Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของการเล่นฟุตบอ

ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของการเล่นฟุตบอ

Published by kla.pea2021, 2021-08-20 04:21:05

Description: ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของการเล่นฟุตบอ

Search

Read the Text Version

ศิลปะศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ของการเล่นฟตุ บอล (The Arts and Science of Playing Football) 1. บทนา ความมุ่งหมายของบทความน้ี กเ็ พื่อที่จะ “สื่อ” ให้ทา่ นผอู้ ่าน ท่ีสนใจในกีฬา ฟุตบอลซ่ึงเป็นกีฬาที่นิยมเล่นกนั อยทู่ ว่ั โลก (ซ่ึงจะไมใ่ ช่กีฬาอเมริกนั ฟตุ บอล หรือ ซ๊อคเกอร์ (Soccer) ของสหรัฐอเมริกา) จะไดร้ ับความเขา้ ใจในรูปแบบและการเลน่ และเม่ือไดม้ องเห็นภาพการเลน่ ท่ีแสดงออกถึงความสาคญั ของ “ศิลปะ และ วิทยาศาสตร์” ที่ไดม้ ีอทิ ธิพลต่อวิวฒั นาการของการเล่นฟตุ บอลทว่ั โลก ในรอบ ศตวรรษท่ีผ่านมา และเมื่อท่านเร่ิมเขา้ ใจแลว้ ทา่ นกจ็ ะไดร้ ับความบนั เทิงในการดู มากข้นึ ผเู้ ขยี นเช่ือวา่ ววิ ฒั นาการทาง “ศิลปะ และวิทยาศาสตร์” น้ีคงจะมบี ทบาทสาคญั มากย่งิ ข้ึน เพราะทุกประเทศต่างกส็ นใจที่จะพฒั นามาตรฐานการเล่นฟตุ บอลของ ประเทศเขาให้เป็นแชมป์ โลกกบั เขาบา้ ง เพ่ือความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ งตรงกนั ขอใหเ้ ราพดู ถงึ คาจากดั ความของศพั ทแ์ สงท่ีจะ กล่าวถงึ ตอ่ ไปน้ี คอื 1.1 คาว่าศิลปะศาสตร์ พจนานุกรมไทย ฉบบั ของบริษทั ซีเอด็ ยเู คชนั่ พ.ศ. 2553 ให้คาจากดั ความไวด้ งั น้ี “ศิลปะศาสตร์ หมายถึง วิชาการท่ีไม่เกี่ยวกบั วชิ าชีพทางเทคนิค (รวม วศิ วกรรม) แตเ่ ป็นวิชาการเชิงศลิ ป์ ที่แสดงทกั ษะของการใชม้ อื ทางาน จิตรกรรม หรือ ศลิ ปกรรม ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดสุนทรีภาพ หรือความประทบั ใจ เป็นตน้ ” 1

ในกรณีของเราน้ี เราอาจจะประยกุ ตใ์ ชค้ าอธิบายดงั กล่าว โดยการอา้ งถงึ ทกั ษะ ของการใชเ้ ทา้ (รวมท้งั อก และศรี ษะ) มาเลน่ ฟุตบอลอยา่ งมีลลี า และความคิด สร้างสรรค์ เพ่ือให้แฟนฟตุ บอลเกิดความสนุกสนานตื่นเตน้ เร้าใจ (สุนทรียภาพ) และ ประทบั ใจ เช่นเดียวกนั กบั การใชม้ ือ การแสดงอย่างเขา้ ข้นั ถึง “มือโปร” หรือมอื อาชีพ ไมว่ ่าจะเป็นการแสดง หรือ การเลน่ กีฬาน้นั ผชู้ มจะสังเหตเุ ห็นไดอ้ ยา่ งชดั เจนว่า ผแู้ สดงหรือผเู้ ลน่ จะใชท้ กั ษะ และลลี าอยา่ งชานิชานาญ โดยเป็นการโชวท์ ี่ยอดเยีย่ ม และดูงา่ ย ๆ กลมกลนื ไปหมด เสมือนหน่ึงว่าเขาไม่ตอ้ งใชส้ มาธิ หรือความต้งั ใจเป็นพิเศษ แตอ่ ยา่ งใด กลา่ วคือ เป็นการแสดงท่ีดูแลว้ แสดงไดเ้ ป็นธรรมชาติมาก ๆ พวกท่านเคยดู “มายากล” ใช่ไหมครับ จะเห็นวา่ เขาแสดงไดแ้ นบเนียนจนเราจบั ไมไ่ ด้ ทางวชิ าการ เรียกการมีทกั ษะที่ชานาญมากเช่นน้ีว่า เป็นทกั ษะท่ีเกิดจาก “ความรู้โดยนยั ” ภาษาองั กฤษใชค้ าวา่ Tacit Knowledge หรือจะกล่าวอีกแงห่ น่ึงว่า ผแู้ สดงแสดงไดอ้ ยา่ งยอดเยี่ยม เสมอื นหน่ึงเป็นการ แสดงจาก “จิตใตส้ านึก” ซ่ึงจะแสดงไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ หรือไม่ตอ้ งคดิ ภาษาองั กฤษ ใชค้ าวา่ “Subconscious หรือ Unconscious Competence” พวกเราคงคนุ้ กบั คาพงั เพยเช้ือสายจีนท่ีกล่าวถงึ ยอดนกั ดาบของจีนที่สามารถใช้ ดาบไดอ้ ยา่ งยอดเย่ียม “เสมือนดาบเป็นส่วนหน่ึงของร่างกาย” นนั่ กค็ อื การเปรียบเทียบใหเ้ ห็นถงึ ความชานาญของมนุษยใ์ นการใชเ้ ทา้ เดิน วงิ่ หรือใชม้ ือ หยิบจบั ทางานไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ และชานาญ โดยไมต่ อ้ งหยดุ คดิ หรือ ต้งั ใจ 2

อยา่ งไรกต็ าม นกั ฟุตบอลกด็ ี หรือนกั ดาบกด็ ี ไมไ่ ดเ้ กิดมาแลว้ เล่นฟุตบอลเป็น หรือใชด้ าบเป็นมาแตเ่ กิด ความชานาญ และทกั ษะที่จะเกิดข้นึ ในลกั ษณะน้ีได้ จะตอ้ งเกิดจากการสง่ั สม ประสบการณ์ท้งั ในดา้ นการฝึกฝน และการใชง้ านจริงมาเป็นระยะเวลานาน นกั วิชาการบางท่าน ให้ความเห็นไวว้ ่า ทกั ษะ และความชานาญเช่นน้ี จะเกิดข้นึ ไดก้ ต็ อ่ เม่ือมกี ารฝึกฝน และฝึกทา (ฝึกซอ้ ม) มาอยา่ งนอ้ ย 10,000 ชว่ั โมง ! สมมตุ ิว่า ถา้ เราใชเ้ วลาฝึกวนั ละ 4 ช.ม. ปี ละ 365 วนั โดยไม่มีวนั หยดุ เลย เรา จะตอ้ งใชเ้ วลานานถึง 6 ปี 8 เดือน แต่ถา้ เราใชเ้ วลาฝึกมากข้นึ เป็นวนั ละ 5 ช.ม. และให้มวี นั พกั บา้ ง โดยฝึกแค่ปี ละ 312 วนั (พกั อาทิตยล์ ะ 1 วนั ) เรากจ็ ะตอ้ งใชเ้ วลา ถึง 6 ปี 4 เดือนอยดู่ ี (ลงวนั ท่ี 15 พ.ค. 64) 1.2 คาว่าวิทยาศาสตร์ พจนานุกรม ฉบบั ท่ีไดอ้ า้ งถึง กลา่ วถึงคาจากดั ความ ของคาว่าวิทยาศาสตร์ไวด้ งั น้ี คอื “(เป็น) ความรู้เกี่ยวกบั ส่ิงตา่ ง ๆ (ท่ีเกิดข้นึ )ในธรรมชาติและกระบวนการ คน้ ควา้ หาความรู้อย่างเป็นข้นั เป็นตอน และมรี ะเบียบแบบแผน โดยมเี หตผุ ลและ หลกั ฐานท่ีสามารถพิสูจน์ตามหลกั วชิ าการได”้ การใชม้ อื และเทา้ โดยการส่ังการของสมอง เป็นเรื่องของธรรมชาติ ท่ีสร้าง มนุษยม์ าใหม้ สี มองใหม่ (แตกตา่ งจากสตั ว)์ การฝึกฝนอยา่ งมีระเบียบ และระบบของ มนุษย์ เป็นไปตามครรลองของธรรมชาติ ท่ีเราไดร้ ับการอบรมจากบรรพบุรุษ ทาให้ เราสง่ั สมความรู้ และความชานาญ เพอื่ นามาประยกุ ตใ์ ช้ 3

อยา่ งไรก็ตาม กระบวนการสั่งสมความรู้ และความชานาญทางศลิ ปะ ในขอ้ 1.1 กจ็ ะมีววิ ฒั นาการในตวั ของมนั เองไปตามกาลเวลาของการสั่งสมประสบการณ์ ดงั ท่ี กล่าวมาแลว้ ศลิ ปะ ท่ีไดร้ ับการฝึกฝนมา และถูกนาไปใชก้ จ็ ะเกิด “การลองผดิ ลองถูก” และ มผี ลลพั ธ์ เกิดข้นึ และนาไปประเมินผลได้ นอกจากน้นั กจ็ ะมีการรวบรวมสถิติ และขอ้ มลู ของ “อบุ ตั ิการณ์” ที่เกิดข้นึ และถูกใชเ้ ป็น “ขอ้ มลู ป้อนกลบั ” ให้กบั นกั แสดงหรือผเู้ ลน่ เหล่าน้นั เพอ่ื นากลบั ไป วเิ คราะหแ์ ละปรับปรุงแกไ้ ขส่ิงท่ีทาแลว้ ไม่ไดผ้ ล เพื่อให้ไดร้ ับผล หรือไดผ้ ลแลว้ จะ ปรับปรุงใหด้ ีข้ึนไดอ้ กี อยา่ งไร โดยการเปลย่ี นวธิ ีการฝึก หรือปรับปรุงวิธีฝึกเดิม ใหด้ ีข้นึ จากน้นั ก็นาไปทดลองปฏิบตั ิ และรวมผลมาวเิ คราะห์ตามกระบวนการดงั กล่าว ขา้ งตน้ ใหมอ่ ีก เป็นวฏั จกั รต่อไป จะเห็นไดว้ า่ กระบวนการแสวงหาความรู้น้นั เกิดข้นึ กบั พวกเราตลอดเวลา เรามที ้งั ขอ้ มลู และสถติ ิท่ีเกิดข้ึน เพียงแต่ว่าการประยกุ ตใ์ ชโ้ ดยมรี ะเบียบและข้นั ตอน ที่ถูกตอ้ ง และมที ฤษฎแี ละเหตุผลที่จะมาประกอบ เพ่ือทาให้ขอ้ มูลน้นั สาเร็จผลเชิง วิทยาศาสตร์ต่างหาก ท่ีเราตอ้ งการ เพ่ือประกอบการประยกุ ตใ์ ชก้ บั การเล่นฟตุ บอล ร่วมกบั “ศลิ ปะศาสตร์” 1.3 คาว่าฟตุ บอล ฟตุ บอลในทน่ี ี้ หมายถงึ กีฬาฟตุ บอลในแง่ของคาว่า “Association Football” ซ่ึงคน้ คดิ เป็นระบบโดยประเทศองั กฤษ ซ่ึงจะแตกต่างไป จาก “อเมริกนั ฟตุ บอล” หรือท่ีสหรัฐฯ ใชค้ าวา่ “ซอคเกอร์ “ (Soccer) 4

2. การแสดงสมรรถนะอย่างยอดเย่ยี ม (Peak Performance) จากคาจากดั ความตามขอ้ 1 การแสดงทกั ษะท่ีกระทาไดโ้ ดยใช้ “ความรู้โดยนยั ” หรือการใชค้ วามรู้โดยอตั โนมตั ิ โดยไม่ตอ้ งคดิ จะทาใหเ้ กิดการแสดง หรือการเล่นที่มี ประสิทธิภาพ หรือสมรรถนะอยา่ งสูงสุด (Peak Performance) การจะแสดงไดด้ ีอยา่ งน้ี จะตอ้ งมกี ารฝึกฝน เป็นระยะเวลานานพอสมควร ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ เทคนิคของการฝึก จะตอ้ งมีแนวทาง และสาระที่เป็นท้งั “ศลิ ปะ” และ วิทยาศาสตร์” เพ่อื ท่ีจะควบคุมการใชเ้ วลาและความพยายามร่วมกนั อยา่ งมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล การท่ีจะบรรลุเป้าหมายของความสาเร็จไดน้ ้นั นกั ฟุตบอลจะตอ้ งประยกุ ตใ์ ช้ หลกั คาสอนของพระพุทธเจา้ ท่ีเรียกว่า “พรหมวิหารส่ี” กลา่ วคือ เขาจะตอ้ งมี “ฉนั ทะ” อนั ไดแ้ ก่ ความรักหลงใหลในเกมกีฬาน้นั เป็น ประการแรก ตอ่ มา เขาจะตอ้ งมี “จิตตะ” ซ่ึงหมายถึงการมีใจฝักใฝ่หรือความต้งั มน่ั ที่จะ ฝึกฝนอยา่ งจริงจงั เพียงแค่รักแคช่ อบ ยงั ไม่พอ พวกเขาจะตอ้ งมคี วาม “วิริยะ” ซ่ึงก็คอื ความขยนั หมน่ั เพยี ร ในการฝึกซอ้ มเกมกฬี าน้นั 5

และประการท่สี ี่ ซ่ึงเป็นประการสุดทา้ ย พวกเขาจะตอ้ งมี “วิมงั สา” ซ่ึงทางพระ หมายถึง การไตร่ตรอง ทบทวน สิ่งท่ีไดท้ าไปแลว้ หรือจะเรียกวา่ เป็นส่วนหน่ึงของ การประเมนิ ผลก็ได้ นนั่ ก็คือ การใชข้ อ้ มลู ป้อนกลบั (feed back) มาพจิ ารณาทบทวน สิ่งที่เราได้ ฝึกไปทาไปว่ามขี อ้ ดี และขอ้ เสียอยา่ งไร เพอื่ นามาปรับปรุงต่อไป จะเห็นว่า ส่ิงที่จะบนั ดาลให้เกิดความสาเร็จไดน้ ้นั จะตอ้ งมที ้งั เป้าหมาย และ ความม่งุ มน่ั ที่ชดั เจน ตลอดจนมคี วามเขม้ แขง็ ท้งั ใจ และกายในการฝึกซอ้ ม เพ่อื ความสาเร็จตามเป้าหมาย ความเขม้ แขง็ ท้งั ใจ และกาย ที่จะเกิดข้นึ น้นั เขาเรียกว่า นกั ฟุตบอลจะตอ้ งมี “สปิ ริตของแชมเป้ี ยน” (Spirit of the Champion) ย่ิงไปกว่าน้นั กีฬาที่เลน่ กนั เป็นทีมอยา่ งฟตุ บอลตอ้ งการการมีสมรรถนะสูงสุด ในการเล่นของบคุ คล และการมีสมรรถนะของการเล่นเป็นทีมอยา่ งสูงสุด ท่ีเรียกว่า Peak Team Performance อกี โสดหน่ึงดว้ ย น่ีคือ ส่ิงที่เรียกวา่ “ทีมเวิร์ค” (Team work) ดว้ ยเหตนุ ้ี การที่จะฝึกฝนทีมฟตุ บอลให้เกิดสมรรถนะของผเู้ ลน่ และของทีม อยา่ งสูงสุดไดน้ ้นั ตอ้ งการท้งั ความรู้ทางศิลปะของการเลน่ อนั ไดแ้ ก่ ทกั ษะในการใช้ เทา้ (และส่วนอน่ื ๆ ที่กตกิ ายอมรับ) ซ่ึงเขาเรียกวา่ “เทคนิค” ของการเล่น (Technics) ซ่ึงจะรวมเรื่องเบสิกดว้ ยอยแู่ ลว้ และกลยทุ ธในการเล่นรวมกนั เป็นหมเู่ ลก็ หรือเป็นทีม ซ่ึงเขาเรียกวา่ “แทกติค” (Tactics) ตลอดจนการเล่นในภาพรวม ซ่ึงเรียกว่ายุทธศาสตร์ (Strategy) 6

นอกจากน้นั ทีมตอ้ งการความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีสมยั น้ี จะใชค้ าว่า “สมอง วิทยา” (Brain Science) แทนคาวา่ “ประสาทวิทยา (Neuroscience) ในการอธิบายถงึ เรื่อง “จิตวิทยา” (Psychology) ซ่ึงหมายถงึ ส่วนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การที่ผบู้ ริหาร หรือ ผฝู้ ึกสอนจะใชก้ ารจงู ใจใหผ้ ูเ้ ลน่ มคี วามวริ ิยะ และอตุ สาหะ (ตามแนวพรหมวิหารส่ี) ท่ีกล่าวมาแลว้ และมที ศั นคติที่ดีตอ่ เพือ่ นร่วมทีม ซ่ึงจะเป็นส่วนสาคญั ของทีมเวอร์ค ส่ิงท่ีสาคญั กวา่ หรือไมย่ ง่ิ หย่อนในวิชาการทางสมองวิทยายคุ ใหม่ กค็ ือ การใช้ ความรู้ทางสมองวิทยา มาช่วยนกั กีฬาในการต้งั เป้าหมาย การเลน่ ฟตุ บอลใหช้ ีวิตใน ภาพรวม ศาสตร์ที่ว่าน้ี ก็คอื NLP (Neuro Linguistic Programming) ซ่ึงตอ่ ไปจะเป็น ปัจจยั ที่สาคญั ยิ่งส่วนหน่ึงในเรื่องของ “สมองวทิ ยา” หรือ “จิตวิทยา” ในการสร้าง สภาวะทางจิตใจใหม้ ีเป้าหมาย และแรงจูงใจในการฝึกซอ้ มเพอ่ื ความสาเร็จ อกี ท้งั จะเป็นการสร้างทศั นคติท่ีดีในการเล่นรวมเป็นทีมดว้ ย ส่วนความรู้ทางดา้ น “วทิ ยาศาสตร์การกีฬา” หรือ Sports Science ซ่ึงเป็น วชิ าการส่วนหน่ึงของสมองวทิ ยา ก็คือเรื่องของการสร้างความแขง็ แกร่งและความ อดทนของร่างกาย โดยอาศยั เทคนิคของการฝึกฝน โดยจะใชเ้ คร่ืองมือทางน้าหนกั (Weight Training) และ “การฝึกเป็นช่วง ๆ” (Interval Training) หรือวธิ ีอน่ื ใด เพอ่ื สร้างความอดทนใหก้ บั ร่างกายในส่วนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเคล่อื นไหว ท้งั น้ี จะรวมถงึ เรื่องการใหโ้ ภชนาการ (Nutrition) ที่นกั กฬี าจาเป็นจะตอ้ งเลอื ก บริโภคท้งั ปริมาณ และคณุ ภาพของอาหารใหเ้ หมาะสมกบั เกมกีฬาท่ีจะเล่นดว้ ย 7

ส่วนสุดทา้ ยที่สาคญั ไม่ยิ่งหยอ่ น กค็ ือ เร่ืองกายภาพบาบดั ท่ีมคี วามสาคญั อยา่ ง ย่งิ ท้งั ในการป้องกนั และการรักษาพยาบาล ในกรณีท่ีนกั กีฬาไดร้ ับบาดเจ็บ กลา้ มเน้ือ เอน็ และกระดกู 3. เป้าประสงค์ ขอ้ เขยี นที่นาเสนอในคร้ังน้ี เกิดจากแรงบนั ดาลใจของตวั ผเู้ ขยี นท่ีมีความรัก และหลงใหลในกฬี าฟตุ บอล และมปี ระสบการณ์ในการเลน่ ระดบั ชาติมาก่อน นอกจากน้นั ประสบการณส์ ้นั ๆ ที่ถกู ชกั จงู ให้เป็นโคช๊ ทีมชาติ โดยความจาเป็น ทาให้ตอ้ งคน้ ควา้ อ่านตาราการเลน่ ฟตุ บอล (ซ่ึงก็ไดอ้ า่ นมาต้งั แตห่ นุ่ม ๆ แลว้ ) เพอื่ นามาวางแผนฝึกซอ้ มและบริหารทีมจนประสบความสาเร็จไดใ้ นระดบั หน่ึง (ไดร้ ับ รางวลั โค๊ชยอดเยยี่ มประจาปี 2523 ปี ท่ีทีมฟตุ บอลชาติไทยชนะเลิศการแข่งขนั คงิ ส์คพั คร้ังที่ 9 และเป็นแชมป์ เดี่ยว ปี 2523) นอกจากน้ี ไดม้ โี อกาสติดตามชมการแขง่ ขนั ฟตุ บอลท้งั ระดบั ประเทศ และ ต่างประเทศมานาน ประกอบกบั การไดม้ ีโอกาสทาหนา้ ที่เป็นประธานจดั การแขง่ ขนั ฟตุ บอลไทยพรีเมียร์ลกี ในช่วงปี พ.ศ. 2553-2557) (ถา้ จาไม่ผดิ ) อกี ดว้ ย เมือ่ มีเวลาว่างหลงั จากจบภาระกิจการทางานเพื่อหาเล้ยี งชีพของช่วงวยั ทางาน ไดม้ ีโอกาสนั่งจินตนาการ และทบทวน ส่ิงที่เคยมปี ระสบการณ์ส่งั สมมายาวนาน หลายทศวรรษ ท้งั การเลน่ และการเห็นววิ ฒั นาการของการเล่นฟตุ บอลของทีมฟุตบอล ตา่ ง ๆ ทว่ั โลกในยคุ ต่าง ๆ ที่ผา่ นมา จึงไดน้ าประสบการณเ์ หล่าน้นั มารวบรวมเสนอ เพ่ือสะทอ้ นความคิดเห็นส่วนตวั ของผเู้ ขียนอนั เก่ียวกบั ววิ ฒั นาการของการเลน่ ฟุตบอลในโลกน้ี 8

แนวทางท่ีจะใชใ้ นการวิเคราะห์ จะกล่าวถงึ การประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ทาง ศิลปะ หรือ ศลิ ปะศาสตร์ และองคค์ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ีวงการฟุตบอลของโลก นาไปใชป้ รับปรุงและพฒั นาประสิทธิภาพและประสิทธิผลทีมของตวั เอง และในทาง กลบั กนั ผเู้ ขยี นอยากจะวิเคราะหแ์ ละเสนอแนะวธิ ีการท่ีจะใชป้ ระโยชน์จากองค์ ความรู้ที่กล่าวถึงมาเล่นฟุตบอลให้ไดป้ ระสิทธิผล และประสิทธิภาพอยา่ งมี “ศลิ ปะ” และอยา่ งมี “วิทยาศาสตร์” ไดอ้ ย่างไร เราตอ้ งการรวบรวม ประมวล และวเิ คราะหข์ อ้ มูลอะไรบา้ ง และอยา่ งไร เพือ่ ที่จะหาความสมั พนั ธแ์ ละความสาคญั ของตวั แปรต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่ือที่จะสร้าง “ปัจจยั กลยทุ ธ” ในการวางแผนขบั เคล่อื นวธิ ีฝึกฝนการทางานของกลา้ มเน้ือท่ีจะใชเ้ ลน่ หรือที่เรียกว่า Psychomotor Skills ใหม้ ีทกั ษะ และสมรรถนะสูงสุด ท้งั ตวั บคุ คล และ ท้งั ทีมในการเล่นไดอ้ ยา่ งไร นอกจากน้นั เราจะทาการวางแผนกลยทุ ธในการฝึกซอ้ ม และการเล่นอยา่ ง มอื อาชีพ โดยอาศยั องคค์ วามรู้ท้งั 2 ดา้ นน้ีไดอ้ ย่างไรบา้ ง ขอ้ เขยี นน้ี คงไมอ่ าจเป็นคาตอบสุดทา้ ย ฉะน้นั ผเู้ ขียนไดแ้ ตห่ วงั ให้ท่านผอู้ า่ น ท่ีเป็นแฟนฟตุ บอลที่สนใจกีฬาฟตุ บอล เพ่อื ความอภริ มย์ และบนั เทิง น่าจะได้ ประโยชนจ์ ากการรับรู้ และเขา้ ใจเทคนิค และแทค๊ ติค ในการเตรียมสร้างทีมฟุตบอล มากข้นึ หากจะมีทา่ นผอู้ ่านที่สนใจทางวิชาการ และเคยเป็นนกั ฟตุ บอล หรืออยากจะ เพิ่มวิสัยทศั นข์ องการเป็นโคช้ ในอนาคต จะไดน้ าความคดิ เห็นของผูเ้ ขียน ซ่ึงอาจจะ ผดิ หรือถกู แลว้ แตว่ จิ ารณญานของท่าน ไปตอ่ ยอด หรือทาโครงการวิเคราะหว์ จิ ยั 9

เพม่ิ เติมอยา่ งเป็นระบบในเชิงวทิ ยานิพนธ์ในระดบั ปริญญาโท หรือปริญญาเอก ผลพวงที่ไดร้ ับ ก็น่าจะเกิดประโยชนก์ บั ตวั ท่าน และวงการฟุตบอลไทยโดยรวม 4. ผลลัพธ์ทต่ี ้องการ ท่านผูอ้ า่ นที่ไดต้ ิดตามขอ้ เขียนมาต้งั แต่ตน้ คงพอจะถึง “บางออ้ ” ในตอนน้ีได้ ว่า สิ่งที่ผมกาลงั ช้ีใหเ้ ห็นก็คอื ก) ประการแรก เราจาเป็นตอ้ งนาความรู้ทางดา้ นศิลปะของการเล่น และ ความกา้ วหนา้ ของวิทยาศาสตร์ท่ีเกิดข้นึ จากการคน้ ควา้ และไดร้ ับขอ้ มลู ทางสมอง- วิทยา ท่ีเราไดเ้ รียนรู้ และเขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการทาหนา้ ที่สั่งการของสมอง ไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของกลา้ มเน้ือเคลอ่ื นไหวท่ีเกี่ยวขอ้ ง (ผา่ นระบบประสาท) เพ่ือสร้าง ทกั ษะ และความชานาญให้กลา้ มเน้ือ ซ่ึงหมายความว่า จะเกิดมกี ระบวนการเรียนรู้ และจดจาเกิดข้นึ ในสมอง และในระบบประสาทที่เชื่อมโยงไปยงั ระบบกลา้ มเน้ือ เพ่อื สร้างความจดจาในระยะยาว ท่ีจะแปลงเป็นทกั ษะ และความชานาญในการใชง้ าน ฉะน้นั จะมาบอกว่า เลน่ ฟุตบอลไมจ่ าเป็นตอ้ งใชส้ มองไม่ได้ คาถามต่อไป กค็ อื ว่า เราจะฝึกเด็กของเราอย่างไร และดว้ ยวิธีการอยา่ งใดบา้ ง จึงจะเกิดการเรียนรู้ และทกั ษะท่ีเร็วกว่า 10,000 ชว่ั โมงไดไ้ หม? ข) ประการทส่ี อง เราจะสร้างความว่องไว และความอดทนแขง็ แรง ตลอดจน ความสมบรู ณข์ องกลา้ มเน้ือและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่จาเป็นในการเล่นท้งั ระบบ แอโรบิค (Aerobic) และระบบอะนาโรบิค (Anaerobic) โดยใชว้ ธิ ีการทาง วิทยาศาสตร์ไดอ้ ย่างไรบา้ ง ในการเสริมสร้างระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่จาเป็น เช่น การสร้างความสามารถในการหายใจของปอด ลาะระบบการเตน้ ของหวั ใจในการ 10

นาเลอื ด ซ่ึงจะมที ้งั ออกซิเจน และอาหารไปเล้ยี งอวยั วะต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง นอกเหนือไปจากการใชก้ ารสร้างกลา้ มเน้ือใหแ้ ขง็ แรงโดยน้าหนกั (Weight Training) ค) ประการทีส่ าม ทาอยา่ งไร เราจึงจะมกี ารเลน่ ท่ีมศี ลิ ปะ และมีความทรหด อดทน อีกพร้อมดว้ ยการสร้างเสริม “สติปัญญา” หรือความเฉลียวฉลาดของผเู้ ลน่ ใน การเลน่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ในกรณีท่ีคนเอเชียอยา่ งเรา มคี วามดอ้ ยทางสรีระของ ร่างกายในดา้ นความหนา และความสูง คนที่ใชส้ ติปัญญาในการเลน่ อาจจะช่วยแกป้ ัญหาความดอ้ ยทางสรีระไดบ้ า้ ง และอาจจะเป็นปัจจยั ตดั สินของเกมการแข่งขนั วา่ จะแพ้ หรือชนะไดใ้ นเวลา “เขา้ ดา้ ย เขา้ เขม็ ” ท่านพอมองเห็นแลว้ ใช่ไหมครับวา่ เราตอ้ งการใชค้ วามรู้ทางสมองวิทยาในการ สร้างองคค์ วามรู้ใหก้ บั โคช้ และตวั ผเู้ ลน่ วา่ ฮอร์โมนต่าง ๆ ท่ีร่างกายผลติ ออกมาตาม ธรรมชาติ เพือ่ การแสดงท่ียอดเยี่ยมวา่ มีอะไรบา้ ง ทาอยา่ งไรจึงจะให้ร่างกายผลติ ออกมาเยอะ ๆ ในเวลาใด โภชนาการอยา่ งใดบา้ ง จะเป็นพ้นื ฐานในการใหพ้ ลงั งาน และเสริมสร้างการ บารุงสมองให้นกั ฟตุ บอล การเล่นอยา่ งชาญฉลาด โดยใชส้ มอง จะช่วยเสริมความเฉียบคมท้งั เกมรุก และ เกมรับ การรู้จกั คิด และการรู้จกั ท้งั การว่งิ และการส่งลูกใหเ้ พ่อื น จะช่วยเซฟกาลงั ของ ผูเ้ ลน่ ท้งั ทีม ทาให้ทีมเราเหลือแรงฮึดในตอนทา้ ยเกมไดม้ ากกวา่ 11

ลาพงั สถติ ิท่ีแสดงถงึ เวลาการครอบครองลูกว่ากี่เปอร์เซนตใ์ นแต่ละเกม ตลอดจนผูเ้ ลน่ แตล่ ะคนวิง่ กนั คนละกี่กิโลเมตร ไมไ่ ดช้ ่วยให้โคช้ ฉลาดข้นึ สกั เทา่ ใด เพราะเหตุที่ว่า การใชเ้ วลาเล่นมาก หรือการว่ิงอยา่ งโง่ ๆ เขา้ ทานองขยนั ขนั แขง็ แบบ “เชา้ ขดุ ดิน เยน็ กก็ ลบดินท่ีขดุ ” ไมไ่ ดช้ ่วยผลลพั ธ์เท่าไหร่ แต่การใชเ้ วลาในการวิ่ง และเคลอื่ นท่ีอยา่ งชาญฉลาดต่างหาก ท่ีจะใหผ้ ลลพั ธ์ แตกต่างกนั ง) ประการทส่ี ี่ การศึกษาถึงจดุ แขง็ จุดอ่อนของทีมค่แู ขง่ กค็ อื ปัจจยั ท่ีอาศยั ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีสาคญั อยา่ งย่ิง ในกีฬาทุกประเภท เช่น กรีฑา หรือวา่ ยน้า การศกึ ษาถงึ สถติ ิที่ถกู บนั ทึกไวข้ อง แต่ละประเภทของการแขง่ ขนั คือ เป้าหมายที่เราจะตอ้ งไปทาลายสถติ ิของเขาให้ได้ ถา้ เป็นกีฬามวย ก็ตอ้ งมองฟอร์มของแชมป์ ในรุ่นของเราไว้ และจะมใี ครเป็น ทางผ่านของเราบา้ ง (พวกติดอนั ดบั ) กีฬาบาสเก็ตบอลกบั ฟุตบอลกจ็ ะยากข้นึ ในการศึกษา และเก็บสถติ ิตา่ ง ๆ ของ ทีมที่เราจะตอ้ งเล่นดว้ ย ท้งั ในประเทศและในภูมภิ าค ท้งั หมดท้งั ปวงน้ี กจ็ ะถูกสรุปไดโ้ ดยคาพดู ส้ัน ๆ ว่า “รู้เขารู้เรา รบร้อยคร้ังชนะ ร้อยคร้ัง” ซ่ึงเป็นการพดู ง่าย ๆ ถกู ตอ้ ง แต่ทายาก อยา่ งไรก็ตาม ถา้ คดิ ว่ายาก แลว้ ไมท่ าก็ “จบข่าว” ถา้ จะทาจะตอ้ งเตรียม ทรัพยากรทุกชนิดอยา่ งพร้อมพร่ัง เพ่อื รวบรวมขอ้ มูลและสถิติต่าง ๆ และนามา 12

ประกอบในการทาแผนยทุ ธศาสตร์การฝึกซอ้ ม และแผนการเล่นของทีม ในระยะกลาง และระยะยาว เพื่อสร้างความไดเ้ ปรียบ 5. การแสดงที่ได้รับต๊กุ ตาทอง การเล่นกีฬาประเภทฟุตบอลอาชีพ เป็นการแสดงศิลปะท่ีนอกจากตอ้ งการจะ ไดร้ ับชยั ชนะเพือ่ สะใจแฟนคลบั ของทีมเราแลว้ ลีลาในการเล่น กเ็ ป็นสิ่งสาคญั ในการ ใหค้ วามอภิรมย์ และเพลิดเพลนิ ใจกบั ผูช้ มที่เป็นแฟน และผชู้ มโดยทวั่ ไป เพราะ ทุกคนเสียสตางคเ์ ขา้ มาชมการแขง่ ขนั หรือไมก่ ็เฝ้าชมการถ่ายทอดทางทีวี น่ีก็คอื รายไดท้ ่ีจะกลบั มาสู่ทีม (แบ่งกบั สมาคมฯ) ไม่วา่ จะเป็นในรูปของคา่ ผ่าน ประตู ค่าถา่ ยทอดทางทีวี และค่าลิขสิทธ์ิต่าง ๆ ส่วน “ประสิทธิภาพ” ในการเล่นเพ่อื ชยั ชนะน้นั จะตอ้ งมาจากความรู้เชิงศิลปะ และวทิ ยาศาสตร์ และนาไปวางแผนฝึกซอ้ มเพ่ือแสดงในการเล่น ซ่ึงนนั่ กค็ อื การรู้ว่า ปัจจยั ท่ีจะทาให้ทีมชนะมีอะไรบา้ ง ปัจจยั ที่จะทาให้ทีมแพม้ อี ะไรบา้ ง ดงั ตวั อยา่ ง เช่น 1) ทาไมการเลน่ ใน 5 นาทีแรก และ 5 นาทีหลงั ของคร่ึงแรก และ 5 นาที เดียวกนั ของคร่ึงหลงั จึงมคี วามสาคญั อยา่ งยงิ่ 2) ผเู้ ล่นในทีม ทาความผิดอยา่ งไร และอะไรบา้ ง จึงจะมโี อกาสเสียประตูสูง 3) การเลน่ ลูกจากการต้งั เตะ เช่น คอร์เนอร์ หรือลกู โทษมกี เ่ี ปอร์เซ็นตท์ ี่ได้ หรือเสียประตู และเหตุท่ีเกิดไดเ้ สีย เกดิ ข้ึนในลกั ษณะใดบา้ ง? 4) การบุก รูปแบบใดไม่ว่าจะเป็นจากการลาเลียงโดยผเู้ ลน่ ของเรา หรือการรุก โตต้ อบกลบั ท่ีเรียกกนั วา่ “เคานเ์ ตอร์- แอทแทค (Counter -Attack) ควรจะ ทาตอนไหน และอยา่ งไรจึงจะสร้างโอกาสในการทาประตไู ดม้ ากกวา่ กนั 13

5) การต้งั รับแบบใด และตอ้ งการผูเ้ ลน่ ลกั ษณะใด จึงจะทาใหโ้ อกาสการเสีย ประตูของเราต่าท่ีสุด 6) การเล่นโดยใชศ้ ลิ ปะ และวทิ ยาศาสตร์ในรูปแบบใดที่จะทาให้มี ประสิทธิภาพ และเกิดความเร้าใจใหผ้ ูช้ มอยากจะกลบั มาชมอกี (โดยจ่าย สตางคค์ ่าชม) 7) ขอ้ สุดทา้ ย การเตรียมทีมของชาติน้นั เราควรใชย้ ทุ ธศาสตร์อยา่ งไร ในความเห็นส่วนตวั ท่ีเกิดจากประสบการณ์ท่ีกล่าวไวข้ า้ งตน้ ท่ีวา่ เป็นท้งั ผูเ้ ลน่ และผดู้ ูน้นั การเล่นฟตุ บอลท่ีมีประสิทธิภาพ สนุก เร้าใจ และตื่นเตน้ สภาพของเกม ควรจะเป็นดงั น้ีคือ 1) เกมที่เลน่ จะตอ้ งมีความรวดเร็วตามสมควร และแตล่ ะทีมจะตอ้ งมโี อกาส ประตขู องอีกฝ่ายหน่ึงบอ่ ย ๆ การเล่นชนิดท่ีว่า “ปลอดภยั ไวก้ ่อน” ทุกสถานการณ์ ดูแล้วน่าเบ่ือ และผมเช่ือว่าไมไ่ ดส้ ร้างโอกาสชนะเสมอไป ผมเห็นดว้ ยในการใชย้ ทุ ธศาสตร์ ปลอดภยั ไวก้ ่อนในเขตสาคญั ซ่ึงกค็ ือเขตหนา้ ประตูของเรา (ในแดนท่ีเรียกว่า “หวั กะโหลก”) แต่ในดินแดนของคตู่ ่อสู้ การสร้าง โอกาส และฉวยโอกาสเป็นเรื่องสาคญั ในเกมการรุก อยา่ งที่เขาพดู กนั ในแวดวงของ การลงทุนในหลกั ทรัพย์ หรือในหุน้ ของบริษทั ต่าง ๆ ในตลาดวา่ การลงทนุ มคี วาม เสี่ยงสูง ควรใชว้ จิ ารณญานดว้ ยความระมดั ระวงั แตใ่ นขณะเดียวกนั ส่ิงท่ีให้ “ความเสี่ยงสูง” กจ็ ะให้ “ผลตอบแทนสูง” เช่นกนั สาหรับการเลน่ ฟตุ บอลที่ใหค้ วามเส่ียงสูง แมจ้ ะมีโอกาสนอ้ ย แตถ่ า้ อยใู่ นแนว รับแถวหวั กะโหลกของคู่ต่อสู้ น่าเส่ียงไหมครับ อยา่ งดีก็แค่เสียการครอบครองลกู 14

หนา้ ท่ีของเราตอนน้ี กค็ ือ พยายามแยง่ ลกู คนื มา แต่ถา้ เราไมอ่ ยากจะเสี่ยงในการไดป้ ระตู เราจะเล่นฟตุ บอลไปเพอื่ แคต่ ีเสมอเทา่ น้นั เองหรือ วธิ ีน้ี ผมเช่ือว่าจะไม่ไดส้ ร้างเดก็ ใหม้ ี “จิตใจของแชมเป้ี ยน” ในเกมการเลน่ ฟุตบอลฉนั ใดกฉ็ นั น้นั การเล่นมีความเส่ียงที่ใหเ้ ลือกอยหู่ ลาย ระดบั ถา้ ไม่เลือกที่จะ “เสี่ยงเขา้ ทาประต”ู เราจะชนะไดอ้ ยา่ งไร 2) นี่คือส่ิงที่เรากาลงั จะพูดถึงต่อไปว่า การไปดูการแข่งขนั ฟุตบอลท่ีเล่นแลว้ เสมอกนั ไป 0 ประตตู ่อ 0 กบั เกมท่ีเลน่ แลว้ เสมอกนั 3 ต่อ 3 ยอ่ มแตกต่างกนั ราวฟ้ากบั ดิน กลา่ วคอื มีการยิงประตกู นั ถงึ 6 ประตู กบั อีกเกมหน่ึง ไม่มกี ารยงิ ประตกู นั เลย อะไรจะสนุก ตื่นเตน้ เร้าใจกวา่ กนั คนมาดฟู ตุ บอลเพือ่ ความสนุกสนาน ต่ืนเตน้ เร้าใจใน ไคล์แมกซ์ของเกม ก็คือ การยิงประตู ครับ กลบั ตอ้ งมาดูการส่งกนั ไปส่งกนั มา แถมบางคร้ังส่งกลบั ไปให้ประตขู า้ ง เดียวกนั โดยมวี ตั ถุประสงคท์ ี่จะหลอกดึงทีมคู่ตอ่ สู้ใหว้ งิ่ ข้นึ มาไลล่ กู เพ่อื ทาใหแ้ ดน กลางของคูต่ อ่ สูห้ ลวมลง ฝ่ายขา้ งเราจะไดม้ โี อกาสลาเลยี งลูกไดง้ ่ายข้นึ ความคดิ แบบน้ี เขา้ ทานองคาพงั เพยของไทยที่กลา่ วไวว้ ่า “ไกเ่ ห็นนมงู งูเห็นนมไก”่ 15

หรือจะเอาคาพงั เพยทางวชิ าเศรษฐศาสตร์ท่ีกลา่ วไวใ้ นเร่ืองการแข่งขนั ใน ตลาดว่า “เรากร็ ู้ว่าเขารู้ว่าเราก็รู้ว่าเขาก็รู้...” ในเมื่อต่างคนต่างกร็ ู้ แลว้ เราจะใชก้ ลยทุ ธที่รู้กนั แลว้ ให้บงั เกิดผลไดอ้ ยา่ งไร จะใหร้ อแตท่ ีเผลอเท่าน้นั หรือ? ดว้ ยเหตุน้ีกลยทุ ธเด็ดท่ีสาคญั ในการเลน่ ฟุตบอลสมยั ใหม่ แตต่ อ้ งไปอิงศลิ ปะ ด้งั เดิม ก็คือ การทาในส่ิงที่คู่ตอ่ สู้เผลอ หรือทาท้งั ๆ ที่รู้ แต่ก็ไม่สามารถท่ีจะป้องกนั อะไรได้ นน่ั ก็คือ การใชก้ ลเมด็ เดด็ พราย ท่ีทีมบราซิลเคยใชใ้ นยคุ ที่ทีมบราซิลชนะเลิศ 3 คร้ังซอ้ นและกย็ งั ใชอ้ ยใู่ นปัจจุบนั ซ่ึงกค็ อื การล่อหลอก เลยี้ งหลบค่ตู ่อสู้ โดยอาศยั “อาวธุ ลบั ” ที่พวกนกั วิชาการฟตุ บอลสมยั ใหม่พูดถงึ แตเ่ ป็นอาวธุ โบราณมาเกือบ 100 ปี อนั ไดแ้ ก่การเร่งความเร็วอยา่ งฉบั พลนั (Change of Speed) หรือจะเรียกภาษา ชาวบา้ นว่าเป็นการ “เชนเกียร์” สปี ดหนีอยา่ งรวดเร็ว ทาใหค้ ตู่ ่อสู้ตามไม่ทนั เพราะไม่ ทนั รู้ตวั หรือรู้ตวั ทีหลงั เมอื่ เราเล้ยี งหลบเขาไป 1 กา้ วแลว้ การใชก้ ลเมด็ เดด็ พราย ในทานองน้ี ขอยกตานานเก่า ๆ ท่ีเคยเห็นกค็ อื เซอร์ แสตนล่ยี ์ แมท็ ธิว ปีกขวา ของทีมองั กฤษ การินช่า ปีกขวา ของทีมบราซิล แชมป์ ปี ค.ศ. 1958 และ 1962 ตอ่ มาก็มี แจร์ซินโฮ ปี กขวา ของทีมบราซิล แชมป์ ปี ค.ศ. 1970 โรนลั โด (ใหญ)่ ของบราซิล โรนลั โด (เลก็ ) จากปอร์ตเุ กศ มาราโดน่า และ เมสซี่ จากทีมอาเจนติน่า รุ่นสมยั น้ี ก็คงจะมี “เนยม์ าร์ (Neymar)” ของบราซิล “กิเลยี น มพั เป” (Kylian Mbappe) ของฝรั่งเศสที่เลน่ ใหท้ ีม Paris Saint-Germain ในฝร่ังเศส และ “อองตวน กรีซมาน” (Antoine Griezmann) ของฝร่ังเศสท่ีเลน่ ใหก้ บั ทีมบาเซโลนาในสเปน 16

ส่วนดาราดงั ของเบลเย่ยี มก็มี อเี ดน ฮาร์ซาร์ (Eden Hazard) ที่ลงเล่นให้ทีม เรียลแมดริด และ “เควนิ เดอ บรูย หรือ บรอย (?) (Kevin De Bruyne) ตอ้ งขอโทษ ดว้ ย ถา้ เรียกช่ือผดิ ท่ีเล่นใหท้ ีมแมนเชสเตอร์ซิต้ี ลีกองั กฤษ ที่เหลอื ก็น่าจะเป็น “ลูค่า มอดริก” (Luka Modric) ชาวโครเอเชียที่เลน่ ใหก้ บั ทีมเรียลแมดริด ของสเปน และ “โมฮมั มดั ซาลา่ ห”์ (Mohamed Salah) ชาวอีจิปต์ ที่สงั กดั ทีมลิเวอร์พูล ของลีกองั กฤษ โอกาสของการทาประตู จะเกิดข้นึ อยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการเล้ยี งหลบ กองหลงั แนวสุดทา้ ยของค่ตู ่อสู้ ผมเช่ือว่า คนดจู ะชอบเกมการเลน่ ที่เขาเห็นมีการยิงประตกู นั เหมอื นมวยท่ีมี การ “แลกหมดั ” กนั มากกวา่ การเลน่ ฟตุ บอลแบบ “ผดั ก๋วยเต๋ียว” (เหมอื นมวยท่ีแยป๊ กนั ไปแยป๊ กนั มา) กล่าวคือ ส่งกนั ไปส่งกนั มา ไมก่ ินดินแดน เผลอ ๆ กส็ ่งกลบั ประตู เป็นการเปลืองพลงั งาน ทางภาษาการขนส่งทางรถไฟ เขาเรียกว่ามี “สถานีมากเกินไป” เลยกลายเป็นรถ หวานเยน็ ไมใ่ ช่รถด่วน การใชค้ วามสามารถ และความรวดเร็วในการเล้ียงหลบคตู่ อ่ สู้ และมีการยิง ประตูเกิดข้นึ ก็เปรียบเสมือนการแลกหมดั ของมวย แลว้ มกี ารนอคเอา้ ท์ จะติดตาตรึงใจ และทาใหผ้ ูช้ มตื่นเตน้ ฟุตบอลอาชีพ ก็คือ การแสดงชนิดหน่ึง การแสดงท่ีดีจะตอ้ งครบเครื่องทกุ รส ท้งั บทบู้ บทรัก และบทโศก นนั่ กค็ อื มลี ลี าที่โชวท์ กั ษะ และการยิงประตู 17

ทีมที่ใชย้ ทุ ธศาสตร์ปลอดภยั ไวก้ ่อน สงสยั จะเป็นทีมที่ติดนิสยั มาจากการ ทางานในโรงงาน ฟุตบอลไมช่ นะไม่เป็นไร แตก่ ็ไมแ่ พ้ ทางวชิ าการ “สมองวิทยา” กลา่ ววา่ ถา้ คณุ คิดทานองน้ีเป็นความคิดทางดา้ นลบ กลา่ วคือ จิตใจและร่างกาย กจ็ ะไม่มุ่งมน่ั ท่ีจะเอาชนะ เพราะเหตุท่ีว่า แค่ไม่แพ้คณุ ก็ พอใจแล้ว โคช๊ กีฬาอเมริกนั ฟตุ บอล ชาวอเมริกนั ที่มีช่ือเสียงมากในสหรัฐฯ เช่น ลูโฮล๊ ท์ (Lou Holtz) ของทีมนอร์เตอร์แดม (Notre Damme) ทีมมหาวิทยาลยั ที่เป็นแชมป์ หลายสมยั และ ดอน ชลู า่ (Don Shula) แห่งทีมไมอามี่ ดอลฟิน (Miami Dolphins ทีมอเมริกนั ฟตุ บอลอาชีพของสหรัฐฯ ที่มสี ถิติท่ีดีมาก คอื ไมแ่ พใ้ ครเลยท้งั ฤดูกาล เคยกล่าวไวอ้ ย่างน่าฟังว่า “ถา้ เป้าหมายของทีมคือ การแขง่ ขนั แลว้ ไม่ตอ้ งการชยั ชนะ ก็เทา่ กบั วา่ เป็นการพ่ายแพต้ ้งั แต่แรก” มนั จะตอ้ งเป็นความต้งั ใจทางบวก กล่าวคอื จะตอ้ งทาประตู และเอาชนะให้ได้ ถงึ จะแพค้ ร้ังน้ีจะตอ้ งกลบั มาใหมแ่ ลว้ ไดช้ ยั ชนะ (ไม่ใช่ฟุตบอลแพ้ แต่คนดไู มแ่ พ)้ ถา้ เป็นไดด้ ง่ั ว่า เรากจ็ ะไดถ้ ึง “สองเดง้ ” กล่าวคือ บอลกช็ นะ (หรือไมแ่ พ)้ คนดู หรือแฟนบอลสนุกดว้ ย ปล้ืมดว้ ย 6. การก่อกาเนดิ ของกฬี าฟุตบอล เพอ่ื ใหข้ อ้ เขยี นมเี รื่องราวเกี่ยวกบั ฟตุ บอลใหค้ รบถว้ น ขอเพิม่ เติมความเป็นมา ของวงการกีฬาฟุตบอล ซ่ึงเป็นกีฬายอดนิยมของทวั่ โลกไวด้ งั น้ี ไม่วา่ การศกึ ษายอ้ นอดีตจะคน้ พบว่า มนุษยเ์ ราน้ีจบั เอาวสั ดุธรรมชาติมาป้ันให้ เป็นลูกกลม ๆ และจะใชท้ ้งั เทา้ และมอื ทาใหล้ กู กลม ๆ เคล่อื นไหวได้ จะเกิดข้นึ ในยคุ 18

โรมนั หรือกรีก หรือในประเทศจีน และใครจะลอกเลยี นแบบจากใคร ขอปลอ่ ยใหเ้ ป็น หนา้ ท่ีของนกั ประวตั ิศาสตร์ ท่ีจะไปศึกษารวบรวม และนามาเลา่ สู่กนั ฟัง เราจะขอเร่ิมจากวิวฒั นาการท่ีเห็นเป็นรูปธรรมชดั เจน ท่ีเกิดข้ึนในประเทศ องั กฤษ และมกี ารพฒั นา ถงึ ข้นึ การจดั ต้งั ข้นึ เป็นสมาคมฟตุ บอล โดยในสมยั แรก จะเรียกการเล่นฟุตบอลแบบน้ีว่า “แอสโซซิเอชน่ั ฟตุ บอล” (Association Football) นาน ๆ ไป คาว่า แอสโซซิเอชน่ั กถ็ ูก “ยกเวน้ ” ไมต่ อ้ งกลา่ วถงึ เพราะเป็นท่ี เขา้ ใจกนั แตท่ างสหรัฐอเมริกา ก็ไปต้งั คาว่า “ซอคเกอร์” (Soccer) ซ่ึงก็คอื ฟตุ บอล แบบเรา แต่ตอ้ งเรียกใหแ้ ตกตา่ งไปจากอเมริกนั ฟตุ บอลของเขา ประเทศองั กฤษ จดั ต้งั สมาคมฟุตบอล (Football Association) ข้นึ ในราวปี ค.ศ. 1863 (พ.ศ. 2406) และไดม้ กี ารจดั การแข่งขนั ข้นึ ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ซ่ึงแรก ๆ น้นั จะเป็นการแขง่ ขนั ระหวา่ งโรงงาน เป็นส่วนใหญ่ วิวฒั นาการท่ีเราเห็นในสมยั น้ี กค็ ือ การจดั ต้งั เป็นสโมสรตา่ ง ๆ ตามหวั เมืองทวั่ ประเทศ คงจะทราบกนั ดีว่า การท่ีประเทศองั กฤษมีอาณานิคมไปทวั่ โลกน้นั องั กฤษคง จะนาการเล่นฟตุ บอลไปเผยแพร่ ให้ประเทศที่เป็นเมืองข้ึนของเขา และเมอื่ ความนิยม เกิดข้ึนทวั่ โลก โดยเฉพาะในทวีปยโุ รป และทวปี อเมริกาใต้ จึงไดม้ คี วามคดิ ร่วมกนั จดั ต้งั “สหพนั ธ์ฟตุ บอลระหวา่ งชาติ (หรือนานาชาติ)” ท่ีเรียกยอ่ ๆ ว่า ฟีฟ่ า (FIFA) ช่ือเต็มก็คือ Federation of International Football Associations ข้นึ ในราวปี ค.ศ. 1908 (พ.ศ. 2451) 19

ร่วมมอื กนั จดั ต้งั องคก์ รข้นึ ไดก้ จ็ ริง แตก่ ย็ งั จดั การแขง่ ขนั ไม่ได้ เพราะเป็นช่วงที่ มีการกอ่ หวอด และเคา้ โครงของสงครามโลกคร้ังที่ 1 ซ่ึงเกิดข้ึนระหวา่ งปี ค.ศ. 1914 (พ.ศ. 2457) จนถงึ ปี ค.ศ. 1918 (พ.ศ. 2461) เมื่อสงครามโลกสงบลง จึงไดต้ กลงกนั ที่จะจดั การแขง่ ขนั ฟตุ บอลโลกข้ึน โดยจะแยกออกมาจดั ต่างหากจากการแข่งขนั โอลิมปิ ก และจะเร่ิมในปี ค.ศ. 1930 (พ.ศ. 2470) (หลงั และก่อนโอลมิ ปิ ก 2 ปี ) และเป็นการชิงถว้ ย “จลู ริเมท์” (Jules Rimet) ตามช่ือของประธานฟีฟ่ าคนแรกชาวฝร่ังเศส ประเทศอรุ ุกวยั จากทวปี อเมริกาใต้ ไดร้ ับเกียรติให้เป็นเจา้ ภาพเจา้ แรก เพราะ อุรุกวยั เคยไดแ้ ชมป์ โอลมิ ปิ ค ก่อนหนา้ น้ีถงึ 2 สมยั ววิ ฒั นาการของการเลน่ ท่ีผา่ นมาเป็นศตวรรษเศษ ๆ โดยมีเป้าหมาย และ มาตรฐานของการเลน่ ท่ีชดั เจนต่างหากที่ทาให้เกิดแนวคิดที่กาหนดขนาดและ มาตรฐานของสนามแข่งขนั และกติกาตา่ ง ๆที่รวมถงึ จานวนผเู้ ลน่ ในสนามแต่ละฝ่าย เวลาท่ีใชใ้ นการแข่งขนั ฯลฯ ท่ีสาคญั คอื การกาหนดใหม้ ี “ประตู” ซ่ึงเป็นเป้าหมายสาคญั ที่จะทาให้เกิด “การแพช้ นะ” ข้นึ เม่อื มเี ป้าหมายของการแข่งขนั และมกี ติกา ของการเล่นอยา่ งชดั เจนแน่นอน ที่สุด วิวฒั นาการของรูปแบบการเลน่ (Formation) และวิธีการเลน่ (Style) การ ฝึกซอ้ มและการตระเตรียมทีม และศิลปะของการเลน่ (Technic and Tactics) ตลอดจนยทุ ธศาสตร์ของการเล่นกเ็ ริ่มจะมบี ทบาทมากข้นึ และมคี วามเป็น “ศลิ ปะ และวิทยาศาสตร์” ในตวั ของมนั เอง 20

กลา่ วคอื จะมาเนน้ เพียงเตะลูกใหแ้ รงและไปไกล ๆ โดยไม่มจี ดุ หมาย คงไมไ่ ด้ อกี แลว้ จะว่ิงพาลูกไปคนเดียว กค็ งจะใชก้ าลงั และทกั ษะเกินตวั การพฒั นาการเลน่ เป็นทีม โดยมกี ารเสริมกาลงั ช่วยกนั ลาเลยี งลูกมคี วามจาเป็นมากข้ึน ปัญหาตอ่ ไปก็คือ จะตอ้ งทาอย่างไร จึงจะเอาลูกเขา้ ประตูฝ่ายตรงขา้ มในช่วงท่ี เราครอบครองลกู ส่วนในกรณีที่ลกู อยฝู่ ่ายตรงขา้ ม และกาลงั จะรุกมาแดนเรา เราจะทาอยา่ งไร จึงจะป้องกนั ประตขู องเราไวใ้ ห้ได้ น่ีก็คือ การเร่ิมตน้ ของแนวคิดถึงการวางแผนระบบฝึกฝน และฝึกซอ้ ม การ ครอบครองลูก การเตะ การรับ การโหม่ง ฯลฯ ตลอดจนยทุ ธศาสตร์ในการรุกและการ รับในการเลน่ ตามสถานะการณ์ตา่ ง ๆ ในเกมที่เคยเกิดข้นึ และมกี ารวางแผนที่จะให้ เกิดข้นึ ในเกมต่อ ๆ ไป 7. ทกั ษะเบื้องต้นของการเล่นฟุตบอล ทกั ษะที่สาคญั กค็ ือ การใชเ้ ทา้ ท้งั สองขา้ ง ซ่ึงบา้ งก็ถนดั ซา้ ย บา้ งก็ถนดั ขวา ตามธรรมชาติ และบา้ งก็สามารถเล่นไดท้ ้งั 2 ขา้ ง แต่กจ็ ะแสดงทกั ษะที่ดีกว่าในขา้ ง ท่ีถนดั กวา่ การเตะ ก็คือ เตะส่งใกล้ ๆ อยา่ งแมน่ ยา ไมว่ ่าจะเป็นการแป หรือหลงั เทา้ และ เตะแรงไกล ๆ (หลงั เทา้ อยา่ งเดียว) โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในการยิงประตู (จิม้ หวั เกือกดว้ ย ก็แลว้ แต)่ 21

ในการแข่งขนั ฟุตบอล ยคุ ปี ค.ศ. 1970 (2513) ที่เม็กซิโก ผทู้ ่ีแสดงพลงั ในการ ยิงประตรู ุนแรง และแมน่ ยาก็คือ เกิรฺด มลู เลอร์ (Gerd Muller) ศนู ยห์ นา้ ทีมชาติเยอรมนั ตะวนั ตก ซ่ึงสามารถทา ประตูสูงสุดของการแขง่ ขนั คร้ังน้นั ไดถ้ งึ 10 ประตู การเตะที่เป็นศลิ ปะอีกชนิดหน่ึงก็คอื การเตะแลว้ ทาใหล้ ูกเล้ยี วโคง้ จากขวาไป ซา้ ย (ไซดโ์ ป้ง) และจากซา้ ยไปขวา (ไซดก์ อ้ ย) ของผถู้ นดั เทา้ ขวา ส่วนผถู้ นดั เทา้ ซา้ ย กจ็ ะเป็นการเล้ียวตรงกนั ขา้ ม ส่วนจะเป็นการเตะส่งเพื่อนหรือใชเ้ ตะยิงประตู ซ่ึงเราไดเ้ ห็นกนั อยา่ งดาษดื่น ในสมยั น้ี กใ็ ชป้ ระโยชนไ์ ดท้ ้งั 2 ชนิด คนท่ีริเร่ิมการเตะชนิดน้ี และมชี ่ือเสียงเป็นท่ียอมรับคนแรกของโลก กค็ อื “ดิด้”ี (Didi) ของทีมบราซิลในปี ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) และ ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) การเตะของเขาถูกขนานนามวา่ เป็นการเตะ “แบบใบไมร้ ่วง” เพราะเหตุที่ลกู วง่ิ ไปแลว้ ควงสว่านลง “ดิด้ี” ต่อมาถูกจา้ งไปเป็นโค๊ชทีมเปรูในปี ค.ศ. 1970 ในการแขง่ ขนั ฟตุ บอล โลกที่เมก็ ซิโก “ริเวลีโน่” (Rivelino) คอื ผเู้ ลน่ จากบราซิลอีกคนหน่ึงของปี 1970 ท่ีใชเ้ ทา้ ซา้ ย ส่ง และยิงลูกไซดโ์ คง้ ไดด้ ี เช่นเดียวกบั “ดิด้ี” กลา่ วคือ เขายิงประตทู ีมเปรูไดอ้ ยา่ งสุด สวยดว้ ยลูกโคง้ จากเทา้ ซา้ ยมหากาฬน้ี 22

การเตะรูปแบบน้ี ต่อมากลายเป็นท่ีนิยมใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย ดาราดงั ๆ ท่ีทา ไดด้ ีก็มี “โรนลั โด” (ปอร์ตเุ กศ) ท่ีเคยคา้ แขง้ กบั แมนยู ท่ีองั กฤษ ต่อมายา้ ยไปสเปน และอิตาลี หรือเมสซ่ี (อาเจนติน่า) ท่ีคา้ แขง้ อยกู่ บั บาร์เซโลน่า ในเสปน เป็นตน้ เพ่ือเป็ นการระลึกถงึ (อย่าหาว่าโม้นะครับ) ผู้เขียนเองเคยใช้วิธที จ่ี ามาจาก “ดีด”ี้ เตะ “ไซด์โค้ง” ทาประตทู ีมมาเลเซีย ในการแข่งขันฉลองเอกราชเวยี ตนามใต้ (ในขณะน้ัน) เมื่อปี ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) และมาเตะทาประตูทมี สิงคโปร์ทสี่ นาม ศุภชลาศัยได้ในปี พ.ศ. 2512 ปี ท่ไี ทยจดั การแข่งขันฟตุ บอลคงิ ส์คัพคร้ังท่ี 3 เสียดายท่ีปี น้นั ทีมชาติไทยไดแ้ คร่ องแชมป์ (แพเ้ กาหลีใต้ 1 ประตูตอ่ 0) ส่วนการเตะส่งลูกอยา่ งชานิชานาญ (รวมการเตะโคง้ เป็นดว้ ย) คงจะเป็นท่ี ประจกั ษก์ นั อกี หลายคน จะขอยกตวั อยา่ งที่ผูอ้ ่าน (วยั กลางคน) จะรู้จกั มากที่สุด เพราะมกี ารถ่ายทอดฟตุ บอลองั กฤษมาใหแ้ ฟนชาวไทยชมเสมอ ๆ กค็ ือ นกั เตะท่ีช่ือ เดวดิ เบ็คแคม (David Beckham) ผทู้ ่ีเตะฟรีคกิ ระยะไกล ลกู บอลมว้ นลงประตูทีม เอควาดอร์ในศึกฟตุ บอลโลกปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2543) ท่ีประเทศเยอรมนั เบ็คแคม แห่งแมนยฯู เป็นผเู้ ล่นที่แสดงการส่งลกู ระยะยาวอยา่ งแมน่ ยาใหเ้ พ่อื น ไดอ้ ยเู่ สมอ เพลย์ เมคเกอร์ หรืออีกนยั หน่ึง จอมทพั ท่ีคุมดินแดนกลางสนาม และตอ้ งใช้ ความชานาญในการเตะลกู ส่งเพื่อนท่ีมีชื่อเสียง สมควรไดร้ ับการบนั ทึกไวก้ ็คอื คนท่ี 1 บอบบ้ี มวั ร์ (Bobby Moore) กปั ตนั และมิดฟิลดท์ ีมองั กฤษ ชุดแชมป์ โลกปี ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) 23

คนท่ี 2 ฟรานซ์ บคั เกนบาวเออร์ (Franz Beckenbauer) หวั หนา้ ทีมชาติ เยอรมนั ตะวนั ตก แชมป์ โลกปี ค.ศ. 1974 และเป็นคนท่ีสองตอ่ จาก “ซากาลโล” (Zagallo) ของทีมบราซิลท่ีเป็นท้งั ผูเ้ ลน่ ในทีมแชมป์ ปี ค.ศ. 1958 และ 1962 จากน้นั เป็นโค๊ชทีมบราซิลแชมป์ โลกในปี ค.ศ. 1970 ส่วนบคั เกนบาวเออร์ เป็นผเู้ ล่นไดแ้ ชมป์ ปี ค.ศ. 1974 และเป็นโคช๊ ทีมเยอรมนั แชมป์ โลกปี ค.ศ. 1990 ที่อติ าลี คนที่ 3 เป็นนกั ฟุตบอลชาวฝรั่งเศส ช่ือ มเิ ชล พลาตินี่ (Michael Platini) หวั หนา้ ทีมชาติฝรั่งเศส ของปี ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) ทีมฝรั่งเศส พบกบั ทีมเยอรมนั ตะวนั ตก ในการแขง่ ขนั รอบเซมิไฟนอล ในปี ค.ศ. 1982 และเป็นการแขง่ ขนั ท่ีไดร้ ับการยกยอ่ งว่า เป็นการแขง่ ขนั ที่น่าประทบั ใจ อยา่ งยิง่ แมทช์หน่ึงในประวตั ิศาสตร์การแข่งขนั ฟุตบอลโลกที่ผา่ นมา กล่าวคือ เป็น การต่อสูถ้ งึ ข้นั ต่อเวลาแลว้ ตอ้ งไปดวลจุดโทษ เพอ่ื หาผลแพช้ นะ น่าเสียดายท่ีฝร่ังเศสแพ้ เยอรมนั ฯ ไป 4 ต่อ 5 ประตู คนท่ีส่ี เป็นนกั ฟตุ บอลชาวฝรั่งเศส อีกคนหน่ึงที่มีช่ือเสียงลือลนั่ ในการ บญั ชาการเกมลกู หนงั ในตาแหน่งมิดฟิลด์ เขาคอื ซีนะดีน ซีดาน (Zinedene Zidane) บรุ ุษผนู้ ้ีแหละ ทถ่ี ูกไลอ่ อกจากสนาม เพราะเอาศรี ษะไปโขกหนา้ อกผเู้ ลน่ (หวั หนา้ ทีม) ชาวซาอุดิอาระเบีย (Faud Amin) ถกู พกั การแขง่ ขนั ไป 2 เกม กลบั มาโชวฟ์ อร์มสวยหรูในวนั ชิงชนะเลิศฟตุ บอลโลกปี ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2551) กบั ทีมบราซิล โดยสามารถใชก้ ารทาประตู “ดว้ ยการโหม่ง” เขา้ ถงึ 2 ประตู ในวนั ชิง ชนะเลิศ ทาใหฝ้ รั่งเศส เป็นแชมป์ โลก โดยเอาชนะบราซิลไป 3 ประตตู อ่ 0 24

สาหรับผเู้ ลน่ ของไทย ก็มผี แู้ สดงความชานาญในดา้ นการเตะส่งลูก เช่น ทวพี งษ์ เสนียวงศ์ ณ อยธุ ยา วทิ ยา เลาหกุล สิทธิพร ผอ่ งศรี ตะวนั ศรีปาน เฉลมิ วฒุ ิ สง่าพล เป็ นตน้ 8. รูปแบบแผนของการเล่น (Team Formation) นอกจากทีมจะตอ้ งตระเตรียมการฝึกฝนทางดา้ นเทคนิคส่วนตวั ของผเู้ ล่นตาม ตาแหน่งตา่ ง ๆ ตลอดจนการ “เล่นกบั ลกู ฟตุ บอล” ดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ การจดั รูปแบบของการเล่น ซ่ึงกค็ งจะคลา้ ยรูปแบบของการจดั กองทพั หรือการ กระจายกาลงั พลเพอื่ การรบ ซ่ึงทางฟตุ บอลกเ็ ช่นกนั กล่าวคือ จะมีแบบแผนการรุก และการรับ แผนการเลน่ ลกู โทษ คอร์เนอร์ ฯลฯ 8.1 ยุคบกุ เบกิ รูปแบบการให้ผูเ้ ล่นยืนตามตาแหน่ง จะเริ่มจากรูปแบบของตวั “เอม็ ดบั เบิ้ลย”ู (MW) จะสงั เกตเห็นว่า เขานิยมที่จะพดู ถงึ รูปแบบท่ีเริ่มจากแนวหลงั กอ่ น แลว้ จึงจะ พดู ถงึ กองกลาง และกองหนา้ รูปแบบกองหลงั ตวั เอม็ (M) จะเริ่มจากผูร้ ักษาประตหู มายเลข 1. แบค๊ ขวา หมายเลข 2, เซ็นเตอร์ฮ๊าฟหมายเลข 5, และแบค๊ ซา้ ยหมายเลข 3 (เป็นแนวสุดทา้ ยของ ขาตวั เอม็ ) 25

ส่วนหวั คู่ของตวั เอม็ ก็คอื ฮ๊าฟขวาหมายเลข 4. และฮ๊าฟซา้ ยหมายเลข 6 ซ่ึงจะ ยนื ค่กู นั เป็นกองกลาง มหี นา้ ที่คอยสนบั สนุนกองหนา้ และช่วยรับ ถา้ เป็นสมยั น้ี ก็จะ เรียกว่า มิดฟิลด์ (Midfields) ผมเร่ิมเล่นฟตุ บอล ต้งั แต่ใส่เสื้อเบอร์ 5 จาได้ว่า โค้ชส่ังให้เป็ นตัวคุมเกม ท้ังการ จ่าย ตอนรุก และกลับมาช่วยแบ๊ค ตอนรับ สาหรับรูปแบบ ของกองหนา้ ตวั ดบั เบิล้ ยู (W) จะประกอบดว้ ยปี กขวา หมายเลข 7 ศูนยห์ นา้ หมายเลข 9 จะยืนอยแู่ ถวเดียวกบั ปี กซา้ ยหมายเลข 11 ส่วน ในขวาหมายเลข 8 และในซา้ ยหมายเลข 10 จะยนื ห้อยต่าลงมาคู่กนั และจะเป็นตวั ประสานงานกบั ฮ๊าฟท้งั 2 ขา้ ง เพ่ือช่วยประคองการเล่นของปี กท้งั 2 ขา้ ง และศูนยห์ นา้ โปรดดูรูปแบบในหนา้ ถดั ไป 26

รูปแบบการเล่นแบบ MW อยบู่ น Desk top (Excelled) 27

การใชเ้ ลขแสดงตาแหน่งในสมยั ก่อน เป็นไปอยา่ งเขม้ งวด เพราะก่อนหนา้ น้นั การเลน่ ฟตุ บอลไม่อนุญาตใหม้ กี ารเปลย่ี นตวั ผเู้ ล่น ไม่วา่ ในเวลาใด และไมว่ ่ากรณี ใด ๆ ท้งั ส้ิน พีน่ ิตย์ ศรียาภยั อดีตนกั ฟตุ บอลทีมชาติไทย รุ่นไปแข่งขนั ฟุตบอลในกีฬา โอลิมปิ ค ท่ีเมลเบิร์น ในปี ค.ศ. 1956 (พ.ศ. 2499) และอดีตผชู้ ่วยผวู้ า่ การธนาคารแห่ง ประเทศไทย เล่าให้ผมฟัง และเขยี นเลา่ ไวใ้ นจดหมายเหตุ (ซ่ึงผมไดน้ ามาลงบน facebook ใหอ้ า่ นกนั ไปแลว้ ) ว่า “ทีมไทยเสียแบ๊คขวา (คณุ ประทีป เจิมอทุ ยั จาก ทีมมุสลิม) ต้งั แต่ลงเลน่ ไปไดไ้ มถ่ งึ 10 นาที (เพราะเคยบาดเจ็บมาก่อนตอนซอ้ ม) ต่อมา เซ็นเตอร์ฮา๊ ฟโสภณ หะยาจนั ทรา จากทีมตารวจ หวั บบุ เพราะไปโหมง่ ชนกบั หวั ฝรั่ง (ทีมองั กฤษ) ตอ้ งหามออกไปอีกคนหน่ึง ทีมไทยเหลอื แค่ 9 คน เลยพ่ายแพ้ องั กฤษไป 8 หรือ 9 ประตู ตอ่ 0” ความสามารถของผูเ้ ลน่ ในสมยั ก่อน กจ็ ะเป็นแบบ “เกง่ เฉพาะตาแหน่ง” ภาษาองั กฤษใชค้ าว่า “Specialization” ศิลปะที่จาเป็นสาหรับปี กท้งั 2 ขา้ ง คอื ตอ้ งว่ิงเร็ว เล้ยี งลูกเก่ง และเตะผา่ นดี ปี กขวาดงั ๆ ในสมยั ก่อน จะมี เซอร์สแตนลี่ย์ แมท็ ธิวส์ (Sir Stanley Mathews) ขององั กฤษ คนถดั มากค็ อื การินช่า จากบราซิล ในยคุ เปเล่ (พ.ศ. 2501-2513) และ แจร์ซินโฮ จากบราซิลในยคุ ถดั มา 28

สมยั ก่อน ปี กจะวงิ่ เร็วตามธรรมชาติ ท่ีเขามที นุ เดิมอยู่ ส่วนการจะใชห้ ลกั วทิ ยาศาสตร์ช่วยใหว้ ิง่ เร็วข้ึนน้นั น่าจะมสี ่วนอยบู่ า้ ง ในกรณีที่เราตอ้ งการความเร็ว แค่ 30-40 หลา ไม่ใช่ถึงข้นั เขา้ แข่งวิง่ 100 เมตร คาถามที่ตอ้ งการคาตอบ ก็คอื เราจะฝึ กคนวิง่ ชา้ ให้ว่ิงเร็วไดไ้ หมโดยอาศยั หลกั วทิ ยาศาสตร์การกีฬาเขา้ ช่วย และถา้ เป็นไปได้ จะพฒั นาข้ึนไดส้ กั กี่เปอร์เซนต์ ตาแหน่งศนู ยห์ นา้ หมายเลข 9 ก็คือ ความหวงั ของทีมในการยงิ ประตู ศูนยห์ นา้ ยโุ รปสมยั ก่อนมกั จะตวั สูงใหญ่ เตะแรง และโหมง่ ดี (แตจ่ ะอดื อาด) ถา้ เป็นสมยั น้ี เขาจะใชใ้ ห้ยืนสูง หรือท่ีเขาเรียกกนั ว่า “หนา้ เป้า” ศูนยห์ นา้ “เป้า” ในยคุ ค.ศ. 1970 และ 1974 (พ.ศ. 2513-2517) ท่ีตวั ไม่สูงใหญ่ แตแ่ ขง็ แรง และยงิ ไดห้ นกั หน่วงก็คือ เกิร์ด มลู เลอร์ (Gerd Muller) ศนู ยห์ นา้ ทีมชาติ เยอรมนั ตะวนั ตก อยา่ งที่ไดเ้ รียนให้ทราบไปแลว้ เกิร์ด ทาประตูสูงสุดไดใ้ นการแขง่ ขนั ปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) ท่ีประเทศ เม็กซิโก ถึง 10 ประตู ส่วนในการแข่งขนั ปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ทเ่ี ยอรมนั ตะวนั ตก เป็นเจา้ ภาพ และไดแ้ ชมป์ โลก เกิร์ด มลู เลอร์ ยิ่งเพ่มิ ไดอ้ กี 4 ประตู รวม 2 ทวั นาเมน้ ท์ เขายงิ ประตูได้ 14 ประตู ในการแขง่ ขนั ฟุตบอลโลก (สองคร้ัง) นบั เป็นสถติ ิของโลก ที่ยงั ไม่มใี ครลบไดใ้ นขณะน้นั จากน้นั โรนลั โด้ (บราซิล) มาทาได้ 15 ประตู และมา ถูกเชือดโดย ไมโรสล๊าฟ คโลเซ่ ชาวเยอรมนั ท่ีทาได้ 16 ประตู สาหรับกองหนา้ ในขวา และในซา้ ยน้นั ส่วนใหญ่จะเป็นผชู้ านาญการ ครอบครองลกู เล้ียงดี และส่งลูกแมน่ ตวั อย่างในสมยั ศตวรรษที่ 20 ไดแ้ ก่ “หลุยส์ ฟองเตน” (Louis Fontaine) ของฝร่ังเศส และ “เปเล่” (Pele) ของบราซิล 29

ฟองเตน คือ ตานานเจ้าของตาแหน่ง ผู้ทาประตไู ด้สูงสุด ในการแข่งขนั ทวั ร์นาเม้นท์ฟุตบอลโลกในปี ค.ศ. 1958 ท่ีสวเี ดน โดยยิงประตคู นเดียวถึง 13 ประตู และเป็นสถติ ิมาจนถงึ บดั น้ี และยากที่จะมใี ครลบสถิติน้ีได้ ฟองเตน เป็นกองหนา้ ต่าที่มคี วามว่องไว รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงในการ เขา้ ทาประตู เปเล่ จากบราซิล คอื ตานานกองหนา้ ต่าอกี คนหน่ึงท่ีลงเล่นในฟตุ บอลโลกถึง 4 สมยั (ค.ศ. 1958, 1962, 1966 และ 1970) มีความสามารถอยา่ งยงิ่ จนไดร้ ับการขนาน นามว่า เป็นตานานท่ีทรงคุณค่า และเป็น “ราชาแห่งฟุตบอล” (King of Football) ในรอบศตวรรษท่ี 20 น้ี กลบั มาถงึ เร่ืองแบบแผนการเลน่ ของกองหลงั สมยั กอ่ น เซ็นเตอร์ฮ๊าฟเบอร์ 5 จะร่วมทาหนา้ ท่ีกบั ฮา๊ ฟท้งั 2 ในการจา่ ยลกู เวลารับ ก็จะลงมาช่วยแบค๊ ท้งั 2 ขา้ ง ท่ีค่อนขา้ งจะหุบเขา้ มาอยขู่ า้ งใน พวกน้ี กค็ อื “แบค๊ โบราณ” ที่มหี นา้ ที่รับอย่างเดียว หลงั จากวิวฒั นาการในราวปี ค.ศ. 1966 จึงจะมกี ารปรับปรุงวธิ ีการเล่นให้ แบ๊คข้นึ สูงได้ จึงเกิดสมญานามวา่ “แบ๊คยโุ รป” ข้นึ ในประเทศไทย สาหรับตาแหน่งประตใู นสมยั กอ่ น จะเกง่ แตร่ ับลูกเลยี ด ลกู โด่ง การเตะไมค่ อ่ ย จะถนดั สกั เท่าไหร่ “เลฟ ยาชิน” (Lef Yashin) ประตูมือกาว จากรัสเซีย ไดร้ ับการยกย่องว่า เป็น ประตูท่ีมีมือเหนียวท่ีสุดในโลก โดยถกู กล่าวอปุ มาอุปไมย เฉกเช่นวา่ เขามีมอื คลา้ ยกบั หนวดปลาหมึก เลฟ ยาชิน ลงเลน่ ใหร้ ัสเซียถงึ 3 ทวั นาเมน้ ท์ ระหวา่ งปี ค.ศ. 1958- 30

1966 และไดร้ ับการโหวตใหเ้ ป็นประตทู ี่ดีที่สุดในโลก ในปี ค.ศ. 1966 ท่ีเขาลงเล่น เป็นคร้ังสุดทา้ ยใหก้ บั รัสเซีย ที่ประเทศ องั กฤษ 8.2 ยุคฟุตบอลโลกต้น ๆ (1930-1966) อิตาลี ทีมแชมป์ 2 สมยั ในปี ค.ศ. 1934 และปี ค.ศ. 1938 น่าจะเป็นทีมแรก ๆ ที่ นิยมการเล่นแบบ “กองหลงั แขง็ ” หรือระบบ “ปลอดภยั ไวก้ ่อน” เพราะว่าในสมยั น้นั ถา้ ศนู ยห์ นา้ เก่งจริง เซ็นเตอร์ฮ๊าฟตวั เดียวเอาไม่อยู่ จาเป็นตอ้ งมี “ตวั กลางหลงั ” เสริม เขา้ ไปอกี 1 คน ถา้ ยืนคกู่ นั ก็จะเป็นแนวหลงั 4 คน ถา้ จบั เซ็นเตอร์ฮ๊าฟมายืนซอ้ นกนั เขาเรียกว่า ระบบดบั เบิล้ สตอ้ ป (Double stop) หรืออีกช่ือหน่ึงว่า “สวสิ โบล้ ท์ (Swiss Bolts) ระบบท่ีทีมสวสิ เซอร์แลนด์ นามาใชใ้ นระหว่างน้นั 8.3 ระบบ 4:2:4 แจ้งเกิด ความจริง ระบบ 4:2:4 น้ี บราซิล เร่ิมนามาใชต้ ้งั แต่ ค.ศ. 1958 ท่ีสวีเดน และใช้ ต่อมาจนถงึ ปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) ท่ี เม็กซิโก และทีมบราซิล ไดเ้ ป็นแชมป์ โลกอีก เป็นคร้ังท่ี 3 ระบบน้ี จึงเป็นท่ียอมรับ และนิยมใชก้ นั ทว่ั โลก วธิ ีการน้ี ก็คอื การสร้างความแขง็ แกร่งเพิ่มข้นึ จากระบบเอม็ ดบั เบิล้ ยู โดยการ ดึงฮ๊าฟตวั กลาง 1 ตวั ลงมายนื คกู่ นั ทาให้แนวหลงั มี 4 คน และดึงกองหนา้ จากตวั ดบั เบิ้ลยู ลงมาแทน 1 คน และใหม้ กี องหนา้ 4 คน เท่าเดิม ในเกมรุก ก็จะใชผ้ เู้ ลน่ รวม 8 คน กล่าวคอื กองหน้า 4 คน และเสริมแบค๊ อีก 2 คน เขา้ ไปร่วมกบั กองกลาง 2 คน (ที่เคยเล่าว่า แบ๊คยโุ รป) รวม 4 คน เท่ากบั ในการ รุก มีผเู้ ลน่ อยา่ งนอ้ ย 8 คน 31

ในเกมรับ กจ็ ะดึงปี กท้งั สองขา้ ง รวมกนั 2 คน มาเสริมฮ๊าฟ หรือมิดฟิลด์ ท้งั 2 คน รวมเป็น 4 คน ร่วมกบั แนวหลงั 4 คน เป็นจานวน 8 คนเหมอื นกนั น่ีก็คอื วิวฒั นาการของการเล่นท่ีปรับเปล่ียนจากระบบ “เอม็ ดบั เบิลย”ู มาเป็น ระบบ 4:2:4 ต่อมาก็มกี ารปรับปรุงให้เป็นรูปแบบ 4:3:3 ซ่ึงจะทาให้การรุก และการรับมี จานวนผเู้ ล่นเพมิ่ ข้นึ เป็น 9 คน กล่าวคอื เวลารุก ก็อาจจะส่งเซ็นเตอร์ข้ึนไปช่วยแบ๊ค 2 ขา้ งบุกอีก 1 คน เวลารับก็จะทิ้งกองหนา้ ไวค้ นเดียว เป็นตน้ ทีมองั กฤษ ท่ีเป็นแชมป์ โลกในปี ค.ศ. 1966 มีการดดั แปลงรูปแบบเป็น 4:4:2 คือ ดึงปี ก 2 ขา้ ง ลงมายนื รวมกบั แนวมดิ ฟิลด์ เพอ่ื เสริมในแนวรับ และแนวรุก เช่นเดียวกนั กล่าวโดยสรุป ฟตุ บอลรุ่นแรก ยทุ ธศาสตร์ที่สาคญั กค็ อื ตอ้ งการสร้างความ มน่ั คง และเขม้ แขง็ ในเกมรับ โดยเนน้ ความพยายามท่ีจะควบคมุ เกมกลางสนาม ที่ถือเป็น “แดนยทุ ธศาสตร์” ท่ีจาเป็นจะตอ้ งควบคุม หรือกระชบั พ้นื ท่ีไวใ้ ห้ได้ เพ่ือความไดเ้ ปรียบเชิงยทุ ธศาสตร์ท้งั เกมรับ และเกมรุก ววิ ฒั นาการ จะค่อย ๆ ปรับเปล่ยี นการเล่น จากการเกง่ ในตาแหน่งใคร ตาแหน่งมนั (Specialization) มาเป็นรูปแบบของหลายทกั ษะ (multi skills) ส่วนการจดั รูปแบบของการเลน่ ว่าจะใชร้ ะบบอะไร ผสมอะไรบา้ ง แลว้ แต่ โคช้ ของแต่ละทีม จะเป็นผวู้ างแผนเตรียมการ อยา่ งไรกต็ าม วิวฒั นาการของรูปแบบการเลน่ ก็ยงั คงมีตอ่ ไป ซ่ึงเราจะไดพ้ บ กบั ระบบโทเทิ้ลฟตุ บอลในบทต่อไป 32

ส่ิงท่ีอยากจะสรุปไวใ้ นตอนน้ี กค็ ือ การพฒั นาศิลปะของการเลน่ และแบบแผน ของการเล่นเป็นวิวฒั นาการ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งอาศยั ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การกีฬามา ประยกุ ตใ์ ชท้ ีละเลก็ ทีละนอ้ ยตามคลั ลองของการส่งั สมความรู้ของมนุษยช์ าติ และ ความสามารถในการนามาประยกุ ตใ์ ช้ ตวั อยา่ งท่ีอยากจะยกมาใหพ้ ิจารณา กค็ อื ผเู้ ลน่ ชาวบราซิล มกั จะไดร้ ับการ กลา่ วขวญั วา่ มีพรสวรรคใ์ นการเลน่ และมกี ารอา้ งอิงถึงการผสมผสาน ระหวา่ งการ เตน้ “แซมบา้ ” ซ่ึงถอื วา่ เป็นการเตน้ ประจาชาติ กบั การเคลอ่ื นไหวแขง้ ขา ในการเลน่ ฟตุ บอล นอกจากน้นั ผูเ้ ล่นดงั ๆ ส่วนใหญ่ จะมรี ากฐานมาจากครอบครัวท่ียากจน แต่มี ความรัก และหลงใหลในเกมกีฬาฟตุ บอล การเป็น “ดาราลูกหนงั ” ในบราซิล กจ็ ะ สามารถเปลย่ี นคุณภาพชีวิตของนกั เตะให้มง่ั มขี ้นึ จากหนา้ มือ เป็นหลงั มือ ในการลง เล่นฟุตบอลอาชีพ เพราะฉะน้นั แรงจูงใจ ในการเลน่ จึงมีสูง ส่วนเร่ืองพรสวรรค์ กเ็ ป็นอีกประเด็นหน่ึงที่มกั กล่าวอา้ งถงึ กค็ ือ ความแขง็ แรง ของกลา้ มเน้ือของนกั ฟุตบอลบราซิล ที่เกิดและเติบโตในภูมภิ าคท่ีมคี วามแหง้ แลง้ และมที ่ีดินปนทราย ซ่ึงจะทาให้การเคลือ่ นไหวดว้ ยเทา้ เปล่าลาบาก แต่กลบั เป็นผลดี แกผ่ เู้ ลน่ ชาวบราซิล ที่ความยากลาบาก ทาให้มฐี านของ กลา้ มเน้ือที่แขง็ แรง เมือ่ มาไดร้ ับการฝึกฝนอยา่ งถกู วธิ ี และแขง่ ขนั บนพ้นื หญา้ แถมมี รองเทา้ ใหใ้ ส่ ทาใหเ้ กิดการเสริมความไดเ้ ปรียบทางธรรมชาติ ซ่ึงมีอยแู่ ลว้ ข้ึนไปอีก 33

น่ีคอื อุทาหรณ์ท่ีทาใหเ้ ราตอ้ งมานงั่ คิดที่จะหา “เพทุบาย” ทางวิทยาศาสตร์การ กีฬา มาช่วยเสริมความแขง็ แรง และว่องไวของกลา้ มเน้ือ ตลอดจนเสริมความดอ้ ย ทางดา้ นสรีระของร่างกายของคนเอเชีย 8.4 การเล่นระบบ “โทเทิล้ ฟุตบอล” (Total Football) ในการแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังที่ 10 ในปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) ณ ประเทศ เยอรมนั ตะวนั ตก วงการฟตุ บอลโลก กไ็ ดพ้ บเห็นการเลน่ ในรูปแบบใหม่ ซ่ึงทีมจาก ประเทศเนเธอร์แลนด์ เป็นผูน้ าการเลน่ ระบบน้ีมาเผยโฉมให้วงการฟตุ บอลโลกไดเ้ ห็น ว่ากนั วา่ ทีมสโมสรแรกที่ใชร้ ะบบน้ี กค็ อื ทีมอาแจค๊ อมั สเตอร์ดมั (Ajax Amsterdam) ของเนเธอร์แลนด์ ท่เี ป็นท้งั แชมป์ ลีคของประเทศ และแชมป์ สโมสร ยโุ รปดว้ ย เนื่องจากผเู้ ลน่ จากทีมอาแจค๊ ฯ ติดทีมชาติอยหู่ ลายคน ดาราดงั ของทีมที่ชื่อ “โยฮนั ครัฟฟ์ ” (Johan Crujff) จึงไดน้ าเสนอแผนการเลน่ วธิ ีน้ีตอ่ โคช๊ รีนุส มเิ ชล (Rinus Michels) ซ่ึงเป็นโค๊ชทีมชาติอยู่ และไดร้ ่วมวางแผนกบั โค๊ช เพอ่ื มาปรับใช้ สาหรับการเลน่ ของทีมชาติเนเธอร์แลนด์ ทีมเนเธอร์แลนด์ สามารถเอาชนะแชมป์ โลก 3 สมยั จากบราซิลไปได้ 2 ประตู ตอ่ 0 และไดเ้ ขา้ ไปชิงชนะเลิศกบั ทีมเยอรมนั ตะวนั ตกเจา้ ภาพ แตก่ ต็ อ้ งไปแพท้ ีม เยอรมนั ตะวนั ตกไป 1 ประตูต่อ 2 อยา่ งน่าเสียดาย การเลน่ แบบ “โทเทิล้ ฟุตบอล” ซ่ึงต่อมากลายเป็นแบบฉบบั ของฟตุ บอลใน สมยั ใหม่น้ี ท่ีเรียกตวั เองว่า “โมเดิร์นฟุตบอล” (Modern Football) น้นั ถา้ แปลตามตวั ตรง ๆ กห็ มายความว่า “การเล่นฟุตบอลกนั ท้งั ทีม” 34

ท่านผอู้ ่าน อ่านแลว้ คงจะงงว่า แลว้ ฟุตบอลแบบไหนล่ะ ที่ไม่เล่นท้งั ทีม 11 คน แต่จริง ๆ แลว้ หลกั เกณฑท์ ่ีสาคญั ของการเล่นแบบน้ี ก็คือ ไมม่ กี ารแบง่ แยก ความชานาญในหนา้ ที่มากมายเหมือนเดิม ทกุ คนตอ้ งมสี ่วนในเกมท้งั รุก และรับ อาวุธที่สาคญั กค็ อื การว่งิ สลับตาแหน่ง กันอยู่ตลอดเวลา แบบไม่มัว่ กลา่ วคอื ใหม้ ีความยืดหยนุ่ ในเร่ืองตาแหน่งที่ผเู้ ล่นอาจว่งิ ไปทบั กบั ตาแหน่งอื่น และมีการวิง่ สลบั กนั ไดต้ ลอดเวลา จากสถิติท่ีมีการรวบรวมไวใ้ นการเลน่ แตล่ ะแมทช์ ผเู้ ล่นแตล่ ะคน จะครองลกู ไดอ้ ย่างมากไม่เกิน 4 นาที ตอ่ เกม 90 นาที ดงั น้นั เวลาท่ีเหลือ (ไม่นบั ลกู ออก และลูก ถกู หยดุ เล่น โดยการฟาวล์ หรือบาดเจ็บ) ประมาณ 50 ถงึ 60 นาที กจ็ ะตอ้ งใชไ้ ปใน การเคล่อื นท่ีไปหาท่ีวา่ ง หรือวิ่งไปช่วยกนั สกดั ลกู จากฝ่ายตรงขา้ ม แลว้ แต่สถานการณ์ เวลาไดล้ กู ไวใ้ นความครอบครอง ก็จะตอ้ งรีบหาทางส่ง ส่วนการฟอร์มรูปแบบ หรือการวางตวั จะเป็นในรูปแบบ 4:2:4 หรือ 4:3:3 หรือ 4:2:3:1 กจ็ ะทาเป็นพิธีเท่าน้นั เมอื่ การเล่นเร่ิมข้ึน การเคล่อื นไหวของผเู้ ล่นจะ เกิดข้ึนโดยมกี ารสลบั ตาแหน่งกนั ไดต้ ลอดเวลา ศลิ ปะของการเลน่ แบบน้ี ถา้ จะอุปมาอุปไมยใหเ้ ห็นภาพชดั เจน ก็ขอให้ไปดกู าร เล่นบาสเก็ตบอล ซ่ึงเราจะเห็นว่าทุกคนมีหนา้ ที่ท้งั รุก และรับ การว่ิงหมุนเวยี น สลบั ตาแหน่งกนั เป็นเรื่องปกติ อาจจะมีขอ้ ยกเวน้ บา้ งสาหรับ ตาแหน่งการ์ด (ตวั จ่ายลกู ) และตาแหนง่ เซ็นเตอร์ ท่ีเคลอ่ื นไหวไมม่ าก โทเทิ้ลฟตุ บอล กใ็ ชแ้ นวคิดเดียวกนั น้ีในการฟอร์มการเล่น แต่ก็จะมขี อ้ ยกเวน้ ไดโ้ ดยเฉพาะอยา่ งยิ่งตาแหน่งเซ็นเตอร์ฮา๊ ฟคู่ อาจจะตอ้ งผลดั กนั ข้นึ ไปบุก ถา้ จาเป็น 35

เม่อื แผนยทุ ธศาสตร์ท่ีจะใชก้ ารเล่น เปลยี่ นรูปแบบไป การฝึกฝน เพอื่ เตรียมเล่น วธิ ีใหม่ จาเป็นท่ีจะตอ้ งหารูปแบบในการฝึก เพ่ือสร้างความสัมพนั ธ์ และความเขา้ ใจ ระหวา่ งผเู้ ล่นในทีม ผเู้ ลน่ ที่เลน่ ร่วมกนั มาเป็นเวลานานพอสมควร น่าจะอยใู่ นวิสัยที่ไดเ้ ปรียบใน การรู้จกั แนวถนดั ของเพ่ือน และเพอ่ื น ๆ ก็จะรู้จกั แนวถนดั ของเขา ที่แน่ ๆ วธิ ีการเล่นแบบน้ี ลกู จะตายยาก และจะทาใหท้ ีมคตู่ ่อสู้ท่ีนิยมการคมุ ตายตวั สบั สน เพราะผเู้ ล่นท่ีตวั เองคุม จะวงิ่ ไปอยใู่ นตาแหน่งอืน่ ที่ตวั คมุ ไมถ่ นดั แต่ทา่ นผอู้ า่ น ก็คงจะพอนึกออกว่าวธิ ีน้ีตอ้ งใชก้ าลงั มาก และตอ้ งมีความแมน่ ยา ในการตอ่ บอลสูง ปัญหาจะอยทู่ ่ีเกมรับ ในกรณีท่ีเราเกิดเสียลกู ในความครอบครอง คนท่ีอยใู่ กล้ จะตอ้ งเขา้ แย่งลูก คนท่ีเหลอื จะตอ้ งรู้ว่า ควรจะลงไปวางแนวรับอยา่ งไร ใครจะส่ังใครทาหนา้ ท่ี “กระชบั พ้ืนที่” และ “การทากบั ดกั ล้าหนา้ ” (Off-side Trap) เป็นกลยทุ ธสาคญั ท่ีจะตอ้ งนามาใช้ จะเห็นว่า การฝึกฝนท่ีเคยเนน้ “ทกั ษะเฉพาะ” (Specialization) ในการเลน่ ตาแหน่งใครตาแหน่งมนั จะเปลี่ยนไปเป็นการฝึกท่ีเรียกกนั ว่า “แบบเป็นเป็ด” (Generalization) ในแวดวงวิชาการบริหารองคก์ ร ท่านผอู้ า่ น คงทราบดีว่า เป็ดอยไู่ ดท้ ้งั บนบก และในน้า การฝึกแบบใหมน่ ้ี ผเู้ ลน่ ถูกฝึกให้มีความสามารถหลาย ๆ “ทกั ษะ” ที่จะ นาไปใชใ้ นการรุกท้งั “กราบซา้ ย” หรือ “กราบขวา” 36

เวลาจะรับ ก็จะตอ้ งรู้วิธีกระชบั พ้นื ท่ี และเขา้ แยง่ ลกู แต่ท่ีแน่ ๆ ทุกคนตอ้ ง ช่วยกนั ว่งิ ฉะน้นั ทุกคนตอ้ งฟิต น่ีคือสัญลกั ษณ์ของการเริ่มตน้ ของศิลปะใหมท่ ี่เรียกวา่ “โมเดิร์น ฟตุ บอล” (Modern Football) หรือ ฟุตบอลสมยั ใหม่ ที่มีรากฐานมาจาก “โทเทิล้ ฟุตบอล” ของทีมเนเธอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) สรุปการวเิ คราะห์เชิงยทุ ธศาสตร์ของระบบโทเทลิ้ ฟุตบอล ก. ข้อดี 1. ในแง่ของเกมรุก การใชร้ ะบบน้ี จะทาใหเ้ กิดความหลากหลายของช่องทาง ในการรุก และช่วยสร้างความยืดหยนุ่ ในการวางแผนการรุกไดม้ ากวิธี 2. เป็นการสร้างความสับสนให้แนวกองหลงั ของคู่ต่อสูใ้ นการควบคมุ ตวั ผเู้ ลน่ ทีมบุก ที่เรียกว่า การประกบตวั (One-to-one marketing หรือ Close marking) ซ่ึงเคย เป็นแบบฉบบั ของทีมเยอรมนั ตะวนั ตกในสมยั ก่อน เพราะเหตุที่กองหนา้ ท้งั แผง จะพา กองหลงั ท่ีคุมเขา วิ่งออกนอกเขตพ้นื ท่ี ในกรณีที่แนวกองหลงั ใชว้ ธิ ีต้งั รับแบบเป็นโซน (Zone Defense) กองหลงั จะ อาจสับสน เพราะมีการเปลยี่ นตวั ผเู้ ล่นทีมบุกมาในโซนอยตู่ ลอดเวลา 3. เกมจะมคี วามต่อเน่ือง เพราะว่าผูเ้ ล่นท้งั ทีมจาเป็นท่ีจะตอ้ งมีการเคลอื่ นที่ ทาให้การตอ่ บอลทาไดง้ า่ ยข้นึ 37

ข. ข้อด้อย 1. การท่ีทุกคนจะตอ้ งเคล่อื นที่สลบั ตาแหน่งอยเู่ สมอ ทาใหผ้ ูเ้ ลน่ ทกุ คนตอ้ งมี ความฟิตเพมิ่ ข้ึน 2. ผเู้ ลน่ ในทีม จะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจเกม และอ่านเกมออกว่า ตวั เองควรจะ เคล่อื นที่ไปที่ไหน และทีมจะตอ้ งเคล่อื นขบวนไปอย่างไร จึงจะสร้างความไดเ้ ปรียบ ฉะน้นั การเล่นแบบน้ี ตอ้ งการผูเ้ ลน่ ในทีมที่เลน่ อยดู่ ว้ ยกนั นานพอสมควร จึงจะสร้าง ความสัมพนั ธท์ ี่ดีได้ 3. ผเู้ ล่นที่จะตอ้ งมีทกั ษะหลายรูปแบบ (Multi skills) เพราะการเลน่ ใน ตาแหน่งท่ีตวั เองเคลอ่ื นท่ีไปอยู่ อาจตอ้ งการทกั ษะท่ีแตกตา่ ง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในการ ใชเ้ ทา้ ท้งั สองขา้ งอยา่ งชานาญ ทาใหโ้ คช้ ตอ้ งวางแผนการฝึกฝน และใชเ้ วลามากข้ึน ส่วนทกั ษะที่ได้ ก็อาจจะทาไดไ้ มด่ ี เมือ่ เปรียบเทียบการฝึกความชานาญในหนา้ ที่เป็น เรื่อง ๆ ไป (Specialization) อะไรคือปัจจยั ท่ีอยเู่ บ้ืองหลงั ของความสาเร็จในการนาระบบโทเทิล้ ฟุตบอลมา ใช้ ถา้ ปราศจากการประยกุ ตใ์ ช้ “วิทยาศาสตร์การกีฬา” อยา่ งมืออาชีพ ผมอยากใหท้ ่านพิจารณาสถิติท่ีน่าสนใจเกี่ยวกบั ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศ ท่ีมีพ้นื ดินต่ากวา่ ระดบั น้าทะเล แต่กส็ ามารถใชค้ วามสามารถทางวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทาให้พ้ืนดินที่อยตู่ ่ากว่าระดบั น้าทะเลของเขาน้ี เป็นที่อยู่ อาศยั ของประชากร 17 ลา้ นคน (ค.ศ. 2019) ไดอ้ ยา่ งสุขสบาย 38

เพ่อื การเปรียบเทียบระดบั ประชากร ขอเรียนว่า ณ ปี ค.ศ. 2019 ประเทศองั กฤษ มพี ลเมืองราว 66.5 ลา้ นคน ฝรั่งเศส มี 67 ลา้ นคน เยอรมนั 83 ลา้ นคน และประเทศ ไทยมี 70 ลา้ นคนเศษ แต่ความสามารถในเชิงฟุตบอลแลว้ เนเธอร์แลนดไ์ ดต้ าแหน่งที่ 2 ถึง 3 คร้ัง ในปี ค.ศ. 1974, ค.ศ. 1978 และ ค.ศ. 2010 ไดท้ ่ี 3 ในปี ค.ศ. 2014 และไดท้ ี่ 4 ในปี ค.ศ. 1998 นบั วา่ เป็นสถติ ิท่ีไมเ่ ลวเลย สาหรับประเทศที่มีประชากรไมถ่ ึง 20 ลา้ นคน แต่ สามารถนาศิลปะ และวทิ ยาศาสตร์มาบูรณาการ และประยกุ ตใ์ ชไ้ ดด้ ีขนาดน้ี 9. ว่าด้วยตารับตาราฟตุ บอล ตาราฟุตบอลท่ีออกมาวางขายในตลาดสมยั กอ่ นที่พอจะซ้ือหามาอ่านได้ ก็คงจะ เป็นตาราที่เขยี นโดยโคช้ ชาวองั กฤษ ท่ีเราพอจะแปลความตามเร่ืองไดค้ วามเขา้ ใจ เรื่องใหญ่ใจความกจ็ ะเป็นการเนน้ เร่ืองการสร้างทกั ษะให้ผูเ้ ล่น ในการ ครอบครองลกู เล้ยี งลกู ส่งลกู (ท้งั เทา้ และศีรษะ) ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของ “เทคนิค” (Technic) และวิธีการประสานงานระหวา่ งผเู้ ลน่ ซ่ึงกจ็ ะมีคาแนะนาเรื่องกลยทุ ธตา่ ง ๆ ท้งั การรุก และการรับ ซ่ึงก็คอื ส่วนท่ีเรียกว่า “แทก็ ติก” (Tactics) การสร้างความแขง็ แรงและอดทนใหก้ บั กลา้ มเน้ือและระบบของการหายใจ ก็ จะใชก้ ารว่งิ ชา้ ว่ิงทน และวงิ่ เร็วบา้ ง ว่ิงซิกแซกบา้ ง รวมท้งั การทาท่าบริหารร่างกาย ต่าง ๆ 39

การเลน่ กลา้ มทอ้ ง และการวดิ พ้ืน กจ็ ะเป็นส่วนหน่ึงของการฝึกฝนส่วนบนของ ร่างกาย แตก่ ารใชเ้ คร่ืองมอื อื่น ๆ ที่เรียกว่า การประยกุ ตใ์ ชว้ ทิ ยาศาสตร์การกีฬา ยงั ไม่ไดม้ กี ารพูดถงึ อยา่ งแพร่หลาย ในยคุ ตน้ ๆ ยทุ ธศาสตร์ (ส่วนใหญ)่ ที่สั่งสอนโดยโคช้ ดงั ๆ ของสมาคม ฟตุ บอลองั กฤษ พอสรุปเน้ือหาใจความไดด้ งั น้ี คอื (1) จงพยายามไปถึงลกู ฟตุ บอลก่อนคตู่ ่อสู้ (Be first to the ball) ซ่ึงแน่ละ ถา้ ทาไดย้ อ่ มเป็นการดี (2) อยา่ เขา้ ปะทะแยง่ ลูกอยา่ งโง่เขลา (Fool tackling) เรื่องน้ีสอนใหร้ ู้จกั ระวงั อยา่ วิ่งไป “จวั่ ลม” เพราะคตู่ ่อสู้ เขาเตรียมหลอกเราอยแู่ ลว้ (3) การป้องกนั ประตู หรือการรับที่ดี ก็คอื การบุก (The best defense is offense) ซ่ึงปรัชญาขอ้ น้ี เป็นส่ิงที่น่าคดิ เมื่อเรานาไปเปรียบเทียบกบั ปรัชญาท่ีว่า “ปลอดภยั ไวก้ อ่ น” (Safety first) โดยท่ีจะตอ้ งนามาคดิ ไตร่ตรองว่า ควรจะทาใน สถานะการณ์อยา่ งไรบา้ ง (4) เวลารุก พยายามเขา้ ให้ถึงเสน้ แนวหลงั สุดของฝ่ายรับ แลว้ ผา่ นลกู ให้หกั กลบั เขา้ มาในสนาม (สมยั ก่อนเรียกว่า หกั 90 องศา หรือประมาณน้นั ) โดยที่ฝ่ ายรุกจะ ไดเ้ ปรียบ เพราะจะหนั หนา้ พบกบั ลกู ฟุตบอล ในขณะท่ีฝ่ายรับจะตอ้ งหนั ขา้ ง ทาให้ การเล่นไม่สะดวกเท่ากบั ฝ่ายรุก การเลน่ แบบน้ี สมยั น้ีไมค่ ่อยจะเห็น คงเป็นเพราะวา่ ฝ่ ายรับต้งั ใจป้องกนั อนั ตราย โดยหุบแบ๊คท้งั 2 ขา้ ง เขา้ มาดา้ นในเลก็ นอ้ ย เพื่อกนั การทะลทุ ะลวงแบบน้ีก็ เป็ นได้ 40

อยา่ งไรก็ตาม ประเทศกาลงั พฒั นาอยา่ งเรา น่าจะไดส้ ่งคนไปศกึ ษาวิธีการของ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนั สเปน หรืออติ าลีไวบ้ า้ ง เพื่อนามาเป็นกรณีตวั อยา่ งในการศกึ ษา เรื่องแบบแผนการเล่นต่อไป 10. ศิลปะศาสตร์ลูกหนัง การเล่นฟุตบอลแบบคลาสสิคในยคุ หลงั สงครามโลกคร้ังท่ีสองน้นั นบั ว่ามีการ กลา่ วขานถงึ การเลน่ ของทีมฮงั การี ซ่ึงมีผเู้ ลน่ ดงั ๆ อยา่ ง ฟอร์เรน ปูสกาส (Ferenc Puskas) และ แซนเดอร์ ค๊อคซิส (Sandor Kocsis) ผยู้ งิ ประตสู ูงสุด 11 ประตู ในการ แข่งขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังที่ 5 ในปี ค.ศ.1954 ท่ีประเทศสวสิ เซอร์แลนด์ แตก่ ารเปลีย่ นแปลงทางดา้ นศลิ ปะศาสตร์ที่เห็นเด่นชดั และเป็นที่กลา่ วขวญั กนั ทวั่ โลก กค็ อื การแข่งขนั ฟุตบอลโลกคร้ังท่ี 6 ในปี ค.ศ. 1958 ณ ประเทศสวีเดน โดยที่ ทีมบราซิลจากอเมริกาใต้ มีผเู้ ลน่ ดงั ๆ อยา่ ง “เปเล่” (ราชาแห่งฟุตบอล) “การินช่า (ปี ก ขวามหศั จรรย์ “วาว่า” (ศูนยห์ นา้ อนั ตราย) “ดีด้ี” (มดิ ฟิลดเ์ จา้ ของสมญานามนักเตะ ใบไมร้ ่วง) และ “ซากาลโล” (ปีกซา้ ยตวั เกง่ ) ไดแ้ สดงศิลปะ และเทคนิคของการเล้ียง ลอ่ หลอกหลบคูต่ ่อสู้ และการใชล้ ูกส้ัน ๆ ส่งกนั อยา่ งแม่นยา ทาใหท้ ีมบราซิล เอาชนะ ทีมสวีเดน เจา้ ภาพ ซ่ึงไดเ้ ปรียบทางดา้ นกองเชียร์ไปอยา่ งท่วมทน้ ถึง 5 ประตตู ่อ 2 เทา่ น้นั ยงั ไม่พอ ทีมบราซิลชุดน้ี ไดต้ อกย้าถงึ การใชศ้ ิลปะใหมใ่ นการเลน่ โดย การเป็นแชมป์ โลกคร้ังที่ 2 ใน ค.ศ. 1962 หรือ 4 ปีถดั มา ผลการแขง่ ขนั นดั ชิงชนะเลศิ บราซิลสามารถเอาชนะทีมเช็คโกสโลวาเกีย ทีม ซ่ึงไดช้ ื่อว่ามีกองหลงั ท่ีเหนียวแน่นที่สุดในโลกทีมหน่ึง (ในขณะน้นั ) ไปถึง 3 ประตู ต่อ 1 ท้งั ๆ ที่ บราซิลขาด “เปเล่” ซ่ึงลงเล่นไม่ได้ เพราะบาดเจบ็ 41

ก่อนท่ีจะไดแ้ ชมป์ บราซิลชุดน้ี ไดต้ ระเวนไปอุ่นเครื่องกบั ทีมสโมสรตา่ ง ๆ ใน ประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก โดยใชท้ ีมซานโต๊ส ปรากฏวา่ ไปตอ้ นทีมสโมสรใหญ่ ของเยอรมนั ทาให้เยอรมนั ตอ้ งพฒั นาวิธีการเล่นของเขาใหม่หมด เพอื่ เตรียมรับมือกบั ศลิ ปะใหมแ่ นวบราซิล ท่ีผูเ้ ขียนทราบเรื่องน้ีเพราะว่า เมือ่ ปี ค.ศ. 1965 ตอนที่ทีมชาติไทยถูกส่งไปฝึก ท่ีเยอรมนั 1 เดือน เขาไดฉ้ ายวดี ีโอ ท่ีบนั ทึกเกมการแขง่ ขนั ไว้ และนามาฉายใหเ้ ราดู ตลอดจนอธิบายการพฒั นาการเล่นของทีมเยอรมนั ใหม่หมด เพื่อตอ่ สูก้ บั ศิลปะลกู ส้นั ของทีมบราซิล วิธีการต้งั รับเดิมของทีมเยอรมนั ก็คอื การคุมตวั ผเู้ ล่นกองหนา้ ของคู่ต่อสู้ ชนิด ที่เรียกว่า “คู่ใครคมู่ นั ” (Man-to-man marking) ในขณะที่บราซิลใชก้ ารคมุ เป็นโซน (Zone defense) ปรากฏวา่ วธิ ีการเลน่ ของเยอรมนั ในแนวหลงั เอาผเู้ ล่นกองหนา้ และกองกลาง ไม่อยู่ โดนทีมซานโตส๊ (มีผเู้ ล่นทีมชาติหลายคน) ตอ้ นตือ จนทาให้เกิดแรงกระตนุ้ ใน การเปลย่ี นศิลปะของการเลน่ ใหมห่ มด จะเห็นไดว้ ่า วิวฒั นาการทางดา้ นน้ีของทีมเยอรมนั ผสมผสานกบั ววิ ฒั นาการ ทางวิทยาศาสตร์การกีฬาของเยอรมนั ซ่ึงเราจะไดก้ ล่าวถงึ ในบทถดั ไป ทาใหท้ ีม เยอรมนั ผงาดข้ึนมาเป็นทีมแนวหนา้ ของโลก สูสีกบั ทีมบราซิล 10.1 ยุคของ “การออกกาลงั กาย คือยา” ในราวปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) สมาคมแพทยแ์ ห่งสหรัฐอเมริกา ออกนโยบาย หรือสโลแกน ที่มชี ่ือว่า “การออกกาลงั กาย คอื ยา” (Exercise Is Medicine) 42

ความตื่นตวั ในเร่ืองการใชก้ ารออกกาลงั กาย เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวติ ใหม้ ี ความแขง็ แรง ท้งั กาย และใจ อีกท้งั ยงั ช่วยลดอตั ราการเจ็บป่ วยของมนุษยล์ ง ทาให้ อุตสาหกรรม เคร่ืองทุ่นแรง หรือเครื่องท่ีใชช้ ่วยการออกกาลงั กาย เจริญเติบโต อาทิ ดมั เบล บาร์เบล ลเู่ ดิน และลู่วงิ่ ฯลฯ โครงการเพื่อความฟิต (Fitness Program) เกิดข้นึ อยา่ งดาษดื่น เหมอื นดอกเห็ด เน่ืองจากโครงการเหล่าน้ี เหมาะสมมากสาหรับ “มนุษยเ์ งินเดือน” ท่ีตอ้ งทางานใน ออฟฟิ ส และอาศยั อยใู่ นเขตเมือง วงการกีฬาทกุ ประเภท ต่างกไ็ ดป้ ระโยชน์จากโครงการท่ีเรียกว่า “ฝึกกลา้ มเน้ือ ดว้ ยน้าหนกั ” (Weight Training) จาไดว้ ่า ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2510-2511 น้ี พล.อ.ท. เนาวรัตน์ ปาณานนท์ อดีตนกั ฟุตบอลทีมสโมสรทหารอากาศ ซ่ึงเป็นรุ่นพี่ แต่มาลงเล่นฟุตบอลทีมชาติไทย ดว้ ยกนั อยสู่ มยั หน่ึง (เสียชีวติ ) ไดน้ าเอาวิธีการใช้ “เคร่ืองมอื น้าหนกั ” มาฝึกใหท้ ีม เยาวชนไทยอยพู่ กั หน่ึง วา่ กนั ว่า ทา่ นได้ ไอเดีย มาจากการไปฝึกอบรมโคช้ ท่ีประเทศญ่ปี ่ นุ มา สิ่งท่ีไม่น่าจะประหลาดใจ ก็คอื จะมกี ารต่อตา้ นจากวงการโคช้ และวงการ ฟตุ บอลไทย เมื่อคณุ เสนอความคดิ ใหม่ ๆ ท่ีไมเ่ คยไดเ้ ห็นไดย้ นิ มาก่อน เขา้ ทานอง จะบ้าเหรอ เขาให้ฝึ กเดก็ เล่นฟตุ บอล ไม่ได้มาเล่นกล้ามนะ! สิ่งท่ีพสิ ูจนใ์ หเ้ ห็นไดช้ ดั เจน กค็ ือ การที่เรามีกลา้ มเน้ือขาท่ีแขง็ แรงข้นึ จะทาให้ การเตะไดไ้ กลข้นึ 43

ผรู้ ักษาประตฟู ุตบอลสมยั ก่อนน้นั เวลาต้งั ลกู เตะจากเสน้ ประตจู ะตอ้ งให้แบ๊ค มาเตะแทน เพราะขาไม่ไดถ้ ูกฝึกใหเ้ ตะ ต่อมาภายหลงั กน็ ิยมให้ประตมู าเตะเอง เพื่อไมใ่ ห้แบ๊ค ตอ้ งละจากแนวตวั เอง ลงมา ประตใู นยคุ ศตวรรษที่ 19 และ 20 เตะไดอ้ ยา่ งเก่งกไ็ มเ่ กินเส้นคร่ึงสนาม แตเ่ ดี๋ยวน้ี ผรู้ ักษาประตูทว่ั ไปเตะไดเ้ กินคร่ึงสนามไปอย่างนอ้ ย 15 หลา ถา้ เตะดว้ ยเทา้ ที่เกิดจากการโยนไม่เกินแนวเขตเส้นโทษดว้ ยแลว้ พวกเขา สามารถเตะถึงหนา้ ประตขู องอกี ฝ่ายหน่ึงได้ ถา้ อยากจะเตะ นอกจากน้นั การยงิ ลกู ระยะไกล ๆ เช่น 25 หรือ 30 หลา ตลอดจนลูกไซดโ์ คง้ ต่าง ๆ จากระยะนอกเขตโทษกด็ ี ลว้ นแลว้ แต่เกิดจากความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือท่ีได้ จากการฝึกฝนทางน้าหนกั ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของวทิ ยาศาสตร์การกีฬา แต่การฝึกเช่นน้ีก็ ตอ้ งระมดั ระวงั ในเร่ืองความสมดุลของความแขง็ แรง และความวอ่ งไว ส่วนการฝึกฝนโดยใชเ้ ครื่องมือทางดา้ นการควบคมุ การเตน้ ของหวั ใจและชีพจร (Heart Rate Meter) ท่ีเราพบเห็นการใชบ้ นจกั รยาน หรือบนลูท่ างเดิน และวิ่งของ อปุ กรณฟ์ ิตเนส ตา่ ง ๆ ยงั ไมค่ อ่ ยไดร้ ับทราบ และไดเ้ ห็นวา่ นามาใชเ้ พอื่ เพ่ิมพูนความ ทรหดอดทนของระบบการหายใจ และการลาเลยี งเลือดของนกั กีฬา ไดแ้ ต่เพยี งเป็น การประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การควบคุมไมใ่ หม้ ีการเตน้ ของหวั ใจมากไปจนเกิดอนั ตราย การประยกุ ตใ์ ชเ้ ครื่องมือเหลา่ น้ี ผสมผสานกบั วิธีการฝึกแบบระบบฝึกหนกั แลว้ หยดุ พกั ท่ีเรียกว่า Interval Training จะช่วยเพม่ิ สมรรถนะของความอดทนของ ร่างกายไดด้ ีข้ึน 44

อยา่ งไรก็ตาม วิวฒั นาการของการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา น่าจะมีรากฐาน และหลกั ฐานโชวใ์ ห้เราเห็นถงึ ความสาคญั ของมนั ต่อการเลน่ ฟตุ บอล กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) การแข่งขนั ฟตุ บอลโลกคร้ังท่ี 5 ท่ี ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ไดม้ เี หตุการณท์ ี่เรียกไดว้ ่า เป็นการเปิ ดหู เปิ ดตา วงการ ฟุตบอลคร้ังย่ิงใหญ่ เพราะวา่ ทีมเยอรมนั ตะวนั ตก สามารถเอาชนะทีมเต็งฮงั การี ในนดั ชิงชนะเลิศไปได้ 3 ประตูต่อ 2 ท้งั ๆ ทถี่ กู ยิงนาไปก่อน 2 ประตตู ่อ 0 ! อีกซ้าก่อนหนา้ น้ี เยอรมนั ตะวนั ตก เคยแพท้ ีมฮงั การีในรอบแรก (เพราะอยสู่ าย เดียวกนั ) ไปถึง 8 ประตู ตอ่ 3 ! ทีมเยอรมนั ตะวนั ตก ที่ถูกฮงั การี “ตอ้ นตือ” ไปอยา่ งหมดรูป สามารถกลบั มา พลกิ เกมไดอ้ ยา่ งไร เหตผุ ลท่ีมกั ใชอ้ า้ งอิง กค็ ือว่า โคช้ เกง่ มคี วามสามารถแกเ้ กมใหพ้ ลิกเอาชนะได้ แตส่ ิ่งท่ีอยเู่ บ้ืองหลงั ความสาเร็จของทีมเยอรมนั ตะวนั ตก ก็คือ ผูเ้ ลน่ มีความ อดทน แขง็ แรง และมีความสมบูรณข์ องร่างกาย เหนือกวา่ ผเู้ ลน่ ทีมฮงั การี ท่ีมเี ทคนิค ดีกวา่ แต่บาดเจ็บ และไม่สมบรู ณใ์ นเกมทา้ ย ๆ ในขณะท่ีเยอรมนั ฯ “วิง่ สู้ฟัด” ได้ นานกวา่ นน่ั กแ็ สดงว่า ระบบการฝึกฝนของทีมเยอรมนั ตะวนั ตก น่าจะไดน้ าความรู้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มาประยกุ ตใ์ ชบ้ า้ งแลว้ ผเู้ ขียนจาไดว้ า่ ในช่วงที่เคยไดร้ ับการฝึกจาก อาจารยส์ ารวย ไชยยงค์ (ตอ่ มาเป็น พล.ต.สาเริง ไชยยงค)์ อดีตผเู้ ล่นทีมชาติในช่วงปี ค.ศ. 1960-1962 (พ.ศ. 2503-2505) อาจารยส์ าเริง ไดน้ าเอาลูกฟตุ บอลขนาดใหญม่ าก ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาน 45

1 ฟุต 6 นิ้ว (ลูกฟตุ บอลท่ีใชเ้ ตะกนั เส้นผา่ ศูนยก์ ลางไมน่ ่าจะเกิน 10 นิ้ว หรือ 25 ซ.ม.) และมีน้าหนกั พอดู มาใชฝ้ ึกนกั ฟุตบอลไทย หลงั จากเลกิ เล่นฟุตบอล อาจารยส์ าเริง ไดร้ ับทนุ จากสมาคมฟตุ บอลฯ ไปอบรม 3 เดือน และต่อมาไดร้ ับทุนจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชการที่ 9 ใหไ้ ปเรียน เร่ืองฟตุ บอล และจนจบวิชาการโคช้ ฟุตบอลจากเยอรมนั ตะวนั ตก (หลกั สูตร 1 ปี ) อาจารย์ เรียกฟตุ บอลชนิดน้ีวา่ “เมดดิซีน บอล” (Medicine Ball) ฟตุ บอลน้ีนามาให้ นกั ฟตุ บอลรับส่ง (ทมุ่ ) ใส่กนั เพื่อสร้างความแขง็ แรงของร่างกายส่วนบน เมือ่ นามาให้นกั ฟุตบอลฝึกเตะ ก็จะเป็นการสร้างความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ ท่ีขา ทาให้เตะไดแ้ รงข้ึน สิ่งที่จะช่วยในการกระโดด และจงั หวะในการโหมง่ ก็คอื การนาเสา 3 เมตร มาต้งั และมคี านยื่นออกมาเพื่อผกู เชือกให้ลกู ฟุตบอลห้อยลงมาอยใู่ นระดบั สูงกวา่ ศรี ษะประมาณ 1 ฟุต หรือมากกวา่ น้นั เพอ่ื ใหน้ กั กีฬาว่งิ กระโดด และโหม่ง ลกู ฟตุ บอลที่ถูกผกู เชือกไว้ ลูกฟตุ บอลจะ แกวง่ ไปมา เหมอื นลูกตมุ้ นาฬิกา สิ่งที่จะตอ้ งหดั ฝึกฝน ก็คือ การกะจงั หวะของลกู ที่วิ่งกลบั มาอยใู่ นแนวดิ่งตรง ของเชือก และเรากระโดดโหม่ง เพ่ือให้ถกู ลูกเตม็ หนา้ ผาก ลกู เล่นเหลา่ น้ี กค็ ือการช่วยการพฒั นาการกระโดดของนกั ฟตุ บอลใหส้ ูง และให้ ไดจ้ งั หวะในการโหม่งให้เตม็ ศีรษะ เพือ่ ท่ีจะไดม้ คี วามรุนแรงเพม่ิ ข้นึ ดว้ ย ส่วนในเรื่องกายภาพบาบดั น้นั นกั ฟตุ บอลไทย ที่ถกู ส่งไปฝึกท่ีเยอรมนั ตะวนั ตก ในปี ค.ศ. 1965 (พ.ศ. 2508) กค็ งจะจาไดว้ ่า เขาใชร้ ะบบ “สปา” คือ เอา 46

น้าอุ่นผา่ นเคร่ืองสร้างแรงดนั และนามาฉีดตามกลา้ มเน้ือขาของพวกเรา เพ่ือใหเ้ ลือด หมุนเวียนแทนระบบการนวดดว้ ยมือ (คา่ แรงคนแพงกว่าคา่ เคร่ืองในยโุ รป) สาหรับประเทศไทย กกท. (การกีฬาแห่งประเทศไทย) เคยมี “เคร่ืองมือเป่ าลม” ที่ใชว้ ดั สมรรถนะ หรือขนาดของปอด โดยการให้นกั กีฬาเป่ าลมใหส้ ุดกาลงั ลงไปใน อปุ กรณท์ ี่จะรวบรวมปริมาณลม เพือ่ นาไปคานวณความจขุ องปอด ซ่ึงผลลพั ธ์ กค็ อื รู้ว่าปอดเลก็ หรือปอดใหญ่ เทา่ น้นั เอง ไม่ไดน้ ามาช่วยทาให้ ปอดใหญ่ข้นึ หรือช่วยการหายใจให้ดีข้ึน แตอ่ ยา่ งใด นกั ธุรกิจชาวอติ าลี ทา่ นหน่ึงชื่อคณุ ปุชชี่ (Mr. Puchi) เคยเล่นฟุตบอลท่ีอิตาลี ถูกยา้ ยมาทางานที่เมอื งไทย และมสี มั พนั ธ์ภาพกบั ผใู้ หญ่บางท่านในธนาคารกรุงเทพ เลยถกู เชิญมาช่วยโค๊ชทีมธนาคารกรุงเทพ อยชู่ ่วงหน่ึง วธิ ีการที่เก่ียวกบั การหายใจ ที่เขานามาสอน เพ่ือเพม่ิ ออกซิเจนเขา้ ปอด และไล่ คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ ออกไปใหห้ มด กค็ ือ การออกกาลงั กายตามปกติ แลว้ บงั คบั ตวั เราให้หายใจออกแรง ๆ สลบั กบั การหายใจลึก ๆ เขา้ ปอด แสดงว่า อิตาลีมคี วามรู้เร่ือง พวกน้ีอยบู่ า้ งแลว้ ท่านผูอ้ ่าน คงพอมองเห็นแลว้ วา่ ท้งั ความสามารถดา้ นศลิ ปะ และการพฒั นา ผูเ้ ล่นทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ น้นั เป็นความจาเป็นคกู่ นั และสมั พนั ธก์ นั ทีมท่ีมีศิลปะดี แต่ไม่มคี วามแขง็ แรงในระดบั หน่ึง กอ็ าจจะแพท้ ีมที่มคี วาม สมบรู ณ์แขง็ แรงในระดบั หน่ึง แต่ถา้ ทีมที่มีศิลปะสูงข้นึ และมีความแขง็ แรงพอสมควร ก็สามารถท่ีจะเอาชนะทีมที่มีแตค่ วามแข็งแรง แต่ไม่มศี ิลปะเพียงพอได้ แลว้ แต่ อตั ราส่วนท่ีแตล่ ะทีมวา่ จะมใี นระดบั มากนอ้ ยแคไ่ หน 47

10.2 โภชนาการ (Nutrition) ลกั ษณะ และรสนิยมของการบริโภคเป็นผลพวงท่ีเกิดจากแหล่งที่อยอู่ าศยั หรือ ถิ่นฐานของมนุษย์ ที่มีแหล่งกาเนิดแตกต่างกนั ตามภูมิภาคของโลก ที่เราอาศยั อยนู่ ้ี พวกท่ีอาศยั อยใู่ นโซนหนาว ตอ้ งการพลงั งานมากในฤดหู นาว เคยลา่ หรือเล้ยี ง สตั วเ์ พ่ือนาเน้ือทาอาหาร และเอาหนงั และขนสัตว์ มาทาเป็นเคร่ืองนุ่งห่ม เช่น สุนขั จิ้งจอก หมี หรือ แกะ รับประทานนม และเนย ที่ไดจ้ ากววั และแพะ อาหารประเภทแป้ง ไม่ตอ้ งการเยอะ แหล่งท่ีมา คือ มนั เทศ และขา้ วสาลี ลกั ษณะ และเคา้ โครงของร่างกาย จะสูงใหญ่ และมกี ระดกู หนากว่าทางคน เอเชีย หรืออฟั ริกา ท่ีอยใู่ นเขตร้อน ซ่ึงตอ้ งการโภชนาการท่ีเบากว่า และหนกั ไปทาง แป้ง เช่น ขา้ ว ส่วนโปรตีน ก็จะไดจ้ ากสตั วป์ ี ก (เป็นสตั วเ์ ล้ียง) และปลา (มที ้งั เล้ยี งและท้งั จบั ตามธรรมชาติ) ความแตกตา่ งดงั กลา่ วน้ี ส่งผลใหเ้ กิดความไมเ่ หมือนในรสนิยมของการบริโภค อกี โสดหน่ึง กลา่ วคอื ทางตะวนั ตก จะกินอาหารชนิดจืดชืด ไม่มีเครื่องปรุง (ที่เขาใช้ คาว่า “Seasoning”) เพมิ่ เติมรสอาหาร ส่วนทางตะวนั ออก จะหนกั ไปทางใชเ้ ครื่องเทศ และสมนุ ไพรในการปรุง อาหารให้ออกรสชาติ เขา้ ทานองที่วา่ ไดป้ ระโยชน์แคไ่ หน ไม่สน (เพราะไมต่ อ้ งการ มากตามลกั ษณะธรรมชาติอยแู่ ลว้ ) แตข่ อให้ไดร้ ส “แซบ” ไวก้ อ่ น 48

ตวั อย่าง คลาสสิคท่ีน่าจะตอ้ งระลึกถึง ก็คอื ในอดีต ปี พ.ศ. 2480 เศษ เป็นตน้ มา คนไทย จะรู้จกั คน “ญี่ป่ นุ ” ในนามวา่ “เจา้ ยนุ่ ” ซ่ึงหมายถึงคนตวั ไม่สูง (ตวั เต้ีย) ญป่ี ่ นุ ประสบความสาเร็จอย่างมากในการพฒั นาเศรษฐกิจ หลงั จากแพ้ สงครามโลกคร้ังท่ี 2 หลงั ปี พ.ศ. 2488 การเจริญกา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจ ส่งผลใหป้ ระเทศมรี ายไดป้ ระชาชาติสูงข้ึนมาก ประชาชนมีงานทา และมอี านาจซ้ือ “เน้ือ นม ไข่” มากข้นึ ญีป่ ่ นุ ใชเ้ วลาเกือบครี่งศตวรรษ ในการสร้างผคู้ นใหม้ ีรูปร่างสูงใหญข่ ้นึ กว่าเดิม แตก่ ็ยงั ไมไ่ ดข้ นาดเท่ายโุ รป แตเ่ ทา่ น้ี ญป่ี ่ ุนก็สามารถท่ีจะตอ่ กรกบั ผเู้ ล่นทางยโุ รป และอเมริกาใตไ้ ดแ้ ลว้ เพราะว่าฟตุ บอลไม่ใช่กฬี าท่ีจะตอ้ งใชร้ ่างกายปะทะตรง ๆ เหมอื นกบั กีฬารักบ้ีฟตุ บอล หรืออเมริกนั ฟตุ บอล ใครจะเรียกชาว ญีป่ ่ นุ ว่า “เจา้ ยนุ่ ” ตอ่ ไปไม่ไดแ้ ลว้ เกาหลใี ต้ เป็นอีกประเทศหน่ึงท่ีเดินตามรอยเทา้ ญป่ี ่ นุ มาติด ๆ อยา่ ลมื วา่ เกาหลี ใต้ เป็นหน่ึงในเสือส่ีตวั ของเอเชีย ท่ีมงุ่ พฒั นาเศรษฐกิจตามหลงั ญ่ปี ่ นุ ประเทศสี่เสือ ที่ว่าคือ ประเทศใตห้ วนั เกาหลใี ต้ ฮอ่ งกง และสิงคโปร์ ท่ีไดม้ ีการพฒั นาเศรษฐกิจให้ เจริญรุดหนา้ และมีการบริโภคโปรตีนมากข้ึน แต่ที่ผมจะยกเป็นอทุ าหรณ์ กลบั กลายเป็นเร่ืองการนิยมบริโภค “เครื่องเคยี ง” เสริมอาหาร อนั ไดแ้ ก่ โสม และกิมจิ ซ่ึงวา่ กนั ว่า กิมจิท่ีดีจะตอ้ งใส่โสมดว้ ย ทีมฟุตบอลเกาหลีใต้ ไมว่ ่าจะเดินทางไปแข่งขนั ที่ไหน ๆ จะตอ้ งนากิมจิ (หรือ ให้คนเกาหลีใตใ้ นพ้ืนที่ที่ทาการแข่งขนั ทาให้) ไปดว้ ยเสมอ 49

พดู ง่าย ๆ คอื ถา้ ขาดกิมจิแลว้ ทานขา้ วไมอ่ ร่อย มีกิมจิแลว้ ได้ 2 เดง้ คอื อร่อย และไดป้ ระโยชนจ์ ากเครื่องเทศ สมุนไพร และโสม พดู และนึกถงึ เรื่องน้ีทีไร ผมอดคิดไมไ่ ดว้ า่ บา้ นเราเองกม็ จี านเด็ดหลายอย่าง จนเป็นที่ข้ึนชื่อในระดบั นานาชาติอยแู่ ลว้ ในสมยั น้ี เช่น ตม้ ยากงุ้ ผดั ไทย มสั มนั่ (เน้ือสัตว)์ ตา่ ง ๆ ตลอดจนส้มตา น้าพริกปลาทู น้าพริกลงเรือ ฯลฯ ทาอย่างไร เราจึงจะมกี ารพฒั นา หรือประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากอาหารท่ีได้ รสชาติชวนใหร้ ับประทาน ทาใหส้ ะอาด และทอ้ งไมเ่ สีย แถมไดป้ ระโยชน์จากวตั ถดุ ิบ และสมนุ ไพร ท่ีเป็นประโยชน์ และรับประทานรวมกนั อย่างสมดุล (ลดขา้ ว หรือ คาร์โบไฮเดรทลง) เพื่อสร้างสมรรถนะที่จะตอ้ งใชใ้ นการเลน่ กีฬา พูดง่าย ๆ คือ ไดท้ ้งั อร่อย และมีคณุ ประโยชน์อยา่ งกิมจิบา้ ง ววิ ฒั นาการดงั กลา่ ว คงจะเกิดข้ึนไม่ง่าย หากไม่มกี ารเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และความกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์การกีฬามาสนบั สนุน และผลกั ดนั ใหเ้ กิดการ เปลี่ยนแปลง 10.3 เรื่องของ “ฟุตบอลสมยั ใหม่” (Modern Football) คาว่า “โมเดิร์นฟตุ บอล” หรือ ฟตุ บอลสมยั ใหมน่ ้ี (ในศตวรรษต่อไป อาจจะมี รูปแบบการเล่นฟุตบอลที่สมยั ใหม่กว่า) ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ ว่า มีรากฐานมาจากการเลน่ ฟตุ บอลแบบสลบั ตาแหน่ง (อยา่ งไม่มวั่ ) ของเนเธอร์แลนด์ ในปี ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2518) มคี าศพั ทท์ ี่ใชเ้ รียกวธิ ีการเล่นใหม่ ๆ เกิดข้ึนโดยจะยกเอาเร่ืองสาคญั ๆ มาเลา่ ให้ ฟังในขอ้ เขยี นน้ี ในลกั ษณะของการสื่อความให้แฟนฟุตบอลทราบ และเขา้ ใจ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook