (PLC) 14 12. บทบาทผบู ริหารในกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 15

ค13. บทบาทครใู นกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) 1514. เทคนคิ หรือเคล็ดลบั ท่ีจาํ เปนในการเสรมิ กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู 16 ทางวิชาชพี (PLC)บทท่ี 3 ชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 17ในสถานศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา1. ดา นการบริหารจัดการกระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษาประกอบดวย 181) แตง ต้งั คณะกรรมการขับเคลือ่ นกระบวนการ PLC สถานศกึ ษา 182) ประชมุ คณะกรรมการกาํ หนดปฏิทนิ การดาํ เนนิ งาน 183) สรา งความรูค วามเขาใจ 184) สงเสริมสนับสนุน กาํ กบั ติดตาม และรายงานผล 182. ดานการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) ของครูในสถานศึกษา 19ขนั้ ตอนที่ 1 การรวมกลุม ชมุ ชนแหง การเรยี นรูท างวชิ าชพี (PLC) 19ข้ันตอนท่ี 2 วิเคราะหแ ละระบปุ ญ หา /ส่ิงที่ตองการพัฒนา 20ขนั้ ตอนที่ 3 ออกแบบและจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู /กจิ กรรม /นวตั กรรม 21ขน้ั ตอนที่ 4 วิพากษ แลกเปล่ียนเรียนรู และปรบั ปรุงแกไข 21ข้นั ตอนที่ 5 จัดการเรยี นรู /กิจกรรม /นวัตกรรม 22ขั้นตอนท่ี 6 ประเมนิ ผล/ สะทอนการจดั การเรยี นรู /กิจกรรม /นวตั กรรม 23ข้ันตอนที่ 7 สรุปเผยแพรแ ผนการจดั การเรยี นรู /กิจกรรม /นวัตกรรม 25บทท่ี 4 การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) 28 4.1 สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 28 4.2 สาํ นักพัฒนาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชีวศึกษา 28 4.3 สถาบันการอาชีวศึกษา/อาชวี ศึกษาจังหวดั 29 4.4 สถานศึกษา 29บรรณานุกรม 33ภาคผนวก 34ภาคผนวก ก ตวั อยา งแบบคําสัง่ แตงตัง้ คณะกรรมการขบั เคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรู 36

งทางวชิ าชพี (PLC) ในสถานศึกษาตัวอยา งปฏิทินการดําเนินงานชมุ ชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) 37ตัวอยางประกาศจัดตง้ั กลุมชุมชนการเรยี นการทางวิชาชีพ (PLC) 38ภาคผนวก ข ตัวอยางและรูปแบบการดําเนนิ การกระบวนการ (PLC) 39- แบบคาํ รองขอจดั ตัง้ กลุมชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) 40- แบบบันทกึ การคนหาปญหา 41- บันทึกแนวทางแกปญหา 42- แผนปฏบิ ตั ิการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (Professional Learning 43Community Action Plan: PLC-AP)- แบบเขียนแผนการสอน 44- ตวั อยางแบบประเด็นการแลกเปลยี่ นเสนอแนะเพื่อการนาํ เสนอแผนการสอน 46- แบบสังเกตการสอน 47- บันทกึ หลังการสอน 48- ตัวอยา งประเด็นการสะทอนผลการสอน /ฝก ปฏิบตั ิ /กจิ กรรม 49- แบบสรุปการดาํ เนินการงาน รปู แบบ/วิธกี าร/กจิ กรรม (สาํ หรบั ผสู งั เกตการสอน) 51- แนวทางการเขียนแผนการดําเนินงาน PLC สําหรบั 3 วงรอบ 52- ตวั อยางรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรดู ว ยกระบวนการเรยี นรู 54ทางวิชาชีพภาคผนวก ค แบบประเมนิ โครงการ/กิจกรรม 64- แบบประเมินโครงการ/กิจกรรมท่ีดาํ เนินการผานกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู 65ทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา- แบบประเมินกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC) ในสถานศึกษา 70สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา- แบบประเมนิ ตดิ ตามการปฏิบตั งิ านตามกระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี 73(PLC) ในสถานศึกษา สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภาคผนวก ง คณะทาํ งานจดั ทาํ แนวทางการขบั เคลอ่ื นกระบวนการชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ 76(Professional Learning Community : PLC)

จ สารบัญภาพ ฌ ฎแผนภาพที่ 1 ขั้นตอนการดําเนนิ การกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (PLC) ในสถานศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 31แผนภาพที่ 2 แนวทางขบั เคลื่อนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูท างวิชาชพี (Professional Learning Community :PLC) ของสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาแผนภาพท่ี 3 บทบาทหนาท่แี นวทางการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC )

บทสรุปผูบ รหิ าร “อาชีวะสรางชาติ” เปนเปาหมายสําคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพเปนไปตามมาตรฐานสากล สอดคลองกับการพัฒนาความสามารถในการแขงขันของประเทศ และการศึกษาไทยในยุคไทยแลนด 4.0 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในฐานะเปนผูนําในการจัดการศึกษาในสายอาชีพจึงเปนพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศโดยจัดการศึกษาสายอาชีพใหหลากหลาย เพียงพอตอความตองการของตลาดแรงงาน รวมทั้งพัฒนาการศึกษาใหมีมาตรฐานการที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะ ซึ่งฟนเฟองสําคัญคือ “ครู”ท่ีจําเปนตองเปล่ียนบทบาทจาก “ครูสอน” (teacher) ไปเปน “ครูฝก” (coach) หรือ “ผูอํานวยความสะดวกในการเรียนร”ู (learning facilitator) เปน “ครูเพื่อศิษย” ท่ีตองเรียนรูทักษะในการทําหนาท่ีนี้ โดยรวมตัวกันเปนกลุมเพื่อเรียนรูรวมกันอยางเปนระบบและตอเน่ือง เพื่อใหเกิดองคความรูใหมๆ มีความเขาใจเทคนิคการสอน มีการอบรมและพัฒนาใหมีความกาวหนาในวิชาชีพ มีการสรางเครือขายความรวมมือในทุกภาคสวนเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การฝกอบรมวิชาชีพการวิจัย การสรางนวัตกรรม โดยรวมตัวกันเปนกลุมเพื่อเรียนรูรวมกันอยางเปนระบบและตอเน่ืองตามแนวทางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning community: PLC) ท่ีเกิดจากครูผบู รหิ าร นักการศึกษาในสถานศึกษามารวมตัว รวมใจ รวมพลัง รวมมือกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายในการพัฒนาการเรียนรู สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน ซึ่งสอดคลองกับสํานักงานก.ค.ศ. ตอ งการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ครูผสู อนสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ มีความสามารถมีสมรรถนะทเี่ หมาะสม กาํ หนดใหมีการสงเสริมสนับสนุนใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอน จึงไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ (ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/ว 21ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560) โดยกําหนดใหค รูทตี่ อ งการมีและเลื่อนวิทยฐานะในช่ัวโมงปฏิบัติงานตองมชี ่วั โมงการมีรว มสวนในชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี ในแตละปไมนอยกวา 50 ช่ัวโมง นอกจากน้ีตามหลักเกณฑและวธิ ีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ตามหนังสือสาํ นักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7 /ว 22 ลงวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2560) ครูตองเขารับการพัฒนาโดยการเขารับการฝกอบรม ในหลักสูตรท่ีสถาบันคุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือที่ ก.ค.ศ.รับรอง ตอเน่ืองทุกป โดยในแตละป ไมนอยกวา 12 – 20 ช่ัวโมง และภายในระยะเวลา 5 ป ตองมีชั่วโมงพัฒนา จํานวน 100 ช่ัวโมง แตหากภายในระยะเวลา 5 ป ชั่วโมงในการพัฒนาไมครบ 100 ช่ัวโมง

ชสามารถนําช่ัวโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:PLC) สวนที่เกนิ 50 ชัว่ โมงในแตละป มานบั รวมเปนจํานวนช่ัวโมงการพัฒนาได สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศกึ ษา ไดตั้งแตงคณะกรรมการดําเนินการกําหนดแนวทางการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพ่ือรวมกันจัดทําแนวทางขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning community: PLC)สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจ รูปแบบ วิธีการ และประโยชนของชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity: PLC) สถานศึกษาสามารถออกแบบกระบวนการการดําเนินการ การนิเทศ การกํากับติดตาม การประเมินผล ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาได โดยรวมกันจัดประชุมระดมความคิดเห็นวิเคราะห วิพากษ และ เรียบเรียงผลการประชุมจากการแบงกลุมยอยในหัวขอตามกระบวน PLCจัดทําแนวทางการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity: PLC) สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือใหผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจ รูปแบบ วิธีการ ประโยชนของ (PLC) สามารถออกแบบกระบวนการดําเนินการการนิเทศ กํากบั ตดิ ตาม การประเมินผล ตลอดจนนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ไปสกู ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษาได สรปุ สาระสาํ คญั แบง เปน 4 บท และภาคผนวก ดังนี้ บทท่ี 1 ประกอบดวย ความเปนมาและความสําคัญ วัตถุประสงค เปาหมายการพัฒนาครูเพื่อใหบรรลุเปาหมายพัฒนาการเรียนรู สมรรถนะและคุณลักษณะของผูเรียนดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) บทท่ี 2 การดําเนนิ การชมุ ชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community:PLC) การพัฒนาครูเพื่อการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษา เปนนวัตกรรมหนึ่งในการพัฒนาครูเพื่อใหครูเปนครูเพื่อศิษย โดยครู ผูบริหาร นักการศึกษาในสถานศึกษามารวมตัว รวมใจ รวมพลังรว มมือกัน เพื่อใหบรรลุเปา หมายคอื พฒั นาการเรียนรู สมรรถนะและคุณลักษณะของผูเรียน โดยผานกระบวนการตามข้ันตอนคือ การสรางทีม ระบุปญหาหรือกําหนดเปาหมายในการพัฒนา ออกแบบการจดั การเรยี นรูและเขียนแผนการจัดการเรียนรเู พอ่ื ใหบ รรลุเปาหมาย วพิ ากษแ ผนการจดั การเรียนรูอยางกัลยาณมิตร จัดการเรียนการสอนโดยมีทีมรวมสังเกตการสอน และมีการสะทอนผลการสอนเพื่อการเสนอแนะและปรับปรุงตอไป สาระความรูพื้นฐานประกอบการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในการพัฒนาครูเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพผเู รียนอาชีวศกึ ษา สรุป ดงั น้ี

ซ 1. แผนการพัฒนาอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2560 – 2579 2. นโยบายเนนสง เสรมิ ใหผูเรยี นอาชีวะมีคุณสมบตั ิหรือทักษะที่สําคัญ คือ3R และ 8C 3. กฎ ระเบียบ ในการใหนําชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใชในการปฏิบัติหนา ทีข่ องครูสายงานการสอน 4. ความหมายของชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) 5. วัตถปุ ระสงคของชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC) 6. ประโยชนการพฒั นาครูดว ยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) 7. ความเชือ่ ของชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี (PLC) 8. หลกั การของชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC) 9. องคป ระกอบสําคญั ของชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 10. กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) 11. บทบาทผบู รหิ ารในกระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 12. บทบาทครใู นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (PLC) 13. เทคนิคหรือเคล็ดลับท่ีจําเปนในการเสริมกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC)บทที่ 3 การดาํ เนนิ การกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูบริหารสถานศึกษาและครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษา มีขั้นตอนในการดําเนินการ ประกอบดว ยขน้ั ตอนตาง ๆประกอบดวย 1. ดา นการบรหิ ารจดั การกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา 1) แตง ตัง้ คณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการ PLC สถานศกึ ษา 2) ประชุมคณะกรรมการกาํ หนดปฏิทนิ การดําเนินงาน 3) สรางความรูความเขาใจ 4) สง เสริมสนับสนนุ กาํ กับติดตาม และรายงานผล 2. ดานการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของครูในสถานศึกษาประกอบดว ย 7 ข้นั ตอน ดังนี้ 1) การรวมกลมุ ชุมชนแหง การเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) 2) วิเคราะหและระบุปญ หา /สิ่งท่ตี อ งการพฒั นา

ฌ 3) ออกแบบและจดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรู /กจิ กรรม /นวัตกรรม 4) วิพากษ แลกเปลี่ยนเรียนรู และปรบั ปรุงแกไข 5) จดั การเรยี นรู /กจิ กรรม /นวัตกรรม 6) ประเมนิ ผล/ สะทอ นการจัดการเรยี นรู /กิจกรรม /นวตั กรรม 7) สรปุ เผยแพรแผนการจัดการเรยี นรู /กจิ กรรม /นวัตกรรม กระบวนการในแตละขั้นตอนตองดําเนินการบันทึก (Logbook) การดําเนินการชุมชนการเรียนรูวิชาชีพ (PLC) ตั้งแตขั้นที่ 1 – 7 ซึ่งสามารถใชแบบบันทึกกิจกรรมในภาคผนวกหรือสามารถออกแบบการบันทึกไดเอง เพื่อใหมีหลักฐานตรวจสอบได ไมเกินหนึ่งหนา อาจนําเสนอทาง Google Classroom Line หรือ Facebook เอกสารหลักฐาน หรือรูปแบบอ่ืนๆ พรอมทั้งบันทึกในระบบท่ีกําหนดเพ่ือนําไปเชื่อมโยงกับการจัดทําหลักฐานในการขอมีและเล่ือนวิทยฐานะการดําเนนิ การแตล ะข้นั ตอนตามกระบวนการชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC)ในบทท่ี 3 นี้สามารถยืดหยุนไดตามบริบทของสถานศึกษา แตควรคํานึงถึงการรวมมือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู การสังเกตและการสะทอน การดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของครูในสถานศึกษาสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา สามารถสรุปเปน แผนภาพขน้ั ตอนไดดงั นี้

ญการบริหารจดั การ PLC การดําเนนิ การ PLCของผูบ รหิ ารสถานศึกษา ของครูแตง ตง้ั คณะกรรมการ รวมกลุม PLCและขอจัดตง้ั กลมุ ประชุมคณะกรรมการ วเิ คราะห/ สง่ิ ทต่ี องการพฒั นา เร่ิม PLCสรางความรคู วามเขา ใจ ออกแบบและจดั ทําแผนการ วงรอบที่ จดั การเรยี นรู/ กจิ กรรม/ 2 และ สง เสรมิ สนบั สนนุ วงรอบ จดั การเรยี นรู /กจิ กรรม 3กํากับ ติดตาม ประเมินผล /นวัตกรรมในหองเรยี นจริง ตอไป และรายงาน จนครบ ประเมินผล/ สะทอนการ วงรอบ จดั การเรยี นรู/กจิ กรรม/ ท่ี กําหนด แลว จึง สรปุ ผลการจดั การเรยี นร/ู กิจกรรม/นวตั กรรม และ แผนภาพท่ี 1 : ข้ันตอนการดาํ เนินการกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) ในสถานศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา บทที่ 4 การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) การสนับสนุนสงเสริมใหครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใชเพ่ือศึกษาหาทางแกปญหาการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพผูเรียน หรือเพ่ือสรางนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมไดตลอดไปอยางยั่งยืนและตอเน่ือง พรอมท้ังเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงไดกําหนดบทบาทหนาที่ของหนวยงานและสถานศึกษาในการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ประกอบดวยระดับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศกึ ษา ระดบั สถาบนั การอาชีวศึกษา/อาชีวศึกษาจังหวัด และระดับสถานศึกษา รวมถึงเครื่องมือในการประเมินผลการขับเคล่ือนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ไดแก แบบประเมินโครงการท่ีดําเนินการผานกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการ

ฎอาชีวศกึ ษา และแบบประเมนิ กระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคผนวก แบงออกเปน 4 ภาคผนวก ประกอบดว ย ภาคผนวก ก ประกอบดวย ตัวอยางแบบคําส่ังแตงต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา ตัวอยางปฏิทินการดําเนินงานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา เพื่อใหผูบริหารสถานศึกษา และครูสามารถนํากระบวนการชุมชน การเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ไปสูการปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษาได และตัวอยางประกอบการดําเนนิ การกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ในสถานศกึ ษา ในบทท่ี 3 ดา นการบรหิ ารจัดการกระบวนการชุมชนการเรยี นรูท างวิชาชพี (PLC) ภาคผนวก ข ประกอบดวย แบบคํารอ งขอจัดต้ังกลมุ ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) แบบบันทึกการคนหาปญหา บันทึกแนวทางแกปญหา แผนปฏิบัติการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community Action Plan: PLC-AP) แบบเขียนแผนการสอนตัวอยางแบบประเด็นการแลกเปล่ียนเสนอแนะเพ่ือการนําเสนอแผนการสอน/กิจกรรมการสอนแบบสังเกตการสอน บันทึกหลังการสอน ตัวอยางประเด็นการสะทอนผลการสอนฝกปฏิบัติ/กิจกรรมแนวทางการเขียนแผนการดําเนินงาน PLC สําหรับ 3 วงรอบ และตัวอยางรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูดวยกระบวนการเรียนรูทางวิชาชีพเพื่อใชเปนตัวอยางประกอบการดําเนินการกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษา ในบทท่ี 3 ภาคผวนวก ค ประกอบดวย แบบประเมินโครงการ/กิจกรรมท่ีดําเนินการผานกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา แบบประเมินกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา เพื่อใชเคร่ืองมือในการประเมินผลการขับเคลื่อนชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (PLC) ในบทท่ี 4 ภาคผนวก ง คณะทํางานขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการกาอาชีวศึกษา แนวทางขบั เคลื่อนกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงเปนนโยบายสําคัญประการหนึ่งของสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา นํากระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity: PLC) ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษา เกิดการพัฒนาครูอาชีวศึกษาดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) หรือทําใหครูเปนครูเพื่อศิษยที่แทจริง สงผลใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เขารับการพัฒนา (PLC) อยางเปนระบบตอเนื่องทุกป สามารถจัดการเรียน

ฏการสอนอยางมีประสิทธิภาพ แกปญหาผูเรียนและพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนอยางยั่งยืนมีความสามารถ มีสมรรถนะที่เหมาะสมกับตลาดแรงงาน ตลอดจนสามารถนําผลท่ีผานการพัฒนาไปใชเปนคุณสมบัติไปประกอบเพ่ือขอมีวิทยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของครูผูสอนไดอยา งตอเนื่อง แนวทางขบั เคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (Professional LearningCommunity : PLC) ของสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สามารถสรุปเปนแผนภาพขั้นตอนไดด ังนี้ แผนภาพที่ 2 : แนวทางขบั เคล่อื นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูท างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

บทท่ี 1 บทนําความเปน มาและความสาํ คัญ “อาชีวะสรางชาติ” เปนเปาหมายสําคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาใหมีคุณภาพเปนไปตามมาตรฐานสากล สอดคลองกับการพัฒนาความสามารถในการแขงขันของประเทศและการศึกษาไทยในยุคไทยแลนด 4.0 การพัฒนาผูเรียนอาชีวศึกษาใหสอดคลองกับประเทศไทยในยุคไทยแลนด 4.0 นั้น จะตองพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะดานฝมือ ทักษะการจัดการและทักษะสําคญั ในศตวรรษท่ี 21 เชน ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ ทักษะในการแกปญหาทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม ทักษะดานการส่ือสาร สารสนเทศ และรูเทาทันสื่อทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน ทักษะดานคอมพิวเตอร ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู และท่ีสําคัญย่ิงคือ ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรมสอดคลองกับวัตถุประสงคแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ.2560 – 2579 ท่ีวา “ผูสําเร็จการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวชิ าชพี มคี ณุ ธรรม คุณภาพ สอดคลอ งกับความตองการในการพฒั นาประเทศ” การพฒั นาผเู รียนใหม ีทักษะดงั กลาวนนั้ ควรเสรมิ สรางองคความรูใหมๆ มีความเขาใจเทคนิคการสอน มีการอบรมและพัฒนาใหมีความกาวหนาในวิชาชีพ มีการสรางเครือขายความรวมมือในทุกภาคสว นเพอ่ื พฒั นาการจัดการเรียนการสอน การฝกอบรมวิชาชีพการวิจัย การสรางนวัตกรรม ใหแกครผู ูส อนกอนเปน ลาํ ดับแรก จงึ จาํ เปน ตอ งเปล่ยี นบทบาทจาก “ครูสอน” (teacher) ไปเปน “ครูฝก”(coach) หรือ “ผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู” (learning facilitator) เปน “ครูเพ่ือศิษย”และตองเรียนรูทักษะในการทําหนาที่น้ี โดยรวมตัวกันเปนกลุมเพ่ือเรียนรูรวมกันอยางเปนระบบและตอเนื่องตามแนวทางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning community: PLC) ซ่ึงเปนกระบวนการพัฒนาผูเรียน โดยกลุมบุคคลท่ีมารวมตัวกัน เพื่อทํางานรวมกัน โดยการวางเปาหมายการเรียนรู และการตรวจสอบ สะทอนผลการปฏิบัติงานท้ังในสวนบุคคล และผลที่เกิดขึ้น โดยผานกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู การวิพากษวิจารณ การทํางานรวมกัน พรอมท่ีจะพัฒนาผูเรียนอยูเสมอ ซ่ึงครูผูสอนสามารถใชแนวทางชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) เปนนวตั กรรมการพฒั นาวิชาชพี ครู เพ่ือยกระดบั ทักษะและความรขู องครู โดยเริ่มจากเปาหมายที่ตองการพัฒนา กําหนดตัวชี้วัด ดําเนินการข้ันตอน สรุปและประเมินตัวช้ีวัดตามเปาหมาย กอใหเกิดความรูสามารถจัดการเรียนการสอนดวยความมั่นใจและเช่ือม่ันท่ีจะมุงม่ันพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนอยางแทจริง ซ่ึงสอดคลองกับการพัฒนาครูของ สํานักงาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ

216ทีต่ อ งการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา พฒั นาผูเรยี นใหมีคุณภาพมีความสามารถ มีสมรรถนะท่ีเหมาะสมไดตามเจตนารมณยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ กําหนดใหมีการสงเสริมสนับสนุนใหขาราชการครูและบุคลาการทางการศึกษา สายงานการสอน ไดรับการสั่งสมความชํานาญและมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองและสงเสริมใหครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ จึงได16กําหนด16หลักเกณฑและวธิ กี ารใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3 /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560) กําหนดใหครูท่ีตองการขอมีและเล่ือนวิทยฐานะ ในชั่วโมงปฏิบัติงานตองมีชั่วโมงการมีรวมสวนในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในแตละป ไมนอยกวา 50 ชั่วโมง นอกจากนี้ตาม16หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (16ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.7 /ว 22 ลงวันที่5 กรกฎาคม 2560)16 16 กําหนดให16ครูตองเขารับการพัฒนาโดยเขาฝกอบรมในหลักสูตที่สถาบันคุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือที่ ก.ค.ศ. รับรอง ตอเนื่องทุกป โดยในแตละป ไมนอยกวา 12 –20 ชั่วโมง และภายในระยะเวลา 5 ป ตองมีช่ัวโมงพัฒนา จํานวน 100 ชั่วโมง แตหากภายในระยะเวลา 5 ป ชั่วโมงในการพัฒนาไมครบ 100 ช่ัวโมง สามารถนําชั่วโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) สวนท่ีเกิน 50 ชั่วโมงในแตละป มานับรวมเปนจาํ นวนชัว่ โมงการพัฒนาได ดังนั้น การพัฒนาครูดวยกระบวนการชุมชนการเรียนเรียนรูทางวิชาชีพ (ProfessionalLearning Community: PLC) จงึ เปน นโยบายสาํ คัญของสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และเปนนวัตกรรมหนึ่งในการพัฒนาครู ผูบริหารสถานศึกษาและครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาอยางเปนระบบตอ เนอื่ งทุกป สงผลใหเกิดการพัฒนาครใู หเ ปนครูเพ่ือศิษยท่ีแทจริง คุณภาพการศึกษาพัฒนาอยางยั่งยืน และครูสามารถนําผลการพัฒนาตนเองดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ไปใชเปนคุณสมบัติประกอบเพื่อขอมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีของครูไดตามทหี่ ลักเกณฑทีส่ ํานักงาน ก.ค.ศ.วัตถปุ ระสงค 1. เพื่อใหผูบริหารและครูมีความรูความเขาใจ รูปแบบ วิธีการ และประโยชนของชุมชนการเรยี นรูท างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) 2. เพ่ือเปนแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในสถานศึกษาสามารถออกแบบกระบวนการดําเนนิ การ การนิเทศ กํากับติดตาม การประเมินผล

3 3. เพ่ือใหผูบริหารสถานศึกษาและครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) ไปสกู ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษาไดเปาหมาย 1. สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีแผนและแนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) สูการปฏิบัติจริงในสถานศึกษาอยา งมีประสทิ ธิภาพ 2. ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสามารถนิเทศ ติดตามการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (ProfessionalLearning Community: PLC) ในสถานศกึ ษาไดต ามแผนทกี่ ําหนด 3. ผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสังกัด สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีรูปแบบการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity : PLC) และการจัดการเรียนการสอนตามรปู แบบของอาชีวศึกษา

บทท่ี 2 ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ในการพฒั นาครูเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนอาชีวศึกษา ชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เปนนวัตกรรมหน่ึงในการพัฒนาครู เพื่อใหครูเปนครูเพ่ือศิษย โดยครู ผูบริหาร นักการศึกษาในสถานศึกษามารวมตัว รวมใจรวมพลงั รวมมอื กัน เพ่อื ใหบ รรลุเปาหมายคือพัฒนาการเรียนรู สมรรถนะและคุณลักษณะของผูเรียนโดยผานกระบวนการตามขั้นตอนคือ การสรางทีม ระบุปญหาหรือกําหนดเปาหมายในการพัฒนาออกแบบการจัดการเรียนรูและเขียนแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือใหบรรลุเปาหมาย วิพากษแผนการจัดการเรียนรูอยางกัลยาณมิตร จัดการเรียนการสอนโดยมีทีมรวมสังเกตการสอน และมีการสะทอนผลการสอนเพื่อการเสนอแนะและปรับปรุงตอไป ดังที่ เซงเก (Senge, 2006) ไดกลาววา ชุมชนแหงการเรียนรู หมายถึง กลุมสมาชิกในสถาบันการศึกษาท่ีมีการทํางานเปนทีม และเรียนรูเปนทีมคิดเปนระบบ และมีรูปแบบการคิด การกระจายอํานาจและการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม มีการทดลองการเรยี นรูอยูเ สมอ และมวี ฒั นธรรมสนับสนนุ การเรียนรู การพัฒนาครูดว ยใชแนวทาง ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มีเปาหมายยกระดับคุณภาพการศึกษาใหดีข้ึน ดวยการปฏิรูปการเรียนรูผานกระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชพี โดยการพัฒนาครใู หม ศี ักยภาพการจดั การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนอยางมีประสิทธิภาพ ใชแนวคิดตอบสนองตอความจําเปนของครูในแตละสถานศึกษาอยา งแทจริง กระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)เปน เครอ่ื งมือสาํ หรบั ใหครรู วมตัวกัน (เปนชุมชน – Community) ทําหนาที่เปน Change Agentขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงในระดับ “ปฏิรูป” การเรียนรู เปนการปฏิรูปท่ี“เกิดจากภายใน” คือครูรวมกันดําเนินการ เพ่ือใหการปฏิรูปการเรียนรูดําเนินคูขนาน และเสริมแรงกัน ทั้งจากภายใน และจากภายนอก เพื่อรวมกันสรางการเปลี่ยนแปลงใหแกการศึกษา รวมทั้งสรางการรวมตัวกันของครูเพื่อทํางานสรางสรรค ไดแก การเอาประสบการณ การจัดการเรียนรูในรูปแบบตางๆ และนวัตกรรมอ่ืนๆ ท่ีตนเองทดลอง เอามาแลกเปลี่ยนแบงปนกัน เกิดการสรางความรู หรือยกระดับความรูในการทําหนาที่ครูจากประสบการณ ตรง และจากการเทียบเคียงกับทฤษฎีที่มีคนศึกษาและเผยแพรไวเปนเคร่ืองมือ โดยลงมือทํา ครูแตละคนลงมือศึกษา 21st Century Skills,21st Century Learning,

521st Century Teaching, PBL, PLC แลวลงมือทํา ทําแลวทบทวนการเรียนรูจากผลที่เกิด(Reflection) และรวมกบั เพือ่ นครเู กดิ เปน “ชุมชนเรยี นรคู รูเพ่ือศิษย” (ศ.นพ.วจิ ารณ พานชิ ,2559) การพัฒนาครูดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) จึงเปนเหมือนทางเลือกและทางสําคัญท่ีจะชวยปลดปลอยคืนพ้ืนท่ีปฏิบัติงานและการเรียนรูจริงใหชุมชนครูไดทําหนาท่ีครูเพื่อศิษย อยางเต็มท่ี โดยลดอํานาจการแทรกแซงจากนอกพ้ืนที่ รวมถึงการใหความสําคัญกับการกระจายอํานาจลงสูหนวยยอ ยใหทําหนา ที่ของตนเองอยา งรบั ผดิ ชอบภายใตอุดมการณทางวิชาชีพ ครูเพ่ือศิษยรวมกัน ครูเกิดวุฒิภาวะความเปนครูเพื่อศิษยและใชความรักในวิชาชีพ ขับเคล่ือนตนเองมากกวาการเปนครูผถู กู กระทาํ (วจิ ารณ พาณชิ , 2554) การพฒั นาครดู ว ยกิจกรรม PLC ไมใชการเพิ่มภาระแกครู แตตรงกันขาม ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชวยเพ่ิมพูนศักดิ์ศรีของความเปนครูเพ่ือพงุ เปาของ PLC ไปท่ีการเรียนรขู องผเู รียน สาระความรูพ ้นื ฐานประกอบการดําเนนิ การชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (PLC) ในการพัฒนาครูเพอ่ื การพฒั นาคุณภาพผูเรยี นอาชีวศึกษา สรุป ดงั นี้ 1. แผนการพัฒนาอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 2. นโยบายเนน สงเสริมใหผเู รยี นอาชีวะมีคณุ สมบตั ิหรอื ทักษะท่ีสําคญั คอื 3R และ 8C 3. กฎ ระเบียบ การนําชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใชในการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอน 4. ความหมายของชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) 5. วัตถุประสงคข องชมุ ชนการเรยี นรูท างวชิ าชีพ (PLC) 6. ความเชอ่ื ของชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) 7. หลักการของชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) 8. องคประกอบสําคญั ของชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) 9. การแบง ระดบั ของชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC) 10. กระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) 11. ประโยชนการพัฒนาครดู วยกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) 12. บทบาทผบู ริหารในกระบวนการชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC) 13. บทบาทครใู นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชีพ (PLC)

6 14. เทคนคิ หรือเคล็ดลับที่จําเปน ในการเสริมกระบวนการชุมชนแหง การเรยี นรูทางวิชาชพี (PLC)1. แผนการพฒั นาอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2560 – 2579 แนวคดิ การจัดการอาชวี ศกึ ษา การจัดการอาชีวศึกษาเปนการจัดการศึกษาในดานวิชาชีพ เพื่อผลิตและพัฒนากําลังคนในระดับฝมือ (ปวช.) ระดับเทคนิค (ปวส.) ระดับเทคโนโลยี (ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ) และการฝกอบรมวิชาชพี ซงึ่ เปนการเพ่ิมพนู ความรูและทักษะอาชีพระยะส้ันและระยะยาวท่ีมีความสัมพันธสอดคลองกับปรัชญาการอาชีวศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติ และมาตรฐานการอาชวี ศึกษาในแตระดับ คา นิยมอาชวี ศกึ ษา ใ น ก า ร จั ด ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า มี ค า นิ ย ม ที่ เ ป น เ ป า ห ม า ย ห ลั ก ใ น ก า ร ป ลู ก ฝ ง ท่ี สํ า คั ญ4 ประการ ไดแก คุณธรรม (Merit) คุณภาพ (Quality) ความรวมมือ (Collaboration) ความเปนมืออาชพี (Professional) วสิ ยั ทศั น แผนพฒั นาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ไดกําหนดวิสัยทัศนที่เปนความคาดหวังตามเจตนารมณข องการจดั การอาชวี ศึกษา ไวด งั นี้ “ผูสําเร็จการอาชีวศึกษาและฝกอบรมวิชาชีพ มีคุณธรรม คุณภาพ สอดคลองกับความตอ งการในการพัฒนาประเทศ” พนั ธกิจ เพื่อใหการจัดการอาชีวศึกษาบรรลุผลตามวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว จึงมีภารกิจที่ตองดําเนินการดงั นี้ 1. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตและพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพสอดคลองกับความตอ งการของสถานประกอบการและการประกอบอาชพี อสิ ระใหม ีคุณภาพไดมาตรฐานในระดับสากล 2. ขยายโอกาสการศกึ ษาวชิ าชีพใหกบั ประชาชนทกุ ชวงวัย 3. เพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการอาชีวศึกษาภายใตห ลักธรรมาภิบาลโดยอาศัยเครือขายความรว มมือจากทุกภาคสวน 4. พัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และสรางองคความรูเพื่อการจัดอาชีวศึกษาและพฒั นาวิชาชพี 5. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรอาชีวศกึ ษาใหมีคณุ ภาพดว ยวธิ ีท่หี ลากหลาย วัตถุประสงค แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 - 2579 ไดกําหนดวัตถุประสงค เพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดการอาชวี ศกึ ษา ดงั น้ี

7 1. เพ่ือผลิตและพัฒนากาํ ลังคนดานวิชาชพี ใหมีคณุ ธรรม คณุ ภาพ และความเปน มอื อาชพี 2. เพ่อื เพ่ิมโอกาสการศกึ ษาวชิ าชพี กับประชาชนทุกชวงวยั 3. เพ่อื นําหลกั ธรรมาภบิ าลมาใชในการบริหารจัดการอาชวี ศกึ ษา 4. เพื่อพฒั นางานวิจัย ส่งิ ประดษิ ฐ นวัตกรรม เทคโนโลยี และองคความรูอาชีวศึกษา 5. เพือ่ พฒั นาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชวี ศึกษาใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี เปา หมายดานคุณภาพของผสู าํ เรจ็ การศกึ ษา การพั ฒนาการอาชี ว ศึ กษาตามแผนพั ฒนาการอาชี ว ศึ กษา พ.ศ. 2560–2579มเี ปา หมายเพ่ือผลิตและพัฒนาผูเรียนและผูสําเร็จการศึกษา มีคณุ ภาพครอบคลุมอยางนอย 3 ดา น ไดแก 1. ดานคุณลักษณท่ีพึงประสงค ไดแก คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรมลกั ษณะนิสยั และทกั ษะทางปญ ญา 2. ดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ไดแก ความรูและทักษะการส่ือสารการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรูและการปฏิบัติงาน การทํางานรวมกับผูอื่น การใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การประยกุ ตใ ช ตัวเลข การจดั การและการพัฒนางาน 3. ดานสมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรูและทักษะในสาขาวชิ าชพี สกู ารปฏิบัตจิ รงิ รวมทัง้ ประยกุ ตสอู าชพี2. นโยบายเนน สง เสริมใหผ ูเ รยี นอาชวี ะมคี ณุ สมบัตหิ รือทกั ษะทส่ี าํ คญั คือ 3R และ 8C นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ใหอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและภาคเอกชนวางแผนการยกระดับคุณภาพวิชาชีพรวมกัน แนวทางการพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษานั้นเปนเร่ืองสําคัญมากดังจะเห็นไดจากประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกใหความสําคัญกับการผลิตกําลังคนท่ีมีคุณภาพและตรงกับความตองการของประเทศ โดยสงเสริมใหผูเรียนและนักศึกษามีคุณสมบัติหรือทักษะที่สําคัญ คือ 3Rและ 8C ไดแ ก 3R คอื • Reading – อานออก • (W)Riting – เขียนได • (A)Rithmatic – มที ักษะในการคํานวณ 8C คือ

8 • Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห การคิดอยาง มีวิจารณญาณ และแกไขปญ หาได • Creativity and Innovation : คดิ อยางสรางสรรค คิดเชงิ นวัตกรรม • Collaboration Teamwork and Leadership : ความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผนู าํ • Communication Information and Media Literacy : ทักษะในการสื่อสาร และ การรูเทาทันสอ่ื • Cross-cultural Understanding : ความเขาใจความแตกตางทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดขา มวัฒนธรรม • Computing and ICT Literacy : ทักษะการใชคอมพิวเตอร และการรูเทาทัน เทคโนโลยี ซึ่งเยาวชนในยุคปจจุบันมีความสามารถดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี อยางมากหรือเปน Native Digital สวนคนรุนเกาหรือผูสูงอายุเปรียบเสมือนเปน Immigrant Digital แตเ ราตอ งไมอายที่จะเรยี นรูแ มวา จะสูงอายุแลวก็ตาม • Career and Learning Skills : ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู • Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเปนคุณลักษณะพ้ืนฐาน สาํ คญั ของทกั ษะขน้ั ตน ท้งั หมด และเปนคณุ ลกั ษณะท่เี ดก็ ไทยจาํ เปนตองมี3. กฎ ระเบียบ การนาํ ชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) มาใชในการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอน 3.1 หลักเกณฑและวธิ กี ารใหขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตําแหนง ครูมีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) กําหนด16หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3 /ว 21 ลงวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560) เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา สามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ มีความสามารถ มีสมรรถนะที่เหมาะสมไดต ามเจตนารมณต ามยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาประเทศ แผนการศึกษาแหงชาติ สมควรกําหนดใหมีการสงเสริมสนับสนุนใหขาราชการครแู ละบุคลาการทางการศึกษา สายงานการสอน ไดรับการส่ังสมความชํานาญและมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง และ

9สงเสริมใหค รปู ระพฤตติ นเปนแบบอยางที่ดี มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยในหลกั เกณฑแ ละวิธีการไดกําหนดใหครูที่ตองการมีและเลื่อนวิทยฐานะตองมีชั่วโมงปฏิบัติงานตามที่ก.ค.ศ. กําหนด และในชวงปฏิบัติงานตองมีชั่วโมงการมีรวมสวนในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพในแตละปไมน อยกวา 50 ชัว่ โมง 3.2 หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) กําหนดหลักเกณฑและวธิ ีการพัฒนาขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (16ตามหนังสือสํานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.7 /ว 22 ลงวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 256016) ครูตองเขารับการพัฒนาโดยการเขา รับการฝกอบรมในหลักสูตท่สี ถาบันครุ พุ ฒั นารบั รองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือที่ ก.ค.ศ. รับรองตอเน่ืองทุกป โดยในแตละป ไมนอยกวา 12 – 20 ช่ัวโมง และภายในระยะเวลา 5 ป ตองมีช่ัวโมงพัฒนา จํานวน 100 ช่ัวโมง แตหากภายในระยะเวลา 5 ป ช่ัวโมงในการพัฒนาไมครบ 100 ช่ัวโมงสามารถนําช่ัวโมงการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional LearningCommunity: PLC) สว นทเ่ี กนิ 50 ช่ัวโมงในแตล ะป นับรวมเปน จาํ นวนช่ัวโมงการพฒั นาได4. ความหมายของชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) หมายถึง การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง รว มทํา และรวมเรยี นรูรว มกนั ของครู ผบู รหิ าร และนักการศึกษา บนพื้นฐานวัฒนธรรมความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร สูคุณภาพการจัดการเรียนรูท่ีเนนความสําเร็จหรือประสทิ ธผิ ลของผเู รยี นเปนสําคญั และความสขุ ของการทํางานรว มกนั ของสมาชิกในชมุ ชน5. วตั ถุประสงคของชมุ ชนการเรียนรูท างวชิ าชพี (PLC) 1) เพ่ือเปน เคร่ืองมือทชี่ ว ยใหการแลกเปลยี่ นเรียนรมู ปี ระสิทธิภาพ 2) เพ่ือใหเกิดการรว มมือ รวมพลังของทุกฝายในการพัฒนาการเรียนการสอนสูคณุ ภาพของผเู รยี น 3) เพ่ือใหเ กดิ การพัฒนาวิชาชีพครูดวยการพัฒนาผูเรียนชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ(Professional Learning Community : PLC) ถือวาทุกคนคือคนเช่ียวชาญในงานนั้น จึงเรียนรรู วมกันได6. ความเชื่อของชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC)

10 1) ยอมรับวาการสอนและการปฏิบัตงิ านของครู มผี ลตอ การเรยี นรขู องผเู รียน 2) ยอมรบั หลักการทีว่ า การเรยี นรขู องครู คอื การเรียนรขู องผเู รียน 3) ยอมรับวา ครูมีความแตกตางกัน 4) ยอมรับวา การสอนบางครั้งตอ งอาศัยความรวมมือ รวมใจ และสัมพนั ธภาพแบบกัลยาณมิตร7. หลักการของชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) หลักการของชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี มี 3 หลกั การใหญ ดังน้ี หลักการที่ 1 มั่นใจวาผูเรียนมีการเรียนรู (A focus on learning) เปนแกนของการศึกษาอยางมีรูปแบบไมใชแนใจวาผูเรียนไดรับการสอนเทาน้ัน แตตองม่ันใจวาผูเรียนเรียนรู เปนการยายจุดเนนจากการสอนมาที่การเรียนรูและใหความมั่นใจในความสําเร็จของผูเรียนแตละคน ไมใชเปนเพียงคาํ พดู เทาน้ันแตส ามารถแสดงออกทางปฏิบตั ิไดด วย หลักการท่ี 2 วัฒนธรรมแหงการรวมมือ (A culture of collaboration) เปนการสรางคุณคา ความเช่ือ ความไววางใจในเพื่อนรวมงานในการทํางานรวมกัน เพ่ือทําใหการทํางานมีประสทิ ธิผลมากยิ่งข้ึน เพ่ือแกปญ หาทเี่ กดิ ขึน้ จากการเรียนการสอน หลกั การท่ี 3 เนน ทผ่ี ลลัพธ (A focus of results) คอื ผเู รยี นมีการเรยี นรมู ากขน้ึ8. องคป ระกอบสําคญั ของชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) 1) ตอ งมวี ิสยั ทศั นร วมกนั (Shared Vision) หมายถึง มีเปาหมาย ทิศทางเดียวกัน มุงสูการพัฒนาการเรยี นการสอนสคู ณุ ภาพผเู รียน 2) รวมแรง รวมใจ และรวมมือ (Collaborative Teamwork) หมายถึง ตองเปดใจ รับฟงเสนอวิธีการ นาํ สกู ารปฏิบัตแิ ละประเมนิ รว มกัน Open เปด ใจรับและให Care และ Share 3) ภาวะผูนํารวม (Shared Leadership) หมายถึง การทํา PLC ตองมีผูนําและผูตามในการแลกเปล่ียนเรียนรู 4) กัลยาณมิตร (Caring Community) หมายถึง เปนเพ่ือนรวมวิชาชีพ เติมเต็มสวนที่ขาดของแตละคน 5) ตองปรับเปล่ียนวัฒนธรรมองคกร (Supportive Structure) หมายถึง ตองเนนการทํางานท่ีเปดโอกาสการทํางาน ท่ีชวยเหลือกนั มากกวา การสัง่ การ มีช่ัวโมงพูดคุย

119. การแบงระดับของชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) PLC สามารถแบงระดบั ได 3 ระดับ คอื ระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เครือขา ย และระดบั ชาติโดยแตละลักษณะจะแบง ตามระดับของความเปน PLC ยอย ดังน้ี 1. ระดับสถานศึกษา (School Level) คือ PLC ที่ขับ เคล่ือนในบริบทสถานศึกษา หรือโรงเรยี น สามารถแบง ได 3 ระดับ ยอย (Sergiovanni, 1994) คอื 1.1 ระดบั ผูเรยี น (Student Level) ซ่ึงผูเ รียน จะไดร ับการสง เสรมิ และรว มมือใหเกิดการเรียนรูข นึ้ จากครแู ละเพ่ือนผเู รยี นอ่ืนใหท ํากิจกรรมเพื่อแสวงหาคาํ ตอบท่ีสมเหตุสมผล สําหรับตนผูเรียนจะไดร ับการพฒั นาทกั ษะท่ีสําคญั คือ ทักษะ การเรียนรู 1.2 ระดับผูประกอบวิชาชีพ (Professional Level) ประกอบดวยครูผูสอนและผูบริหารของโรงเรียน โดยใชฐานของ “ชุมชนแหงวิชาชีพ” เช่ือมโยงกับการเรียนรูของชุมชน จึงเรียกว า“ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ” ซึ่งเปนกลไกสําคัญอยางย่ิงที่ทุกคนในโรงเรียนรวมกันพิจารณาทบทวนเรื่องนโยบาย การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการตางๆ ของโรงเรียนใหมอีกคร้ัง โดยยึดหลักในการปรับปรุงแกไขสิ่งเหลานี้ เพ่ือใหสามารถบริการดานการเรียนรูแกผูเรียนไดอยางมีประสิทธผิ ล อีกทง้ั เพอ่ื ใหการปรับปรุงแกไขดงั กลาว นํามาสูการสนับสนุนการปฏิบัติ งานวิชาชีพของครูผูสอน และผูบริหารใหมีคุณภาพและประสิทธิผล สูงยิ่งขึ้น มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมของการทํางานทดี่ ี ตอกนั ของทกุ ฝา ย 1.3 ระดบั การเรยี นรขู องชมุ ชน (Learning Community Level) ครอบคลุมถึงผูปกครองสมาชกิ ชุมชนและผูนําชุมชน โดยบคุ คลกลมุ นจ้ี ําเปน ตองมสี ว นเขา มารวมสราง และผลักดัน วิสัยทัศนของโรงเรยี นใหบรรลุผลตามเปาหมาย กลาวคือ ผูปกครอง ผูเรียน ผูอาวุโสในชุมชนตลอดจนสถาบันตางๆ ของชุมชนเหลานี้ ตองมีสวนรวมในการสงเสริมเปาหมายการเรียนรูของชุมชนและ โรงเรียนกลาวคือ ผูปกครองมีสวนรวมทางการศึกษาไดโดยการให การดูแลแนะนําการเรียนท่ีบานของผูเรียนรวมท้ังใหการ สนับสนุนแกครู และผูบริหารสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู ใหแกบุตรหลานของตนผอู าวุโสในชุมชนสามารถเปนอาสาสมัคร ถา ยทอดความรู 2. ระดับกลุมเครือขาย (Network Level) คือ PLC ที่ขับเคล่ือนในลักษณะการรวมตัวกันของกลุมวิชาชีพจากองคกร หรือหนวยงานตางๆ ท่ีมุงม่ันรวมกันสรางชุมชน เครือขาย ภายใตวัตถุประสงครวม คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู สงเสริม สนับสนุน ใหกําลังใจ สรางความสัมพันธและ

12พัฒนาวิชาชีพรว มกนั อาจมี เปา หมายท่เี ปนแนวคิดรวมกันอยางชดั เจน เพ่ือรวมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอน หลักสตู รการสอนเฉพาะ สามารถแบงได 2 ลักษณะ คอื 2.1 กลุมเครือขายความรวมมือระหวางสถาบัน คือ การตกลงรวมมือกันในการพัฒนาวชิ าชพี ครรู ะหวา งสถาบัน โดยมองวาการรว มมือกนั ของสถาบนั ตา งๆ จะทําใหเกิดพลังการ ขับเคลื่อนการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาชีพ การแลกเปลี่ยน หรือรวมลงทุนดานทรัพยากร และการเกื้อหนุนเปนกัลยาณมิตร คอยสะทอนการเรียนรูซ่ึงกันและกัน กรณีตัวอยางเชน กรณี ศึกษาการจัด PLCเปนกลุมของโรงเรียนในประเทศสิงคโปร เพื่อรวมพัฒนาแลกเปลี่ยนและสะทอนรวมกันทางวิชาชีพเปนตน 2.2 กลมุ เครือขายความรว มมือของสมาชกิ วิชาชีพครู คอื การจัดพ้นื ท่เี ปดกวา งใหสมาชกิวิชาชีพครูท่ีมีอุดมการณรวมกันในการพัฒนาการจัดการเรียนรูของตนเองเพ่ือการเปล่ียนแปลง เชิงคุณภาพของผูเรียนเปนหัวใจสําคัญ สมาชิกท่ีรวมตัวกัน ไมมีเง่ือนไขเกี่ยวกับสังกัด แตจะต้ังอยูบนความมุงมั่น สมัครใจ ใชอุดมการณรวมเปนหลักในการรวมกันเปน PLC กรณีตัวอยาง เชน PLC “ครูเพื่อศิษย” ของมูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ (มสส.) ที่สรางพ้ืนท่ีสวนกลางสําหรับวิชาชีพครูใหจับมือรวมกันเปนภาคี รวมพัฒนา “ครูเพ่ือศิษย” มุงสรางสรรคนวัตกรรมการจัดการเรียน รูในแตละพื้นที่ของประเทศไทย (วจิ ารณ พานิช, 2555) เปน ตน 3. ระดบั ชาติ (The National Level) คอื PLC ท่เี กดิ ขึ้นโดยนโยบายของรัฐทมี่ ุงจดั เครือขาย PLC ของชาติ เพื่อขับเคลื่อน การเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพของวิชาชีพ โดยความรวมมือของ สถานศึกษา และครู ท่ีผนึกกําลังรวมกันพัฒนาวิชาชีพ ภายใต การสนับสนุนของรัฐ ดังกรณีตวั อยา ง นโยบายวสิ ัยทศั นเ พอ่ื ความรว มมอื ของกระทรวงศึกษาธิการประเทศสิงคโปร (MOE) (2009)รัฐจัดใหมี PLC ชาติสิงคโปรเพื่อมุงหวังขับเคลื่อนแนวคิด “สอนใหนอย เรียนรูใหมาก” (TeachLess, Learn more) ใหเ กิดผลสาํ เร็จ เปน ตน10. กระบวนการชุมชนการเรียนทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) กระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพมีข้ันตอนการดําเนินการกิจกรรมชุมชนแหงการเรยี นรทู างวชิ าชีพ ประกอบดวย 7 ข้ันตอน ดังน้ี 1) การรวมกลมุ ชมุ ชนแหงการเรยี นรทู างวิชาชีพ

13 การจัดตั้งกลุมชุมชนการเรียนรูวิชาชีพ นับเปนส่ิงท่ีมีความยากที่สุด เพราะการท่ีจะทําใหคน (ครู) 4-8 คนท่ีมีความสนใจ คานิยม ความเช่ือที่เขากันได ทํางานรวมกันได เปนส่ิงที่ยากมากแตอ งคป ระกอบของกลุมการเรยี นรูว ชิ าชีพ อาจจะมีโครงสรา งเสนอแนะ ดงั นี้ แบบท่ีหนึ่ง เปนการรวมตัวของกลุมครูจํานวน 4-8 คน ซ่ึงมาจากกลุมสาระการสอนเดียวกันหรือใกลเคยี งกัน และทาํ งานอยูในโรงเรยี นเดยี วกนั แบบท่ีสอง เปนการรวมตัวของกลุมครูจํานวน 4-8 คน ซ่ึงมาจากกลุมสาระการสอนแตกตา งหลากหลาย แตสอนระดับเดยี วกนั เชน สอนระดบั อนุบาล สอนระดับประถมศึกษา หรือสอนระดับมธั ยมศกึ ษา แตทํางานอยูในโรงเรียนเดียวกัน แบบที่สาม เปนการรวมตัวของกลุมครู จํานวน 4-8 คน ซ่ึงมาจากกลุมสาระการสอนเดยี วกันแตม ีครูมาจากโรงเรียนที่แตกตางกันตั้งแต 2 โรงเรียน ทําใหการติดตอสื่อสารอาจตองใชการสอื่ สารผา นระบบอเิ ลคทรอนกิ สม าเปน สื่อกลาง แบบท่ีสี่ เปนการรวมตัวของกลุมครู จํานวน 4-8 คน ซ่ึงมาจากกลุมสาระการสอนแตกตางหลากหลาย แตสอนระดับเดียวกัน และอาจมาจากหลากหลายโรงเรียน การติดตอสื่อสารอาจตองใชการสื่อสารผา นระบบอิเล็กทรอนิกสม าเปนสอื่ กลาง 2) วิเคราะหและระบุปญ หา/สง่ิ ทต่ี องการพัฒนา การกําหนดเปาหมายที่ตองการแกปญหา /ตองการพัฒนา (Goal) หมายถึง พฤติกรรมของผูเรียนที่ไดรับการเลือกจากสมาชิกของกลุมวาจะมุงเปล่ียนแปลงพฤติกรรมน้ันๆ โดยทั่วไปมักจะเลือกพฤติกรรมท่ีเปนปญหาของโรงเรียน หรืออาจเปนพฤติกรรมท่ีเปนอัตลักษณของโรงเรียนพฤติกรรมของผูเรียน หมายถึง การแสดงออกของผูเรียนท่ีเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางถาวรตัวอยางเชน ทกั ษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดเชิงระบบ ทักษะการใชขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศหรือความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความเปน ผูนาํ จติ อาสา ความอดทน ความซือ่ สตั ย และอื่นๆสมาชิกชมุ ชนการเรยี นรู จําเปนตองเลือกพฤตกิ รรมเปา หมาย เพอ่ื เปนเปาหมายของการออกแบบการเรียนรู แลวดําเนินการอยางตอเน่ือง เพ่ือทําใหพฤติกรรมเปาหมายนั้นบรรลุผลตามท่ีตั้งเปาไวใหไดมากทสี่ ดุ 3) ออกแบบและจัดทําแผนการจดั การเรยี นร/ู กิจกรรม/นวตั กรรม การออกแบบกลยุทธการจัดการเรียนรู (Learning Management Strategy) สมาชิกของกลุมจะตองเปนเจาภาพ สราง ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู (ออกแบบกลยุทธการเรียนรู) โดยจะตองตอบโจทยปญหาอยางนอย 2 ประการ คือ การตอบโจทยการพยายามทําใหเปาหมายการแกไขปญหา /ตองการพัฒนา บรรลุผลไดมากท่ีสุด และตองตอบโจทยวัตถุประสงคการเรียนรูตามสาระที่สอนในคร้ังนนั้ ๆ ดวย 4) วพิ ากษ แลกเปลย่ี นเรยี นรู และปรับปรุงแกไ ข

14 การรวมกันสะทอนคิดเพื่อการพัฒนากลยุทธการจัดการเรียนรู (Reflection forDevelopment) สมาชิกของกลุมชุมชนการเรียนรูจะตองนําแผนการจัดการเรียนรู ที่เพื่อนคนหน่ึงของกลุมไดออกแบบไปแลวนั้นมาพิจารณาถึงความเปนไปไดของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ความเปนไปไดของโอกาสความสําเร็จท่ีจะสามารถพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู เปาหมายที่ไดกําหนดรว มกนั ไวแลว รวมถงึ ความเปนไปไดของการเรียนรูที่จะบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรูเฉพาะตามสาระในคร้ังนน้ั ๆ ดวย และจะตอ งรวมกันพิจารณาในภาพรวมดวยวา การจัดการเรียนรูคร้ังนั้น มีลักษณะโนมเอียงไปในทางใดทางหนึ่งมากเกินไปหรือไม เชน เนนความรูความจํามากไปจนละเลยกระบวนการคดิ หรือไม แผนการจัดการเรียนรูใหความสําคัญกับการเรียนรูของผูเรียนเปนรายคนดวยไหม เปนตน ผลจากการรว มกนั สะทอ นคิดจากสมาชกิ ทกุ คน จะถกู รวบรวมโดยครูที่เปนเจาภาพ หรือModel Teacher การสอนในครงั้ น้นั นําขอความเห็นทั้งหมดมาประมวล สรุป และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูใหมีความสมบูรณ พรอมดําเนินการตอไป ท้ังน้ีกระบวนการสะทอนคิดตามข้ันตอนนี้อาจใชการสื่อสารผานระบบอิเล็กทรอนิกสเขามาชวยการจัดการดวยก็ได จะทําใหการทํางานส่ือสารระหวางสมาชกิ กลุมสะดวกรวดเร็วมากขึ้นดว ย 5) จัดการเรยี นรู /กิจกรรม /นวัตกรรม ปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูและสังเกตการณกระบวนการปฏิบัติจริง (LearningActivities and Observation) หลังจากแผนการจัดการเรียนรูไดรับการปรับปรุงจากการสะทอนคิดของสมาชิกกลุม จะถูกนําสูการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนจริง และระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรู จะตองมีเพ่ือนสมาชิกอยางนองหน่ึงคนหรือมากกวา รวมสังเกตการณการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยจะตองมีบันทึกภาคสนาม (Field Note) ของการสังเกตการสอนอยางเปนระบบ และควรตองมีการบันทึกเปนวีดิทัศนโดยเฉพาะชวงเวลาที่สําคัญของแผนการจัดการเรียนรูทง้ั นส้ี ่ิงที่ควรตองบนั ทึกไวระหวางการสงั เกตการสอน ควรประกอบดว ย 1)ขอ มูลพนื้ ฐานของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดแก กลุมสาระที่สอน เรื่อง กลุมผูเรียนวันท่ีเวลาเร่ิม เวลาส้ินสุด ลักษณะสภาพท่ัวไปของสถานท่ีจัดการเรียนรู อุปกรณ ส่ือสิ่งอํานวยความสะดวก สง่ิ รบกวน เปนตน 2) บรรยากาศการเริ่มตน การเรียนการสอน ปฏิสมั พันธร ะหวางครูกับผเู รียน 3) การจดั การเรียนการสอน เปนไปตามลําดับของแผนการจัดการเรียนรูหรือไม หากไมเปน ไปตามแผน อะไรเปนสาเหตุ และครูดําเนนิ การอยางไรตอไป สงผลทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ดีขนึ้ หรือสบั สน 4) มีผูเรียนที่แสดงพฤติกรรมวาไดเกิดการเรียนรู ที่เปนไปตามเปาหมายของการเรียนการสอนบางหรือไม และมีผูเรียนท่ีแสดงวายังไมเกิดการเรียนรูตามเปาหมายบางหรือไม จํานวนสดั สวนระหวา งผูเ รียนทัง้ สองกลุม เปน อยางไร

15 5) ครูมีการดําเนินการอยางไรกับผูเรียนท่ีแสดงออกวาไดเรียนรูเรื่องน้ันแลว และครูดาํ เนนิ การอยางไรกบั ผูเรียนทยี่ งั ไมส ามารถเรียนรเู ร่อื งนน้ั ได 6) ระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีอะไรท่ีเปนการปฏิบัติที่ดีควรรักษาไวและอะไรท่เี ปน จดุ ออนทีค่ วรไดรบั การแกไขบา ง 6) ประเมินผล/ สะทอ นการจดั การเรียนร/ู กจิ กรรม/นวตั กรรม การสบื เสาะ สรุปผลการปฏิบัติเพ่ือการพัฒนา (Debrief) สมาชิกกลุมการเรียนรูจะตองมารวมตัวกนั สบื เสาะ ตง้ั คําถาม สะทอนคิดตอ ผลการปฏิบัติการสอนที่ผานไปแลว โดยมุงตอบคําถามอยางนอย 4 ประเดน็ คอื 1) ผเู รยี นไดเ รยี นรแู ละเกิดพฤตกิ รรมตามเปา หมายท่ีตง้ั ไวมากนอยเทา ใด 2)รูไดอยางไรวาผูเรียนเหลาน้ันเกิดการเรียนรู และ/หรือมีพฤติกรรมบรรลุตามเปาหมายนั้นแลว 3) ผูเรียนท่ีไมสามารถเรียนรูและยังไมบรรลุพฤติกรรมตามเปาหมาย จะทําอยางไรกับผเู รยี นกลมุ น้ตี อ ไป 4) ผูเรียนที่เกิดการเรียนรูและบรรลุพฤติกรรมตามเปาหมายแลว จะทําอยางไรตอไปกับผูเรียนกลุมน้ีสมาชิกของกลุมตองรวมกันแสดงความคิดเห็นเพ่ือใหครูท่ีเปนเจาภาพ สรุปผลการจัดการเรียนรูท่ีตอบคําถามท้ัง 4 ประเด็น รวมถึงสิ่งท่ีเปนแนวการปฏิบัติที่ดี และสิ่งที่เปนจุดออนท่ีควรไดรับการปรับปรุงในโอกาสตอไป 7) สรุปเผยแพรแ ผนการจดั การเรยี นรู/กจิ กรรม/นวัตกรรม สรุปผลเรียนรูจากการปฏิบัติการนําสูการวางแผนการจัดการเรียนรูรอบใหมตอไป(Next Step) ครูท่ีเปนเจาภาพ หรือ Model Teacher การจัดการเรียนรู จะตองนําผลสรุปท่ีไดรวบรวม บนั ทึกผลไวใหเรยี บรอยอยางเปนทางการ โดยจะมกี ารดําเนนิ การอยางนอ ย 2 เปา หมาย คอื 1) บันทึกไวเพื่อเปนพัฒนาการของการพัฒนาการจัดการเรียนรูสูเปาหมายที่ไดกําหนดไวรวมกัน (Goal) เพื่อสะทอนวากวาจะสามารถพัฒนาลูกศิษยใหบรรลุตามพฤติกรรมเปาหมายไดน้ันมีบทเรียนที่ไดเรียนรูรวมกันอยางไรบาง สวนนี้จะเปนขอมูลสําคัญที่มีคุณคาอยางยิ่ง และถือเปนงานวิจัยในช้ันเรยี นที่มีคณุ ภาพมาก 2) ผลที่ไดจากการสรุปจะตองนําไปสูการวางแผนการจัดการเรียนรูรอบใหม ซ่ึงเช่ือม่ันวาการจัดการเรยี นรูจะมีความแมน ตรงและมีประสิทธภิ าพมากกวาเดิม การเริ่มดําเนนิ การวงรอบใหมข องการจดั กจิ กรรมกลุมชุมชนการเรียนรูรวมกัน รอบที่ 2 รอบท่ี 3 และรอบตอๆ ไป และทุกๆ วงรอบ หากนํามารอยเรื่องอยางเปนระบบจะกลายเปนพัฒนาการเร่อื งเลา การพฒั นาการจัดการเรยี นรูท ม่ี ีความเฉพาะเจาะจงของผูเ รยี นโรงเรยี นนน้ั ๆ ไดอยางแจมชัด

16และการปฏิบัติลักษณะเชนนี้จะสรางความเขมแข็งของกลุมเรียนรูวิชาชีพมากยิ่งข้ึน และจะมีความเปน “ครูมอื อาชีพ” มากข้นึ อยางแนน อน11. ประโยชนการพัฒนาครูดวยกระบวนการชุมชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) 1) ชว ยลดความโดดเด่ียวใหก ับงานครู จากเดิมท่ีครแู ตละคนตางคดิ ตา งทํา ตางแกปญหา ขาดการปรึกษาหารือกัน เปลีย่ นมาเปน เพ่ือนและเครือขายในการทาํ งานรว มกัน โดยมเี ปาหมายอยางเดียวกันคือพัฒนาคุณภาพของผูเรยี น 2) เพ่ิมความรูสึกผูกพันตอพันธกิจและเปาหมายของสถานศึกษา ซึ่งเน่ืองมาจากการมเี พ่ือนมเี ครือขายและการทํางานรวมกนั กอใหเ กิดความผูกพันตอกนั 3) เพ่ิมความกระตือรือรนในการปฏิบัติงานใหบรรลุภารกิจ เน่ืองจากกระบวนการของ PLCเริ่มจากการสรางวิสัยทัศนรวม คานิยมรวม และเปาหมายรวม สงผลใหครูเห็นเปาหมายชัดเจนและยอมรบั ในเปา หมายดังกลาว 4) สอนในชั้นเรียนไดผลดีย่ิงขึ้นท้ังนี้เพราะครูมีการเรียนรูมากขึ้น ไดเห็นตัวอยางท่ีดีในการจัดการเรียนการสอนของเพ่ือนครูซ่ึงสามารถนํามาประยุกตในชั้นเรียนของตนเองทําใหการเรียนการสอนไดผ ลดยี ง่ิ ข้ึน 5) รับทราบขอมูลสารสนเทศที่จําเปนตอวิชาชีพไดกวางขวาง รวดเร็วข้ึน เนื่องจาก (PLC)ชว ยใหเกิดเครอื ขา ยและการสือ่ สารท่กี วา งขวางทั่วถึงยง่ิ ขน้ึ 6) กอใหเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะพัฒนาและอุทิศตนเพื่อศิษย ซึ่งเปนผลจากการมีคานิยมรวมวสิ ัยทัศนรวมและการเหน็ ตัวอยางที่ดขี องเพ่อื นครู 7) ชวยใหอัตราการลาหยุดงานนอยลงเม่ือเทียบกับสถานศึกษาท่ีไมมีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ทั้งนี้เพราะโรงเรียนที่ใชกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ชวยใหครูมีความเปนกลั ยาณมิตร เออื้ อาทรและชว ยเหลือเกือ้ กลู ตอกัน 8) ครูปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนไดดีกวาสถานศึกษาที่ไมมีกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ซึ่งเปนผลจากสภาพแวดลอมและบรรยากาศและการเรยี นรูจากเพ่ือนครูดว ยกนั12. บทบาทผูบริหารในกระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) 1) กาํ หนดวิสัยทัศน เปาหมาย (Purpose Statement) คา นยิ มหลกั (Core Value) รวมกับครู

17 2) สรางขวัญและกําลังใจ ใหครูมีทัศนคติที่ดี เกิดการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมในการเรียนรูตามวัตถปุ ระสงคชมุ ชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) 3) สนับสนนุ การจัดใหครูเขา รับการอบรมพฒั นาความรเู กีย่ วกับชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 4) ประสานความรวมมอื กับชมุ ชนและสถานประกอบการ 5) จดั หางบประมาณ เพอ่ื สนับสนนุ กิจกรรมชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) 6) วางแผนและกําหนดแนวทางการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) สูการปฏิบตั จิ ริงท้งั ระบบการศกึ ษาปกตแิ ละทวภิ าคี 7) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการขับเคลอ่ื นกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี (PLC) 8) แสวงหาแนวทางแกปญหารวมกันระหวางผบู ริหาร ครู และผูท เี่ กย่ี วขอ ง 9) ทบทวนผลการปฏิบัตทิ ่ีไดรว มกันวางแผนพัฒนาอยางสมํา่ เสมอ 10) สนับสนนุ กจิ กรรมการเผยแพรส สู าธารณะและสรา งเครือขาย13. บทบาทครใู นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) 1) กําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย (Purpose Statement) คานิยมหลัก (Core Value) รวมกับผูบรหิ ารและครู 2) เขา รบั การอบรมพัฒนาความรูเ ก่ยี วกบั ชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) 3) สรางกลุมชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 4) เขียนแผนการดําเนินการ 5) เลอื กปญ หาหรือสง่ิ ทีต่ อ งการพฒั นาแลวนํามาเปนเปาหมายรายภาคเรียน 6) ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู 7) สะทอนแผนการจัดการเรยี นรู 8) ปฏิบัตกิ ารสอน และสงั เกตการณจดั การเรยี นการสอน 9) ประชมุ สรุปผลการสงั เกตชัน้ เรียน 10) สรปุ สงั เคราะหประเดน็ ทไ่ี ดเรยี นรูจากการจดั กิจกรรม 11) แลกเปล่ยี นเรียนรูรวมกันและเผยแพรสูส าธารณะและสรางเครือขายอยางตอเนื่อง14. เทคนคิ หรอื เคลด็ ลบั ทจี่ ําเปนในการเสรมิ กระบวนการชมุ ชนแหง การเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) 1. ทกั ษะการฟง

182. เร่ืองเลา เรา พลัง3. การวเิ คราะหป ญ หาและแนวทางการแกป ญ หา4. AAR (After Action Review: AAR) ทบทวนผลการปฏบิ ตั งิ าน5. ระดับการพัฒนาของผเู รียน6. ICT

บทท่ี 3 การดําเนนิ การชุมชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) ในสถานศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา การดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูบริหารสถานศึกษาและครูสามารถ นํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษามีขน้ั ตอนในการดําเนินการตามกระบวนการชุมชนการเรยี นการเรียนรทู างวิชาชีพ(PLC) ประกอบดวยข้ันตอนตางๆ ดงั นี้ 1. ดานการบริหารจัดการกระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC)ในสถานศกึ ษา ประกอบดวย 1. แตงตั้งคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLCของสถานศึกษา 2. ประชมุ คณะกรรมการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC ในสถานศกึ ษา 3. จัดประชมุ สรางความรูความเขาใจใหกบั ครูในสถานศึกษาและผทู ีเ่ ก่ยี วขอ ง 4. สงเสริมสนบั สนุน กํากับติดตาม และรายงานผล 2. ดา นการดําเนนิ การชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษาประกอบดวย 7 ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. การรวมกลมุ ชมุ ชนแหง การเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) 2. วิเคราะหแ ละระบปุ ญหา/ส่ิงทีต่ อ งการพัฒนา 3. ออกแบบและจัดทาํ แผนการจัดการเรยี นรู/กจิ กรรม/นวัตกรรม 4. วิพากษ แลกเปล่ียนเรยี นรู และปรับปรุงแกไ ข 5. จัดการเรยี นรู /กิจกรรม /นวัตกรรม 6. ประเมนิ ผล/ สะทอนการจัดการเรียนร/ู กิจกรรม/นวัตกรรม 7. สรุปเผยแพรแ ผนการจดั การเรยี นร/ู กิจกรรม/นวัตกรรม

181. ดานการบริหารจดั การชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษา การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา ในดานการบริหารจดั การของสถานศึกษา ใหส ถานศกึ ษาดําเนนิ การ ดงั นี้ 1. แตงต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ในสถานศึกษา สถานศึกษาแตงต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ระดบั สถานศกึ ษา รายละเอียดคําสั่งการแตงต้ังคณะกรรมการ ดังตัวอยางภาคผนวก ก เพ่ือใหผูบริหารสถานศึกษาและครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (ProfessionalLearning Community: PLC) ไปสูการปฏิบัติในสถานศึกษาได ตัวอยางคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการภาคผนวก ก 2. ประชุมคณะกรรมการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ PLC ในสถานศกึ ษา ประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษาเพื่อกําหนดนโยบาย แผนการดําเนินการ สงเสริมสนับสนุนการดําเนินการพรอมทั้งกํากับติดตาม และรายงานผลการดาํ เนนิ การชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษาเพื่อใหครูในสถานศึกษา มีแนวทางการในปฏิบัติ เชน การกําหนดแบบฟอรมที่เปนมาตรฐานของสถานศึกษาบางแบบ (ตามตัวอยา งในภาคผนวกในแตละขั้นตอนของการดาํ เนนิ การ PLC ซ่งึ สามารถพิจารณาเลือกมากําหนดได) กําหนดปฏิทินการดําเนนิ การชุมชนการเรียนรูวิชาชีพ (PLC) ของสถานศึกษา รายละเอียดการจัดทาํ ปฏทิ นิ ดังอยา งภาคผนวก ก 3. จัดประชมุ สรางความรคู วามเขาใจใหก ับครใู นสถานศึกษาและผทู ีเ่ กีย่ วของ จัดประชุมครูในสถานศึกษาและผูท่ีเก่ียวของใหมีสรางความรูความเขาใจเก่ียวกับการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา นโยบาย แผนการดําเนินการ สงเสริมสนับสนุนการดําเนินการพรอมทั้งกํากับติดตาม และรายงานผลการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา สงเสริมสนับสนุนการดําเนินการพรอมท้ังกํากับติดตาม และรายงานผลการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา วิธีการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของครู และอ่ืนๆที่เก่ียวของเพ่ือครูและสถานศึกษาดาํ เนินการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) ไดไ ปในทศิ ทางเดียวกนั และบรรลุวตั ถุ 4. สงเสริมสนับสนนุ กาํ กับติดตาม และรายงานผล

19 สถานศึกษาควรสงเสริม สนับสนุน อํานวยความสะดวก และใหคําแนะในการดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ใหประสบความสําเร็จ เชน สนับสนุนดานการนําเทคโนโลยีสานสนเทศมาใชในการบันทึกขอมูล สรางแรงจูงใจกระตุนครูใหมีกําลังใจในการจัดทํารวมแกปญหา สนับสนุนการสรางความรูความเขาใจ หรือพัฒนาใหครูมีความรูในการสรางเคร่ืองมือหรือนวัตกรรมที่เกี่ยวของที่จําเปนในการดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)นอกน้ีใหสถานศึกษากํากับติดตาม และรายงานผลการดําเนินการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ในสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนาปรับปรงุ ตอ ไป2. ดานการดําเนินการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษาขน้ั ตอนท่ี 1 การรวมกลมุ ชมุ ชนแหง การเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) 1.1 จาํ นวนและกลมุ บคุ คลทีร่ วมกลุม การรวมกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาจาก ครู บุคลากรทางการศึกษาตัวแทนสถานประกอบการ ปราชญชาวบาน และผูเกี่ยวของ ที่มีความสนใจ คานิยม และมีความเช่ือในทิศทางเดียวกนั โดยมกี ารรวมครูจาํ นวน 4-8 คน โดยลกั ษณะรวมกลุมครทู ําไดห ลายแบบ เชน 1) แผนกวชิ าเดียวกนั หรอื ใกลเ คยี งกนั และทํางานอยูในสถานศึกษาเดียวกนั 2) แผนกวิชาแตกตาง หลากหลาย แตสอนระดับเดียวกัน เชน ระดับ ปวช. ปวส.ปรญิ ญาตรี แตทาํ งานอยใู นสถานศกึ ษาเดยี วกัน 3) แผนกวชิ าเดยี วกนั แตม ีครูมาจากสถานศกึ ษาทแ่ี ตกตางกนั ตัง้ แต 2 สถานศึกษาการตดิ ตอ สือ่ สารอาจตองใชก ารสอ่ื สารผานระบบอิเล็กทรอนิกส 4) แผนกวชิ าแตกตา ง หลากหลาย แตสอนระดับเดียวกนั และอาจมาจากหลากหลายสถานศกึ ษา การตดิ ตอส่ือสารอาจตองใชการสื่อสารผา นระบบอเิ ล็กทรอนิกส การรวมกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ สามารถเชิญบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนสถานประกอบการ ปราชญช าวบาน และผเู กีย่ วขอ งเขารวมกลุมได 1.2 บทบาทของสมาชิกในกลมุ ชมุ ชนแหงการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) บทบาทของสมาชิกในกลุมกระบวนการชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)แบง ได ดังนี้ 1) ผูอํานวยความสะดวก

20 - รกั ษาระดบั การมีสวนรวมของสมาชกิ - ควบคมุ ประเด็นการพูดคยุ - ย่วั ยุใหเกดิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรูโดยใหท ุกคนแสดงความคิดเห็น 2) สมาชกิ - เปด ใจรบั ฟง และเสนอความคิดเห็นอยางสรางสรรค - รบั แนวทางไปปฏิบัติและนําผลมาเสนอ พรอมตอยอด 3) ผูบนั ทึก - สรปุ ประเด็นการสนทนาและแนวทางแกป ญหา พรอ มบนั ทกึ Logbook ในขนั้ ตอนนเ้ี มื่อรวมกลมุ ไดแ ลวใหด ําเนนิ การขอจดั ตั้งกลมุ ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)โดยจดั ทาํ บนั ทึกถึงสถานศึกษาขอจดั ต้ังกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตามแบบฟอรมตัวอยางในภาคผนวก ก และตามชวงเวลาทส่ี ถานศึกษาตนสังกดั กําหนด และกําหนดนัดประชมุ เพื่อเร่ิมข้ันตอนที่ 2ขัน้ ตอนท่ี 2 วเิ คราะหและระบุปญหา/ส่ิงท่ีตอ งการพัฒนา เม่ือไดรับคําส่ังแตงต้ังกลุม PLC ใหกลุมสมาชิกใน PLC จัดประชุมโดยรวมกันดําเนินการดงั น้ี 2.1 เลอื กบทบาทในกลมุ PLC ใหสมาชิกกําหนดหรือเลือกวาใครจะเปนบทบาทใดในการการประชุมครั้งนี้ซ่ึงไดแก ผูอํานวยความสะดวก สมาชิก หรือ ผูบันทึก เมื่อไดกําหนดบทบาทหนาท่ีในการดําเนินการประชมุ แลวใหสมาชิกดําเนนิ การตามบทบาทหนา ที่ 2.2 คนหาปญหา หรอื สิ่งที่ตองพัฒนา สมาชิกในกลุมรวมกันวิเคราะหสภาพปญหาการจัดการเรียนรู คุณภาพผูเรียนสมรรถนะ หรือสิ่งท่ีตองการพัฒนาผูเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงคหรือวิเคราะหสภาพปญหาแบงออกเปนดานการจัดการเรียนการสอน ดานคุณลักษณะที่พึงประสงคดานวัตกรรมทางการศึกษา ดานอ่ืนๆเกี่ยวกับอาชีวศึกษา ดวยวิธีการที่หลากหลาย และสรุปเปนประเด็นปญหาหรือประเด็นที่จะพัฒนา พรอมเรียงลําดับสําคัญเพื่อนํามาแกไข หรือกําหนดเปนเปาหมายของการดําเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น 2.3 หาสาเหตแุ ละแนวทางแกไข

21 นําประเด็นปญหาหรือประเด็นที่จะพัฒนาที่สําคัญมาศึกษาวิเคราะหหาสาเหตุที่แทจริงของปญหา จากการกลุมอภิปราย เนนไปที่การสอน/การฝกปฏิบัติ/ของครูเปนอันดับแรก เชนผูเรียนขาดความรับผิดชอบ ผูเรียนขาดทักษะในการปฏิบัติ ผูเรียนขาดความคิดสรางสรรคซ่ึงเปนปญหาสําคัญรวมกันตอไปรวมกันหาแนวทางแกไข “ยึดปญหาของที่ผูเรียนเปนสําคัญ”ใชประสบการณของครู งานวิจัย หรือแหลงอื่นๆ ที่มีการเสนอแนวทางไวแลว จากนั้นสรุปแนวทางการแกปญหาเรยี งความสาํ คัญตามบริบทของสถานศึกษา 2.4 สรุปผลการวเิ คราะหและระบปุ ญหา/ส่ิงที่ตอ งการพัฒนา แนวทางแกไข โดยสรุปลงในแบบบันทกึ การคน หาปญหา และแบบบนั ทกึ แนวทางแกป ญหารายละเอียดดงั ภาคผนวก ข ในข้ันตอนท่ี 2 นี้ ครูที่เปนเจาภาพหลักในหัวขอปญหาที่เลือก จะเรียกวาเปน ModelTeacher สวนสมาชิกในทีมคนที่ไมไดเปนเจาภาพ เรียกวา Buddy Teacher โดยรวมกันระบุปญหาแนวทางการแกปญหา ตามตัวอยางแบบบันทึกในภาคผนวก ข หลังจากนั้น ใหสมาชิกในทีมรวมกันกาํ หนดแผนปฏบิ ตั กิ ารชุมชนแหงการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) ตามรายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ขข้นั ตอนที่ 3 ออกแบบและจัดทําแผนการจดั การเรยี นรู/กิจกรรม/นวตั กรรม เม่ือเลือกปญหาในขั้นตอนที่ 2 ไดแลว ให Model Teacher จัดเตรียมแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรม (แผนการจัดการเรียนรูใชตามที่สถานศึกษากําหนด) ท่ีนํามาใชในการแกปญหาหรือพัฒนาคุณภาพผูเรียน มาใหสมาชิกในกลุมรวมกันออกแบบและจัดทําแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรม ในการแกปญหาหรือพัฒนาคุณภาพผูเรียนเพื่อใหเปาหมายในการแกปญหาหรือการพัฒนาบรรลุผลไดมากท่ีสุด และบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรูดานความรู ทักษะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค หลังจากนั้นนําแนวทางการที่สรุปเพื่อใชแกปญหารวมกัน มาออกแบบแผนงาน แผนการสอน โดยคํานึงถึงวิธีการจัดการเรียนรูไดหลากหลายรูปแบบตามลักษณะปญหาลักษณะผูเ รียน และบริบทของสถานศึกษา ซง่ึ ในขัน้ ตอนนกี้ ลมุ PLC สามารถเชิญผูเชี่ยวชาญ ปราชญชาวบาน บุคลากรในสถานประกอบการ บุคลากรทางการศึกษา ผูบริหาร หรือผูที่มีสวนเกี่ยวของมารว มใหคําแนะนาํ ในการออกแบบและจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นร/ู กจิ กรรม/นวตั กรรม ในขั้นตอนน้ีสามารถศึกษาตัวอยางหัวขอการเขียนแผนการสอน ดังตัวอยางในภาคผนวก ขแบบเขียนแผนการสอน

22ขนั้ ตอนที่ 4 วพิ ากษ แลกเปลยี่ นเรียนรู และปรับปรุงแกไ ข 4.1 สมาชิกรวมกันสะทอนคิด วิพากษ แลกเปลี่ยนเรียนรู ในแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรม ท่ีกลุมไดออกแบบไปแลวน้ัน มาพิจารณาถึงความเปนไปไดของการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ความเปนไปไดของโอกาส ความสําเร็จที่จะสามารถพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายท่ีไดกําหนดรวมกันไวแลว รวมถึงความเปนไปไดของการเรียนรูที่จะบรรลุวัตถุประสงคการเรยี นรเู ฉพาะตามสาระ ในคร้งั น้นั ๆ ดวย 4.2 ผลจากการรวมกันสะทอนคิดจากสมาชิกทุกคน จะถูกรวบรวมโดย ModelTeacher ในคร้ังนั้นมาประมวล สรุป และปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรูใหมีความสมบูรณพรอมดําเนินการตอ ไป กระบวนการสะทอนคิดตามขั้นตอนนี้ กลุม PLC สามารถเชิญผูเชี่ยวชาญ ปราชญชาวบาน บุคลากรในสถานประกอบการ บุคลากรทางการศึกษา ผูบริหาร หรือผูท่ีมีสวนเก่ียวของมารว มสะทอ นคดิ วพิ ากษ แลกเปลย่ี นเรยี นรู แผนการจดั การเรียนร/ู กจิ กรรม/นวตั กรรม การสะทอนคิด วิพากษ แลกเปล่ียนเรียนรู อาจใชการส่ือสารผานระบบอิเล็กทรอนิกสจะทําใหการทํางานส่ือสารระหวางสมาชิกกลุมสะดวกรวดเร็วมากขึ้นแนวทางวิพากษสรุปประเด็นการพิจารณา ดงั นี้ 1) ความสอดคลอ งครอบคลุมของวตั ถุประสงค 2) กิจกรรมผูเรียนมีความเหมาะสม เปน ไปได และความสอดคลอ งวัตถุประสงค 3) กิจกรรมครูมีความเหมาะสม เปนไปได และความสอดคลองวตั ถปุ ระสงค 4) เทคโนโลยีและสอ่ื การสอนมคี วามเหมาะสม และความสอดคลอ งวัตถุประสงค 5) การวัดและประเมนิ ผลมีความถกู ตอ ง เหมาะสม ชัดเจนสอดคลองวตั ถปุ ระสงค 6) กจิ กรรมขั้นนํา มคี วามเหมาะสม เปน ประโยชน เปน ไปได 7) กิจกรรมข้ันสอน มคี วามเหมาะสม เปน ประโยชน เปนไปได 8) กจิ กรรมข้นั สรปุ มคี วามเหมาะสม เปนประโยชน เปน ไปได ในขัน้ ตอนนสี้ ามารถดําเนินการตามแบบตวั อยา ง รายละเอียดดังภาคผนวก ข

23ขนั้ ตอนที่ 5 จดั การเรียนรู /กิจกรรม /นวตั กรรม หลังจากแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม /นวัตกรรมไดรับการปรับปรุงจากการสะทอนคิดของสมาชกิ กลุมแลว 5.1 ให Model Teacher นาํ สกู ารปฏิบตั กิ ารจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ นหองเรียนจรงิ 5.2 ระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรูจะตองมีเพ่ือนสมาชิกในทีม (Buddy Teacher)อยางนองหน่ึงคนหรือมากกวา รวมสังเกตการณกระบวนการปฏิบัติจริง (Learning Activities andObservation) การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยจะตองมีบันทึกภาคสนาม (Field Note) ของการสังเกตการสอนอยา งเปนระบบ และควรตองมีการบันทึกเปนวีดิทัศนโดยเฉพาะชวงเวลาท่ีสําคัญของการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ังนีส้ ง่ิ ที่ควรตองบนั ทกึ ไวร ะหวางการสังเกตการสอน ควรประกอบดว ย 1) ขอมูลพ้ืนฐานของการจัดกิจกรรมการเรียนรู ไดแก แผนกวิชาที่สอน รายวิชาเร่ือง กลมุ ผูเ รยี น วันที่ เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด ลักษณะสภาพท่ัวไปของสถานท่ีจัดการเรียนรูอุปกรณส่ือสิ่งอาํ นวยความสะดวก ส่งิ รบกวน เปน ตน 2) บรรยากาศการเร่มิ ตนการเรยี นการสอน ปฏิสมั พนั ธร ะหวางครูกับผเู รียน 3) การจัดการเรียนรู เปนไปตามลําดับของแผนการจัดการเรียนรูหรือไม หากไมเปนไปตามแผน อะไรเปนสาเหตุและครูดําเนินการอยางไรตอไป สงผลทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีดีข้นึ หรอื สับสน 4) มีผูเรียนที่แสดงพฤติกรรมวาไดเกิดการเรียนรูท่ีเปนไปตามเปาหมายของการเรียนการสอนบา งหรือไม และมีผเู รียนทแ่ี สดงวา ยังไมเกิดการเรียนรูตามเปาหมายบางหรือไม จํานวนสัดสวนระหวางผูเรียนทง้ั สองกลุม เปนอยา งไร 5) ครูมีการดําเนินการอยางไรกับผูเรียนที่แสดงออกวาไดเรียนรูเร่ืองนั้นแลว และครดู าํ เนินการ อยางไรกบั ผูเ รียนท่ียงั ไมส ามารถเรียนรเู รือ่ งนัน้ ได 6) ระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนรู มีอะไรที่เปนการปฏิบัติท่ีดีควรรักษาไวและอะไรทเ่ี ปนจดุ ออนท่ีควรไดรบั การแกไ ขบา ง รายละเอียดการสังเกตการสอน กาบันทึกหลังสอน แบบรายงานผลการสังเกตการสอนดังตวั อยางภาคผนวก ข

24ขั้นตอนท่ี 6 ประเมนิ ผล/ สะทอ นการจดั การเรียนร/ู กจิ กรรม/นวตั กรรม การประเมนิ ผล/ สะทอนการจัดการเรียนร/ู กจิ กรรม/นวัตกรรม ดาํ เนนิ การดังนี้ 6.1 Model Teacher จัดประชุมรวมกับสมาชิกในกลุม PLC และนําหลักฐานตางๆ ในการจัดสอน เชน Google Class room บันทึกหลังการสอน วีดิโอบันทึก การสอน เปนตน นําเสนอในการประชมุ 6.2 สมาชิกในกลุม PLC รว มกันอภิปรายต้ังคําถาม สะทอนคิดตอผลการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรมการสอนที่นําไปใชแกปญหา โดยหาขอดี ขอดวย ผลการสอนบรรลุวัตถุประสงคหรอื ไม ตองปรบั เพมิ่ ลด ในประเดน็ ใดโดยมงุ ตอบคําถามอยา งนอย 4 ประเดน็ คอื 2.1 ผเู รยี นไดเ รยี นรูและเกดิ พฤติกรรมตามเปาหมายท่ตี ้งั ไวมากนอยเทาใด 2.2 รูไดอยางไรวาผูเรียนเหลาน้ันเกิดการเรียนรูและ/หรือมีพฤติกรรมบรรลุตามเปาหมายนนั้ แลว 2.3 ผเู รยี นทไี่ มสามารถเรียนรูและยังไมบรรลุพฤติกรรมตามเปาหมาย จะทําอยางไรกับผูเรียนกลุมนต้ี อ ไป 2.4 ผูเรียนท่ีเกิดการเรียนรูและบรรลุพฤติกรรมตามเปาหมายแลว จะทําอยางไรตอ ไปกับ ผเู รยี นกลมุ น้ี สมาชิกของกลุมตองรวมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อใหครูที่เปนเจาภาพ สรุปผลการจดั การเรียนรู ทีต่ อบคาํ ถามท้งั 4 ประเด็น รวมถึงส่ิงที่เปนแนวการปฏิบัติที่ดีและส่ิงที่เปนจุดออนทค่ี วรไดรับการปรบั ปรงุ ใน โอกาสตอไป 6.3 Model Teacher + Buddy Teacher + สมาชิกกลุม PLC รวมกันลงมติผลท่ีประชุม 6.4 Model Teacher สรุปรูปแบบ/วิธีการ/กิจกรรม ท่ีปรับปรุงแกไขแลวในขั้นตอนใชแกป ญ หาท่ตี ามมตปิ ระชุม สรุปผลรูปแบบวิธีการดําเนินการ Model Teacher ดําเนินการสรุปรูปแบบ/วิธีการ/กจิ กรรม การสรปุ มี 2 แนวทาง ดงั นี้ 1. หากกิจกรรมตามวิธีการ/นวัตกรรมที่กลุม PLC ปรับปรุงแลวนําไปทดลองใชแลวหากไมสามารถแกปญหาไดตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ตองปรับปรุงตามมติท่ีของกลุม PLC แลวไปใชปฏิบัตกิ ารสอนในรอบใหม

25 2. หากกิจกรรมตามวิธีการ/นวัตกรรมที่กลุม PLC ปรับปรุงแลวนําไปทดลองใชแลวบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคต้งั ไว สมารถนาํ มาทดลองใชในรอบท่ี 2 และ 3 แลวจึงนําไปเผยแพร แนวทางการสะทอ นการจัดการเรียนรู/กจิ กรรม/นวตั กรรม แนวทางการสะทอนการจดั การเรยี นร/ู กจิ กรรม/นวตั กรรม แบง เปน ประเด็นไดด งั นี้ 1) ประเด็นดานผูเรียน - คําตอบ คาํ พูด ปฏิกริ ิยา พฤติกรรม การแสดงออก หลักฐานผลงานตางๆที่แสดงถึงความรูความเขาใจ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู และผลการเรียนตางๆของผูเรียน โดยเฉพาะอยางย่ิงที่แสดงถึงความรู ความคิด ความเขาใจที่ไมถูกตอง หรือผิดพลาด ความกระตือรือรน การมีสวนรว ม - การสังเกตผเู รยี นบางรายเปน รายบุคคลท่มี คี วามโดนเดน นาสนใจ (ท้ังในดานบวกและดา นลบ) - ตัวอยางของวิธีการที่ผูเรียนสรางความเขาใจผานการอภิปรายและกิจกรรม สังเกตความหลากหลายของวธิ กี ารท่ผี ูเรยี นใชแ กปญ หา ฯลฯ 2) ประเดน็ ดานกจิ กรรม - ลกั ษณะ ความเหมาะสม ประสทิ ธภิ าพของกิจกรรม ขนั้ ตอนของกระบวนการเรยี นการสอน วิธีการสอน เทคนิคการสอนตางๆ ท้ังท่ีดี มีประสิทธิภาพและที่เปนปญหา/อุปสรรคตอการเรยี นรูของผเู รียน หรือไมเออื้ ตอ การเรียนรูเทา ทคี่ วร - การจัดลาํ ดับขน้ั ตอนและความตอ เนือ่ งของกิจกรรม - ความเหมาะสม สอดคลอ งของจุดประสงค กจิ กรรมการเรยี นรู และการวัดและประเมนิ ผล - การบรหิ ารจดั การช้ันเรยี น การจดั ชน้ั เรยี น วธิ กี ารคมุ ชนั้ เรียน หรือการจดั กลมุ เพื่อทํากจิ กรรม - กิจกรรมการเรียนการสอนสนับสนุนการมีปฏิสัมพันธ/การแลกเปล่ียนเรียนรูระหวา งผเู รียนกบั ผเู รียนและครูกบั ผูเรยี น - กิจกรรมการเรียนรนู าํ ไปสูการพฒั นาความสามารถของผเู รยี น - การกําหนดเวลาและโครงสรางเหมาะสมกับเน้ือหา บทเรียน ระดับความสามารถของผเู รยี น ฯลฯ

26 3) ประเด็นดานครู - การใชคําถาม คําสั่ง คาํ อธิบาย หรือการใชส ือ่ ของครู - ลาํ ดบั ขนั้ ตอนการนําเสนอประเด็นคาํ ถาม คาํ สง่ั หรือคาํ อธิบาย - การเสริมแรงของครู ฯลฯ 4) ประเด็นส่ือการสอน - ความถูกตอง เหมาะสม มีประสิทธิภาพของส่ือกิจกรรม ใบงาน แหลงการเรียนรู(ดานคณุ ภาพ) - ความเพียงพอ เหมาะสมของส่ือ (ดา นปรมิ าณ) ฯลฯ 5) ประเด็นดา นบรรยากาศ - บรรยากาศการเรียนรูท่ีเกิดข้ึน สภาพแวดลอมของช้ันเรียน หรือสถานที่เรียนท่ีมีผลตอประสทิ ธภิ าพของการจดั การเรยี นการสอนและการเรยี นรขู องผเู รียน - บรรยากาศของการยอมรบั ความคดิ เห็น คําถาม และการชว ยเหลือของผูเรยี น - บรรยากาศของบทเรียนสงเสริมใหผูเรียนสรางความคิด คําถาม ขอคาดเดา และ/หรือขอ เสนอ ฯลฯ 6) จดุ แข็งจุดออนของการสอน - ขอ ดี ขอ เดนในการจดั การเรียนการสอน - ปญหาหรืออุปสรรคทม่ี ีตอการเรยี นรขู องผูเรียนซึ่งเหน็ ไดอยา งชัดเจนขั้นตอนท่ี 7 สรปุ ผลและเผยแพรแผนการจัดการเรยี นรู/กจิ กรรม/นวัตกรรม สรุปผลเรียนรูจากการปฏิบัติการนําสูการวางแผนการจัดการเรียนรูรอบใหมตอไป(Next Step) ครูท่ีเปนเจาภาพการจัดการเรียนรูจะตองนําผลสรุปท่ีไดรวบรวม บันทึกผลไวใหเรยี บรอ ยอยางเปน ทางการ โดยจะมีการดาํ เนนิ การอยางนอย 2 เปา หมาย คอื 7.1 บันทึกไวเพื่อเปนการพัฒนาการของการพัฒนาการจัดการเรียนรูสูเปาหมายที่ไดกําหนดไวรว มกัน (Goal) เพือ่ สะทอนวา กวาจะสามารถพฒั นาผเู รยี นใหบรรลุตามพฤติกรรมเปาหมายไดน้ัน มีบทเรียนท่ีไดเรียนรูรวมกันอยางไรบาง สวนนี้จะเปนขอมูลสําคัญที่มีคุณคาอยางย่ิง และถือเปนงานวิจัยในช้นั เรยี นท่มี คี ณุ ภาพมาก ถา ผลยงั ไมบรรลุเปา หมาย สามารถรวมกันวเิ คราะหหาสาเหตุ

27และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรม และดําเนินการตามกระบวนการจนกวาจะบรรลุเปาหมาย เปน วงรอบตอ ๆไป 7.2 ผลที่ไดจากการสรุปจะตองนําไปสูการวางแผนการจัดการเรียนรูรอบใหมซึ่งเช่ือม่ันวาการ จดั การเรียนรูจ ะมีความแมน ตรงและมปี ระสทิ ธิภาพมากกวา เดมิ การเรม่ิ ดําเนินการวงรอบใหมของการจัดกิจกรรมกลุมชุมชนการเรียนรูรวมกัน รอบท่ี 2รอบท่ี 3 และรอบตอ ๆ ไป และทุก ๆ วงรอบ หากนํามารอยเรื่องอยางเปนระบบจะกลายเปนพฒั นาการเรือ่ งเลาการพัฒนาการจัดการเรียนรูทมี่ คี วามเฉพาะเจาะจงของผูเรียนในสถานศึกษานั้น ๆไดอยา งแจม ชดั เปนการสรปุ เผยแพรแ ผนการจัดการเรียนรู/ กิจกรรม/นวัตกรรมตอไป และการปฏิบัติลักษณะเชนน้ีจะสรางความเขมแข็งของกลุมเรียนรูวิชาชีพมากยิ่งขึ้น และจะมีความเปน“ครูมอื อาชีพ” มากข้ึน การสะทอนคิด วิพากษ แลกเปล่ียนเรียนรู และการเผยแพรแผนการจัดการเรียนรู/กิจกรรม/นวัตกรรม การแสดงหลักฐานในการดําเนินการสามารถเลือกชองทางส่ือสารในการับรูไดหลากหลายชองทาง เชน Line Facebook Google Classroom เอกสาร VTR Video หรือรูปแบบอนื่ ๆ การจัดทํารายงานหลังจากดําเนินการครบวงรอบ PLC ตามท่ีกําหนดแลวใหจัดทํารายงานสรปุ เปนหลักฐานชน้ิ งานเพ่อื เผยแพรแ ละนําไปใชป ระโยชนตอไปดังตัวอยางในภาคผนวก ข การบันทึก (Logbook) การดําเนินการชุมชนการเรียนรูวิชาชีพ (PLC) ต้ังแตขั้นแรกถึงข้ันสุดทายตองมีการบันทึก (Logbook) ซ่ึงสามารถออกแบบการบันทึกไดเอง เอาท่ีงาย สะดวกมีหลักฐานตรวจสอบได ไมเกินหนึ่งหนาก็พอ อาจนําเสนอทาง Google Classroom Line หรือFacebook เอกสารหลักฐาน หรือรูปแบบอ่ืนๆ พรอมทั้งบันทึกในระบบที่กําหนดเพ่ือนําไปเชื่อมโยงกับการจัดทาํ หลักฐานในการของมแี ละเลอ่ื นวิทยฐานะ หมายเหตุ ข้ันตอนตามกระบวนการดังกลาว สามารถยืดหยุนไดตามบริบท แตควรคาํ นึงถงึ การรวมมอื การแลกเปลีย่ นเรียนรู การสังเกต และการสะทอ น การดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของครูในสถานศึกษาสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา สรปุ เปน แผนภาพข้นั ตอนไดดงั น้ี

28การบริหารจัดการ PLC การดาํ เนนิ การ PLCของผูบรหิ ารสถานศึกษา ของครู แตงตั้งคณะกรรมการ รวมกลุม PLCและขอจดั ต้ังกลมุ ประชุมคณะกรรมการ วิเคราะห/สิ่งท่ตี องการพัฒนา เริ่ม PLC วงรอบท่ี 2สรางความรูความเขา ใจ ออกแบบและจัดทําแผนการจดั การ และ เรียนรู/กิจกรรม/นวตั กรรม วงรอบ 3 สง เสรมิ สนบั สนนุ ตอ ไป จดั การเรียนรู /กิจกรรม จนครบกาํ กับ ติดตาม ประเมนิ ผล /นวตั กรรมในหองเรียนจรงิ วงรอบ และรายงาน ทกี่ ําหนด ประเมนิ ผล/ สะทอนการจัดการ แลวจึง เรยี นรู/กจิ กรรม/นวัตกรรม สรุปผล เผยแพร ในวงรอบ สุดทาย สรุปผลการจัดการเรียนร/ู กจิ กรรม/ นวตั กรรม และเผยแพรแผนภาพที่ : ข้ันตอนการดาํ เนินการกระบวนการชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) ในสถานศกึ ษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

บทท่ี 4 การขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) การสนับสนุน สงเสริมใหครูสามารถนํากระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มาใชเพือ่ ศึกษาหาทางแกปญ หาการจัดการเรยี นการสอนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนหรือเพื่อสรางนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมไดตอเน่ืองและอยางยั่งยืน พรอมทั้งเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงไดกําหนดบทบาทหนาที่ของหนวยงานและสถานศึกษาในการขบั เคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) ดังน้ี4.1. สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีบทบาทหนาท่ีขับเคลื่อนกระบวนชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) ดงั น้ี 1) กําหนดนโยบายการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ในระดบั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ระดับสถาบนั การอาชีวศึกษา และระดับสถานศึกษา 2) กําหนดแผนงานและกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สูอาชีวศึกษาทุกระดับประกอบดวย ระดับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาระดบั สถาบนั การอาชีวศกึ ษา และระดบั สถานศกึ ษา 3) แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ในระดับสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 4) สนับสนุน สงเสริม กํากับ ติดตาม การขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ทกุ ระดับ4.2 สาํ นกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา มีบทบาทหนาที่ขับเคล่ือนกระบวนชมุ ชนการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) ดงั นี้ 1) ศึกษา วิเคราะห กําหนดรูปแบบกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พรอมทั้งจัดทําคูมือเพื่อเปนแนวทางใหสถานศึกษาและครูนําไปดําเนินการ 2) จัดประชุมสัมมนาสรางความรูความเขาใจแนวทางการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชพี (PLC) ในสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ใหสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศกึ ษา

29 3) สงเสริม สนับสนุน สรางแรงจูงใจ ในการดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา และครู เชน ยกยองเชิดชูเกียรติท่ีดําเนินการเปนแบบอยางได และนาํ ไปเผยแพรผ ลงาน 4) นิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ของสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 5) สรุปรายงานผลการดาํ เนนิ การขับเคลอื่ นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC)4.3 สถาบนั อาชวี ศกึ ษา สถาบันอาชีวศึกษา มีบทบาทหนาที่ขับเคลื่อนกระบวนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ดังนี้ 1) แตง ตง้ั คณะกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ PLC ในระดับสถาบนั การอาชีวศกึ ษา 2) กําหนดแผนงานการขบั เคลอื่ นกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ในสถาบันอาชีวศึกษา เช่ือมโยงนโยบายจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อจัดทําแผนงานการขับเคลอื่ นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสถาบันการอาชวี ศึกษา 3) สรางความรู ความเขาใจและแนวทางการปฏิบัติใหกับสถานศึกษาของสถาบันอาชีวศึกษา 4) สง เสริม สนับสนุน สรางแรงจงู ใจ ใหกบั ครใู นการดาํ เนนิ การกระบวนการ PLCเชน สนบั สนนุ ดานการนําเทคโนโลยีสานสนเทศมาใชในการบันทึกขอมูล สรางแรงจูงใจกระตุนครูใหมกี ําลังใจในการจดั ทาํ รวมแกป ญหา สนับสนุนการสรางความรูความเขาใจ หรือพัฒนาใหครูมีความรูในการสรางเครื่องมือหรือนวัตกรรมที่เกี่ยวของที่จําเปนในการดําเนินการกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) ยกยองเชดิ ชเู กยี รติท่ดี ําเนินการเปน แบบอยางได และนาํ ไปเผยแพรผ ลงาน 5) กํากับ ตดิ ตาม และประเมินผล และรายงานผลการดาํ เนนิ การการขับเคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูทางวิชาชพี (PLC) และเผยแพรผลงาน3. สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา มีบทบาทหนาท่ีขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ(PLC) ดงั น้ี 1) แตงตงั้ คณะกรรมการขับเคล่อื นกระบวนการชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC) ในระดับสถานศกึ ษา 2) จัดทาํ แผนงานการขบั เคล่อื นกระบวนการชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ในสถาน

30ศึกษาอาชวี ศึกษาควรประกอบดว ย - แผนการใหความรู สรา งความเขา ใจ และแนวทางการปฏิบตั ใิ หกับบุคลากร ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา - แผนการสรางทีม PLC ในสถานศึกษาที่สอดคลองกับบริบทของสถานศกึ ษา - แผนการสรางเครอื ขายกับหนว ยงานอน่ื (ระดบั บุคคล/องคการ/หนวยงาน) - แผนการสง เสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา - แผนการกํากับ ตดิ ตาม นเิ ทศ และประเมินผล - จัดทําปฏิทินงานประจําภาคการศึกษาการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี (PLC) ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ปฏิทนิ งานประจําปก ารศึกษา 3) การขับเคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ในระดบั สถานศกึ ษา - ใหค วามรู สรา งความเขา ใจ สรา งแรงจงู ใจ จดั ประชุมครู การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ - จดทะเบียนจดั ตัง้ ทมี PLC ในสถานศกึ ษา - สมาชิก PLC ทําแผนปฏบิ ัติการของทีม - สมาชิก PLC ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการพรอมทั้งบันทึกรองรอยลงใน Logbookตามลําดบั ข้ันของแตละวงรอบ - สรุปรายงานผลการดําเนนิ งานของแตละภาคเรียน 4) นเิ ทศ กํากับ ติดตาม และประเมนิ ผลกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี (PLC) - จดั ทาํ เคร่ืองมือ กํากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชีพ (PLC) ในระดับสถานศกึ ษา - คณะกรรมการ กํากับ ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชีพ (PLC) ในระดับสถานศกึ ษา 5) เรงรัด ติดตาม และสนับสนุน ใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประสบความสําเร็จในการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรยี นรูท างวชิ าชีพ (PLC) ในระดบั สถานศึกษา 6) สรุปรายงานผลการดําเนินการขบั เคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี (PLC) - ใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รายงานผลการดําเนินการ PLC พรอมLogbook เปนรายบุคคลตอ ผูบรหิ ารสถานศึกษา - คณะกรรมการกํากับ ติดตาม นิเทศและประเมินผลการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศึกษาอาชีวศึกษา จัดทําสรุป และรายงานผลการดําเนินการติดตามการขับเคล่อื นกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชีพ (PLC) ในสถานศกึ ษา

31 - สถานศึกษารายงานผลการดําเนินการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ตอสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 7) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียน และยกยองเชิดชูเกียรติการขับเคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี (PLC) - สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรู (Show & Share) การขบั เคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี (PLC) สูสถานศึกษาอาชวี ศึกษาที่สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา - ยกยองเชดิ ชูเกยี รตขิ าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ทีส่ ามารถเปน แบบอยางไดและเผยแพรด วยวิธีการท่หี ลากหลาย เครอื่ งมอื ในการประเมินผลการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) มีตัวอยางแบบประเมินโครงการที่ดําเนินการผานกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และแบบประเมินกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC)ของสถานศึกษา สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา รายละเอยี ดดงั ภาคผนวก ค จากรายละเอียดการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สรุปเปนแผนภาพบทบาทหนาท่ีของ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา (สสอ.) สถาบันอาชีวศึกษา และสถานศึกษาในการขับเคล่ือนกระบวนการชมุ ชนการเรียนรูท างวิชาชีพ (PLC) ดงั นี้

32แผนภาพท่ี 3 : บทบาทหนา ที่แนวทางการขับเคล่อื นกระบวนการชมุ ชนการเรยี นรูท างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC)

33 บรรณานกุ รมนายมนตรี แยมกสิกร (2560). ชมุ ชนการเรยี นรวู ิชาชีพ: ความทาทายตอการเปลีย่ นตนเองของครู Professional Learning Community: Challenges in Self-Development of Teachers. กรงุ เทพมหานครสํานักงานขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา.(2560).การปรบั ปรุงมาตรฐานตาํ แหนงและ มาตรฐานวทิ ยฐานะของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอน. หนงั สอื เวยี นทีศ่ ธ 0206.4/ว 20 วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560.สํานกั งานขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.(2560).หลกั เกณฑและวิธกี ารใหขาราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษาตาํ แหนงครูมวี ทิ ยฐานะและเลือ่ นวทิ ยฐานะ.หนงั สอื เวียนที่ ศธ 0206.3/ว 21 วันท่ี 5 กรกฎาคม 2560.สาํ นักงานขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา.(2560).หลักเกณฑแ ละวธิ ีการพัฒนาขา ราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสายงานการสอน.หนงั สอื เวยี นที่ ศธ 0206.7/ว 22 วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560.ศ.นพ.วจิ ารณ พานชิ .(2559).บันเทิงชีวิตครู...สูช มุ ชนการเรียนรู.กรงุ เทพฯ: มลู นธิ ิสยามกัมมาจล .(2554).วถิ สี รางการเรียนรเู พ่อื ศษิ ยในศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: ตถาตา0 พลบั ลิเคชน่ั จํากดั .Senge (2006). The Fifth Discipline Field Book : Strategies and Tools for Building a Learning Organization. New York : Doubleday.Sergiovanni, T. (1994). Building community in schools. San Francisco, CA: Jossey Bass.

ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook