04 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 No 326 04 0055 JAPANESE 2, LIYC 278.00 No 159 และความสัมพนั ธ์ของตารางทงั้ 2 เปน็ แบบ One – to – Many จากตาราง Categories ไปยัง ตาราง Products เน่ืองจากชนดิ สินค้าหน่ึงสามารถมสี ินค้าไดห้ ลายอยา่ ง 2.ตาราง Order,OrderDetail และ Customer ตารางท้ังสามนี้ ผ่านกฎข้อท่ี 3 ทั้งหมด เน่ืองจากฟิลด์ทุกตัวในตารางขึ้นกับคีย์หลัก ทัง้ หมด ไมไ่ ดข้ นึ้ กับฟิลดอ์ น่ื ๆ เลย กฎการ Normalization ข้อที่ 3 นี้ เราเรียกว่า BCNF (Boyce/Codd Normal Form ซ่ึงเป็นกฎข้อ ที่ 3 ที่ได้รบั การปรับปรงุ ขึน้ ใหม่) กฎข้อที่ 4 (Fourth Normal Form) กฎข้อที่ 4 กล่าวว่า ตารางทผี่ า่ นกฎข้อท่ี 4 จะต้องไม่มีการขึ้นต่อกันแบบเชงิ กล่มุ (Multivalued Dependency) ซึ่งเปน็ ความสัมพันธ์แบบ Many – to – Many ภายในตาราง เดยี วกัน เช่น ในตารางเดยี วกันจะมีฟิลด์ B ทข่ี ึน้ ต่อฟิลด์ A โดยการข้นึ ตอ่ กันน้ีเป็นอิสระจากอีกฟิลด์ หนง่ึ คอื ฟิลด์ C เราสามารถทาใหต้ าราง ตารางต้ังตน้ ชื่อนักศึกษา รหสั อาจารยท์ ี่ ชื่อวิชา รหัสนกั ศกึ ษา แดง ปรึกษา 2001 1001 ภาษาอังกฤษ ดา 1002 ประวตั ศิ าสตร์ 2002 เขียว ภาษาเยอรมัน 2003 1003 ภาษาญ่ปี ุน่ คณิตศาสตร์ 1004 ภาษาองั กฤษ 1005 ประวัตศิ าสตร์
สามารถแปลงเป็น First Normal Form ได้ดังตารางน้ี รหสั นักศึกษา ชอ่ื นกั ศึกษา รหัสอาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ชอ่ื วิชา ภาษาอังกฤษ 2001 แดง 1001 ประวตั ศิ าสตร์ ภาษาเยอรมนั 2001 แดง 1001 ภาษาองั กฤษ ประวตั ิศาสตร์ 2001 แดง 1001 ภาษาเยอรมนั ภาษาญีป่ ุ่น 2001 แดง 1002 คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 2001 แดง 1002 ประวัตศิ าสตร์ ภาษาองั กฤษ 2001 แดง 1002 ประวัตศิ าสตร์ 2002 ดา 1003 2002 ดา 1003 2003 เขยี ว 1004 2003 เขียว 1004 2003 เขยี ว 1004 2003 เขยี ว 1004 เน่อื งจากตารางที่กล่าวมานเ้ี ป็นตารางท่ผี า่ นกฎข้อที่ 3 คอื ไม่มแี อททริบิวตใ์ ดขึ้นกับแอททรบิ ิวต์อนื่ ที่ไม่ใช่ คีย์หลกั หรอื คีย์คู่แข่ง แตไ่ ม่ผา่ นกฎข้อท่ี 4 เนอื่ งจากมีการขึ้นต่อกับเชิงกลุ่ม เชน่ นกั ศึกษาช่อื แดงมี อาจารย์ท่ปี รึกษา 2 คน แต่ลงวิชาเรียนไป 3 วิชา ซ่งึ รหัสอาจารย์ทป่ี รึกษา กบั ชื่อวิชาท่ีลงไปเปน็ ข้อมูล ทไี่ ม่ข้ึนต่อกัน ซ่งึ เราสามารถปรบั ใหเ้ ปน็ 4NF ไดด้ ้วยการทาแบ่งตารางนีอ้ อกเปน็ 2 ตารางตอ่ ไป ซง่ึ ตารางท้ังสองจะประกอบดว้ ยแอตทริบิวตท์ ี่เกี่ยวข้องกนั เทา่ นัน้ รหสั ชื่อ รหสั อาจารย์ที่ รหัสนกั ศึกษา ช่อื ชวื่ ิชา นักศกึ ษา นกั ศกึ ษา ปรึกษา นักศกึ ษา 2001 แดง 1001 2001 แดง ภาษาอังกฤษ 2001 แดง 1002 2001 แดง ประวตั ศิ าสตร์ 2002 ดา 1003 2001 แดง ภาษาเยอรมัน 2003 เขียว 1004 2002 ดา ภาษาญ่ปี ุ่น 2003 เขยี ว 1005 2002 ดา คณติ ศาสตร์ 2003 เขียว ภาษาองั กฤษ ตารางทผ่ี า่ นการใช้กฎขอ้ ที่ 4 2003 เขียว ประวตั ิศาสตร์ โดยทั่วไปแล้ว การ Normalization นั้น เราใช้ถึงกฎข้อที่ 3 ก็เพียงพอแล้ว เน่ืองจากมี ตารางน้อยมากทีจ่ ะต้องใชก้ ฎข้อที่ 4
สรปุ ตารางทอ่ี อกแบบได้ท้ังหมด ในหัวข้อน้ี เราจะสรุปตารางที่ออกแบบเสร็จแล้ว โดยการ Normalization ท่ีผ่านมาเรา สามารถสรปุ ตารางทอ่ี อกแบบไดด้ งั รูปตอ่ ไปนี้ เน่ืองจากตัวอย่างทุกๆ ตัวอย่างจะใช้ช่ือฟิลด์ทุกๆ ตัวเป็นช่ือภาษาอังกฤษเพ่ือให้มีความเป็น มาตรฐานและเข้าใจได้ง่ายข้ึนดังนั้นจากรูปข้างต้นเราสามารถสรุปตารางออกมาได้เป็นชื่อฟิลด์เป็น ภาษาอังกฤษไดด้ ังรูป แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 2 เร่ือง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
ตอนที่ 1 จงอธบิ ายความหมาย ขยายความหรือใหร้ ายละเอียดเพิ่มเติม ถา้ มีตัวอย่างให้ยกตวั อย่างประกอบ 1.จงอธิบายความหมายของการออกแบบฐานข้อมลู เชงิ สัมพันธ์ คือ ออกแบบตารางเก็บข้อมูลและเอนทติ ตี้ า่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ นั ทงั้ หมดที่จะใชใ้ นฐานขอ้ มลู โดยมี วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ในการออกแบบฐานขอ้ มูล คอื การสรา้ งฐานข้อมลู ที่มปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้งานในองค์กรต่าง ๆ 2.จงอธบิ ายขัน้ ตอนการออกแบบฐานขอ้ มูลว่ามีขั้นตอนใดบ้าง 1. การรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู รายละเอียดทีต่ ้องการ 2. การกาหนดโครงสร้างของเอนทติ ้ี 3. การกาหนดคีย์ใหก้ บั เอนทิตี้ 4. การทาข้อมลู ให้อยู่ในรูปแบบบรรทัดฐาน 5. การกาหนดความสัมพันธ์ 3.การทา Normalization หมายถงึ อะไร Normalization การทาข้อมูลใหอ้ ยูใ่ นรปู แบบบรรทัดฐาน เพ่ือลดความซา้ ซ้อนของข้อมูลหรือ กาจัดข้อมลู ที่ไม่เกี่ยวขอ้ งกันออกจากตารางนน้ั โดยต้องมีการปรบั แกไ้ ขโครงสรา้ งใหเ้ หมาะสม 1. นิยามของการ Normalization ระดับท่ี 1 คอื อะไร 1. มีคียห์ ลกั ในรีเลชนั 2. ไม่มีกลุ่มขอ้ มูลซ้ำ (Repeating groups) อยใู่ นรีเลชนั หรือ Fields ในตำรำงจะตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูลเพียงคำ่ 2.เดียว(นatิยoาmมiขcอvงaกluาeร) Nไมo่มrmี fiaellidzaใtดioทnี่มีลระกั ดษบั ณทะ่ี เ2ป็นคือMอะulไtรivalued 3. แอทริบวิ ตท์ ่ีไมใ่ ช่คยี ์ ( Nonkey attributes) จะตอ้ งขน้ึ กบั แอทรบิ ิวตท์ ี่เป็นคยี ห์ ลักอย่างสมบรู ณ์ 1. รีเลชนั น้นั จะอยใู่ นรูปแบบ 1NF 2. แอทริบิวตไ์ ม่ใช่คียต์ อ้ งมีคำ่ ข้ึนกบั ค่ำคียห์ ลกั ของเอนทิต้ีอยำ่ งสมบูรณ์
กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน - วดั พ้นื ฐานความรู้ของนักศึกษาก่อนนาเข้าสูบ่ ทเรียน และใช้สอ่ื คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนนานักเรยี น เข้าสูบ่ ทเรยี น 2. ขน้ั สอน - ครอู ธิบายความหมายของระบบฐานข้อมลู - ครแู สดงโครงสรา้ งฐานขอ้ มูล - ครูอธบิ ายคาศัพท์พื้นฐานทเี่ ก่ียวกบั ฐานข้อมลู - ครอู ธิบายประโยชน์ของฐานข้อมลู 3. ข้ันสรปุ - ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายข้อมลู ข้างตน้ และเปดิ โอกาสใหซ้ กั ถามขอ้ สงสยั งานท่ีมอบหมาย/ผลงาน/ช้ินงาน 1.ก่อนเรยี น 1. ครูชี้แจงแนวทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาหนว่ ย 3. นักศกึ ษาแบ่งกลุ่มทากจิ กรรม พรอ้ มรบั เกณฑ์ประเมิน 2.ขณะเรียน ครูแนะนาเนื้อหาในเร่ือง การวิเคราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมูล ตามหัวข้อดังนี้ 1. บอกความหมายของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมลู 2. บอกความหมายของฐานข้อมลู เชิงสัมพันธ์ 3. อธบิ ายขน้ั ตอนในการออกแบบฐานขอ้ มูล 4. อธบิ ายเกีย่ วกับการจัดการขอ้ มูลให้อยใู่ นรปู แบบบรรทัดฐาน ( Normalization) 5. บอกความสมั พนั ธข์ องรเี ลชัน 3.หลงั เรยี น 1. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2 การวิเคราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมลู 2. แบบประเมินผลการเรียนประจาหนว่ ย 3. นักศกึ ษาทาการประเมนิ ผลปฏิบัติงานของตนเอง 4. บันทกึ คะแนนและคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 5. สรุปคะแนนผลการเรยี นของนักศกึ ษาประจาหนว่ ยท่ี 2
4.ผลงาน/ชน้ิ งาน ทีเ่ กดิ จากการเรียนรู้ของผเู้ รยี น 1. แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2 2. ผลคะแนนการประเมนิ ผลการเรยี นประจาหนว่ ย สอื่ การเรยี น/การสอน - Power Point หนว่ ยท่ี 2 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบฐานข้อมลู - ส่ือการเรยี นรูอ้ อนไลน์ แหลง่ การเรยี นรู้ /สถานที่ - หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ วิทยาลยั อาชีวศึกษาออมสินอุปถัมถ์ - หอ้ งสมุด วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาออมสินอุปถัมถ์ การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กับวชิ าอนื่ 1. วิชาภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์ 2. วชิ าภาษาอังกฤษทีเ่ ก่ยี วกับคาศัพท์เฉพาะ 3. วิชาวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นการมเี หตผุ ล และกระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ 4. วชิ าสังคมศกึ ษา ดา้ นการมีมนษุ ยสัมพันธ์ การทากิจกรรมกลุ่ม การวดั และประเมินผล 1. ก่อนเรียน เพอื่ ทดสอบพ้นื ฐานความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบฐานข้อมูล เพอื่ เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผ้เู รียน 2. ขณะเรียน เพือ่ วดั ความรู้ ความเขา้ ใจเบ้ืองต้นเก่ยี วกบั การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบฐานข้อมลู รวมถึงสื่อ ทีใ่ ช้รวมทัง้ เทคนิควิธีการ และพฒั นาการของผู้เรียน 3.หลังเรียน เพ่อื ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รยี นให้เปน็ ไปตามสมรรถนะประจาหน่วย กจิ กรรมเสนอแนะ - เพ่ิมความสนใจ ในการนารูปภาพประกอบทน่ี ่าสนใจ เหมาะกับการเรียนรู้ มาประกอบใน การสอนเพื่อสร้างทักษะในการเรยี นรแู้ ละจดจา และมีสอ่ื มลั ตมิ ีเดยี ทีน่ ่าสนใจ - หลังจากจบการเรียน การสอนในชั้นเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทาการศึกษาทบทวน เพ่ิมเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ท่ีสามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนนั้นสามารถทราบผลความคืบหน้าของตนเองเกี่ยวกับการเรียน ในแตล่ ะครง้ั
แผนการจดั การเรยี นรู้หนว่ ยท่ี 3 จานวน 18 ชวั่ โมง รหัส 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมูล หนว่ ยกิต 3 ช่ือหน่วย แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 1. สาระสาคญั โปรแกรม Microsoft Access 2010 ถือว่าเป็นโปรแกรมจัดการระบบฐานข้อมูลท่ีช่วยอานวยความ สะดวกในการจดั การกบั ระบบฐานข้อมูลได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่การจัดเกบ็ ขอ้ มูล ค้นหาขอ้ มูลวิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูล ซึ่งโปรแกรมประเภทจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ( Relational Database management System) ที่ใช้กันในสานักงาน หรือองค์กรขนาดเล็ก และยังสามารถเขียนกลุ่มโปรแกรม (แมโคร และมอดูล) ของวิชวลเบสิก เพ่ือใช้ในการทางาน โปรแกรม Access ยังสามารถเช่ือมต่อกับ ฐานขอ้ มลู Microsoft SQL Server ไดด้ ว้ ย 2. สมรรถนะการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั โปรแกรม Microsoft Access 2010 2. ใชง้ านโปรแกรม Microsoft Access 2010 เบอ้ื งต้น 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความสามารถของโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. บอกคณุ สมบตั ขิ องโปรแกรม Microsoft Access 2010 3. บอกข้ันตอนการเขา้ ใช้งานฐานข้อมูล 4. สร้างฐานขอ้ มูลโดยใช้ Template 5. บอกสว่ นประกอบของหน้าจอฐานข้อมลู ของ Microsoft Access 2010 6. อธบิ ายเกีย่ วกบั วตั ถฐุ านข้อมลู ของ Microsoft Access 2010 7. สร้างฐานข้อมูลเปล่า (Blank Database) 8. เปิดไฟล์ฐานข้อมูลท่ีไดส้ รา้ งไวแ้ ลว้ 9. ปิดฐานขอ้ มลู 10. ออกจากโปรแกรม Microsoft Access 2010 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวิชาชีพ ( Profession Ethic ) ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรียน ท้งั ทางตรงและทางอ้อม 3. มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผู้อน่ื เผ่อื แผ่และแบ่งปนั 4. คานึงถึงประโยชน์ของสว่ นรวมมากกว่าผลประโยชนข์ องตน
ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรยี นรู้ โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงค์การสอน 2 เงือ่ นไข หน่วยท่ี 3 ความรู้ คณุ ธรรม เร่ือง แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 3 ห่วงพอประมาณ ีมเห ุตผล 2010 ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1. ความสามารถของโปรแกรม Microsoft 8 2 Access 2010 2. คณุ สมบตั ขิ องโปรแกรม Microsoft Access 83 2010 3.ขน้ั ตอนการเขา้ ใช้งานฐานข้อมลู 9 1 4.สร้างฐานขอ้ มูลโดยใช้ Template 8 2 5.สว่ นประกอบของหนา้ จอฐานข้อมลู ของ 8 3 Microsoft Access 2010 6.วัตถฐุ านข้อมูลของ Microsoft Access 2010 9 1 7.สร้างฐานขอ้ มูล (Blank Access 2010) 8 2 8.เปิดไฟล์ฐานข้อมูล ท่สี ร้างไว้แล้ว 8 2 9.ปดิ ฐานขอ้ มูล 8 1 รวม 1 3 23 3 3 3 3 3 1 ลาดับความสาคัญ 3131111112
แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 3 แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 จงเลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเปน็ คุณสมบัติใหม่ของ Access 2007 ง. ถูกทุกขอ้ 2. ขอ้ ใดต่อไปนก้ี ล่าวไม่ถูกต้องเก่ียวกับมมุ มอง Microsoft Office Backstage ค. สร้างตารางใหม่ 3. แถบคาสงั่ ทใี่ ช้ทางานร่วมกบั ฐานข้อมูลคือข้อใด ข. Ribbon 4. แท็บใดท่ีใชจ้ ัดการข้อมูลบนหน้าจอคือกลมุ่ คาสงั่ ใด ก. Home 5. แทบ็ ใดทีเ่ ปน็ แท็บคาสัง่ ที่ต้องตดิ ต่อกับแอพริเคชนั ภายนอกคือข้อใด ง. DatabaseTools 6. แทบ็ ใดทเ่ี ป็นแท็บทีใ่ ชส้ รา้ งตารางข้อมลู ในฐานข้อมลู ข. Create 7. ถา้ ผู้ใช้ต้องการสร้างฟอรม์ เก็บข้อมูลต้องเลือกท่ีแท็บใด ข. Create 8. ถ้าผ้ใู ชต้ ้องการกาหนดความสัมพนั ธ์ใหต้ าราง ต้องเลือกที่แทบ็ ใด ง. Database Tools 9. ถ้าต้องการขอความชว่ ยเหลอื ตอ้ งกดปุ่มใดบนคีย์บอรด์ ก. F1 10. Open Exclusive Read-Only คือการเปิดเอกสารแบบใด ง. ใชง้ านไดค้ นเดียวและอา่ นได้อย่างเดยี ว
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เร่ือง แนะนาโปรแกรม แนะนาโปรแกรม MS Access 2010 เวอรช์ นั ภาษาไทย แตใ่ นคมู่ ือจะมีแนบคาส่งั ภาษาอังกฤษใน วงเล็บไวอ้ ้างองิ กับผทู้ ่ีใช้เวอร์ชันภาษาอังกฤษ หนา้ ตา่ งตอนเริ่มโปรแกรมจะมลี ักษณะดังภาพ ขนั้ ตอนการสรา้ ง Entity หรอื โครงสร้างตาราง (Table) (อ้างอิงจาก Entity ทอ่ี าจารย์ยกตัวอย่างใน ห้องเรยี น) 1. Click เลอื กท่ี ฐานข้อมูลเปลา่ (Blank Database) 2. Click เลือกที่มุมมอง (View) มมุ มองออกแบบ (Design View)
3. สร้างช่ือ Table หรอื Entity ทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้ ในท่นี ี้สรา้ งชื่อ Student 4. กาหนดชอื่ เขตของข้อมลู (Field Name) และกาหนดชนดิ ของขอ้ มูล (Data Type) ซงึ่ เราจะ สามารถเลอื กได้ว่าจะกาหนดชนดิ ของข้อมลู ให้เป็นแบบใด โดยมขี อบเขตข้อมูลใหเ้ ลือกดังนี้ Text – ขอ้ ความท่ีเปน็ ไดท้ ั้งตัวอกั ษร ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ ชอ่ งว่าง หรอื ทัง้ หมดรวมกนั โดยถา้ ข้อมูลเปน็ ตัวเลขจะไมส่ ามารถนามาคานวณได้ สามารถใส่ Text สูงสุด 255 ตวั
Memo – สาหรบั ขอ้ ความขนาดยาว Number – ตวั เลขที่ใชใ้ นการคานวณ Date/Time – วนั ทแี่ ละเวลา Currency – ตัวเลขทศนิยม 4 ตาแหนง่ พร้อมด้วยสญั ลักษณส์ กลุ เงินตรา เช่น $ AutoNumber – เลขลาดบั จานวนเต็ม ท่ีจะเพ่ิมค่าอตั ิโนมตั ิเมอื่ มกี ารเพิม่ เรคคอรด์ ใหม่ โดยค่าตวั เลขจะไม่ ซ้ากันเลยและผูใ้ ช้ไม่สามารถแก้ไขคา่ ได้ จงึ นยิ มนาไปใชก้ ับฟิลดท์ ี่คยี ห์ ลัก (Primary Key) Yes/No – ขอ้ มูลทางตรรกะ ซง่ึ มีได้ 2 สถานะเท่าน้ันคือจริงหรอื เท็จ OLE object – เป็นออบเจ็คที่สร้างจากโปรแกรมอนื่ ๆ เช่น ไฟลส์ เปรดชดี , ไฟล์เอกสาร, รปู ภาพ, กราฟ ,เสียง เป็นตน้ Hyperlink – ลิงคท์ ี่อา้ งองิ ไปยงั ข้อมลู อนื่ ๆซ่ีงอาจเป็นไฟล์ฐานขอ้ มลู ของ Access ไฟล์ทสี่ ร้างจากโปรแกรม อ่ืนบนเร่อื งเดยี วกนั หรอื บนเน็ตเวริ ์ก เว็บไซต์ หรอื Email ก็ได้ Attachment – แนบไฟลต์ า่ งๆ Lookup Wizard – เปน็ เครอ่ื งมือที่ช่วยในการป้อนข้อมูลหรือนาเขา้ ข้อมูลจาก Table อื่นของฐานข้อมลู Access 5. กาหนด Primary Key เลือกช่ือเขตข้อมลู (Field Name) ที่ต้องการทาใหเ้ ปน็ Primary Key แลว้ Click ที่ คยี ห์ ลกั (Primary Key) หลงั จากนน้ั เขตข้อมูล (Field Name) ท่เี ราเลือกไว้จะปรากฎรปู กุญแจขา้ งหน้า ชอ่ื เขตข้อมูลนน้ั 6. การสรา้ งตารางใหม่ ใหท้ ี่ Tab สร้าง (Create) และเลือกที่ ตาราง(Table) หรือ ออกแบบตาราง (Table Design) เพอื่ เข้าสู่การสรา้ งโครงสร้างตารางในมุมมองออกแบบ (Design View) ได้เลย
7. ในกรณตี อ้ งการสร้าง Primary Key สองตัวในหนง่ึ ตาราง ใหก้ ด Ctrl คา้ งไว้ แลว้ เลือกชื่อเขตข้อมลู ที่ ตอ้ งการ หลังจากนัน้ กด Click ท่ี คยี ห์ ลัก (Primary Key) 8. เลือกที่ มุมมอง (View) มุมมองแผ่นข้อมลู (Datasheet View) เพ่ือปอ้ นข้อมลู แกไ้ ขข้อมูล และ แสดงขอ้ มลู ในตารางทเ่ี ราได้สรา้ งไว้ . ข้ันตอนการสร้างความสัมพันธ์แตล่ ะ Entity หรอื ตาราง 1. เลอื กที่ เคร่อื งมือฐานขอ้ มูล (Database Tools) ความสมั พนั ธ์ (Relationships) 2. เลือกตารางที่เราต้องการจะสรา้ งความสัมพนั ธ์ โดยการกดที่ เพม่ิ (Add)
3. Click คา้ งไวท้ ่ี Primary Key ของ Table ทต่ี ้องการสรา้ งความสัมพันธ์ และลากไปยัง Foreign Key ในอกี ตารางหนง่ึ ในท่ีนจ้ี ะกาหนดให้ RID เป็น Primary Key ของตาราง Room ที่จะสรา้ งความสัมพันธ์ กบั RID ท่เี ป็น Foreign Key ของ ตาราง Course หลงั จากปลอ่ ยเมาสแ์ ล้วจะขน้ึ หนา้ ตา่ งดังต่อไปนี้ - การเลอื ก “บังคับให้มี Referential Integrity” (Enforce Referential Integrity) ถา้ จะใหค้ งสภาพการ อา้ งอิงความสมั พนั ธ์ - การเลอื ก “ปรับปรุงเขตข้อมลู ที่เกยี่ วข้องทั้งหมด” (Cascade Update Related Fields) หมายถึง เม่ือ แก้ไขข้อมูลตารางด้าน Primary Key จะทาให้ข้อมูลทเ่ี ก่ยี วข้อง หรือ Foreign Key ถูกแกไ้ ขด้วย - การเลือก “ลบระเบียนทีเ่ ก่ียวข้องทัง้ หมด” (Cascade Delete Related Records) หมายถงึ ถ้าลบเร คอร์ดดา้ น Primary Key จะทาให้ข้อมูลที่เกีย่ วขอ้ ง หรือ Foreign Key ถูกลบด้วย หลงั จากนัน้ เลอื ก สร้าง (Create) จะปรากฏเสน้ ความสัมพันธ์ขน้ึ โดยที่มเี ลข 1 กับ ∞ นัน้ หมายความวา่ เป็น ความสมั พนั ธแ์ บบ 1 To Many
การจัดการข้อมลู ด้วย Query Query เปน็ เคร่อื งมือทีส่ ามารถ - ช่วยในการค้นหา และกรองขอ้ มลู - เรียงลาดับและจัดกลมุ่ ข้อมูล - สร้าง Table ขน้ึ มาใหมจ่ าก Field ข้อมูลใน Table ทีม่ อี ยูแ่ ลว้ โดยไมต่ ้องเข้าไปสรา้ งเองในมมุ มอง Design - นาข้อมูลจากหลายๆ Table ทีส่ ัมพันธก์ นั มาแสดงในตารางผลลัพธเ์ สมอื นเป็น Table เดยี วกนั ได้ เปน็ ตน้ Access ไดส้ ร้าง Query ออกเป็น 5 ประเภทตามลักษณะการใช้งานคือ 1) Select Query ใช้สอบถามขอ้ มลู จาก 1 Table หรอื หลายๆ Table ท่ีตรงกับเงอ่ื นไขกาหนด 2) Crosstab Query ใช้สอบถามข้อมูลและแสดงผลลพั ธ์แบบ 2 มิติ โดยสลบั ข้อมูลในแนวแถวและแนว คอลัมน์ 3) Action Query ใชส้ รา้ ง Table ใหม่ หรอื เปลยี่ นแปลงข้อมลู ใน Table เช่น แกไ้ ขข้อมูล เพ่ิมเรคอรด์ ใหม่ ลบเรคอรด์ ใหม่และเก่า 4) Parameter Query เป็น Query ทใี่ หผ้ ู้ใช้ใส่คา่ พารามิเตอร์ได้ในระหว่างประมวลผล (run-time) เพื่อใช้ ค้นหาหรอื คานวณคา่ เช่น ใส่อัตราการเปล่ียนแปลงตน้ ทนุ และราคาสินค้า เพ่ือคานวณหากาไร ณ อัตรา ตา่ งๆ 5) SQL Query สาหรบั Query ประเภทน้ี ผใู้ ชต้ ้องสรา้ งข้ึนด้วยภาษา SQL (Structured Query Language) ซึง่ เป็นภาษามาตรฐานทใี่ ช้จัดการฐานข้อมลู การสร้าง Query เบอื้ งตน้ 1. ท่ี Tab สรา้ ง (Create) เลอื ก ออกแบบแบบสอบถาม (Query Design)
2. เลอื กตารางท่ีต้องการใช้ แลว้ เลือก เพิ่ม (Add) 3. เมื่อเลือกตารางที่เราต้องการแลว้ บริเวณดา้ นล่างของโปรแกรมจะปรากฏ Query Design Grid โดยมี รายละเอียดในแตล่ ะหัวข้อดงั น้ี - เขตข้อมลู (Field) ใสช่ อ่ื ฟลิ ด์ทีจ่ ะค้นหาขอ้ มูลเพื่อแสดงในตารางผลลัพธ์ - ตาราง (Table) ใสช่ ือ่ Table/Query ท่ีจะใช้เปน็ แหลง่ ข้อมลู - เรยี งลาดบั (Sort) เป็นแถวที่ใชก้ าหนดรปู แบบการจดั เรียงขอ้ มูล Ascending (เรียงจากน้อยไปมาก) , Descending (เรียงจากมากไปนอ้ ย) และ not Sorted (ไม่ต้องจดั เรยี ง) - แสดง (Show) ใช้ซ่อน Field ทไ่ี ม่ตอ้ งการแสดงค่าในตารางผลลัพธ์ โดยคลกิ ลา้ งเคร่อื งหมายถกู ในช่อง สี่เหลยี่ ม - เกณฑ์ (Criteria) ใส่เง่ือนไขการสอบถามข้อมูล ซง่ึ อาจเป็นนิพจนท์ ป่ี ระกอบด้วยฟังก์ชันหรอื สูตรทาง คณติ ศาสตร์ 4. เราสามารถสรา้ งนิพจน์และเงื่อนไขใหก้ บั Query ได้ในส่วนของเกณฑ์ (Criteria) โดยรูปแบบนพิ จน์ใน
Access นัน้ จะคล้ายนิพจนท์ างคณิตศาสตร์ ต่างกนั ตรง Access กาหนดใหฟ้ ลิ ด์ขอ้ มลู คือตวั แปรทีเ่ กบ็ ค่าหรอื ผลลัพธ์ท่ีได้จากการคานวณ โดยฟีลด์ข้อมลู น้อี าจเปน็ ฟีลด์ข้อมลู จรงิ ในตาราง หรือเปน็ ฟีลดเ์ สมือนท่สี รา้ งใน Query โดยสามารถแบ่งได้ดังนี้ - คณิตศาสตร์ เชน่ + - * / - เปรียบเทยี บคา่ เช่น < > <= > >= = <> - ตรรกศาสตร์ เชน่ Not And Or Xor Eqv Imp - แบบพเิ ศษ เช่น Is, Is Not, Like, In, Between…And - การเชื่อมข้อความ เช่น & + ส่วนการสร้างเงื่อนไขด้วย And, Or, และ Between…And มรี ายละเอียดการใช้งานคร่าวๆดังนคี้ อื นาเงอื่ นไขมา And กนั ตัวกระทา And ใช้เชอ่ื มเงื่อนไขต้ังแต่ 2 เง่ือนไขขึ้นไป โดยทุกเง่ือนไขตอ้ งมคี ่าตรรกะเป็นจริง จงึ จะทาให้ค่า ตรรกะภายใต้เงอ่ื นไขท้ังหมดเป็นจริงดว้ ย เงื่อนไขที่จะนามา And กัน ต้องใสใ่ นแถวเดียวกันของช่อง เกณฑ์ (Criteria) เชน่ SID>=1 And SID<=20 หมายความวา่ ให้แสดง SID ต้ังแต่ 1 ถึง 20 นาเงอื่ นไขมา Or กนั ตัวกระทา Or ใช้เชื่อมเงอ่ื ไขตั้งแต่ 2 เง่อื นไขข้นึ ไป โดยอย่างน้อย 1 เงอ่ื นไขตอ้ งมคี ่าตรรกะเป็นจริง จึงจะทา ใหค้ ่าตรรกะของเงื่อนไขทงั้ หมดเป็นจรงิ ด้วย วธิ ใี ส่เง่ือนไขทาได้ 2 แบบคือ
1) ใส่เง่อื นไขเรยี งต่อกนั ในแถว เกณฑ์ (Criteria) ของคอลมั น์เดียวกัน โดยค่ันแตล่ ะเงื่อนไขดว้ ย Or เช่น การ ให้แสดง SID 30 หรอื 48 2) เงอื่ นไขแรกใส่แถว เกณฑ์ (Criteria) เงอื่ นไขถดั ไปใสแ่ ถว หรอื (Or) ท่อี ยถู่ ัดลงมา ถ้ามีมากกวา่ สอง เงอ่ื นไขให้ใส่ในแถว หรือ (Or) ที่อยูถ่ ดั ลงมาเรอ่ื ยๆ เปรยี บเทยี บข้อมูลด้วย Between…And การสร้างเง่ือนไขเพ่ือเปรียบเทียบคา่ แบบเป็นช่วงด้วยตวั กระทา Between…And น้นั ชว่ งข้อมูลต้องมี ขอบเขตท่ีแนน่ อน เช่น ตอ้ งการคน้ หา SID ในชว่ ง 20 – 50 ตอ้ งตั้งเงอื่ นไขวา่ Between 20 And 50 ในการสง่ั รนั Query ให้คลกิ ที่คาสั่ง เรยี กใช้ (Run) เพ่ือใหแ้ สดงผลลัพธ์ตามทเ่ี ราไดส้ รา้ ง Query ไว้
แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 3 เร่อื ง แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 จงเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นคุณสมบตั ใิ หม่ของ Access 2007 ง. ถูกทุกข้อ 2. ข้อใดตอ่ ไปน้กี ล่าวไมถ่ ูกตอ้ งเก่ยี วกับมมุ มอง Microsoft Office Backstage ค. สร้างตารางใหม่ 3. แถบคาสั่งทใ่ี ชท้ างานรว่ มกบั ฐานข้อมูลคอื ขอ้ ใด ข. Ribbon 4. แทบ็ ใดท่ีใช้จดั การข้อมูลบนหน้าจอคือกลมุ่ คาส่งั ใด ก. Home 5. แท็บใดที่เป็นแทบ็ คาสั่งทตี่ ้องตดิ ต่อกับแอพริเคชันภายนอกคอื ข้อใด ง. DatabaseTools 6. แท็บใดทเ่ี ปน็ แท็บท่ใี ช้สร้างตารางขอ้ มลู ในฐานข้อมูล ข. Create 7. ถา้ ผใู้ ช้ตอ้ งการสรา้ งฟอร์มเก็บข้อมลู ต้องเลือกที่แท็บใด ข. Create 8. ถา้ ผู้ใชต้ ้องการกาหนดความสัมพนั ธ์ให้ตาราง ต้องเลือกท่ีแท็บใด ง. Database Tools 9. ถ้าตอ้ งการขอความช่วยเหลือต้องกดปุ่มใดบนคียบ์ อรด์ ก. F1 10. Open Exclusive Read-Only คอื การเปิดเอกสารแบบใด ง. ใชง้ านไดค้ นเดียวและอา่ นไดอ้ ยา่ งเดยี ว
กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น - วดั พ้นื ฐานความรูข้ องนักศึกษาก่อนนาเขา้ สบู่ ทเรียน และใช้ส่อื คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนนานักเรยี น เข้าส่บู ทเรียน 2. ข้ันสอน - ครอู ธิบายความหมายของระบบฐานข้อมูล - ครูแสดงโครงสร้างฐานขอ้ มูล - ครอู ธบิ ายคาศัพท์พ้นื ฐานทเ่ี กย่ี วกบั ฐานข้อมลู - ครอู ธิบายประโยชนข์ องฐานข้อมูล 3. ขั้นสรปุ - ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายข้อมลู ขา้ งต้น และเปิดโอกาสใหซ้ ักถามขอ้ สงสัย งานท่ีมอบหมาย/ผลงาน/ช้นิ งาน 1.ก่อนเรียน 1. ครูชีแ้ จงแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหนว่ ย 3. นักศึกษาแบ่งกลมุ่ ทากิจกรรม พรอ้ มรับเกณฑป์ ระเมนิ 2.ขณะเรยี น 1. ครูแนะนาเนื้อหาในเร่ือง แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 ตามหัวขอ้ ดังน้ี 1. บอกความสามารถของโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. บอกคุณสมบัตขิ องโปรแกรม Microsoft Access 2010 3. บอกข้นั ตอนการเข้าใช้งานฐานขอ้ มูล 4. สรา้ งฐานขอ้ มลู โดยใช้ Template 5. บอกส่วนประกอบของหน้าจอฐานข้อมูลของ Microsoft Access 2010 6. อธิบายเกยี่ วกับวตั ถฐุ านข้อมลู ของ Microsoft Access 2010 7. สรา้ งฐานข้อมลู เปลา่ (Blank Database) 8. เปิดไฟลฐ์ านข้อมูลที่ได้สร้างไว้แล้ว 9. ปิดฐานขอ้ มูล 10. ออกจากโปรแกรม Microsoft Access 2010
3.หลังเรยี น 1. แบบฝึกหัดประจาหนว่ ยท่ี 3 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนประจาหน่วย 3. นักศึกษาทาการประเมนิ ผลปฏบิ ัตงิ านของตนเอง 4. บันทกึ คะแนนและคณุ ธรรมจริยธรรม 5. สรุปคะแนนผลการเรยี นของนกั ศกึ ษาประจาหนว่ ย 4. ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน - แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 3 - ผลคะแนนการประเมนิ ผลการเรียนประจาหน่วย สอ่ื การเรยี น/การสอน - Power Point หนว่ ยที่ 3 แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 - สอื่ การเรียนรูอ้ อนไลน์ แหลง่ การเรียนรู้ /สถานท่ี - ห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาออมสินอปุ ถัมถ์ - ห้องสมดุ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาออมสินอุปถัมถ์ การบูรณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั วิชาอนื่ 1. วิชาภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความ การคิดวิเคราะห์ 2. วิชาภาษาองั กฤษท่เี กีย่ วกับคาศัพทเ์ ฉพาะ 3. วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ด้านการมีเหตผุ ล และกระบวนการทางานอย่างเปน็ ระบบ 4. วิชาสงั คมศกึ ษา ดา้ นการมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ การปฎิบตั ิกิจกรรมในหอ้ งเรยี น การปฏิบตั ิกิจกรรม 5 ส. การวัดและประเมินผล 1. ก่อนเรยี น เพอื่ ทดสอบพื้นฐานความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 เพ่ือเป็น แนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผเู้ รียน 2. ขณะเรียน เพ่ือวดั ความรู้ ความเข้าใจเบื้องตน้ เกยี่ วกบั แนะนาโปรแกรม Microsoft Access 2010 รวมถึง ส่อื ทใ่ี ช้รวมทงั้ เทคนิควิธกี าร และพัฒนาการของผู้เรยี น
3.หลงั เรยี น เพอ่ื ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู้ รยี นใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะประจาหน่วย กิจกรรมเสนอแนะ - เพ่ิมความสนใจ ในการนารูปภาพประกอบท่นี ่าสนใจ เหมาะกับการเรียนรู้ มาประกอบใน การสอน เพือ่ สรา้ งทกั ษะในการเรียนรู้และจดจา - หลังจากจบการเรียน การสอนในช้ันเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทาการศึกษาทบทวน เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ที่สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซึ่งทาให้ผู้เรียนน้ันสามารถทราบผลความคืบหน้าของตนเองเก่ียวกับการเรียน ในแตล่ ะคร้ัง
แผนการจัดการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 4 จานวน 18 ชวั่ โมง รหัส 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมูล หนว่ ยกิต 3 ชื่อหน่วย การสรา้ งและใช้ตารางงาน 1. สาระสาคัญ ในระบบฐานข้อมูลเกิดจากการสร้างตารางหลาย ๆ ตารางท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันสาหรับ หน่วยน้ีจะทาความรู้จักกับตารางท่ีใช้สาหรับเก็บข้อมูล คุณสมบัติของตาราง รวมถึงการจัดการโครงสร้าง ตารางท่ีถูกต้องเพื่อให้ได้ตารางในการจัดเก็บข้อมูลภายในระบบฐานข้อมู ลมีความถูกต้องและทาให้ระบบ ฐานข้อมูลมีความเช่ือมโยงกนั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. สมรรถนะการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั การสรา้ งและใช้ตารางโดยใชโ้ ปรแกรม Microsoft Access 2010 2. สร้างตารางโดยใช้โปรแกรม Microsoft Access 2010 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สรา้ งตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. บอกส่วนประกอบของตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 3. บอกมมุ มองที่ใช้ในการออกแบบตาราง Microsoft Access 2010 4. บอกวิธีการสร้างตารางใน Microsoft Access 2010 5. อธบิ ายชนิดขอ้ มลู ใน Microsoft Access 2010 6. กาหนดและออกแบบเขตข้อมูล 7. กาหนดคณุ สมบัติของเขตข้อมูล 8. กาหนดคยี ห์ ลกั ให้กบั ตาราง 9. แก้ไขปรับปรุงตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 10. การบันทกึ ตาราง 11. การสรา้ งความสัมพันธข์ องตาราง 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวชิ าชพี ( Profession Ethic ) ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซ่ือสัตย์ เสยี สละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรยี น ทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อนื่ เผ่อื แผ่และแบง่ ปนั 4. คานงึ ถงึ ประโยชนข์ องส่วนรวมมากกวา่ ผลประโยชน์ของตน
ตารางวิเคราะหจ์ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จดุ ประสงค์การสอน 2 เง่อื นไข หน่วยที่ 4 ความรู้ คณุ ธรรม เรอ่ื ง การสร้างและใชง้ านตาราง พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.การสร้างตาราง 8 2 8 3 2.ส่วนประกอบของตาราง 9 1 8 2 3.มมุ มองทีใ่ ช้ในการออกแบบตาราง 8 3 9 1 4.รูปแบบการสร้างตารางใน Access 2010 8 2 5.การสร้างตารางโดยใช้มมุ ทองออกแบบ 8 2 2 8 58 8 8 8 8 8 3 6.กาหนดคีย์หลักใหกบั ตาราง 2 3 1 23 1 2 2 2 2 7.การลบ การแทรกเขตข้อมูล และการบนั ทึก ตาราง 8.การสร้างความสมั พนั ธข์ องตาราง รวม ลาดับความสาคัญ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ 4 การสรา้ งและใชง้ านตาราง ( Table ) จงเลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องที่สุดเพยี งข้อเดยี ว 1. สว่ นประกอบใดคือข้อมลู ในแนวคอลัมน์ของตาราง ง. Field 2. สว่ นประกอบใดคือข้อมลู ในแตล่ ะแถวของตาราง ก. Record 3. ไอเท็ม (Item) คอื อะไร ข. ข้อมูลท่เี กบ็ อย่ใู นแตล่ ะเซลล์ของตาราง 4. การนาข้อมูลในแต่ละตารางหลาย ๆ ตารางท่ีมีความสัมพนั ธ์เก่ียวขอ้ งกันมาเก็บไว้ทเ่ี ดยี วกันเรยี กวา่ อะไร ค. ฐานขอ้ มูล 5. มุมมองใดที่ใชก้ าหนดโครงสร้างของตาราง ข. Design View 6. มุมมองใดเป็นรปู แบบการทางานทีใ่ ชใ้ นการนาเสนอข้อมลู ในรปู แบบของแผนภูมิ ข. PivotChart 7. การสรา้ งตารางต้องเลือกทเ่ี มนใู ด ง. Create 8. การสร้างความสมั พนั ธ์ของตารางตอ้ งเลือกที่เมนูใด ข. Database Tools 9. การกาหนดชนดิ ข้อมลู ทีใ่ ช้เก็บวนั ท่แี ละเวลาคอื การกาหนดชนดิ ขอ้ มลู ในขอ้ ใด ค. Data/Time 10. Text คอื ชนดิ ขอ้ มลู ประเภทใด ค. เปน็ ชนดิ ขอ้ มูลประเภทข้อความ เครือ่ งหมาย หรือตัวเลขทไี่ ม่ต้องการนาไปคานวณ ซึ่งเก็บตัว อักขระไดส้ งู สดุ 255 ตัวอกั ษร
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรอ่ื ง การสร้างและใช้งานตาราง มมุ มอง Backstage เป็นจดุ เร่ิมต้นท่คี ุณสามารถสร้างฐานข้อมูลใหม่ เปิดฐานข้อมูลท่ีมีอยู่ ดูเนื้อหา พิเศษจาก Office.com หรือดาเนินการใดๆ ท่ีคุณสามารถใช้ Access ทากับแฟ้มฐานข้อมูลหรือภายนอก ฐานขอ้ มูลได้ แทนท่ีจะดาเนินการภายในฐานขอ้ มูล การสร้างฐานขอ้ มูล เม่ือคุณเปิด Access มมุ มอง Backstage จะแสดงแท็บ สรา้ ง โดยแท็บ สร้าง น้จี ะชว่ ยใหค้ ุณ สามารถสรา้ งฐานข้อมูลใหม่ได้หลายวิธีดงั น้ี ฐานข้อมูลเปล่า คุณสามารถเร่ิมต้นจากศูนย์ได้ถ้าต้องการ ซ่ึงเป็นทางเลือกท่ีดีถ้าคุณมีข้อกาหนดใน การออกแบบที่เฉพาะเจาะจงสูง หรือมขี อ้ มลู อยูแ่ ล้วเป็นหลักหรือตอ้ งการนามาใช้ แม่แบบที่ติดตั้งมากับ Access ลองพิจารณาใช้แม่แบบถ้าคุณกาลังเร่ิมต้นโครงการใหม่และต้องการ ความรวดเร็ว Access มแี มแ่ บบต่างๆ ที่ติดต้ังมาโดยเรม่ิ ต้น แม่แบบจาก Office.com นอกจากแม่แบบที่มีอยู่ใน Access แล้ว คุณสามารถค้นหาแม่แบบ เพ่ิมเติมอีกมากมาย บน Office.com โดยไม่จาเป็นต้องเปิดเบราว์เซอร์ เพราะคุณสามารถใช้แม่แบบเหล่าน้ี ได้จากแทบ็ สร้าง การเพิม่ ลงในฐานข้อมูล เมอื่ คุณทางานในฐานข้อมูล คุณสามารถเพมิ่ เขตขอ้ มลู ตาราง หรอื ส่วนโปรแกรมประยุกต์ได้ ส่วนโปรแกรมประยุกต์เป็นคุณลักษณะใหม่ที่ช่วยให้คุณใช้วัตถุฐานข้อมูลต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกันด้วยกันได้ เหมือนกับเป็นวัตถุเดียว ตัวอย่างเช่น ส่วนโปรแกรมประยุกต์อาจประกอบด้วยตารางและฟอร์มท่ีสร้างจาก ตารางนนั้ คุณสามารถเพม่ิ ตารางและฟอร์มดังกลา่ วพร้อมกนั ไดโ้ ดยใช้สว่ นโปรแกรมประยกุ ต์ คณุ ยังสามารถสร้างแบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน แม่โครง รวมท้ังวัตถฐุ านข้อมูลทงั้ หมดทคี่ ุณเคยใช้งาน 1. บนแทบ็ แฟม้ ใหค้ ลิก สรา้ ง 2. ภายใต้ แมแ่ บบท่ีมีอยู่ ใหเ้ ลือกทาอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อไปนี้
· เมื่อตอ้ งการนาแมแ่ บบท่คี ณุ ใชล้ า่ สุดมาใช้อกี คร้งั ให้คลกิ แม่แบบล่าสุด แล้วเลือกแมแ่ บบท่ีคุณต้องการ · เมอื่ ตอ้ งการใชแ้ ม่แบบท่ีคณุ ติดตง้ั ไว้แลว้ ให้คลกิ แม่แบบของฉนั แล้วเลอื กแมแ่ บบที่คุณตอ้ งการ · เม่ือต้องการค้นหาแม่แบบบน Office.com ภายใต้ แม่แบบ Office.com ให้คลิกประเภทแม่แบบ แล้ว เลือกแม่แบบที่คุณต้องการ จากนั้นคลิก ดาวน์โหลด เพ่ือดาวน์โหลดแม่แบบจากOffice.com ลงใน คอมพิวเตอร์ของคุณ หมายเหตุ นอกจากนี้ คณุ ยังสามารถค้นหาแมแ่ บบใน Office.com จากภายใน Access ได้อกี ดว้ ย ใน กล่อง ค้นหาแมแ่ บบใน Office.com ใหพ้ มิ พ์คาที่ใชค้ ้นหาอยา่ งน้อยหน่งึ คา แล้วคลกิ ปุ่มลูกศรเพอื่ ค้นหา 3.อีกทางเลือกหนงึ่ ใหค้ ลกิ ไอคอนโฟลเดอร์ท่ีอยถู่ ดั จากกล่อง ชอื่ แฟ้ม เพื่อเรยี กดูตาแหน่งท่ีต้ังที่ คณุ ต้องการสร้างฐานขอ้ มูล ถ้าคณุ ไมไ่ ด้ระบุตาแหน่งทีต่ ง้ั อยา่ งจาเพาะเจาะจง Access จะสรา้ งฐานขอ้ มลู ใน ตาแหน่งท่ีตง้ั เร่ิมต้นซ่งึ แสดงอยู่ภายใต้กลอ่ ง ชอื่ แฟ้ม 4. คลกิ สร้าง 5.ฐานข้อมลู ใหมจ่ ะถูกสร้างขึน้ มาใหใ้ ชง้ าน
หมายเหตุ · การป้อนข้อมูลในมุมมองแผ่นข้อมูลได้รับการออกแบบให้คล้ายคลึงกับการป้อนข้อมูลในแผ่น งาน Excel อย่างมาก โดยมีข้อจากัดที่สาคัญก็คือจะต้องป้อนข้อมูลในแถวและคอลัมน์ท่ีต่อกัน โดยเริ่มจาก มุมบนด้านซ้ายของแผ่นข้อมูล คุณไม่ควรจัดรูปแบบข้อมูลของคุณให้มีแถวว่างหรือคอลัมน์ว่างรวมอยู่ด้วย เหมือนท่ีคุณอาจทาในแผ่นงาน Excel เน่ืองจากการทาเช่นน้ีจะเป็นการส้ินเปลืองเน้ือท่ีในตารางของคุณ ตารางต้องมีแต่ข้อมูลของคุณเท่านั้น การนาเสนอข้อมูลท่ีมองเห็นได้จะทาได้ในฟอร์มและรายงานที่คุณจะ ออกแบบในภายหลงั · โครงสร้างตารางจะถูกสร้างขณะท่ีคุณป้อนข้อมูล เมอ่ื ใดก็ตามท่ีคณุ เพิ่มคอลมั นใ์ หม่ในแผ่นข้อมลู จะ มีการกาหนดเขตข้อมูลใหม่ข้ึนในตาราง Access จะต้ังค่าชนิดข้อมูลของเขตข้อมูลตามชนิดของข้อมูลที่คุณ ป้อน ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณมีคอลัมน์ที่คุณป้อนเฉพาะค่าวันท่ีเท่านั้นAccess จะตั้งค่าชนิดข้อมูลของเขตข้อมูล น้ันให้เป็น Date/Time ถ้าคุณพยายามป้อนค่าท่ีไม่ใช่วันที่ (เช่น ชื่อหรือหมายเลขโทรศัพท์) ลงในเขตข้อมูล น้ันในภายหลัง Access จะแสดงข้อความแจ้งคุณว่าค่าน้ันไม่ตรงกับชนิดข้อมูลของคอลัมน์น้ัน ถ้าเป็นไปได้ คุณควรวางแผนตารางของคุณเพื่อให้แต่ละคอลัมน์มีข้อมูลชนิดเดียวกัน ซ่ึงอาจเป็นข้อความ วันที่ ตัวเลข หรือชนิดอนื่ ๆ บางชนิด การทาเชน่ นี้จะทาใหก้ ารสร้างแบบสอบถาม ฟอร์ม และรายงานที่เลือกเฉพาะข้อมูล ที่คณุ ต้องการทาไดง้ ่ายขน้ึ มาก หมายเหตุ ถ้าคณุ ปิดโดยไม่บันทกึ Access จะลบ Table1 ออก - มมุ มองออกแบบ (Design View)àClick เลือกที่มุมมอง (View) สรา้ งชื่อ Table หรือ Entity ท่ีได้ออกแบบไว้ ในที่น้ีสรา้ งชื่อ ทีเ่ ราตอ้ งการจะตั้งของตารางนน้ั
- กาหนดชือ่ เขตของข้อมูล (Field Name) และกาหนดชนิดของข้อมูล (Data Type) ซ่ึงเรา จะสามารถเลือกไดว้ ่าจะกาหนดชนดิ ของข้อมลู ให้เป็นแบบใด โดยมขี อบเขตขอ้ มูลให้เลอื กดังน้ี Text – ขอ้ ความที่เป็นได้ท้ังตัวอกั ษร ตัวเลข สญั ลกั ษณ์ ชอ่ งวา่ ง หรอื ท้ังหมดรวมกนั โดย ถ้าข้อมลู เป็นตวั เลขจะไมส่ ามารถนามาคานวณไดส้ ามารถใส่Textสงู สุด255ตวั Memo –สาหรับขอ้ ความขนาดยาว Number –ตวั เลขที่ใชใ้ นการคานวณ Date/Time –วนั ทแี่ ละเวลา Currency –ตวั เลขทศนิยม4ตาแหนง่ พร้อมดว้ ยสญั ลกั ษณ์สกลุ เงินตราเช่น$ AutoNumber – เลขลาดบั จานวนเตม็ ทจ่ี ะเพ่มิ ค่าอตั ิโนมัตเิ มื่อมีการเพมิ่ เรคคอร์ดใหม่ โดยค่าตวั เลขจะไมซ่ ้ากนั เลยและผู้ใชไ้ ม่สามารถแกไ้ ขค่าได้จึงนยิ มนาไปใชก้ บั ฟิลด์ทคี่ ียห์ ลัก(PrimaryKey) Yes/No –ขอ้ มลู ทางตรรกะซึง่ มีได้2สถานะเท่านนั้ คือจริงหรือเท็จ OLE object – เป็นออบเจ็คทสี่ รา้ งจากโปรแกรมอน่ื ๆ เชน่ ไฟล์สเปรดชีด, ไฟล์เอกสาร,รูปภาพ , กราฟ,เสยี งเปน็ ต้น Hyperlink – ลงิ คท์ ี่อ้างองิ ไปยังขอ้ มลู อนื่ ๆซี่งอาจเป็นไฟลฐ์ านข้อมลู ของ Access ไฟลท์ ส่ี ร้างจาก โปรแกรมอืน่ บนเร่ืองเดียวกันหรือบนเน็ตเวิร์กเวบ็ ไซต์หรือEmailก็ได้ Attachment –แนบไฟล์ตา่ งๆ Lookup Wizard – เป็นเคร่อื งมือที่ชว่ ยในการป้อนข้อมูลหรือนาเขา้ ข้อมลู จาก Table อืน่ ของ ฐานข้อมูล Access - กาหนด Primary Key เลือกช่ือเขตข้อมูล (Field Name) ที่ต้องการทาให้เป็น Primary Key แล้ว Click ที่ คีย์หลัก (Primary Key) หลังจากน้ันเขตข้อมูล (Field Name) ที่เราเลือกไว้จะปรากฎรูป กญุ แจขา้ งหนา้ ชื่อเขตข้อมูลนน้ั
ขัน้ ตอน ตารางเป็นวัตถุฐานข้อมูลท่ีใช้ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เช่น พนักงาน หรือ ผลิตภัณฑ์ ตารางประกอบด้วยระเบียนและเขตข้อมูล แต่ละระเบียนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับหน่ึงอินสแตนซ์ของ เรื่องตาราง เช่น พนักงานรายใดรายหนึ่ง ระเบียนยังมักเรียกโดยทั่วไปว่า แถว หรืออินสแตนซ์แต่ละเขต ข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับหนึ่งรูปแบบของเร่ืองตาราง เช่น ช่ือ หรือที่อยู่อีเมล เขตข้อมูลยังมักเรียกโดย ทั่ ว ไ ป ว่ า ค อ ลั ม น์ ห รื อ แ อ ต ท ริ บิ ว ต์ เ ข ต ข้ อ มู ล ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ค่ า เ ข ต ข้ อ มู ล เชน่ Contoso,Ltd. หรือ [email protected] คา่ เขตขอ้ มูลยงั มกั เรียกโดยทั่วไปว่า fact ตัวอยา่ งเชน่ 1. ระเบียน 2. เขตขอ้ มูล 3. คา่ เขตขอ้ มลู ฐานข้อมูลสามารถมีตารางหลายตารางได้ ซึง่ แต่ละตารางจะเก็บข้อมูลเก่ียวกับเร่อื งที่แตกตา่ งกัน แต่ ละตารางจะมีหลายเขตข้อมูลซึ่งประกอบด้วยข้อมูลชนิดต่างๆ เช่น ข้อความ ตัวเลข วันที่ และการเช่ือมโยง หลายมติ ิ ขอ้ มูลภายนอก คณุ สามารถเช่อื มโยงไปยังแหล่งข้อมลู ภายนอกตา่ งๆ ได้ เช่น ฐานขอ้ มลู อ่นื แฟ้มข้อความ และสมุด งาน Excel เมอ่ื คุณเชอ่ื มโยงไปยงั ขอ้ มูลภายนอก Access จะสามารถใช้การเช่อื มโยงนนั้ เหมือนกับเปน็ ตาราง คุณสามารถแก้ไขขอ้ มูลในตารางทเ่ี ช่ือมโยงและสร้างความสัมพนั ธท์ เี่ กี่ยวข้องกับตารางที่เชอื่ มโยงได้ ทงั้ น้ีขึ้นอยู่กับแหลง่ ข้อมลู ภายนอกและวธิ ีที่คุณสร้างการเช่ือมโยง อยา่ งไรก็ตาม คุณไมส่ ามารถเปลยี่ นแปลง การออกแบบของข้อมูลภายนอกโดยใชก้ ารเช่ือมโยงได้
คุณสมบัติของตารางและคณุ สมบตั ขิ องเขตข้อมลู ตารางและเขตข้อมูลมีคณุ สมบัติทีค่ ณุ สามารถต้ังคา่ เพอื่ ควบคุมคุณลักษณะหรือลกั ษณะการทางานของ ตารางและเขตข้อมลู เหลา่ น้ันได้ ตารางจะเปิดอยใู่ นมมุ มองออกแบบ 1. คุณสมบัติของตาราง 2. คุณสมบตั ิของเขตข้อมูล ในฐานข้อมูล Access คุณสมบัติของตารางเป็นแอตทริบิวต์ของตารางท่ีมีผลต่อลักษณะที่ปรากฏ หรือลักษณะการทางานของตารางท้ังหมด คุณสมบัติของตารางจะถูกต้ังค่าในแผ่นคุณสมบัติของตารางใน มมุ มองออกแบบ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถตั้งค่าคุณสมบัติ มุมมองเร่ิมต้นของตาราง เพื่อระบุวิธีแสดงตาราง ตามคา่ เริ่มต้นได้ คุณสมบัติของเขตข้อมูลจะนาไปใช้กับเขตข้อมูลท่ีเฉพาะเจาะจงในตาราง และกาหนดหน่ึง คุณลักษณะของเขตข้อมูลหรือรูปแบบของลักษณะการทางานของเขตข้อมูล คุณสามารถตั้งค่าคุณสมบัติเขต ข้อมูลบางค่าใน มุมมองแผ่นข้อมูล คุณยังสามารถต้ังค่าคุณสมบัติของเขตข้อมูลในมุมมองออกแบบได้โดยใช้ บานหน้าตา่ ง คุณสมบัติของเขตขอ้ มลู ชนดิ ขอ้ มลู ทุกเขตข้อมูลจะมีชนิดข้อมูล ชนิดข้อมูลของเขตข้อมูลจะระบุชนิดของข้อมูลท่ีเขตข้อมูลนั้นเก็บอยู่ เช่น ข้อความหรอื แฟ้มทีแ่ นบจานวนมาก ชนิดข้อมูลคือคณุ สมบัติของเขตขอ้ มลู แต่จะมีข้อแตกตา่ งจากคุณสมบตั ขิ องเขตขอ้ มูลอน่ื ดงั น้ี • คุณจะต้งั ค่าชนดิ ข้อมลู ของเขตข้อมลู ในตารางออกแบบตาราง ไมใ่ ช่ในบานหน้าต่าง คุณสมบตั ิของเขต ข้อมูล • ชนิดขอ้ มูลของเขตข้อมลู จะเปน็ ตัวกาหนดคุณสมบตั ิอ่นื ๆ ทีเ่ ขตข้อมูลมี
• คุณต้องตั้งค่าชนิดข้อมลู ของเขตข้อมลู เม่ือสรา้ งเขตขอ้ มลู การเพิ่มตาราง คุณสามารถเพ่ิมตารางใหม่ลงในฐานขอ้ มูลทม่ี ีอยูโ่ ดยใช้เคร่ืองมือตา่ งๆ ในกลมุ่ ตาราง บนแท็บ สรา้ ง หมายเหตุ ในฐานขอ้ มลู เวบ็ เฉพาะคาสง่ั ตาราง เทา่ น้นั ท่ีจะพร้อมใช้งานในกลุม่ ตาราง ไม่ว่าคุณจะเรม่ิ ต้นในมมุ มองใด คณุ สามารถสลับไปยังมุมมองอื่นได้ตลอดเวลาดว้ ยการใช้ปมุ่ ของมุมมองต่างๆ บนแถบสถานะของหน้าตา่ ง Access 1)การสร้างตารางเปล่าในมุมมองแผ่นข้อมูล ในมุมมองแผ่นข้อมูล คุณสามารถป้อนข้อมูลได้ทันที แล้ว ปล่อยให้ Access สร้างโครงสร้างตารางให้ในเบ้ืองหลัง ชื่อเขตข้อมูลจะถูกกาหนดเป็นตัวเลข (Field1, Field2 และเชน่ น้ไี ปเรอ่ื ยๆ) และ Access จะตั้งค่าชนิดขอ้ มลู ของเขตข้อมูลตามชนิดขอ้ มลู ทค่ี ุณป้อน 1. บนแท็บ สรา้ ง ในกลมุ่ ตาราง ใหค้ ลิก ตาราง 2. Access จะสรา้ งตาราง และวางเคอร์เซอร์ไวท้ ี่เซลล์ท่วี ่างเซลลแ์ รกในคอลมั น์ คลกิ เพื่อเพ่มิ 3. เม่ือต้องการเพิ่มข้อมูล ให้เริม่ พิมพใ์ นเซลลท์ ี่ว่างเซลล์แรกน้นั หรือคุณสามารถวางขอ้ มลู จากแหล่งอ่ืนก็ได้เช่นกนั ซึง่ จะอธบิ ายภายหลังในบทความน้ี · เม่ือต้องการเปลีย่ นชอ่ื คอลัมน์ (เขตข้อมูล) ให้คลิกสองครง้ั ทีส่ ว่ นหัวของคอลัมน์ จากน้ันพมิ พ์ ชอื่ คอลมั น์ใหม่ 3) ในกรณีต้องการสรา้ ง Primary Key สองตัวในหนึง่ ตาราง ใหก้ ด Ctrl คา้ งไว้ แล้วเลือกชอื่ เขตข้อมลู ที่ ต้องการ หลงั จากนน้ั กด Click ที่ คีย์หลกั (Primary Key)
4) มมุ มองแผ่นขอ้ มูล (Datasheet View) เพอ่ื ป้อนข้อมูล แก้ไขข้อมูล และแสดงข้อมูลในตารางท่ีเราได้ สร้างไว้àเลือกท่ี มุมมอง (View) 2.ข้นั ตอนการสร้างความสมั พันธแ์ ตล่ ะ Entity หรือ ตราราง 1. ความสมั พนั ธ์ (Relationships)àเลอื กที่ เครอ่ื งมือฐานข้อมูล (Database Tools) 2. เลอื กตารางท่เี ราต้องการจะสรา้ งความสมั พนั ธ์ โดยการกดท่ี เพ่ิม (Add) 3. Click ค้างไว้ที่ Primary Key ของ Table ท่ีต้องการสร้างความสัมพันธ์ และลากไปยัง Foreign Key ใน อีกตารางหน่ึง ในที่น้ีจะกาหนดให้ RID เป็น Primary Key ของตารางRoom ท่ีจะสร้างความสัมพันธ์ กับ RID ทีเ่ ปน็ Foreign Key ของ ตาราง Course หลังจากปล่อยเมาส์แล้วจะขน้ึ หนา้ ต่างดังต่อไปน้ี
- การเลอื ก “บังคบั ให้มี Referential Integrity” (Enforce Referential Integrity) ถา้ จะให้คงสภาพการ อ้างอิงความสัมพนั ธ์ - การเลือก “ปรับปรุงเขตข้อมูลท่เี กี่ยวข้องทัง้ หมด” (Cascade Update Related Fields) หมายถงึ เม่ือ แก้ไขข้อมูลตารางด้าน Primary Key จะทาให้ข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วข้อง หรือ Foreign Key ถกู แก้ไขดว้ ย - การเลือก “ลบระเบียนที่เก่ียวข้องทงั้ หมด” (Cascade Delete Related Records) หมายถงึ ถ้าลบคอรด์ ดา้ น Primary Key จะทาให้ข้อมลู ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง หรือ Foreign Key ถูกลบดว้ ย หลงั จากน้นั เลอื ก สร้าง (Create) จะปรากฏเส้นความสัมพันธข์ ้นึ โดยที่มเี ลข 1 กบั ∞ นั้นหมายความวา่ เปน็ ความสมั พนั ธ์แบบ 1 To Many การจัดการข้อมูลด้วย Query Queryเป็นเครือ่ งมือท่ีสามารถ -ช่วยในการค้นหาและกรองข้อมลู -เรียงลาดับและจัดกลุ่มข้อมูล
- สร้าง Table ขนึ้ มาใหม่จาก Field ข้อมูลใน Table ทมี่ ีอยแู่ ลว้ โดยไม่ตอ้ งเข้าไปสร้างเองในมุมมอง Design - นาข้อมลู จากหลายๆ Table ที่สมั พนั ธก์ ันมาแสดงในตารางผลลัพธ์เสมอื นเปน็ Table เดียวกนั ได้ เปน็ ตน้ Accessได้สรา้ งQueryออกเปน็ 5ประเภทตามลักษณะการใชง้ านคอื 1) Select Query ใช้สอบถามข้อมลู จาก 1 Table หรือหลายๆ Table ท่ตี รงกับเง่ือนไขกาหนด 2) Crosstab Query ใชส้ อบถามข้อมูลและแสดงผลลพั ธ์แบบ 2 มิติ โดยสลับข้อมูลในแนวแถวและแนว คอลมั น์ 3) Action Query ใชส้ ร้าง Table ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงข้อมลู ใน Table เช่น แกไ้ ขข้อมูล เพิม่ เรคอรด์ ใหม่ ลบเรคอร์ดใหม่และเก่า 4) Parameter Query เป็น Query ทใี่ หผ้ ู้ใช้ใสค่ า่ พารามเิ ตอร์ได้ในระหวา่ งประมวลผล (run-time)เพือ่ ใช้ คน้ หาหรอื คานวณค่า เชน่ ใส่อตั ราการเปลี่ยนแปลงต้นทุนและราคาสนิ ค้า เพ่ือคานวณหากาไร ณ อตั รา ตา่ งๆ 5) SQL Query สาหรับ Query ประเภทนี้ ผูใ้ ช้ต้องสร้างข้ึนดว้ ยภาษา SQL (Structured Query Language) ซ่ึงเป็นภาษามาตรฐานทใ่ี ชจ้ ดั การฐานข้อมลู 3.การสรา้ ง Query เบื้องต้น 1. ที่ Tab สร้าง (Create) เลอื ก ออกแบบแบบสอบถาม (Query Design) 2. เลอื กตารางที่ตอ้ งการใช้ แล้วเลอื ก เพิม่ (Add)
3. เมือ่ เลอื กตารางท่เี ราต้องการแล้ว บริเวณดา้ นลา่ งของโปรแกรมจะปรากฏ Query Design Gridโดยมี รายละเอยี ดในแตล่ ะหวั ข้อดงั น้ี -เขตข้อมลู (Field)ใส่ช่อื ฟิลด์ท่ีจะค้นหาข้อมลู เพอื่ แสดงในตารางผลลัพธ์ -ตาราง(Table)ใส่ชอ่ื Table/Queryที่จะใช้เป็นแหลง่ ข้อมูล - เรยี งลาดบั (Sort) เปน็ แถวที่ใช้กาหนดรูปแบบการจดั เรยี งข้อมลู Ascending (เรียงจากนอ้ ยไปมาก) , Descending(เรยี งจากมากไปนอ้ ย)และnotSorted(ไม่ต้องจัดเรยี ง) - แสดง (Show) ใช้ซ่อน Field ทีไ่ ม่ต้องการแสดงคา่ ในตารางผลลัพธ์ โดยคลกิ ลา้ งเครื่องหมายถูกในช่อง ส่ีเหล่ียม - เกณฑ์ (Criteria) ใสเ่ งอื่ นไขการสอบถามข้อมูล ซงึ่ อาจเป็นนิพจน์ท่ปี ระกอบด้วยฟังกช์ นั หรอื สูตรทาง คณิตศาสตร์ 4. เราสามารถสรา้ งนพิ จนแ์ ละเงอ่ื นไขให้กับ Query ไดใ้ นสว่ นของเกณฑ์ (Criteria) โดยรูปแบบนพิ จน์ ใน Access น้ันจะคล้ายนิพจนท์ างคณิตศาสตร์ ตา่ งกนั ตรง Access กาหนดให้ฟลิ ด์ข้อมูลคือตัวแปรทเี่ กบ็ คา่ หรอื ผลลพั ธ์ท่ไี ดจ้ ากการคานวณ โดยฟลี ด์ข้อมลู น้ีอาจเป็นฟีลด์ข้อมูลจริงในตาราง หรือเปน็ ฟีลด์เสมอื นที่ สรา้ งใน
แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 4 เรอ่ื ง การสรา้ งและใช้ตารางงาน ตอนที่ 1 จงอธบิ ายความหมาย ขยายความหรอื ให้รายละเอียดเพิม่ เติม ถา้ มีตัวอย่างให้ยกตัวอยา่ ง ประกอบ 1. จงอธิบายส่วนประกอบของตารางว่ามีอะไรบ้าง - ไอเทม็ (Item) คอื ข้อมลู ทถี่ ูกเก็บอยใู่ นแตล่ ะเซลลข์ องตาราง เช่น มาชา่ - ฟิลด์ (Field) หรอื เขตข้อมูล คือข้อมลู ในแนวคอลัมน์ เชน่ ฟิลด์รหัสนักเรียน ฟลิ ด์ช่ือนักเรียน เป็น ตน้ - เรคอร์ด (Record) หรอื ระเบียนข้อมลู คือข้อมูลในแตล่ ะแถวของตารางซง่ึ หมายถงึ ขอ้ มูลจากทุก ฟิลด์ในแถวเดียวกนั เช่น รหัส 4561234223 ชอ่ื ทอง สกุล มเี งิน ท่ีอยู่ ศรสี ะเกษ รหัสแผนก 01 เปน็ ต้น - ตาราง (Table) คอื ตารางเปน็ วัตถุฐานข้อมูลท่ใี ชใ้ นการเก็บขอ้ มูลเก่ียวกับเรือ่ งใดเรื่องหน่ึง ซึ่งการ นาตารางหลายๆ ตารางมาประกอบกนั เป็นกลุ่มของข้อมูลท่ีเราสนใจท้งั หมดจะเรยี กว่า ฐานขอ้ มูล (Database) 2. สว่ นของเขตข้อมลู ในมุมมองออกแบบมอี ะไรบา้ ง - Field Name ชอ่ื ของฟิลด์หรือเขตข้อมลู ทต่ี ้องการเกบ็ - Data Type ชนดิ ของขอ้ มูลทตี่ อ้ งการเก็บลงไปในฟลิ ด์ - Description คาอธบิ ายหรอื รายละเอยี ดของฟลิ ด์ 3. มุมมองท่ีใช้ในการออกแบบตารางมีก่ีมมุ มองอะไรบา้ ง 1. มมุ มองออกแบบ Design View 2. มมุ มองแผน่ ตารางข้อมลู Data Sheet View 3. มมุ มอง Pivot Table 4. มมุ อง Pivot Chart 4. จงอธิบายวธิ ีการกาหนดคยี ์หลกั ( Primary key) ให้กบั ตาราง คลกิ เลือกฟิลดท์ ี่ต้องการกาหนดคีย์หลกั คลกิ ปุ่ม Primary Key คียจ์ ะถูกกาหนด 5. จงอธิบายขน้ั ตอนการลบเขตข้อมูลในตาราง 1. คลิกทตี่ ารางทีต่ ้องการจะแกไ้ ขโครงสรา้ ง ตามตวั อย่างคลิกท่ีตาราง Students 2. คลกิ ทีม่ ุมมอง Design View เลือกทหี่ ัวบรรทดั ฟิลดท์ ี่ต้องการลบ 3. คลกิ ขวาเลอื ก Delete 4. คลกิ Yes เพือ่ ลบข้อมูล
กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน เพอ่ื ทดสอบพืน้ ฐานความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับการสรา้ งและใช้งานตาราง เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผ้เู รียน 2.ขณะเรยี น เพือ่ วัดความรู้ ความเขา้ ใจเบ้ืองตน้ เก่ียวกับการสร้างและใชง้ านตาราง รวมถึงส่ือทีใ่ ช้รวมทง้ั เทคนิควิธกี าร และพัฒนาการของผ้เู รียน 3.หลงั เรียน เพอ่ื ประเมินผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธ์ขิ องผ้เู รียนให้เป็นไปตามสมรรถนะประจาหน่วย งานทมี่ อบหมาย/ผลงาน/ชิ้นงาน 1.ก่อนเรียน 1. ครชู แ้ี จงแนวทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่ม 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นประจาหนว่ ย 3. นักศกึ ษาแบ่งกลุม่ ทากจิ กรรม พรอ้ มรับเกณฑ์ประเมิน 2.ขณะเรียน ครแู นะนาเน้ือหาในเร่ือง การสร้างและใชง้ านตาราง ตามหัวข้อดังน้ี 1. สรา้ งตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 2. บอกสว่ นประกอบของตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 3. บอกมุมมองทใี่ ชใ้ นการออกแบบตาราง Microsoft Access 2010 4. บอกวิธีการสรา้ งตารางใน Microsoft Access 2010 5. อธบิ ายชนิดข้อมลู ใน Microsoft Access 2010 6. กาหนดและออกแบบเขตข้อมูล 7. กาหนดคุณสมบัตขิ องเขตข้อมูล 8. กาหนดคยี ์หลกั ให้กบั ตาราง 9. แก้ไขปรับปรุงตารางในโปรแกรม Microsoft Access 2010 10. การบนั ทกึ ตาราง 11. การสร้างความสมั พนั ธข์ องตาราง
3.หลังเรียน 1. แบบสรปุ องค์ความรู้ Mind Mapping 2. แบบประเมินผลการเรียนประจาหน่วย 3. นักศึกษาทาการประเมินผลปฏบิ ัตงิ านของตนเอง 4. บนั ทกึ คะแนนและคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 5. สรปุ คะแนนผลการเรยี นของนกั ศึกษาประจาหนว่ ย 4.ผลงาน/ชน้ิ งาน ท่ีเกดิ จากการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 1. แบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 2. ผลคะแนนการประเมนิ ผลการเรียนประจาหน่วย สือ่ การเรยี น/การสอน - Power Point หนว่ ยที่ 4 การสร้างและใชง้ านตาราง - ส่อื การเรียนรูอ้ อนไลน์ แหล่งการเรียนรู้ /สถานที่ - หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาออมสนิ อุปถัมถ์ - ห้องสมุด วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาออมสินอุปถัมถ์ การบูรณาการ/ความสมั พนั ธก์ บั วิชาอน่ื 1. วชิ าภาษาไทย ด้านการอ่านจับใจความ การคดิ วิเคราะห์ 2. วชิ าภาษาองั กฤษทเี่ กย่ี วกับคาศัพทเ์ ฉพาะ 3. วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ด้านการมเี หตผุ ล และกระบวนการทางานอยา่ งเป็นระบบ 4. วชิ าสงั คมศกึ ษา ด้านการมีมนุษยสมั พันธ์ การปฎิบัตกิ ิจกรรมในห้องเรียน การปฏิบัตกิ ิจกรรม 5ส. การวัดและประเมินผล 1. ก่อนเรียน เพ่อื ทดสอบพ้นื ฐานความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ียวกับการสร้างและใช้งานตาราง เพอื่ เปน็ แนวทางในการ จดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผู้เรยี น 2. ขณะเรยี น เพือ่ วัดความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกีย่ วกับการสรา้ งและใชง้ านตาราง รวมถงึ สอื่ ทีใ่ ช้รวมทง้ั เทคนิควธิ กี าร และพฒั นาการของผเู้ รียน 3. หลังเรียน เพื่อประเมินผลการจดั การเรียนรู้ ผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรยี นใหเ้ ป็นไปตามสมรรถนะประจาหนว่ ย
กิจกรรมเสนอแนะ - เพ่ิมความสนใจ ในการนารูปภาพประกอบท่ีน่าสนใจ เหมาะกับการเรยี นรู้ มาประกอบใน การสอน เพอื่ สรา้ งทักษะในการเรยี นรแู้ ละจดจา - หลังจากจบการเรียน การสอนในชั้นเรียนแล้วควรให้นักเรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทาการศึกษาทบทวน เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ภายนอก หรือแหล่งเรียนรู้ประเภท E-Learing ที่สามารถโต้ตอบกับผู้เรียนได้ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนนั้นสามารถทราบผลความคืบหน้าของตนเองเก่ียวกับการเรียน ในแตล่ ะคร้ัง
แผนการจดั การเรียนรหู้ น่วยที่ 5 จานวน 18 ชว่ั โมง รหสั 2204-2008 วชิ า โปรแกรมจดั การฐานข้อมลู หน่วยกติ 3 ชื่อหน่วย ตารางในมุมมองแผ่นตารางขอ้ มลู 1. สาระสาคญั ในมุมมองแผ่นตารางข้อมูล หรอื Datasheet น้ันเป็นมมุ มองที่สามารถจัดการกบั ข้อมูลได้หลาย รปู แบบไม่ว่าจะเปน็ การเพ่ิม ลบ แก้ไขขอ้ มูล ปรบั ปรงุ ค่าต่าง ๆ ใหม้ คี วามถกู ต้องเหมาะสมรวมทัง้ จัดเรยี ง ขอ้ มูลต่าง ๆ เพ่ือเพิ่มความสะดวกกับผใู้ ชง้ านฐานข้อมูล 2. สมรรถนะการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง สร้างและใชง้ านระบบฐานข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Access 2010 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกเก่ยี วกบั มมุ มองแผ่นตารางข้อมูล (Database sheet) ในโปรแกรม Access 2010 2. ใชเ้ ครอื่ งมือในการจดั การกับตารางในมุมมองแผน่ ตารางข้อมลู 3. ใช้งานตารางในมุมมองแผ่นตารางข้อมลู 4. ตรึงคอลัมน์ในมมุ องแผน่ ตารางข้อมูล 5. จัดรปู แบบขอ้ มลู ในตาราง 6. กรองข้อมลู 7. คน้ หาข้อมูลดว้ ยคา่ ตา่ ง ๆ 8. คานวณขอ้ มลู ท่ีเก็บในตาราง 4. คุณธรรม/จรรยาบรรณวชิ าชีพ ( Profession Ethic ) ตามค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ 1. ซอื่ สตั ย์ เสียสละ อดทน 2. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี น ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม 3. มศี ลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปัน 4. คานงึ ถึงประโยชน์ของสว่ นรวมมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตน
ตารางวเิ คราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรยี นรู้ โดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง จุดประสงค์การสอน 2 เงอ่ื นไข หนว่ ยที่ 5 ความรู้ คณุ ธรรม เรื่อง ตารางในมุมมองแผ่นตารางข้อมลู พอประมาณ3 ห่วง ีมเห ุตผล ีมภู ิมคุ้มกัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระ ัวง ่ืซอสัตย์สุจริต ขยันอดทน ีมสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลา ัดบความสาคัญ 1.มมุ มองแผน่ ตารางข้อมูล (Datasheet) ใน 8 2 โปรแกรม Access 2010 2.เครอื่ งมือในการจัดการตารางในมุมมองแผ่น 8 3 ตารางข้อมูล 3.ใช้ตารางในมมุ มอง Datasheet 9 1 8 2 4.ตรึงคอมลัมนใ์ นมุมมองตารางข้อมูล 8 3 5.จัดรูแบบข้อมลู ตาราง 9 1 8 2 6.กรองข้อมลู 8 2 7.ค้นหาขอ้ มูลดว้ ยค่าต่างๆ 2 8 48 8 8 8 8 8 4 2312312222 8.คานวณข้อมูลท่เี กบ็ ในตาราง รวม ลาดับความสาคญั
เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 5 ตอนท่ี 1 จงอธิบายความหมาย ขยายความหรอื ใหร้ ายละเอียดเพิ่มเติม ถา้ มีตัวอย่างใหย้ กตัวอย่าง 1. เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการจดั การกับตารางในมุมมองแผ่นงานกก่ี ลุ่ม อะไรบ้าง 1. มมุ มอง Views 2. เพมิ่ แกไ้ ขเขตข้อมลู Add & Delete 3. กาหนดคุณสมบัติ Properties 4. กาหนดรูปแบบ Formatting 5. การตรวจสอบค่า Field Validation 2. จงบอกวิธกี ารเพม่ิ เรคอร์ดใหมใ่ นตาราง ถา้ รายการข้อมูลในตารางมีไม่มากก็สามารถเพิม่ ขอ้ มลู ตอ่ ท้ายไดเ้ ลย เรคอร์ดทถ่ี ูกสรา้ งใหม่จะ ปรากฎตอ่ ท้ายข้อมลู ท้ังหมดถ้ารายการข้อมูลมีมากก็สามารถคลิกปุ่ม new blank record ตรง Navigator แลว้ เรคอรด์ ใหมจ่ ะถูกสรา้ งขน้ึ มา 3. จงบอกวิธีการจดั เรียงลาดับข้อมลู จากน้อยไปหามาก 1. คลิกท่แี ถบดา้ นบนของฟลิ ดท์ ่ีต้องการจดั เรียงลาดับข้อมลู คลิกที่ Salary 2. คลิกท่ีเมนู Home 3. คลกิ ปมุ่ เครือ่ งมอื ในกลมุ่ Sort & Filter เลือก Ascending คอื การเรยี งลาดบั ข้อมลู จาก นอ้ ยไปมาก 4. จงอธิบายวิธกี ารกรองข้อมลู แบบ Selection 1. ตวั กรองข้อมลู แบบเลือกตวั กรองSelectionตวั กรองแบบน้ีสามารถเลอื กไดว้ ่าจะใชเ้ งือน ไขใดในการกรอง ซึ่งมีใหเ้ ลือกดังนี้ -Equals เทา่ กบั คือการกรองข้อมลู เฉพาะที่ตรงกบั ข้อมูลท่ีเลอื กไว้ -Does not Equal ไม่เท่ากับ คอื กรองข้อมูลท่ีไม่ตรงกบั ข้อมลู ที่เลอื กไว้ -Less Than or Equal To นอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากบั คือ กรองขอ้ มลู ท่ีมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากบั ค่าที่ เลอื ก -Greater Than or Equal To มากกว่าหรอื เทา่ กับ คือ กรองข้อมลู ที่มีค่ามากกวา่ หรอื เท่ากบั ค่าท่ี เลือก -Between ระหวา่ ง คอื การกรองข้อมลู ที่มคี า่ อย่ใู นระหวา่ งท่ผี ใู้ ชเ้ ปน็ ผู้กาหนด 5. จงบอกวิธกี ารคานวณข้อมลู ในตาราง 1. เปิดตารางในมุมมอง Datasheet Design คลกิ เลือกคอลัมน์ท่ีต้องการ 2. คลิกท่ปี ุ่ม 3. จะปรากฏคอลมั นท์ ้ายสุดที่มีฟงั ก์ชัน Total ขึ้นมา
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรือ่ ง ตารางในมมุ มองแผ่นตารางข้อมูล เมือ่ ต้องการดูหลายระเบียนของข้อมูลในแอป Access ของคุณในเวลาเดียวกัน ใชม้ ุมมองแผน่ ข้อมูล เม่ือคุณเพิ่มตารางใหม่ลงในแอป Access ของคุณ หรือนาเข้าข้อมูลลงในแอปของคุณ Access สร้างมุมมอง แผ่นข้อมูลสาหรบั แตล่ ะตารางโดยอตั โนมัติ แต่คุณสามารถสร้างมุมมองแผ่นข้อมูลเพิ่มเติมสาหรบั ตารางของ คุณ มุมมองแผ่นข้อมูลมีอยู่แล้วภายในการกรองและการเรียงลาดับตัวเลือกท่ีพร้อมใช้งานเมื่อคุณต้องการ กรองสาหรับข้อมูลเฉพาะหรือค้น มุมมองแผ่นข้อมูลจะมีประโยชน์สาหรับได้อย่างรวดเร็วดูรายละเอียดของ หลายระเบียน เพิ่มระเบียนใหม่ และลบระเบียนออกจากตาราง คุณยังสามารถดาวน์โหลดระเบียนได้จาก มุมมองแผ่นข้อมูลในแอป Access ลงใน Excel สาหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเพิ่มตารางลงในแอป Access ดู หมายเหต:ุ บทความนี้ไม่นาไปใชก้ ับฐานข้อมูลบนเดสก์ท็อปของ Access สาหรบั ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ เกี่ยวกับการ สร้างฟอร์มในฐานข้อมูลเดสก์ทอ็ ป ดูสร้างฟอร์ม Access เมื่อ Access สรา้ งมุมมองแผ่นข้อมูลใหม่ โดยอัตโนมัติสร้างตัวควบคุมบนมุมมองแต่ละเขตข้อมูลใน ตาราง เม่ือคุณเพ่ิมเขตข้อมูลใหม่ลงในตาราง Access เพ่ิมตัวควบคุมใหม่สาหรับเขตข้อมูลน้ันลงในมุมมอง แผ่นข้อมูลด้วย อย่างไรก็ตาม ถ้าคุณทาการเปล่ียนแปลงการออกแบบลงในมุมมองแผ่นข้อมูล เช่นการย้าย หรือปรับขนาดตัวควบคุม และบันทึกการเปล่ียนแปลงการออกแบบ Access ไม่เพ่ิมตัวควบคุมใหม่ไปยัง มุมมองแผน่ ข้อมลู เม่ือคณุ เพิม่ เขตข้อมลู ใหมล่ งในตาราง ในกรณีน้ี คุณจะตอ้ งการเพ่ิมตวั ควบคมุ ใหม่ไปยงั มมุ มองแผน่ ขอ้ มลู เมื่อคณุ เพิ่มเขตขอ้ มูลใหมล่ งในตาราง มุมมองแผน่ ข้อมูลบนเว็บคืออะไร มุมมองแผ่นข้อมลู web ในแอป Access แสดงขอ้ มูลแบบออนไลนจ์ ดั เรยี งในแถวและคอลัมน์ในเว็บ เบราวเ์ ซอร์ จะสามารถอนุญาตใหแ้ ก้ไขข้อมลู หรอื ไม่ ตามที่คณุ ต้องการ
เมอ่ื คุณสร้างมุมมองแผน่ ข้อมูลเว็บใน Access โปรแกรมเปิดในมุมมองออกแบบ ซึ่งคุณสามารถเลอื กทาอย่าง ใดอย่างหนง่ึ ต่อไปน:ี้ ตงั้ คา่ แหลง่ ระเบยี น ใส่คาอธิบายให้กับมุมมองน้นั เพม่ิ แอคชนั อัตโนมัติทจี่ ะเกดิ ข้นึ เมื่อมุมมองเปิดข้นึ มาและเม่ือผ้ใู ชย้ า้ ยไปมาระหว่างระเบียนโดยใช้ มมุ มองนี้ เพิม่ แอคชันแบบกาหนดเองท่ีจะเกดิ ขนึ้ เม่ือผใู้ ชค้ ลกิ ปุ่ม (คุณเลอื กปุ่ม) ปรบั ขนาด และย้ายตวั ควบคุม และตง้ั คา่ คณุ สมบตั ติ ัวควบคมุ เพิม่ มุมมองแผ่นข้อมูลใหม่ เม่อื ต้องการเพ่ิมมุมมองแผน่ ข้อมลู ใหมล่ งในตารางในแอป Access ทาตามขนั้ ตอนตอ่ ไปน้ี: เปดิ โปรแกรมประยุกต์ใน Access คลกิ ทชี่ ือ่ คาอธิบายของตารางในตวั เลือกตารางในบานหนา้ ต่างด้านซา้ ย และจากนนั้ คลิกปมุ่ เพมิ่ มมุ มองใหม่ (ปุ่มเครื่องหมายบวกถดั จากชื่อคาอธบิ ายมุมมอง) ในกล่องโตต้ อบเพม่ิ มุมมองใหม่ ใส่ช่ือสาหรับมมุ มองในกล่องชอื่ มมุ มอง การตงั้ ค่าชนิดมุมมอง แผ่นขอ้ มลู และเลือกชื่อตารางในกล่องแหลง่ ระเบียน ต้ังค่า หรอื เปลีย่ นแปลงแหลง่ ระเบียนสาหรับมุมมอง ท่ีด้านบนขวาของพื้นทด่ี ีไซน์ ใหค้ ลกิ ข้อมูล เพ่อื เปดิ กล่อง ข้อมูล ดังนี้
เลือกชื่อตารางเพ่ือแสดงข้อมูลสาหรับมุมมอง และเลือกกล่องกาเคร่ืองหมายอ่านอย่างเดียวการ เคร่ืองหมายเพ่ือป้องกันไม่ให้ผู้อื่นเปล่ียนแปลงข้อมูลในมุมมองน้ี เมื่อคุณทาเสร็จแล้วทาการเปล่ียนแปลง เพียงแค่ปิดกล่องโตต้ อบ ใสค่ าอธิบาย ทด่ี า้ นบนขวาของพื้นทดี่ ีไซน์ ใหค้ ลิก การจัดรปู แบบ เพอื่ เปดิ กลอ่ ง การจัดรปู แบบ ดังน้ี เลอื กวา่ คณุ ต้องการในแถบแอคชนั จะแสดง หรือซ่อนกล่องActionBar แสดง ใน คุณยงั สามารถเพ่ิม แก้ไข และลบระเบยี นในมุมมองแผน่ ข้อมลู ถ้าแถบการกระทาจะถูกซ่อนตราบใดทีจ่ ะสามารถอปั เดตได้ของข้อมูลใน มมุ มองแผน่ ข้อมูล ในกลอ่ งคาอธิบาย ใส่ขอ้ ความที่จะแสดงในมุมมองแผ่นข้อมลู เมอ่ื เปดิ เป็นปอ็ ปอัพในหน้าต่างเบราวเ์ ซอร์ เมอ่ื คุณทาเสรจ็ แลว้ เพียงแคป่ ิดกลอ่ งโต้ตอบ เม่อื คุณต้ังค่าคุณสมบตั ิปา้ ยคาอธบิ ายในกล่องโต้ตอบจัดรปู แบบ Access แสดงคาอธบิ ายภาพนั้นกต็ ่อเมื่อ เปิดมมุ มองแผน่ ขอ้ มูลเปน็ แบบป็อปอัพ การต้ังคา่ คุณสมบัติปา้ ยคาอธิบายในกล่องโตต้ อบจัดรปู แบบไม่ เปลย่ี นแปลงอะไร Access แสดงในตัวเลือกมุมมองสาหรับมุมมอง เมื่อต้องการเปลีย่ นข้อความที่แสดงอย่ใู น ตัวเลือกมมุ มอง ดูส่วนบนเปลีย่ นชอื่ คาอธบิ ายภาพในมุมมองแผน่ ข้อมลู เพ่มิ แอคชันอตั โนมตั ิ ทด่ี า้ นบนขวาของพ้นื ทด่ี ีไซน์ ใหค้ ลิก แอคชัน เพื่อเปิดกล่อง แอคชนั ดังน้ี แต่ละปุ่มเปิดแมโครในมุมมองออกแบบ คลิกบนโหลด ในการออกแบบแมโครที่ทางานเมื่อเปิด แผ่นข้อมูล คลิ กบนปัจจุบัน สาหรับแมโครที่ทางานเม่ือใดก็ ตามที่บางคนเลือกแถวแตกต่างกนั ในแผ่นขอ้ มูล เม่ือคุณทาเสร็จแล้ว เพียงแค่ปิดกล่องโต้ตอบ เรียนรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับปรับแต่งมุมมอง โดยสร้างแมโครส่วน ติดต่อผู้ใช้
การเพม่ิ แอคชนั แบบกาหนดเองใหก้ ับแถบแอคชัน ตามค่าเริ่มต้น มุมมองแผ่นข้อมูลมีปุ่มแอคชัน เพ่ิม และลบ กระทาปุ่ม เรียนรู้เพ่ิมเติม เก่ียวกับการทางานกับปุ่มแอคชันในแอป Access คุณยังสามารถเพ่ิมปุ่มการกระทาแบบกาหนดเองของคุณ เองลงในแถบแอคชัน ท่ีด้านบนตรงกลางของพ้ืนท่ีดีไซน์ คลิกเพ่ิมแอคชันแบบกาหนดเอง (เคร่ืองหมายบวกปุ่มอยู่ถัดจากแถบการ กระทา) การกระทาใหมแ่ สดงขึ้นเป็นปุม่ พร้อมกบั ไอคอนดาว: คลกิ ปมุ่ แอคชนั แบบกาหนดเอง แลว้ คลกิ ป่มุ ข้อมลู ทป่ี รากฏ Access จะเปดิ กลอ่ งโต้ตอบ ข้อมลู ของ แอคชนั แบบกาหนดเอง ใส่ช่ือให้กับปุ่มแอคชันแบบกาหนดเองของคุณ เลือกไอคอนไปใช้ ใส่คาแนะนา (ข้อความที่ปรากฏข้ึนเม่ือโฮ เวอร์ตัวช้ีไว้เหนือไอคอนแอคชัน), แล้ว คลิ กบนคลิก เพื่อเปิดมุมมองออกแบบแมโคร และเขียนแมโครท่ี ทางานเมื่อมีคลกิ ปุ่มแอคชันแบบกาหนดเอง เรียนรูเ้ พ่ิมเติมเก่ียวกับการกระทาแบบกาหนดเองเพิ่มลงในแถบ แอคชัน เพ่มิ แก้ไข และการลบข้อมูล คณุ สามารถทาการเปลี่ยนแปลงข้อมลู ของคุณโดยใช้มุมมองแผน่ ข้อมูล ดว้ ยการเปิดมุมมองในเบราว์เซอรข์ อง คุณ Access จะบันทึกการเปล่ียนแปลงกับระเบียนโดยอัตโนมัติเม่ือใดก็ ตามที่คุณย้ายไปยังระเบียนที่ แตกต่างกันในมมุ มอง
เมื่อต้องการเพมิ่ ระเบียนใหม:่ คลิกปุ่มเพิ่ม ระเบียนบนแถบแอคชัน พิมพ์ในข้อมูลคุณตอ้ งการ ในคอลัมน์ และจากน้ันกด tab หรือคลิกไประเบียนอื่นเมื่อต้องการบันทึกระเบียนใหม่ ระเบียนใหม่ ในมมุ มองแผน่ ข้อมูลปรากฏทดี่ ้านลา่ งเสมอ เม่ือต้องการแก้ไขระเบียน: ให้คลิกลงในแถวคุณต้องการแก้ไข และ tab ไปยังคอลัมน์ท่ีเฉพาะเจาะจงคุณ ต้องการเปลี่ยนแปลง พิมพ์ในข้อมูลของคุณใหม่ แล้วจากนั้นกด tab หรือคลิกไประเบียนอื่นเพ่ือบันทึกการ เปลย่ี นแปลงระเบยี น เมื่อต้องการลบระเบียน: คลิกลงในแถวคุณต้อง การลบแล้ว คลิกลบ ปุ่มการกระทา Access แสดงแบบโต้ตอบการยืนยันให้แน่ใจว่า คณุ ต้องการลบระเบียนนั้น คลกิ ใช่ เพ่ือลบ หรือคลิกไม่มี เพื่อยกเลิก การลบระเบยี น คุณยังสามารถลบระเบียนได้ ด้วยการคลิกขวาที่ตัวเลือกแถวทางด้านซ้ายแล้ว คลิกลบ เม่ือต้องการลบ ระเบียนมากกว่าหนึ่งคร้ัง กดแป้น CTRL ค้างไว้ในขณะท่ีคลิกตัวเลือกแถวอื่น คลิกขวาที่ค่าใดค่าหน่ึงใน ตัวเลอื กแถว แลว้ คลิ กลบ การกรองและเรียงลาดบั ขอ้ มูล มุมมองแผ่นข้อมูลในแอป Access มีอยู่แล้วภายในตัวเลือกการกรอง และเรียงลาดับข้อมูล คุณสามารถ ลองใชไ้ ด้อย่างรวดเรว็ ตัวกรองและเรยี งลาดับคอลมั น์ตา่ ง ๆ ของข้อมูลเพื่อดเู ฉพาะระเบียนคุณต้องการดู เม่ือตอ้ งการกรองข้อมูล: นาทางไปยงั มุมมองแผ่นขอ้ มูลของคุณในแอป Access โดยใช้เบราวเ์ ซอร์ของคุณ โฮเวอร์เหนือส่วนหัวของคอลัมน์ คลิกลูกศรดรอปดาวน์ คลิ กตัวเลือกการกรองรายการสาหรับข้อมูลท่ี เฉพาะเจาะจงในคอลมั น์ Access แสดงเป็นสีน้าเงินเหนอื แต่ละคอลัมนท์ ่ีมตี วั กรองที่นาไปใช้
เมื่อต้องการเรียงลาดับข้อมูล: นาทางไปยังมุมมองแผ่นข้อมูลของคุณในแอป Access โดยใช้ เบราว์เซอร์ของคุณ โฮเวอรเ์ หนือส่วนหัวของคอลมั น์ คลิกลกู ศรดรอปดาวน์ คลิ กเรยี งลาดบั น้อย ไปมากหรือ เรียงลาดับการเรียงลาดับระเบียนในมมุ มองตามคอลัมนน์ ัน้ เมื่อต้องการซ่อนคอลัมน์: นาทางไปยังมุมมองแผ่นข้อมูลของคุณในแอป Access โดยใช้เบราว์เซอร์ ของคุณโฮเวอร์เหนือส่วนหัวของคอลัมน์ คลิกลูกศรดรอปดาวน์ คลิ กซ่อนคอลัมน์ Access ซ่อนคอลัมน์จาก มุมมองในเบราวเ์ ซอร์ หมายเหต:ุ การซ่อนคอลัมนใ์ นมมุ มองแผ่นข้อมูลในเบราว์เซอร์ของคุณเป็นเฉพาะชั่วคราว ถ้าคุณนาทางไปยัง มุมมองอ่ืน และกลับมา หรือรีเฟรชมุมมอง Access แสดงคอลมั นอ์ ีกคร้ัง ดาวนโ์ หลดระเบียนจากมุมมองแผน่ ขอ้ มูลลงใน Excel คณุ สามารถดาวนโ์ หลดระเบยี นจากแอป Access ของคุณลงใน Excel จากมุมมองแผน่ ข้อมูล เม่อื ต้องการดาวน์โหลดระเบยี นลงใน Excel: คลกิ มุมมองแผ่นข้อมูล เมอื่ ดูแอปในเบราวเ์ ซอร์ของคณุ คลิกปุ่มแอคชัน ดาวน์โหลดใน Excel บนแถบแอคชนั คลิกเปิด เพ่ือเปิดสเปรดชีตของ Excel คลิกบันทึก เพ่ือบันทึกกระดาษคานวณไปยังโฟลเดอร์ หรือ คลกิ การยกเลิก เพ่อื ยกเลกิ การดาวน์โหลดระเบยี นลงใน Excel Excel แสดงระเบยี นจากมมุ มองแผ่นขอ้ มูล เคล็ดลับ: ถ้าคุณใช้ตัวกรองในมุมมองแผ่นข้อมูลเพื่อจากัดระเบียนที่แสดงให้มีขนาดเล็กชุดของระเบียน ก่อนท่ีจะคลิกดาวน์โหลดในปุ่มการกระทา Excel, Access ยังคงดาวน์โหลดระเบียนทั้งหมดจากแหล่ง ระเบียนมุมมองลงใน Excel ถ้าคุณต้องการดาวน์โหลดชุดระเบียนมีขนาดเล็ก คุณสามารถเปิดมุมมอง แผน่ ข้อมลู จากมุมมองอ่ืนโดยใช้แมโครแอคชัน OpenPopup และใช้เคร่อื งหมายอาร์กิวเมนตอ์ นุประโยคการ กรองระเบียนเพ่ือชุดย่อยท่ีมีขนาดเล็กได้ ถ้าคุณคลิกดาวน์โหลดใน Excel ปุ่มปฏิบัติการบนมุมมอง แผน่ ข้อมูลในกรณีนี้ Access ดาวนโ์ หลดย่อยของระเบยี นทม่ี ีขนาดเล็กลงใน Excel
หมายเหตุ: การดาวน์โหลดในปุ่มการกระทา Excel ไม่สามารถเอาออกจากมุมมองแผ่นข้อมูล ถ้าคุณไม่ ต้องการแสดงปุม่ การกระทาน้ี คุณจะตอ้ งการซอ่ นแถบการกระทาสาหรบั มุมมองแผ่นข้อมลู ลบมมุ มองแผน่ ขอ้ มลู เม่อื ต้องการลบมุมมองแผ่นข้อมูลท่มี ีอยู่ ทาตามขั้นตอนต่อไปน้:ี เปดิ โปรแกรมประยุกต์ใน Access คลกิ ท่ีชอื่ คาอธบิ ายของตารางในตวั เลอื กตารางในบานหน้าตา่ งดา้ นซ้ายแลว้ คลิ กมุมมองแผ่นข้อมูล คลกิ ปมุ่ คุณสมบตั ิแล้ว คลิ กลบ เปล่ียนชื่อคาอธิบายภาพของมมุ มองแผ่นข้อมลู ที่แสดงในตัวเลือกมมุ มอง Access แสดงรายการของชอ่ื คาอธิบายของมุมมองที่ดา้ นบนของแอปในตัวเลอื กมุมมอง เม่อื ตอ้ งการเปล่ียนชอ่ื คาอธบิ ายของมมุ มองแผ่นข้อมลู ทแี่ สดงในตัวเลอื กมุมมอง ทาตามขัน้ ตอนเหลา่ น้ี: เปดิ โปรแกรมประยุกต์ใน Access คลิกท่ชี อื่ คาอธิบายของตารางในตัวเลือกตารางในบานหนา้ ตา่ งด้านซา้ ยแล้ว คลิ กมุมมองแผ่นขอ้ มลู คลิกป่มุ คุณสมบตั ิแลว้ คลิ กเปลย่ี นชื่อ พมิ พช์ ือ่ คาอธบิ ายของมุมมองแผ่นข้อมูลใหม่ จากนัน้ กด Enter คลกิ บนั ทึก บนแถบเครือ่ งมือดว่ นเพ่อื บันทึกการเปลีย่ นแปลงคาอธิบายภาพของคุณ เมือ่ ต้องการเปล่ียนตาแหน่งของมุมมองแผน่ ข้อมูลทด่ี า้ นบนของหนา้ จอ คลกิ และคาอธิบายที่คา้ งไว้ แล้วลากไปทางขวาหรอื ซา้ ยไปยังตาแหนง่ ใหม่ ทาสาเนาของมุมมองแผน่ ข้อมูล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166