Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Published by Wisut Wichit, 2022-11-09 06:44:22

Description: รวมบทความวิจัยเชิงนโยบาย

Search

Read the Text Version



ก คำนำ รวมบทความวิจัยนโยบายทางการศึกษาฉบับน้ี เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 01152631 วิชา นโยบายและทรัพยากรทางการศึกษา ภาคปลาย ปีการศึกษา 2563 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา นิยมาภา เป็นอาจารย์ประจำรายวิชา ซึ่งบทความ วจิ ัยนโยบายทางการศึกษาฉบับนจี้ ัดทำขึ้นโดยนสิ ิตปริญญาเอก สาขาการบรหิ ารการศึกษา (ภาคพิเศษ) รุ่นที่ 12 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบแนวทางการศึกษา นโยบายทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษาหรือองคกรทางการศึกษาตามแนวทางการพรรณนานโยบาย การ วิเคราะหก์ ระบวนการนโยบาย ตั้งแต่ขนั้ ตอนการกอตวั ของประเดน็ ปญหา การกลั่นกรองประเด็นปญหา การนยิ ามประเดน็ ปญหา การพยากรณ การกำหนดวัตถุประสงค การวิเคราะหท์ างเลือก การนาํ นโยบาย ไปสู่ปฏิบัติการ และการประเมินผลนโยบาย โดยใช้กระบวนการวิจัยและนำเสนอเป็นบทความวิจัยทาง วิชาการ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานการสัมมนาเล่มนี้จะมีประโยชน์สำหรับผู้อ่านและจะ สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาความสามารถทางการบรหิ ารการศึกษาในยุคเปลีย่ นผา่ นได้อย่าง ดยี ่ิง นสิ ิตปริญญาเอก สาขาการบรหิ ารการศึกษา รุ่นที่ 12 ภาควิชาการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ มถิ นุ ายน 2564

ข สารบัญ เร่อื ง หน้า การนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โดย ธญั ลกั ษณ์ มณโี ชติ 1 โครงการการนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดย สวพร บุญญผลานันท์ 10 การประเมนิ ผลนโยบายเรียนฟรี 15 ปี : โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สังกัดสำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี โดย พรรณทิพา ปัทมอารกั ษ์ 29 การประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรยี นสามัคควี ทิ ยา โดย พรรณนารี ภริ มย์ไกรภกั ด์ิ 40 การประเมนิ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวดั สำโรง (หริ ญั ราษฎร์ภกั ดีวิทยา) สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1 โดย สวุ ิตรา บญุ แจ้ง 52 การประเมินโครงการนเิ ทศภายในโดยใช้หอ้ งเรยี นเปน็ ฐาน โรงเรียนกาญจนดิษฐ์ สงั กัด สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา สุราษฎรธ์ านี ชมุ พร โดย อมรรตั น์ โพธเ์ิ พชร 65 การประเมนิ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ โรงเรียนเทพศิรินทรพ์ ุ แค สระบรุ ี โดย ณฐิดา เหล็กชยั 80 การประเมนิ โครงการโรงเรยี นสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) โรงเรยี นแหง่ หนึ่ง สังกดั สำนกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร โดย ปยิ ะณฐั จริงจิตร 94

1 การนำนโยบาย “การอา่ นออกเขยี นได้” ไปสกู่ ารปฏบิ ัติของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 Policy Implementation of Literacy in a Primary School in the Ratchaburi Primary Education Service Area, Office One. (ขนาด 18) ธญั ลกั ษณ์ มณโี ชติ1* วิสุทธ์ิ วจิ ติ รพชั ราภรณ์2 อัจฉรา นิยมาภา3 (ขนาด 14) Thanyaluck Maneechod1 Wisut Wichitputchraporn2 Achara Niyamapha3(ขนาด 14) 1นิสติ หลกั สูตรศึกษาศาตรดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 099-2264994 2อาจารย์ประจำหลักสูตรศกึ ษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0636539651 3อาจารยป์ ระจำหลักสูตรศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0984532945 บทคดั ยอ่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติ ของโรงเรียนประถมศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 กลุม่ ผใู้ หข้ อ้ มลู คือ 1) รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 จำนวน 1 ท่าน 2) ศึกษานิเทศก์ ใน สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จำนวน 2 ทา่ น และ 3) ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จำนวน 3 ท่าน โดยการเลือก แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-Structure) เรื่อง แนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนือ้ หา (Content Analysis) โดย การวิเคราะห์และสังเคราะห์สาระสำคัญที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 ประกอบด้วย 1) การสื่อสารระหว่างองค์การ โดยใช้การสื่อสารแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ 2) วัตถุประสงค์ของนโยบาย มีความชัดเจนและเข้าใจ ตรงกันกับแนวทางของนโยบายที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ 3) ลักษณะแนวทางการนำนโยบายไปปฏิบัติ มี กระบวนการดำเนินงานหรือแนวทางในการดำเนินการที่ชัดเจนหรือเป็นระบบตามความเหมาะสมบริบทของ สถานศึกษา 4) ความร่วมมือของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติของหน่วยงานต้นสังกัดกับองค์การที่นำนโยบายไป ปฏิบัติ และ 5) ทรัพยากรและงบประมาณ มคี วามเพียงพอและได้รบั การสนบั สนนุ จากหน่วยงานอื่น คำสำคญั : การนำนโยบายไปสู่การปฏบิ ัติ; นโยบายการอ่านออกเขียนได้

2 บทนำ ปัญหาการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้ของเด็กไทยถือว่าเป็นปัญหาที่สำคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงวิกฤต คุณภาพการศึกษาของประเทศ ซึ่งปัจจุบันยังพบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหานี้เป็นจำนวนมาก และส่งผลถึงการ เรียนรู้ในวิชาอื่นๆ จึงนับได้ว่าการอ่านออกเขียนได้เป็นปัญหาที่ต้องคิด แก้ไข และลงมือทำอย่างเร่งด่วน กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศนโยบายสำหรับปี 2558 ใหเ้ ป็น “ปแี ห่งการปลอดนักเรยี นอ่านไม่ออกเขียน ไม่ได้” ที่กำหนดจุดมุ่งหมายสำคัญในการพัฒนาการศึกษาของชาติ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักค่านิยม 12 ประการ และมีทักษะที่จำเป็นสำหรับ ศตวรรษที่ 21 เพราะปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้มีมาอย่างต่อเนื่อง และภาษาไทยเป็นภาษาหลักทำให้ ปัญหาการการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้จึงเป็นอุปสรรคที่สำคัญยิ่งที่จะทำให้เด็กไม่มีการพัฒนาตนเอง การที่จะ เรียนวิชาอื่นย่อมเกิดปัญหา สิ่งแรกที่จะต้องทำคือ ทำให้เด็กทุกคนที่อยู่ในระบบการศึกษาสามารถอ่านออก เขียนได้ มีความเข้าใจในสิ่งที่อ่านและเขียน เพราะนี่คือหัวใจสำคัญของการศึกษาในระดับขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการจึงมหี น้าทีใ่ นการจดั การศกึ ษาเพื่อส่งเสริม สนับสนุน เร่งรัด และพัฒนาการจัดการศึกษา ของทกุ ภาคส่วนท่ีเก่ยี วขอ้ งโดยจะตอ้ งเน้นคุณภาพของผู้เรียนเป็นสำคัญ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2561) รัฐบาลได้กำหนดการแก้ไขปัญหาการอ่านและเขียนเป็นนโยบายในระยะเร่งด่วน เน้นปรับปรุงวิธีการ จัดการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และได้กำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ขึ้นไปต้องอ่านคล่องเขียนคล่อง ตามยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ 6 จุดเน้น โดยเฉพาะจุดเน้นด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ข้อที่ 2 ผู้เรียนมี สมรรถนะที่สำคัญสู่มาตรฐานสากล ข้อย่อย 2.2 ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านออกเขียนได้ ข้อย่อย 2.3 ผเู้ รียนตง้ั แตช่ น้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 ขึ้นไป อ่านคลอ่ งเขยี นคล่อง โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจะต้องมีการ จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ตั้งแต่วัยเริ่มต้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการ เรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น และใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งนับเป็นการพัฒนาคุณลักษณะ ผู้เรียนที่สำคัญอย่างหนึ่ง และเป็นการวางรากฐานที่มั่นคงของการศึกษาชาติต่อไป (สำนักทดสอบทาง การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2562) การอ่านและการรู้หนังสือ (Reading & Literacy) เป็นทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเรียนรู้และ การพัฒนาชีวิตสู่ความสำเรจ็ การอ่านคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิด การคิดวิเคราะห์อย่างมวี ิจารณญาณ สามารถแยกแยะและนำมาข้อมูลประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชนต์ ่อชีวคิ การถ่ายทอดสื่อสารความรู้ ความคดิ ให้ผู้อืน่ ทราบและเข้าใจได้ เปน็ ทกั ษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 สำนักงาน เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 มหี นา้ ทจ่ี ัดการศึกษาท่ตี ้องพัฒนาในการอา่ นออก เขียนได้ อ่าน คลอ่ ง เขียนคลอ่ ง สง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะหแ์ ละสื่อสารใหแ้ ก่ผ้เู รียน เพ่ือให้สามารถเรยี นรูใ้ นระดบั ท่ีซับซ้อนเม่ือ เติบใหญ่ การอ่านออกเขียนได้ และสื่อสารเข้าใจเพื่อให้ได้เป็นพื้นฐานที่สำคัญอันดับต้นๆของก ารพัฒนาขีด ความสามารถของผเู้ รียน การพัฒนาความสามารถในการอา่ น นอกจากครูจะต้องมีองค์ความรู้เข้าใจทักษะและ กระบวนการพัฒนาความสามารถในการอ่านของผู้เรียน ทั้งนักเรียนปกติและนักเรียนที่ต้องได้รับการเอาใจใส่ เป็นพิเศษ ครูต้องมีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคลในทุกด้านของผู้เรียนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของผู้เรียนให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ จังหวัดราชบุรี มีภูมิประเทศที่ติดชายแดนพม่า ทำให้มีการหลั่งไหล อพยพย้ายถ่นิ ของชนเผา่ ด้านชายแดน และนำบุตรหลานท่ีอยู่ในวัยเรียนเข้ามาเรียนในพื้นท่ีใกลเ้ คียงกับแหล่งท่ี ผู้ปกครองประกอบอาชีพ และยังมีเด็กไทยอีกบางส่วนประสบปัญหา เช่น ครอบครัวแตกแยกไม่ได้อยู่กับบิดา

3 มารดา มีสภาพจิตใจที่เปราะบางไม่มีความพร้อมในการเรียนรู้ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการจัด การศึกษาทำให้เกิดปัญหาการอ่าน การเขียน และการสื่อสารที่จำเป็นต่อการเรียนรู้และชีวิ ตประจำวันของ ผเู้ รยี น งานวิจัยนี้ได้ศึกษา เรื่อง การนำนโยบาย “ การอ่านออกเขียนได้ ” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการนำ นโยบายไปสู่การปฏิบัตใิ นโรงเรยี นประถมศึกษา เพือ่ ให้โรงเรยี นสามารถดำเนนิ งานการจัดการศึกษาได้ตรงตาม นโยบายและประสบความสำเรจ็ ตรงตามเป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย เพื่อศึกษาแนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศกึ ษา ระเบยี บวิธวี จิ ยั 1. ผ้วู จิ ัยศึกษาเอกสาร ทฤษฎี งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องกับการนำนโยบายไปสกู่ ารปฏิบัติได้สังเคราะห์ตัวแบบ เชงิ ทฤษฎีของการนำนโยบายไปปฏบิ ัติ ไดร้ วบรวมเนอ้ื หาเชงิ ทฤษฎีเกย่ี วกบั ตวั แบบการนำนโยบายไปปฏิบัติซึ่ง มีหลายปัจจัย ได้แก่ ทฤษฎีของ Van Meter and Van Horn (1975) และตัวแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ของ Edward (1980) ซ่ึงผูว้ ิจัยไดส้ ังเคราะหท์ ั้งสองทฤษฎีได้ปัจจัยของตัวแบบเชิงทฤษฎีของการนำนโยบายไป ปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) การส่อื สารระหวา่ งองคก์ าร 2) วัตถุประสงคข์ องนโยบาย 3) ลักษณะแนวทางการนำนโยบายไป ปฏบิ ัติ 4) ความรว่ มมอื ของผู้ทน่ี ำนโยบายไปปฏิบตั ิ และ 5) ทรัพยากรและงบประมาณ 2. การสร้างเครื่องมือวิจัย โดยการสร้างเครื่องมือที่เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-Structure) เร่ือง แนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสูก่ ารปฏิบตั ขิ องโรงเรียนประถมศึกษา โดยสร้างแนว คำถามแบบกวา้ งๆ เพื่อเป็นแนวคำถามไว้ล่วงหนา้ ซึง่ ข้อคำถามตา่ งๆ สามารถยดื หยุ่นได้ ไม่กำหนดตายตัวมีทั้ง คำถามปลายเปิดและคำถามปลายปิดเพื่อให้ผู้ตอบได้แสดงความคิดเห็น และเพื่อให้ได้ข้อมูลมีขั้นตอนในการ สร้างตามลำดบั ดงั นี้ 2.1 การศกึ ษาเอกสาร ทฤษฎี งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้องกับการนำนโยบายไปสู่การปฏิบตั เิ พื่อใช้เปน็ กรอบใน การสรา้ งแบบสัมภาษณ์แบบก่งึ โครงสร้าง 2.2 ให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของแบบสัมภาษณ์แบบก่ึ ง โครงสร้าง 3. นำแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เรื่อง แนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การ ปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา ไปสัมภาษณ์กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ รอง ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จำนวน 1 คน และ ศึกษานิเทศก์ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จำนวน 2 คน และผู้บริหารสถานศึกษา ระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 1 จำนวน 3 คน โดยการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) 4. นำขอ้ มลู ท่รี วบรวมจากข้ันตอนท่ี 3 มาวเิ คราะห์เชงิ เนอื้ หา เพอ่ื ให้ได้แนวทางการนำนโยบาย “การอ่าน ออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรีเขต 1

4 ผลการวจิ ัย การวิจัยเรื่อง การนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 มีวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั เพ่ือเพื่อ ศึกษาแนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา เ พื่อให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลตามปัจจัยของตัวแบบเชิงทฤษฎีของการนำ นโยบายไปปฏบิ ัติ โดยจำแนกตามปัจจัยทง้ั 5 ปจั จยั ดังน้ี 1. การสื่อสารระหว่างองค์การ แนวทางการนำนโยบาย “การอ่านออกเขียนได้” ไปสู่การปฏิบตั ิของ โรงเรียนประถมศึกษาได้ใช้การสื่อสาร 2 แบบ คือ 1) การสื่อสารแบบเป็นทางการ คือ การทำหนังสือราชการ แจ้งสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาให้ทราบถึงนโยบายการอ่านออกเขียนได้ที่ได้รับมาจากหน่วยงานต้น สังกัด คือ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ การประชุมอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบ นโยบายอ่านออกเขียนได้ เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของนโยบายอ่านออกเขียนได้ การประชุมอย่างเป็น ทางการกับผู้อำนวยการสถานศึกษาท้งั หมดที่อย่ใู นสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 และผู้อำนวยการสถานศึกษาได้มีการจัดประชุมครูทั้งโรงเรียนในการประชุมประจำเดือนเพื่อชี้แจงเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ กิจกรรม งบประมาณ และการนิเทศติดตามวัดผลประเมินผลของนโยบายการอ่านออกเขียนได้ นอกจากนี้เพื่อให้การสื่อสารมีความชัดเจนและความเข้าใจตรงกัน ทางสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้มี การ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างเครื่องมือประเมินการอ่านการเขียนและจัดทำฐานข้อมูลตามนโยบายเพื่อ พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ โดยจัดการประชุมคณะกรรมการ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายอ่านออกเขียนได้ และ ครูผู้สอนในสถานศึกษาต่างๆ และ 2) การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ โดยใช้การสนทนาส่วนตัวหรือการแจ้ง แนวทางการปฏิบัติผ่านทางโซเชียลมีเดียล เช่น กลุ่มไลน์ของโรงเรียน กลุ่มไลน์ของสายชั้น กลุ่มไลน์ของ ผู้บริหาร กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ เพื่อสร้างความตระหนักและร่วมกันหาแนวทางเพื่อให้ นโยบายนำไปปฏิบัติให้ประสบผลสำเรจ็ 2. วัตถุประสงค์ของนโยบาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาได้มีความชัดเจนและ เข้าใจตรงกันถึงวัตถุประสงค์ของนโยบายการอ่านออกเขียนได้ว่า เป็นนโยบายหลักจากสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ต้องการให้นักเรียนทุกคน โดยเฉพาะผู้เรียนในระดับ ประถมศึกษาสามารถอ่านออกเขียนได้ และต้องการให้ทุกสถานศึกษานำนโยบายการอ่านออกเขียนได้ ดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ และทางสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้ความสำคัญกับนโยบายนี้โดยให้ นโยบายอ่านออกเขียนได้เป็นนโยบายหลักข้อที่ 1 ใน 14 ข้อของทางเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เพื่อสร้างความตระหนักให้กับสถานศึกษา และครูเห็นถึงความสำคัญของนโยบายการอ่านออกเขียนได้ เป็นการพฒั นาคณุ ภาพทางการศึกษา 3. ลักษณะแนวทางขององค์การที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ได้กล่าวว่า ลักษณะขององค์การที่จะนำ นโยบายการอ่านออกเขียนได้ไปปฏิบัติ มีลักษณะในรูปแบบของการนำนโยบายไปบูรณาการกบั กลุ่มสาระวิชา อื่นไดโ้ ดยพจิ ารณาความเหมาะสมจากขนาดของสถานศึกษาเปน็ หลัก เช่น สถานศึกษาขนาดใหญ่ ควรมีการจัด บุคลากรให้เพียงพอจัดตามระดับช่วงชั้น และควรมีการแต่งตั้งครูผู้รับผิดชอบนโยบายการอ่านออกเขียนได้ โดยเฉพาะเพื่อการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาขนาดกลาง ควรมีการนำโนบาย การอ่านออกเขียนได้ไปปฏบิ ัติโดยให้ครูในแตล่ ะระดบั สายชนั้ มีการนำกิจกรรมที่เก่ยี วข้องกับการอา่ นออกเขียน

5 ได้ไปบูรณาการกับทุกรายวิชา และสถานศึกษาขนาดเล็กหากมีการจัดการเรียนการสอนแบบควบชั้นควรนำ นโยบายการอ่านออกเขียนได้ไปบูรณาการกับรายวิชาอื่นด้วย นอกจากนี้มีการแลกเปลี่ยนความรู้หรือแนว ทางการนำนโยบายไปปฏบิ ัตทิ ปี่ ระสบผลสำเรจ็ มาขยายองค์ความรู้ไปถงึ สถานศกึ ษาอืน่ ท่ียังไม่ประสบผลสำเร็จ ในการนำนโยบายการอ่านออกเขียนได้ไปปฏิบัติ และสถานศึกษามีแนวทางในการแปลงนโยบายไปสู่การ ดำเนินงาน เช่น การจัดกิจกรรมที่ส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้ของนักเรยี นในแต่ละระดับชั้นและเป็นกิจกรรม ที่ไม่เป็นการเพิ่มภาระงานให้กับครู นอกจากนี้มีการจัดทำโครงการที่รองรับกับนโยบายการอ่านออกเขียนได้ เพือ่ กำหนดแนวทางในการไปฏิบตั ิไดช้ ัดเจน 4. ความร่วมมือของผู้ที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ได้มีการควบคุม กำกับ ดูแล ศึกษานิเทศก์ โดยทาง สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาจะเป็นผู้ให้ข้อคดิ เหน็ หรือเสนอแนะแนวทางในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติของ สถานศึกษา การนิเทศ ติดตาม และการประเมินผลในแต่ละสถานศึกษาเพื่อศึกษาแนวทางหรือกิจกรรมที่ สถานศึกษาทนี่ ำไปปฏิบัตวิ ่าบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ตามโครงการท่ีวางแผนไวม้ ากน้อยเพียงใด สถานศกึ ษา ได้ ให้ความรว่ มมือหรือการสนับสนุนในการนำนโยบายการอา่ นออกเขยี นได้ไปปฏิบัติ โดยการมสี ่วนร่วมในการหา แนวทางหรือการจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกับนโยบายอ่านออกเขียนได้ โดยการมอบหมายงานในวาระการประชุม ของสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้ การให้คำแนะนำ ข้อเสนอแนะแก่ครูผู้ที่นำนโยบายไปปฏิบัติ โดยตรง 5. ทรัพยากรและงบประมาณ ได้มีการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณของนโยบายการอ่านออก เขียนได้ จากงบประมาณที่ได้จากหน่วยงานต้นสังกัดคือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ หน่วยงานอื่นที่ได้รับการสนับสนุน เช่น สถาบันอุดมศึกษาในเขตพื้นที่บริการ และสภากาชาดไทย โดยนำ ทรัพยากรและงบประมาณมาบรหิ ารจดั การ โดยทางสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาไดม้ อบหมายให้ศึกษานิเทศก์ ดำเนินงานในการสนับสนุนทรพั ยากรที่ทางสถานศึกษาต้องการเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ ผู้อำนวยการ สถานศึกษา เมือ่ ไดร้ บั การจดั สรรทรัพยากรและงบประมาณของนโยบายการอา่ นออกเขียนได้ นำมาจดั ผลิตส่ือ การสอน เทคโนโลยี และทรัพยากรที่จำเป็นในโครงการท่ีสถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อรองรับกับนโยบายการอ่าน ออกเขียนได้ นอกจากนี้ทางสถานศึกษายังมีหน่วยงานอื่นที่สนับสนุนในการจัดสรรงบประมาณ เช่น สมาคม ผู้ปกครอง ชุมชน วัด โรงเรียน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล องค์การบริหารส่วน และสถานศึกษาได้มีการจัดสรร ทรัพยากรครเู อกภาษาไทยโดยตรงเพอ่ื การพัฒนาการอา่ นออกเขียนได้ของนกั เรยี นให้ประสบผลสำเร็จ อภิปรายผล การวจิ ยั ในคร้ังนม้ี ีประเด็นท่ีสำคัญท่ีได้จากการศึกษาการนำนโยบายการอ่านออกเขยี นได้ไปสู่การปฏิบัติ ของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 และสามารถนำมา อภปิ รายผลตามปจั จยั ของตวั แบบเชงิ ทฤษฎขี องการนำนโยบายไปปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. การสื่อสารระหว่างองค์การ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในการนำนโยบายไปปฏิบัติรหะว่างผู้ กำหนดนโยบายกับองคฺการหรือหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบในการปฏิบัติ ซึ่งอาจใช้วิธีการสื่อสารได้ 2 แบบ คือ 1) การสือ่ สารอย่างเป็นทางการ เชน่ การแจ้งนโยบายโดยผ่านการทำหนงั สือช้แี จง การจัดการประชุมหรือ อบรมเชิงปฏิบัติการ และ 2) การสื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคุยแบบส่วนตัว การชี้แจงผ่านทาง เทคโนโลยี โดยการสื่อสารทั้งสองแบบสามารถยืดหยุ่นได้ตามเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้การประสานสามารถ ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวมเร็วเกิดความเข้าใจตรงกัน ในการนำนโยบายไปปฏิบัติได้เข้าใจ ซ่ึง สอดคล้องกับงานวิจัยของ วรเดช จันทรศร (2554) ที่ได้กล่าวไว้ว่าปัจจัยที่ทำให้การนำนโยบายไปปฏิบัติจะ สำเร็จได้ คือ การติดต่อสื่อสาร ระหว่างผู้กำหนดนโยบายกับองค์การหรือหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบในการ

6 ปฏิบัติ และระหว่างองคก์ ารและหนว่ ยงานต่างๆดว้ ยกันเองจะต้องมีการส่อื สารทีถ่ ูกตอ้ ง รวดเรว็ ต่อเน่อื งและมี ประสิทธิภาพ สามารถเปิดโอกาสให้มีการสร้างใยความสัมพันธ์ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน และอื่นๆจะมีส่วน สำคัญในการกำหนดความสำเร็จหรือความลม้ เหลวของนโยบาย 2. วัตถุประสงค์ของนโยบาย คือ จุดหมายที่คาดหวังให้นโยบายนั้นประสบความสำเร็จหรือบรรลุผล และแนวทางของนโยบายหมายถึง วถิ ที างที่จะทำให้บรรลุในจุดประสงค์ของนโยบายนั้นๆ ซง่ึ ผูก้ ำหนดนโยบาย กับองค์การหรือหน่วยงานต่างๆท่ีจะต้องนำนโยบายไปปฏิบัติควรมีความเข้าใจในวตั ถุประสงค์ของนโยบาย ซ่ึง สอดคล้องกับงานวิจัยของกฤษณ์ รักชาติเจริญ (2559) ได้กล่าวไว้ว่า วัตถุประสงค์ของนโยบายต้องมีความ ชัดเจน และมีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่สามารถชี้วัดถึงความสำเร็จหรือความ ลม้ เหลวของนโยบายได้ ถ้าการกำหนดวตั ถุประสงค์ไมช่ ดั เจนก็จะเป็นปัญหาและอปุ สรรคในการนำนโยบายไป ปฏิบัติ เพราะฉะนั้นแล้วการที่องค์การ หน่วยงานต่างๆได้จะเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของนโยบายได้นั้นได้ วตั ถุประสงคน์ โยบายต้องมีความชัดเจนและเขา้ ใจตรงกันเพ่ือนำแนวทางการนำนโยบายไปปฏบิ ัติรลุให้ประสบ ผลสำเร็จหรือบรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบายนั้นเอง และสอดคล้องกับงานวิจัยรัชยา รัตนะถาวร (2558) โดยกล่าวว่าความชัดเจนของนโยบานเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดเพราะนโยบายที่ชัดเจนจะสามารถที่จะถ่ายทอด ให้ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติได้เกิดความเข้าใจตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายโดยมีแนวทางการดำเนินงานที่มี ประสทิ ธภิ าพ 3. ลักษณะแนวทางขององค์การที่นำนโยบายไปปฏิบตั ิ จะต้องมีกระบวนการดำเนินงานหรือแนวทาง ในการดำเนนิ การทชี่ ดั เจนหรือเป็นระบบ โดยนโยบายจากตน้ สังกดั จะต้องมีการมอบหมายงานหรือการกำหนด กิจกรรมที่จะสามารถทำให้นโยบายนั้นเมื่อนำไปปฏิบัติเกิดรูปธรรมที่ชัดเจน แต่การดำเนินงานด้วย กระบวนการนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละสถานศึกษาจะพิจารณาหรือเปิดโอกาสให้สถานศึกษาได้สามารถแสวงหา แนวทางหรอื ทางเลอื กหรอื วธิ ีการในการดำเนินงานตามความเหมาะสมของบริบทของแต่ละสถานศกึ ษา ซง่ึ การ ดำเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับสมบัติ ธำรงธัญวงศ์ (2563) ที่กล่าวถึงการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ให้ ประสบผลสำเร็จว่า หากได้มีการศึกษารูปแบบ แนวทาง วิธีการ ขั้นตอนหรือระบบก็จะนำองค์การหรือ หน่วยงานให้ประสบผลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงคข์ องนโยบายท่ตี งั้ ไว้ 4. ความร่วมมือของผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ การที่จะให้นโยบายนั้นประสบผลสำเร็จหรือบรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ปจั จัยที่สำคัญคือการมีสว่ นรว่ มหรือการใหค้ วามร่วมมือระหวา่ งของหน่วยงานต้นสงั กัดกบั องค์การที่นำนโยบายไปปฏิบัติ โดยหน่วยงานและองค์การจะต้องเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมตั้งแต่การ กำหนดนโยบายไปจนถึงการนำนโยบายไปปฏบิ ัติ จากการวิเคราะหผ์ ลข้างต้นจะเหน็ ว่าการท่ีจะทำให้นโยบาย ไปสู่ความสำเร็จได้นั้นเกิดจากการทำงานเป็นทีมของบุคลากรสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการ สถานศึกษา และครูที่จะต้องมีการรวมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการกำหนดแนวทางในการนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน มีการให้คำแนะนำ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล เพื่อนำผล สะท้อนของการปฏิบัติตามนโยบายมาแก้ไขปรับปรุงให้มีคประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ จินดารัตน์ โพธิ์นอก (2558) ที่ได้กล่าวว่าการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน จะทำให้ประชาชนในพื้นที่กล้าที่จะ แสดงความเห็นและบอกเล่าการแก้ปัญหาที่ต้องการแก้ไข จึงสามารถนำนโยบายไปปฏิบัติได้ตรงกับปัญหาที่ แท้จริงและยังพบว่าการทำงานเป็นทีมและมีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุก ฝ่ายตั้งแต่กระบวนการจัดทำ ธรรมนูญสุขภาพประจำอำเภอสูงเม่นจนถึงการดำเนินงานตามโครงการทำให้ปร ะชาชนรู้สึกถึงความเป็น เจ้าของและสามารถนำนโยบายไปปฏิบัตใิ หป้ ระสบความสำเร็จอยา่ งเป็นรปู ธรรม 5. ทรัพยากรหรืองบประมาณ เป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายไป ปฏิบัติ คือ งบประมาณที่มาในรูปแบบของเงินและทรัพยากร ประกอบด้วย บุคลากรที่จะนำแนวทางหรือ

7 กิจกรรมของนโยบายไปปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีสื่อ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการทำใหแ้ นวทางของนโยบาย ดำเนนิ การได้ประสบผลสำเรจ็ ทรัพยากรหรืองบประมาณจะต้องมีปรมิ าณท่ีเพียงพอ ดังทซี่ าบาร์เทียร์ และแม สมาเนียน (Sabatier and Mazmanian, 1980) ได้กล่าวว่านโยบายจะประสบความสำเร็จได้จะต้องได้รับการ สนับสนุนด้านงบประมาณอย่างเพียงพอและทรัพยากรนับว่าเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นต่อการนำนโยบายไป ปฏิบัติ และสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ ปิยนุช ลอยเลิศหล้า (2561) การนำนโยบายไปสู่การปฏิบตั ิจะต้องมี ทรัพยากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ รวมถึงงบประมาณ เวลา และบุคลากร เพราะถ้า ทรัพยากรมีไม่เพยี งพอก็อาจสง่ ผลให้การดำเนินงานนน้ั ประสบความสำเร็จไดย้ าก ขอ้ เสนอแนะการนำนโยบายไปปฏิบตั ิ 1. การสื่อสารระหว่างองค์การ ทางสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษานิเทศก์ และ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ควรมีการเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร โดยอาจใช้กระบวนการสื่อสารเป็นแบบ two–way เพอ่ื การตดิ ตามผลและใหข้ ้อมูลย้อนกลับ (follow–up and feed back) และควรทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้รับสารในการนำนโยบายไปปฏิบัติเกิดความชัดเจนในขอ้ ความ ไม่เกิดความคลุมเครือในการสื่อสารซงึ่ อาจจะสง่ ผลต่อการนำนโยบายไปปฏบิ ตั ิ 2. วัตถุประสงค์ของนโยบาย ทางต้นสังกัดหรือผู้ที่กำหนดนโยบายควรมีการกำหนด วิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนในการนำนโยบายไปสู่ปฏิบัติ หรือมีแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนและมีความ ยืดหยุ่นเพื่อให้สถานศกึ ษาเลอื กแนวทางในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและบรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบายให้ มากท่ีสุด 3. สถานศึกษาควรมีการจัดทำแผนการประเมินผลของนโยบายการอ่านออกเขียนได้ เพื่อ นำผลการประเมนิ นโยบายมากำหนดกลยุทธ์การนำนโยบายไปปฏบิ ัติท่ีสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์ของนโยบาย อย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. การมีส่งิ จงู ใจสำหรบั ผู้นำนโยบายไปปฏบิ ตั ิ เพ่อื เปน็ การกระตุ้นใหผ้ ู้ปฏบิ ตั เิ กดิ แรงจูงใจ มีความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้สำเร็จ เช่น การพิจารณาการปฏิบัติงานเพื่อการเลื่อนขั้นเงินเดือนเป็นพิเศษ การ เลือ่ นตำแหนง่ เพอ่ื สง่ เสริมใหก้ ารนำนโยบายไปปฏบิ ัตเิ กิดผลสำเร็จมากย่งิ ขึ้น เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). วิเคราะห์นโยบายการตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ 2561. (ออนไลน์). จาก http://www.reo3.moe.go.th กฤษณ์ รักชาติเจริญและคณะ. (2559). ปัจจัยชี้วัดความสำเร็จในการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติสู่ การปฏบิ ตั ิ. วารสารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ, 15(2), 1-16. จนิ ดารัตน์ โพธ์นิ อก. (2558). การนำนโยบายสาธารณะเพื่อสขุ ภาพไปปฏบิ ัติกรณีธรรมนูญสุขภาพเฉพาะพื้นท่ี. ค้นควา้ อสิ ระของรฐั ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาบรหิ ารรฐั กจิ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

8 ปิยนุช ลอยเลิศหล้า. (2561). การนำนโยบายสู่การปฏิบัติของโณงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหาร การศกึ ษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. รัชยา รัตนะถาวร. (2558). รูปแบบการนำนโยบายส่งเสริมสุขภาพไปปฏิบัติในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. วารสารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยอสี เทริ ์นเอเชยี ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 5(3), 281-293. วรเดช จันทศร. (2554). ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. 497 หน้า. กรุงเทพฯ: สมาคมนักวิจัย มหาวิทยาลัยไทย. สมบัติ ธำรงวงศ์. (2563). นโยบายสาธารณะ แนวคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2562). รายงานประจำปี งบประมาณ 2562. ออนไลน)์ . จาก https://bet.obec.go.th. Edward, George C. ( 1980) . Implementing Pubic Policy. Washington, D.C. : Congressional Quarterly Press. Sabatier, P. and D. Mazmanian. (1980). The Condition of Effective Implementation: A Guide to Accomplishing Policy Objective, Policy Analysis. Van Meter,& Van Horn. (1975). The policy implementation process: A conceptual framework. Administration and Society, 6(5), 445-486.

9 ชื่อ-สกลุ ประวตั ิผู้วิจัย วนั เดือน ปเี กิด ภมู ิลำเนา นางสาวธัญลักษณ์ มณีโชติ สถานทอี่ ย่ปู ัจจบุ นั 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2533 อำเภอเมือง จังหวดั ราชบรุ ี ตำแหน่งหน้าท่ี บา้ นเลขที่ 595/57 หมู่ 3 ตำบลเจดียห์ ัก อำเภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี 70000 สถานทท่ี ำงานปัจจบุ นั หัวหน้าฝา่ ยวิชาการระดบั ประถมศึกษา โรงเรียนวัดนำ้ พุ (สำนักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) ประวตั ิการศึกษา จงั หวัดราชบรุ ี พ.ศ. 2551 โรงเรียนวดั น้ำพุ (สำนักงานสลากกนิ แบง่ สงเคราะห์ 54) พ.ศ. 2557 หมู่ 2 ตำบลน้ำพุ อำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี 70000 พ.ศ. 2560 มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นเบญจมราชูทศิ ราชบรุ ี การศึกษาบัณฑติ (วิทยาศาสตร์ทวั่ ไป) มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต (วทิ ยาการการประเมนิ ) มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ

10 โครงการการนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบตั ิในสถานศกึ ษาของโรงเรียน สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร สวพร บญุ ญผลานนั ท์1, วิสทุ ธิ์ วจิ ติ รพชั ราภรณ์2 และอัจฉรา นยิ มาภา3 Swaporn Boonyaplanun1, Wisut Wichitputchraporn2 and Achara Niyamabha3 1นิสติ หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 0641699951 2อาจารย์ประจำหลักสตู รศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0636539651 3อาจารย์ประจำหลักสตู รศึกษาศาสตรดุษฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0984532945 บทคดั ยอ่ การวิจัยนี้มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร เพื่อเสนอแนวทางการดำเนินการนำนโยบายการ จัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สู่การปฏิบัติใน สถานศกึ ษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร ซ่ึงเป็นงานวิจัยเชิง ปริมาณ โดยเก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถามจากกลุ่มตวั อยา่ ง จำนวน 41 คน ผลการวิจัยพบวา่ การนำนโยบาย “การจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เม่ือ จำแนกตามรายดา้ นพบวา่ ด้านมาตรฐานและวตั ถปุ ระสงค์ของนโยบาย อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ดา้ น การสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสริมแรงเพื่อให้การ จัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้านลักษณะหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านทรัพยากรนโยบายและด้าน เงอ่ื นไขทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ตามลำดับ และจากสภาพการนำนโยบายสู่การปฏิบตั ิในสถานศึกษา นไ้ี ดน้ ำไปสู่แนวทางการดำเนินการนำนโยบายการจดั การศึกษาการจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร คำสำคัญ: การนำนโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ; การจัดการศึกษา; โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

11 บทนำ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ได้กำหนดเรื่องการศึกษาให้เป็นหน้าท่ี ของรัฐในหมวด 5 มาตรา 54 สรุปสาระสำคัญว่า รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบ สองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และให้เด็กเล็กได้รับ การดูแลและพฒั นาก่อนเข้ารบั การศกึ ษา เพอ่ื พัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคมและสติปญั ญาให้สมกับ วัย และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการกำกับ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหจ้ ดั การศึกษาอย่างมีคณุ ภาพและได้มาตรฐานสากล ด้วยสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ สถานศึกษาต่าง ๆ ทั่วโลกประกาศปิดสถานศึกษา รวมถึงประเทศไทยที่ได้รับผลกระทบต่อระบบการจัดการ เรียนการสอนในทุกระดับชั้น ขณะที่รัฐบาลได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวัง เพื่อป้องกันการ แพร่กระจายของเชื่อไวรัส อาทิ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในพื้นที่ทั่วราชอาณาจักร โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 กำหนดให้มีการเว้นระยะห่างทางสังคม ดังน้นั การจดั การศึกษาจงึ จำเป็นจะต้องดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกลหรอื ด้วยวธิ ีอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เทื้อน ทองแก้ว (2563) ได้กล่าวว่า ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ส่งผล กระทบต่อเนื่องอยา่ งกวา้ งขวางและเกดิ การปรบั เปลย่ี นระบบการจดั การศึกษาทีเ่ ดน่ ชัดท่ีสุด คอื การเรียนการ สอนทีต่ ้องดำเนินงานต่อมิให้หยดุ ชะงัก เพราะจะสง่ ผลต่อคุณภาพของนักเรียน นนั่ กค็ อื คุณภาพของประชากร ในอนาคต จึงมีการปรับเปลี่ยนการสอนในหลายรูปแบบ เกิดนวัตกรรมทางความคิด มีรูปแบบใหม่ทางการ เรียนการสอน จากนักเรียนไม่สามารถมาโรงเรียนได้ แต่สามารถเรียนได้ จึงเกิดแนวคิดทางการเรียนการสอน ทางไกลโดยใช้สือ่ ออนไลนข์ ึน้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมตัวให้พร้อมในการจดั การเรียนการสอนรูปแบบใหม่ท่ีเปลี่ยนแปลงไป และมีความสอดคล้องกับมาตรการป้องกันการระบาดของโรค กล่าวคือ ผู้บริหารและครูจึงมีบทบาทสำคัญ อย่างยิ่งที่ต้องส่งเสริมให้เด็กนักเรียนในทุกระดับ ได้มีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยการนำรูปแบบ การเรียนการสอนที่มีการจัดทำสื่อและนำเครื่องมือต่าง ๆ ที่ทันสมัยมาใช้และสามารถถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้ เข้าใจและมีความรู้เข้าถึงได้ง่ายขึ้นในรูปแบบการเรียนรู้แบบออนไลน์ ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาท่ี เปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนแบบเดิมที่นั่งเรียนในชั้นเรียน แต่เป็นการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี ซึ่งจะครอบคลุม วิธีการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายรปู แบบ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนในสภาพการณ์ดังกลา่ วมีประสิทธภิ าพ สูงสุด จงึ ปฏเิ สธไม่ไดท้ จี่ ะนำเทคโนโลยเี ขา้ มามีบทบาทที่สำคัญตอ่ การจดั การเรยี นการสอน โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2564) ได้กำหนด รปู แบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้หลกั 5 On คอื 1) การเรียนในโรงเรียน (On-Site) 2) การเรียนผา่ นชอ่ งทางหลกั (On-Air) และ 3) การ เรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (Online) 4) การเรียนผ่านแอปพลเิ คชัน (On-Demand) และ 5) การเรียนที่บา้ นโดย หนงั สือเรียนหรอื แบบฝึกหัด (On-Hand) การจดั การเรียนการสอนรปู แบบออนไลน์ของไทยภายใตส้ ถานการณ์

12 การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) จึงมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ของการศึกษาของไทย อีกทั้งยังเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสดังกล่าวได้เป็นอย่างดี และเป็นความท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษาในการปรับเปลี่ยนแนวความคิดและปรับตัวเพื่อดำรงไว้ซึ่ง ศักยภาพในการเรียนรขู้ องผ้เู รียน ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาการนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ของผู้บริหารสถานศึกษาในการปรับเปลี่ยน บทบาท หน้าที่ ไปสูว่ ถิ กี ารเรียนรู้ใหม่ที่สอดคลอ้ งกบั ความปกตใิ หม่ เพื่อพัฒนานักเรียนให้ไดร้ บั การศึกษาอย่าง มีประสทิ ธิภาพและยงั่ ยนื ภายใต้สถานการณ์ท่มี ีการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร 2. เพื่อเสนอแนวทางการดำเนินการนำนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สกู่ ารปฏิบตั ิในสถานศกึ ษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร กรอบแนวคิดงานวิจัย ตัวแบบการนำนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิ ผลการปฏิบัติตามนโยบาย ของ Van Meter & Van Horn (1975) การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ ประกอบด้วย 1. มาตรฐานและวัตถปุ ระสงคข์ องนโยบาย การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั 2. ทรัพยากรนโยบาย โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใชห้ ลกั 3. การส่อื สารระหวา่ งองคก์ ารและกจิ กรรม 5 ON คือ On-Site, On-Air, Online, เสริมแรง 4. ลกั ษณะหนว่ ยงานที่นำนโยบายไปปฏิบตั ิ On-Demand และ On-Hand ของ 5. เง่ือนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2564)

13 ขอบเขตการศกึ ษา 1) ขอบเขตด้านเน้ือหา ผู้วิจัยได้เลือกใช้ตัวแบบกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ (A Model of the Policy Implementation Process) ของ Van Meter & Van Horn โดยให้ความสนใจความสมั พันธ์ของปัจจยั ท่มี ผี ล ต่อการปฏิบัติตามนโยบาย ประกอบด้วย ตัวแปรภายนอก (External Variables) 2 ตัวแปร ได้แก่ มาตรฐาน และวัตถปุ ระสงค์ของนโยบายและทรัพยากร ตัวแปรภายใน (Internal Variables) 3 ตัวแปร ไดแ้ ก่ การสอ่ื สาร ระหวา่ งองค์การและการบังคบั ใชก้ ฎหมาย ลักษณะหนว่ ยงานทีน่ ำนโยบายไปปฏิบัติ และเง่อื นไขทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง (Meter and Horn, 1975) 2) ขอบเขตด้านประชากร กลุ่มตัวอย่าง ครูโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกียรติ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานคร จำนวน 41 คน การสรา้ งเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย การดำเนินการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi- Structure) เรื่องการนำนโยบาย “การจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยมีขัน้ ตอนในการสร้างตามลำดบั ดังน้ี 1. ศึกษาเอกสาร ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 2. นำข้อมลู ทไี่ ดม้ าวเิ คราะหเ์ นอื้ หา เพอ่ื ใช้เป็นกรอบในการสรา้ งแบบสอบถาม 3. เสนอแบบสอบถามให้ครอบคลมุ ประเด็นเนอื้ หาและวัตถุประสงค์ 4. ปรบั ปรงุ แก้ไขแบบสอบถามตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัยนีเ้ ป็นแบบสอบถามและแบบสมั ภาษณ์ ดังนี้ 1. แบบสอบถามเก่ียวกับข้อมูลท่วั ไป : เพศ อายุ การศกึ ษาสูงสดุ ประสบการณใ์ นการทำงาน และวิทยฐานะ (Checklist) 2. แบบสอบถาม การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สูก่ ารปฏิบตั ิในสถานศกึ ษา (Rating scale) สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิจัย 1. สถิตพิ ้ืนฐาน ความถ่ี คา่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ยและคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน การแปลความหมายของคา่ เฉล่ียยดึ เกณฑ์ ดงั นี้ คา่ เฉลย่ี 4.50 – 5.00 กำหนดให้อยูใ่ นเกณฑ์ มากที่สดุ คา่ เฉลยี่ 3.50 – 4.49 กำหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ มาก

14 คา่ เฉลย่ี 2.50 – 3.49 กำหนดให้อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง คา่ เฉลยี่ 1.50 – 2.49 กำหนดให้อยู่ในเกณฑ์ น้อย คา่ เฉล่ีย 1.00 – 1.49 กำหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ นอ้ ยทสี่ ุด 2. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ การวิเคราะห์หาค่าความเที่ยงตรงของ แบบสอบถาม โดยคา่ ดัชนีความสอดคล้อง IOC และค่าความเช่อื มน่ั การวิเคราะหข์ ้อมลู ผู้วิจัยดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดยการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สร้างข้อสรุปใน เรื่องของแนวทางทางการนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของ ผู้ตอบแบบสอบถามและส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบตั ใิ นสถานศึกษา ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ สว่ นที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ปจั จัยสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน 41 คน จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษาสูงสดุ ประสบการณ์ในการทำงานและวทิ ยฐานะ รายละเอียดดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ข้อมลู ปจั จัยส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน (คน) ร้อยละ ขอ้ มูลปัจจยั ส่วนบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม 9 22.00 เพศ ชาย 32 78.00 41 100.00 หญิง 14 34.15 รวม 16 39.02 อายุ ตำ่ กวา่ 30 ปี 5 12.20 30-40 ปี 6 14.63 41-50 ปี 41 100.00 มากกวา่ 50 ปีขึ้นไป รวม

ตารางท่ี 1 ข้อมูลปัจจยั สว่ นบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม (ต่อ) 15 ข้อมูลปจั จยั สว่ นบคุ คลของผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน (คน) ร้อยละ 51.22 การศกึ ษาสูงสุด ปรญิ ญาตรี 21 43.90 4.88 ปรญิ ญาโท 18 100.00 53.66 ปรญิ ญาเอก 2 26.83 7.31 รวม 41 12.20 100.00 ประสบการณ์ใน ต่ำกว่า 10 ปี 22 12.19 29.27 การทำงาน 10 – 20 ปี 11 34.15 14.63 21-30 ปี 3 9.76 100.00 30 ปีขึ้นไป 5 รวม 41 วทิ ยฐานะ ครอู ตั ราจ้าง 5 ครผู ้ชู ว่ ย 12 ครู คศ.1 14 ครชู ำนาญการ 6 ครชู ำนาญการพิเศษ 4 รวม 41 จากตารางท่ี 1 พบว่า ขอ้ มูลปจั จยั ส่วนบคุ คลของผ้ตู อบแบบสอบถาม เรอ่ื งการนำนโยบาย “การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบตั ิ ในสถานศกึ ษา จำแนกได้ดังนี้ ดา้ นเพศ พบวา่ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ จำนวน 32 คน คดิ เป็นร้อยละ78.00 รองลงมาเป็น เพศชาย จำนวน 9 คดิ เป็นร้อยละ 22.00 ดา้ นอายุ พบว่าส่วนใหญอ่ ยู่ช่วงอายุ 30-40 ปี จำนวน 16 คน ค ิ ด เ ป ็ น ร ้ อ ย ล ะ 3 9 . 0 2 รองลงมา ได้แก่ ช่วงอายุต่ำกว่า 30 ปี จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 34.15 ช่วงอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.63 และช่วงอายุ 41-50 ปี จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.20 ตามลำดบั ด้านการศึกษาสูงสุด พบว่าส่วนใหญ่จบปริญญาตรี จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 51.22 รองลงมา ไดแ้ ก่ ปรญิ ญาโท จำนวน 18 คน คดิ เป็นร้อยละ 43.90 และ ปริญญาเอก จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อย ละ 4.88 ตามลำดบั ดา้ นประสบการณ์ในการทำงาน พบว่าส่วนใหญม่ ปี ระสบการณ์ ตำ่ กว่า 10 ปี จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 53.66 รองลงมา ได้แก่ 10 – 20 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 26.83 30 ปีขึ้นไป จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.20 และ 21-30 ปี จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.31 ตามลำดบั

16 และด้านวิทยฐานะ พบว่าส่วนใหญ่เป็นครู คศ.1 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 34.1 รองลงมา ได้แก่ ครูผู้ช่วย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 29.27 ครูชำนาญการ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 14.63 ครูอัตราจ้าง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 12.19 และครูชำนาญการพิเศษ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อย ละ 9.76 ตามลำดับ สว่ นที่ 2 ผลการวเิ คราะห์การนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”ส่กู ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศึกษา ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อการนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สกู่ ารปฏิบัติ ในสถานศึกษา ด้านมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านทรัพยากรนโยบาย ด้านการสื่อสารระหว่าง องค์การและกิจกรรมเสริมแรงเพื่อให้การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 อย่างไร ด้านลักษณะหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ และด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รายละเอยี ดดังตารางท่ี 2 – 7 ดงั น้ี ตารางท่ี 2 แสดงค่าเฉลยี่ ( ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของการนำนโยบาย “การจดั การศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏบิ ัติในสถานศึกษา (n=41) การนำนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ระดบั ความคดิ เหน็ ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) S.D. แปลผล ส่กู ารปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา 1. ด้านมาตรฐานและวตั ถปุ ระสงค์ของนโยบาย 4.20 0.840 มาก 2. ด้านทรัพยากรนโยบาย 3.90 0.826 มาก 3. ดา้ นการสือ่ สารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสริมแรง 3.96 0.781 มาก เพ่ือใหก้ ารจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งไร 4. ด้านลกั ษณะหนว่ ยงานทน่ี ำนโยบายไปปฏิบตั ิ 3.94 0.772 มาก 5. ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกจิ สังคมและการเมือง 3.61 0.747 มาก ค่าเฉลีย่ รวม 3.92 0.793 มาก จากตารางที่ 2 พบวา่ การนำนโยบาย “การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =3.92, S.D.=0.793) เมื่อจำแนกตามรายด้านพบว่า ด้านมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย อยู่ในระดับมาก ( =

17 4.20, S.D.= 0.840) รองลงมา ได้แก่ ด้านการสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสริมแรงเพื่อให้การจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร อยู่ในระดับมาก ( = 3.96, S.D.= 0.781) ด้านลกั ษณะหน่วยงานทนี่ ำนโยบายไปปฏบิ ัติ อยู่ในระดบั มาก ( = 3.94, S.D.= 0.772) ด้าน ทรัพยากรนโยบาย อยู่ในระดับมาก ( = 3.90, S.D.= 0.826) และด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมอื ง อยใู่ นระดับมาก ( = 3.61, S.D.= 0.747) ตามลำดับ ตารางท่ี 3 การนำนโยบาย “การจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏบิ ัติในสถานศกึ ษา ดา้ นมาตรฐานและวตั ถุประสงคข์ องนโยบาย (n=41) ด้านมาตรฐานและวัตถปุ ระสงค์ของนโยบาย 4.15 ระดบั ความคิดเหน็ 4.27 S.D. แปลผล 1. โรงเรียนจัดทำมาตรฐานและตัวช้ีวดั ในการจดั การศกึ ษา 0.823 มาก ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4.15 0.866 มาก 2. โรงเรยี นกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาระหวา่ งการจัด 4.22 การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด 4.20 0.823 มาก เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 0.851 มาก 3. โรงเรยี นจดั ประชมุ เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับเป้าหมาย 0.840 มาก ของนโยบายให้แกค่ รูและบคุ ลากรที่เก่ยี วข้อง 4. โรงเรียนกำหนดแนวทางปฏิบัตใิ นการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ค่าเฉลี่ยรวม จากตารางที่ 3 พบว่า การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ด้านมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของ นโยบาย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.20, S.D.=0.840) โดยอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณา รายละเอียดในแต่ละข้อ พบว่า โรงเรียนกำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหาระหว่างการจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( = 4.27, S.D.= 0.866) อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนกำหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( = 4.22, S.D.= 0.851) และโรงเรียนจัดทำมาตรฐานและตัวชี้วัดในการจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนจัดประชุมเพื่อสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายของนโยบายให้แกค่ รูและบุคลากรที่เกีย่ วข้อง อยู่ในระดับที่เท่ากัน ( = 4.15, S.D.= 0.823)

18 สรุปโรงเรียนเห็นความสำคัญของมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย โดยมีการกำหนด ทางเลอื กในการแก้ปัญหาระหว่างการจดั การจัดการศึกษา อกี ท้งั ได้กำหนดแนวทางปฏิบัติท่เี หมาะสม รวมถึงมี การจัดทำมาตรฐานและตัวชี้วดั ในการจัดการศึกษา และจัดประชมุ เพือ่ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายของ นโยบายใหแ้ กค่ รแู ละบคุ ลากรที่เกีย่ วข้องเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนใหร้ ับการจดั การเรียนการสอนอยา่ งเต็มประสิทธิภาพ ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตารางท่ี 4 การนำนโยบาย “การจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สกู่ ารปฏิบตั ใิ นสถานศกึ ษา ดา้ นทรพั ยากรนโยบาย (n=41) ดา้ นทรพั ยากรนโยบาย 4.02 ระดบั ความคดิ เหน็ 4.22 S.D. แปลผล 1. โรงเรยี นวเิ คราะหเ์ ป้าหมายของนโยบายออกมาเป็นพฤติกรรม 0.790 มาก แล้วนำสู่การปฏบิ ตั ิ 3.71 0.821 มาก 2. โรงเรียนได้จดั ครแู ละบุคลากรเพ่ือให้มีความพร้อมเพ่ือจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส 3.61 0.813 มาก โคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม 3. โรงเรียนได้สนบั สนนุ งบประมาณเพ่ือให้มีความพร้อมเพ่ือ 4.12 0.891 มาก จัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ 3.73 เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งเพยี งพอ 3.90 0.780 มาก 4. โรงเรียนไดส้ นบั สนนุ ด้านวัสดุอุปกรณเ์ พื่อให้มีความพร้อม 0.866 มาก เพ่อื จดั การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ 0.826 มาก เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม 5. โรงเรยี นได้จัดครูบุคลากรอยา่ งเหมาะสม 6. โรงเรยี นจัดสรรสือ่ เทคโนโลยสี ำหรบั เพื่อจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 คา่ เฉล่ียรวม ตารางที่ 4 การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ด้านทรัพยากรนโยบาย ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ( = 3.90, S.D.= 0.826) โดยอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณารายละเอียดในแต่ละข้อ พบว่า โรงเรียนได้จัดครูและบุคลากรเพื่อให้มีความพร้อมเพื่อจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม ( = 4.22, S.D.= 0.821) อยใู่ นระดบั สูงสุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียน ได้จัดครูบุคลากรอย่างเหมาะสม ( = 4.12, S.D.= 0.780) โรงเรียนวิเคราะห์เป้าหมายของนโยบายออกมา

19 เป็นพฤติกรรมแล้วนำสู่การปฏิบัติ ( = 4.02, S.D.= 0.790) โรงเรียนจัดสรรสื่อเทคโนโลยีสำหรับเพื่อจัด การศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ( = 3.73, S.D.= 0.866) โรงเรยี น ได้สนับสนุนงบประมาณเพื่อให้มีความพร้อมเพื่อจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเพียงพอ ( = 3.71, S.D.= 0.813) และโรงเรียนไดส้ นบั สนนุ ดา้ นวัสดุอปุ กรณ์เพื่อให้ มีความพร้อมเพ่ือจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม ( = 3.61, S.D.= 0.891) ตามลำดับ สรุปโรงเรียนได้ให้ความสำคัญกับทรัพยากรนโยบายเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการจัดครูและ บคุ ลากร การจัดสรรส่ือเทคโนโลยี การสนบั สนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ รวมท้ังการวิเคราะหเ์ ป้าหมายของนโยบาย ออกมาเป็นพฤติกรรมแล้วนำสูก่ ารปฏิบัติและโรงเรียนไดส้ นบั สนนุ งบประมาณในการดำเนินการอย่างเพียงพอ ทั้งนี้เพื่อให้มีความพร้อมเพื่อจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม ตารางที่ 5 การนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏบิ ัติในสถานศึกษา ด้านการส่ือสารระหว่างองค์การและกจิ กรรมเสรมิ แรงเพื่อให้ การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 อยา่ งไร (n=41) ด้านการสอ่ื สารระหว่างองคก์ ารและกิจกรรมเสรมิ แรง 4.27 ระดบั ความคดิ เหน็ เพือ่ ให้การจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด S.D. แปลผล ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 อย่างไร 3.78 0.775 มาก 1. โรงเรยี นประชาสัมพนั ธใ์ หช้ มุ ชนและผ้ปู กครองมีความเข้าใจ 4.02 และสนบั สนนุ การจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด 0.724 มาก ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ใหส้ ำเร็จ 3.76 0.821 มาก 2. โรงเรยี นจดั กิจกรรมสร้างแรงบันดาลให้ครแู ละบุคลากร 3.98 อยา่ งเหมาะสม 0.799 มาก 3. ผ้บู ริหารมกี ารส่อื สารให้ครูและบคุ ลากรมีความเขา้ ใจใน 3.96 0.790 มาก การจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 0.781 มาก 4. ผู้บริหารมกี ารกระตุน้ เสริมแรงและจูงใจในการปฏบิ ตั งิ าน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 5. โรงเรยี นสรา้ งเครอื ขา่ ยกับหน่วยงานอืน่ เพื่อสนบั สนนุ การจัด การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส โคโรนา 2019 ค่าเฉลย่ี รวม

20 จากตารางที่ 5 การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สกู่ ารปฏิบตั ิในสถานศึกษา ดา้ นการส่ือสารระหวา่ งองค์การและกิจกรรม เสริมแรงเพื่อให้การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.96, S.D.= 0.781) โดยอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมอื่ พิจารณารายละเอียดในแต่ ละข้อ พบว่า โรงเรียนประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนและผู้ปกครองมีความเข้าใจและสนับสนุนการจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ใหส้ ำเร็จ ( = 4.27, S.D.= 0.775) อยใู่ นระดับ สูงสุด รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารมีการสื่อสารให้ครูและบุคลากรมีความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( = 4.02, S.D.= 0.821) โรงเรียนสร้าง เครือข่ายกับหน่วยงานอื่นเพื่อสนับสนนุ การจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โค โรนา 2019 ( = 3.98, S.D.= 0.790) โรงเรียนจัดกิจกรรมสร้างแรงบันดาลให้ครูและบคุ ลากรอย่างเหมาะสม ( = 3.78, S.D.= 0.724) และผู้บริหารมีการกระตุ้น เสริมแรงและจูงใจในการปฏิบัติงานในสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ( = 3.76, S.D.= 0.799) ตามลำดับ สรุปโรงเรียนได้ให้ความสำคัญด้านการสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสริมแรงเพื่อให้ การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นไปอย่างเรียบร้อบ โดย การประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนและผู้ปกครองมีความเข้าใจและสนับสนุนการจัดการศึกษา อีกทั้งผู้บริหารมีการ สื่อสารให้ครูและบุคลากรมีความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอน มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานอื่นเพ่ือ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา มีการจัดกจิ กรรมสรา้ งแรงบนั ดาลให้ครแู ละบุคลากรอย่างเหมาะสม และผู้บริหารมี การกระตุน้ เสรมิ แรงและจงู ใจในการปฏบิ ัตงิ าน ตารางที่ 6 การนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สกู่ ารปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษา ดา้ นลกั ษณะหนว่ ยงานท่ีนำนโยบายไปปฏบิ ัติ (n=41) ดา้ นลักษณะหน่วยงานท่ีนำนโยบายไปปฏิบตั ิ ระดบั ความคดิ เห็น แปลผล S.D. มาก 1. โรงเรยี นมีการพฒั นาครูและบุคลากรเพื่อมคี วามพร้อมใน การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด 3.98 0.821 เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2. โรงเรียนสร้างวฒั นธรรมการทำงานท่สี นับสนุนการทำงาน 3.93 0.818 มาก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 3.90 0.768 มาก 3. โรงเรียนจัดระบบกลไกเพื่อรองรบั การจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019

21 ตารางที่ 6 การนำนโยบาย “การจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ”สูก่ ารปฏบิ ัติในสถานศกึ ษา ดา้ นลักษณะหน่วยงานท่ีนำนโยบายไปปฏิบตั ิ (ต่อ) (n=41) ด้านลักษณะหน่วยงานท่ีนำนโยบายไปปฏบิ ตั ิ ระดบั ความคิดเหน็ แปลผล S.D. มาก 4. โรงเรียนมกี ารควบคุม ตดิ ตามและประเมินผลการนำ นโยบายสูก่ ารปฏิบัติ 4.00 0.707 5. โรงเรียนสรา้ งทีมงานจัดการศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม 3.88 0.748 มาก คา่ เฉลี่ยรวม 3.94 0.772 มาก จากตารางที่ 6 การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”ส่กู ารปฏบิ ัติในสถานศึกษา ดา้ นลกั ษณะหนว่ ยงานท่นี ำนโยบายไปปฏบิ ัติ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ( = 3.94, S.D.= 0.772) โดยอยู่ในระดับมากทกุ ข้อ เมื่อพิจารณารายละเอียดใน แต่ละข้อ พบว่า โรงเรียนมีการควบคุม ติดตามและประเมินผลการนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติ ( = 4.00, S.D.= 0.707) อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนมีการพัฒนาครูและบุคลากรเพื่อมีความพร้อมในการจัด การศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( = 3.98 , S.D.= 0 . 8 2 1 ) โรงเรียนสร้างวัฒนธรรมการทำงานท่ีสนบั สนุนการทำงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโค โรนา 2019 ( = 3.93 , S.D.= 0.818) โรงเรียนจัดระบบกลไกเพื่อรองรับการจัดการศึกษาในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( = 3.90, S.D.= 0.768) และโรงเรียนสร้างทีมงานจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างเหมาะสม ( = 3.88, S.D.= 0.748) ตามลำดับ สรุปโรงเรียนมีลักษณะของหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติอย่างชัดเจน โดยโรงเรียนมีการ ควบคุม ติดตามและประเมินผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติตลอดการดำเนินการ อีกทั้งมีการพัฒนาครูและ บุคลากรเพื่อมีความพร้อมในการจัดการศึกษา มีการสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่สนับสนุนการทำงาน มีการ จัดระบบกลไกเพื่อรองรับการจัดการศึกษาและโรงเรียนสร้างทีมงานจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 อยา่ งเหมาะสม

22 ตารางที่ 7 การนำนโยบาย “การจัดการศกึ ษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สกู่ ารปฏิบัติในสถานศึกษา ดา้ นเงื่อนไขทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง (n=41) ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกจิ สังคมและการเมือง ระดบั ความคิดเหน็ แปลผล 1. โรงเรยี นระดมทรพั ยากรจากชมุ ชน S.D. มาก 3.27 0.866 2. โรงเรียนได้รบั ความร่วมมือจากทกุ ภาคส่วนในชมุ ชนมา 3.80 0.678 มาก มาก แกป้ ญั หาต่าง ๆ 3. โรงเรยี นประสานการสนบั สนุนจากองค์ปกครองสว่ นท้องถิน่ 3.76 0.699 คา่ เฉล่ยี รวม 3.61 0.747 มาก จากตารางที่ 7 การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมือง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.61, S.D.= 0.747) โดยอยู่ในระดับมากทุกข้อ เมื่อพิจารณา รายละเอียดในแต่ละข้อ พบว่า โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในชุมชนมาแก้ปัญหาต่าง ๆ ( = 3.80, S.D.= 0.678) อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนประสานการสนับสนุนจากองค์ปกครองส่วน ท้องถิ่น ( = 3.76, S.D.= 0.699) และโรงเรียนระดมทรัพยากรจากชุมชน ๆ ( = 3.27, S.D.= 0.866) ตามลำดับ สรุปโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ไม่ว่าจะเปน็ ความร่วมมอื จากชุมชนในการแก้ปญั หาต่าง ๆ การได้รับ การสนับสนุนจากองค์ปกครองส่วน อีกทั้งโรงเรียนได้มีการระดมทรัพยากรจากชุมชน ๆ เพื่อที่จะช่วยกันจัด การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพสูงสดุ สรปุ ผล จากการศึกษา โครงการการนำนโยบาย “การจดั การศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร สามารถสรปุ ผลการวิจยั ไดด้ ังนี้ 1. สภาพการนำนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษา กรุงเทพมหานคร การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ( =3.92, S.D.=0.793) เมื่อจำแนกตามรายด้านพบว่า ด้านมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย ( = 4.20, S.D.= 0.840) อยู่ใน

23 ระดับสูงสุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสรมิ แรงเพือ่ ให้การจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไร ( = 3.96, S.D.= 0.781) ด้าน ลักษณะหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ ( = 3.94, S.D.= 0.772) ด้านทรัพยากรนโยบาย( = 3.90, S.D.= 0.826) และดา้ นเงือ่ นไขทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมือง ( = 3.61, S.D.= 0.747) ตามลำดับ ทั้งนี้การนำนโยบาย “การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโค โรนา 2019 (COVID-19)” สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา โดยนำมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ หลัก 5 ON คือ On site, On air, Onl ine, On demand และ On hand ของสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2564) ให้เป็นไปอย่างเรียบร้อยและผู้เรียนได้รับการจัดการเรียน การสอนที่เหมาะสมอยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ 2. แนวทางการดำเนนิ การนำนโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ก) ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้การสนับสนนุ อย่างต่อเน่ืองในการนำการจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สกู่ ารปฏบิ ัตใิ นสถานศกึ ษานโยบาย ข) ควรจดั ทำแผนหรือโครงการส่งเสริมการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศภายใน สถานศึกษา ค) ควรจัดสรรและตดิ ต้ังระบบอินเทอรเ์ นต็ เครือขา่ ยแบบไร้สายให้เพยี งพอและมี ประสทิ ธภิ าพ ง) ควรจัดระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินการนำนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ จากสภาพการนำนโยบายสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา นำไปสู่แนวทางการดำเนินการนำ นโยบายการจัดการศึกษาการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพื่อให้เกิด การจัดการเรียนการสอนท่ีมุง่ ให้ผูเ้ รียนมีความรู้ความสามารถท่ีจะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสขุ ตามนโยบาย ของการจดั การศกึ ษาของชาติ อภปิ รายผล จากผลการวิจัยพบว่า ในการบริหารงานการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้บริหารถือเป็นบุคคลสำคัญในการบริหารโรงเรียนในการนำ นโยบายไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมทาง การศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนบนฐานเทคโนโลยีท่ีครอบคลุมวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย สำนักงาน

24 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2564) ได้กำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใชห้ ลัก 5 On คอื On-Site, On-Air, Online,On-Demand และ On-Hand การจัดการเรียนการสอนจึงเป็นหัวใจในการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ในยุค COVID-19 เป็นโอกาสในการสร้างแนวคิดใหม่ทางการเรียนรู้ และนวัตกรรมทางการเรียนที่เหมาะสม ที่สุดในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นี้คือ การเรียนแบบผสมผสาน (Schwenger,2018) เปน็ วธิ สี อนในระบบผสมผสาน เช่น การใชร้ ะบบการสอนออนไลน์ผสมผสานกบั สาระการ เรียนรู้ในลักษณะอื่น ๆ เช่น การใช้ระบบการสอนออนไลน์ผสมผสานกับวิธีการสอนหลายๆวิธี ผสมผสานกับ เทคโนโลยีทางการสอนกบั การสอนในช้ันเรียนปกตแิ ละการใช้เทคโนโลยีทางการสอนกับการปฏบิ ัติงานจริง ส่วนองค์ประกอบการนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นปัจจัยสำคัญที่ผู้บริหารต้องทำความเข้าใจในตัวแบบทั้ง 5 ดา้ น เพ่ือนำไปใชใ้ นการนำนโยบายสู่การปฏบิ ตั ใิ หป้ ระสบความสำเร็จ โดยการนำนโยบายส่กู ารปฏบิ ัตจิ ะต้อง มีมาตรฐานและวัตถปุ ระสงค์ของนโยบายที่ชดั เจน มีการจัดทรัพยากรนโยบายท่ีเพียงพอ มีการสื่อสารระหว่าง องค์การและกิจกรรมเสริมแรงเพื่อให้การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 อกี ทงั้ จำเปน็ ต้องรู้ลักษณะของหนว่ ยงาน และให้ความสำคญั กับเง่ือนไขทางเศรษฐกจิ สงั คมและ การเมือง ซึ่งงานวิจัยนี้พบว่าด้านที่มีระดับความคิดเห็นพึงพอในในระดับมากที่สุดคือด้านมาตรฐานและ วัตถุประสงค์ของนโยบาย กล่าวคือผู้บริหารต้องมีการบริหารจัดการที่ดี มีการกำหนดมาตรฐานและ วัตถุประสงค์ของนโยบายที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับ Pressman and Widavsky (1973) ที่ได้กล่าวไว้ว่า มาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบายถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จะตัดสินว่านโยบายมสี มรรถนะมากน้อยเพียงใด โดยมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบายจะต้องสอดคล้องกับความเป็นจริง สามารถสังเกตและวัดได้ง่าย ส่วนทรัพยากรของนโยบาย หมายรวมถึงเงิน งบประมาณและแรงกระตุ้นสนับสนุนอื่น ๆ เพื่อช่วยให้การนำ นโยบายไปปฏิบตั เิ กิดประสทิ ธผิ ล ส่วนปยิ นุช ลอยเลิศหล้า (2559) ได้กลา่ วไวว้ ่า ผูบ้ รหิ ารต้องสามารถทำใหผ้ ู้ท่ี เกี่ยวข้องทุกคนมีความเอาใจใส่ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง มีการชี้แจงกระบวนการที่เป็น แนวทางในการดำเนินงานใหช้ ดั เจน ตอ้ งมีทรัพยากรท่เี พียงพอในการนำนโยบายสู่การปฏบิ ัติ นอกจากนี้ควรมี การกระตุ้น เสริมแรงและจูงใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้การดำเนินงานนั้นประสบความสำเร็จ อีกทั้งสอดคล้อง กับแนวคิดของวิลเลียมส์ (Williams) ที่ได้กล่าวไว้ว่า ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไป ปฏิบัติ ผู้บริหารจะต้องวิเคราะห์ความพร้อมขององค์กรในเรื่องบุคลากร กำหนดรูปแบบขององค์กรและการ บริหารงาน ทั้งนี้เพื่อให้งานบรรลุผลสำเร็จ ผู้บริหารจะต้องมีความสามารถในการรวบรวมคนและทรัพยากร ขององคก์ รใหม้ ีเอกภาพ ซึง่ จะเกดิ ข้ึนไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื ผนู้ ำขององคก์ รเปน็ ผู้ท่ีมีภาวะผ้นู ำสงู และจากการศึกษาของมาณธา เดอร์ธิคในนโยบายการสร้างเมืองใหม่ ( Martha Derthick,1972) พบว่าปัจจุบันด้านทรัพยากรมีความสำคัญมากที่สุดที่ส่งผลให้นโยบายประสบความสำเร็จ ทั้งนี้การนำนโยบายไปปฏิบัติต้องอาศัยการสื่อสารของเป้าหมายและวัตถุประสงค์ไปยังหน่วยงานและผู้ท่ี เกีย่ วข้องในทุกลำดับชัน้ ขององคก์ าร เน่อื งจากการส่ือสารเป็นกระบวนการท่ีมีความซบั ซ้อน และผู้ส่ือสารเองก็ เปน็ อปุ สรรคในการสร้างใหเ้ กิดการบิดเบือนเป้าหมายและวตั ถุประสงค์ การส่ือสารทสี่ รา้ งใหเ้ กดิ ความสำเร็จใน การนำนโยบายไปปฏบิ ัติจะต้องมีความชัดเจน ความเทีย่ งตรงและสม่ำเสมอในระหว่างกระบวนการสื่อสาร อีก

25 ทั้งด้านลักษณะขององค์การที่ส่งผลต่อสมรรถนะของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประกอบด้วย ปริมาณและ ความสามารถของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับการควบคุมท่ีเป็นลำดับชั้นในการตัดสินใจการดำเนินงาน ทรพั ยากรทางการเมอื งของหนว่ ยงาน เชน่ แรงสนับสนนุ จากผบู้ ริหารหรอื นกั การเมอื ง ความสามารถในการยืน หยัดของหน่วยงาน ระดับของการสื่อสารและการเชื่อมโยงอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการของผู้กำหนด นโยบายและผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งในกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ โดยมีเงอื่ นไขและทรพั ยากรทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งทสี่ ง่ ผลกระทบต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติท้ังโดยทางตรงและทางอ้อม และทีส่ ดุ สำคัญต่อการนำ นโยบายไปปฏิบัติคือความเข้าใจของผู้นำ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ การรับรู้และความ เข้าใจของผู้ปฏิบัติต่อนโยบาย ทิศทางในการตอบสนองต่อนโยบายของผู้ปฏิบัติและระดับการยอมรับในตัว นโยบายของผู้ปฏิบัติ ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเงื่อนไขที่มีอยู่ในตัวผู้ปฏิบัติทุกคน โดยสรุปได้ว่านโยบายจะประสบ ความสำเรจ็ หรือไม่น้ัน เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายจะตอ้ งไดร้ ับความเข้าใจและความร่วมมือจากผู้ ปฏิบัตติ ้ังแตต่ ้นจงึ จะสง่ ผลใหก้ ารนำนโยบายสู่การปฏิบตั ิน้ันประสบความสำเร็จ ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ัยไปใช้ 1. โรงเรียนควรพัฒนาด้านมาตรฐานและวัตถุประสงค์ของนโยบาย ในเรื่องการจดั ทำมาตรฐาน และตัวชี้วัดในการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) และเรื่องการจัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายของนโยบายให้แก่ครูและบุคลากรท่ี เกย่ี วข้อง 2. โรงเรียนควรพัฒนาด้านทรัพยากรนโยบาย ในเรื่องการสนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้มี ความพร้อมในการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเหมาะสม 3. ด้านการสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมเสริมแรง เพื่อให้การจัดการศึกษาใน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้บริหารควรมีการกระตุ้น เสริมแรงและจูงใจ ในการปฏบิ ตั งิ านในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 4. โรงเรียนควรพัฒนาด้านลักษณะหน่วยงานที่นำโยบายไปปฏิบัติ โดยการสร้างทีมงานจัด การศึกษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้ สามารถขับเคลอื่ นการทำงานให้ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้นไป 5. โรงเรียนควรพัฒนาด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง โดยการระดมทรัพยากร จากชุมชน เพ่อื ให้ไดร้ ับความสนับสนุนจากหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในการร่วมกันพฒั นาโรงเรียนต่อไป ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยคร้ังตอ่ ไป จากผลการศึกษาการนำนโยบาย“การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบตั ิในสถานศึกษา พบว่า ด้านเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคมและ การเมือง ด้านทรัพยากรนโยบายและด้านลักษณะหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติ มีความคิดเห็นอยู่ในระดบั น้อยที่สุด 3 อันดับสุดท้าย ดังนั้นควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับด้านดังกล่าว เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงและ

26 พัฒนาการนำนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนสังกดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา กรงุ เทพมหานครใหด้ ยี ่ิงขนึ้ องค์ความรู้ใหม่ การนำนโยบาย“การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาให้ประสบผลสำเร็จได้นั้นจำเป็นต้องมีการจัดระบบบริหาร จัดการทีด่ ี โดยการกระต้นุ ให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีความเอาใจใส่อย่างต่อเน่ืองในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติท่ีจะ ทำให้บรรลุเป้าหมายในการนำนโยบายสู่การปฏิบตั ิ มงี บประมาณท่ีใช้ในการนำนโยบายสูก่ ารปฏิบัติที่เพียงพอ มีการกระตุ้น เสริมแรงและจูงใจในการปฏิบัติงาน ผู้บริหารต้องมีความเป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์ มีพลังสร้างสรรค์ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ และเป็นผู้ที่คอยอำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ให้กับครูในการ ปฏบิ ตั ิงานตามนโยบาย มีการจดั กระบวนการบริหารนโยบาย โดยนโยบายทจ่ี ะนำมาปฏิบตั ินน้ั ต้องมีมาตรฐาน และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์ของโรงเรียน นอกจากนี้โรงเรียนควรจะ สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งด้านการเมือง ผู้ปกครองและชุมชน โดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับการนำ นโยบายสู่การปฏิบัตขิ องโรงเรียนสามารถนำองค์ประกอบเหล่านี้ไปปรบั ใช้ให้เหมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียน เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพมากทส่ี ุด เอกสารอ้างองิ ครรชิต จามรมาน. (2553). การศึกษาวิเคราะห์นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและการนำ นโยบายสู่การปฏิบัติของโรงเรียนมัธยมศึกษาในประเทศไทย. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เทื้อน ทองแก้ว. (2563). การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่: ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. คุรุสภาวิทยาจารย์ ปีที่ 1 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563. ปิยนุช ลอยเลิศหล้า. (2559). การนำนโยบายสู่การปฏิบัติของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน. ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา ภาควชิ าการ บริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. พัชราภรณ์ ดวงช่นื . (2563). การบรหิ ารจัดการศกึ ษารับความปกติใหมห่ ลังวิกฤตโควิด-19. วารสารศิลปะการ จดั การ ปที ี่ 4 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน-ธันวาคม 2563. ไพศาล บรรจุสุวรรณ์. (2558). การนำนโยบายหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปฏิบัติในเขตพื้นที่การศึกษา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ าน.ี รัฐศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์.

27 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2563). แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปกี ารศึกษา 2563.

ช่ือ-สกุล 28 วัน เดอื น ปีเกดิ ภูมลิ ำเนา ประวัติผู้วจิ ยั สถานท่อี ยู่ปจั จบุ นั นางสาวสวพร บุญญผลานันท์ ตำแหนง่ หนา้ ที่ 17 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2535 จงั หวัดกรุงเทพมหานคร สถานท่ที ำงานปัจจบุ ัน บ้านเลขที่ 49/7 หมู่ 2 ถนนสายไหม แขวงสายไหม เขตสายไหม กรงุ เทพมหานคร 10220 ประวตั ิการศึกษา ครผู ู้ชว่ ย โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา ๗๕ เฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ. 2553 จ.กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2557 โรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2561 จ.กรุงเทพมหานคร มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนสวนกหุ ลาบวิทยาลัย รังสติ ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

29 การประเมนิ ผลนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี : โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสิงหบ์ รุ ี THE EVALUATION OF FREE EDUCATION WITH POLICY: A CASE STUDY OF PROMTEPAWAS SCHOOL IN SINGBURI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE พรรณทพิ า ปัทมอารกั ษ์1 วิสุทธ์ิ วจิ ติ รพัชราภรณ์2 อจั ฉรา นยิ มาภา3 Phantipa Pattamarruk1 Wisut Wijitpatcharaporn2 Achara Niyamabha3 1นักศกึ ษาหลกั สตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author วิสุทธิ์ วิจติ รพัชราภรณ์ e-mail: [email protected] 2อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University *Corresponding author อัจฉรา นยิ มาภา e-mail: [email protected] 3อาจารยป์ ระจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Faculty of Education, Kasetsart University บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ของโรงเรียนวัดพรหมเทพา วาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริหาร โรงเรียนและครูผูส้ อนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามเก่ียวกบั นโยบายเรียนฟรี 15 ปี ตามกรอบการ ประเมนิ แบบ CIPP Model ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไดท้ ำการวเิ คราะหโ์ ดยการใชส้ ถิตเิ ชงิ พรรณนา (ค่ารอ้ ยละ, ค่า คะแนนเฉลีย่ , ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ผลการศึกษาพบวา่ 1. การประเมินด้านบริบท ด้านกระบวนการอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านปัจจัยนำเข้า และด้าน ผลผลติ อยู่ในระดับปานกลางและทุกด้านผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่ไดก้ ำหนดไว้ จากการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทางดา้ นคณุ ภาพจากแบบสอบถาม พบวา่ 2. ปัญหาจากนโยบายเรียนฟรี 15 คือผู้ปกครองบางส่วนนำงบประมาณที่ได้ไปใช้ไม่ตรงกับ วัตถุประสงค์ นักเรียนที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณนัน้ ไม่เห็นคุณค่าของการได้งบประมาณ การย้ายโรงเรียน ของนกั เรียนระหวา่ งทก่ี ำลงั ศึกษาและการไดง้ บประมาณน้นั ไมไ่ ด้ฟรีท้ังหมด 3. แนวทางการแกไ้ ขคอื สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งของนโยบายเรียนฟรี 15 ปีใหก้ ับทุกคน ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของการได้เรียนฟรี 15 ปี จัดสรรงบเพิ่มให้เพียงพอต่อความต้องการ และประชาสัมพนั ธเ์ ก่ียวกบั นโยบายเรยี นฟรี15ปใี ห้กับผูป้ กครองเข้าใจโดยง่าย 4. ขอ้ เสนอแนะใหม้ ีการดำเนินงานใหป้ ระสบความสำเร็จ คือ นำงบประมาณทไ่ี ด้รบั จดั สรรไปสู่ ตัวของผู้เรียนได้อย่างแท้จริงและทั่วถึง การจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและทั่วถึงจริง และโรงเรียนประชุม ชี้แจงรายละเอยี ดเก่ียวกับนโยบายให้ผู้ปกครองเขา้ ใจในการไดร้ ับประโยชนข์ องนกั เรียน คำสำคญั : เรียนฟรี; ประเมิน; CIPP model

30 บทนำ การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งของมนุษย์ในการพัฒนามนุษย์ให้มีความรู้ ความสามารถในการ ประกอบอาชีพ ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา การลงทุน ทางการศึกษาจะช่วยพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน แต่กระบวนการลงทุนทางการศึกษาเป็นระบบที่ ซับซ้อนใช้ทุนจำนวนมหาศาลและ หลากหลายรูปแบบ ภาครัฐเองเป็นองค์กรหลักที่มารับภาระในการ ลงทุนทางการศึกษา มีข้อจำกัดด้าน งบประมาณการจัดการศึกษา และไม่มีหน่วยงานใดที่สามารถรับ ภารกิจทั้งหมดและตอบสนองความต้องการ ด้านการเรียนรู้อันหลากหลายของชุมชนได้ ภาระในการ ลงทุนทางการศึกษา จึงเป็นหน้าท่ีร่วมกันจากภาครฐั และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นๆ ในด้านการรับภาระการจัดการศึกษาร่วมกันเพื่อให้ การศกึ ษาทนั ตามกระแสเศรษฐกิจและสงั คมทีเ่ ปลยี่ นไปซง่ึ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ 1. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่เป็น กฎหมายแม่บทในการบริหารและจัดการศึกษา กำหนดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ ได้รับ การศึกษาข้นั พ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปที รี่ ัฐต้องจดั ให้อยา่ งทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บ คา่ ใช้จ่าย ในหมวด 4 แนวทางการจัดการศกึ ษา 2. มาตรา 29 ระบุว่าให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นๆ ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งของชุมชน เพ่ือใหช้ ุมชนมกี ารจัดการศึกษาอบรมมีการ แสวงหาความรขู้ ้อมูลข่าวสารและ รู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยาการต่างๆเพื่อพัฒนาชุมชนให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การพัฒนาระหว่างชุมชน หมวด 5 ส่วนที่ 2 ว่า ดว้ ยการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 3. มาตรา 41 ใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ มีสิทธจิ ดั การศึกษาในระดบั ใดระดับหนง่ึ ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น และมาตรา 42 ให้กระทรวงก าหนด หลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและมี หน้าที่ในการประสานและ ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษา รวมทง้ั การเสนอแนะการจดั สรรงบประมาณอุดหนุนการจัด การศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ หมวดท่ี 8 ว่าด้วยทรัพยากรและการลงทนุ ทางการศกึ ษา 4. มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจาก รัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบนั สงั คมอ่ืนและตา่ งประเทศมาใชจ้ ัดการศึกษา การศกึ ษาเปน็ ปัจจัยสำคัญในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ อนั เป็นทรพั ยากรท่ีมีคุณคา่ ยิ่งใน การพัฒนา ชาติ ดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 3 มาตรา 49 ได้บัญญัติ ไว้ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐ จะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมี คณุ ภาพ โดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จา่ ย” และพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2552 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553 มาตรา 10 วรรค 1 ได้บัญญัติไว้ ว่า “การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อย กว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวกับ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับแผนยุทศาสตร์สู่ การปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2547-2553 ที่ได้กำหนดพันธกิจการสร้างเสริมโอกาสในการศึกษา ให้แก่ประชาชนทุกคน โดยมี เป้าประสงคใ์ หป้ ระชาชนได้รบั การศกึ ษาท่ัวถงึ เท่าเทยี ม และตอ่ เนอ่ื ง

31 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 จากการดำเนินงานที่ผ่านมานั้นได้ตระหนักและให้ความสำคัญในการจัดการศึกษาของ โรงเรียนในทุกระดับ และทุกขนาด โดยมุ่งพัฒนาให้นักเรียนในสังกัดมีคุณภาพเท่าเทียมกันได้ในทางปฏิบัติ จากขอ้ มูลในปีการศึกษา 2562 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสิงห์บรุ ีมสี ถานศึกษาในสังกัดของรัฐ จำนวน 101 โรงเรียน ประกอบไปด้วยโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 59 โรงเรียน และโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษาจำนวน 42 โรงเรียน นักเรียนจำนวน 13,769 คน จำนวนครู 1,150 คน สภาพภูมิศาสตร์ของ โรงเรียนตั้งกระจายอยู่บนพื้นราบ ใกล้ชุมชน การคมนาคมสะดวก สามารถติดต่อกับพื้นที่อื่นได้อย่างสะดวก ทำใหน้ ักเรียนมีโอกาส มที างเลือกในการเขา้ ศกึ ษาต่อในสถานศึกษาได้งา่ ยข้นึ ผ้ปู กครองมคี า่ นยิ มในการสง่ บุตร หลานเข้ามาศึกษาต่อโรงเรยี นในเมืองท่ีมีคุณภาพของทั้งรัฐและเอกชน ประกอบกับมีการควบคุมอัตราการเกิด ของประชากร ทำให้การบริหารงานโรงเรียนขนาดเล็กนั้นมีปัญหาอย่างเด่นชัด (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสงิ หบ์ รุ ี, 2562) ปัญหาของสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงหบ์ ุรใี นด้านการบริหารงบประมาณ คือ ได้รบั งบประมาณที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ไม่เพียงพอ ทั้งนี้เพราะ กระทรวงศึกษาธิการจัดสรร งบประมาณให้ตามรายหัวของจำนวนผูเ้ รียน มีจำนวน ผู้เรียนน้อย ทำให้ได้รับงบประมาณนอ้ ยตามไปด้วย จึง ไม่เพียงพอ ต่อการจัดการศึกษาและดูแลผู้เรียน ได้อย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาต้องใช้จ่ายค่าสาธารณูปโภค และค่าดำเนินการอื่นๆ อีกหลายอย่าง การระดม ทรัพยากรมีน้อย เนื่องจากชุมชนส่วนใหญ่มีรายได้ค่อนข้าง น้อย จึงทำให้นโยบายเรียนฟรี 15 ปี นั้นจะเป็นส่วนที่ช่วยเหลือและแบ่งเบารายได้จากผู้ปกครอง ทำให้ นกั เรียนได้รับการศึกษาได้อย่างท่วั ถึง โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาสเป็นองค์กรหลักในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นสถานศึกษา จัดตั้งอยู่ ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี มีฐานะเป็นนติ บิ ุคคลตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2476 จดั การศกึ ษา 2 ระดบั คือระดับการศึกษาปฐมวัย (4-5 ปี) และระดับประถมศึกษา (6 - 12ปี) ในการจัดการศึกษาปฐมวัยใช้หลักสูตรปฐมวัยพุทธศักราช 2546 เป็น แนวทางในการจัดการศึกษาส่วนการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาซึ่งการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้นยึดแนวทางการจัด การศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 โดยเน้น ความสำคัญทั้งความรู้คู่คุณธรรมเป็นสำคัญกระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของ ผู้เรียน ปัจจุบันโรงเรยี นวัดพรหมเทพาวาสมีนักเรียนทัง้ หมด 53 คน ทำให้ได้รับงบประมาณจากนโยบายเรียนฟรีเปน็ จำนวนน้อย และมีจำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษาจำนวน 8 คน ซึ่งมีจำนวนน้อยมาก ดังนั้นการบริหาร และจัดการนโยบายเรียนฟรี 15 ปีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาสจึงมีความสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างมี ประสทิ ธิภาพ โครงการเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพเป็นนโยบายที่รัฐบาลคาดหวังในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สร้างโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียนทุกคนมีการศึกษาอย่างเท่าเทียม อีกทั้งเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยลด ภาระค่าใช้จ่ายผู้ปกครอง ทำให้ผู้วิจัยสนใจในการประเมินโครงการเรียนฟรี 15 ปีของโรงเรียนวัดพรหมเทพา วาส โดยใช้กรอบในการประเมินของ CIPP model ของสตัฟเฟิลบีม (อ้างถึงใน, Worthen and Sander, 1993) ซึ่งเป็นแบบจำลองเน้นการประเมินที่ควบคู่ไปกับการบริหารงาน มาเป็นปรับใช้เป็นรูปแบบในการ ประเมินนโยบายทางด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิต เพื่อที่จะศึกษาและประเมินโครงการ เรียนฟรี 15 ปีของรัฐบาลว่าเป็นอย่างไร ซึ่งการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์นต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะ

32 นำไปวางแผนและปรับปรุงการดำเนินงาน รวมทั้งจัดการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อจะทำให้การจัดการโครงการ เรียนฟรี 15 ปีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาสมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลมากย่งิ ข้ึน วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั เพื่อประเมินผลโครงการเรียนฟรีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาสสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสงิ ห์บรุ โี ดยใชร้ ูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP Model) ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ข้นั ตอนการดำเนินการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัยเรื่องการประเมินผลนโยบายเรียนฟรีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สังกัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสิงหบ์ ุรี มีขน้ั ตอนดังน้ี 1. การกำหนดประชากรและการเลอื กกลุม่ ตัวอย่าง 2. การสรา้ งเครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การกำหนดประชากรและการเลอื กกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครัง้ น้ี ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครูผ้สู อน และบคุ ลากร ในโรงเรียนวัดพรหม เทพาวาส การเลือกกลุม่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และบุคลากร ทั้งหมดในโรงเรียน วดั พรหมเทพาวาส จงั หวัดสิงห์บรุ ี จำนวน 8 คน 2. เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการประเมนิ เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการประเมินคือ แบบประเมนิ โครงการ 1 ฉบบั คือ ประเมินสภาพแวดลอ้ ม ประเมิน ปจั จยั นำเขา้ ประเมินกระบวนการและประเมินผลผลิต การสร้างเครือ่ งมือท่ีใช้ในการทำวจิ ยั ผวู้ ิจัยใช้แบบสอบถามจำนวน 1 ชุด ใช้สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบั นโยบายเรียนฟรี ดังนี้ 1. ศกึ ษา เอกสาร วรรณกรรม และงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 2. เขียนนิยามตามประเด็นการประเมนิ 3. การสรา้ งแบบสอบถาม ซ่ึงแบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ดงั นค้ี อื สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความคดิ เหน็ ต่อนโยบายเรยี นฟรี ด้านบรบิ ท ดา้ นปจั จัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และ ดา้ นผลผลิต/ผลลัพธ์ สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรงุ นโยบายเรียนฟรี 4. นำแบบสอบถามที่สร้างข้ึนใหอ้ าจารยต์ รวจสอบความ เหมาะสมของขอ้ คำถามในดา้ นภาษาที่ใช้ ความครอบคลมุ และความสอดคล้องตามนิยาม ปรับปรุง แกไ้ ขตามคำแนะนำของอาจารย์ 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลตามข้ันตอน ดงั น้ี

33 1. ผวู้ ิจัยทำหนงั สือขอความอนุเคราะหเ์ กบ็ ข้อมูล นดั หมาย วนั เวลา และวธิ ีการ จดั เก็บรวบรวม ขอ้ มูลกบั โรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส 2. ผู้วจิ ยั ไปเก็บขอ้ มูลตามวัน เวลา ทีไ่ ดน้ ัดหมาย 3. นำข้อมลู ท่ีได้ทั้งหมดมาตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบรู ณ์ และนำไปบันทึกวเิ คราะหแ์ ละ สรปุ ผลตามประเดน็ การวจิ ัย 4. การวิเคราะห์ข้อมลู 1. สถิตพิ รรณนา ได้แก่ ค่าความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สำหรับอธิบายลกั ษณะ ขอ้ มูลท่วั ไปเก่ยี วกับปัจจัยสว่ นบคุ คล และข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินผล 4 ด้านเพื่อทดสอบสมมตุ ิฐานที่ต้ังไว้ และกำหนดเกณฑ์การประเมินท่ผี า่ นเกณฑค์ ือ 3 คะแนน ผลการวิจยั ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเก่ียวกบั ผู้ตอบแบบสอบถามของโรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี ตารางท่ี 1 จำนวนและค่ารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม ลกั ษณะ จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 1 12.5 หญงิ 7 87.5 รวม 8 100 อายุ 20-30 ปี 3 37.5 31-40 ปี 3 37.5 40-50 ปี 2 25 8 100 รวม ตำแหน่งหน้าที่ในปจั จบุ นั 1 12.5 ผ้อู ำนวยการ 7 87.5 ครผู ู้สอน 8 100 วุฒิทางการศึกษาสูงสดุ รวม 2 25 6 75 สงู กวา่ ปริญญาตรี 8 100 ปริญญาตรี ประสบการณ์ทำงาน รวม 2 25 4 50 ตำ่ กว่า 5 ปี 2 25 5-10 ปี 8 100 15 ปขี ้นึ ไป รวม

34 ตารางที่ 2 ค่าเฉล่ยี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดับ และอันดับที่การประเมนิ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีของโรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดยภาพรวมรายด้าน การประเมินโครงการเรยี นฟรี 15 ปี ������̅ SD ระดบั อันดับท่ี 1. ดา้ นบรบิ ท 4.01 0.73 มาก 2 2. ดา้ นปจั จัยนำเข้า 3.29 0.73 ปานกลาง 4 3. ดา้ นกระบวนการ 4.5 0.64 มาก 1 4. ด้านผลผลติ 3.61 0.67 ปานกลาง 3 เฉลยี่ 3.85 0.69 จากตารางที่ 2 พบวา่ การประเมนิ นโยบายเรียนฟรี 15 ปขี องโรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส สำนกั งาน เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บุรี มีค่าเฉลยี่ อยูใ่ นระดับมากและระดับปานกลาง แต่เม่อื พิจารณาราย ด้านพบว่ามีการเรยี งลำดับคะแนนเฉลย่ี จากมากไปนอ้ ยคือ ด้านกระบวนการ ด้านบริบท ดา้ นผลผลติ และดา้ น ปจั จยั นำเขา้ การประเมนิ จากท่กี ำหนดไวค้ อื คา่ เฉล่ียเท่ากับ 3 คะแนนคอื ผา่ นการประเมินพบว่าทกุ ด้านนัน้ ผา่ นการประเมิน ตารางที่ 3 ค่าเฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั และอันดับทีข่ องการประเมินนโยบายเรียนฟรี 15 ปีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงิ ห์บรุ ี การประเมนิ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีของโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส ������̅ SD ระดับ อันดบั ที่ ดา้ นบรบิ ท 4.14 0.69 มาก 3 4.29 0.49 มาก 2 1. นโยบายเรียนฟรี 15 ปีเป็นนโยบายเพอื่ ให้นักเรียนทุกคนมี 4.43 0.53 มาก 1 โอกาสไดร้ ับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย 4.14 0.69 มาก 3 2. นโยบายเรียนฟรี 15 ปีเป็นนโยบายเพ่อื ลดค่าใช้จ่ายและ 4.14 0.90 มาก 3 บรรเทาความเดือดร้อนของพ่อแม่ ผ้ปู กครอง 3.57 0.79 ปานกลาง 9 3. นโยบายเรียนฟรี 15 ปี เป็นโครงการเพ่ือสร้างโอกาสทาง 4 1 มาก 7 การศกึ ษา 3.71 0.76 ปานกลาง 8 4. นโยบายเรียนฟรี 15 ปเี ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนเขา้ ถึงการศึกษาที่มี คุณภาพอย่างท่ัวถงึ 5. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีเป็นนโยบายที่เพิ่มประสิทธิภาพการ บรหิ ารจัดการให้เกิดความเสมอภาค 6. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีเป็นนโยบายท่ีกระต้นุ เศรษฐกิจของ ประเทศ 7. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีเป็นนโยบายที่เพิ่มประสิทธิภาพการ บรหิ ารและจัดการใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษา 8. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปเี ปน็ นโยบายทีผ่ ลิตทรพั ยากรทีม่ คี ุณค่า ให้แก่สงั คม

35 การประเมนิ นโยบายเรียนฟรี 15 ปีของโรงเรยี นวัดพรหมเทพาวาส ������̅ SD ระดบั อันดบั ที่ 9. นโยบายเรียนฟรี 15 ม่งุ หวังจะสร้างเด็กไทยให้เป็นคนเก่งคนดี 3.57 0.79 ปานกลาง 9 ออกสสู่ งั คม 4.14 10. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปเี ป็นการตอบสนองต่อความต้องการ 0.69 มาก 3 ของประชาชนและสังคมส่วนรวม 4.14 3.43 0.69 มาก 1 ดา้ นปัจจัยนำเข้า 2.29 0.53 ปานกลาง 4 3.71 0.95 น้อย 5 11. บุคลากรในการดำเนนิ งานตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปีได้รบั 3.86 0.49 ปานกลาง 3 การอบรมการปฏบิ ัตงิ านเกย่ี วกบั โครงการอยา่ งต่อเนื่อง 0.69 ปานกลาง 2 12. มกี ารกำหนดหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบในการดำเนนิ งานตาม 4 โครงการของบคุ ลากรอยา่ งชัดเจน 4 0.58 มาก 4 13. งบประมาณท่ีได้รับจดั สรรให้ทำโครงการน้ีมีจำนวนเพียงพอ 3.86 0.58 มาก 4 ต่อการจดั การศึกษา 3.57 0.69 ปานกลาง 6 14. โรงเรยี นไดร้ บั การสนบั สนนุ ส่ือ วสั ดุ อุปกรณก์ ารเรียนของ 4.29 0.79 ปานกลาง 7 โครงการอยา่ งเตม็ ท่ี 4.57 0.76 มาก 2 15.กฎ ระเบยี บทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การปฏบิ ัตงิ านไมเ่ อ้ืออำนวยต่อ 4.14 0.53 มาก 1 นโยบายเรยี นฟรี 15 0.69 มาก 3 3.29 ด้านกระบวนการ 3.43 0.49 ปานกลาง 7 1.40 ปานกลาง 6 16.นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีมีแนวทาง รูปแบบและกระบวนการ ดำเนนิ งานทีเ่ ปน็ รูปธรรมชดั เจน 17. มีการแจง้ การจดั สรรงบประมาณ สนบั สนุนของนโยบายเรยี น ฟรี 15 ปที ถ่ี ูกต้องตามสิทธแิ ละโอกาสของนักเรยี น 18. มกี ารประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกับนโยบาย เรียนฟรี 15 ปีใหผ้ ้ทู เี่ กีย่ วข้องทราบอย่างรวดเรว็ และมีความชดั เจน 19. มีการจดั ประชุมผู้ปกครองใหท้ รายถงึ ข้นั ตอนการดำเนินงาน เก่ยี วกับนโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างละเอยี ด 20. การตดิ ตาม ตรวจสอบการจดั ซอ้ื หนังสือเรียน เครอื่ งแบบ นกั เรียนและอปุ กรณ์การเรียนเปน็ ไปอย่างทวั่ ถงึ และเท่าเทยี มกัน 21. ผูบ้ ริหารโรงเรียนมกี ารติดตามผลการดำเนินงานนโยบายเรียน ฟรี 15 ปอี ยา่ งต่อเนอื่ ง 22. ระบบการตรวจสอบงบประมาณการใชเ้ งนิ ตามนโยบายเรียน ฟรี 15 ปีมีความโปรง่ ใส ดา้ นผลลพั ธ์ 23. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปที ำใหน้ กั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ทีส่ ูงข้ึน 24. นโยบายเรียนฟรี 15 ปเี ป็นนโยบายท่ดี ำเนนิ การหา ผลประโยชน์ไม่อาจตรวจสอบได้

36 การประเมนิ นโยบายเรียนฟรี 15 ปขี องโรงเรยี นวัดพรหมเทพาวาส ������̅ SD ระดับ อันดบั ท่ี 25. นโยบายเรียนฟรี 15 ปี มีสว่ นช่วยทำให้โรงเรียนมีคณุ ภาพการ 3.57 0.53 ปานกลาง 3 จัดการศึกษาท่ีดีข้นึ ได้ 26. นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียน เนื่องจากไดร้ บั การสนับสนนุ 3.71 0.49 ปานกลาง 2 หนังสอื เรียน อปุ กรณก์ ารเรียนและเคร่ืองแบบครบทุกคน 4.14 3.57 0.69 มาก 1 27. ทกุ คนให้ความสำคัญต่อการมสี ่วนรว่ มของนโยบายเรยี นฟรี 3.57 15 ปี 0.53 ปานกลาง 3 28. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปเี ป็นนโยบายทีท่ ำให้ชมุ ชนสามารถ 0.53 ปานกลาง 3 พัฒนาตนเองได้ดขี ึน้ 29. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีทำให้ชมุ ชนมคี วามเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น จากการวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านของนโยบายเรยี นฟรีนั้นพบว่าด้านบริบท ข้อที่ได้รับคะแนนมาก ที่สุดคือ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี เป็นโครงการเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษา ด้านปัจจัยนำเข้า ข้อที่ได้รับ คะแนนมากที่สุดคือ บุคลากรในการดำเนินงานตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปีได้รับการอบรมการปฏิบัติงาน เก่ยี วกับโครงการอย่างต่อเน่ือง ดา้ นกระบวนการ ข้อท่ไี ดร้ ับคะแนนมากท่สี ดุ คือ ผู้บริหารโรงเรียนมีการติดตาม ผลการดำเนินงานนโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างต่อเนื่อง ด้านผลลัพธ์ ข้อที่ได้รับคะแนนมากที่สุดคือ ทุกคนให้ ความสำคัญต่อการมสี ่วนร่วมของนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี จากการสังเคราะหข์ อ้ มูลทางด้านคณุ ภาพจากแบบสอบถามทกี่ ลุ่มตวั อย่างได้ตอบน้ันพบว่า ปัญหาที่ท่านพบจากนโยบายเรียนฟรี 15 ปีในโรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสิงหบ์ ุรี คือ ผู้ปกครองบางส่วนนำงบประมาณทไ่ี ด้ไปใช้ไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ นักเรียน ไม่เห็นคุณค่าของการได้รับงบประมาณ การย้ายโรงเรียนของนักเรียนระหว่างที่กำลังศึกษาอยู่และการได้ งบประมาณไมฟ่ รที ้ังหมด แนวทางการแก้ไขคือ สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องของนโยบายเรียนฟรี 15 ปีให้กับทุกคนที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ให้นักเรียนรู้จักคุณค่าของการได้เรียนฟรี 15 ปี จัดสรรงบเพิ่มให้เพียงพอต่อความต้องการและ ประชาสัมพันธเ์ กี่ยวกบั นโยบายเรยี นฟรี15ปีใหก้ ับผ้ปู กครองเข้าใจโดยง่าย ข้อเสนอแนะให้มีการดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จ คือ นำงบประมาณที่ได้รับจัดสรรไปสู่ตัวของ ผู้เรียนได้อย่างแท้จริงและทั่วถึง การจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอและทั่วถึงจริง และโรงเรียนประชุมชี้แจง รายละเอียดเกยี่ วกบั นโยบายให้ผู้ปกครองเขา้ ใจในการได้รับประโยชน์ของนักเรียน อภปิ รายผล โครงการเรียนฟรีลดภาระค่าใช้จ่าย บรรเทาความเดือดร้อนของครอบครัว สร้างโอกาสทางการศึกษา ลดภาระและสร้างควาเสมอภาค รฐั บาลควรสนบั สนุน สามารถช่วยเหลอื สง่ เสรมิ อย่างยิง่ ในฐานะพลเมืองของ รัฐ (Civil Right) การทำงานต้องเป็นไปอย่างโปร่งใส มีแนวทางการดำเนินงานทีช่ ัดเจน และทำความเข้าใจกบั ผปู้ กครอง ถา้ หากจำนวนเงินไม่เพยี งพอและไมค่ ลอบคลมุ (มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต, 2553 การดำเนนิ โครงการต้องดูตามวัตถุประสงค์ของงาน การวดั และประเมนิ โครงการรว่ มดว้ ยเสมอ มีเกณฑ์ ในการวัดประเมนิ อย่างชัดเจน และแปลความหมายของโครงการเสมอ การตดิ ตามโครงการเป็นเรื่องสำคัญต้อง

37 มีการดำเนินการอย่างถูกต้องและสมำ่ เสมอ ปรับปรุงโครงการอย่างสมำ่ เสมอ ผู้บริหารตอ้ งใหค้ วามสำคัญและ กระต้นุ การทำงานในองคก์ ร (สมหวัง พิธิยานุวฒั น์, 2550) ปัญหาในการดำเนินงานคือการขาดการอธิบายรายละเอียดในการปฏิบัติงานให้ชัดเจนในสถานศึกษา และการสร้างความตระหนักให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งเห็นคุณคา่ และความสำคัญของโครงการ (สิรินทร์พร วงศ์พีร กุล, 2552) และควรให้โรงเรียนสำรวจถึงความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครองตามสภาพจริง (ธมญย์รัตน์ เจริญรัตน์, 2553) และทางโรงเรียนควรประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการให้ชัดเจน และ นโยบายเรยี นฟรยี งั มีกฎระเบียบท่ีเกีย่ วข้องกับการปฏิบัติงานเปน็ จุดอ่อนของโครงการ (สมหวัง พิธิยานวุ ัฒน์, 2560) ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั 1. ดา้ นบรบิ ท ทางโรงเรยี นควรดำเนนิ การให้มีการจัดโครงการเก่ียวกับการนำเดก็ ดีออกสสู่ งั คมและเสริมสร้างการนำ ผลจากการจัดโครงการนั้นไปใช้ในการสร้างประโยชน์สู่สังคมได้ด้วย ทำให้นักเรียนอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึ้น 2. ดา้ นปจั จัยนำเข้า เมอื่ งบประมาณไมเ่ พียงพอ ทางโรงเรยี นควรบรู ณาการโครงการเขา้ ดว้ ยกันเพ่ือลดจำนวนงบประมาณ ตงั้ จุดประสงค์โครงการอยา่ งชดั เจน และกำหนดใหบ้ คุ ลากรมีหน้าที่ในโครงการอยา่ งชดั เจน เน้นการใช้นโยบาย ให้ตรงจดุ ประสงค์การศกึ ษา การดำเนนิ งานให้มีประสิทธิภาพตามโครงการทต่ี ้ังไว้ 3. ดา้ นกระบวนการ ทางโรงเรียนควรมีการจัดประชุมผู้ปกครองเพิ่มเติมเพื่อชี้แจงการดำเนนิ งานโครงการเรียนฟรี 15 ปีท่ี ถูกต้อง เผยแพร่โครงการขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกบั นโยบายเรียนฟรีให้ผู้เก่ียวข้องทราบและตรวจสอบการทำงาน ให้โปร่งใสและมีการจัดเก็บเอกสารอย่างเป็นปัจจุบัน และเพิ่มหน่วยงานประชาสัมพันธ์การดำเนินงานของ โรงเรยี นใหผ้ ู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี รับทราบ 4. ด้านผลลพั ธ์ ทางโรงเรียนควรเปิดโอกาสใหช้ ุมขนมีสว่ นร่วมในการออกแบบการเรยี นรู้ มีการดำเนินการโครงการที่ ส่งเสริมทางด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะทำให้การดำเนินงานนโยบายเรียน 15 ปี นี้ได้ นำไปสผู่ ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนได้อย่างแทจ้ ริง ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป 1. ควรมีการศึกษานโยบายเรยี นฟรี 15 ปีในทัศนะของคณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง และชุมชน เพิม่ เตมิ 2. ควรมกี ารศึกษาเพิ่มเติมเกีย่ วกบั ระบบประชาสมั พนั ธ์นโยบายเรียนฟรี 15 ปีของโรงเรียน 3. ควรมกี ารศึกษาเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั การนำนโยบายเรยี นปรี 15 ปไี ปปฏิบตั ิใช้ 4. ควรมกี ารศึกษาวจิ ัยเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิข์ องผเู้ รียนในนโยบายเรียนฟรี15 ปีของแต่ละโรงเรยี น

38 เอกสารอา้ งอิง ธมญยร์ ตั น์ เจริญรตั น์. (2553). การประเมินโครงการเรยี นฟรี เรยี นดีอย่างมีคณุ ภาพของโรงเรยี น สงั กดั กรงุ เทพมหานครในสำนักงานเขตมีนบรุ .ี ปรญิ ญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบณั ฑติ (วิทยาการ การประเมิน). บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. วิสุทธ์ิ วิจิตรพชั ราภรณ์.(2561). การนำนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ: แนวความคิด กระบวนการในองค์กรทาง การศึกษา. วสิ ตา้ อนิ เตอรป์ ร้ิน. สมบตั ิ ธำรงธัญวงศ.์ (2548).นโยบายสาธารณะแนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. กรงุ เทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สมหวังพธิ ยิ านุวัฒน์.(2550).วิธีวทิ ยาการประเมิน: ศาสตร์แห่งคณุ ค่า.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทยาลยั . สวนดุสติ โพล มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ .(2552). รายงานสรปุ ผลการสำรวจความคดิ เหน็ ของผู้ท่ีเกย่ี วข้อง การดำเนินงาน โครงการเรียนฟรี 15ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ. การวจิ ยั เชงิ สำรวจ. สำนกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร.(2552).รายงานบทสรปุ การติดตามประเมนิ ผลการจัดการศึกษาตาม แนวทาง “เรียนฟรี เรียนดี อยา่ งมคี ณุ ภาพ”. สถาบนั วจิ ัยและพฒั นา มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร. สิรนิ ทร์พร วงศ์พีรกลุ .(2552). การตดิ ตามและประเมนิ ผลกระบวนการนำนโยบายเรยี นฟรี 15 ปีไปปฏิบัติ ในสถานศึกษา : การประยุกต์วิธีการประเมินแบบผสมผสาน. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (การวัดและประเมินผลการศึกษา). บัณฑิตมหาวทิ ยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

ชือ่ -สกลุ 39 วัน เดือน ปเี กิด ภมู ลิ ำเนา ประวัติผู้วจิ ยั สถานทอ่ี ย่ปู จั จบุ นั ตำแหนง่ หน้าที่ นางสาวพรรณทิพา ปทั มอารักษ์ สถานทท่ี ำงานปัจจุบนั 12 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 อำเภอเมือง จังหวดั สงิ หบ์ ุรี ประวตั กิ ารศึกษา บา้ นเลขท่ี 1048/1 ตำบลบางพุทรา อำเภอเมือง จงั หวดั สิงห์บรุ ี 16000 พ.ศ. 2552 ข้าราชการครู พ.ศ. 2558 โรงเรยี นวัดพรหมเทพาวาส สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประถมศกึ ษาสงิ ห์บุรี พ.ศ. 2561 มธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นสิงห์บุรี จงั หวัดสิงหบ์ ุรี วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาพฒั นาผลิตภณั ฑ์ คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาจิตวทิ ยาการปรกึ ษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

40 การประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรียนสามัคควี ทิ ยา The Evaluation of the School Based Curriculum of Samakkee Wittaya School พรรณนารี ภิรมยไ์ กรภกั ด์ิ1* วสิ ุทธ์ิ วิจิตรพัชราภรณ์2 อัจฉรา นยิ มาภา3 Pannaree Piromkraipak1 Wisut Wichitputchraporn 2 Achara Niyamabha3 1นสิ ิตหลักสูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ Doctor of Education Program in Educational Administration, Kasetsart University *Corresponding author e-mail: [email protected] โทร. 0835354292 2อาจารย์ประจำหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0636539651 3อาจารย์ประจำหลกั สตู รศึกษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ Lecturer of Doctor of Education Program, Kasetsart University e-mail: [email protected] โทร. 0984532945 บทคดั ยอ่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย กระบวนการ ผลผลิตและข้อเสนอเชิงนโยบายการจัด การศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสามัคคีวิทยา สังกดั คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยใช้ กรอบการประเมินหลักสูตรเชิงระบบ ซึ่งได้ดำเนินการประเมิน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้าน กระบวนการ และด้านผลผลิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 9 คน ครจู ำนวน 36 คน และผปู้ กครองนักเรียนระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 53 คน รวม จำนวน 98 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสามัคคีวิทยา ด้านปัจจยั นำเข้า ดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลผลิต โดยภาพรวมผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครู เห็นวา่ เหมาะสม อยู่ในระดับมาก และผู้ปกครองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 เห็นว่าด้านผลผลิต เหมาะสมในระดบั มาก คำสำคญั : การประเมินหลกั สูตร; การประเมินเชิงระบบ ABSTRACT The objective of this research was to evaluate the school curriculum of Samakkee Wittaya school under the supervision of the Office of Private Education Commission through systemic evaluation which conducting three aspects including input, process, and product. The participants consisted of 9 school administrators, 36 teachers, and 53 parents of students in Grade 6 and Grade 9, totally 98 people. The research instruments used in this research was questionnaires. The data were analyzed by percentage, mean, and standard deviation. The results of this study were as follows:

41 The evaluation of school input, process and output of administrators and teachers' opinions was at high agreement level. The evaluation of school output of the parents' opinions was at high level. Keywords: Evaluation of School Curriculum; Systemic Evaluation บทนำ หลกั สตู รเปน็ หวั ใจสำคญั ของการจดั การศึกษาทุกระดบั การจัดทำหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ถือว่า เป็นแก่นและโครงสร้างฐานรากในการพัฒนาเด็กและเยาวชนของชาติ การนำนโยบายหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน และมีคุณภาพไปสู่การปฏิบตั ิระดบั สถานศึกษาจึงเป็นเรื่องสำคัญเป็นอย่างย่ิง ที่ผ่านมาได้มกี ารพัฒนาหลักสูตร มาอย่างต่อเนื่อง โดยหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเริ่มมีการประกาศใช้เมื่อปี พ.ศ. 2544 และต่อมา กระทรวงศึกษาธิการได้มกี ารปรับปรุงหลักสูตรเป็นครั้งที่สอง และประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แต่ด้วยปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจและสงั คม เพ่อื เปน็ การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสรา้ งศักยภาพของประชากรในทุกช่วง วัย มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์ของประเทศ กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบายสำคัญและ เร่งด่วนให้มีการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) โดยมีกรอบในการปรับปรุงคือ ให้มีองค์ความรู้ที่เป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ ปรับมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำซอ้ น สอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และระหว่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน จัดเรยี งลำดบั ความยากง่ายของเน้ือหาในแต่ละระดบั ชนั้ ตามพฒั นาการแต่ละชว่ งวัย ให้มีความเชอ่ื มโยงความรู้ และกระบวนการเรียนรู้ โดยให้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด (สำนักวิชาการและ มาตรฐานการศกึ ษา, 2560) ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมาโรงเรียนสามัคคีวิทยาได้ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรสถานศึกษาตาม หลักการและเป้าหมายของการจัดการศึกษาของชาติ โดยดำเนินการนำหลกั สูตรสถานศึกษาฉบบั แกไ้ ขปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560 สกู่ ารปฏิบตั ิในการจดั การเรยี นการสอนในชน้ั เรยี น และยงั ไม่ไดด้ ำเนินการประเมินหลักสูตร เพื่อพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ติดตาม ผลผลิตจากหลักสูตร และแก้ไขข้อบกพร่องให้หลักสูตรมีคุณภาพมาตรฐาน (สุนีย์ ภู่พันธ์, 2546) การพัฒนา หลักสตู รทำได้โดยการประเมินตดิ ตามผลการใช้หลกั สตู รอยา่ งต่อเน่ืองเปน็ ระยะๆ และนำผลจากการตดิ ตามมา ใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพ เป็นตัวบ่งชี้ว่าหลักสูตรควรปรับปรุงแก้ไขส่วนใด และให้เป็นไปในทิศทางใด (สมบูรณ์ ชิตพงศ์, 2522) และเป็นการตรวจสอบประสิทธิภาพของหลักสูตรว่ามี คณุ ค่าเหมาะสมหรือไม่ ดงั นัน้ โรงเรียนสามัคควี ิทยาจึงทำการประเมินหลักสตู รสถานศึกษาอย่างรอบด้าน เพ่ือ นำมาใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลกั สูตรตอ่ ไป งานวิจัยนี้ได้ทำการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสามัคคีวิทยา จังหวัดลพบุรี สังกัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โดยประยุกต์การใช้รูปแบบการประเมินผลเชิงระบบ (Systemic evaluation) โดยการประเมินองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้าน กระบวนการ (Process) และด้านผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา (Output) เพื่อศึกษาความเหมาะสมของ หลักสูตร ตลอดจนการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อผิดพลาด และนำผลการประเมินนีไ้ ปปรับปรงุ และ พัฒนาหลกั สตู รใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตอ่ ไป

42 วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพื่อศกึ ษาปัจจยั การจัดการศึกษาตามหลกั สตู รสถานศึกษา 2. เพื่อศึกษากระบวนการการจัดการศกึ ษาตามหลกั สูตรสถานศึกษา 3. เพอื่ ศกึ ษาผลผลิตการจัดการศกึ ษาตามหลักสูตรสถานศึกษา 4. เพ่ือศึกษาข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรสถานศึกษา ระเบยี บวิธีวิจยั 1. ขอบเขตของการวจิ ัย ขอบเขตเนื้อหาการประเมนิ การใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาของโรงเรียนสามคั คีวิทยา เปน็ การประเมนิ โดย ใชร้ ูปแบบการประเมนิ หลักสูตรแบบเชงิ ระบบ มีขอบเขตการประเมนิ หลกั สตู ร 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านปจั จัยนำเข้า ดา้ นกระบวนการ และดา้ นผลผลติ 1.1 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนสามัคควี ทิ ยาในครัง้ นี้ ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และผ้ปู กครองนักเรยี น จำนวนทงั้ ส้ิน 98 คน จำแนกได้ ดังน้ี 1.1.1 ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จำนวน 12 คน 1.1.2 ครู จำนวน 50 คน 1.1.3 ผู้ปกครองนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 และมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 จำนวน 233 คน 1.2 กลุ่มตัวอยา่ ง กลมุ่ ตวั อย่างการวิจยั ครั้งน้ีมีจำนวน 98 คน ดังน้ี 1.2.1 กลุ่มที่ 1 คณะผู้บริหาร จำนวน 9 คน ได้แก่ ผู้อำนวยการ 1 คน รองผู้อำนวยการ 3 คน ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ 3 คน ท่ปี รึกษา 2 คน โดยใชว้ ธิ ีการเลือกแบบเจาะจง 1.2.2 กลมุ่ ท่ี 2 ครูผสู้ อนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 36 คน ได้แก่ ครูผู้สอนทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) จากการส่ง แบบสอบถามออนไลน์ 1.2.3 กลุ่มที่ 3 ผปู้ กครองนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 53 คน โดยใช้วิธีการสมุ่ ตัวอย่างแบบไมใ่ ช้ทฤษฎคี วามน่าจะเปน็ (Non-probability Sampling) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) จากการส่งแบบสอบถาม ออนไลน์ 2. กรอบแนวคิดการวิจัย การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสามัคคีวิทยาในครั้งน้ีใช้รูปแบบการประเมินเชิง ระบบ (Systemic evaluation) โดยมกี รอบแนวคดิ การวิจยั ดังน้ี

ปัจจยั นำเขา้ หลักสตู รสถานศกึ ษา 43 กระบวนการ ผลผลติ วิสยั ทัศน์ การใชห้ ลกั สตู ร คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ พันธกิจ การดำเนินการใช้หลกั สตู ร สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน เป้าหมาย การนิเทศตดิ ตามการใช้หลกั สตู ร ความมีชือ่ เสยี งและการยอมรบั จดุ มงุ่ หมายของหลักสตู ร การปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู ร โครงสร้างหลักสูตร การวดั ผลและประเมนิ ผลการ ของชมุ ชน รายวชิ าท่ีเปดิ สอน เนื้อหาสาระ จัดการเรยี นรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ความรคู้ วามสามารถของครู ความพรอ้ มของสื่อการเรียนการสอน ความพรอ้ มของสถานที่ สภาพชมุ ชน 3. วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) โดยดำเนินการตามขึ้นตอน ศึกษาและสังเคราะห์เอกสาร หลักการแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการประเมินหลักสูตร และกำหนดระเบียบวิธี กระบวนการวิจัยโดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย แบบสอบถาม ออนไลนจ์ ำนวน 2 ฉบับ ดังน้ี แบบสอบถามฉบับท่ี 1 สำหรับผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครู แบ่งออกเป็น 3 ตอนดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) จำนวน 4 ขอ้ ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บรหิ ารและครู ที่มีต่อการใช้หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนสามัคคีวิทยา มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยการประเมินความ เหมาะสมของหลักสูตรแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิตจำนวน 20 ขอ้ ตอนที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดหลักสูตรสถานศึกษา มีลักษณะเป็น แบบปลายเปิด (Open Ended) จำนวน 1 ข้อ แบบสอบถามฉบบั ท่ี 2 สำหรับผู้ปกครองนักเรยี น แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) จำนวน 4 ข้อ

44 ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน ที่มีต่อการใช้หลักสูตร สถานศกึ ษาโรงเรียนสามัคควี ิทยา มีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) โดยการประเมิน ความเหมาะสมของหลักสตู รในด้านผลผลติ จำนวน 3 ขอ้ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมทั่วไปที่มีต่อหลักสูตรและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา มี ลกั ษณะเปน็ แบบปลายเปิด (Open Ended) จำนวน 1 ข้อ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแบบสอบถาม ผูว้ ิจยั ไดเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มูล จากผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครู และผู้ปกครองนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 6 และมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยใชแ้ บบสอบถามออนไลน์ 5. การวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจาก คอมพวิ เตอร์ ดังนี้ 5.1 ตรวจสอบความถูกต้อง และความสมบูรณ์ในการตอบแบบสอบถามแล้วนำข้อมูลมา จดั ระบบ เพ่อื นำมาวเิ คราะห์และจัดระเบยี บข้อมลู 5.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการหาค่าร้อยละ (������̅) เป็นรายข้อ และโดยภาพรวม 5.3 ข้อมลู เก่ียวกบั ความคิดเห็นการประเมินการใช้หลกั สูตรตามรูปแบบการประเมนิ เชิงระบบ ทัง้ 3 ด้าน นำมาวิเคราะห์ด้วยคา่ เฉล่ยี (������̅) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เปน็ รายข้อและโดยภาพรวม 5.4 สรุปรวบรวมปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดหลักสูตร มาบรรยายเป็นความ เรียง และความสัมพนั ธ์กันในด้านตา่ ง ๆ โดยสรุปในแตล่ ะดา้ น ผลการวิจยั จากการประเมินการใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนสามัคคีวิทยา ซึง่ ได้ดำเนนิ การประเมนิ หลักสูตร 3 ดา้ นได้แก่ ด้านปจั จยั นำเข้า ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลิต ของผ้บู ริหารสถานศึกษา ครู และผู้ปกครอง นกั เรียน โดยภาพรวมของผ้บู ริหารและครูประเมนิ ว่ามีความเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก (������̅ = 4.38) ผ้ปู กครอง ประเมนิ วา่ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก (������̅ = 4.31) เมือ่ พิจารณารายด้านย่อย พบว่าอยู่ในระดบั มาก ทั้ง 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านปจั จยั นำเข้า (������̅ = 4.38) ดา้ นกระบวนการ (������̅ = 4.39) และด้านผลผลิต (������̅ = 4.37) 1. ดา้ นปัจจยั นำเข้า ผลการประเมนิ การใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษา ในดา้ นปัจจยั นำเขา้ โดยภาพรวมพบว่ามคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก (������̅ = 4.38) (ตารางท่ี 1)

45 ตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการประเมินหลักสูตรดา้ นปจั จัยนำเขา้ (Input) การประเมนิ หลักสตู รด้านปจั จัยนำเข้า ระดบั ความคดิ เหน็ อันดบั (Input) ̅������ S.D. ระดบั 1 ดา้ นเนอื้ หาสาระ 2 ดา้ นเป้าหมาย 4.51 0.52 มากท่สี ดุ 2 ดา้ นรายวชิ าท่เี ปดิ สอน 4.50 0.56 มากท่สี ดุ 3 ดา้ นความรคู้ วามสามารถของครู 4.50 0.56 มากทส่ี ดุ 4 ดา้ นโครงสรา้ งหลกั สตู ร 4.50 0.50 มากท่ีสุด 5 ดา้ นจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร 4.43 0.56 มาก 6 ด้านพนั ธกจิ 4.40 0.58 มาก 7 ดา้ นวสิ ัยทศั น์ 4.36 0.52 มาก 8 ดา้ นกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 4.33 0.56 มาก 9 ดา้ นความพร้อมของอาคารสถานที่ 4.31 0.58 มาก 10 ด้านสภาพชมุ ชน 4.28 0.71 มาก 11 ดา้ นความพร้อมของส่ือการเรยี นการสอน 4.24 0.53 มาก 4.17 0.59 มาก รวม 4.38 0.57 มาก จากตารางท่ี 1 เมอ่ื พิจารณารายด้านย่อย พบว่าอยใู่ นระดับมากทส่ี ุด 4 ดา้ น และระดับมาก 8 ด้าน ด้านทอ่ี ยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ คือ ดา้ นเน้อื หาสาระ (������̅ = 4.51) ด้านเปา้ หมาย (������̅ = 4.50) ดา้ นรายวิชาทเี่ ปดิ สอน (������̅ = 4.50) และดา้ นความรู้ความสามารถของครู (������̅ = 4.50) ด้านทอ่ี ยู่ในระดับมาก คือ ด้านโครงสร้าง หลักสูตร (������̅ = 4.43) ดา้ นจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร (������̅ = 4.40) ดา้ นพนั ธกจิ (������̅ = 4.36) ด้านวิสยั ทัศน์ (������̅ = 4.33) ดา้ นกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน (������̅ = 4.31) ด้านความพรอ้ มของอาคารสถานท่ี (������̅ = 4.28) ดา้ นสภาพชุมชน (������̅ = 4.24) และดา้ นความพร้อมของสอ่ื การเรยี นการสอน (������̅ = 4.17) 2. ด้านกระบวนการ ผลการประเมนิ การใช้หลกั สตู รสถานศกึ ษา ในด้านกระบวนการ โดยภาพรวมพบวา่ มีความเหมาะสม อยู่ในระดบั มาก (������̅ = 4.39) และเม่ือพิจารณาเป็นรายดา้ นย่อย พบวา่ อยู่ในระดบั มากทั้ง 5 ด้าน ดา้ นที่มี คา่ เฉล่ียสูงสุด และรองลงมาตามลำดบั คือ ด้านการดำเนนิ การใชห้ ลกั สตู ร (������̅ = 4.45) ด้านการนเิ ทศตดิ ตาม การใชห้ ลักสตู ร (������̅ = 4.44) ดา้ นการใช้หลกั สตู ร (������̅ = 4.37) ด้านการวัดผลและประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ (������̅ = 4.37) และดา้ นการปรับปรุงและการพัฒนาหลกั สตู ร (������̅ = 4.32) (ตารางที่ 2) ตารางท่ี 2 ตารางแสดงผลการประเมนิ หลกั สตู รด้านกระบวนการ (Process) การประเมนิ หลกั สตู รด้านกระบวนการ ระดบั ความคิดเห็น (Process) ̅������ S.D. ระดบั อนั ดบั ด้านการดำเนนิ การใชห้ ลกั สตู ร 4.45 0.63 มาก 1 2 ดา้ นการนิเทศตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู ร 4.44 0.61 มาก 3 4 ด้านการใชห้ ลักสตู ร 4.37 0.67 มาก 5 ดา้ นการวัดผลและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ 4.37 0.59 มาก ด้านการปรบั ปรงุ และพฒั นาหลกั สูตร 4.32 0.60 มาก รวม 4.39 0.62 มาก

46 3. ด้านผลผลติ ผลการประเมินการใช้หลักสตู รสถานศึกษา ในด้านกระบวนการ โดยภาพรวมพบวา่ มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก (������̅ = 4.37) โดยผู้บรหิ ารและครปู ระเมินด้านผลผลติ อยูใ่ นระดบั มาก (������̅ = 4.43) และ ผ้ปู กครองประเมินดา้ นผลผลติ อยูใ่ นระดับมาก (������̅ = 4.31) และเมื่อพิจารณาเปน็ รายด้านย่อย จากการประเมิน ของผู้บริหารและครู พบว่าอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด 1 ดา้ น คอื ด้านความมเี ช่ือเสยี งและการยอมรับของชุมชน (������̅ = 4.53) และอยู่ในระดับมาก 2 ดา้ น คือ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (������̅ = 4.47) และดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (������̅ = 4.30) (ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 การประเมินหลักสตู รดา้ นผลผลติ โดยผู้บริหารและครู (Output) การประเมนิ หลกั สูตรด้านกระบวนการ ระดบั ความคดิ เห็น (Process) ̅������ S.D. ระดบั อนั ดบั ดา้ นความมเี ชือ่ เสยี งและการยอมรับของชุมชน 4.53 0.50 มากทส่ี ุด 1 2 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4.47 0.59 มาก 3 ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 4.30 0.53 มาก รวม 4.43 0.54 มาก ขณะทผ่ี ้ปู กครองนักเรยี นประเมินดา้ นผลผลติ อยูใ่ นระดบั มากท้ัง 3 ด้าน โดยด้านทีม่ ีคา่ เฉล่ยี สูงสุด และรองลงมาตามลำดบั คอื ด้านความมชี ่ือเสยี งและการยอมรับของชมุ ชน (������̅ = 4.47) ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (������̅ = 4.34) และด้านสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น (������̅ = 4.24) (ตารางท่ี 4) ตารางท่ี 4 การประเมินหลกั สตู รดา้ นผลผลติ โดยผปู้ กครองนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 (Output) การประเมนิ หลักสูตรดา้ นกระบวนการ ระดับความคิดเหน็ (Process) ���̅��� S.D. ระดับ อนั ดับ ดา้ นความมเี ชื่อเสียงและการยอมรบั ของชมุ ชน 4.41 0.81 มาก 1 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.34 0.90 มาก 2 ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 4.18 0.81 มาก 3 รวม 4.31 0.84 มาก อภปิ รายผล การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสามัคคีวิทยาครั้งนี้ใช้วิธีการประเมินเชิงระบบ ซึ่งได้ดำเนิน การประเมินหลกั สตู ร 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปจั จยั นำเข้า ดา้ นกระบวนการ และด้านผลผลติ จากความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้ปกครองนักเรียน ผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสามัคคี วทิ ยาในภาพรวม พบว่ามคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มาก และมปี ระเด็นทีน่ ำมาอภิปราย ดงั นี้ 1. ดา้ นปัจจัยนำเขา้ ผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ในด้านปัจจัยนำเข้า โดยภาพรวมจากความคิดเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู พบวา่ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดับมาก โดยรายดา้ นยอ่ ยพบว่ามีผลการประเมินอยู่ ในระดับมากที่สุด 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหาสาระ ด้านเป้าหมาย ด้านรายวิชาที่เปิดสอน และด้านความรู้ ความสามารถของครู กระทรวงศึกษาธิการ (2545) ได้ให้แนวทางการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ และเป้าหมาย

47 ให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน ถึงแม้ว่าด้านความพร้อมของอาคารสถานที่ในเรื่องของห้องศูนย์การเรียนรู้ และแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี นมผี ลการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด แตด่ า้ นบรรยากาศ สิง่ แวดลอ้ มภายในโรงเรียนมีผล การประเมนิ มากทีส่ ดุ ของดา้ นปัจจยั นำเข้า เนอื่ งด้วยบรเิ วณโรงเรยี นมีความร่มรน่ื ห้องเรยี นสะอาด สะดวกต่อ การจัดกิจกรรม สอดคล้องกับผลการศึกษาของปริญญา วงศ์สุขสิน (2548) ที่พบว่าปัจจัยด้านอาคารสถานที่ ส่งผลต่อกระบวนการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา และสอดคล้องกับการศึกษาใน โรงเรียนประถมจังหวัดพงั งาของจันทร์จิรา บุรีมาศ และอดุล นาคะโร (2556) ที่พบว่าดา้ นอาคารสถานท่ี เป็น ปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา นอกจากนั้นรายวิชาที่เปิดสอนยังมีความ เหมาะสมทั้งในแง่ของเนื้อหาสาระแต่ละรายวิชาที่มีความสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มีความ เหมาะสมกับการกำหนดเวลาเรียนรู้ หลักสูตรสถานศึกษามีเป้าหมายที่ชัดเจนสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ท่ี สถานศึกษากำหนด ครูมีความประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และนำ ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ อีกทั้งยังมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นับว่ าครูมี บทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการจัดการเรียนการสอน มีอิทธิพลทางตรงมากที่สุดต่อการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษาของโรงเรยี น (จารุวลั ฐ์ สทุ ธสิ านนท,์ 2553) สามารถสง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี นเป็นรายบุคคล ส่งผล ตอ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา 2. ด้านกระบวนการ ผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาในด้านกระบวนการ จากความคิดเห็นของผู้บริหาร สถานศึกษาและครู โดยภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะโรงเรียนมีการ ดำเนินการใช้หลักสูตรอย่างจริงจัง เนื่องจากหลักสูตรเปรียบเสมือนเป็นแม่บทที่ชี้ให้เห็นแนวทางในการจัด ประสบการณ์ทุกรูปแบบ ทุกระดับชั้น สามารถกำหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้บรรลุผลได้ (สุนีย์ ภู่พันธ์, 2546) นอกจากนั้นโรงเรียนยังมีการส่งเสริมการสร้างและพัฒนาเครื่องมือการประเมินผลให้ครอบคลุมเนื้อหา และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน มีการส่งเสริม สนับสนุนให้ครูทำวจิ ยั ในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคณุ ภาพการเรียนการสอนอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีการนเิ ทศติดตาม การใช้หลักสูตร จัดโครงการนิเทศ ติดตามการใช้หลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้องกับการศึกษาของ อัจฉรา จนิ ดาพงษ์ (2547) พบวา่ กระบวนการนเิ ทศติดตามส่งผลต่อการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนนำร่อง และโรงเรียนเครอื ขา่ ยการใช้หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 3. ด้านผลผลิต ผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาในด้านผลผลิต จากความคิดเห็นของผู้บริหาร สถานศึกษา ครู และผู้ปกครองนักเรียน โดยภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ เป็นเพราะสถานศึกษามีการใช้หลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค์และ สมรรถนะของนักเรียน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22 ได้กำหนด แนวไวว้ า่ \"การจดั การศึกษาต้องยดึ หลักว่าผู้เรียนทกุ คนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผ้เู รยี นมคี วามสำคัญทส่ี ดุ กระบวนการจดั การศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ\" โรงเรียนจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็น พลเมอื งดีของชาติ ยดึ มั่นในศาสนา เคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความซือ่ สัตย์ สจุ ริต มี คุณธรรม จริยธรรมในการอยู่ร่วมกับผื่นในสังคมอย่างมีความสุข นอกจากนั้นยังจัดกิจกรรม และ กระบวนการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างมี วจิ ารณญาณ รเู้ ท่าทันเทคโนโลยแี ละเลือกใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม มที กั ษะในการดำเนนิ ชีวิต สามารถ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook