Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 3204-2006 วิเคราะห์และออกแบบระบบ

แผนจัดการเรียนรู้รายวิชา รหัส 3204-2006 วิเคราะห์และออกแบบระบบ

Published by sopit.b, 2020-06-25 01:05:06

Description: จุดประสงค์ของการเรียนรู้
1.เข้าใจในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
2.มีทักษะในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธุรกิจ
3.มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ และเจตคติที่ดีในวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Keywords: วิเคราะห์และออกแบบระบบ,ออกแบบ,ระบบ,flowchart,dfd,system

Search

Read the Text Version

 ถ้าคุณต้องการทาสาเนาเหมือนกนั ของมมุ มองแผน่ ข้อมลู คุณสามารถใชค้ ุณลกั ษณะซ้ากันในแอป Access  เมอ่ื ต้องการทาสาเนาของมมุ มองแผ่นข้อมลู ทาตามขั้นตอนตอ่ ไปน:ี้  เปิดโปรแกรมประยุกตใ์ น Access  คลกิ ทชี่ อ่ื คาอธบิ ายของตารางในตวั เลือกตารางในบานหน้าตา่ งด้านซา้ ยแล้ว คลิ กมุมมองแผ่นขอ้ มลู  คลิกป่มุ คุณสมบัติแล้ว คลิ กทาซา้ พิมพ์ชื่อของสาเนาใหม่ของมุมมองแผ่นข้อมูลในกล่องช่ือของการทาซ้า โปรดสังเกตว่า วัตถุแต่ละ มุมมองในบานหน้าต่างทางต้องไม่ซ้ากัน เลือกตารางเพื่อกาหนดน้ีในตาแหน่งท่ีต้ังสาหรับสาเนา กล่อง เมื่อ คุณกาหนดสาเนาของมุมมองไปยังตาราง Access แสดงชื่อคาอธิบายมุมมองเมื่อคุณคลิกที่ช่ือคาอธิบายของ ตารางในบานหน้าตา่ งด้านซา้ ย เคล็ดลับ: ถ้าคุณไม่ต้องการกาหนดสาเนาของมุมมองไปยังตารางที่เฉพาะเจาะจง คุณสามารถเลือก [แบบสแตนด์อโลน/ป็อปอัพ] ในตาแหน่งที่ต้ังสาหรับกล่องซ้า เม่ือคุณทาสาเนาของมุมมองเป็นมุมมอง แบบสแตนด์อโลน Access แสดงวัตถุ ใน บานหน้าต่างนาทาง แต่ไม่ได้อยู่ ในรายการของมุมมองที่กาหนด ให้กับตาราง เมื่อต้องการเปิดมุมมองแบบสแตนด์อโลนในเบราว์เซอร์ของคุณ คุณต้องใช้แมโครแอคชัน OpenPopup คลิกตกลง เพ่ือสร้างสาเนาใหม่ของมุมมองแผ่นข้อมูล หรือคลิกยกเลิก เพื่อยกเลิกการสร้าง สาเนาของมุมมองแผ่นข้อมูล

กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน เพ่อื ทดสอบพนื้ ฐานความร้เู บ้ืองต้นเกีย่ วกบั การสร้างและใชง้ านตาราง เพ่อื เปน็ แนวทางในการ จดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับผ้เู รียน 2. ขณะเรียน เพอื่ วดั ความรู้ ความเขา้ ใจเบื้องต้นเกย่ี วกบั การสร้างและใช้งานตาราง รวมถึงสอื่ ทีใ่ ช้รวมทัง้ เทคนคิ วิธกี าร และพัฒนาการของผเู้ รียน 3. หลังเรียน เพอื่ ประเมินผลการจัดการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธขิ์ องผู้เรียนใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะประจาหนว่ ย งานท่ีมอบหมาย/ผลงาน/ช้ินงาน 1. ก่อนเรียน 1. ครชู แี้ จงแนวทางการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหนว่ ย 3. นักศึกษาแบ่งกลมุ่ ทากิจกรรม พรอ้ มรับเกณฑ์ประเมิน 2.ขณะเรยี น 1. ครูแนะนาเนื้อหาในเรื่อง ตารางในมุมมองแผ่นตารางขอ้ มลู ตามหัวขอ้ ดงั นี้ 1. บอกเกยี่ วกับมุมมองแผ่นตารางข้อมูล ( Database sheet) ในโปรแกรม Access 2010 2. ใชเ้ ครื่องมือในการจดั การกับตารางในมุมมองแผ่นตารางข้อมูล 3. ใชง้ านตารางในมมุ มองแผ่นตารางข้อมลู 4. ตรงึ คอลมั นใ์ นมมุ องแผน่ ตารางข้อมูล 5. จดั รปู แบบขอ้ มูลในตาราง 6. กรองข้อมลู 7. ค้นหาขอ้ มูลดว้ ยค่าต่าง ๆ 8. คานวณข้อมลู ท่ีเก็บในตาราง 3.หลงั เรยี น 1. แบบสรุปองค์ความรู้ Mind Mapping หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 2. แบบประเมินผลการเรยี นประจาหนว่ ย 3. นกั ศกึ ษาทาการประเมินผลปฏิบตั งิ านของตนเอง

4. บนั ทกึ คะแนนและคุณธรรมจรยิ ธรรมในด้านบวกและดา้ นลบ 5. สรปุ คะแนนผลการเรียนของนักศกึ ษาประจาหน่วย 4. ผลงาน/ช้นิ งาน ทีเ่ กดิ จากการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 1. แบบฝกึ หดั หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 2. ผลคะแนนการประเมินผลการเรยี นประจาหนว่ ย สอ่ื การเรยี น/การสอน - Power Point หนว่ ยท่ี 5 ตารางในมุมมองแผนตาราง - สอ่ื การเรยี นรอู้ อนไลน์ แหลง่ การเรยี นรู้ /สถานท่ี - หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาออมสนิ อปุ ถัมถ์ - หอ้ งสมดุ วิทยาลัยอาชีวศึกษาออมสนิ อุปถัมถ์ การบรู ณาการ/ความสัมพันธก์ ับวิชาอน่ื 1. วิชาภาษาไทย ด้านการอ่านจบั ใจความ การคิดวิเคราะห์ 2. วิชาภาษาอังกฤษที่เกย่ี วกับคาศัพทเ์ ฉพาะ 3. วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ด้านการมีเหตผุ ล และกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ 4. วชิ าสงั คมศึกษา ด้านการมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ การปฎิบัติกจิ กรรมในห้องเรยี น การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 5ส. การวดั และประเมินผล 1. กอ่ นเรยี น เพ่อื ทดสอบพ้ืนฐานความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับการสรา้ งและใช้งานตาราง เพอ่ื เป็นแนวทางในการ จดั การเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น 2. ขณะเรยี น เพื่อวัดความรู้ ความเข้าใจเบ้ืองตน้ เก่ยี วกับการสรา้ งและใช้งานตาราง รวมถึงส่ือท่ใี ชร้ วมท้ัง เทคนิควธิ ีการ และพัฒนาการของผเู้ รยี น 3. หลังเรียน เพอื่ ประเมินผลการจัดการเรยี นรู้ ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นให้เป็นไปตามสมรรถนะประจาหนว่ ย

กิจกรรมเสนอแนะ - เพ่ิมความสนใจ ในการนารูปภาพประกอบทีน่ ่าสนใจ เหมาะกับการเรยี นรู้ มาประกอบใน การสอน เพอื่ สรา้ งทักษะในการเรยี นรแู้ ละจดจา - หลังจากจบการเรียน การสอนในช้ันเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทาการศึกษาทบทวน เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ที่สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนนั้นสามารถทราบผลความคืบหน้าของตนเองเก่ียวกับการเรียน ในแตล่ ะคร้ัง

แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยที่ 6 จานวน 18 ช่ัวโมง รหสั 2204-2008 วิชา โปรแกรมจัดการฐานข้อมลู หนว่ ยกติ 3 ชื่อหน่วย การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู 1. สาระสาคญั ในการใช้งานฐานข้อมูลนน้ั การสร้างแบบสอบถามข้อมูลจะทาใหส้ ามารถค้นหาข้อมลู หรือเรยี กใช้ งานขอ้ มลู ได้อยา่ งสะดวกและรวดเร็วมากย่งิ ข้นึ นอกจากนั้น ในการใช้งานแบบสอบถามยังสามารถสรา้ งได้ หลายวีธแี ละทาได้งา่ ยพร้อมกับสามารถคานวณค่าข้อมลู ให้กบั ผูใ้ ช้งานฐานข้อมลู ได้อีกดว้ ย 2. สมรรถนะการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ดว้ ยโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. สรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ด้วยโปรแกรม Microsoft Access 2010 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. รจู้ กั กบั แบบสอบถามข้อมลู 2. ประเภทของแบบสอบถาม 3. การสรา้ งแบบสอบถาม 4. การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ด้วยมมุ มองออกแบบ 5. การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ด้วยเครื่องมือชว่ ยสร้าง 6. การสรา้ งสอบถามขอ้ มูลด้วยคาสัง่ SQL 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ ( Profession Ethic ) ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซอื่ สัตย์ เสยี สละ อดทน 2. ใฝห่ าความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรยี น ท้งั ทางตรงและทางอ้อม 3. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผ้อู ่ืน เผือ่ แผ่และแบง่ ปัน 4. คานงึ ถงึ ประโยชนข์ องส่วนรวมมากกวา่ ผลประโยชน์ของตน

ตารางวิเคราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จดุ ประสงคก์ ารสอน 2 เง่อื นไข หนว่ ยท่ี 6 ความรู้ คุณธรรม เรื่อง แนะนาโปรแกรม Microsoft Access พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล 2010 ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.แบบสอบถามข้อมลู แบบ Query  8 2  8 3 2.ประเภทของแบบสอบถาม Query  9 1  8 2 3.สร้างแบบสอบถามขม้ ูลแบบ Query  8 3 4.สร้างแบบสอบถามข้อฒูลด้วยมมุ มอง ออกแบบ Query Design  9 1 5.สรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ด้วยเครือ่ งมอื ช่วย 1 6 46 6 6 6 6 6 6 สร้าง Query Wizard 2312311112 6.สร้างแบบสอบถามข้อมูลดว้ ยคาส่งั SQL รวม ลาดับความสาคัญ

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6 การสรา้ งแบบสอบถามข้อมูล(Query) จงเลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว 1. ประเภทของแบบสอบถามขอ้ มลู หรือคิวรี่ (Query) มกี ปี่ ระเภท ง. 3 ประเภท 2. แบบสอบถามขอ้ มูลทสี่ ามารถกาหนดเงอ่ื นไขในการเลือกข้อมูลมาแก้ไขคือแบบสอบถามประเภทใด ค. Update Query 3. Make Table Query คือแบบสอบถามข้อมลู ทีส่ รา้ งขึ้นเพ่อื อะไร ก. เพ่ือสร้างตารางใหม่โดยนาข้อมลู เดมิ ท่มี อี ยนู่ ้นั มาสร้างตารางใหม่อีกครง้ั 4. ถา้ ตอ้ งการกาหนดเง่อื นไขของฟิลด์ในการค้นหาข้อมูลต้องกาหนดท่ีช่องใด ข. Criteria 5. ควิ รี่ประเภทท่ีเหมาะสาหรับการสารองขอ้ มูล ก. Make Table Query 6. แบบสอบถามแบบใดทใ่ี ช้เลือกดูขอ้ มูล โดยไม่มีการเปลยี่ นแปลงค่าใด ๆ ในตารางนน้ั ก. Action Query 7. ถา้ ตอ้ งการสร้างแบบสอบถามด้วยคาสง่ั SQL ต้องเลือกทม่ี ุมมองใด ก. มมุ มอง Query Design 8. เมื่อต้องการจดั เรยี งข้อมลู สามารถกาหนดไดท้ ี่ช่องใด ข. Or 9. ข้อใดต่อไปนท้ี ี่ไม่สามารถสรา้ งได้ในมุมมอง Query Wizard ก. Find Duplicates Query Wizard 10. ตวั ชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามใดชว่ ยคน้ หารายการท่ซี ้า ซ่ึงตัวช่วยสรา้ งนค้ี น้ หาแบบสอบถามเพ่อื คน้ หา ระเบยี นท่มี ีค่าซ้าในเขตขอ้ มลู ภายในตารางหรอื แบบสอบถาม ก. Find Duplicates Query Wizard

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรอื่ ง การสรา้ งแบบสอบถามข้อมูล แบบสอบถามคิวร่ี \"query\" หมายถึงการกระทาท่ีสั่งให้ฐานข้อมูลแสดงข้อมูลเฉพาะที่เราต้องการ ตามแบบสอบถามหรือคิวรี่เท่านั้น เป็นการกรองหรือดึงข้อมูลเฉพาะส่วนท่ีเราต้องการทราบมาดู มาแสดง เท่านั้น ซึ่ง Access2010 ก็ไดเ้ ตรียมเครื่องมือเครื่องไม้หรือตัวช่วยในการสร้างแบบสอบถามไว้ให้เราทดสอบ ทดลองใช้งานกันได้ง่ายๆ หลังจากนั้นเราสามารถท่ีจะสร้างแบบสอบถามด้วยตัวเอง ที่ตรงกับความต้องการ ของเรามากท่ีสดุ ต่อไปนั้นเอง ยกตัวอย่างเช่น แสดงรายการชือ่ สมชาย เปน็ ต้น หลังจากสร้างเสร็จแล้ว คิวร่ีก็ จะแสดงข้อมูลตามเงอ่ื นไขที่เราระบุไว้นั้นเอง นเ่ี ป็นหลักการง่ายๆ ของควิ รี่ สาหรับการดึงข้อมูลท่ีตอ้ งการมา แสดงนั้นเองครับ เรามาลองสร้างคิวร่ีกันดูสัก 1 ตัวอย่าง เพ่ือความเข้าใจ และสามารถทาได้ต่อไปครับ จากฐานข้อมูลทเ่ี ปดิ อย่ใู ห้เราคลกิ ท่ี สร้าง จากนน้ั คลิก ตัวชว่ ยสร้างแบบสอบถาม บนหนา้ ต่างวินโดว์ ตวั ชว่ ย สร้างแบบสอบถามอยา่ งงา่ ย จากนั้นคลกิ ปุ่ม ตกลง จะเข้าสู่ข้ันตอนของการ แสดงฟิลด์ที่เราต้องการ ตามตัวอย่างให้เลือกเอา firstname และ lastname สอง ตัวก่อนครับ จากน้ันคลิก ถัดไป จากนั้นกค็ ลกิ เสร็จสิน้ และเปิดดูผลงาน เราควรจะไดผ้ ลการแสดงตามตวั อย่างด้านล่างครับ คือแสดงขอ้ มลู คล้ายๆ กบั ฐานข้อมูลตารางของเรา แต่จะ ต่างกันทม่ี ันจะแสดงแค่ 2 รายการตามท่เี รากาหนดไว้ในแบบสอบถามนนั้ เองคอื ช่ือกับนามสกลุ

สาหรับข้ันตอนนี้ จะเป็น การ Modify หรือเรียนรู้วิธีการปรับแต่งแบบสอบถามท่ีเจาะจงมากขึ้น ง่ายๆ ใน ฐานข้อมูลมีคนที่ช่ือว่า สมชาย อยู่หลายคนด้วยกันท่ีซ้าๆกัน เราจะมาลองกาหนดแบบสอบถามให้แสดง เฉพาะคนทชี่ อื่ สมชายกนั ครับ คลิกเมา้ สข์ วาท่แี บบสอบถาม จากนั้นไปที่ มมุ มองออกแบบ นข้ันตอนน้ี ในช่อง เกณฑ์ ให้เราพิมพ์คาว่า \"สมชาย\" จากน้ันให้เราเพิ่มฟิลด์ PersonsID เพ่ิมข้ึนมา อีก ดูตามตวั อยา่ ง

ตรวจสอบผลงานของเรากันครับ ถ้าไม่ผิดพลาดเราจะได้ฐานข้อมูลท่ีดึงมาแสดงเฉพาะคนท่ีช่ือ สมชาย เทา่ นั้น และมีฟลิ ดท์ ่ีเพมิ่ ขึ้นมาจากเดินคือ PersonsID แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 6 เรื่อง การสร้างแบบสอบถามข้อมูล ตอนท่ี 1 จงอธิบายความหมาย ขยายความหรือให้รายละเอียดเพ่ิมเติม ถ้ามีตัวอย่างใหย้ กตัวอยา่ ง ประกอบ 1. แบบสอบถามข้อมูลหรือคิวรี่ ( Query ) คืออะไรจงอธิบาย การรอ้ งขอข้อมลู เพ่ือใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ของขอ้ มลู ในการดาเนินการกระทากับข้อมลู หรอื ท้ังสองอย่าง โดยสามารถใช้แบบสอบถามเพอ่ื ตอบคาถามงา่ ยๆ และทาการคานวณ รวมข้อมลู จากตารางตา่ งๆ หรือแม้แต่ เพ่ิม เปลย่ี นแปลง หรอื ลบขอ้ มูลตารางได้ แบบสอบถามที่ใชเ้ พอื่ เรียกข้อมูลจากตารางหรือทาการคานวณจะ เรยี กว่าแบบสอบถามแบบใชเ้ ลือกข้อมูล ส่วนแบบสอบถามท่ีใชเ้ พมิ่ เปล่ยี นแปลง หรือลบข้อมลู จะเรียกวา่ แบบสอบถามแอคชนั 2. แบบสอบถามข้อมูลมีกปี่ ระเภทอะไรบา้ ง 1. Select Query คือ แบบสอบถามเพอ่ื ใชเ้ ลือกข้อมลู สร้างข้ึนเพ่ือใหเ้ ลือกดขู ้อมูลจาก ตารางให้แสดงผลตามทผ่ี ้ใู ช้ต้องการ โดยไม่มีการเปล่ียนแปลงคา่ ใด ๆ ในตารางน้ัน 2. Action Query คือ แบบสอบถามทีใ่ ชใ้ นการแบบสอบถามท่ีใช้เพ่ิม เปล่ียนแปลง หรอื ลบข้อมลู 3. SQL Specific คือ แบบสอบถามข้อมูลท่สี ร้างโดยการเขียนคาสั่ง SQL 3. ประเภทของแบบสอบถามในมมุ มองออกแบบ ( Query Design ) มีอะไรบา้ ง - Select คอื ชนดิ แบบสอบถามแบบใชเ้ ลือกข้อมลู ทาใหแ้ บบสอบถามเลือกและ แสดงระเบยี นจากฐานข้อมลู

- Make Table คือ ชนิดแบบสอบถามแบบใช้สร้างตาราง ทาให้แบบสอบถามเลือก ระเบยี นจากฐานขอ้ มูลและบนั ทกึ ระเบียนเปน็ ตารางใหม่ - Append คือ ชนิดแบบสอบถามแบบผนวกข้อมลู ทาให้แบบสอบถามเพ่ิมระเบียน ลงในตารางทมี่ ีอยู่ - Update คอื ชนิดแบบสอบถามแบบปรบั ปรงุ ข้อมูล - Crosstab คือ ชนิ ดแบ บ สอบ ถามแบ บ ตาราง ท าให้ แบ บ สอบ ถามเป็ น แบบสอบถามแบบตารางซ่ึงจะรวมค่าข้อมูล 2 ชุด ชุดหนึ่งแสดงลงทางด้านซ้ายของแผ่นข้อมูล และอีก ชุดหนึ่งแสดงตามขวางของแผ่นข้อมลู - Delete คือ ชนิดแบบสอบถามแบบใช้ลบข้อมูล ทาให้แบบสอบถามลบข้อมูลที่มี อยซู่ ึง่ ข้อมลู นั้นตอ้ งกบั เกณฑท์ ี่กาหนด 4. ประเภทของแบบสอบถามขอ้ มูลด้วยเครื่องมือชว่ ยสร้าง ( Query wizard ) มอี ะไรบา้ ง 1. Simple Query Wizard คือ ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามอย่างง่าย ซ่ึงช่วยสร้างแบบสอบถาม จากเขตข้อมูลทผ่ี ู้ใชเ้ ลือก 2. Crosstab Query Wizard คือ ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามแบบตาราง ซ่ึงแสดงข้อมูลใน รปู แบบทีก่ ระชับและคล้ายกับกระดาษคานวณ 3. Find Duplicates Query Wizard คือ ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามเพ่ือค้นหารายการที่ซ้า ซึ่ง ตัวชว่ ยสร้างน้ีคน้ หาแบบสอบถามเพือ่ คน้ หาระเบียนทม่ี คี ่าซา้ ในเขตข้อมูลภายในตารางหรือแบบสอบถาม 4. Find Unmatched Query Wizard คือ ตัวช่วยสร้างแบบสอบถามการค้นหาข้อมูลที่ไม่ ตรงกัน ตัวช่วยสร้างนี้สร้างแบบสอบถามซ่ึงค้นหาระเบียน ( แถว ) ในอีกตารางหน่ึงที่ไม่มีความสัมพันธ์ กับระเบยี นในอกี ตารางหนงึ่ 5. จงบอกวธิ กี ารสรา้ งแบบสอบถามแบบใช้ภาษา SQL 1. คลกิ ที่แถบ Create 2. เลือกคลกิ Query Design 3. จะปรากฏไดอะล็อกบ็อก Show Table 4. คลิก Close เพ่อื ปิดตารางทงั้ หมด 5. แถบ Ribbon ป่มุ SQL View เลือก SQL View 6. จะปรากฏหนา้ ต่างในมุมมอง SQL View 7. พมิ พแ์ บบสอบถามทต่ี อ้ งการให้แสดงผล 8. คลิกทีป่ ุม่ Run เพื่อแสดงผลขอ้ มูล

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 6 จงเลอื กคาตอบทีถ่ ูกต้องท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. ประเภทของแบบสอบถามขอ้ มูลหรอื คิวร่ี (Query) มีกป่ี ระเภท ข. 3 ประเภท 2. แบบสอบถามขอ้ มูลทส่ี ามารถกาหนดเง่อื นไขในการเลือกข้อมลู มาแก้ไขคือแบบสอบถามประเภทใด ก. Update Query 3. Make Table Query คอื แบบสอบถามข้อมูลที่สร้างข้นึ เพื่ออะไร ค. เพอ่ื สรา้ งตารางใหม่โดยนาขอ้ มูลเดิมทม่ี อี ย่นู ั้นมาสร้างตารางใหมอ่ ีกครัง้ 4. ถา้ ตอ้ งการกาหนดเงอ่ื นไขของฟลิ ดใ์ นการคน้ หาขอ้ มูลตอ้ งกาหนดที่ช่องใด ง. Criteria 5. ควิ รี่ประเภทท่เี หมาะสาหรับการสารองขอ้ มูล ค. Make Table Query 6. แบบสอบถามแบบใดทีใ่ ช้เลือกดูขอ้ มูล โดยไมม่ ีการเปล่ียนแปลงค่าใด ๆ ในตารางนั้น ค. Action Query 7. ถ้าต้องการสร้างแบบสอบถามดว้ ยคาสง่ั SQL ต้องเลือกทมี่ มุ มองใด ค. มุมมอง Query Design 8. เม่ือต้องการจัดเรียงข้อมูลสามารถกาหนดไดท้ ีช่ ่องใด ง. Or 9. ข้อใดตอ่ ไปนี้ทไ่ี มส่ ามารถสร้างได้ในมมุ มอง Query Wizard ค. Find Duplicates Query Wizard 10. ตัวชว่ ยสรา้ งแบบสอบถามใดช่วยค้นหารายการที่ซ้า ซึ่งตัวชว่ ยสรา้ งน้ีค้นหาแบบสอบถามเพอื่ คน้ หา ระเบียนทีม่ ีคา่ ซ้าในเขตขอ้ มูลภายในตารางหรือแบบสอบถาม ค. Find Duplicates Query Wizard

กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน เพอื่ ทดสอบพน้ื ฐานความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การสร้างแบบสอบถามข้อมูล เพื่อเปน็ แนวทางในการ จดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรยี น 2. ขณะเรยี น เพือ่ วัดความรู้ ความเขา้ ใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการการสร้างแบบสอบถามข้อมูล รวมถงึ ส่อื ทใ่ี ช้ รวมทง้ั เทคนิควธิ กี าร และพฒั นาการของผ้เู รียน 3. หลงั เรียน เพือ่ ประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรียนให้เป็นไปตามสมรรถนะประจาหน่วย งานท่มี อบหมาย/ผลงาน/ชน้ิ งาน 1. กอ่ นเรยี น 1. ครูช้ีแจงแนวทางการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่ม 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหนว่ ย 3. นักศึกษาแบง่ กลมุ่ ทากจิ กรรม พรอ้ มรบั เกณฑ์ประเมิน 2. ขณะเรียน 1. ครูแนะนาเนื้อหาในเรื่อง การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ตามหวั ขอ้ ดงั น้ี 1. รจู้ ักกับแบบสอบถามขอ้ มูล 2. ประเภทของแบบสอบถาม 3. การสร้างแบบสอบถาม 4. การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ดว้ ยมมุ มองออกแบบ 5. การสรา้ งแบบสอบถามข้อมลู ดว้ ยเคร่ืองมือชว่ ยสร้าง 6. การสรา้ งสอบถามขอ้ มูลด้วยคาส่งั SQL 3. หลงั เรียน 1. แบบสรุปองค์ความรู้ Mind Mapping 2. แบบประเมนิ ผลการเรยี นประจาหนว่ ย 3. นักศึกษาทาการประเมินผลปฏิบตั งิ านของตนเอง 4. บนั ทึกคะแนนและคณุ ธรรมจริยธรรม 5. สรุปคะแนนผลการเรียนของนักศึกษาประจาหน่วย

4. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกดิ จากการเรยี นร้ขู องผู้เรียน 1. แบบฝึกหัดท้ายบท 2. ผลคะแนนการประเมินผลการเรยี นประจาหนว่ ย สอ่ื การเรยี น/การสอน - Power Point หนว่ ยที่ 6 การสร้างแบบสอบถามข้อมูล - สือ่ การเรยี นรู้ออนไลน์ แหล่งการเรยี นรู้ /สถานท่ี - ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาออมสนิ อปุ ถัมถ์ - ห้องสมดุ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาออมสนิ อุปถมั ถ์ การบรู ณาการ/ความสมั พันธก์ ับวิชาอืน่ 1. วิชาภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความ การคดิ วิเคราะห์ 2. วชิ าภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวกับคาศัพท์เฉพาะ 3. วิชาวทิ ยาศาสตร์ ด้านการมเี หตุผล และกระบวนการทางานอยา่ งเป็นระบบ 4. วชิ าสังคมศึกษา ด้านการมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ การปฎิบตั ิกิจกรรมในหอ้ งเรยี น การปฏบิ ัติกจิ กรรม 5 ส. การวัดและประเมินผล 1. ก่อนเรียน เพื่อทดสอบพื้นฐานความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกับการสร้างแบบสอบถามข้อมลู เพ่ือเปน็ แนวทางในการ จัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผ้เู รยี น 2. ขณะเรยี น เพอื่ วดั ความรู้ ความเข้าใจเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การการสรา้ งแบบสอบถามขอ้ มลู รวมถึงสื่อทีใ่ ช้ รวมทั้งเทคนิควธิ ีการ และพัฒนาการของผูเ้ รยี น 3. หลงั เรียน เพอื่ ประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ ผลสัมฤทธ์ขิ องผ้เู รียนให้เปน็ ไปตามสมรรถนะประจาหนว่ ย กจิ กรรมเสนอแนะ - หลังจากจบการเรียน การสอนในชั้นเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาสทาการศึกษา ทบทวน เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ที่สามารถโต้ตอบกับ ผู้เรียนได้ ซ่งึ ทาให้ผู้เรยี นน้ันสามารถทราบผลความคบื หน้าของตนเองเก่ยี วกบั การเรยี นในแตล่ ะครงั้

แผนการจดั การเรยี นรหู้ น่วยท่ี 7 จานวน 18 ชวั่ โมง รหสั 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมลู หน่วยกิต 3 ชอื่ หน่วย การสรา้ งฟอรม์ 1. สาระสาคญั ในการใชง้ านฐานข้อมูลนั้นจาเป็นต้องมีฟอร์มเพอื่ ใชส้ รา้ งส่วนตดิ ตอ่ กับผู้ใชเ้ พอื่ ชว่ ยให้ผ้ใู ชส้ ามารถ ใชง้ านฐานขอ้ มูลไดง้ า่ ยขนึ้ ซงึ่ ฟอร์มทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพนั้นจะชว่ ยใชผ้ ูใ้ ชฐ้ านข้อมลู เพม่ิ ข้อมูลเข้าไปเกบ็ และ จัดการกับขอ้ มูลในตารางไดอ้ ยา่ งเพลนิ เพลนิ และมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ และยงั ชว่ ยป้องกันไมใ่ หม้ ีการใส่ ขอ้ มลู ที่ไม่ถกู ต้องเข้าไปในระบบไดอ้ ีกดว้ ย 2. สมรรถนะการเรียนร้ทู ค่ี าดหวงั 1. แสดงความรู้เก่ียวกับฟอร์มในโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. สรา้ งฟอร์มตามแบบท่ีกาหนดโดยใชโ้ ปรแกรม Microsoft Access 2010 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกความหมายของฟอร์ม 2. บอกสว่ นประกอบของฟอร์ม 3. สรา้ งฟอรม์ โดยใชเ้ ครื่องมือ Form 4. สร้างฟอร์มอย่างง่ายโดยใชเ้ คร่ืองมือ Form 5. สรา้ งฟอรม์ โดยใช้เครื่องมือ Blank Form 6. ปรบั แต่งฟอรม์ ดว้ ยเคร่ืองมือต่าง ๆ 7. สรา้ งฟอรม์ โดยใช้ตวั ช่วยสรา้ งฟอร์ม Form Wizard 8. สร้างฟอร์มทแ่ี สดงหลายระเบยี นโดยใชเ้ ครือ่ งมือ Multiple Items 9. สร้างฟอร์มแยกโดยใช้เครื่องมือ Split Form 10. สรา้ งฟอร์มแบบแผนภมู ิ Pivot Chart 11. สร้างฟอรม์ แบบตารางสรุปขอ้ มลู หลายมิติ Pivot Table 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ ( Profession Ethic ) ตามค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศกึ ษาเลา่ เรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อืน่ เผื่อแผ่และแบ่งปนั 4. คานึงถงึ ประโยชนข์ องสว่ นรวมมากกวา่ ผลประโยชน์ของตน

ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงค์การเรียนรู้ โดยบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงคก์ ารสอน 2 เง่ือนไข หน่วยที่ 7 ความรู้ คุณธรรม เรอื่ ง การสรา้ งฟอร์ม 3 ห่วงพอประมาณ ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.ความหมายของฟอร์ม Form       32 2.สว่ นประกอบของฟอรม์ Form       11 3 3.สรา้ งฟอร์มโดยใช้เครอื่ งมือฟอรม์ Form        7 1 4.สร้างฟอร์มอยา่ งง่ายโดยใช้เครื่องมือ       11 2 Form 5.สร้างฟอรม์ โดยใชเ้ ครอื่ งมือ Blank Form       11 3 6.ปรับแตง่ ฟอร์มดว้ ยเครื่องมือต่างๆ         11 1 7.สร้างฟอร์มโดยใชต้ ัวชว่ ยสร้างฟอร์ม       11 2 Form Wizard 8.สร้างฟอร์มท่ีแสดงหลายระเบียนโดยใช้         11 1 เครอ่ื งมอื Multiple Items 9.สร้างฟอรม์ แยกโดยใช้เครื่องมอื Split       11 2 Form 10.สร้างฟอร์มแยกโดยใชเ้ คร่ืองมือ Split       11 1 Form 11.สร้างฟอร์มแบบแผนภมู ิ (pivot Chart)        4 3 รวม 3 11 7 11 11 11 11 11 11 4 ลาดับความสาคัญ 2312 3 1 1 1 12

แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 7 การสรา้ งฟอร์ม (Form) ตอนท่ี 2 จงเลอื กคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งท่ีสุดเพียงขอ้ เดียว 1. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไม่ใชส่ ว่ นประกอบของฟอร์ม ข. Attribute 2. การสรา้ งฟอร์มโดยใช้เคร่ืองมือ Form จะเกดิ ฟอร์มในลักษณะใด ข. ฟอร์มทีแ่ สดงข้อมูลหนึ่งเรคคอรด์ ต่อหนึ่งหนา้ ของฟอร์ม 3. Multiple Items คอื ฟอร์มแบบใด ง. ฟอร์มทแ่ี สดงทุกเรคคอร์ดในลักษณะแผน่ ตาราง 4. ฟอรม์ ประเภทใดใชแ้ สดงข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ ข. Pivot Chart Form 5. จากรปู น้ี ปุม่ นีเ้ ป็นปุ่มคาสั่งใด ก. เป็นการสร้างฟอร์มแบบผสม ท่ีทาให้เห็นมุมมองของข้อมูล 2 มุมมองในเลาเดียวกัน คือมุมมอง แบบ Datasheet และมุมมองฟอร์ม 6. จากรูปนี้ ปมุ่ น้ีเป็นปุ่มคาสั่งใด ข. เป็นคาส่ังในการสร้างฟอร์มอย่างงา่ ย โดยจะแสดงข้อมลู ในตารางหรอื แบบสอบถามข้อมลู ทนั ทีท่ี สร้างฟอร์ม 7. ถ้าต้องการสร้างฟอร์มอย่างรวดเรว็ ตอ้ งเลอื กปุ่มคาสัง่ ใด ก. 8. เครื่องมือในการจดั รปู แบบฟอรม์ ท่ีแสดงนี้ ใชส้ าหรบั ทาอะไร ค. กาหนดสพี ้นื หลังท่ใี ช้แบบสลับสี 9. ถ้าผู้ใช้ตอ้ งการจดั รูปแบบฟอร์มจากแม่แบบต้องเลอื กท่ีปุม่ ใด ค. 10. ขอ้ ใดต่อไปน้ไี ม่ใชร่ ูปแบบการแสดงของฟอรม์ ท่ีสร้างจากเครอื่ งมือ Form Wizard ข. แบบแผนภมู ิ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 เรือ่ ง การสร้างฟอรม์ ตวั ชว่ ยสรา้ งฟอร์ม access 2010 เมนูด้านบนของโปรแกรม Access 2010 คลิกไปที่แถบ สร้าง จากน้ันจะแสดงรายการเมนูใช้งาน จานวนหนึ่ง ให้เรามองหาเมนู \"ตัวช่วยสร้างฟอร์ม\" คลิกขึ้นมา จะเข้าสู่หน้าต่างช่วยในการสร้างแบบฟอร์ม ซึ่งโปรแกรม Access 2010 จะแสดงรายการของตารางฐานข้อมูลท่ีเราสร้างไว้แล้วขึ้นมาให้เราเลือกนาฟิลด์ หรือช่องข้อมูลที่ต้องการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ขึ้นมาให้เราโดยอัตโนมัติแล้ว เราก็เพียงใช้งานเม้าส์ในการคลิก เลอื กนาเข้าฟิลด์ที่ต้องการ หรือหากต้องการนามาใช้งานหรือแสดงทง้ั หมดก็ทาไดง้ ่ายๆ นิดเดียวโดยการคลิก ท่ีปุ่ม ทางกลับกัน เมื่อนาไปแล้ว หากเปลี่ยนใจไม่ต้องการฟิลด์น้ันๆ ก็ให้ Remove กลับได้ โดยการคลิกที่ ปุ่มลูกศร เปน็ การย้ายฟลิ ดท์ ี่ไมต่ ้องการกลับทีเ่ ดิมนัน้ เอง เห็นไหมละครับ ว่าตัวชว่ ยสร้างมันใชง้ านง่ายจริงๆ หลังจากท่เี ราเลือกและกาหนดจนพอใจแลว้ กใ็ หค้ ลกิ ปุม่ \"ถดั ไป\" สาหรับขน้ั ตอนน้จี ะเปน็ การ คลิกเลือกเขตข้อมลู ท่มี ีอย่เู พื่อนาไปแสดงหรือใช้งานบนแบบฟอร์มต่อไป ขัน้ ตอนตอ่ มาจะเปน็ การเลอื กรูปแบบของ ฟอร์ม ซงึ่ จะมีด้วยกนั 4 แบบ แตกต่างกันออกไป สามารถ เลอื กใชง้ านได้ตามถนดั และความชอบ สาหรับตวั อยา่ งในวันนี้ ผมเลือกใช้แบบแรกคอื แบบคอลัมน์

ขน้ั ตอนต่อมาเป็นการกาหนดค่าเพิ่มเติม เช่น ช่อื ของฟอรม์ และตัวเลือก เปดิ ฟอร์มเพื่อดูหรอื ปอ้ นขอ้ มูล ให้ เราคลกิ ปุ่ม \"เสรจ็ สน้ิ \" เพอ่ื จบขัน้ ตอนการใช้ตัวชว่ ยสร้างฟอรม์ ใน Access 2010 ถา้ ทกุ อยา่ งถูกต้องเราก็ควรจะได้หนา้ ตาของ ฟอร์มท่ีพร้อมสาหรับการกรอกขอ้ มูลตามภาพประกอบ ด้านลา่ ง ซงึ่ ใหเ้ ราดทู ่ีจานวน ระเบยี น ขอ้ มลู ว่ามกี ่รี ะเบียน ใชเ้ ม้าสค์ ลิกลูกศรเล็ก ๆ ตามท่ผี มใช้ลกู ศรกากับ ไว้ ได้เลยครบั เพื่อควบคมุ 1 เลื่อนมาทรี่ ะเบยี นแรกสดุ 2 ระเบียนถัดไป 3 ไประเบยี นสุดทา้ ย 4 เรม่ิ ระเบียนใหม่ กรอกข้อมูล

แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 7 เร่ือง การสรา้ งฟอรม์ ตอนที่ 1 จงอธบิ ายความหมาย ขยายความหรือใหร้ ายละเอียดเพิ่มเติม ถา้ มตี ัวอยา่ งใหย้ กตัวอย่าง ประกอบ 1. จงอธบิ ายความหมายของฟอรม์ ( Form) ฟอรม์ ( Form ) คือ วัตถุฐานขอ้ มูลทส่ี ามารถใชเ้ พ่ือสร้างสว่ นติดต่อผใู้ ช้ ( User Interface ) สาหรับ โปรแกรมประยุกตข์ องฐานข้อมูล เพื่อให้ผใู้ ชง้ านฐานขอ้ มูลสามารถติดต่อกบั ข้อมูลได้สะดวกขึ้นโดยการ เรียกใชง้ านข้อมลู ผา่ นฟอร์มที่สร้างได้ 2. ส่วนประกอบของฟอร์มมีอะไรบา้ ง ฟอรม์ ในโปรแกรม Microsoft Access 2010 นั้นจะถูกแบ่งส่วนประกอบออกเป็น 3 สว่ นคือ 1. ส่วนหวั ของฟอร์ม ( Form Header) คอื ส่วนท่อี ยู่บนสุดของฟอรม์ ใช้แสดงขอ้ มูลตามที่ ผูใ้ ช้กาหนดส่วนใหญจ่ ะแสดงตลอดเวลาเชน่ ช่อื ฟอร์ม ชือ่ โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ วันที่ และเวลา เป็นต้น 2. สว่ นรายละเอียด ( Detail ) คอื สว่ นท่อี ยตู่ รงกลางของฟอร์ม ใชส้ าหรบั วางฟลิ ดข์ ้อมูลและ ตวั ควบคุมตา่ ง ๆ เพื่อเปน็ ส่วนติดตอ่ กับผใู้ ชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลหรอื รายละเอียดตา่ ง ๆ 3. ส่วนทา้ ยของฟอรม์ ( Form Footer) คือสว่ นท่ีอยลู่ า่ งสดุ ของฟอรม์ โดยจะแสดงข้อมลู ตลอดเวลาของฟอรม์ สว่ นใหญจ่ ะเก็บข้อมลู เกย่ี วกบั หนว่ ยงาน และการติดตอ่ สอบถามเป็นตน้ 3. จงบอกขนั้ ตอนการสรา้ งฟอร์มด้วยการใช้เครื่องมือ From 1. คลิกทีเ่ มนู Create 2. คลิกเลือกตารางที่ตอ้ งการในหน้าต่าง Navigation penal ดา้ นซ้ายมือ 3. คลกิ ทปี่ ุ่ม Form หรือ ฟอร์ม 4. จะแสดงหน้าจอฟอรม์ ในมุมมองเคา้ โครงรา่ ง ( Layout View ) 4. รปู แบบของฟอรม์ ที่สรา้ งดว้ ยเครอ่ื งมือชว่ ยสรา้ ง ( Form wizard ) มีอะไรบา้ ง 1. คลกิ ท่ีแถบ Create 2. คลิกปุ่ม Form Wizard ตวั ชว่ ยสร้างฟอรม์ 3. ปรากฏไดอะล็อกบ็อก Form Wizard เลือกตารางท่ีตอ้ งการ 4. เลือกฟลิ ดท์ ตี่ ้องการ โดยสามารถเลอื กได้มากกวา่ 1 ตารางหรือแบบสอบถาม 5. คลิกปุ่ม Next 5. จงบอกวธิ กี ารสร้างเพ่ิมขอ้ มูลจากฟอรม์ เพอ่ื จดั เกบ็ ในตาราง 1. ท่ีแท็บ Home

2. เลอื กมุมมอง ( View ) เลอื ก Form View 3. จะปรากฏฟอร์มท่ีพร้อมให้เพิ่มขอ้ มูล 1 ระเบยี น 4. คลิกปุ่ม Next Record เพื่อเพม่ิ ข้อมูลคนต่อไป 5. แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยท่ี 7 การสรา้ งฟอร์ม ( Form) ตอนท่ี 2 จงเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสดุ เพยี งข้อเดียว 1. ข้อใดต่อไปน้ีไม่ใชส่ ่วนประกอบของฟอรม์ ง. Attribute 2. การสร้างฟอร์มโดยใชเ้ ครื่องมือ Form จะเกดิ ฟอรม์ ในลักษณะใด ข. ฟอร์มที่แสดงข้อมูลหนึง่ เรคคอรด์ ต่อหนงึ่ หน้าของฟอร์ม 3. Multiple Items คือฟอร์มแบบใด ข. ฟอรม์ ทแี่ สดงทุกเรคคอรด์ ในลกั ษณะแผ่นตาราง 4. ฟอรม์ ประเภทใดใช้แสดงข้อมูลในลกั ษณะแผนภมู ิ ง. Pivot Chart Form 5. จากรปู น้ี ปุ่มนี้เป็นปุ่มคาสง่ั ใด ค. เป็นการสร้างฟอร์มแบบผสม ที่ทาให้เห็นมุมมองของข้อมูล 2 มุมมองในเลาเดียวกัน คือมุมมอง แบบ Datasheet และมุมมองฟอร์ม 6. จากรปู นี้ ปุม่ น้ีเป็นปมุ่ คาส่ังใด ง. เป็นคาส่ังในการสร้างฟอร์มอย่างงา่ ย โดยจะแสดงข้อมลู ในตารางหรอื แบบสอบถามข้อมลู ทันทีท่ี สรา้ งฟอร์ม 7. ถา้ ต้องการสร้างฟอร์มอย่างรวดเรว็ ต้องเลือกปุ่มคาส่งั ใด ค. 8. เคร่ืองมือในการจัดรูปแบบฟอรม์ ท่ีแสดงนี้ ใชส้ าหรบั ทาอะไร ก. กาหนดสีพน้ื หลังท่ีใชแ้ บบสลบั สี 9. ถ้าผใู้ ชต้ อ้ งการจดั รปู แบบฟอร์มจากแม่แบบต้องเลอื กทปี่ ุ่มใด ก. 10. ขอ้ ใดต่อไปนไ้ี ม่ใช่รปู แบบการแสดงของฟอรม์ ทีส่ รา้ งจากเคร่อื งมือ Form Wizard ง. แบบแผนภมู ิ

กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ขนั้ นาเขา้ สูบ่ ทเรียน เพอื่ ทดสอบพนื้ ฐานความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั การสร้างฟอร์ม เพือ่ เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี น การสอนให้เหมาะสมกับผ้เู รียน 2.ขณะเรยี น เพ่ือวดั ความรู้ ความเข้าใจเบื้องตน้ เก่ียวกับการสร้างฟอรม์ รวมถึงสื่อทใี่ ช้รวมทั้งเทคนิควิธกี าร และพัฒนาการของผู้เรียน 3.หลงั เรยี น เพื่อประเมินผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามสมรรถนะประจาหนว่ ย งานที่มอบหมาย/ผลงาน/ช้ินงาน 8.1 ก่อนเรียน 1. ครชู แ้ี จงแนวทางการปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ่ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหน่วย 3. นักศกึ ษาแบง่ กลุ่มทากิจกรรม พรอ้ มรับเกณฑป์ ระเมนิ 8.2 ขณะเรียน 1. ครูแนะนาเนื้อหาในเร่ือง การสร้างฟอร์ม ตามหัวข้อดงั นี้ 1. บอกความหมายของฟอร์ม 2. บอกสว่ นประกอบของฟอร์ม 3. สร้างฟอรม์ โดยใช้เครื่องมือ Form 4. สรา้ งฟอร์มอย่างง่ายโดยใช้เครื่องมอื Form 5. สรา้ งฟอร์มโดยใชเ้ ครื่องมือ Blank Form 6. ปรับแต่งฟอรม์ ดว้ ยเครื่องมือต่าง ๆ 7. สรา้ งฟอรม์ โดยใช้ตวั ชว่ ยสรา้ งฟอร์ม Form Wizard 8. สรา้ งฟอร์มท่แี สดงหลายระเบียนโดยใช้เคร่อื งมือ Multiple Items 9. สร้างฟอร์มแยกโดยใชเ้ ครื่องมือ Split Form 10. สร้างฟอรม์ แบบแผนภูมิ Pivot Chart 11. สรา้ งฟอรม์ แบบตารางสรุปขอ้ มูลหลายมิติ Pivot Table 8.3 หลังเรียน 1. แบบสรุปองค์ความรู้ Mind Mapping 2. แบบประเมินผลการเรยี นประจาหนว่ ย

3. นักศึกษาทาการประเมินผลปฏบิ ัตงิ านของตนเอง 4. บันทึกคะแนนและคุณธรรมจรยิ ธรรมในดา้ นบวกและด้านลบ 5. สรปุ คะแนนผลการเรียนของนกั ศึกษาประจาหน่วย 9. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกิดจากการเรียนรขู้ องผเู้ รียน 1. แบบฝึกหัดทา้ ยบทหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 2. ผลคะแนนการประเมินผลการเรยี นประจาหน่วย สื่อการเรียน/การสอน - Power Point หน่วยท่ี 7 การสรา้ งฟอร์ม - สื่อการเรียนรูอ้ อนไลน์ แหล่งการเรียนรู้ /สถานที่ - ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาออมสินอปุ ถมั ถ์ - ห้องสมุด วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาออมสนิ อุปถมั ถ์ การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กับวิชาอ่ืน 1. วิชาภาษาไทย ดา้ นการอ่านจับใจความ การคิดวเิ คราะห์ 2. วิชาภาษาองั กฤษท่เี ก่ียวกับคาศัพทเ์ ฉพาะ 3. วชิ าวิทยาศาสตร์ ด้านการมีเหตุผล และกระบวนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ 4. วิชาสังคมศึกษา ดา้ นการมีมนุษยสัมพนั ธ์ การทากจิ กรรมกลมุ่ การวัดและประเมินผล 1. ก่อนเรยี น เพอ่ื ทดสอบพน้ื ฐานความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับการสร้างฟอรม์ เพ่ือเป็นแนวทางในการจดั การเรียน การสอนใหเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รียน 2.ขณะเรยี น เพือ่ วัดความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกีย่ วกับการสรา้ งฟอร์ม รวมถึงสอื่ ที่ใช้รวมท้ังเทคนิควธิ กี าร และพฒั นาการของผู้เรียน 3.หลังเรียน เพอ่ื ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ผลสัมฤทธข์ิ องผู้เรียนใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะประจาหน่วย



แผนการจดั การเรียนรู้หนว่ ยท่ี 8 จานวน 18 ชว่ั โมง รหสั 2204-2008 วิชา โปรแกรมจัดการฐานข้อมลู หนว่ ยกติ 3 ชือ่ หน่วย การสรา้ งรายงาน 1. สาระสาคญั ในการใชง้ านฐานข้อมลู น้ันจาเปน็ จะตอ้ งมีรายงานเพ่ือสรุปผลขอ้ มลู ในรปู แบบตา่ ง ๆ โดยการนา ข้อมลู หรือแบบสอบถามมาแสดงในรูปแบบรายงานให้กบั ผู้ใช้เพอ่ื ให้ผู้ใช้สามารถนาข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการทา รายงานไปวิเคราะหห์ รือประมาณการต่าง ๆ ต่อไป 2. สมรรถนะการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการสรา้ งรายงาน 2. สร้างรายงานระบบฐานข้อมลู โดยใช้โปรแกรม Microsoft Access 2010 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกเกยี่ วกบั รายงาน 2. บอกส่วนประกอบของรายงาน 3. เลือกใชเ้ ครื่องมือในการสร้างรายงานได้อยา่ งเหมาะสม 4. สร้างรายงานอย่างง่ายดว้ ยเครอื่ งมอื Report 5. สร้างรายงานดว้ ยเครือ่ งมือ Label Wizard 6. สรา้ งรายงานด้วยเคร่อื งมอื ตัวชว่ ยสรา้ ง Report Wizard 7. สร้างรายงานดว้ ยเคร่อื งมือรายงานเปล่า Blank Report 8. สร้างรายงานด้วยมมุ มองออกแบบ Report Design 9. ปรับแต่งคณุ สมบัติของรายงานใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน 4. คณุ ธรรม/จรรยาบรรณวชิ าชีพ ( Profession Ethic ) ตามค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซ่อื สตั ย์ เสียสละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี น ทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ืน่ เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน 4. คานงึ ถึงประโยชน์ของส่วนรวมมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตน

ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงค์การสอน 2 เงอ่ื นไข หน่วยที่ 8 ความรู้ คณุ ธรรม เรื่อง แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 3 ห่วงพอประมาณ ีมเห ุตผล 2010 ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.เก่ยี วกับรายงาน (Report)       32 2.สว่ นประกอบของรายงาน       83 3.เลอื กใช้เคร่ืองมือในการสรา้ งรายงานได้       9 1 อย่างเหมาะสม 4.สร้างรายงานอยา่ งง่ายดว้ ยเครอื่ งมือ       82 Report 5.สรา้ งรายงานด้วยเครอ่ื ง Label Wizard       83 6.สร้างรายงานดว้ ยเคร่ืองมอื ตัวชว่ ยสร้าง       8 1 (Report Wizard) 7.สร้างรายงานดว้ ยเครอ่ื งมือรายงานเปลา่       82 (Blank Report) 8.สรา้ งรายงานด้วยมมุ มองออกแบบ       9 1 (Report Design) 9.ปรบั แตง่ คณุ สมบตั ิของรายงานให้       82 เหมาะสมกับการทางาน รวม 3 8 9 8 8 8 8 8 9 8 ลาดับความสาคญั 2312 3 1 2 1 21

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 8 การสร้างรายงาน ( Report ) ตอนที่ 2 จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ เดียว 1. ส่วนประกอบรายงานส่วนใดคือแสดงสรปุ ผล หรือสรปุ ข้อมูลตา่ ง ๆ ทีผ่ ใู้ ชต้ ้องการให้แสดงผล ก. Report Footer 2. สว่ นประกอบของรายงาน ส่วน Detail คอื อะไร ข. พนื้ ท่ใี นการแสดงขอ้ มลู ทีด่ งึ มาจากฐานขอ้ มูล ท้งั ในตารางและในแบบสอบถามขอ้ มูล 3. มุมมองมองใดแสดงผลขอ้ มลู บนจอและใช้งานรายงาน ไมส่ ามารถแก้ไขรายงานได้ ข. Report View 4. ถา้ ต้องการแสดงรายงานกอ่ นพมิ พ์รายงาน ต้องเลอื กมมุ มองใด ค. Print Preview 5. การสร้างรายงานท่ีต้องการออกแบบรายงานเองและตอ้ งการกาหนดการใชง้ านขัน้ สูงต้องใชเ้ ครื่องมือใด ค. Report Design 6. วธิ ีการสร้างรายงานแบบใดทสี่ รา้ งรายงานได้รวดเร็วดว้ ยคาสงั่ พ้ืนฐาน ข. Report 7. ถ้าผ้ใู ช้ตอ้ งการสรา้ งรายงานเปล่าในมุมมองเคา้ โครง ต้องเลือกวิธกี ารสรา้ งแบบใด ค. Report Layout 8. ขอ้ ใดกลา่ วถึงการสร้างรายงานแบบ Labels ได้ถูกต้อง ข. เป็นการสรา้ งรายงานแบบป้ายฉลาก สาหรับตดิ หนา้ ซองจดหมาย 9. ถ้าตอ้ งการจัดตาแหนง่ การวางหมายเลขหนา้ ต้องจดั การที่ส่วนใด ก. Position 10. ถ้าตอ้ งให้แสดงเลขหน้าท่หี น้าแรกต้องกาหนดทสี่ ่วนใดของรายงาน ค. Show Number on First Page

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 8 เรื่อง การสรา้ งรายงาน การสร้างรายงานท่ีมกี ารจัดกลุม่ ใหมโ่ ดยใชต้ วั ชว่ ยสรา้ งรายงาน ตัวช่วยสร้างรายงานแสดงชุดของคาถาม จากน้ัน สร้างรายงานที่ยึดตามคาตอบของคุณ ระหว่าง คาถามเหล่านั้นเป็นหนึ่งที่ขอเขตข้อมูลหนึ่งหรือหลายเขตข้อมูลการใช้การจัดกลุ่มรายงานของคุณ หลังจาก สร้างรายงาน คุณสามารถใช้เป็น-คือ หรือปรับเปล่ียนเพื่อให้ตรงตามความต้องการของคุณได้ ก่อนท่ีคุณ เริ่มตน้ ด้วยตวั ช่วยสรา้ งรายงาน คณุ จาเป็นต้องตัดสินใจเมื่อแหล่งข้อมูล เร่มิ ตัวชว่ ยสร้างรายงาน บนแทบ็ สรา้ ง ในกล่มุ รายงาน ใหค้ ลกิ ตัวชว่ ยสรา้ งรายงาน Access จะเริม่ ตวั ชว่ ยสร้างรายงาน คลิกรายการดรอปดาวน์ ตาราง/ควิ รี แล้วเลือกตารางหรือคิวรที ม่ี ีเขตข้อมลู ท่ีคณุ ตอ้ งการให้อยู่ ในรายงานของคุณดับเบลิ คลกิ ทีเ่ ขตข้อมูลในรายการ เขตข้อมลู ทม่ี ีอยู่ เพอื่ เลอื กเขตขอ้ มูลน้ัน Access จะย้ายเขตข้อมูลไปยังรายการ เขตข้อมูลท่ีเลือก หรือ คุณสามารถคลิกปุ่มที่อยู่ระหว่างกล่อง เขตข้อมูลท่ีมีอยู่ และกล่อง เขตข้อมูลที่เลือก เพอ่ื เพิ่มหรือเอาเขตข้อมูลทเี่ ลอื กออก หรือเพอ่ื เพิ่มหรือเอาเขต ขอ้ มูลท้งั หมดออก ถ้ามีเขตข้อมูลในตารางหรือคิวรีอื่นท่ีคุณต้องการใส่ในรายงานของคุณด้วย ให้คลิกรายการดรอป ดาวน์ ตาราง/คิวรี อีกคร้ัง และเลือกตารางหรอื ควิ รอี ืน่ ๆ และทาการเพม่ิ เขตขอ้ มูลตอ่ ไป

หลงั จากทค่ี ณุ เพิ่มเขตข้อมลู เสร็จแลว้ ใหค้ ลิก ถัดไป การจดั กลมุ่ ระเบียนในตัวชว่ ยสรา้ งรายงาน การจัดกลุ่มจะช่วยให้คุณจัดระเบียบและจัดเรียงระเบียนตามกลุ่ม เช่น ตามภูมิภาคหรือตาม พนักงานขาย กล่มุ ต่างๆ สามารถซอ้ นกันไดเ้ พื่อให้คณุ สามารถระบุความสมั พันธร์ ะหว่างกล่มุ ได้โดยง่าย และ ค้นหาข้อมูลที่คุณต้องการได้อย่างรวดเร็ว คุณยังสามารถใช้การจัดกลุ่มในการคานวณข้อมูลสรุปได้อีกด้วย เช่น ผลรวมและเปอรเ์ ซ็นต์  เม่ือคุณรวมตารางหลายตารางในรายงานเดียว ตัวช่วยสร้างจะตรวจสอบความสัมพันธ์ ระหวา่ งตารางต่างๆ และหาวิธีทคี่ ณุ อาจตอ้ งการดขู ้อมลู  บนหน้าของตัวช่วยสร้างรายงาน ที่ถามว่า คุณต้องการเพ่ิมระดับกลุ่มใดๆ หรือไม่ ให้คลิก ช่อื เขตขอ้ มูลใดเขตขอ้ มูลหนึง่ ในรายการ แล้วคลิก ถดั ไป  เมื่อต้องการเพ่ิมระดับกลุ่ม ให้ดับเบิลคลิกท่ีช่ือเขตข้อมูลใดๆ ในรายการเพ่ือเพิ่มเขตข้อมูล น้นั ๆ ไปยงั รายงานของคุณ  และคุณยังสามารถเอาระดับกลุ่มออกได้ ด้วยการดับเบิลคลิกที่กลุ่มในการแสดงหน้าท่ี ด้านขวาของกล่องโต้ตอบ ใช้ปุ่มลูกศรเพื่อเพิ่มและเอาระดับกลุ่มออก และปรับลาดับ ความสาคัญของระดับกลุ่มด้วยการเลือกระดับกลุ่มน้ัน และคลิกท่ีปุ่มลาดับความสาคัญขึ้น หรือลง Access จะเพ่ิมระดับกลุ่มแต่ละระดับ และแสดงการซ้อนของระดับกลุ่มน้ันภายใน ระดบั กลุ่มแม่ คลกิ ตัวเลอื กการจัดกลุ่ม เพื่อแสดงกล่องโตต้ อบ ชว่ งการจดั กลุม่

คุณอาจเลือกช่วงการจดั กลุ่มสาหรบั แต่ละเขตข้อมูลระดับกลุ่มก็ได้ ชว่ งการจัดกลุ่มช่วยให้คุณกาหนดวิธีการจดั กลุม่ ระเบียน ในภาพประกอบก่อนหน้า จัดกลุ่มระเบียน ตามวันท่จี ัดสง่ เขตข้อมลู ซง่ึ เปน็ ข้อมูลวนั / เวลาชนิด ตวั ช่วยสร้างการรายงานใหเ้ หมาะสมกับชนิดเขตขอ้ มูล ในรายการช่วงการจัดกลุ่ม ตัวเลือก ดังน้ัน เนื่องจากวันที่จัดส่งเป็นชนิดวัน / เวลา คุณสามารถเลือกท่ีจะจัด กลุ่มตามค่าจริง (ปกติ ),ปีไตรมาสเดือนสัปดาห์วันชั่วโมง และนาที ถ้าเขตข้อมูลมีชนิดข้อมูล Text คุณ สามารถเลือกการจัดกลุ่ม ตามเขตข้อมูลทั้งหมด (ปกติ ), หรืออาจ โดยแรก 1 ถึง 5 อักขระ สาหรับชนิด ข้อมูลตวั เลข คณุ สามารถเลอื กการจัดกล่มุ ตามคา่ (ปกติ ), หรือ ตามช่วงทเี่ ลอื กข้ึนหลังจากเลือกช่วงการจัด กลุ่ม ให้คลกิ ตกลง คลกิ ถดั ไป เพ่ือไปทีห่ นา้ ถดั ไปของตัวชว่ ยสร้างการเรียงลาดบั และสรปุ ระเบยี น คลิกรายการดรอปดาวน์รายการแรกและเลือกเขตข้อมูลที่จะเรียงลาดับ คุณสามารถคลิกปุ่มที่อยู่ ทางขวาของรายการเพ่ือสลับระหว่างลาดับจากน้อยไปหามากและจากมากไปหาน้อย (จากน้อยไปหา มาก เป็นค่าเริ่มต้น) หรือคุณอาจคลิกรายการดรอปดาวน์รายการที่สอง สาม และส่ีเพ่ือเลือกเขตข้อมูลการ เรียงลาดบั เพ่มิ เติม คลิก ตัวเลือกสรุป ถ้าคุณตอ้ งการสรุปเขตข้อมลู ทเี่ ป็นตัวเลขใดๆ

โปรดสังเกตว่าปุ่ม ตัวเลือกสรุป จะมองเห็นได้กต็ ่อเม่อื คณุ มีอย่างน้อยหนง่ึ เขตข้อมูลที่เป็นตัวเลขใน ส่วนรายละเอียดของรายงานของคุณ ตัวช่วยสร้างแสดงเขตขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ตัวเลขท่มี ีอยู่ เลือกกล่องกาเครื่องหมายภายใต้ตัวเลือกของSum, Avg, MinหรือMaxเพื่อรวมการคานวณ เหลา่ นั้นในสว่ นท้ายของกลมุ่ สามารถเลือกว่าจะให้แสดงทั้งรายละเอียดและสรุปหรือเฉพาะสรุปเท่าน้ัน ในกรณีหลัง ผลรวมของ ค่า วันท่ีส่งสินค้า แต่ละค่าจะแสดงขึ้น (ถ้าคุณเลือกกล่องกาเครื่องหมายสาหรับ Sum) แต่ไม่มีการแสดง รายละเอยี ดการสั่งซือ้ คุณยังสามารถเลอื กที่จะแสดงเปอร์เซน็ ต์ของการคานวณท้ังหมดสาหรับผลรวมไดด้ ้วย คลิก ตกลง ให้ทาตามคาแนะนาในหนา้ ต่างๆ ท่ีเหลอื ของตัวช่วยสรา้ งรายงาน ในหน้าสุดทา้ ย คณุ สามารถแก้ไข ช่ือเรอ่ื งของรายงาน ช่ือเรอ่ื งนจ้ี ะแสดงบนหน้าแรกของรายงาน และ Access จะบันทึกรายงานนัน้ โดยใชช้ ือ่ เรอื่ งเปน็ ชื่อเอกสาร คุณสามารถแก้ไขทั้งชื่อเรือ่ งและชื่อเอกสารได้ในภายหลัง คลิก เสร็จส้ิน Access จะบันทึกรายงานและแสดงรายงานนั้นในการแสดงตัวอย่างก่อนพิมพ์โดยอัตโนมัติ ซง่ึ จะแสดงรายงานเหมอื นทจี่ ะพมิ พ์ออกมา สามารถใช้ปุ่มนาทางที่ด้านล่างของบานหน้าต่างแสดงตัวอย่างเพ่ือแสดงหน้าต่างๆ ของรายงาน ตามลาดับ หรือข้ามไปยังหน้าใดๆ ในรายงานน้ัน คลิกปุ่มนาทางปุ่มใดปุ่มหนึ่ง หรือพิมพ์หมายเลขหน้าท่ีคุณ ตอ้ งการดใู นกล่องหมายเลขหน้า แล้วกด ENTER ในการแสดงตวั อย่างก่อนพิมพ์ คุณสามารถขยายเพื่อดรู ายละเอียด หรือย่อเพื่อดูความเหมาะสมของ การวางข้อมูลบนหน้านั้น โดยวางตัวชี้เมาส์บนรายงาน แล้วคลิกหนึ่งครั้ง เม่ือต้องการย้อนกลับผลของการ ย่อ/ขยาย ใหค้ ลกิ อกี คร้งั นอกจากน้ี คณุ ยงั สามารถใชต้ ัวควบคุมการยอ่ /ขยายในแถบสถานะได้อกี ดว้ ย

ดา้ นบนสดุ ของเอกสาร การเพ่ิมหรอื ปรบั เปลี่ยนการจัดกลุ่มและการเรียงลาดับในรายงานที่มอี ยู่ มีรายงานที่มีอยู่แล้ว และคณุ ต้องการเพิม่ การเรยี งลาดับหรอื การจัดกล่มุ ลงในรายงานนัน้ หรอื ถ้าคุณ ตอ้ งการปรับเปลีย่ นการเรียงลาดบั หรือการจัดกลุ่มทม่ี ีอยู่ของรายงาน สว่ นน้จี ะชว่ ยใหค้ ุณเริ่มทาได้ เพิม่ การจดั กลุ่ม การเรยี งลาดับ และผลรวม สามารถดาเนินการเรียงลาดับ การจัดกลุ่ม และการหาผลรวมอย่างง่ายได้ด้วยการคลิกขวาท่ีเขต ข้อมูลในมุมมอง เค้าโครง แล้วเลือกการดาเนินการที่คุณต้องการจากเมนูทางลัด เม่ือต้องการสลับไปยัง มมุ มองเค้าโครง ใหค้ ลิกขวาท่รี ายงานในบานหนา้ ต่างนาทาง แล้วคลกิ มุมมองเคา้ โครง หมายเหตุ: แม้ว่าคาแนะนาในส่วนนี้ไม่ได้ใช้บานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหา ผลรวม โดยตรง แต่ก็เป็นความคิดที่ดีท่ีจะเปิดบานหน้าต่าง และสังเกตดูว่าบานหน้าต่างเปล่ียนแปลงไป อย่างไรในขณะที่คุณทางาน คุณจะเข้าใจมากข้ึนว่า Access ทาอะไร และเม่ือคุณทางานกับบาน หน้าต่าง การจัดกลุม่ การเรยี งลาดับ และการหาผลรวม ได้คล่องขนึ้ คุณก็สามารถใช้บานหน้าต่างนั้นเพ่ือทา การปรับเปลี่ยนเพ่ิมเติมในรายงานของคุณได้ เมื่อต้องการแสดงบานหนา้ ตา่ งการจดั กลุ่ม การเรยี งลาดับ และ การหาผลรวม ให้ทาดงั น้ี บนแทบ็ ออกแบบ ในกล่มุ การจดั กลุม่ และผลรวม ใหค้ ลิก จัดกลุ่มและเรยี งลาดับ เรียงลาดบั บนเขตขอ้ มูลเดยี ว คลิกขวาทคี่ า่ ใดๆ ในเขตขอ้ มูลที่คณุ ตอ้ งการเรียงลาดับ บนเมนูทางลัด ให้คลิกตัวเลือกการเรียงลาดับท่ีคณุ ต้องการ ตัวอย่างเช่น เม่ือต้องการเรยี งลาดับเขต ข้อมูลข้อความจากน้อยไปหามาก ให้คลิก เรียงลาดับจาก ก ถึง ฮ เม่ือต้องการเรียงลาดับเขตข้อมูลท่ีเป็น ตวั เลขจากมากไปหาน้อย ให้คลกิ เรยี งลาดบั จากมากท่สี ุดไปหาน้อยท่ีสดุ Access จะเรียงลาดับรายงานตามท่ีคุณระบุ ถ้าบานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหา ผลรวม เปดิ อยู่ คณุ จะเห็นว่ามีบรรทัด เรยี งลาดบั ตาม ใหมส่ าหรบั เขตขอ้ มลู ถกู เพมิ่ เข้าไป เรียงลาดับบนเขตขอ้ มลู หลายเขต หมายเหตุ: เม่ือคุณนาไปใช้เรียงลาดับ ด้วยการคลิกขวาเขตข้อมูลในมุมมองเค้าโครง คุณเท่านั้นสามารถ เรยี งลาดบั เขตขอ้ มลู หน่งึ ได้ในเวลาเดยี ว นาการเรยี งลาดับเขตข้อมลู อ่ืนเมอ่ื ต้องการเอาการเรียงลาดับบนเขต ขอ้ มูลแรก ซ่ึงแตกต่างจากการเรียงลาดบั ลักษณะการทางานในฟอร์ม ที่เรียงลาดับหลายใบสั่งสามารถสร้าง ได้ ด้วยการคลิกขวาที่ในแต่ละเขตข้อมูล และเลือกการเรียงลาดับท่ีคุณต้องการ เมื่อต้องการสร้างหลาย เรียงลาดับระดับ ดูส่วนเพิ่มการจัดกลุ่ม เรียง ลาดับ และผลรวม โดยใช้กลุ่ม เรียง ลาดับ บานหน้าต่าง และ ผลรวม

การจัดกลุม่ ตามเขตขอ้ มลู คลกิ ขวาทคี่ ่าใดๆ ในเขตข้อมลู ท่ีคุณต้องการจดั กลุม่ บนเมนทู างลดั ให้คลิก จัดกลุ่มตาม Access จะเพ่ิมระดับการจัดกลุ่มและสร้างส่วนหัวของกลุ่มให้ ถ้าบานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การ เรยี งลาดบั และการหาผลรวม เปดิ อยู่ คุณจะเหน็ ว่ามีบรรทัด จดั กล่มุ ตาม ใหม่สาหรับเขตขอ้ มูลเพมิ่ เข้าไป การเพิม่ ผลรวมลงในเขตข้อมลู ตัวเลือกนี้ช่วยให้คุณคานวณผลรวม ค่าเฉลี่ย การนับจานวน หรือการรวมอ่ืนๆ สาหรับเขตข้อมูล ผลรวม ทงั้ หมดจะถูกเพ่มิ ลงในสว่ นท้ายของรายงาน และจะมีการเพิม่ ผลรวมของกลมุ่ ไปยังกลมุ่ ใดๆ ทม่ี ีอยู่ในรายงาน คลิกขวาทีค่ า่ ใดๆ ในเขตข้อมูลที่คณุ ต้องการหาผลรวม คลิก ผลรวม คลิกการดาเนินการที่คุณต้องการทา เช่น ผลรวม, ค่าเฉล่ีย, นับระเบียน (เพื่อนับจานวนระเบียน ทั้งหมด) นับค่า (เพ่ือนับเฉพาะระเบียนท่ีมีค่าอยู่ในเขตข้อมูลนี้), Max, Min, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ ค่า ความแปรปรวน Access เพิ่มตัวควบคุมกล่องข้อความท่ีได้จากการคานวณลงในส่วนท้ายของรายงานซ่ึงจะสร้าง ผลรวมทั้งหมด นอกจากน้ี ถ้ารายงานของคุณมีระดับการจัดกลุ่มใดๆ Access จะเพ่ิมส่วนท้ายของกลุ่ม (ถ้า ยังไม่มีอย)ู่ และใสผ่ ลรวมในส่วนทา้ ยแตล่ ะสว่ น หมายเหต:ุ คุณยงั สามารถเพิ่มผลรวมไดด้ ้วยการคลิกเขตขอ้ มลู ที่คุณต้องการคานวณผลรวม จากน้ัน บนแท็บ ออกแบบ ในกลุม่ การจดั กลุ่มและผลรวม ใหค้ ลิก ผลรวม การเพิ่มการจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหาผลรวมโดยการใช้บานหน้าต่างการจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหาผลรวม การทางานในบานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหาผลรวม ให้ความยืดหยุ่นกับคุณ มากทีส่ ุดเม่ือคุณตอ้ งการเพ่ิมหรือปรับเปล่ยี นตัวเลอื กกลมุ่ ลาดับการจัดเรียง หรือผลรวมในรายงาน และเรา แนะนาให้ใช้มุมมอง เค้าโครง เน่ืองจากจะเห็นได้ง่ายข้นึ มากว่าการเปลย่ี นแปลงของคณุ มีผลต่อการแสดงของ ข้อมูลอยา่ งไร การแสดงบานหนา้ ต่างการจัดกลุ่ม การเรยี งลาดบั และการหาผลรวม บ น แท็ บ ออกแบ บ ใน กลุ่ม การจัดกลุ่มและผลรวม ให้ คลิก จัดกลุ่มและเรีย งลาดับ Access จะแสดงบานหน้าต่าง การจดั กลุ่ม การเรยี งลาดบั และการหาผลรวม เม่อื ตอ้ งการเพ่มิ ระดับการเรยี งลาดบั หรือการจดั กลุ่มใหม่ ใหค้ ลิก เพิม่ กลุ่ม หรอื เพม่ิ การเรียงลาดบั

บรรทัดใหม่จะถูกเพิ่มเข้าไปในบานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหาผลรวม และ รายการเขตขอ้ มูลทม่ี ีอยู่จะปรากฏข้ึน คณุ สามารถคลกิ ชอ่ื เขตขอ้ มูลใดเขตข้อมูลหนง่ึ เหลา่ นี้ หรอื คณุ สามารถคลิก นิพจน์ ดา้ นล่าง รายการของเขตข้อมูลเพื่อใส่นิพจน์ เมื่อคุณเลือกเขตข้อมูลหรือใส่นิพจน์ Access จะเพ่ิมระดับการ จัดกลุ่มลงในรายงาน ในมุมมองเค้าโครง การแสดงจะเปลี่ยนไปในทันทีเพื่อแสดงการจัดกลุ่มหรือลาดับการ จดั เรียงนน้ั สาหรบั ขอ้ มลู เพิม่ เติมเกยี่ วกบั การสร้างนิพจน์ ให้ดบู ทความ สร้างนิพจน์ หมายเหตุ: ถ้ามีหลายการเรียงลาดับหรือการจัดกลุ่มระดับ กาหนด คุณอาจต้องการเลื่อนลงในบานหน้าต่างจัด กลมุ่ เรยี ง ลาดับ และรวมทัง้ หมด กอ่ นทค่ี ุณสามารถเห็นปุ่มเพ่ิมกลุม่ และการเพ่ิมการเรียงลาดบั คณุ สามารถ ระบรุ ะดบั การจัดกลุ่มและการเรียงลาดบั ได้สงู สุด 10 ระดบั ในรายงานการเปล่ยี นตวั เลอื กการจดั กลมุ่ แต่ละระดับของการเรียงลาดับหรือการจัดกลุ่มจะมีตัวเลือกหลายตัวที่สามารถต้ังค่าเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ คุณตอ้ งการ เมื่อต้องการแสดงตัวเลือกระดับการจัดกลมุ่ หรือการเรียงลาดบั ท้ังหมด ให้คลิก เพ่ิมเติม ในระดับที่ ต้องการเปล่ียนแปลง เม่อื ตอ้ งการซ่อนตวั เลอื ก ให้คลกิ นอ้ ยลง ลาดับการจดั เรียง คุณสามารถเปลี่ยนลาดับการจัดเรียงได้ด้วยการคลิกรายการดรอปดาวน์ของลาดับการ จัดเรียง แลว้ คลกิ ตวั เลือกทีค่ ณุ ต้องการ ช่วงของกลุ่ม การตั้งค่าน้ีจะกาหนดวิธีท่ีระเบียนถูกจัดกลุ่มไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น คุณสามารถจัด กลุ่มตามอักขระตัวแรกของเขตข้อมูลข้อความได้ ดังน้ันเขตข้อมูลข้อความทั้งหมดท่ีเริ่มต้นด้วย \"A\" จะถูกจัด

กลุ่มไว้ด้วยกัน เขตข้อมูลข้อความท้ังหมดท่ีเร่ิมต้นด้วย \"B\" จะถูกจัดกลุ่มไว้ด้วยกัน เช่นนี้ไปเร่ือยๆ สาหรับ เขตข้อมูลวันท่ี คุณสามารถจัดกลุ่มตามวัน สัปดาห์ เดือน ไตรมาส หรือคุณสามารถใส่ช่วงเวลาแบบกาหนด เองได้ ผลรวม เมื่อต้องการเพ่ิมผลรวม ให้คลิกที่ตัวเลือกน้ี คุณสามารถเพิ่มผลรวมบนหลายเขตขอ้ มูลได้ และคุณสามารถหาผลรวมหลายชนิดไดบ้ นเขตขอ้ มูลเดียวกัน คลิกลกู ศรดรอปดาวน์ของ ผลรวมของ แลว้ เลือกเขตข้อมูลทีค่ ณุ ต้องการใหส้ รปุ  คลกิ ลูกศรดรอปดาวนข์ อง ชนดิ แล้วเลอื กชนดิ ของการคานวณท่จี ะใหด้ าเนนิ การ  เลือก แสดงผลรวมทั้งหมด เพื่อเพ่ิมผลรวมท้ังหมดไปยังส่วนท้ายของรายงาน (ในส่วนท้ายของ รายงาน)  เลือก แสดงผลรวมของกลุ่มเป็น % ของผลรวมทั้งหมด เพ่ือเพิ่มตัวควบคุมลงในส่วนท้ายของกลุ่มที่ คานวณเปอร์เซ็นต์ของผลรวมทงั้ หมดสาหรับแต่ละกลุม่  เลือก แสดงในส่วนหัวของกลุ่ม หรือ แสดงในส่วนท้ายของกลุ่ม เพ่ือแสดงผลรวมในตาแหน่งที่ ต้องการ  เมื่อตัวเลือกท้ังหมดถูกเลือกสาหรับเขตข้อมูลแล้ว คุณสามารถทาซ้ากระบวนการน้ี และสรุปเขต ขอ้ มลู อื่นโดยการเลือกเขตขอ้ มูลน้ันจากรายการดรอปดาวน์ ผลรวมของ ไม่เช่นน้ัน ให้คลิกภายนอก หน้าตา่ งปอ็ ปอัพของ ผลรวม เพอื่ ปิด ช่ือเรื่อง จะให้คุณเปลี่ยนชื่อเรื่องของเขตข้อมูลที่ถูกสรุป ซ่ึงจะใช้เป็นส่วนหัวของคอลัมน์และเป็นป้ายช่ือ ของเขตข้อมลู สรปุ ในสว่ นหัวและสว่ นทา้ ย เมื่อตอ้ งการเพมิ่ หรอื ปรับเปลย่ี นชอื่ เร่อื ง ให้ทาดังนี้ คลิกขอ้ ความสีน้าเงนิ ท่ตี ่อจาก โดยมีชือ่ เรือ่ ง กล่องโต้ตอบ การยอ่ /ขยาย จะปรากฏขนึ้ พมิ พ์ชอื่ เรอื่ งใหมล่ งในกลอ่ งโต้ตอบ แลว้ คลิก ตกลง มีหรือไม่มีส่วนหัว ใช้การต้ังค่าน้ีเพ่ือเพิ่มหรือเอาส่วนหัวท่ีนาหน้าแต่ละกลุ่มออก เม่ือเพิ่มส่วนหัว Access จะย้ายเขตข้อมูลการจัดกลุ่มไปยังส่วนหัวให้คุณ เม่ือคุณเอาส่วนหัวที่มีตัวควบคุมอ่ืนใด นอกเหนือจากเขตข้อมูลการจดั กลมุ่ ออก Access จะให้คณุ ยืนยนั การลบตวั ควบคุม

มีหรือไม่มีส่วนท้าย ใช้การต้ังค่านี้เพื่อเพ่ิมหรือเอาส่วนท้ายที่ตามหลังกลุ่มแต่ละกลุ่มออก เม่ือคุณ เอาส่วนทา้ ยทมี่ ีตัวควบคมุ ออก Access จะถามเพ่ือยนื ยันการลบตวั ควบคุม จดั กลุ่มไว้ด้วยกัน การตง้ั คา่ นจี้ ะกาหนดวิธีการท่ีกลุ่มถูกจัดวางไว้บนหน้าเมื่อมีการพมิ พ์รายงาน คุณ อาจต้องการเก็บกลุ่มไว้ด้วยกันให้มากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ เพื่อลดจานวนหน้าที่ต้องใช้ในการดูท้ังกลุ่ม อย่างไรก็ตาม โดยปกติการกระทานี้จะเพ่ิมจานวนหน้าที่ใช้พิมพ์รายงานเนื่องจากหนา้ ส่วนใหญ่จะมีพ้ืนท่ีว่าง ท่ีดา้ นล่าง ไม่จัดให้กลุ่มอยู่ด้วยกันบนหน้าเดียว ใช้ตัวเลือกนี้ถ้าคุณไม่กังวลว่าจะมีกลุ่มท่ีถูกแบ่งด้วยตัวแบ่ง หน้า ตัวอย่างเช่น กลุ่มของ 30 รายการอาจมี 10 รายการอยู่ด้านล่างสุดของหน้าหนึ่ง และที่เหลืออีก 20 รายการจะอย่ดู า้ นบนสดุ ของหน้าถัดไป จัดให้ท้ังกลุ่มอยู่ด้วยกันบนหน้าเดียว ตัวเลือกนี้จะช่วยลดจานวนของตัวแบ่งหน้าในกลุ่ม ถ้ากลุ่มมี ขนาดเกินพ้ืนที่ว่างท่ีเหลือบนหน้า Access จะปล่อยพื้นที่ว่างดังกล่าวไว้ และเริ่มกลุ่มนั้นบนหน้าถัดไปแทน กลุ่มขนาดใหญ่อาจยงั คงขยายไปได้หลายหน้า แตต่ วั เลือกนี้ชว่ ยลดจานวนตัวแบ่งหน้าภายในกล่มุ ใหม้ ากท่สี ุด เทา่ ที่จะเปน็ ไปได้ จดั ให้ส่วนหัวและระเบียนแรกอยู่ด้วยกันบนหน้าเดียว สาหรับกลุ่มที่มีส่วนหัว ตัวเลือกน้ีทาให้แน่ใจ ว่าจะไม่มีการพิมพส์ ่วนหัวของกลุ่มออกมาอย่างเดยี วทดี่ ้านล่างของหน้า ถา้ Access กาหนดว่าไมม่ ีพื้นที่เพยี ง พอท่ีจะพิมพ์ขอ้ มลู อย่างนอ้ ยหน่งึ แถวหลังจากส่วนหัว กลมุ่ นัน้ จะเร่มิ ในหนา้ ถัดไป การเปล่ยี นระดบั ของลาดบั ความสาคญั ของการจดั กลมุ่ และการเรียงลาดับ เม่ือต้องการเปลี่ยนระดับของลาดับความสาคัญของการจัดกลุ่มหรือการเรียงลาดับ ให้คลิกแถวใน บานหน้าต่าง การจัดกลุ่ม การเรียงลาดับ และการหาผลรวม แล้วคลิกลูกศรข้ึนหรือลูกศรลงท่ีด้านขวาของ แถว

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 8 เรือ่ ง การสร้างรายงาน ตอนท่ี 1 จงอธิบายความหมาย ขยายความหรือใหร้ ายละเอียดเพมิ่ เติม ถ้ามีตัวอยา่ งให้ยกตัวอยา่ ง ประกอบ 1. จงอธบิ ายความหมายของรายงาน ( Report ) รายงาน ( Report ) คือ ส่วนทใ่ี ชแ้ สดงผลสามารถแสดงข้อมูลตามที่ผ้ใู ชต้ ้องการเพ่ือเป็นการสรุปผล ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือสรุปผลรายงานต่าง ๆ สามารถ แสดงรายงานได้ท้ังหน้าจอและพิมพ์ผ่านทางเครื่องพิมพ์ โปรแกรม Microsoft Access 2010 สามารถ สร้างรายงานได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ และมีเครื่องมือในการออกแบบรายงานท่ี หลากหลายเพ่ือสรา้ งรายงานท่เี หมาะสมในการใช้งาน และสรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ใหก้ ับระบบด้วย 2. ส่วนประกอบของรายงานมีอะไรบ้าง - ส่วนหวั ของรายงาน ( Report Header) - ส่วนหัวของหน้ากระดาษรายงาน ( Page Header ) - สว่ นของรายละเอยี ดรายงาน ( Detail ) - ส่วนท้ายของหนา้ กระดาษรายงาน ( Page Footer) - ส่วนทา้ ยของรายงาน ( Report Footer) 3. จงบอกขนั้ ตอนการสรา้ งรายงานอย่างงา่ ยดว้ ยการใชเ้ คร่ืองมอื Report 1. คลกิ ทเี่ มนู Create 2. คลกิ เลือกตารางท่ีตอ้ งการในหน้าตา่ ง Navigation penal ดา้ นซา้ ยมือ 3. คลกิ ทปี่ มุ่ รายงาน Report 4. จะสรา้ งได้รายงาน 5. รปู แบบของรายงานท่ีสร้างดว้ ยเครือ่ งมอื ชว่ ยสรา้ ง ( Report wizard ) มอี ะไรบ้าง - Stepped - Block - Outline 6. จงบอกขั้นตอนการเปล่ียนรปู แบบรายงานจากแมแ่ บบ ( Themes ) 1. เปดิ รายงานทตี่ ้องการจะปรบั แตง่ รปู แบบ 2. คลกิ ที่ View เลอื กมมุ มอง Layout View 3. เลอื กท่กี ลุ่มเคร่ืองมือ Themes เลือก ปุ่ม Themes เลือกชุดรูปแบบทต่ี ้องการ

แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 8 การสร้างรายงาน ( Report ) ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบท่ถี ูกต้องที่สุดเพยี งข้อเดียว 1.ส่วนประกอบรายงานส่วนใดคอื แสดงสรุปผล หรอื สรปุ ข้อมูลต่าง ๆ ทีผ่ ู้ใชต้ ้องการให้แสดงผล ค. Report Footer 2. ส่วนประกอบของรายงาน สว่ น Detail คืออะไร ง. พื้นที่ในการแสดงขอ้ มลู ที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ท้ังในตารางและในแบบสอบถามข้อมลู 3. มุมมองมองใดแสดงผลข้อมลู บนจอและใชง้ านรายงาน ไม่สามารถแกไ้ ขรายงานได้ ง. Report View 4. ถา้ ตอ้ งการแสดงรายงานกอ่ นพิมพ์รายงาน ตอ้ งเลอื กมุมมองใด ก. Print Preview 5. การสรา้ งรายงานท่ตี ้องการออกแบบรายงานเองและตอ้ งการกาหนดการใช้งานขน้ั สูงต้องใช้เครื่องมือใด ก. Report Design 6. วิธกี ารสรา้ งรายงานแบบใดท่สี ร้างรายงานได้รวดเร็วดว้ ยคาสั่งพ้นื ฐาน ง. Report 7. ถ้าผู้ใช้ตอ้ งการสรา้ งรายงานเปล่าในมุมมองเคา้ โครง ตอ้ งเลือกวธิ ีการสร้างแบบใด ก. Report Layout 8. ขอ้ ใดกล่าวถงึ การสร้างรายงานแบบ Labels ไดถ้ ูกต้อง ง. เปน็ การสร้างรายงานแบบป้ายฉลาก สาหรบั ตดิ หน้าซองจดหมาย 9. ถา้ ตอ้ งการจัดตาแหน่งการวางหมายเลขหนา้ ตอ้ งจดั การทสี่ ว่ นใด ค. Position 10. ถ้าต้องใหแ้ สดงเลขหน้าทหี่ น้าแรกต้องกาหนดท่สี ว่ นใดของรายงาน ก. Show Number on First Page

กิจกรรมการเรยี นรู้ 1.ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น เพื่อทดสอบพ้ืนฐานความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การสร้างรายงานเพอ่ื เป็นแนวทางในการจัดการเรยี น การสอนใหเ้ หมาะสมกับผู้เรยี น 2.ขณะเรยี น เพ่อื วดั ความรู้ ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ เก่ียวกับการสร้างรายงาน รวมถงึ สือ่ ทใ่ี ช้รวมทั้งเทคนิควธิ กี าร และพฒั นาการของผ้เู รียน 3. หลังเรียน เพ่อื ประเมินผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ขิ องผ้เู รยี นใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะประจาหน่วย งานทมี่ อบหมาย/ผลงาน/ช้นิ งาน 1. ก่อนเรียน 1. ครูชแ้ี จงแนวทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุ่ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาหน่วย 3. นักศึกษาแบง่ กลมุ่ ทากจิ กรรม พร้อมรับเกณฑป์ ระเมิน 2. ขณะเรียน ครูแนะนาเนื้อหาในเร่ือง การสรา้ งรายงาน ตามหัวข้อดังนี้ 1. บอกเกยี่ วกบั รายงาน 2. บอกส่วนประกอบของรายงาน 3. เลือกใชเ้ ครื่องมือในการสรา้ งรายงานได้อย่างเหมาะสม 4. สรา้ งรายงานอยา่ งง่ายดว้ ยเครอ่ื งมอื Report 5. สรา้ งรายงานดว้ ยเคร่อื งมอื Label Wizard 6. สรา้ งรายงานดว้ ยเครือ่ งมือตัวชว่ ยสรา้ ง Report Wizard 7. สรา้ งรายงานดว้ ยเครอื่ งมือรายงานเปลา่ Blank Report 8. สรา้ งรายงานดว้ ยมุมมองออกแบบ Report Design 9. ปรับแต่งคณุ สมบัตขิ องรายงานใหเ้ หมาะสมกับการใช้งาน 3. หลงั เรียน 1. แบบสรปุ องค์ความรู้ Mind Mapping 2. แบบประเมินผลการเรียนประจาหนว่ ย 3. นักศึกษาทาการประเมนิ ผลปฏิบัตงิ านของตนเอง

4. บนั ทึกคะแนนและคณุ ธรรมจริยธรรม 5. สรุปคะแนนผลการเรียนของนักศกึ ษาประจาหนว่ ย 4. ผลงาน/ช้ินงาน ทเี่ กดิ จากการเรยี นรู้ของผู้เรยี น 1. แบบฝึกหดั ท้ายบท 2. ผลคะแนนการประเมนิ ผลการเรียนประจาหนว่ ย สื่อการเรียน/การสอน - Power Point หน่วยที่ 8 การสรา้ งรายงาน - ส่ือการเรียนรอู้ อนไลน์ แหล่งการเรียนรู้ /สถานที่ - ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชวี ศึกษาออมสินอปุ ถัมถ์ - ห้องสมุด วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาออมสินอุปถัมถ์ การบรู ณาการ/ความสมั พันธก์ ับวิชาอ่นื 1. วชิ าภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความ การคดิ วเิ คราะห์ 2. วิชาภาษาองั กฤษทเ่ี ก่ยี วกับคาศัพท์เฉพาะ 3. วชิ าวิทยาศาสตร์ ด้านการมเี หตุผล และกระบวนการทางานอยา่ งเปน็ ระบบ 4. วชิ าสังคมศกึ ษา ด้านการมีมนษุ ยสมั พันธ์ การทากิจกรรมกลุ่ม การวดั และประเมนิ ผล 1. กอ่ นเรียน เพ่ือทดสอบพ้นื ฐานความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับการสรา้ งรายงานเพื่อเป็นแนวทางในการจดั การเรียน การสอนใหเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รยี น 2. ขณะเรยี น เพอ่ื วดั ความรู้ ความเข้าใจเบื้องตน้ เกีย่ วกับการสรา้ งรายงาน รวมถึงสอ่ื ที่ใช้รวมท้ังเทคนิควิธกี าร และพัฒนาการของผูเ้ รียน 3.หลงั เรียน เพื่อประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธิข์ องผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ไปตามสมรรถนะประจาหน่วย กจิ กรรมเสนอแนะ - หลังจากจบการเรียน การสอนในช้ันเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาสทาการศึกษา ทบทวน เพ่ิมเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ท่ีสามารถโต้ตอบกับ ผูเ้ รียนได้ ซงึ่ ทาใหผ้ ้เู รยี นนน้ั สามารถทราบผลความคบื หน้าของตนเองเก่ยี วกับการเรียนในแตล่ ะคร้ัง

แผนการจัดการเรียนร้หู นว่ ยท่ี 9 จานวน 18 ช่วั โมง รหัส 2204-2008 วิชา โปรแกรมจดั การฐานข้อมูล หน่วยกติ 3 ชอื่ หน่วย การใช้งานแมโครและโมดลู 1. สาระสาคัญ การใช้งานแมโคร(Macro) และโมดูล (Module) เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานโปรแกรม ประยุกต์ในโปรแกรม Microsoft Access เพื่อให้สามารถใช้งานฟังก์ชันที่มีความซับซ้อนและเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพให้กับโปรแกรมประยุกต์นนั้ 2. สมรรถนะการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั 1. แสดงความร้เู กีย่ วกับแมโครและโมดูล 2. สร้างแมโครเพื่อติดต่อกบั ฟอร์มในการบนั ทึกและยกเลกิ ข้อมลู 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายเกีย่ วกบั แมโคร (Macro) 2. ใช้งานคาสง่ั ในแมโคร 3. สร้างแมโครเพอ่ื ใช้งาน 4. แก้ไขแมโคร 5. สร้างโมดูลเพ่อื ใช้งาน 6. สร้างโปรแกรมย่อยเพอื่ ใช้งานร่วมกบั ฟอรม์ 4. คณุ ธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ ( Profession Ethic ) ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน 2. ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผอู้ ื่น เผ่ือแผ่และแบ่งปัน 4. คานงึ ถึงประโยชน์ของสว่ นรวมมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตน

ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงค์การสอน 2 เง่อื นไข หนว่ ยที่ 9 ความรู้ คณุ ธรรม เรือ่ ง การใช้งานแมโคร พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.ความหมายแมโคร (Macro)       82 2.ใชง้ านคาส่ังในแมโคร       83 3.สร้างแมโครเพ่ือใชง้ าน       9 1 4.แกไ้ ขแมโคร       82 5.สรา้ งโมดูลเพ่อื ใชง้ าน       83 6.สร้างโปรแกรมยอ่ ยเพื่อใชง้ านรว่ มกับ       9 2 ฟอร์ม 2646 6 6 6 6 62 รวม 2312 3 1 2 1 21 ลาดบั ความสาคญั

เฉลยแบบทดก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี9 การใชง้ านแมโคร (Macro) และมอดูล (Module) ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงข้อเดียว 1. ชดุ คาส่งั สาเร็จรปู ของแมโครถูกแบง่ ออกเป็นกี่กล่มุ ข. 8 กลมุ่ 2. การใส่ Argument ของ Macro ถา้ ต้องการใสเ่ ง่ือนไขท่ีใช้กรองข้อมลู ตอ้ งเลือกข้อใด ง. Where Condition 3. การใส่ Argument ให้กับMacro ท่ีกาหนดให้แสดงฟอร์มแบบเพิ่มเรคอร์ดได้ แก้ไขได้ หรืออ่านได้อย่าง เดียวตอ้ งเลือกขอ้ ใด ค. Data Mode 4. การใส่ Argument ของ Macro ให้แสดงฟอร์มในมุมมองฟอร์ม, ซ่อนวินโดว์ฟอร์ม, ย่อขนาดวินโดว์, แสดงฟอรม์ แบบไดอะล็อกบ็อกซ์ ต้องเลอื กข้อใด ข. Window Mode 5. ปุ่ม คอื ปุม่ ที่ทาหนา้ ทีใ่ ด ก. เรยี กใชแ้ มโคร 6. ข้อใดคือ Action ในการเปิดฟอร์มในมุมมองฟอร์ม มุมมองออกแบบ และแผน่ ขอ้ มูล ค. OpenForm 7. การสรา้ ง Macro บนแทบ็ Create ต้องคลกิ ท่ีชอ่ งใดบนแทบ็ Event แล้วเลอื กชอ่ื Macro ค. On Click 8. การสรา้ งโปรแกรมย่อยเช่อื มโยงกบั ฟอร์ม ถ้าตอ้ งการใหม้ กี ลอ่ งขอ้ ความเตือนต้องเขียนคาสงั่ ตามข้อใด ค. MsgBox \" \" & 9. การสร้าง Module ต้องใช้ภาษาใดในการเขียนชุดคาสั่งเพ่ือสัง่ การ ค. VBA 10. ถ้าตอ้ งการสร้าง Macro ด้วยเคร่ืองมือ Macro Builder ต้องคลิกทปี่ มุ่ ใด ข.

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 เร่อื ง การใช้งานแมโครและโมดลู การสรา้ งแมโคร สามารถสร้างแมโครเพ่ือดาเนินการชุดข้อมูลการดาเนินการท่ีระบุ และคุณสามารถสร้างกลุ่มแมโคร เพ่อื ดาเนนิ การชดุ แอคชนั ท่ีสมั พนั ธ์กนั ได้ด้วย ใน Microsoft Office Access 2010 แมโครสามารถมีอยู่ในวัตถุแมโครได้ (บางครั้งเรียกว่า แมโคร เดี่ยว) หรือสามารถฝังอยู่ในคุณสมบัติเหตุการณ์ของฟอร์ม รายงาน หรือตัวควบคุม แมโครท่ีฝังตัวจะ กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัตถุหรือตัวควบคุมที่แมโครน้ันฝังตัวอยู่ วัตถุแมโครจะสามารถมองเห็นได้ในบาน หน้าต่างนาทาง ภายใต้ แมโคร ส่วนแมโครทฝ่ี งั ตวั นัน้ จะไม่สามารถมองเหน็ ได้ คณุ ตอ้ งการทาส่งิ ใด เรยี นรู้เก่ยี วกบั ตัวสรา้ งแมโคร คณุ ใชต้ ัวสร้างแมโครเพ่อื สร้างและปรบั เปลย่ี นแมโครได้ เม่ือตอ้ งการเปดิ ตัวสรา้ งแมโคร บนแทบ็ สรา้ ง ในกลุ่ม อนื่ ๆ คลิก แมโคร ถา้ คาสั่งน้ีใช้ไมไ่ ด้ ใหค้ ลิกลูกศรใตป้ มุ่ โมดลู หรือ คลาสโมดูล แล้ว คลกิ แมโคร ตัวสรา้ งแมโครจะปรากฏ ในหน้าต่างตัวสร้างแมโคร ให้คุณสร้างรายการของแอคชันท่ีคุณต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อแมโครทางาน เม่ือคุณเปิดตัวสร้างแมโครคร้ังแรก คอลัมน์ แอคชัน คอลัมน์ อาร์กิวเมนต์ และคอลัมน์ ข้อคิดเห็น จะแสดง ข้ึนมา

ภายใต้ อาร์กิวเมนต์ของแอคชัน คุณสามารถป้อนและแก้ไขอาร์กิวเมนต์ทางด้านซ้ายของแมโคร แอคชันแตล่ ะตัวได้ ถ้าจาเป็น โดยกล่องคาอธิบายที่ให้คาอธิบายอยา่ งส้ันเก่ียวกบั แอคชันหรอื อาร์กิวเมนต์แต่ ละตัวกับคุณนนั้ จะแสดงทางด้านขวา ให้คลิกแอคชันหรืออาร์กิวเมนต์ของแอคชันเพื่ออ่านคาอธิบายในกล่อง นั้น คุณสามารถใช้คาสง่ั บนแทบ็ ออกแบบ ของตวั สร้างแมโครเพ่อื สรา้ ง ทดสอบ และเรยี กใช้งานแมโครได้ ตารางต่อไปนี้อธิบายคาส่ังตา่ งๆ ทม่ี ีอยบู่ นแทบ็ ออกแบบ ดา้ นบนของหน้า สร้างแมโครเด่ยี ว บนแท็บ สร้าง ในกลุ่ม อื่นๆ คลิก แมโคร ถ้าคาสั่งน้ีใช้ไม่ได้ ให้คลิกลูกศรใต้ปุ่ม โมดูล หรือ คลาสโมดูล แล้ว คลิก แมโคร ตัวสร้างแมโครจะปรากฏ เพิ่มแอคชันให้กบั แมโคร ในตัวสร้างแมโคร ให้คลิกเซลลว์ า่ งเซลล์แรกในคอลมั น์ แอคชนั พิมพ์แอคชันท่ีคุณต้องการใช้ หรือคลิกลูกศรเพื่อแสดงรายการของแอคชันต่างๆ ที่สามารถใช้ได้ แล้วเลือก แอคชนั ทคี่ ุณตอ้ งการใช้ ภายใต้ อาร์กิวเมนต์ของแอคชัน (ในส่วนล่างของตัวสร้างแมโคร) ให้ระบุอาร์กิวเมนต์สาหรับแอคชัน ถ้า จาเป็น หมายเหตุ:

เมือ่ คณุ พมิ พ์อารก์ วิ เมนต์ในบานหน้าต่าง อารก์ ิวเมนต์ของแอคชัน อารก์ วิ เมนต์เหลา่ น้ันจะปรากฏใน คอลัมน์ อาร์กิวเมนต์ ที่อยู่ในรายการแอคชัน อย่างไรก็ตาม คอลัมน์ อาร์กิวเมนต์ เป็นคอลัมน์ที่ใช้แสดง ขอ้ มลู เทา่ นัน้ คุณไมส่ ามารถป้อนอารก์ ิวเมนต์ใดๆ ลงในคอลัมน์นัน้ ได้ เมื่อต้องการดูคาอธิบายอย่างสั้นของแต่ละอาร์กิวเมนต์ ในบานหน้าต่าง อาร์กวิ เมนต์แอคชัน ให้คลิกในกล่อง อาร์กวิ เมนต์ แลว้ อา่ นคาอธบิ ายในกล่องทีอ่ ยตู่ ดิ กัน เคล็ดลับ สาหรบั อาร์กิวเมนต์ของแอคชันท่ีมีการตั้งค่าเป็นชื่อวัตถุฐานขอ้ มูล คุณสามารถต้ังค่าอาร์กิวเมนต์ได้ ดว้ ยการลากวตั ถุจากบานหน้าตา่ งนาทางไปยังกลอ่ งอารก์ วิ เมนต์ ช่ือวัตถุ ของแอคชันได้ นอกจากน้ี คุณยงั สามารถสร้างแอคชันได้ดว้ ยการลากวัตถุฐานข้อมูลจากบานหน้าต่างนาทางไปยงั แถวว่างใน ตัวสร้างแมโคร ถ้าคุณลากตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน หรือโมดูลไปยังตัวสร้างแมโคร Access จะ เพิ่มแอคชันที่จะไปเปิดตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม หรือรายงานน้ัน ถ้าคุณลากแมโครไปยังตัวสร้างแมโคร Access จะเพิ่มแอคชันที่เรียกใช้แมโครนัน้ จะพิมพ์ข้อคดิ เห็นสาหรับแอคชนั ในคอลมั น์ ข้อคดิ เห็น หรือไม่กไ็ ด้ เม่ือต้องการเพ่มิ แอคชนั เพม่ิ เตมิ ให้กับแมโคร ใหย้ า้ ยไปยังแถวแอคชันอีกแถวหน่งึ แล้วทาซา้ ในข้ันตอนที่ 2 เม่อื คุณเรียกใชแ้ มโคร Access จะดาเนินการแอคชันตามลาดับทค่ี ุณแสดงรายการไว้ ด้านบนของหน้า สร้างกลมุ่ แมโคร ถ้าคณุ ต้องการจดั กลุ่มแมโครที่สัมพนั ธก์ นั ไวใ้ นวตั ถแุ มโครเดียว คณุ สามารถสรา้ งเปน็ กลุม่ แมโครได้ บนแท็บ สร้าง ในกลุ่ม อ่ืนๆ คลิก แมโคร ถ้าคาสั่งนี้ใช้ไม่ได้ ให้คลิกลูกศรใต้ปุ่ม โมดูล หรือ คลาสโมดูล แล้ว คลิก แมโคร ตวั สรา้ งแมโครจะปรากฏ  บนแท็บ ออกแบบ ในกล่มุ แสดง/ซ่อน ให้คลิก ชือ่ แมโคร ถา้ ช่ือแมโครนนั้ ยงั ไม่ถูกเลอื ก  คอลัมน์ ชือ่ แมโคร จะปรากฏในตวั สรา้ งแมโคร  หมายเหตุ: ในกลุ่มแมโคร ชื่อแมโครจาเป็นสาหรับการแยกแยะความแตกต่างของแมโครแต่ละตัว ชื่อแมโครจะปรากฏอยู่ในบรรทัดเดียวกันกับแอคชันแรกของแมโคร คอลัมน์ช่ือแมโครจะถูกปล่อย ให้ว่างไว้สาหรับแอคชันต่างๆ ท่ีจะตามมาในแมโครน้ัน และแมโครจะสิ้นสุดลงเม่ือมีการพบช่ือ แมโครตัวถดั ไป  ในคอลมั น์ ช่ือแมโคร ให้พมิ พช์ ่อื สาหรบั แมโครตัวแรกในกลุ่มแมโคร  เพิ่มแอคชันทคี่ ณุ ตอ้ งการใหแ้ มโครตัวแรกดาเนินการ  ในคอลัมน์ แอคชัน ใหค้ ลกิ ลูกศรเพ่อื แสดงรายการแอคชนั  คลิกแอคชนั ทค่ี ุณตอ้ งการใช้  ภายใต้ อารก์ วิ เมนตข์ องแอคชัน ให้ระบุอารก์ ิวเมนต์สาหรบั แอคชันนัน้ ถา้ จาเปน็

 เมื่อต้องการดูคาบรรยายอย่างส้ันของแต่ละอาร์กิวเมนต์ ให้คลิกในกล่องอาร์กิวเมนต์ แล้วอ่าน คาอธบิ ายท่ดี ้านขวาของอารก์ ิวเมนตน์ น้ั  เคลด็ ลับ  สาหรบั อาร์กิวเมนตข์ องแอคชันท่ีมีการตั้งค่าเป็นช่ือวัตถุฐานขอ้ มูล คุณสามารถตั้งค่าอาร์กิวเมนต์ได้ ด้วยการลากวตั ถจุ ากบานหนา้ ตา่ งนาทางไปยังกลอ่ งอารก์ ิวเมนต์ ชอ่ื วตั ถุ ของแอคชัน  นอกจากนี้ คุณยังสามารถสร้างแอคชันได้ด้วยการลากวัตถุฐานข้อมูลจากบานหน้าต่างนาทางไปยัง แถวว่างในตัวสร้างแมโคร ถ้าคุณลากตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน หรือโมดูลไปยังตัวสร้าง แมโคร Access จะเพ่ิมแอคชันที่จะไปเปิดตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม หรือรายงานนั้น ถ้าคุณลาก แมโครไปยงั ตวั สร้างแมโคร Access จะเพ่มิ แอคชันที่เรียกใช้แมโครน้ัน  จะพมิ พ์ข้อคิดเห็นสาหรบั แอคชนั น้ันหรือไม่ก็ได้  ย้ายไปแถวว่างถดั ไป แลว้ พิมพ์ชอ่ื สาหรับแมโครตวั ถัดไปในคอลัมน์ ชือ่ แมโคร  เพมิ่ แอคชนั ตา่ งๆ ทคี่ ุณตอ้ งการให้แมโครดาเนนิ การ  ทาซา้ ข้ันตอนท่ี 5 และ 6 สาหรบั แตล่ ะแมโครในกลมุ่ แมโคร  รปู ตอ่ ไปน้ีจะแสดงให้เห็นกลุม่ แมโครขนาดเล็กท่ีมีแมโครสองตัว โดยชื่อของแมโครแต่ละตัวจะแสดง อยู่ในคอลมั น์ ชื่อแมโคร แมโครแต่ละตวั จะมแี อคชนั 2 แอคชนั หมายเหตุ: เมอื่ คุณบันทกึ กลุ่มแมโคร ชื่อที่คุณระบจุ ะเปน็ ชอื่ ของกลุ่มแมโคร ในตัวอยา่ งก่อนหน้าน้ี ช่อื ของกลุ่ม แมโครคือ Macro3 ช่ือน้ีจะแสดงอยู่ภายใต้ แมโคร ในบานหน้าต่างนาทาง เมื่อต้องการอ้างถึงแมโครแต่ละ ตัวในกลมุ่ แมโคร ให้ใชไ้ วยากรณต์ อ่ ไปน้ี ชอื่ กลุ่มแมโคร.ช่ือแมโคร ตัวอย่างเชน่ ในรูปก่อนหนา้ นี้ Macro3.FoundMsg คือแมโครตัวที่สองในกลุม่ แมโคร

ถ้าคุณเรียกใช้กลุ่มแมโคร ไม่ว่าด้วยการคลิกสองคร้ังท่ีกลุ่มในบานหน้าต่างนาทาง หรือด้วยการ คลิก เรียกใช้ ในกลุ่ม เคร่ืองมือ บนแท็บ ออกแบบ Access จะดาเนินการกับแมโครตัวแรกในกลุ่ม เทา่ นั้น และจะหยดุ ดาเนินการเมอื่ มาถึงแมโครชื่อที่สอง ด้านบนของหน้า สรา้ งแมโครฝงั ตัว แมโครฝังตัวแตกต่างจากแมโครเด่ียวตรงท่ีแมโครฝังตัวจะเก็บอยู่ในคุณสมบัติเหตุการณ์ของฟอร์ม รายงาน หรือตัวควบคุม โดยไม่ได้แสดงเป็นวัตถุภายใต้ แมโคร ในบานหน้าต่างนาทาง ส่ิงนี้ทาให้คุณจัดการ ฐานขอ้ มูลได้สะดวกย่ิงขึ้น เนื่องจากคุณไม่ต้องติดตามวัตถุแมโครแต่ละตัวทีม่ ีแมโครต่างๆ สาหรับฟอร์มหรือ รายงาน นอกจากน้ี แมโครฝังตัวจะรวมอยู่ในฟอร์มหรือรายงานทุกคร้ังท่ีคุณคัดลอก นาเข้า และส่งออก ฟอรม์ หรือรายงาน ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณต้องการให้มีการแสดงรายงานที่ไม่มีข้อมูล คุณสามารถฝังแมโครในคุณสมบัติ เหตุการณ์ เมื่อไม่มีข้อมูล ของรายงานนั้นได้ คุณอาจใช้แอคชัน MsgBox เพื่อแสดงข้อความ แล้วใช้ แอคชนั CancelEvent เพื่อยกเลกิ รายงานนนั้ แทนการแสดงหน้าเปลา่ ขึ้นมา ใน บ าน ห น้ าต่ างน า ท าง ให้ ค ลิ ก ข ว าท่ี ฟ อ ร์ม ห รือ ราย งาน ท่ี จ ะมี แ ม โค ร แ ล้ ว ค ลิ ก มุ ม ม อ ง ออกแบบ หรือ มุมมองเคา้ โครง . ถ้ายงั ไม่มีการแสดงแผ่นคณุ สมบัติ ให้กด F4 เพอ่ื แสดงแผน่ คุณสมบัติ  คลิกตัวควบคุมหรือส่วนที่มีคุณสมบัติเหตุการณ์ซึ่งคุณต้องการฝังแมโครนั้น นอกจากนี้ คุณยัง สามารถเลือกตัวควบคุมหรือส่วน (หรือฟอร์มหรือรายงานท้ังหมด) ได้โดยใช้รายการแบบหล่นลง ภายใต้ ชนดิ การเลอื ก ท่ดี ้านบนสดุ ของแผ่นคุณสมบัติ  บนแผน่ คุณสมบตั ิ ใหค้ ลกิ แทบ็ เหตุการณ์  คลกิ คุณสมบัตเิ หตุการณท์ ี่คณุ ตอ้ งการฝังแมโคร แลว้ คลกิ  ในกลอ่ งโต้ตอบ เลอื กตวั สร้าง ใหค้ ลิก ตัวสรา้ งแมโคร แล้วคลิก ตกลง  ในตวั สร้างแมโคร ให้คลกิ แถวแรกของคอลัมน์ แอคชนั  ในรายการแบบหลน่ ลงของ แอคชัน ให้คลิกแอคชันทค่ี ณุ ตอ้ งการ  ปอ้ นอาร์กวิ เมนต์ท่ตี อ้ งการภายใต้ อาร์กวิ เมนต์ของแอคชนั  ถ้าคุณต้องการเพิ่มแอคชันอื่น ให้คลิกแถวถัดไปของคอลัมน์ แอคชัน และทาซ้าในข้ันตอนที่ 8 และ 9  เมื่อแมโครของคณุ เสรจ็ สมบรู ณ์แล้ว ใหค้ ลกิ บนั ทกึ แลว้ คลกิ ปิด  แมโครจะทางานทุกครัง้ ทมี่ ีการทริกเกอร์คุณสมบัติเหตุการณ์  หมายเหตุ:  Access อนุญาตให้คุณสร้างกลุ่มแมโครเป็นแมโครฝังตัวได้ อย่างไรก็ตาม มีเฉพาะแมโครตัวแรกใน กลมุ่ เท่านัน้ ที่จะทางานเมอื่ มีการทริกเกอร์เหตุการณ์ ขณะทแ่ี มโครในลาดับตอ่ มาจะถูกละเว้น

 แมโครฝังตัวไม่สามารถแปลงเป็น Visual Basic for Applications (VBA) โดยใช้เคร่ืองมือ แปลง แมโครเป็น Visual Basic ในกลุ่มแมโคร บนแท็บ เครื่องมือฐานข้อมูล ถ้าคุณต้ังใจจะแปลง แมโครของคุณให้เป็นโค้ด VBA เป็นความคิดท่ีดีท่ีจะสร้างแมโครเด่ยี วแทนแมโครฝังตัว จากน้นั คุณ สามารถใชเ้ ครือ่ งมอื แปลงแมโครเป็น Visual Basic แปลงแมโครเหลา่ นนั้ ให้เปน็ VBA ได้ ด้านบนของหนา้ แก้ไขแมโคร เม่ือต้องการแทรกแถวแอคชัน คลิกขวาที่แถวแอคชันที่คุณต้องการแทรกแถวแอคชันใหม่ไว้ด้านบน แล้ว คลกิ แทรกแถว . เมอ่ื ต้องการลบแถวแอคชัน คลิกขวาทแ่ี ถวแอคชนั ทีค่ ุณต้องการลบ แล้วคลกิ ลบแถว . เมื่อต้องการย้ายแถวแอคชัน ให้เลือกแถวแอคชันด้วยการคลิกส่วนหัวของแถวทางซ้ายของแอคชัน แล้ว ลากไปยังตาแหน่งใหม่ คุณสามารถแทรก ลบ หรือย้ายแถวหลายๆ แถวพร้อมกันได้ด้วยการเลือกกลุ่มของแถวเป็นอันดับ แรก จากนัน้ ทาการดาเนินการที่คณุ ต้องการ เม่อื ต้องการเลือกกลุม่ ของแถว ใหค้ ลกิ สว่ นหัวของแถวแรกที่คุณ ต้องการเลือก กดแป้น SHIFT ค้างไว้ แล้วคลิกส่วนหัวของแถวสุดท้ายที่คุณต้องการเลือก (ส่วนหัวของแถว คอื กล่องท่ีมีการแรเงาซ่งึ อย่ดู า้ นซ้ายของแถวแอคชนั แตล่ ะแถว) อกี วิธีการหนึง่ ของการเลือกแถวหลายๆ แถวพร้อมกัน คอื วางตาแหน่งตัวช้ีไว้เหนือส่วนหัวของแถว แรกที่คุณตอ้ งการเลอื ก แลว้ คลกิ และลากขน้ึ หรือลากลงเพ่อื เลือกแถวอ่นื ๆ หมายเหตุ: เม่ือทาการเลือกแถวด้วยการคลิกและลาก แถวแรกท่ีคุณเลือกจะต้องไม่มีการเลือกไว้แล้ว ถ้ามี การเลือกแถวแรกไว้ Access จะถอื ว่าคณุ กาลังลากแถวนั้นไปยังตาแหน่งใหม่ ดา้ นบนของหน้า ใช้เงื่อนไขตา่ งๆ เพือ่ ควบคุมแอคชันของแมโคร คุณสามารถใช้นิพจน์ใดๆ ท่ีประเมินค่าเปน็ True/False หรือ Yes/Noได้ ใน เง่ือนไข จะมีการใชแ้ อคชันของ แมโครนั้นถา้ เงอื่ นไขการประเมนิ คา่ เปน็ True (หรือ Yes) เมื่อต้องการป้อนเงื่อนไขสาหรับแอคชันของแมโคร อันดับแรกคุณต้องแสดงคอลัมน์ เงื่อนไข ในตัว สร้างแมโครก่อน บนแทบ็ ออกแบบ ในกลุ่ม แสดง/ซอ่ น ใหค้ ลกิ เง่อื นไข . พิมพ์นิพจน์ในคอลัมน์ เงื่อนไข อย่าใช้เครื่องหมายเท่ากับ (=) นาหน้านิพจน์ เมื่อต้องการให้เงื่อนไขสามารถ นาไปใชไ้ ด้กับแอคชนั หลายๆ แอคชันพรอ้ มกนั ใหพ้ ิมพ์ ... ในแถวท่ตี ามมาแต่ละแถว ตัวอยา่ งเช่น

แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 9 เรือ่ ง การใชง้ านแมโครและโมดูล ตอนท่ี 1 จงอธิบายความหมาย ขยายความหรอื ใหร้ ายละเอยี ดเพม่ิ เติม ถา้ มีตัวอย่างให้ยกตัวอย่าง ประกอบ 1. จงอธิบายความหมายแมโคร ( Macro ) ชุดคาสั่งสาเร็จรูปของโปรแกรมที่ใช้ในการสั่งงานโปรแกรมประยุกต์ เช่น การสั่งให้เปิดฟอร์ม ปิดฟอร์มหรือรายงาน การทาเมนูเรียกใช้งานต่าง ๆ เป็นต้น เพ่ือให้การทางานร่วมกับส่วนต่าง ๆ ใน โปรแกรม Microsoft Access มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะงานท่ีประกอบไปด้วยงานย่อยหลาย ๆ งานท่ีต้องทาซ้าบ่อย ๆ การสรา้ งแมโครจะทาใหส้ ามารถเรยี กใช้ชดุ คาส่ังนั้นสงั่ งานครง้ั ในคร้งั เดยี วได้ 2. คาส่ังแมโครมีกี่กลุ่ม อะไรบา้ ง 1. การจัดการหนา้ ตา่ ง Window Management 2. การดาเนินการป้อนขอ้ มูล Data Entry Operations 3. การนาเขา้ / ส่งออกข้อมูล Data Import/Export 4. คาสั่งแมโคร Macro Commands 5. คาสั่งระบบ System Commands 6. คาสง่ั สว่ นตดิ ต่อกับผู้ใช้ User Interface commands 7. ใชต้ ัวกรอง /แบบสอบถาม/คน้ หา Filter/Query/Search 8. วัตถฐุ านข้อมลู Database Objects 3. จงอธบิ ายวธิ ีการสร้างแมโครเพ่อื เปดิ ฟอรม์ 1. คลกิ ที่ปุ่มสร้าง Create 2. คลกิ ทป่ี ุ่ม Macro 3. เขา้ ส่มู มุ มองการออกแบบของแมโคร ทช่ี ่อง Action สามารถคลิกรายการย่อยเพื่อเลือกการ กระทา 4. เลือกแอคชั่นท่ีต้องการจะทา คือ OpenForm เพื่อเรียกเปิดใชง้ านฟอร์มข้อมูล 4. จงอธิบายความหมายของโมดูล เป็น Object ทีเ่ กบ็ คาส่งั ที่พัฒนาโดยใช้ภาษา Visual Basic สามารถสรา้ งคาสัง่ ทั้งหมด เกบ็ ไวแ้ ล้วเรียกใช้ หรือเขียนคาสง่ั ไวใ้ นแต่ละฟอรม์ ก็ได้ โดยโปรแกรมทีเ่ ขยี นขึ้นนน้ั ไม่ถูกเรียกใช้ในฟอร์ม อืน่ 5. จงบอกข้นั ตอนการสร้างโมดูล คลกิ ที่แท็บ Create คลกิ ที่ปุ่ม Module หน้าตา่ งโปรแกรม Microsoft Visual Basic จะถูก เปดิ ใชง้ านเขียนคาสงั่ เพ่ือส่งั ให้ทางาน คลกิ ทปี่ ุ่มบันทึก