Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAFETY HANDBOOK

SAFETY HANDBOOK

Published by wd_iib, 2022-02-16 08:27:37

Description: SAFETY HANDBOOK

Search

Read the Text Version

คู่มือ ความปลอดภัย ในการทำงาน สำ ห รั บ พ นั ก ง า น แ ล ะ ผู้ รั บ เ ห ม า บริษัท ไนซ์ แอพพาเรล จำกัด NICE APPAREL CO.,LTD. SAFETY FIRST KEEP YOUR WORKPLACE SAFE

คำนำ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดลอ้ มในการทางานเป็ นความปรารถนา อย่างย่ิงของบริษทั ฯ เพราะบริษทั ฯ ตระหนักดีว่า “บุคลากรคือทรัพยากรที่มีคุณค่า สูงสุด” ดงั น้ันงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ ม จึงเป็ นส่วนหน่ึง ของเป้าหมายในการดาเนินธุรกิจของแต่ละปี โดยท่ีคณะกรรมการบริหารของบริษทั ฯ ไดม้ ีเจตนารมณ์อยา่ งแน่วแน่ที่จะส่งเสริม และสร้างสรรคใ์ ห้มีการทางานท่ีดี ดงั จะเห็น ไดจ้ ากการจดั ทาแผนงานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มในการทางาน ใน แต่ละปี โดยที่คณะผบู้ ริหารไดใ้ หค้ วามสาคญั ดา้ นงบประมาณอยา่ งต่อเนื่อง การจดั ทาคู่มือความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดลอ้ มในการทางานน้ี เป็ น มาตรการสาคัญอันหน่ึง ท่ีมุ่งหวงั จะให้เป็ นเคร่ืองมือในการบริหารงานด้านความ ปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อให้บรรลุสมดงั เจตนารมณ์ดงั กล่าวขา้ งตน้ ทุกคนตอ้ งนาไปปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั คู่มือความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มในการทางานฉบบั น้ีถือไดว้ ่า เป็นกรอบในการปฏิบตั ิงานให้เกิดความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มในการ ทางานท่ีดี ขอให้พนกั งานทุกท่านไดต้ ระหนัก และเรียนรู้อยา่ งถ่องแท้ หากมีขอ้ สงสัย ใหส้ อบถามหัวหนา้ งาน หรือผบู้ งั คบั บญั ชา เพ่ือความกระจ่างชดั เจนและสามารถนาไป ปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ในอนั ท่ีจะนามาซ่ึงความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ ม ในการทางานที่ดีของพนกั งานและทรัพยส์ ินของบริษทั ฯ ตลอดไป หน่วยงานความปลอดภยั

สำรบญั 1-2  นโยบายความปลอดภยั อาชีวอนามยั 3 และสิ่งแวดลอ้ มในการทางาน 4  บญั ญตั ิ 10 ประการเก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดลอ้ มในการทางาน 5 5  กิจกรรมพ้นื ฐานความปลอดภยั 6 อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มในการทางาน 7-9 9 - 10  ความปลอดภยั - สาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ 11 - 13 - ผลของการเกิดอุบตั ิเหตุ - สญั ลกั ษณ์และความหมายที่เกี่ยวกบั ความปลอดภยั 14 - สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายแสดงส่ิงตอ้ งหา้ มสาหรับ 15 อาณาบริเวณเฉพาะส่วน 16 - สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายอาณาบริเวณที่ตอ้ งใช้ 17 ป้ายอนั ตรายส่วนบุคคล 18 - 19 - สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายฉุกเฉิน 20 - ความปลอดภยั ในการทางานเก่ียวกบั เคร่ืองจกั ร - ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั รป๊ัมกระดุม - ความปลอดภยั ในการใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟ้า - ความปลอดภยั ในการทางานเก่ียวกบั สารเคมี - ความปลอดภยั ในการทางานเก่ียวกบั การยกและ เคลื่อนยา้ ยวสั ดุส่ิงของ

- ความปลอดภยั ในการขนยา้ ยสิ่งของดว้ ยรถเขน็ งาน 21 หรือรถลากงาน 21 - 22 - ความปลอดภยั ในการทางานบนที่สูง 22 - ความปลอดภยั ในการใชบ้ นั ไดในการทางาน 23 - ความปลอดภยั ในการทางานดา้ นงานเช่ือมโลหะดว้ ย 24 เครื่องเชื่อมกา๊ ซ 25 - ความปลอดภยั ในการใชล้ ิฟท์ 25 - 26 - ความปลอดภยั ในการใชข้ องมีคม (มีดคตั เตอร์) 26 - 27 - ความปลอดภยั ในการใชก้ รรไกรตดั เศษดา้ ย 27 - ความปลอดภยั ในการใชร้ ถโฟคลิฟท์ - การ์ดท่ีใชป้ ้องกนั อนั ตรายจากเครื่องจกั ร 28 29 สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท 30 - ความปลอดภยั ในสานกั งาน 31 - ความปลอดภยั ในการทางานหนา้ จอคอมพิวเตอร์ 32 - 35 - ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องถา่ ยเอกสาร 34 - ความปลอดภยั สาหรับผรู้ ับเหมา 35 - 36 - การป้องกนั อคั คีภยั และระงบั อคั คีภยั - การใชส้ ญั ญาณเหตุฉุกเฉิน 37 - การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 37 - 38 38 - 40  อาชีวอนามยั 41 – 44 - โรคปอดจากการทางาน - ดวงตากบั การทางาน - การจดั ท่าทางอยา่ งไรใหเ้ หมาะสมกบั การทางาน

- วิธีปฏิบตั ิงานกบั สารตวั ทาลาย 45 - 46 - โรคประสาทหูเส่ือมจากการประกอบอาชีพ 47 - 48  ส่ิงแวดลอ้ มในการทางาน 49 - การปฏิบตั ิดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 49 - การตรวจวเิ คราะห์ดา้ นกายภาพดว้ ยเคร่ืองมือทาง 49 - 53 สุขศาสตร์อุตสาหกรรม

1 บริษัท ไนซ์ แอพพำเรล จำกดั นโยบำยคุณภำพ สิ่งแวดล้อม อำชีวอนำมัยและควำมปลอดภยั บริษทั ไนซก์ รุ๊ป โฮลดิ้งคอร์ป จากดั และบริษทั ในเครือทุกแห่ง ดาเนินธุรกิจดา้ นการผลิตเส้ือผา้ กีฬาเพือ่ การส่งออก มีความตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบบริหารงานดา้ นคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ ม อาชีวอนามยั และความปลอดภยั จึงไดจ้ ดั ต้งั ระบบการบริหารงานดา้ นดงั กล่าว โดยผบู้ ริหารระดบั สูง และพนกั งานทุกคนมีความมุ่งมนั่ ท่ีจะปฏิบตั ิตามนโยบายคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม อาชีวอนามยั และความ ปลอดภยั ดงั น้ี 1. บริษทั จะสรรสร้างคุณค่าสู่ผมู้ ีส่วนร่วมไดแ้ ก่ คู่คา้ พนกั งาน ชุมชนและผถู้ ือหุน้ ภายใตน้ โยบายโดย ยอ่ ดา้ นคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ ม อาชีวอนามยั และความปลอดภยั ซ่ึงเรียงร้อยเป็นคาขวญั ที่วา่ “ลกู ค้ำพงึ พอใจ ผลติ ภณั ฑ์ได้มำตรฐำน ส่งมอบงำนตรงเวลำ พฒั นำอย่ำงต่อเน่ือง ไม่ลืมเร่ืองรักษ์สิ่งแวดล้อม ถงึ พร้อมแรงงำนปลอดภยั ใส่ใจสุขภำพอนำมยั ท้งั องค์กร” 2. บริษทั จะปฏิบตั ิตามกฎหมายและขอ้ กาหนดต่างๆ ทางดา้ นคุณภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม อาชีวอนามยั และความปลอดภยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ท้งั กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหวา่ งประเทศ รวมถึง ขอ้ กาหนดอื่นๆท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น ขอ้ กาหนดของลูกคา้ ขอ้ กาหนดฉลากเขียวของประเทศไทย เป็นตน้ 3. บริษทั จะรณรงค์ สร้างจิตสานึก ใหค้ วามรู้และเผยแพร่นโยบายเก่ียวกบั การจดั การดา้ นคุณภาพ สิ่งแวดลอ้ ม อาชีวอนามยั และความปลอดภยั ใหแ้ ก่พนกั งาน หวั หนา้ งาน ผบู้ ริหาร รวมถึงผทู้ ่ี ทางานภายใตก้ ารควบคุมขององคก์ ร ใหด้ าเนินงานภายใตน้ โยบายดงั กล่าวของบริษทั ฯ 4. บริษทั จะส่งเสริมใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วมในการอนุรักษพ์ ลงั งาน และการใชท้ รัพยากรต่างๆใหเ้ กิด ประโยชนอ์ ยา่ งคุม้ ค่า โดยกาหนดค่าช้ีวดั หลกั 3 ขอ้ คือ 4.1) การลดการใชพ้ ลงั งาน (Energy Conservation) 4.2) การลดปริมาณขยะ (Waste Reduction) 4.3) การลดการใชน้ ้า (Water Reduction) 5. บริษทั จะส่งเสริมการจดั ซ้ือวตั ถุดิบ วสั ดุอุปกรณ์ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า เคร่ืองใชส้ านกั งาน และสิ่งอานวย ความสะดวกต่างๆที่เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ ม เช่น สินคา้ ฉลากเขียว อุปกรณ์ไฟฟ้าประหยดั ไฟ เบอร์5 ฯลฯ ท้งั น้ีเพอ่ื ใหม้ ีผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยที่สุด

2 6. บริษทั จะจดั ใหม้ ีการป้องกนั มลพิษดา้ นสิ่งแวดลอ้ มที่อาจเกิดข้ึนจากของเสียอนั ตราย หรือจากการ ใชท้ รัพยากรต่างๆ ในระหวา่ งการดาเนินธุรกิจ โดยพจิ ารณานาไปจดั ทาเป็นวตั ถุประสงคแ์ ละ เป้าหมายเพ่ือนาไปปฏิบตั ิและทบทวนอยา่ งต่อเน่ือง 7. บริษทั จะจดั ใหม้ ีการป้องกนั อนั ตรายท่ีเกิดจากการทางาน เช่น จากการใชไ้ ฟฟ้า จากการใชส้ ารเคมี และการเจบ็ ป่ วยจากโรคจาการทางาน เป็นตน้ โ ดยจะพจิ ารณานาไปจดั ทาเป็นวตั ถุประสงคแ์ ละ เป้าหมาย เพ่ือนาไปปฏิบตั ิและทบทวนอยา่ งต่อเนื่อง 8. บริษทั จะจดั ใหม้ ีสภาพแวดลอ้ มการทางานที่ปลอดภยั พร้อมท้งั จดั สรรอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วน บุคคล (PPE : Personnel Protective Equipment) ใหก้ บั พนกั งานตามแต่ลกั ษณะความเส่ียงของงาน และส่งเสริมใหม้ ีการใชอ้ ุปกรณ์ดงั กล่าว เพื่อปกป้องคุม้ ครองพนกั งานจากอนั ตรายและโรคจากการ ทางาน 9. บริษทั จะสร้างเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีต่อรัฐบาล ชุมชน รวมถึงหน่วยงานอื่นที่เก่ียวขอ้ ง โดยใหก้ าร สนบั สนุนและเขา้ มีส่วนร่วมในกิจกรรม เพ่ือการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

3 บญั ญตั ิ 10 ประกำรเกยี่ วกบั ควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสิ่งแวดล้อมในกำรทำงำน 1. ปฏิบตั ิตามกฎ ขอ้ บงั คบั เครื่องหมาย ป้ายสญั ลกั ษณ์ ต่าง ๆ อยา่ งเคร่งครัด 2. ตอ้ งจดั การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลใหถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น เหมาะสมกบั งานและตอ้ งไม่ถอดอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายทุกชนิดของเครื่อง จกั รออกในขณะปฏิบตั ิงาน 3. หา้ มนาอาหาร เครื่องดื่ม มาเกบ็ หรือรับประทานภายในสถานที่ปฏิบตั ิงาน รวมท้งั บริเวณที่มีสารเคมี 4. หา้ มสูบบุหร่ีในท่ีหา้ มสูบ ตอ้ งสูบในพ้นื ที่ที่จดั ใหเ้ ท่าน้นั และดบั ไฟกน้ บุหร่ีหลงั การสูบใหส้ นิทก่อนทิ้ง 5. หา้ มวางส่ิงของกีดขวางถงั ดบั เพลิง ทางหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน รวมท้งั ลอ็ คประตู ทางออกฉุกเฉิน โดยเดด็ ขาด 6. รักษาความสะอาดของพ้นื ท่ีปฏิบตั ิงานใหส้ ะอาดตลอดเวลา และเกบ็ รักษา เคร่ืองมืออปุ กรณ์ในการทางานใหเ้ ป็นสัดส่วน และเป็นระเบียบเรียบร้อย 7. หา้ มหยอกลอ้ หรือกวนใจผอู้ ื่นขณะปฏิบตั ิงาน 8. การยกของหนกั ตอ้ งมีคนช่วยและยกใหถ้ ูกวธิ ี 9. หา้ มซ่อมแซมหรือปฏิบตั ิงานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เคร่ืองจกั ร หรือสารเคมีโดยไม่มี หนา้ ที่เกี่ยวขอ้ ง 10. เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุหรือพบวา่ อุปกรณ์เครื่องจกั ร เคร่ืองใชต้ ่าง ๆ ชารุดอนั อาจจะ ทาใหเ้ กิดอนั ตรายตอ้ งแจง้ ใหห้ วั หนา้ งานหรือเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการ ทางาน (จป.) ทราบทนั ที

4 กจิ กรรมพืน้ ฐำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมยั และสิ่งแวดล้อมในกำรทำงำน กำรดำเนินกจิ กรรม 6 ส. 6 ส. สะสาง สะดวก สะอาด สร้างกติกา สม่าเสมอ สร้างความปลอดภยั เป็น พ้นื ฐานของการปฏิบตั ิงานควบคู่ไปกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และส่ิงแวดลอ้ มใน การทางานสถานท่ีปฏิบตั ิงานที่อยดู่ ีมีระเบียบ สะอาดตาจะช่วยใหก้ ารปฏิบตั ิงานเป็นไป อยา่ งสะดวกและง่ายยง่ิ ข้ึน สะสำง การแยกใหช้ ดั เจนระหวา่ งของที่จาเป็นตอ้ งใช้ กบั ส่ิงของ ที่ไม่จาเป็นตอ้ งใช้ ขจดั สิ่งไม่จาเป็นทิ้งไป สะดวก การจดั วางสิ่งของที่จาเป็นตอ้ งใชใ้ หเ้ ป็นระเบียบ สามารถหยบิ ฉวยใชง้ านไดท้ นั ที สะดวก สะอำด การทาความสะอาดสถานที่ทางาน เครื่องจกั รอุปกรณ์ พร้อมท้งั การตรวจสอบ และกาจดั สาเหตุของความไม่ สะอาด สร้ำงกตกิ ำ การรักษามาตรฐานการปฏิบตั ิ 3 ส. แรกที่ดีไวแ้ ละท่ี สาคญั ในข้นั น้ีคือ การป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดความสกปรก รวมท้งั รักษามาตรฐานสุขอนามยั ท่ีดี สมำ่ เสมอ ปฏิบตั ิ 4 ส. แรกจนเป็นนิสยั และมีวนิ ยั ในการทางาน สร้ำงเสริมควำมปลอดภยั การปรับปรุงและการพฒั นางานดา้ นความปลอดภยั ใหม้ ีความกา้ วหนา้ มนั่ คงสูงสุดภายใตห้ ลกั ของ กฎหมายและมาตรฐานอ่ืนๆ

5 ควำมปลอดภัย สำเหตุของกำรเกดิ อุบตั ิเหตุ 1. เกิดจากการกระทาท่ีไม่ปลอดภยั - ใชเ้ ครื่องจกั ร,เคร่ืองมือ,อปุ กรณ์โดยพลการ ไม่มีหนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ งและไม่มีความรู้ - ซ่อมแซม หรือบารุงรักษาเครื่องจกั รในขณะเครื่องจกั รทางานอยู่ - ถอดอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายออกจากเครื่องจกั ร - หยอกลอ้ เล่นกนั ขณะปฏิบตั ิงาน - ไม่สวมอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล - การปฏิบตั ิงานท่ีรีบเร่ง ลดั ข้นั ตอน ขาดความระมดั ระวงั - ดื่มสุรา ของมึนเมา ใชส้ ่ิงเสพติดขณะทางาน 2. เกิดจากสภาพการทางานที่ไม่ปลอดภยั - เคร่ืองจกั รไม่มีอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตราย หรือมีแต่ไม่แขง็ แรง - สภาพพ้ืนที่ทางานขรุขระหรือต่างระดบั - การจดั วางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ กีดขวางทางเดินหรือทางหนีไฟ - เครื่องมือ – เครื่องจกั รอปุ กรณ์ชารุด 3. เกิดจากสภาพการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้ - พายุ - น้าท่วม - ฟ้าผา่

6 ผลของกำรเกดิ อุบัตเิ หตุ 1. ผลกระทบต่อพนกั งาน - ไดร้ ับความเจบ็ ปวดจากการบาดเจบ็ - สูญเสียอวยั วะหรือเงินทอง 2. ผลกระทบต่อครอบครัวพนกั งาน - ทาใหข้ าดรายไดเ้ พอื่ ใชจ้ ่ายภายในครอบครัว หากทุพพลภาพ - สมาชิกในครอบครัวเดือดร้อน กรณีเสียชีวติ 3. ผลกระทบต่อบริษทั ฯ - ทาใหก้ ารผลิตหยดุ ชะงกั - บริษทั ฯ หรือพนกั งานสูญเสียบุคลากร - เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์ วตั ถุดิบเสียหาย - พนกั งานเสียขวญั กาลงั ใจในการทางาน

สัญลกั ษณ์และควำมหมำยทเี่ กยี่ วกบั ควำมปลอดภัย 7 สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั น้ี จะถูกติดต้งั ไวต้ ามพ้ืนที่ต่าง ๆ ภายใน โรงงาน เพ่อื ใหพ้ นกั งานทราบวา่ บริเวณท่ีติดเครื่องหมายน้ีจะเป็นพ้ืนที่อนั ตราย การท่ีจะผา่ นหรือเขา้ ไปในพ้ืนที่อนั ตรายน้ีจะตอ้ งระมดั ระวงั และถา้ หลีกเลี่ยง ไดก้ ค็ วรจะหลีกเล่ียง เพราะจะทาใหเ้ กิดความปลอดภยั 1. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะสาหรับวตั ถุมีพิษ สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย เตือนภยั บริเวณวัตถุมพี ษิ 2. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะสารที่ก่อใหเ้ กิดการ ระเบิด สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภยั บริเวณท่กี ่อให้เกดิ กำรระเบิด 3. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะประเภทสารติดไฟ สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภยั บริเวณสำรติดไฟ 4. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะสารกดั กร่อน สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภัยบริเวณสำรกัดกร่อน

8 5. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะประเภทสาร จาพวก ท่ี ก่อใหเ้ กิดการติดไฟ สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภัยบริเวณสำรท่ีก่อให้เกดิ กำรตดิ ไฟ 6. สญั ลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะใหร้ ะวงั รถยก สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย เตือนภัยบริเวณให้ระวงั !รถยก 7. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะส่วนระวงั !ของหนกั ขา้ งบน สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย เตือนภยั บริเวณระวัง!ของหนักข้ำงบน 8. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะส่วนอนั ตรายจาก กระแสไฟฟ้า สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภัยบริเวณอนั ตรำยจำกกระแสไฟฟ้ำ

9 9. สญั ลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณเฉพาะส่วนอนั ตราย สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภยั บริเวณอนั ตรำย 10. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายเตือนภยั ของอาณาบริเวณอนั ตรายจากสาร กมั มนั ตรังสี สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย เตือนภัยบริเวณกมั มันตรังสี สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมำยแสดงส่ิงต้องห้ำมสำหรับอำณำบริเวณเฉพำะส่วน เป็นสัญลกั ษณ์และเครื่องหมาย แสดงถึงส่ิงตอ้ งหา้ ม ขอ้ หา้ มในอาณาบริเวณเฉพาะ ส่วนฉะน้นั พนกั งานท่ีพบเครื่องหมายเหล่าน้ีจะตอ้ งปฏิบตั ิตามความหมายในรูป สัญลกั ษณ์หา้ มเฉพาะส่วนอยา่ งเคร่งครัดเพอื่ ความปลอดภยั 1. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายแสดงสิ่งตอ้ งหา้ ม สาหรับอาณาบริเวณเฉพาะประเภท ส่วน หา้ มใชด้ ื่ม เม่ือเห็นสัญลกั ษณ์ใหท้ ราบวา่ น้ากอ๊ กในบริเวณน้ีหา้ มใชด้ ่ืม สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ห้ำมด่ืมนำ้ จำกก๊อก 2. สญั ลกั ษณ์และเคร่ืองหมายแสดงส่ิงตอ้ งหา้ ม สาหรับอาณาบริเวณเฉพาะส่วน ประเภทหา้ มสูบบุหร่ี เม่ือเห็นสญั ลกั ษณ์ใหท้ ราบวา่ ในบริเวณน้ีหา้ มสูบบุหร่ี สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำยห้ำมสูบบุหร่ี

10 3. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายแสดงส่ิงตอ้ งหา้ ม สาหรับอาณาบริเวณเฉพาะส่วน ประเภทหา้ มหา้ มเดินผา่ น เม่ือเห็นสัญลกั ษณ์ใหท้ ราบวา่ หา้ มเดินผา่ น สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ห้ำมเดนิ ผ่ำน 4. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายแสดงส่ิงตอ้ งหา้ ม สาหรับอาณาบริเวณเฉพาะส่วน ประเภทหา้ มเขา้ เม่ือเห็นสญั ลกั ษณ์ใหท้ ราบวา่ หา้ มเขา้ สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ห้ำมเข้ำ 5. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายแสดงส่ิงตอ้ งหา้ ม สาหรับอาณาบริเวณเฉพาะส่วน ประเภทหา้ มจุดประกายไฟเมื่อเห็นสัญลกั ษณ์ใหท้ ราบวา่ หา้ มทาสิ่งใดๆ ใหเ้ กิด ประกายไฟเป็นเดด็ ขาด สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ห้ำมจุดประกำยไฟ

11 สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมำยอำณำบริเวณทต่ี ้องใช้ป้ำยอนั ตรำยส่วนบุคคล พ้ืนที่ต่าง ๆ ภายในโรงงานขณะท่ีมีการปฏิบตั ิงาน อาจจะมีการตกหล่นการฟุ้ง กระจายหรือเกิดแกส๊ พษิ ฉะน้นั พนกั งานหรือผเู้ ยยี่ มชมโรงงานในอาณาบริเวณ ท่ีตอ้ งใชเ้ ครื่องป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล จะตอ้ งปฏิบตั ิตามเคร่ืองหมายต่อไปน้ี อยา่ งเคร่งครัด 1. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายสาหรับอาณาบริเวณท่ีตอ้ งใชเ้ คร่ืองป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั ศีรษะ คือ หมวกนิรภยั สัญลกั ษณ์น้ีจะบอกใหพ้ นกั งาน หรือเจา้ หนา้ ท่ีเขา้ ไปในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมหมวกนิรภยั เสียก่อน จึงจะผา่ นเขา้ ไปได้ สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ต้องสวมหมวกนิรภัย 2. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายสาหรับอาณาบริเวณที่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั ดวงตา คือ สวมแวน่ ตา สัญลกั ษณ์น้ีจะบอกใหพ้ นกั งาน หรือเจา้ หนา้ ท่ีเขา้ ไปในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมแวน่ ตาเพือ่ ความ ปลอดภยั ของดวงตา สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ต้องสวมแว่นตำ

12 3. สัญลกั ษณ์และเครื่องหมายสาหรับอาณาบริเวณที่ตอ้ งใชเ้ คร่ืองป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั มือ คือ สวมถุงมือ สญั ลกั ษณ์น้ีจะบอกใหพ้ นกั งาน ที่ทางาน ในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมถุงมือทุกคน สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ต้องสวมถุงมือ 4. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายสาหรับอาณาบริเวณท่ีตอ้ งใชเ้ คร่ืองป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลที่เกิดจากการสูดดมเขา้ ไปทางระบบหายใจคือ เคร่ืองช่วยหายใจ สญั ลกั ษณ์น้ีจะบอกใหพ้ นกั งานที่ทางานในบริเวณท่ีมีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวม เครื่องช่วย หายใจทุกคร้ัง สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ต้องสวมเคร่ืองช่วยหำยใจ 5. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายสาหรับอาณาบริเวณท่ีตอ้ งใชเ้ คร่ืองป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั หู คือ เครื่องป้องกนั เสียง สญั ลกั ษณ์น้ีจะบอกใหพ้ นกั งาน ที่ทางานในบริเวณท่ีมีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมเครื่องป้องกนั เสียง มิฉะน้นั จะทาให้ หูเป็น อนั ตรายได้ สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ต้องสวมเคร่ืองป้องกันเสียง

13 6. สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมายสาหรับอาณาบริเวณท่ีตอ้ งใชเ้ ครื่องป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลประเภทป้องกนั เทา้ คือ รองเทา้ บู๊ต สญั ลกั ษณ์น้ีจะบอกให้ พนกั งานท่ีทางานในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมรองเทา้ บู๊ต สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ต้องสวมรองเท้ำ 7. สญั ลกั ษณ์และเคร่ืองหมายสาหรับอาณาบริเวณที่ตอ้ งใชเ้ ครื่องป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั ใบหนา้ คือ หนา้ กากเช่ือม สัญลกั ษณ์น้ีจะบอกให้ พนกั งานท่ีทางานในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมหนา้ กาก สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ต้องสวมหน้ำกำกเชื่อม 8. สญั ลกั ษณ์และเครื่องหมายสาหรับอาณาบริเวณที่ตอ้ งใชเ้ ครื่องป้องกนั อนั ตราย ส่วนบุคคลประเภทป้องกนั ฝ่ นุ ละอองเขา้ ทางปาก/จมูก คือ หนา้ กากกนั ฝ่ นุ สญั ลกั ษณ์ น้ีจะบอกใหพ้ นกั งานที่ทางานในบริเวณที่มีป้ายน้ีทราบวา่ จะตอ้ งสวมหนา้ กาก สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ต้องสวมหน้ำกำกกนั ฝ่ ุน

14 สัญลกั ษณ์และเคร่ืองหมำยฉุกเฉิน ในการปฏิบตั ิงานในโรงงานอตุ สาหกรรมท่ีมีคนงานมาก ๆ การควบคุมการทางาน ของเครื่องจกั รกลต่าง ๆ อาจมีการผิดพลาดและเป็นท่ีมาของการเกิดอุบตั ิเหตุและภยั พบิ ตั ิต่างๆ ไดเ้ ช่น นิ้วขาด,ขาขาด หรือไฟไหม้ เพ่อื ความสะดวกรวดเร็วในการขนยา้ ย ผปู้ ่ วย ผบู้ าดเจบ็ และการหนีภยั ในโรงงานเมื่อเกิดภยั ข้ึนทางโรงงานจะตอ้ งมีสญั ลกั ษณ์ และเคร่ืองหมายฉุกเฉินบอกเสน้ ทาง และสถานที่สาคญั ใหพ้ นกั งานทราบต่อไปน้ี สัญลกั ษณ์เคร่ืองหมำย ประตูฉุกเฉิน สัญลกั ษณ์เครื่องหมำย ที่ปฐมพยำบำล

15 ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนเกย่ี วกบั เครื่องจักร 1. ศึกษาการทางานของเคร่ืองจกั รใหเ้ ขา้ ใจก่อนใชง้ าน 2. พบเครื่องจกั รชารุดอยา่ ทาการแกไ้ ขเองจะตอ้ งรีบแจง้ ใหผ้ รู้ ับผิดชอบมาทาการ ซ่อมเช่น ช่างประจาหมวด 3. เมื่อทาการซ่อม ปรับแต่งเครื่องจกั ร หรือทาความสะอาดเครื่องจกั ร จะตอ้ งทา การหยดุ เคร่ืองจกั รทุกคร้ังและมีป้ายเตือนขณะทาการซ่อมหรือทาความสะอาด และหา้ มซ่อมหรือทาความสะอาดขณะที่เคร่ืองจกั รกาลงั ทางาน 4. ติดต้งั การ์ดป้องกนั อนั ตรายจากเคร่ืองจกั รใหเ้ รียบร้อย และหา้ มถอดการ์ดออก โดยพลการ 5. ตอ้ งทราบหรือรู้ตาแหน่งและวิธีการใชส้ วิทซ์หยดุ เครื่องจกั รเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน 6. ตอ้ งปิ ดสวิทซ์เครื่องจกั รทุกคร้ังหลงั เลิกใชง้ านแลว้ อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ คร่ืองจกั ร ทางานโดยไม่มีผคู้ วบคุม 7. เชด็ ทาความสะอาดและตรวจสอบสภาพทวั่ ไปของเครื่องจกั ร ก่อนทาการเปิ ด เครื่อง 8. สวมใส่เส้ือใหร้ ัดกมุ ในขณะปฏิบตั ิงานกบั เครื่องจกั ร หา้ มสวมใส่เส้ือผา้ รุ่มร่าม เช่น แขนเส้ือที่กวา้ งมาก ไม่กลดั กระดุม สวมเส้ือปลอ่ ยชาย จะทาใหเ้ กิด อนั ตราย 9. พนกั งานที่ไวผ้ มท้งั ผหู้ ญิงและผชู้ าย เวลาทางานจะตอ้ งรวบผมหรือมดั ให้ เรียบร้อย หรือสวมหมวกนิรภยั ปกคลุมผมไวใ้ หเ้ รียบร้อย 10. ตอ้ งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลตามลกั ษณะของงานตลอดเวลา 11. หลงั จากปฏิบตั ิงานกบั เคร่ืองจกั รเสร็จสิ้นแลว้ ใหป้ ิ ดเคร่ืองจกั รท่ีสวิทซ์แลว้ ถอดปลก๊ั ออก

16 ควำมปลอดภัยในกำรใช้เครื่องจกั รปั๊มกระดุม 1. เปิ ดสวิทซ์ไฟเคร่ืองจกั ร 2. ทดลองเหยยี บเครื่องจกั ร 2 - 3 คร้ังก่อนทางาน 3. วางกระดุมลงในบลอ็ คล่างและปรับใหต้ รงตามตาแหน่ง 4. ใส่กระดุมตวั บนใหส้ ุดและตอ้ งแน่น โดยที่บลอ็ กกระดุมตวั บนลอ็ คเมด็ กระดุมแลว้ 5. วางผา้ ลงตามตาแหน่งที่เจาะไว้ 6. กดป่ ุมเซฟต้ีลงเพยี งเลก็ นอ้ ย 7. กดแป้นเหยยี บ 1 คร้ังเท่าน้นั ข้อควรระวงั 1. จบั ผา้ ใหน้ ิ้วห่างจากบลอ็ คอยา่ งนอ้ ย 2 – 3 cm. 2. หา้ มแกไ้ ขหรือดดั แปลงระบบเซฟต้ี 3. หา้ มถอดอุปกรณ์ใด ๆ ของระบบเซฟต้ีออกอยา่ งเดด็ ขาด 4. ถา้ เคร่ืองผดิ ปกติทางานไม่ไดต้ ามระบบรีบแจง้ ช่างประจาแผนก หมำยเหตุ พนกั งานท่ีทางานกบั เคร่ืองจกั รปั๊มกระดุม จะตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมจาก หวั หนา้ งานหรือหน่วยงานการฝึกอบรมประจาบริษทั ทุกคน และปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดหรือวิธีการใชเ้ คร่ืองป๊ัมกระดุมอยา่ งถกู ตอ้ งและเคร่งครัด

17 ควำมปลอดภยั ในกำรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ำ 1. ตรวจอปุ กรณ์ก่อนใชง้ านเสมอ เช่น ปลก๊ั สายไฟ วา่ มีร่องรอยการชารุด หรือไม่ ถา้ พบอุปกรณ์ชารุดตอ้ งรีบแจง้ หวั หนา้ งานหรือช่างประจาหมวด ทนั ที เพอ่ื ดาเนินการแกไ้ ข 2. จบั ท่ีตวั ปลกั๊ เวลาเสียบหรือดึงออก (หา้ มจบั สายไฟดึงหรือกระชากปลก๊ั ออก) อาจจะทาใหส้ ายไฟขาด ไฟฟ้าลดั วงจรให้ 3. ก่อนลงมือทางานใหต้ รวจสอบใหแ้ น่ใจว่าไม่มีไฟฟ้าในวงจรแลว้ 4. ในการทางานเก่ียวกบั ไฟฟ้าตอ้ งมน่ั ใจวา่ ไดป้ ิ ดสวิทซ์ตดั กระแสไฟฟ้าเรียบร้อย แลว้ พร้อมท้งั แขวนป้ายบอก “กาลงั ซ่อมแซมหา้ มสบั สวิทซ์ข้ึน” 5. การต่อสายไฟผา่ นอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตราย 6. ขณะที่ทาการซ่อมไฟฟ้าอยา่ ใหต้ วั เปี ยกน้าควรยนื บนพ้นื แหง้ และมือจะตอ้ ง แหง้ ตลอดเวลา 7. ถา้ หากหลีกเลี่ยงสถานที่ท่ีตอ้ งทางานกบั สายไฟฟ้าที่มีไฟไม่ไดต้ อ้ งใช้ เคร่ืองมือท่ีมีฉนวนหุม้ อยา่ งดี 8. ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลทุกคร้ังขณะท่ีทาการซ่อมแซม ไฟฟ้า 9. หากสายไฟร้อนแสดงวา่ มีความผดิ ปกติเกี่ยวกีบเคร่ืองไฟฟ้า ควรหยดุ การ ทางานก่อนและรีบแจง้ หวั หนา้ หรือช่างประจาหมวดทาการแกไ้ ขใหเ้ รียบร้อย ก่อน

18 ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนเกยี่ วกบั สำรเคมี 1. อา่ นฉลากจากภาชนะที่บรรจุสารเคมี เพอ่ื ใหท้ ราบเก่ียวกบั คุณสมบตั ิของสาร เคมี วธิ ีการใช้ หลงั การใช้ คาเตือน และการป้องกนั ขอ้ ควรระวงั 2. ก่อนการเคล่ือนยา้ ยสารเคมีดว้ ยมือ ตรวจเชค็ ฝาปิ ดใหส้ นิทใช้ 2 มือถือ หรือยกอยา่ งระมดั ระวงั 3. สวมอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลอยา่ งเหมาะสมทุกคร้ังในการทางาน กบั สารเคมี 4. ปิ ดภาชนะบรรจุสารเคมีใหส้ นิททุกคร้ังหลกั เลิกใชง้ าน เพื่อป้องกนั การระเหย และหกร่ัวไหล 5. การจดั เกบ็ สารเคมีหลงั เลิกใชง้ าน 5.1 ไม่ควรวางซอ้ นสูงเกินระดบั สายตา และปิ ดฉลากที่ภาชนะบรรจุทุกคร้ัง 5.2 จดั เกบ็ ไวใ้ นท่ีแหง้ อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก อุณหภูมิพอเหมาะ 5.3 จดั เกบ็ ไวใ้ นสถานที่ท่ีปลอดภยั ที่จดั ไวโ้ ดยเฉพาะ 6. ไม่นาอาหารหรือภาชนะบรรจุอาหารไปเกบ็ บริเวณสถานที่ทางานกบั สารเคมี 7. การกาจดั ของเสียจากการใชส้ ารเคมี ตอ้ งทิ้งในภาชนะที่กาหนด 8. ในการเคลื่อนยา้ ยสารเคมีคร้ังละปริมาณมาก ๆ ควรใชร้ ถเขน็ และไม่ควรบรรจุ มากเกินไป 9. หา้ มสูบบุหรี่หรือทาใหเ้ กิดประกายไฟในสถานท่ีจดั เกบ็ สารเคมี 10. ลา้ งมือใหส้ ะอาดทุกคร้ังหลงั เสร็จสิ้นการใชส้ ารเคมี 11. พนกั งานที่มีหนา้ ที่เก่ียวกบั สารเคมี จะตอ้ งผา่ นการอบรมวิธีการใชส้ ารเคมีอยา่ ง ปลอดภยั

19 วธิ ีปฏบิ ัตเิ มื่อเกดิ เหตุฉุกเฉิน กรณสี ำรเคมกี ระเดน็ เข้ำตำ  ลา้ งตาท่ีบริเวณที่อา่ งน้าในหอ้ งน้าประจาแผนกทนั ทีโดยใหน้ ้าไหลผา่ นตาเป็น เวลานานอยา่ งนอ้ ย 10 – 15 นาที  รีบนาไปพบพยาบาลหรือแพทยป์ ระจาบริษทั หรือนาส่งโรงพยาบาล  นาตวั อยา่ งสารเคมีที่กระเดน็ เขา้ ตาไปใหแ้ พทยด์ ูแพทยจ์ ะไดว้ ิเคราะห์และทาการ รักษาไดอ้ ยา่ งถูกวิธี  กรณีสารเคมีกระเดน็ หรือหกรดผวิ หนงั หรือร่างกาย ใหล้ า้ งบริเวณที่สมั ผสั ดว้ ยน้าสะอาดโดยใหน้ ้าไหลผา่ นอยา่ งนอ้ ย 15 นาที แลว้ ถอดเส้ือผา้ ออกทนั ที กรณสี ำรเคมหี กรั่วไหล  พิจารณาความเป็นอนั ตรายของสารเคมีและปริมาณของการรั่วไหล  สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายจากสารเคมี  ระงบั การฟ้งุ กระจายหรืออการหกรั่วไหล  เชด็ ทาความสะอาดโดยใชอ้ ปุ กรณ์จบั สารเคมีหรืออุปกรณ์อ่ืนท่ีเหมาะสม เช่น เครื่องดูดฝ่ นุ  ในกรณีการหกร่ัวไหลมีปริมาณมากรีบแจง้ ใหห้ วั หนา้ งานทราบทนั ที

20 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกย่ี วกับกำรยกและเคลื่อนย้ำยวสั ดุส่ิงของ เทคนิคกำรยกและเคลื่อนย้ำยวสั ดุสิ่งของด้วยมือเปล่ำ 1. วางเทา้ ใหถ้ ูกตอ้ ง โดยวางเทา้ ขา้ งหน่ึงไวใ้ นทิศทางท่ีจะเคล่ือนยา้ ยส่ิงของ และเทา้ อีกขา้ งหน่ึงน้นั คอยรับน้าหนกั ของร่างกาย โดยวางเทา้ ใหใ้ กลก้ บั สิ่งของท่ีจะยก 2. หลงั ตรง เม่ือ ตอ้ งการยกของหนกั จากพ้ืน จะตอ้ งพยายามยอ่ ตวั ลงให้ ใกลก้ บั ส่ิงของ ที่จะยก เพ่ือใหห้ ลงั ตรงโดยโนม้ เอียงไปขา้ งหนา้ เม่ือเริ่ม ยกของข้ึน หวั เขา่ ที่พบั งออยกู่ จ็ ะค่อย ๆ ยดื ข้ึนจนหลงั กลบั คืนสู่สภาพ ตรงในแนวด่ิง ปกติ 3. แขนติด ลาตวั เมื่อยกของท่ีมีน้าหนกั มากแขนจะติดกบั ลาตวั และใหอ้ ยใู่ นลกั ษณะแนวตรงตลอดเวลา ถา้ งอขอ้ ศอกและยกหวั ไหล่ ในขณะยก ทาใหเ้ กิดการปวดเกร็งและปวดไดร้ ับอนั ตรายได้ 4. จบั วสั ดุใหม้ น่ั ในการจบั วสั ดุสิ่งของใหม้ นั่ ตอ้ งใช้ ผา่ มือจบั และนิ้วมือประคองจะทาใหเ้ วลายกป้องกนั สิ่งของหรือวสั ดุ ลื่นหลุดมือได้ 5. เกบ็ คาง การเกบ็ คางเลก็ นอ้ ยเพื่อใหก้ ระดูก สนั หลงั อยใู่ น แนวตรงไม่โคง้ งอ เมื่อยกของข้ึนแลว้ ร่างกายจะกลบั สู่ระดบั ตรงตามปกติ ซ่ึงในขณะเดียวกนั น้ีศีรษะของพนกั งานจะค่อย ๆ ต้งั ตรงดว้ ย และพนกั งานกจ็ ะสามารถมองเห็นทางไดอ้ ยา่ ง ชดั เจน 6. การใชน้ ้าหนกั ตวั การวางตาแหน่งเทา้ และการงอ การยดื เขา่ ที่ถูกตอ้ งจะตอ้ งใหม้ ีการ ใชน้ ้าหนกั ตวั เพื่อประโยชน์ในการผลกั และลากวสั ดุและกา้ วเดินไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะ สมและมน่ั คง

21 ควำมปลอดภยั ในกำรขนย้ำยสิ่งของด้วยรถเขน็ งำน หรือรถลำกงำน 1. จดั เรียงวสั ดุอุปกรณ์ส่ิงของท่ีอยใู่ นรถใหเ้ รียบร้อยมน่ั คง 2. ไม่บรรทุกน้าหนกั เกินกาลงั รถ หรือวางของสูงเกินระดบั สายตาที่จะมองเห็น ขา้ งหนา้ 3. ไม่ลากหรือเขน็ งานดว้ ยความเร็วเกินไป และลดระดบั ความเร็วลงเมื่อตอ้ ง ลากงาน,เขน็ งานขา้ มถนน 4. รถลาก,รถเขน็ งาน ใชส้ าหรับบรรทุกงานเท่าน้นั หา้ มพนกั งานใชข้ บั ข่ี หรือโดยสาร 5. จอดในที่จดั เกบ็ ท่ีกาหนดไวเ้ ม่ือเลิกใชง้ าน ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนบนทสี่ ูง ทุกคร้ังท่ีทางานบนท่ีสูงซ่ึงมีอนั ตรายมาก จะตอ้ งใชเ้ ขม็ ขดั นิรภยั เกี่ยวเอวไว้ เพ่ือป้องกนั การพลดั ตกลงมา ซ่ึงเป็นกฎที่พนกั งานตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งเขม้ งวด เม่ือเร่ิม ข้ึนไปทางานบนที่สูง เช่น การปื นเสาไฟฟ้า การปื นบนั ได การทางานบนนง่ั ร้าน เป็นตน้ ถา้ พนกั งานฝ่ าฝืนไม่ใส่เขม็ ขดั นิรภยั ในระหวา่ งปฏิบตั ิงานอาจจะพลดั ตก มาไดร้ ับอนั ตรายได้

22 กำรทำงำนบนทีส่ ูงควรปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1. ตอ้ งสวมหมวกแขง็ หมวกที่สวมตอ้ งมีสายรัดคางกนั หมวกหลน่ และศีรษะ กระแทก 2. ตอ้ งสวมเขม็ ขดั นิรภยั ที่เอว และมีตวั ลอ็ คยดึ ติด แลว้ ใชเ้ ชือกที่เขม็ ขดั ผกู ติดจุดใด จุดหน่ึงของโครงสร้างที่สามารถรับน้าหนกั ตวั ได้ 3. ตอ้ งสวมรองเทา้ นิรภยั ป้องกนั ความร้อน,สารเคมีหรือของแขง็ หลน่ กระแทกเทา้ 4. ตอ้ งสวมถงุ มือป้องกนั การปื นป่ าย จบั ถกู ของมีคม กนั ล่ืน และความร้อน ข้อแนะนำ 1. ก่อนใชอ้ ปุ กรณ์ ควรตรวจสอบวา่ ชารุดหรือไม่ 2. การข้ึนไปทางานบนที่สูงจะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความชานาญ และไม่เป็นโรคกลวั ความ สูง ควำมปลอดภยั ในกำรใช้บนั ไดในกำรทำงำน 1. การเลือกประเภทของบนั ได ตอ้ งเลือกบนั ไดที่สามารถรับน้าหนกั และงานท่ี นาข้ึนไปดว้ ย มีขนาดความยาวพอเหมาะ สามารถทางานไดอ้ ยา่ งสบายหากทางาน เกี่ยวกบั ไฟฟ้า ตอ้ งเลือกบนั ไดท่ีทาดว้ ยวสั ดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า 2. การตรวจสภาพบนั ไดก่อนใชง้ านบนั ไดท่ีนาไปใชต้ อ้ งมีสภาพแขง็ แรงไม่ชารุด 3. บริเวณที่ต้งั บนั ได พ้ืนที่โดยรอบในการต้งั บนั ไดตอ้ งมน่ั คงแขง็ แรง ปราศจาก สิ่งกีดขวางต่าง ๆ และวางบนั ไดใหไ้ ดม้ ุมประมาณ 68 – 75 องศา หรือใหม้ ีความชนั ของการพาดบนั ไดกบั กาแพงท่ีพาดใหอ้ ยใู่ นช่วง1 ใน 4 ถึง 3 ใน 8 ของความยาวของ บนั ไดที่ใชอ้ ยขู่ ณะน้นั 4. การปื นบนั ไดขณะข้ึนหรือลงบนั ไดควรหนั หนา้ เขา้ หาบนั ได และระหวา่ งการ ปื นบนั ไดมือควรจบั อยทู่ ี่ข้นั บนั ไดตลอด

23 5. การทางานบนบนั ไดงานที่ทาไม่ควรอยหู่ ่างจากข้นั บนั ไดข้นั สูงสุดเกินกวา่ 1เมตร บนั ไดตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งท่ีผูป้ ฏิบตั ิงานสามารถทางานไดส้ ะดวก ทาใหไ้ ม่ ตอ้ งยนื่ ตวั ไปทางานที่ไกล เพราะอาจจะเกิดอนั ตรายได้ 6. การข้ึนทางานบนบนั ไดที่สูงควรใชเ้ ขม็ ขดั นิรภยั ดว้ ย ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนด้ำนงำนเช่ือมโลหะด้วยเคร่ืองเชื่อมก๊ำซ 1. สวมใส่อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคล เช่น แว่นตา ถงุ มือ ปลอกแขน และเส้ือเอี๊ยมหนงั 2. ก่อนการทางานเช่ือมทุกคร้ังตอ้ งตรวจสอบอปุ กรณ์การเชื่อมวา่ มีสภาพที่ พร้อมใชง้ าน หรือไม่ถา้ พบวา่ ชารุดตอ้ งรีบแกไ้ ขทนั ที 3. ตอ้ งทาฉากก้นั บริเวณท่ีทางานหรือหาสถานที่บริเวณที่ไม่มีเช้ือไฟ ซ่ึงอาจจะ ทาใหเ้ กิดการลุกไหมข้ ้ึนได้ 4. การเช่ือมถงั บรรจุสารไวไฟ ตอ้ งทาความสะอาดก่อนทาการเชื่อม และมนั่ ใจวา่ ไม่มีไอระเหยของสารเคมีเหลืออยู่ 5. พ้ืนที่ทางานควรระบายอากาศไดด้ ีหรือจดั ทาระบบระบายอากาศเฉพาะท่ี 6. หา้ มมองแสงจากการเช่ือมดว้ ยตาเปลา่ 7. ถงั ก๊าซจะตอ้ งวางต้งั หวั ถงั ข้ึนและมีโซ่ล่ามหรือเชือกรัดผกู ยดิ ติดอยกู่ บั รถเขน็ อยา่ งมนั่ คง 8. หวั เชื่อมก๊าซตอ้ งอยใู่ นสภาพท่ีดี พร้อมใชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 9. จะตอ้ งติดต้งั อุปกรณ์ควบคุมความดนั ท่ีนาก๊าซอะเซทธิลีน ก่อนต่อเขา้ กบั หวั เชื่อม และควรจะใชน้ ้าสบู่ หรือใชอ้ ปุ กรณ์ ตรวจสอบการร่ัวของกา๊ ซ อยา่ งสม่าเสมอเพ่อื ความปลอดภยั

24 10. หลงั เลิกใชง้ านทุกคร้ังตอ้ งปิ ดวาลว์ ปรับแรงดนั กา๊ ซ และวาลว์ ลมใหเ้ รียบร้อย และทาความสะอาดอปุ กรณ์การเชื่อมทุกชิ้น ต่อจากน้นั เกบ็ ใหเ้ รียบร้อย ควำมปลอดภยั ในกำรใช้ลฟิ ท์ 1. ปิ ดสวิทซ์ลูกศรเพอื่ เปิ ดไฟแสงสวา่ ง 2. นาส่ิงของที่จะขนยา้ ยเขา้ ลิฟทใ์ หเ้ รียบร้อย 3. ปิ ดประตูท้งั บานในและบานนอกใหส้ นิทก่อนและ หลงั จากการใชง้ านทุกคร้ัง 4. กดป่ ุมบอกช้นั เพื่อใหล้ ิฟทไ์ ปจอดยงั ช้นั ต่างๆตามท่ี ตอ้ งการ 5. ระหวา่ งท่ีลิฟทท์ างานหากมีเหตุจาเป็นตอ้ งหยดุ ลิฟทใ์ ห้ กดป่ ุมSTOP เพือ่ หยดุ ลิฟทช์ ว่ั คราวเม่ือเสร็จกิจแลว้ ให้ ปฏิบตั ิตามขอ้ 3 ต่อไป 6. ทาความสะอาดหอ้ งลิฟทท์ ุกคร้ังหลงั จากใชล้ ิฟทเ์ สร็จแลว้ 7. หลงั เลิกงานตอ้ งกดลิฟทล์ งมาอยชู่ ้นั ท่ี 1 ทุกคร้ัง ข้อห้ำมกำรใช้ลฟิ ท์ 1. หา้ มบรรทุกน้าหนกั เกิน 2,000 กิโลกรัม 2. หา้ มพิงหรือเกาะประตูลิฟทข์ ณะที่ลิฟทท์ างาน 3. หา้ มกระแทกประตูลิฟทใ์ นขณะท่ีลิฟทก์ าลงั ทางาน 4. หา้ มโยนของหนกั เขา้ ลิฟทโ์ ดยเดด็ ขาด 5. หา้ มดดั แปลงแกไ้ ขหรือต่อเติมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในลิฟทโ์ ดยเดด็ ขาด 6. หา้ มบุคคลภายนอกที่ไม่มีหนา้ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การใชล้ ิฟทม์ าใชล้ ิฟทโ์ ดยเดด็ ขาด

25 หมำยเหตุ 1. พนกั งานท่ีใชล้ ิฟทไ์ ดจ้ ะตอ้ งผา่ นการอบรมการใชล้ ิฟทอ์ ยา่ งปลอดภยั ทุกคน 2. ไฟโชวข์ ้ึนที่ป่ ุม STOP หมายถึง ลิฟทพ์ ร้อมใชง้ านหากไฟดงั กลา่ วไม่ติด แสดงวา่ มีการปิ ดประตูบานใดบานหน่ึงไม่สนิท 3. กรณีลิฟทข์ ดั ขอ้ งรีบแจง้ แผนกช่างซ่อมบารุง ควำมปลอดภัยในกำรใช้ของมคี ม (มดี คดั เตอร์) วธิ ีใช้ 1. เวลาใชง้ านเลื่อนใบมีดออกจากดา้ มจบั ตามลกั ษณะงานที่จะทา 2. กดตวั ลอ็ คใบมีดท่ีดา้ มจบั เพ่อื ไม่ใชใ้ บมีดเล่ือนขณะท่ีใชง้ าน 3. จบั หรือกดชิ้นงานใหก้ ระชบั มน่ั คง 4. จบั ดา้ มคดั เตอร์ใหก้ ระชบั ในขณะที่ใชง้ าน 5. กดตวั เลื่อนใบมีดเกบ็ ทุกคร้ังหลงั เลิกใชง้ าน 6. นาไปเกบ็ ไวใ้ นท่ีจดั เกบ็ ใหเ้ รียบร้อย ข้อระวงั 1. ในขณะที่ใชค้ ดั เตอร์ตดั งานหรือกีดงานจะตอ้ งทาอยา่ งชา้ ๆ และระมดั ระวงั 2. ตอ้ งมีสติและสมาธิในขณะปฏิบตั ิงานและไม่หยอกลอ้ กนั ในขณะปฏิบตั ิงาน 3. วางใหห้ ่างจากขอบโต๊ะ ทางเดิน หรือบริเวณที่อาจจะเกิดอุบตั ิเหตุ 4. เศษใบมีดที่หกั หรือใบมีดที่ใชแ้ ลว้ ใหท้ ิ้งในภาชนะท่ีจดั ไวแ้ ละปิ ดเทปให้ เรียบร้อยเพ่อื ดาเนินการในการกาจดั ต่อไป

ควำมปลอดภยั ในกำรใช้กรรไกรตดั เศษด้ำย 26 วธิ ีกำรใช้ 1. ทดสอบกรรไกร โดยการตดั เศษผา้ หรือเศษดา้ ยเพือ่ ดูวา่ กรรไกรยงั มีความ คมดีหรือไม่ 2. เมื่อเริ่มใชก้ รรไกรตดั เศษผา้ จะตอ้ งจบั ดา้ มกรรไกรใหก้ ระชบั มือพอดี 3. ตดั เศษผา้ หรือเศษดา้ ยจะตอ้ งตดั ดว้ ยความระมดั ระวงั 4. เวลาตดั เศษผา้ หรือเศษดา้ ยจะตอ้ งตดั ใหช้ ิดขอบงาน 5. ควรจะจดั เกบ็ ใส่กล่องหรือจดั เกบ็ ไวใ้ นลิ้นชกั โต๊ะเม่ือเลิกใชง้ านแลว้ อยา่ เกบ็ ไว้ กบั ตวั ข้อควรระวงั 1. ไม่ควรเอาเชือกร้อยกรรไกรมาแขวนไวท้ ี่คอถา้ เลี่ยงไม่ไดค้ วรสะพายไวร้ ะหว่าง บ่าถึงเอว 2. ปลายกรรไกรควรมีปลอกหนงั หรือปลอกพลาสติกหุม้ ไว้ เพื่อป้องกนั ความแหลม คมของกรรไกรตดั ดา้ ยมาทิ่มร่างกายไดร้ ับบาดเจบ็ 3. ไม่ควรแกวง่ กรรไกรอาจจะไปโดนเพ่ือนร่วมงานไดร้ ับบาดเจบ็ 4. ควรจะจดั เกบ็ ใส่กล่องหรือจดั เกบ็ ไวใ้ นลิ้นชกั โต๊ะ เมื่อเลิกใชง้ านแลว้ อยา่ เกบ็ ไว้ กบั ตวั 5. ตวั กรรไกรท่ีไม่ไดใ้ ชง้ านแลว้ ทิ้งในภาชนะท่ีจดั ไวเ้ พอื่ ดาเนินการกาจดั ต่อไป หมำยเหตุ จะตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนดหรือวธิ ีการใชก้ รรไกรตดั เศษดา้ ยอยา่ งถกู ตอ้ งและ เคร่งครัด

27 ควำมปลอดภัยในกำรใช้รถโฟคลฟิ ท์ ข้ึนช่ือวา่ ยานพาหนะแลว้ ยอ่ มมีอนั ตราย หากวิ่งไปเฉี่ยวชนผคู้ นและสิ่งของ ยงิ่ เป็น รถโฟคลิฟทห์ รือรถยกท่ีใชล้ าเลียงขนส่งวตั ถุส่ิงของในโรงงานดว้ ยแลว้ นอกจากการ เฉี่ยวชนแลว้ ยงั อาจทาใหส้ ่ิงของที่บรรทุกหล่นลงมาทบั ซ้าอีกดว้ ย การขบั ข่ีตอ้ งไดร้ ับ การฝึกหดั และตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนด ดงั เช่น 1. ขณะขบั ข่ีตอ้ งมองทางที่จะไปเสมอ หากมีวตั ถุท่ีบรรทุกบงั สายตาจนไม่สามารถ มองเห็นทางใหใ้ ชว้ ิธีขบั รถถอยหลงั แทนหรือใชค้ นนาทาง 2. ขบั ดว้ ยความเร็วไม่เกิน 20 กิโลเมตรต่อชวั่ โมง 3. การขบั ลอดผา่ นส่ิงใดตอ้ งแน่ใจวา่ วตั ถุท่ีบรรทุกจะมีความสูงไม่ไปชนสิ่งต่าง ๆ ท่ีอยเู่ หนือรถข้ึนไป เช่น ท่อน้า หลอดไฟ เป็นตน้ 4. วตั ถทุ ่ีบรรทุกจะตอ้ งวางใหม้ น่ั คงเรียบร้อย หากมีการทรงตวั ไม่ดีตอ้ งผกู ยดึ ให้ มนั่ คงเสียก่อน 5. การขบั รถข้ึนท่ีลาดชนั จะตอ้ งใชว้ ตั ถุท่ีบรรทุกอยทู่ างดา้ นลาดข้ึนและเวลาขบั รถ ลงจากท่ีลาดเอียงใหใ้ ชว้ ิธีถอยหลงั 6. รถโฟคลิฟทใ์ ชว้ ่ิงไปมาในโรงงาน ซ่ึงมีผคู้ นกาลงั ขะมกั เขมน้ ทางานยง่ิ ตอ้ งใช้ ความระมดั ระวงั มากเป็นพิเศษ กำร์ดทใี่ ช้ป้องกนั อนั ตรำยจำกเคร่ืองจักร สำมำรถแบ่งออกเป็ น ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ 1. การ์ดชนิดต้งั อยกู่ บั ท่ี เป็นการ์ดท่ีติดแน่นอยกู่ บั ตวั เคร่ืองจกั รตอ้ งมีการออกแบบ อยา่ งเหมาะสมไม่ขดั ขวางการปฏิบตั ิงานหรือลดประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน และไม่จาเป็นตอ้ งถอดออกเพื่อทาการบารุงรักษาหรือหยดน้ามนั

28 2. การ์ดชนิดลอ็ คในตวั การ์ดชนิดน้ีติดต้งั อยกู่ บั ท่ีไม่ได้ การใชก้ าร์ดประเภทน้ีตอ้ ง แน่ใจวา่ หากไม่ใชแ้ ลว้ - เคร่ืองจกั รจะไม่ทางาน จนกวา่ การ์ดจะอยใู่ นตาแหน่งที่ปิ ดหรือลอ็ คสนิทแลว้ - การ์ดจะเปิ ดออกไม่ไดเ้ ลย จนกวา่ เคร่ืองจกั รจะหยดุ น่ิงหรือหากการ์ดถูกเปิ ดออก เมื่อใด เครื่องจกั รจะหยดุ ทางานทนั ที 3. การ์ดชนิดอตั โนมตั ิ จะใชก้ าร์ดชนิดน้ีติดต้งั อยกู่ บั ท่ี หรือการ์ดชนิดลอ็ คในตวั ไม่ได้ หากผปู้ ฏิบตั ิงานอยใู่ นตาแหน่งท่ีอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายจากส่วนที่เป็น อนั ตรายของเคร่ืองจกั ร การ์ดชนิดน้ีจะปัดส่วนหน่ึงส่วนใดของร่างกายของ ผปู้ ฏิบตั ิงานน้นั ออกใหพ้ น้ จุดอนั ตรายก่อนเคร่ืองจะทางาน ควำมปลอดภยั ในสำนักงำน 1. อยา่ ใชเ้ กา้ อ้ีลอ้ เล่ือนแทนบนั ไดในการหยบิ วสั ดุหรือเอกสารในที่สูง ๆ 2. อยา่ วิง่ ภายในสานกั งานเพราะตรงมุมอาจมีเพอื่ นพนกั งานเดินสวนออกมาหรือมี พนกั งานกาลงั เคล่ือนยา้ ยวสั ดุต่าง ๆ 3. ลิน้ ชกั ของตูเ้ อกสารหรือโตะ๊ ทางานเมื่อเปิ ดใชแ้ ลว้ ตอ้ งปิ ดใหเ้ รียบร้อย เพราะท่าน หรือผอู้ ื่นอาจเดินชนไดร้ ับบาดเจบ็ ได้ 4. เมื่อข้ึนลงบนั ไดใหเ้ ดินดว้ ยความระมดั ระวงั อยา่ วง่ิ และจบั ราวบนั ไดไวเ้ พอ่ื ช่วย ใหป้ ลอดภยั ยงิ่ ข้ึน 5. เมื่อนงั่ เกา้ อ้ีอยา่ เอนหลงั จนเสียการทรงตวั เพราะจะทาใหล้ ม้ และไดร้ ับบาดเจบ็ หรือเป็นอนั ตรายถึงแก่ชีวิต 6. เม่ือน้าหรือของเหลวอื่นๆ หกเร่ียราดบนพ้ืนตอ้ งรีบเชด็ ถทู นั ที เพ่ือป้องกนั การล่ืน หกลม้

29 7. สายไฟ สายโทรศพั ท์ จะตอ้ งจดั หรือวางใหร้ ะเบียบเรียบร้อย เพื่อป้องกนั การ สะดุด ซ่ึงอาจจะทาใหเ้ กิดการหกลม้ ได้ 8. ในกรณีท่ีไม่สามารถเคล่ือนยา้ ยหรือยกของท่ีหนกั เกินกาลงั ใหข้ อความช่วยเหลือ จากเพือ่ นร่วมงาน 9. มือและนิ้วมือเป็นส่วนที่ไดร้ ับบาดเจบ็ ไดง้ ่ายท่ีสุด ไม่ควรใชม้ ือและนิ้วมือแทน เครื่องมือต่าง ๆ เช่นใชม้ ือถอดลวดเยบ็ กระดาษ 10. เคร่ืองมือเครื่องใชภ้ ายในสานกั งานโดยเฉพาะเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าตอ้ งไดร้ ับการ ตรวจสอบใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีพร้อมใชง้ านอยเู่ สมอ 11. อคั คีภยั เกิดข้ึนเพราะความประมาท ดงั น้นั ตอ้ งระมดั ระวงั เป็นพิเศษ 12. มีแผนหนีไฟในกรณีฉุกเฉินและมีอุปกรณ์ดบั เพลิงซ่ึงควรจะติดต้งั ไวใ้ นสถานที่ท่ี สามารถหยบิ ไดง้ ่าย ควำมปลอดภัยในกำรทำงำนหน้ำจอคอมพวิ เตอร์ 1. กาจดั แสงสะทอ้ นที่เกิดจากแสงไฟ หนา้ ต่าง หรือวสั ดุที่มีแสง หากยงั มีแสง สะทอ้ นบนหนา้ จอใหใ้ ชแ้ ผน่ กรองแสง 2. ปรับความเขม้ ความสวา่ งของหนา้ จอใหพ้ อเหมาะ ตวั อกั ษรควรจะสวา่ งกวา่ พ้นื หลงั แต่ตอ้ งระวงั อยา่ ใหส้ วา่ งมากเกินไป 3. ปรับระดบั ความสูงของหนา้ จอใหส้ ่วนบนอยรู่ ะดบั สายตา 4. เอนหนา้ จอไปดา้ นหลงั เลก็ นอ้ ย แต่ระวงั อยา่ ใหเ้ กิดแสงสะทอ้ นที่หนา้ จอ 5. ปรับระดบั เกา้ อ้ีนง่ั ชิ้นงาน และแป้นพิมพใ์ หเ้ หมาะสมกบั แต่ละบุคคล 6. หากเป็นงานพิมพโ์ ดยใชม้ ือท้งั สองมือแป้นพมิ พค์ วรอยตู่ รงหนา้ ผปู้ ฏิบตั ิงาน แต่ หากเป็นการใส่ขอ้ มูลท่ีใชม้ ือเพยี งขา้ งเดียวควรใหแ้ ป้นพมิ พเ์ ลื่อนไปอยดู่ า้ นของมือท่ี พมิ พ์ และควรจดั พ้นื ที่พอสมควรสาหรับวางเอกสารหรือขอ้ มูลสาหรับพิมพ์

30 7. ระหวา่ งทางานอาจเล่ือนแป้นพมิ พไ์ ปดา้ นใดดา้ นหน่ึงเป็นระยะ ๆ เพอื่ ใหแ้ ขน และไหลไ่ ดม้ ีการเปล่ียนตาแหน่งบา้ ง 8. ควรมีท่ีสาหรับพกั ขอ้ มือ 9. ควรใชแ้ ป้นวางเอกสารที่ปรับระดบั ได้ ต้งั ไวข้ า้ งหนา้ ผปู้ ฏิบตั ิงานเพ่อื ลดการเอี่ยว คอ และง่ายต่อการปรับสายตา 10. สลบั ขา้ งซา้ ย – ขวา ระหว่างแป้นเอกสารกบั จอคอมพวิ เตอร์บา้ ง เพอื่ ใหเ้ ปล่ียน ตาแหน่งการเอียงของศีรษะ 11. สายตาระหว่างแป้นพมิ พแ์ ละหนา้ จอควรมีความยาวไม่นอ้ ยกวา่ 70 เซนติเมตร 12. ควรทาความสะอาดหนา้ จอเป็นประจา ควำมปลอดภยั ในกำรใช้เคร่ืองถ่ำยเอกสำร เครื่องถา่ ยเอกสารเป็นอปุ กรณ์ที่สาคญั ยง่ิ ในบรรดาอุปกรณ์สานกั งานท้งั หลาย ประโยชนข์ องเคร่ืองถ่ายเอกสารเราคงทราบกนั ดีส่วนโทษของเคร่ืองถา่ ยเรากค็ วรทราบ ไวเ้ ช่นกนั ซ่ึงอนั ตรายจากเคร่ืองถา่ ยเอกสารมีส่วนประกอบ คือ 1. สารเคมีที่เป็นส่วนผสมในหมึกพมิ พ์ 2. สารเคมีท่ีใชเ้ คลือบลูกกลิ้ง 3. น้ายาอาบกระดาษถ่ายเอกสาร 4. รังสีอลั ตร้าไวโอเลต 5. โอโซนซ่ึงเกิดข้ึนจากรังสีอลั ตร้าไวโอเลตในขณะเคร่ืองกาลาทางานช่วยให้ โมเลกุลของออกซิเจนรวมตวั กนั กลายเป็นโอโซนระเหยออกมา

31 กำรป้องกนั อนั ตรำย 1. ต้งั เคร่ืองถา่ ยเอกสารในสถานที่โล่ง มีอากาศถา่ ยเทสะดวกเพ่ือทาใหโ้ อโซนและ สารเคมีระเหยออกมาจากเคร่ืองเจือจางลง 2. ถา้ ไดก้ ล่ินฉุนหรือกล่ินไหม้ เลิกใชช้ วั่ คราวใหช้ ่างตรวจสอบการใชอ้ ีกคร้ัง 3. ทาความสะอาดซ่อมบารุงเป็นประจา 4. อยา่ มองแสงใชแ้ ผน่ ปิ ดแสงเวลาถ่ายเททุกคร้ัง เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหร้ ังสีอลั ตร้าไวโอ เลตกระทบหรือสัมผสั ผวิ หนงั 5. สวมถงุ มือยางเม่ือจบั ตอ้ งสารเคมีของเคร่ืองถ่ายเอกสารเสร็จแลว้ ลา้ งมือลา้ งหนา้ ทนั ที ควำมปลอดภยั สำหรับผู้รับเหมำ 1. การแต่งกายตอ้ งแต่งใหร้ ัดกมุ สวมเส้ือ – กางเกงขายาว รองเทา้ หนงั หรือผา้ ใบ 2. การทางานของผรู้ ับเหมาจะตอ้ งมีหวั หนา้ ควบคุมดูแลทุกคร้ัง 3. สถานท่ีทางานของผรู้ ับเหมาตอ้ งมีป้ายบอกหา้ มผา่ นเพอ่ื ป้องกนั อนั ตราย 4. ผรู้ ับเหมาจะตอ้ งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลทุกคร้ัง 5. การต่อสายไฟฟ้า ท่อน้า ท่อน้ามนั เป็นตน้ ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากผรู้ ับผดิ ชอบทุก คร้ัง 6. การทางานในที่สูงต้งั แต่ 10 เมตร ข้ึนไปตอ้ งนงั่ ร้านและราวกนั ตกตลอดจนตอ้ งมี ตาข่ายคลมุ กนั คนและของตกจากที่สูง 7. การยกของข้ึนท่ีสูงโดยการใชร้ ถยก หรือเครนยกเป็นตน้ ตอ้ งทาการยกในทิศทาง ที่ปลอดภยั ปราศจากคนและเครื่องจกั รพร้อมท้งั มีป้ายบอกอนั ตรายตอ้ งมีคนคุมงาน อยดู่ ว้ ยทุกคร้ัง

32 8. การทดลองเดินเครื่องตอ้ งติดต่อผรู้ ับผดิ ชอบดูแลก่อนทุกคร้ัง 9. ตอ้ งปฏิบตั ิตามความปลอดภยั ของบริษทั อยา่ งเคร่งครัด 10. เจา้ หนา้ ที่รักษาความปลอดภยั (ร.ป.ภ.) ของโรงงานมีสิทธิในการตกั เตือนวา่ กลา่ ว ในกรณีที่เห็นเหตุการณ์ไม่ปลอดภยั และฝ่ าฝืนกฎความไม่ปลอดภยั ของโรงงาน กำรป้องกนั อคั คภี ัยและระงบั อคั คภี ัย ไฟ คือ ปฏิกิริยาทางเคมีระหวา่ งเช้ือความร้อน และออกซิเจน ไฟจะเกิดข้ึนเมื่อมี 3 อยา่ งน้ีพร้อม ๆ กนั ถา้ ขาดอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงจะเกิดข้ึนไม่ได้ 1. ประเภท ก. (CLASS A) คือ ไฟที่เกิดจากการลุกไหมข้ องไม้ กระดาษ เศษผา้ เรา สามารถดบั ไฟชนิดน้ีไดด้ ว้ ยน้า 2. ประเภท ข. (CLASS B) คือ ไฟท่ีเกิดจากการลกุ ไหมข้ องเช้ือเพลิง ควรจะดบั ไฟ ชนิดน้ีดว้ ยโฟมคาร์บอนไดออกไซดแ์ ละน้ายาเคมี 3. ประเภท ค. (CLASS C) คือ ไฟท่ีเกิดจากการลุกไหมข้ องไฟฟ้าลดั วงจร ควรจะดบั ไฟชนิดน้ีดว้ ยคาร์บอนไดออกไซด์ น้ายาเคมี และผงเคมีแหง้ 4. ประเภท ง. (CLASS D) คือ ไฟที่เกิดจากการลุกไหมข้ องแร่ธาตุทางเคมี เช่น โปรเตสเซียม อลูมิเนียม สงั กะสี โซเดียม ลิเทียม ควรจะดบั ไฟชนิดน้ีดว้ ยผงเคมี แหง้ ชนิดของเคมแี ห้ง - ชนิด (CLASS A) - ชนิด (CLASS B) - ชนิด (CLASS C) - ชนิด (CLASS D)

33 วธิ ีกำรใช้ถังเคมแี ห้ง 1. ดึงสลกั นิรภยั ออกจากคนั บีบ (บิดใหส้ ายรัดขาดแลว้ จึงดึงออก) 2. จบั ปลายสายพร้อมบีบหรือกดคดั บีบบงั คบั และบีบทดสอบถงั ดบั เพลิงก่อนใช้ งานโดยหนั ปลายลงพ้นื 3. ยนื เหนือลมห่างจากไฟประมาณ 1 – 4 เมตร 4. ฉีดสารดบั เพลิงไปยงั ฐานของเพลิง และฉีดส่ายไปมากินบริเวณประมาณ 1 เมตร ข้อปฏิบัติในกำรป้องกนั อคั คภี ัย และระงบั อคั คภี ัย 1. หา้ มสูบบุหร่ีบริเวณที่มีป้ายหา้ มสูบบุหรี่ หรือสถานที่ทางาน 2. เกบ็ ขยะต่าง ๆ เศษผา้ เศษกระดาษ หรือขยะอ่ืน ๆ ท่ีติดไฟไดง้ ่ายลงท่ีท่ีจดั ไวใ้ ห้ เรียบร้อย 3. สถานที่เกบ็ สารไวไฟ ควรจดั เกบ็ ในที่ท่ีห่างจากแหลง่ กาเนิดความร้อน หรือ ประกายไฟ 4. ไม่วางสิ่งของกีดขวางที่ติดต้งั ถงั เคมีดบั เพลิง ตูเ้ กบ็ สายส่งน้าดบั เพลิงและทางหนี ไฟ 5. หา้ มทาการตดั เช่ือมหรือเจียร และมีความร้อนใน บริเวณโรงงานก่อนไดร้ ับ อนุญาต 6. มีการตรวจสอบและ บารุงรักษาถงั เคมี ดบั เพลิง หรืออปุ กรณ์ ดบั เพลิงอยา่ ง ต่อเนื่อง 7. เม่ือพบเหตุเพลิงไหม้ จะตอ้ งรีบนาถงั เคมี แหง้ ดบั เพลิงทนั ทีตามวธิ ีการดบั เพลิงเบ้ืองตน้ หรือรีบแจง้ ใหห้ วั หนา้ งานทราบทนั ที

34 8. หา้ มเทน้ามนั เช้ือเพลิงหรือของเหลวไวไฟลงในท่อน้าหรือท่อระบายสิ่งโสโครก อ่ืน ๆ 9. ก่อนใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟ้าตอ้ งตรวจบริเวณรอยต่อต่าง ๆ วา่ แน่นหนาดีหรือไม่ 10. หา้ มเพม่ิ เติมปลก๊ั เสียบไฟนอกเหนือจากท่ีติดต้งั ไวแ้ ลว้ 11. หา้ มใชน้ ้ามนั เบนซินลา้ งหรือทาความสะอาดเครื่องมือ – เครื่องจกั รหรือชิ้นส่วน ใด ๆ ของเครื่องจกั รกล หา้ มวางวสั ดุส่ิงของใกลห้ ลอดไฟหรือแหล่งกาเนิดความร้อน กำรใช้สัญญำณเหตุฉุกเฉิน 1. กดป่ ุมสญั ญาณฉุกเฉินทนั ทีเม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ 2. หา้ มกดป่ ุมสญั ญาณฉุกเฉินเล่นโดยเดด็ ขาด แนวทำงปฏิบตั เิ ม่ือเกดิ เหตุเพลิงไหม้ 1. เมื่อไดย้ นิ เสียงสัญญาณแจง้ เหตุ เพลิงไหมอ้ ยา่ ตกใจ 2. เมื่อหวั หนา้ งานตรวจสอบ ตรวจสอบวา่ มีเหตุ และ ไม่สามารถระงบั เหตุไดใ้ หแ้ จง้ ศนู ยอ์ านวยการดบั เพลิง 3. เจา้ หนา้ ที่ตามแผนฉุกเฉินพร้อม ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีตามที่กาหนด เช่น ทีมกภู้ ยั ทีมผจญเพลิง ทีม พยาบาล ผนู้ าทางหนีไฟ ผู้ ตรวจสอบจานวนพนกั งาน 4. ใหอ้ พยพตามเส้นทางหนีไฟไปยงั ทางออกฉุกเฉิน หรือประตูทางออกหนา้ – หลงั ประจาแผนกทนั ที 5. หลีกเล่ียงบริเวณที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ 6. ใหก้ ารช่วยเหลือผปู้ ่ วยและพนกั งานที่ต้งั ครรภ์ อพยพหนีไฟดว้ ยความปลอดภยั

35 7. ใหอ้ พยพไปรวมกลุ่มที่จุดรวมพล เพ่อื ตรวจสอบจานวนพนกั งานวา่ ครบหรือไม่ ถา้ ไม่ครบใหร้ ีบหวั หนา้ งานทนั ที เพื่อใหห้ วั หนา้ ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ที่ดบั เพลิง เพ่อื ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีดบั เพลิงเขา้ ไปคน้ หาผทู้ ่ีตกคา้ งต่อไป 8. หา้ มออกจากจุดรวมพลเดด็ ขาดจนกวา่ จะไดร้ ับคาสง่ั จากหวั หนา้ งานหรือ ผอู้ านวยการดบั เพลิง กำรปฐมพยำบำลเบือ้ งต้น การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ คือ การใหค้ วามช่วยเหลือข้นั แรกในทนั ทีทนั ใด ณ ท่ีเกิดเหตุ โดยใชเ้ ครื่องมืออปุ กรณ์เวชภณั ฑป์ ระจาแผนกเพื่อลดความรุนแรงของการบาดเจบ็ ก่อนท่ีจะนาผปู้ ่ วยไปพบแพทยท์ ่ีโรงพยาบาล ข้นั ตอนกำรปฏบิ ัติเม่ือเกดิ กำรบำดเจบ็ 1. แจง้ หวั หนา้ งานทนั ที หรือนาส่งโรงพยาบาล หรือพบแพทยป์ ระจาบริษทั 2. หากพบเห็นผบู้ าดเจบ็ ถา้ สามารถทาการปฐมพยาบาลไดใ้ หด้ าเนินการทนั ที 3. หากเกิดการบาดเจบ็ อยา่ งรุนแรงใหร้ ีบนาส่งแพทยเ์ พื่อทาการรักษาทนั ที กำรบำดเจบ็ จำกกำรสัมผสั กระแสไฟฟ้ำ 1. รีบตดั กระแสไฟฟ้า 2. ใชไ้ มแ้ หง้ หรือใชว้ สั ดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้าเขี่ยอุปกรณ์ไฟฟ้าออกจากตวั ผบู้ าดเจบ็ (กรณีที่ยงั มีกระแสไฟฟ้าอย)ู่ 3. ถา้ ผปู้ ่ วยหมดสติใหช้ ่วยการหายใจก่อนนาส่งแพทย์ บำดแผลและแผลไฟไหม้ 1. ใชน้ ิ้วหวั แม่มือกดปากแผลนาน 10 นาที เพื่อใหเ้ ลือดแขง็ ตวั 2. กรณีแผลใหญ่ใหใ้ ชผ้ า้ สะอาดปิ ดปากแผล

36 3. กรณีแผลไฟไหมใ้ หแ้ ช่น้าเยน็ จดั หรือใชน้ ้าแขง็ ห่อผา้ วางบริเวณแผล ซ่ึงจะช่วย ลดการทาลายเน้ือเยอ่ื 4. นาส่งโรงพยาบาลเพ่ือพบแพทยท์ าการรักษาต่อไป เศษวสั ดุกระเดน็ เข้ำตำ 1. ปิ ดตาหา้ มลา้ งตาหรือขย้ตี า 2. รีบนาผปู้ ่ วยส่งโรงพยาบาลพบแพทย์ หมดสตเิ ป็ นลม / ช็อค 1. ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนคลายเส้ือผา้ ใหห้ ลวม หนุนขาใหส้ ูงกวา่ ศีรษะ 2. ถา้ หายใจไม่ออกหรือหมดสติใหช้ ่วยหายใจก่อน 3. กรณีชอ็ คใหน้ อนหงายยกศีรษะข้ึนแลว้ ใชน้ ิ้วอา้ ปากกวาดส่ิงอดุ ตนั ภายในปากออก 4. การช่วยหายใจโดยการผายปอดหรือนวดหวั ใจ 5. เม่ือฝืนคืนสติใหน้ อนคว่าตะแคงหนา้ ข้อเท้ำแพลง 1. กรณีสวมรองเทา้ ใหใ้ ชผ้ า้ พนั ยดึ ไว้ 2. กรณีเทา้ เปล่าใหย้ กเทา้ สูงแลว้ ใชก้ อ้ นน้าแขง็ ห่อผา้ ประคบรอบ ๆ ขอ้ เทา้ ข้อเท้ำหลุด 1. ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนน่ิง ๆ หา้ มดึงขอ้ เทา้ ท่ีหลุดเอง 2. รีบนาส่งโรงพยาบาลเพือ่ ทาการรักษาต่อไป กระดูกหัก 1. ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนนิ่ง ๆ 2. เขา้ เฝือกชวั่ คราวเพ่อื ป้องกนั กระดูกเคลื่อน 3. รีบนาส่งโรงพยาบาลเพื่อทาการรักษาต่อไป 4.

37 อำชีวอนำมยั ควำมรู้ในกำรป้องกนั โรคจำกกำรประกอบอำชีพ  โรคปอดจำกกำรทำงำน เกิดจากการสูดดมเอาฝ่ นุ ละออง ควนั สารพิษ เขา้ ไปทางการหายใจ สารเหล่าน้ี อาจ ก่อใหเ้ กิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ปอดอกั เสบ พงั ผดื ในปอดหรือแทรกผา่ นเขา้ สู่กระแสเลือด โดยที่ไม่รู้ตวั กลุ่มโรคปอดจำกกำรประกอบอำชีพ  กลมุ่ เส่ียงท่ี 1 ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอ ตดั เยบ็ เคร่ืองนุ่งห่มที่ทาจากฝ้าย  กลุ่มเส่ียงท่ี 2 ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมการผลิตท่อซีเมนต์ กระเบ้ืองมุ่งหลงั คา ฝ้า เพดาน เบรก ครัช ชุดพจญเพลิง เป็นตน้  กลุ่มเสี่ยงที่ 3 ไดแ้ ก่ โรงโม่หิน หลอ่ หลอมโลหะ ทาเหมือง อุตสาหกรรมแกว้ กระจกฝ้า ฯลฯ  กลมุ่ เสี่ยงท่ี 4 ไดแ้ ก่ ที่อาจพบในประเทศไทย ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมสียอ้ มผา้ กาวสาหรับติดหนงั แป้งทาขนมปัง สารเคมีต่าง ๆ ก๊าซ และควนั พิษ เป็นตน้

38 ป้องกนั ตนเองอย่ำงไร ให้ลดควำมเสี่ยงโรคปอดจำกกำรประกอบอำชีพ  ใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั ทางเดินหายใจที่เหมาะสมกบั สารเคมีแต่ละชนิด  ตรวจร่างกายประจาปี เอก็ ซ์เรยป์ อด ตรวจสมรรถภาพปอด  ออกกาลงั กาย งดบุหรี่ และสิ่งเสพติด พกั ผอ่ นใหพ้ อเพียง  ดวงตำกบั กำรทำงำน ปัญหำทำงตำทีเ่ กย่ี วกบั กำรประกอบอำชีพ 1. ปัญหาสายตา เช่น สายตาส้นั สายตายาว สายตาเอียง สายตาคนสูงอายุ ความลา้ ของสายตา

39 กำรป้องกนั ปัญหำสำยตำจำกกำรประกอบอำชีพ 1. ตรวจสมรรถภาพสายตา  ก่อนการจา้ งงานหรือบรรจเุ ขา้ ทางาน  การตรวจเป็นระยะ ๆ 2. การปรับสภาพแวดลอ้ มการทางาน  การจดั แสงสวา่ งท่ีเหมาะสมเพยี งพอ กบั ลกั ษณะการทางาน  การจดั ท่าทางการทางานที่ ไม่บดบงั ทิศทางของแสง สวา่ ง 2. การไดร้ ับอนั ตรายหรือการบาดเจบ็ ท่ี ดวงตาจากการทางานอาจเกิดข้ึนได้ จากสาเหตุดงั ต่อไปน้ี  เศษวสั ดุกระเดน็ เขา้ ตา เช่น ในขณะเจียร ตดั ขดั ไส ชิ้นงาน  สารเคมีกระเดน็ เขา้ ตา เช่น ขณะทางานผสม ฉีด พน่ สารเคมี  ถูกวตั ถุกระแทกดวงตา เช่น เคร่ืองมือท่ีใชท้ างานกระแทกดวงตา  แสงจา้ จากการเชื่อมโลหะ

40 กำรป้องกนั อนั ตรำยหรือกำรบำดเจบ็ ทด่ี วงตำ วธิ ีการป้องกนั อนั ตรายหรือบาดเจบ็ ที่ดวงตา สามารถทาไดด้ งั น้ี 1. การปฏิบตั ิตามกความปลอดภยั ในการทางานของ โรงงานโดยเคร่งครัด 2. ติดต้งั และใชอ้ ปุ กรณ์สาหรับกาบงั (การ์ดเคร่ืองจกั ร) ทุกคร้ัง 3. ใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั ดวงตา อยา่ งเหมาะสมกบั ลกั ษณะ ของการทางานดงั น้ี  งานที่มีประกายไฟ หรือแสงจา้ เช่นงานเชื่อม โลหะตอ้ งใชแ้ ว่นตานิรภยั หรือแวน่ ครอบตา หรือ กระบงั หนา้ สาหรับงานเช่ือมทุกคร้ังในขณะทางาน  งานที่มีเศษวตั ถกุ ระเดน็ มาจากดา้ นหนา้ หรือ ดา้ นขา้ งได้ เช่น งานกลึง งานเจียร งานไส ตอ้ งใช้ แวน่ ตานิรภยั ที่มีแผน่ ป้องกนั ดา้ นขา้ งทุกคร้ังในขณะทางาน  งานที่มีการกระเดน็ ของวตั ถุมาจากหลาย ๆ ทิศทางหรือมีการกระเดน็ ของของเหลวสารเคมี ตอ้ ง ใชก้ ระบงั หนา้ ปกปิ ดใบหนา้ ควบคู่กบั แว่นตานิรภยั หรือแวน่ ครอบตาทุกคร้ังในขณะทางาน

41  กำรจัดท่ำทำงอย่ำงไรให้เหมำะสมกบั กำรทำงำน ลกั ษณะการทางานท่ีก่อใหเ้ กิดปัญหาต่อระบบกระดูก และกลา้ มเน้ือของร่างกาย การเคล่ือนไหวแบบซ้าซาก การใชม้ ือทางานมากเกินไป การทางานท่ีตอ้ งสัมผสั อณุ หภูมิที่ผดิ ปกติ เช่น ร้อนหรือเยน็ เกินไป การทางานที่มีการสน่ั สะเทือนมาก ๆ เช่น การใชเ้ ครื่องเจาะ การทางานดว้ ยท่าทางที่ไม่ถนดั

42 ลกั ษณะกำรทำงำนเหล่ำนีส้ ำมำรถแก้ไขได้ เช่น  การปรับปรุงสถานท่ีทางาน เช่น ปรับความสูงของโต๊ะ เกา้ อ้ีทางาน  การจดั ระบบงาน เช่น การจดั ใหล้ กู จา้ งมีเวลาพกั เป็นระยะ ๆ  การใชเ้ คร่ืองจกั รทดแทน เช่น กรณีทางานซ้าซาก กำรจัดท่ำทำงอย่ำงไรให้เหมำะสมกบั งำน ลกั ษณะท่ำทำงในกำรทำงำน ในแต่ละวนั มนุษยเ์ ราตอ้ งมีอิริยาบถต่าง ๆ ในการทางาน เช่น ยืน เดิน นง่ั กม้ หยบิ จบั เอ้ือม ยก ซ่ึงหากปฏิบตั ิดว้ ยท่าทางที่ไม่ถูกตอ้ งจะทาใหเ้ กิดปัญหาสุขภาพ ตามมาภายหลงั ท่าทางที่ถูกตอ้ ง ท่าทางท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

ถา้ จะวางท่ีรองรับฝ่ าเทา้ ให้ 43 ระดบั เข่าอยกู่ วา่ สะโพก การนงั่ ท่ีขา ท่านง่ั ขบั รถยนต์ เหยยี ดตึงเอน ปรับเกา้ อ้ีใหช้ ิด หลงั มากจะทา พวงมาลยั ใหป้ วดหลงั ช่วงล่าง เกา้ อ้ีท่ีพว่ งมาลยั ลกั ษณะท่ำทำงในยกวสั ดุสิ่งของ ทาใหห้ ลงั โคง้ และ ท่าทางท่ีถูกตอ้ ง ไม่สามารถพิงกบั พนกั ได้ ท่าทางท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

44 ลกั ษณะท่ำทำงอริ ิยำบถในกำรทำงำนประจำวนั ท่าทางท่ีถูกตอ้ ง ท่าทางท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

45 วธิ ีปฏบิ ตั งิ ำนกบั สำรตวั ทำลำย สำรตวั ทำละลำย สารละลายบางชนิดสามารถระเบิดได้ สารตวั ทาละลายบางชนิดไม่ควรนา มาใชเ้ ป็นตวั ทาความสะอาดเพราะ สารตวั ทาละลายบางชนิดสามารถสลายตวั เป็นอนั ตรายต่อสุขภาพและไวไฟ ใหก้ รด ก๊าซพิษหรือสารกดั กร่อนได้ ถา้ สมั ผสั กบั ความร้อนเช่น สารตวั ทาละลายบางชนิดสามารถ ไตรคลอโรเอทธิลีน,1,1,1,- ติดไฟไดง้ ่าย ไตรคลอโรอีเธน,ฟลูโรคาร์บอน,เปอร์คลอ โรเอทธิลีน,เอทธิลีนคลอไรด์ เป็นตน้ สารตวั ทาละลายบางชนิดสามารถ ทาปฏิกิริยารุนแรงกบั สารชนิดอ่ืน พษิ ต่อร่ำงกำย คุณจะรู้สึกผิดปกติในกระ การสมั ผสั กบั ไอระเหยของสารตวั เพราะอาหารความสามารถ ทาลายของสารมากเกินไปทาใหเ้ กิด ที่จะทางานอยา่ งปลอดภยั การระคายเคือง ต่อตา ลาคอ ลดนอ้ ยลง เป็นเร่ืองง่ายที่จะทางานกบั สารตวั ทาละลา ผวิ หนงั ที่สัมผสั ตวั ทาลายเป็น ยแต่เราตอ้ งรู้วิธีปฏิบตั ิอยา่ งถูกตอ้ ง เวลานานจะทาใหเ้ กิดผื่น หรือ อาการแทกซอ้ น คุณรู้สึกวงิ เวียนศรีษะ มึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook