Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระสังคม ปรับปรุง 2566

หลักสูตรกลุ่มสาระสังคม ปรับปรุง 2566

Published by georgepitiyan, 2023-04-19 15:30:03

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระสังคม ปรับปรุง 2566

Search

Read the Text Version

หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3) โรงเรียนบางขันวิทยา สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช

๑๕๙ หลกั สตู ร กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 3)

๑๖๐ คำนํา คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ไดด้ ำเนนิ การพัฒนาการจัด การศึกษาใหเป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งได้กำหนดให้การจัด การศึกษาตามหลักสูตรต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมแห่งความเป็นไทยในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุขเปิดโอกาสให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ใหเป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง ให้มีความเหมาะสมชัดเจนยิ่งขึ้นทั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนําหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในระดับสถานศึกษาโรงเรียนบางขันวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครศรีธรรมราช จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2566 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรขึ้น เพ่อื ใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และเพื่อให้กระบวนการนําหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ จึงร่วมกันรับผิดชอบและทำงานอย่างเป็นระบบ โดยจัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการเรียนรูเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ติ สำนึกในการเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นในกาปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และลักษณะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษา การ ประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา่ ทกุ คนสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ขอขอบคุณสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบางขันวิทยา ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนบุคคล และหน่วยงานท่ีให้ความร่วมมืออำนวยความสะดวกในการ จัดทำหลักสูตรให้สมบูรณ์และเหมาะสม สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละระดับชั้น สามารถ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัดที่กำหนดในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นบางขนั วิทยา

สารบญั ๑๖๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) หนา้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ) 1 คณุ ภาพผู้เรยี น (จบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3) 2 วิสยั ทศั น์กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ (มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) 6 โครงสร้างหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ฯ (มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ) 7 มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้ (มัธยมศึกษาตอนตน้ ) 41 คำอธิบายรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ) 42 โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ (มัธยมศึกษาตอนตน้ ) 79 ภาคผนวก 93 คณะผู้จดั ทำ 128

1 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทำไมตอ้ งเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบคุ คลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอ้ ม การจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิด ความเข้าใจในตนเอง และผู้อนื่ มคี วามอดทน อดกลน้ั ยอมรับในความแตกตา่ ง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวติ เปน็ พลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรอู้ ะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอยา่ งหลากหลาย เพอื่ ชว่ ยใหส้ ามารถปรับตนเองกับบรบิ ทสภาพแวดล้อม เป็น พลเมืองดี มีความรับผดิ ชอบ มคี วามรู้ ทักษะ คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม โดยได้กำหนดสาระตา่ งๆไว้ ดงั น้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถอื การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏบิ ัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่รว่ มกนั อย่างสันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและ ส่วนรวม • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรภี าพการดำเนินชีวิตอย่าง สนั ติสขุ ในสังคมไทยและสังคมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจา่ ย และการบรโิ ภคสินคา้ และบริการ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรที่มี อยู่อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชวี ิตประจำวนั • ประวตั ิศาสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติ จากอดีตถึงปจั จุบัน ความสัมพันธแ์ ละเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจากเหตกุ ารณส์ ำคัญใน อดตี บุคคลสำคัญทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดตี ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปญั ญา ไทย แหลง่ อารยธรรมท่สี ำคัญของโลก • ภูมศิ าสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภมู ิอากาศของ ประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ความสัมพันธก์ นั ของส่ิงตา่ งๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พันธข์ องมนุษย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอ ข้อมูลภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยนื

2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถกู ตอ้ ง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาทตี่ นนบั ถือ สาระที่ 2 หนา้ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลก อย่างสันติ สขุ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจบุ ัน ยดึ มน่ั ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรพั ยากรที่ มีอยู่จำกดั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทงั้ เขา้ ใจ หลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อการดำรงชวี ิตอยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จำเปน็ ของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสำคัญและสามารถ วิเคราะห์ ผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ ธำรงความเป็นไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพของโลก และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ต่อ กัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีกอ่ ให้เกดิ การสรา้ งสรรค์ วิถีการดำดำเนินชีวติ มีจติ สำนกึ และมีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพ่อื การพัฒนาที่ยัง่ ยืน

3 คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 1. ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กับ ประเทศในภมู ิภาคต่างๆในโลก เพ่ือพฒั นาแนวคดิ เรือ่ งการอยู่รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข 2. ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จำเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ในโลก ไดแ้ ก่ เอเชยี โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้ วยวิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ และสังคมศาสตร์ 3. ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณใ์ นอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ในการ ดำเนินชวี ิตและวางแผนการดำเนินงานไดอ้ ย่างเหมาะสม 4. มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ใน ภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความรว่ มมอื ด้านทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมระหวา่ งประเทศ เพอ่ื เตรยี มพร้อมกับการรับมือ ภยั พบิ ตั แิ ละการจดั การทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อมอยา่ งยัง่ ยนื

4 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี นหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน มุ่งให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพอื่ แลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลดปัญหา ความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับข้อมูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใช้ วธิ ีการสื่อสาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรคก์ ารคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพื่อนาํ ไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพ่ือ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ผชญิ ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลยี่ นแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หา และมกี ารตดั สินใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนาํ กระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทำงาน และการอยรู่ ่วมกันในสงั คมด้วยการสร้าง เสรมิ ความสัมพันธ์อนั ดรี ะหว่างบคุ คล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทนั กับการเปล่ียนแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบ ตอ่ ตนเองและผู้อนื่ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่อื สาร แก้ปัญหาอยา่ ง สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

5 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น 8 ขอ้ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคห์ ลักสตู รการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสงั คมไดอ้ ย่างมี ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ คณุ ลกั ษณะพึงประสงค์ของนักเรียนในศตวรรษท่ี 21 1. เป็นนกั คดิ วิเคราะห์ 2. เป็นนกั แกป้ ัญหา 3. เป็นนักสรา้ งสรรค์ 4. เป็นนกั ประสานความรว่ มมือ 5. รู้จักใช้ข้อมลู และขา่ วสาร 6. เป็นผู้เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง 7. เป็นนกั ส่อื สาร 8. ตระหนกั รบั รู้สภาวะของโลก 9. เป็นพลเมืองทรงคุณค่า 10. มีพน้ื ฐานความรูด้ ้านเศรษฐกิจและการคลังตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

6 วิสัยทศั น์ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม มุ่งพฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดตี ามวิถีประชาธิปไตย ยดึ ม่ันตามหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม มที กั ษะการจดั การทรพั ยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เรียนรู้อดีตและเทาทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ โลกยคุ ปัจจุบัน สร้างเสรมิ พหุปัญญา พฒั นาทักษะผู้เรยี น เพ่ือการพฒั นาอยา่ งย่ังยืน พันธกิจ 1. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย 2. ปลกู ฝงั ผู้เรียนให้ยึดมน่ั ตามหลกั คุณธรรม จริยธรรม 3. พฒั นาผู้เรียนให้มที ักษะการจัดการทรัพยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4. พฒั นาผู้เรยี นให้เรยี นรู้อดีตอย่างสร้างสรรค์ กา้ วทนั การเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปจั จุบัน 5. เสริมสร้างให้ผู้เรยี นเข้าใจการเปล่ยี นแปลงของส่งิ แวดลอ้ มและตระหนกั ถึงการอนุรักษ์สู่การ พฒั นาอยา่ งยั่งยนื เปา้ หมาย 1. ผู้เรยี นเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย 2. ผู้เรียนยดึ ม่ันตามหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3. ผู้เรียนมที กั ษะการจดั การทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. ผู้เรยี นสามารถเรยี นรู้อดตี อย่างสร้างสรรค์ ก้าวทนั การเปลย่ี นแปลงของโลกยุคปจั จบุ นั 5. ผู้เรียนเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสงิ่ แวดล้อมและตระหนักถึงการอนรุ กั ษส์ ู่การพัฒนาอย่าง ย่งั ยนื

7 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางตอ้ งรู้และควรรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ช้ัน ท่ี รหัส ตวั ชีว้ ัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ม.1 1 ตัวช้วี ัด ส 1.1 อธบิ ายการเผยแผ่ ➢การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ✓ 2 ม.1/1 ✓ ส 1.1 พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี เข้าสูป่ ระเทศไทย 3 ม.1/2 ตนนบั ถอื สู่ประเทศไทย 4 ส 1.1 ม.1/3 วเิ คราะห์ความสำคัญของ ➢ ความสำคญั ของ ✓ ✓ ส 1.1 พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนา พระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทยใน ม.1/4 ทต่ี นนับถือ ท่ีมีต่อ ฐานะเปน็ สภาพแวดล้อมในสงั คมไทย  ศาสนาประจำชาติ รวมทั้งการพฒั นาตนและ  สถาบนั หลกั ของสังคมไทย ครอบครัว  สภาพแวดล้อมท่ีกวา้ งขวาง และครอบคลุมสงั คมไทย  การพฒั นาตนและ ครอบครัว วิเคราะห์พุทธประวตั ติ ง้ั แต่ ➢ สรุปและวเิ คราะห์ พุทธ ประสูตจิ นถงึ บำเพญ็ ทกุ ร ประวัติ กิริยา หรอื ประวตั ิศาสดาท่ี  ประสูติ ตนนับถอื ตามท่ีกำหนด  เทวทตู 4  การแสวงหาความรู้  การบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า วิเคราะห์และประพฤติตนตาม ➢ พุทธสาวก พุทธสาวกิ า แบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและ  พระมหากัสสปะ ข้อคิดจากประวตั สิ าวก  พระอุบาลี ชาดก/เร่อื งเล่า และศาสนิก  อนาถบิณฑิกะ ชนตัวอยา่ งตามที่กำหนด  นางวสิ าขา ➢ ชาดก  อัมพชาดก  ตติ ติรชาดก ➢ ศาสนิกชนตัวอย่าง  พระเจ้าอโศกมหาราช  พระโสณะและพระอุตตระ

8 ชั้น ที่ รหสั ตัวชว้ี ัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ตวั ชว้ี ัด 5 ส 1.1 อธบิ ายพทุ ธคุณ และขอ้ ธรรม ➢ พระรตั นตรัย ✓ ม.1/5 สำคัญในกรอบอริยสัจ 4  พุทธคณุ 9 หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ี ➢ อริยสัจ 4 ตนนับถือ ตามที่กำหนด เหน็  ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรรู้) คณุ คา่ และนำไปพฒั นา o ขันธ์ 5 แก้ปัญหาของตนเองและ - ธาตุ 4 ครอบครวั  สมทุ ัย (ธรรมท่ีควรละ) o หลักกรรม - ความหมายและ คณุ คา่ o อบายมุข 6  นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สุข 2 (กายกิ , เจตสกิ ) o คหิ สิ ุข  มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) o ไตรสกิ ขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 - ไมค่ บคนพาล - คบบณั ฑิต - บูชาผู้ควรบชู า ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต  ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเชน่ ใดเป็นคนเชน่ นน้ั  อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตอื นตน ดว้ ยตน  นิสมฺม กรณํ เสยฺโย ใครค่ รวญก่อนทำจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทกุ ขฺ า เรอื นทีค่ รองไมด่ นี ำทกุ ข์มา ให้

9 ชั้น ท่ี รหสั ตวั ช้ีวดั รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 6 ตัวชว้ี ดั ส 1.1 เหน็ คณุ คา่ ของการพัฒนาจิต ➢ โยนิโสมนสิการ ✓ 7 ม.1/6 เพ่อื การเรยี นรูแ้ ละการดำเนนิ  วธิ คี ดิ แบบคุณค่าแท้ – 8 ส 1.1 ชีวติ ดว้ ยวธิ ีคิดแบบโยนโิ ส คุณค่าเทยี ม 9 ม.1/7 มนสกิ ารคือวธิ ีคิดแบบคุณคา่  วธิ ีคิดแบบคุณ - โทษและ 10 แท้ – คณุ ค่าเทียม และวิธีคิด ทางออก ส 1.1 แบบคุณ – โทษ และ ม.1/8 ทางออก หรือการพัฒนาจติ ส 1.1 ม.1/9 ตามแนวทางของศาสนาทตี่ น ส 1.1 นบั ถือ ม.1/10 สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหาร  สวดมนตแ์ ปล และแผ่ ✓ จติ และเจรญิ ปญั ญาด้วยอานา เมตตา ✓ ✓ ปานสติ หรอื ตามแนวทาง  วธิ ปี ฏบิ ตั แิ ละประโยชน์ ✓ ของศาสนาทีต่ นบั ถอื ตามท่ี ของการบรหิ ารจติ และเจรญิ กำหนด ปัญญา การฝึกบรหิ ารจติ และ เจรญิ ปญั ญาตามหลักสตปิ ัฎฐาน เน้นอานาปานสติ ➢ นำวธิ กี ารบรหิ ารจติ และ เจริญปญั ญาไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตาม ➢ หลักธรรม (ตามสาระการ หลักธรรมทางศาสนาที่ตนนบั เรียนรขู้ ้อ 5) ถือ ในการดำรงชีวติ แบบ พอเพียง และดูแลรกั ษา สงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือการอย่รู ่วมกัน ไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุข วิเคราะห์เหตผุ ลความจำเปน็ ➢ ศาสนิกชนของศาสนาตา่ ง ๆ ท่ีทกุ คนตอ้ งศึกษาเรียนรู้ มกี ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นและวถิ ี ศาสนาอืน่ ๆ การดำเนนิ ชวี ติ แตกต่างกันตาม หลักความเช่ือและคำสอน ของ ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบตั ติ นตอ่ ศาสนิกชนอืน่ ใน ➢ การปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสม สถานการณต์ ่าง ๆ ได้อย่าง ต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ เหมาะสม ตา่ ง ๆ

10 ช้ัน ที่ รหสั ตัวช้ีวัด รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 11 ตวั ช้ีวัด 12 ส 1.1 วิเคราะหก์ ารกระทำของ ➢ ตัวอยา่ งบคุ คลในท้องถน่ิ หรือ ✓ 13 ม.1/11 ✓ บคุ คลที่เปน็ แบบอย่างดา้ นศา ประเทศทปี่ ฏิบัตติ นเป็น ✓ 14 ส 1.2 15 ม.1/1 สนสัมพนั ธ์ และนำเสนอแนว แบบอย่างด้านศาสนสัมพนั ธห์ รอื ✓ 16 ส 1.2 ✓ ม.1/2 ทางการปฏบิ ัติของตนเอง มผี ลงานดา้ นศาสนสมั พนั ธ์ ✓ ส 1.2 บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อศาสน ➢ การบำเพ็ญประโยชน์และ ม.1/3 ส 1.2 สถานของศาสนาท่ีตนนับถือ การบำรงุ รักษาวัด ม.1/4 ส 1.2 อธิบายจรยิ วัตรของสาวกเพ่ือ ➢ วิถีชีวติ ของพระภิกษุ ม.1/5 เปน็ แบบอย่างในการประพฤติ  บทบาทของพระภิกษุ ใน ปฏบิ ัติ และปฏบิ ตั ิตนอย่าง การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เชน เหมาะสมต่อสาวกของศาสนา การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม ที่ตนนบั ถือ การประพฤติตนใหเ้ ป็น แบบอยา่ ง  การปฏบิ ตั ติ นทเี่ หมาะสม การเขา้ พบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพการ ประนมมือ การไหว การกราบ การเคารพพระรตั นตรยั การฟงั เจริญพระพทุ ธมนต การฟังสวด พระอภธิ รรม การฟงั พระธรรม เทศนา ปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อ ➢ ปฏิบัตติ นอยา่ งเหมาะสมต่อ บคุ คลตา่ งๆตามหลักศาสนา เพ่อื น ตามหลักพระพุทธศาสนา ทีต่ นนบั ถือตามที่กำหนด หรือศาสนาท่ตี นนับถือ จดั พิธกี รรมและปฏิบตั ิตน ➢ การจัดโตะหมูบูชา แบบหมู ในศาสนพธิ ี พธิ กี รรมได้ 4 หมู 5 หมู 7 หมู 9 ถูกต้อง อธิบาย ประวัตคิ วาม สำคัญ ➢ ประวตั แิ ละความสำคัญของ และปฏบิ ตั ิตน วนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา วัน ในวนั สำคญั ทางศาสนาทต่ี น ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ นับถือตามทีก่ ำหนดได้ถกู ต้อง ➢ ระเบยี บพิธี พิธเี วียนเทยี น การปฏิบตั ิตนในวนั มาฆบชู า วนั วิสาขบชู า วนั อฏั ฐมบี ชู า วัน

11 ช้ัน ที่ รหสั ตวั ช้วี ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ตัวช้ีวัด อาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสำคญั 17 ส 2.1 ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายในการคุ ➢ กฎหมายในการคมุ ครองสทิ ธิ ✓ ม.1/1 มครองสิทธขิ องบุคคล ของบุคคล เชน o กฎหมายการคุมครองเด็ก o กฎหมายการศึกษา o กฎหมายการคุมครอง ผู้บริโภค o กฎหมายลขิ สิทธิ์ ➢ ประโยชน์ของการปฏบิ ตั ติ น ตามกฎหมาย การคุมครองสิทธิ ของบุคคล 18 ส 2.1 ระบุความสามารถของตนเอง ➢ บทบาทและหนาทขี่ อง ✓ ม.1/2 ในการทำประโยชนต์ อ่ สงั คม เยาวชนท่ีมีตอ่ สังคม และ และประเทศชาติ ประเทศชาตโิ ดยเน้นจติ สาธารณะ เชน เคารพกติกา สังคม ปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย มี ส่วนร่วมและรบั ผดิ ชอบใน กิจกรรมทางสงั คมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติรักษา สาธารณประโยชน์ 19 ส 2.1 อภิปรายเก่ยี วกับคุณค่าทาง ➢ ความคลายคลงึ และความ ✓ ม.1/3 วฒั นธรรมทเี่ ปน็ ปัจจัยในการ แตกตา่ ง ระหวา่ งวฒั นธรรมไทย สรา้ งความสมั พนั ธ์ กบั วฒั นธรรมของประเทศใน ที่ดี หรอื อาจนำไปสคู่ วาม ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต เขา้ ใจผิดต่อกนั วฒั นธรรมทีเ่ ปนปจจัยในการ สรา้ งความสัมพนั ธ์ที่ดี 20 ส 2.1 แสดงออก ถงึ การเคารพใน ➢ วิธีปฏิบัตติ นในการเคารพใน ✓ ม.1/4 สิทธิ เสรภี าพของตนเองและ สิทธิเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น ผอู้ ื่น ➢ ผลทไี่ ดจ้ ากการเคารพในสิทธิ เสรภี าพของตนเอง และผู้อนื่ 21 ส 2.2 อธบิ ายหลกั การ ➢ หลักการ เจตนารมณ์ ✓ ม.1/1 เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ โครงสร้าง และสาระสำคญั ของ

12 ช้ัน ที่ รหสั ตัวชี้วดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 22 ตัวชี้วัด 23 สาระสำคญั ของรฐั ธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร 24 ส 2.2 ม.1/2 แห่งราชอาณา-จักรไทยฉบับ ไทย ฉบบั ปัจจุบัน 25 ส 2.2 ปัจจบุ ันโดยสังเขป 26 ม.1/3 ส 3.1 วิเคราะหบ์ ทบาท การถว่ งดลุ ➢ การแบ่งอำนาจ และการ ✓ ม.1/1 ✓ อำนาจอธิปไตยในรฐั ธรรมนูญ ถ่วงดุลอำนาจอธปิ ไตยท้ัง 3 ฝ่าย ✓ ส 3.1 ม.1/2 แห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั คอื นติ ิบัญญัติ บรหิ าร ตุลาการ ส 3.1 ปจั จบุ ัน ตามทรี่ ะบุในรัฐธรรมนญู แห่ง ม.1/3 ราชอาณาจักรไทยฉบับปจั จุบัน ปฏิบัตติ นตามบทบญั ญัติของ ➢ การปฏิบัตติ นตามบทบญั ญตั ิ รัฐธรรมนญู แหง่ ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับ ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบัน ปจั จุบนั ท่เี กี่ยวข้องกบั ตนเอง เก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพและหน้าท่ี อธิบายความหมายและ ➢ ความหมายและความสำคัญ ความสำคญั ของเศรษฐศาสตร์ ของเศรษฐศาสตร์เบ้ืองต้น ➢ ความหมายของคำวา่ ทรพั ยากรมจี ำกัดกับ ความ ตอ้ งการมไี มจ่ ำกัด ความขาด แคลน การเลอื กและคา่ เสยี โอกาส วิเคราะห์คา่ นิยมและ ➢ ความหมายและความสำคญั ✓ ✓ พฤติกรรมการบรโิ ภคของคน ของการบริโภคอยา่ งมี ในสังคมซ่งึ ส่งผลต่อเศรษฐกิจ ประสทิ ธิภาพ ของชมุ ชนและประเทศ ➢ หลกั การในการบรโิ ภคท่ดี ี ➢ ปจั จยั ที่มอี ิทธพิ ลต่อ พฤติกรรมการบริโภค ➢ ค่านิยมและพฤตกิ รรมของ การบรโิ ภคของคนในสงั คม ปัจจบุ นั รวมทั้งผลดแี ละผลเสีย ของพฤติกรรมดังกล่าว อธิบายความเป็นมา หลักการ ➢ ความหมายและความ และความสำคัญของปรชั ญา เปน็ มาของปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง

13 ช้ัน ท่ี รหัส ตัวชี้วดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ตัวชี้วดั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อ 27 สงั คมไทย ➢ ความเป็นมาของเศรษฐกิจ ✓ 28 ส 3.2 พอเพียง และหลักการทรงงาน ✓ 29 ม.1/1 วเิ คราะห์บทบาทหน้าท่ีและ ของพระบาทสมเด็จพระ ✓ ความแตกต่างของสถาบนั เจ้าอยูห่ วั รวมทั้งโครงการตาม ส 3.2 การเงนิ แต่ละประเภทและ พระราชดำริ ม.1/2 ธนาคารกลาง ➢ หลกั การของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ส 3.2 ยกตวั อย่าง ท่ีสะท้อนใหเ้ ห็น ➢ การประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของ ม.1/3 การพ่งึ พาอาศยั กันและการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในการ แขง่ ขันกันทางเศรษฐกจิ ใน ดำรงชีวติ ประเทศ ➢ ความสำคญั คุณค่าและ ประโยชน์ของปรชั ญาของ ระบุปจั จัยทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการ เศรษฐกิจพอเพยี งต่อสงั คมไทย กำหนดอปุ สงคแ์ ละอุปทาน ➢ ความหมาย ประเภท และ ความสำคัญของสถาบนั การเงิน ทม่ี ีต่อระบบเศรษฐกิจ ➢ บทบาทหน้าท่ีและ ความสำคัญของธนาคารกลาง ➢ การหารายได้ รายจ่าย การ ออม การลงทนุ ซึ่งแสดง ความสัมพันธ์ระหวา่ งผ้ผู ลติ ผบู้ รโิ ภค และสถาบนั การเงนิ ➢ ยกตวั อย่างที่สะท้อนให้เหน็ การพ่งึ พาอาศยั กันและกนั การ แขง่ ขันกนั ทางเศรษฐกิจใน ประเทศ ➢ ปญั หาเศรษฐกจิ ในชมุ ชน ประเทศ และเสนอแนว ทางแก้ไข ➢ ความหมายและกฎอุปสงค์ อปุ ทาน ➢ ปจั จัยท่ีมอี ิทธิพลต่อการ กำหนดอุปสงคแ์ ละอุปทาน

14 ชนั้ ที่ รหสั ตวั ชีว้ ดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 30 ตัวชี้วดั 31 ส 3.2 อภิปรายผลของการมี ➢ ความหมายและความสำคญั ✓ ม.1/4 ✓ 32 กฎหมายเก่ยี วกบั ทรพั ยส์ นิ ของทรพั ยส์ ินทางปญั ญา ส 4.1 33 ม.1/1 ทางปัญญา ➢ กฎหมายทีเ่ กยี่ วกับการ ส 4.1 คมุ้ ครองทรัพยส์ ินทางปัญญาพอ ม.1/2 สงั เขป ส 4.1 ม.1/3 ➢ ตวั อยา่ งการละเมดิ แหง่ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาแต่ละ ประเภท วิเคราะห์ความสำคญั ของเวลา ➢ ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลา ✓ ✓ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ และยุคสมยั ที่ปรากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย ➢ ความสำคญั ของเวลา และ ช่วงเวลาสำหรับการศึกษา ประวัติศาสตร์ ➢ ความสมั พันธแ์ ละ ความสำคัญของอดตี ทมี่ ตี ่อ ปัจจบุ นั และอนาคต เทยี บศกั ราชตามระบบ ➢ ทีม่ าของศักราชท่ปี รากฏใน ต่างๆ ทใ่ี ช้ศึกษา เอกสารประวัติศาสตรไ์ ทย ได้แก่ ประวตั ิศาสตร์ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ. ➢ วธิ กี ารเทยี บศักราชต่างๆ และตัวอยา่ งการเทยี บ ➢ ตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชต่าง ๆ ท่ปี รากฏในเอกสาร ประวัติศาสตร์ไทย นำวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ➢ ความหมายและความสำคัญ มาใช้ศกึ ษาเหตุการณท์ าง ของประวตั ิศาสตร์ และวธิ กี าร ประวตั ศิ าสตร์ ทางประวัตศิ าสตร์ที่มีความ สมั พนั ธ์เชอ่ื มโยงกัน ➢ ตวั อย่างหลกั ฐานใน การศกึ ษาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย สมัยสุโขทัย ทง้ั หลักฐานชน้ั ต้น

15 ช้ัน ท่ี รหสั ตัวชว้ี ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 34 ตัวชวี้ ัด 35 อธบิ ายพฒั นาการทาง และหลกั ฐานชนั้ รอง ( เชอ่ื มโยง ✓ ส 4.2 สังคม เศรษฐกิจ และ กับ มฐ. ส 4.3) เชน่ ข้อความใน ม.1/1 การเมืองของประเทศต่าง ๆ ศิลาจารกึ สมัยสโุ ขทัย เป็นต้น ✓ ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออก ➢ นำวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ส 4.2 เฉียงใต้ ไปใช้ศึกษาเร่ืองราวของ ม.1/2 ประวัติศาสตร์ไทยทีม่ ีอยู่ใน ระบุความสำคัญของแหลง่ ทอ้ งถนิ่ ตนเองในสมัยใดก็ได้ อารยธรรม ในภมู ิภาคเอเชีย (สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ ตะวันออกเฉยี งใต้ สมยั กอ่ นสุโขทัย สมยั สโุ ขทัย สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบรุ ี สมยั รตั นโกสนิ ทร์ ) และเหตุการณ์ สำคญั ในสมยั สุโขทัย ➢ ทตี่ ั้งและสภาพทาง ภมู ิศาสตรข์ องประเทศตา่ ง ๆ ใน ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการทางดา้ น ต่างๆ ➢ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ ประเทศตา่ ง ๆ ในภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ➢ ทีต่ ้งั และความสำคัญของ แหล่งอารยธรรมในภมู ิภาค เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เชน่ แหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆ ของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ➢ อทิ ธิพลของอารยธรรม โบราณในดินแดนไทยที่มตี อ่ พฒั นาการของสังคมไทยใน ปัจจบุ นั

16 ช้ัน ท่ี รหสั ตวั ชวี้ ัด รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 36 ตวั ช้วี ดั 37 ส 4.3 อธิบายเรื่องราวทางประวตั ิ- ➢ สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ใน ✓ 38 ม.1/1 ศาสตร์สมยั ก่อนสโุ ขทัย ใน ดนิ แดนไทย โดยสงั เขป ✓ ส 4.3 ดินแดนไทยโดยสังเขป ➢ รฐั โบราณในดินแดนไทย เช่น ✓ 39 ม.1/2 วเิ คราะห์พัฒนาการของ ศรีวิชยั ตามพรลงิ ค์ ทวารวดี 40 ส 4.3 อาณาจักรสุโขทัยในดา้ นต่าง เป็นตน้ ✓ ม.1/3 ๆ ➢ รฐั ไทย ในดนิ แดนไทย เช่น ✓ วเิ คราะห์อิทธพิ ลของ ลา้ นนา นครศรีธรรมราช ส 5.1 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา สพุ รรณภมู ิ เปน็ ตน้ ม.1/1 ไทย สมัยสโุ ขทัยและ ➢ การสถาปนาอาณาจักร สงั คมไทยในปัจจบุ ัน สุโขทัย และ ปัจจัยทีเ่ ก่ียวข้อง ส 5.1 (ปัจจยั ภายในและ ปัจจัย ม.1/2 วิเคราะหล์ ักษณะทาง ภายนอก ) กายภาพของทวปี เอเชยี ➢ พัฒนาการของอาณาจักร ทวีปออสเตรเลยี และโอเชีย สโุ ขทยั ในดา้ นการเมืองการ เนยี โดยใช้เครอ่ื งมือทาง ปกครอง เศรษฐกจิ สังคม และ ภูมิศาสตร์สืบคน้ ข้อมลู ความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ อธิบายพิกดั ภูมิศาสตร์ ➢ วฒั นธรรมสมยั สโุ ขทัย เชน่ (ละติจูด และลองจิจูด) ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณี เส้นแบง่ เวลา และ สำคญั ศลิ ปกรรมไทย เปรยี บเทียบวัน เวลาของโลก ➢ ภูมิปญั ญาไทยในสมยั สุโขทยั เชน่ การชลประทาน เคร่ือง สงั คมโลก ➢ ความเสื่อมของอาณาจกั ร สโุ ขทัย ➢ ลักษณะทางกายภาพ ของ ทวีปเอเชีย ออสเตรเลยี และโอ เชียเนีย ➢ พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ (ละติจดู ลองจจิ ูด) เส้นแบง่ เวลา ➢ เปรยี บเทยี บวัน เวลาของ โลก

17 ชัน้ ท่ี รหัส ตวั ชีว้ ดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 41 ตวั ชว้ี ัด 42 ส 5.1 วเิ คราะห์สาเหตกุ ารเกดิ ภยั ➢ ภยั ธรรมชาติของทวีปเอเชีย ✓ 22 43 ม.1/3 พิบตั ขิ องทวปี เอเชยี ออสเตรเลีย โอเชยี เนีย ✓ ✓ ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี ✓ 44 ส 5.2 เนีย ➢ ทำเลทต่ี ั้งของกิจกรรมทาง ✓ ม.1/1 สำรวจและระบทุ ำเลที่ตงั้ ของ เศรษฐกจิ และสังคมในทวปี ✓ 45 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและ เอเชยี ทวปี ออสเตรเลียและโอ ส 5.2 สังคมในทวปี เอเชยี ทวปี เชยี เนีย ✓ ม.2 1 ม.1/2 ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ➢ การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ ง 23 2 วิเคราะห์ปจั จัยทางกายภาพ ทางประชากร ส่งิ แวดลอ้ ม ส 5.2 และปัจจัยทางสังคมท่ีมีผลตอ่ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ม.1/3 ทำเลท่ตี ง้ั ของกิจกรรมทาง ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย เศรษฐกิจและสงั คมในทวปี และโอเชียเนีย ส 5.2 เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และ ม.1/4 โอเชียเนยี ➢ ประเด็นปัญหาจาก สบื คน้ อภปิ รายประเดน็ ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ส 1.1 ปัญหาจาก ปฏสิ ัมพันธ์ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพกับ ม.2/1 ระหว่างสภาพแวดลอ้ มทาง มนุษยท์ ่ีเกดิ ในทวปี เอเชีย กายภาพกับมนุษย์ทเี่ กิดขนึ้ ใน ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี ส 1.1 ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ม.2/2 และโอเชียเนยี ➢ แนวทางการจัดการภัยพิบตั ิ วเิ คราะหแ์ นวทางการจดั การ และการจดั การทรัพยากรและ ภยั พิบตั ิ และการจัดการ สิง่ แวดล้อมในทวีปเอเชยี ทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมใน ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี อย่างยัง่ ยนื และโอเชยี เนยี อยา่ งยั่งยนื ➢ การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา รวม 45 ตัวชี้วดั เข้าสู่ประเทศเพื่อนบา้ นและการ อธิบายการเผยแผ่ นับถอื พระพุทธ -ศาสนาของ พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ี ประเทศเพ่ือนบ้านในปัจจุบัน ตนนับถือสู่ประเทศเพื่อนบา้ น ➢ ความสำคัญของ พระพทุ ธศาสนาทชี่ ่วยเสริมสรา้ ง วิเคราะหค์ วามสำคัญของพระ พทุ ธ- ศาสนา หรือศาสนาท่ี ตนนับถือที่ชว่ ยเสริมสร้าง

18 ชนั้ ที่ รหสั ตวั ช้วี ัด รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 3 ตัวช้ีวัด 4 ส 1.1 ความเขา้ ใจอันดีกับประเทศ ความเข้าใจอนั ดีกับประเทศ 5 ม.2/3 6 เพื่อนบ้าน เพอ่ื นบ้าน ส 1.1 7 ม.2/4 วิเคราะห์ความสำคัญของ ➢ ความสำคัญของ ✓ ส 1.1 ✓ ม.2/5 พระพุทธศาสนา หรือศาสนา พระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทยใน ✓ ส 1.1 ทีต่ นนบั ถือในฐานะที่เป็น ฐานะเปน็ รากฐานของวัฒนธรรม ม.2/6 รากฐานของวฒั นธรรม เอกลักษณแ์ ละ มรดกของชาติ ส 1.1 ม.2/7 เอกลกั ษณ์ของชาติและมรดก ของชาติ อภปิ รายความสำคัญของพระ ➢ ความสำคญั ของ ✓ ✓ พทุ ธ -ศาสนา หรอื ศาสนาท่ี พระพุทธศาสนากับการพัฒนา ตนนับถือกบั การพัฒนาชมุ ชน ชุมชนและการจัดระเบียบสังคม และการจดั ระเบียบสงั คม วิเคราะหพ์ ุทธประวตั ิหรอื ➢ สรุปและวเิ คราะห์ พุทธ ประวตั ศิ าสดาของศาสนาที่ ประวัติ ตนนับถือตามท่ีกำหนด  การผจญมาร  การตรสั รู้  การส่งั สอน วิเคราะห์และประพฤตติ นตาม ➢ พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา แบบอย่างการดำเนนิ ชวี ิตและ  พระสารบี ุตร ข้อคิดจากประวัตสิ าวก  พระโมคคัลลานะ ชาดก/เร่ืองเล่าและศาสนิกชน  นางขชุ ชตุ ตรา ตวั อยา่ งตามทกี่ ำหนด  พระเจ้าพมิ พสิ าร ➢ ชาดก  มิตตวินทุกชาดก  ราโชวาทชาดก ➢ ศาสนิกชนตวั อย่าง  พระมหาธรรมราชาลิไท  สมเดจ็ พระมหาสมณ เจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส อธิบายโครงสร้างและ ➢ โครงสรา้ ง และสาระสงั เขป สาระสังเขปของพระไตรปิฎก ของพระวินัยปิฎก พระ หรือคัมภีรข์ องศาสนาท่ตี นนบั สตุ ตนั ตปิฎกและพระอภธิ รรม ถอื ปิฎก

19 ช้ัน ที่ รหัส ตัวชีว้ ดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ตัวชี้วัด ➢ การสงั คายนา 8 ส 1.1 อธบิ ายธรรมคุณ และข้อธรรม ➢ พระรัตนตรยั ✓ ม.2/8 สำคัญในกรอบอรยิ สจั 4 หรือ  ธรรมคณุ 6 หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับ ➢ อริยสจั 4 ถอื ตามทก่ี ำหนด เห็นคณุ ค่า  ทุกข์ (ธรรมทค่ี วรร้)ู และนำไปพฒั นา แกป้ ัญหา o ขันธ์ 5 ของชมุ ชนและสงั คม - อายตนะ  สมทุ ัย (ธรรมทคี่ วรละ) o หลักกรรม - สมบตั ิ 4 - วิบัติ 4 o อกุศลกรรมบถ 10 o อบายมุข 6  นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ o สขุ 2 (สามสิ , นริ ามิส)  มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ) o บพุ พนิมิตของ มชั ฌมิ าปฏิปทา o ดรณุ ธรรม 6 o กลุ จริ ัฏฐติ ิธรรม 4 o กุศลกรรมบถ 10 o สติปัฏฐาน 4 o มงคล 38 - ประพฤตธิ รรม - เวน้ จากความชั่ว - เว้นจากการดื่มนำ้ เมา ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษิต  กมมฺ นุ า วตฺตตี โลโก สัตว์โลกย่อมเปน็ ไปตามกรรม  กลยฺ าณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทำดีได้ดี ทำชวั่ ได้ช่วั  สโุ ข ปุญฺญสสฺ อจุ จฺ โย

20 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ชี้วัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 9 ตัวช้วี ดั 10 การส่ังสมบญุ นำสขุ มาให้ ส 1.1 11 ม.2/9  ปชู โก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก 12 ส 1.1 ปฏิวนทฺ นํ ม.2/10 ผ้บู ูชาเขาย่อมไดร้ ับการบชู า ส 1.1 ม.2/11 ตอบ ผู้ไหวเ้ ขาย่อมได้รบั การ ส 1.2 ไหวต้ อบ ม.2/1 เห็นคุณค่าของการพฒั นาจติ ➢ พัฒนาการเรยี นรู้ดว้ ยวิธีคดิ ✓ เพอื่ การเรียนรแู้ ละดำเนินชวี ติ แบบโยนิโส-มนสิการ 2 วิธี คอื ดว้ ยวธิ คี ิดแบบโยนิโสมนสกิ าร วธิ ีคดิ แบบอบุ ายปลกุ เร้า คือ วิธีคิดแบบอบุ ายปลุกเรา้ คณุ ธรรม และวิธีคิดแบบอรรถ คณุ ธรรม และวธิ ีคดิ แบบ ธรรมสมั พนั ธ์ อรรถธรรมสัมพันธ์ หรือการ พัฒนาจติ ตามแนวทางของ ศาสนาทตี่ นนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตต ✓ จิตและเจริญปัญญาด้วยอานา ➢ รู้และเข้าใจวธิ ปี ฏิบตั แิ ละ ✓ ปานสติ หรอื ตามแนวทาง ประโยชนข์ องการบริหารจิตและ ✓ ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ เจรญิ ปัญญา ➢ ฝกึ การบรหิ ารจติ และเจริญ ปัญญาตามหลักสตปิ ัฎฐาน เนน้ อานาปานสติ ➢ นำวธิ กี ารบรหิ ารจติ และ เจรญิ ปัญญา ไปใชใ้ น ชีวติ ประจำวัน วเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั ติ นตาม ➢ การปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรม หลกั ธรรมทางศาสนาทต่ี นนับ (ตามสาระการเรยี นรู้ ข้อ 8.) ถือ เพื่อการดำรงตนอยา่ ง เหมาะสมในกระแสความ เปลยี่ นแปลงของโลก และการ อยู่ร่วมกันอย่างสนั ตสิ ุข ปฏบิ ตั ติ นอย่างเหมาะสมต่อ ➢ การเป็นลกู ที่ดี ตามหลกั ทิศ บคุ คลต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนา เบือ้ งหนา้ ในทศิ 6 ท่ตี นนบั ถือตามทก่ี ำหนด

21 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ชีว้ ัด รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 13 ตัวช้ีวัด 14 ส 1.2 มมี รรยาทของความเป็น ➢ การต้อนรบั (ปฏิสนั ถาร) ✓ ม.2/2 15 ศาสนิกชนที่ดี ตามท่ีกำหนด ➢ มรรยาทของผเู้ ปน็ แขก ส 1.2 16 ม.2/3 ➢ ฝึกปฏบิ ตั ริ ะเบียบพธิ ี ปฏิบัติ ส 1.2 ต่อพระภิกษุ การยนื การให้ที่ ม.2/4 นั่ง การเดนิ สวน การสนทนา ส 1.2 ม.2/5 การรบั สิ่งของ ➢ การแต่งกายไปวดั การแตง่ กายไปงานมงคล งานอวมงคล วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพธิ ี ➢ การทำบุญตักบาตร ✓ และปฏิบัตติ นได้ถูกต้อง ➢ การถวายภตั ตาหารสง่ิ ของที่ ควรถวายและส่ิงของต้องห้าม สำหรับพระภกิ ษุ ➢ การถวายสงั ฆทาน เครอ่ื ง สังฆทาน ➢ การถวายผา้ อาบนำ้ ฝน ➢ การจดั เคร่ืองไทยธรรม เครอื่ งไทยทาน ➢ การกรวดน้ำ ➢ การทอดกฐนิ การทอดผ้าป่า อธบิ ายคำสอนทีเ่ กย่ี วเน่ืองกับ ➢ หลักธรรมเบอื้ งต้นท่ี ✓ วนั สำคัญทางศาสนา และ เกย่ี วเนอ่ื งในวนั มาฆบชู า วนั วิ ปฏบิ ัตติ นได้ถูกตอ้ ง สาขบชู า วันอฏั ฐมีบูชา วัน อาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาลสำคัญ ➢ ระเบียบพธิ ีและการปฏิบตั ิ ตนในวันธรรมสวนะ วัน เขา้ พรรษา วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ อธบิ ายความแตกต่างของ ➢ ศาสนพธิ ี/พธิ กี รรมแนว ✓ ศาสนพิธพี ธิ ีกรรม ตาม แนว ปฏบิ ัติของศาสนาอนื่ ๆ ปฏิบัตขิ องศาสนาอนื่ ๆ เพอ่ื นำไปส่กู ารยอมรบั และความ เขา้ ใจซ่งึ กันและกัน

22 ช้ัน ที่ รหสั ตัวช้ีวดั รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 17 ตัวชี้วดั ส 2.1 อธบิ ายและปฏบิ ตั ติ นตาม ➢ กฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับ ✓ 18 ม.2/1 19 กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกบั ตนเอง ตนเอง ครอบครวั เชน่ ✓ ส 2.1 ✓ ม.2/2 ครอบครัว ชุมชนและประเทศ  กฎหมายเกีย่ วกบั ส 2.1 ความสามารถของผู้เยาว์ ม.2/3  กฎหมายบัตรประจำตัว ประชาชน  กฎหมายเพง่ เก่ียวกบั ครอบครวั และมรดก เช่น การ หมัน้ การสมรส การรบั รองบุตร การรับบตุ รบุญธรรม และมรดก  กฎหมายท่ีเกี่ยวกบั ชมุ ชน และประเทศ  กฎหมายเกย่ี วกบั การ อนรุ ักษ์ธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม  กฎหมายเกย่ี วกบั ภาษี อากร และกรอกแบบแสดง รายการ ภาษเี งินไดบ้ ุคคล ธรรมดา  กฎหมายแรงงาน เหน็ คุณคา่ ในการปฏิบตั ติ น ➢ สถานภาพ บทบาท สทิ ธิ ตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนา้ ที่ในฐานะพลเมือง เสรภี าพ หนา้ ทใี่ นฐานะ ดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย พลเมืองดตี ามวถิ ี ➢ แนวทางส่งเสริมใหป้ ฏิบัติตน ประชาธิปไตย เปน็ พลเมืองดตี ามวิถี ประชาธปิ ไตย วเิ คราะห์บทบาท ➢ บทบาท ความสำคัญและ ความสำคัญ และ ความสัมพนั ธข์ องสถาบนั ทาง ความสัมพันธ์ของสถาบันทาง สังคม เชน่ สถาบนั ครอบครวั สังคม สถาบนั การศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั ทางการเมืองการ ปกครอง

23 ช้ัน ท่ี รหสั ตัวชีว้ ัด รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ตวั ชีว้ ัด 20 ส 2.1 อธิบายความคลา้ ยคลงึ และ ➢ ความคลา้ ยคลงึ และความ ✓ ม.2/4 ความแตกต่างของวัฒนธรรม แตกตา่ งของวัฒนธรรมไทย และ ไทย และวัฒนธรรมของ วัฒนธรรมของประเทศใน ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ภมู ิภาคเอเชยี วฒั นธรรมเป็น เพ่ือนำไปส่คู วามเขา้ ใจอนั ดี ปัจจัยสำคัญในการสรา้ งความ ระหว่างกนั เข้าใจอันดีระหว่างกัน 21 ส 2.2 อธิบายกระบวนการในการ ➢ กระบวนการในการตรา ✓ ม.2/1 ตรากฎหมาย กฎหมาย o ผมู้ ีสิทธเิ สนอรา่ ง กฎหมาย o ขั้นตอนการตรา กฎหมาย o การมสี ว่ นร่วมของ ประชาชนใน o กระบวนการตรา กฎหมาย 22 ส 2.2 วเิ คราะหข์ ้อมูล ข่าวสารทาง ➢ เหตุการณ์ และการ ✓ ม.2/2 การเมืองการปกครองที่มี เปล่ยี นแปลงสำคญั ของระบอบ ผลกระทบต่อสังคมไทยสมยั การปกครองของไทย ปัจจุบัน ➢ หลกั การเลอื กข้อมลู ขา่ วสาร 23 ส 3.1 วเิ คราะหป์ จั จยั ทมี่ ผี ลต่อการ ➢ ความหมายและความสำคญั ✓ ม.2/1 ลงทนุ และการออม ของการลงทุนและการออมต่อ ระบบเศรษฐกิจ ➢ การบริหารจดั การเงินออม และการลงทนุ ภาคครวั เรอื น ➢ ปัจจัยของการลงทนุ และการ ออมคือ อัตราดอกเบย้ี รวมทั้ง ปจั จัยอ่นื ๆ เชน่ คา่ ของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกีย่ วกับ อนาคต ➢ ปัญหาของการลงทุนและ การออมในสงั คมไทย

24 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ชวี้ ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 24 ตวั ช้วี ัด ส 3.1 อธบิ ายปจั จัยการผลิตสินคา้ ➢ ความหมาย ความสำคัญ ✓ 25 ม.2/2 26 และบริการ และปัจจยั ทมี่ ี และหลกั การผลติ สนิ ค้าและ ✓ 27 ส 3.1 ✓ ม.2/3 อิทธพิ ลต่อการผลติ สินค้าและ บรกิ ารอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ✓ ส 3.1 บรกิ าร ➢ สำรวจการผลติ สนิ ค้าใน ม.2/4 ทอ้ งถ่นิ ว่ามีการผลติ อะไรบา้ ง ส 3.2 ม.2/1 ใชว้ ธิ กี ารผลติ อยา่ งไร มปี ญั หา ด้านใดบา้ ง ➢ มีการนำเทคโนโลยีอะไรมา ใชท้ ่ีมีผลต่อการผลิตสินค้าและ บริการ ➢ นำหลักการผลติ มาวิเคราะห์ การผลติ สนิ ค้าและบริการใน ท้องถนิ่ ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม เสนอแนวทางการพัฒนาการ ➢ หลักการและเปา้ หมาย ผลติ ในท้องถน่ิ ตามปรัชญา ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของเศรษฐกจิ พอเพียง ➢ สำรวจและวิเคราะห์ปัญหา การผลติ สนิ ค้าและบริการใน ท้องถนิ่ ➢ ประยกุ ต์ใช้ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงในการผลติ สนิ ค้าและบริการในท้องถิน่ อภิปรายแนวทางการคุ้มครอง ➢ การรกั ษาและคุ้มครองสิทธิ สิทธิของตนเองในฐานะ ประโยชน์ของผบู้ รโิ ภค ผูบ้ ริโภค ➢ กฎหมายค้มุ ครองสิทธผิ ุ้ บริโภคและหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง ➢ การดำเนินกจิ กรรมพิทกั ษ์ สทิ ธิและผลประโยชน์ตาม กฎหมายในฐานะผู้บริโภค ➢ แนวทางการปกป้องสทิ ธิของ ผูบ้ ริโภค อภปิ รายระบบเศรษฐกจิ แบบ ➢ ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ ต่างๆ

25 ช้ัน ที่ รหสั ตวั ชวี้ ดั รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 28 ตัวชีว้ ดั 29 ส 3.2 ยกตวั อยา่ งที่สะท้อนใหเ้ ห็น ➢ หลกั การและผลกระทบการ ✓ 30 ม.2/2 31 ส 3.2 การพงึ่ พาอาศัยกนั และการ พ่ึงพาอาศยั กัน และการแข่งขัน ✓ ม.2/3 ✓ 32 แขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกิจใน กนั ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าค ส 3.2 ม.2/4 ภมู ภิ าคเอเชยี เอเชีย ส 4.1 วิเคราะห์การกระจายของ ➢ การกระจายของทรัพยากร ✓ ม.2/1 ✓ ทรพั ยากร ในโลกทสี่ ่งผลต่อ ในโลกที่สง่ ผลตอ่ ความสัมพันธ์ ส 4.1 ม.2/2 ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ ระหวา่ งประเทศ เช่น น้ำมนั ปา่ ไม้ ทองคำ ถ่านหนิ แร่ เป็นต้น วิเคราะหก์ ารแขง่ ขันทาง ➢ การแข่งขนั ทางการค้าใน การค้าในประเทศและ ประเทศและตา่ งประเทศ ต่างประเทศส่งผลตอ่ คุณภาพ สนิ คา้ ปริมาณการผลิต และ ราคาสนิ คา้ ประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของ ➢ วธิ ีการประเมนิ ความ หลกั ฐาน ทางประวัตศิ าสตร์ น่าเชอื่ ถอื ของหลกั ฐานทาง ในลักษณะต่าง ๆ ประวัตศิ าสตร์ในลกั ษณะ ตา่ ง ๆ อยา่ งงา่ ย ๆ เช่น การศกึ ษาภูมิ หลังของผูท้ ำ หรือผเู้ กี่ยวข้อง สาเหตุ ชว่ งระยะเวลา รูปลกั ษณ์ ของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ เป็นตน้ ➢ ตวั อยา่ งการประเมนิ ความ นา่ เชอื่ ถอื ของหลักฐานทาง ประวตั ศิ าสตร์ไทยท่ีอยใู่ น ท้องถ่นิ ของตนเอง หรอื หลักฐาน สมัยอยุธยา ( เช่ือมโยงกับ มฐ. ส 4.3 ) วิเคราะหค์ วามแตกตา่ ง ➢ ตัวอยา่ งการวิเคราะหข์ ้อมูล ระหว่างความจรงิ กับ จากเอกสาร ต่าง ๆ ในสมยั ข้อเท็จจรงิ ของเหตุการณ์ทาง อยธุ ยา และธนบุรี (เชื่อมโยงกับ ประวตั ศิ าสตร์

26 ช้ัน ที่ รหสั ตัวชี้วัด รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 33 ตัวช้วี ัด เห็นความสำคญั ของการ ✓ ส 4.1 ตีความหลักฐานทาง มฐ. ส 4.3) เช่น ข้อความบาง 34 ม.2/3 ประวัติศาสตร์ท่ีน่าเช่ือถือ ตอน ในพระราชพงศาวดาร ✓ 35 อยุธยา / จดหมายเหตุ ✓ ส 4.2 อธิบายพัฒนาการทางสงั คม ชาวตา่ งชาติ ม.2/1 เศรษฐกิจ และการเมืองของ ➢ ตัวอย่างการตีความข้อมูล ภมู ิภาคเอเชีย จากหลกั ฐานท่ีแสดงเหตุการณ์ ส 4.2 สำคญั ในสมัยอยธุ ยาและธนบุรี ม.2/2 ระบคุ วามสำคัญของแหลง่ ➢ การแยกแยะระหว่างข้อมูล อารยธรรมโบราณในภูมิภาค กับความคิดเหน็ รวมทั้งความ เอเชีย จริงกบั ข้อเท็จจรงิ จากหลกั ฐาน ทางประวัติศาสตร์ ➢ ความสำคัญของการ วิเคราะห์ข้อมูล และการตีความ ทางประวัตศิ าสตร์ ➢ ทต่ี ัง้ และสภาพทาง ภมู ิศาสตรข์ องภมู ิภาคตา่ งๆใน ทวปี เอเชยี (ยกเวน้ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต)้ ทีม่ ีผลต่อ พัฒนาการโดยสงั เขป ➢ พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองของ ภูมิภาคเอเชีย (ยกเวน้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้) ➢ ทีต่ งั้ และความสำคัญของ แหล่งอารยธรรมโบราณใน ภูมภิ าคเอเชีย เชน่ แหล่งมรดก โลกในประเทศตา่ งๆ ในภมู ิภาค เอเชยี ➢ อทิ ธิพลของอารยธรรม โบราณทมี่ ีต่อภูมภิ าคเอเชียใน ปัจจบุ ัน

27 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ช้ีวัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 36 ตวั ชว้ี ดั 37 ส 4.3 วเิ คราะหพ์ ฒั นาการของ ➢ การสถาปนาอาณาจักร ✓ 38 ม.2/1 ส 4.3 อาณาจักรอยุธยา และธนบรุ ี อยุธยา 39 ม.2/2 40 ในดา้ นต่างๆ ➢ ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ ความ 41 ส 4.3 ม.2/3 วิเคราะห์ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อ เจริญรงุ่ เรอื งของอาณาจักร ✓ ส 5.1 ความมั่นคงและความ อยุธยา ม.2/1 เจริญรงุ่ เรอื งของอาณาจกั ร ➢ พัฒนาการของอาณาจักร ส 5.1 ม.2/2 อยุธยา อยธุ ยาในด้านการเมืองการ ส 5.1 ม.2/3 ระบุภูมิปญั ญาและวัฒนธรรม ปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และ ✓ ไทยสมยั อยธุ ยาและธนบุรี ความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ และอิทธิพลของภมู ิปญั ญา ➢ การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาครง้ั ท่ี ดังกลา่ ว ตอ่ การพฒั นาชาติ 1 และการกเู้ อกราช ไทยในยุคต่อมา ➢ ภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรม ไทยสมัยอยุธยา เช่น การ ควบคมุ กำลังคน และ ศลิ ปวัฒนธรรม ➢ การเสยี กรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 2 การกเู้ อกราช และการ สถาปนาอาณาจักรธนบรุ ี ➢ ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรม ไทยสมัยธนบุรี ➢ วรี กรรมของบรรพบุรษุ ไทย ผลงานของบุคคลสำคญั ของไทย และตา่ งชาติท่ีมีส่วนสรา้ งสรรค์ ชาตไิ ทย วิเคราะห์ลักษณะทาง ➢ ลักษณะทางกายภาพและ ✓ กายภาพของทวปี ยโุ รปและ สังคมของทวปี ยุโรปและ ทวีปแอฟริกา โดยใชเ้ คร่ืองมือ แอฟริกา ทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล อธิบายมาตราสว่ น ทศิ และ ➢ มาตราสว่ น ทิศ และ ✓ สญั ลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์ วิเคราะหส์ าเหตุการเกิดภัย ➢ ภัยพิบตั ขิ องทวปี ยโุ รปและ ✓ พบิ ัติของทวปี ยโุ รปและ แอฟริกา แอฟริกา

28 ช้นั ที่ รหัส ตัวชว้ี ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 42 ตัวชีว้ ดั 43 ส 5.2 สำรวจและระบทุ ำเลท่ีตง้ั ของ ➢ ทำเลท่ีตัง้ ของกิจกรรมทาง ✓ 44 ม.2/1 ✓ 45 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจและ เศรษฐกิจและสังคมในทวปี ยโุ รป ส 5.2 ✓ ม.3 1 ม.2/2 สงั คมในทวีปยุโรป และ และแอฟริกา 31 2 ✓ 3 ส 5.2 แอฟริกา ✓ ม.2/3 วเิ คราะห์ปัจจัยทางกายภาพ ➢ การเปลีย่ นแปลงโครงสร้าง ส 5.2 ม.2/4 และปจั จยั ทางสังคมท่ีมีผลต่อ ทางประชากร ส่ิงแวดลอ้ ม ส 1.1 ทำเลทตี่ ั้งของกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม ม.3/1 เศรษฐกิจและสงั คม ในทวีป ในทวปี ยุโรปและแอฟริกา ส 1.1 ม.3/2 ยโุ รป และแอฟรกิ า ส 1.1 สบื คน้ อภิปรายประเดน็ ➢ ประเด็นปัญหาจาก ✓ ม.3/3 14 ปญั หาจากปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่าง ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ✓ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพกับ กับมนษุ ย์ทเี่ กดิ ขึน้ ในทวีป มนษุ ยท์ ี่เกิดข้ึน ในทวปี ยโุ รป ยุโรป และแอฟรกิ า และแอฟริกา วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการ ➢ แนวทางการจดั การภัยพบิ ตั ิ ภยั พบิ ัตแิ ละการอนรุ ักษ์ และการอนุรักษท์ รัพยากรและ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใน สงิ่ แวดล้อมในทวปี ยุโรป และ ทวปี ยุโรป และแอฟริกา อยา่ ง แอฟริกา อย่างยง่ั ยนื ยงั่ ยืน รวม 45 ตัวชี้วัด อธิบายการเผยแผ่ ➢ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา หรือศาสนา เข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก และ ทต่ี นนับถือสปู่ ระเทศต่างๆ การนับถือพระพุทธศาสนาของ ทั่วโลก ประเทศเหลา่ นัน้ ในปจั จุบนั วิเคราะห์ความสำคญั ของ ➢ ความสำคัญของ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนา พระพุทธศาสนาในฐานะทีช่ ่วย ที่ตนนบั ถือในฐานะท่ชี ่วย สร้างสรรคอ์ ารยธรรมและความ สร้างสรรคอ์ ารยธรรมและ สงบสุขให้แก่โลก ความสงบสขุ แก่โลก อภิปรายความสำคัญของ ➢ สมั มนาพระพุทธศาสนากับ พระพุทธศาสนา หรือศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ตนนับถือ กบั ปรชั ญาของ และการพัฒนาอย่างยั่งยนื (ท่ี

29 ช้ัน ท่ี รหสั ตัวชี้วัด รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ตวั ชวี้ ัด เศรษฐกจิ พอเพยี งและ การ สอดคลอ้ งกบั หลักธรรมในสาระ พฒั นาอยา่ งยัง่ ยนื การเรยี นรู้ ข้อ 6 ) 4 ส 1.1 วิเคราะห์พุทธประวัตจิ าก ➢ ศึกษาพทุ ธประวัตจิ าก ✓ ม.3/4 พระพทุ ธรปู ปางตา่ งๆ หรือ พระพทุ ธรูปปาง ต่าง ๆ เชน่ ประวตั ิศาสดาที่ตนนับถือ o ปางมารวชิ ยั ตามท่กี ำหนด o ปางปฐมเทศนา o ปางลีลา o ปางประจำวนั เกดิ ➢ สรุปและวเิ คราะห์พทุ ธ ประวัติ o ปฐมเทศนา o โอวาทปาฏิโมกข์ 5 ส 1.1 วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตาม ➢ พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ✓ ม.3/5 แบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ิตและ o พระอญั ญาโกณฑัญญะ ขอ้ คิดจากประวัตสิ าวก o พระมหาปชาบดเี ถรี ชาดก/เร่ืองเลา่ และ o พระเขมาเถรี ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง ตามที่ o พระเจา้ ปเสนทิโกศล กำหนด o นันทิวสิ าลชาดก o สุวัณณหงั สชาดก ➢ ชาดก o นนั ทิวสิ าลชาดก o สุวณั ณหังสชาดก ➢ ศาสนิกชนตวั อย่าง o ม.จ.หญิงพูนพสิ มัย ดศิ กุล o ศาสตรจารยสัญญา ธรรมศกั ด์ิ 6 ส 1.1 อธบิ ายสงั ฆคุณ และข้อธรรม ➢ พระรตั นตรยั ✓ ม.3/6 สำคัญในกรอบอริยสัจ 4  สงั ฆคณุ 9 หรอื หลกั ธรรมของศาสนาท่ี ➢ อรยิ สจั 4 ตนนับถือตามที่กำหนด  ทุกข์ (ธรรมท่คี วรรู้) o ขนั ธ์ 5 - ไตรลักษณ์

ชนั้ ที่ รหัส ตวั ช้วี ัด 30 ตัวชว้ี ดั รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้  สมทุ ัย (ธรรมท่คี วรละ) o หลกั กรรม - วัฏฏะ 3 - ปปัญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทฎิ ฐ)ิ  นิโรธ (ธรรมทค่ี วรบรรล)ุ o อตั ถะ 3  มรรค (ธรรมที่ควรเจรญิ ) o บุพพนิมติ ของ มัชฌมิ าปฏปิ ทา o มรรคมีองค์ 8 o ปญั ญา 3 o สัปปรุ ิสธรรม 7 o บุญกิรยิ าวตั ถุ 10 o อบุ าสกธรรม 7 o มงคล 38 - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟงั ธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล ➢ พทุ ธศาสนสุภาษติ  อตฺตา หเว ชิตํ เสยโฺ ย ชนะตนนั่นแลดีกว่า  ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มอยเู่ ปน็ สุข  ปมาโท มจฺจุโน ปทํ ความประมาทเป็นทางแหง่ ความตาย  สุสสฺ ูสํ ลภเต ปญฺญํ ผผู้ ูฟ้ งั ด้วยดียอ่ มไดป้ ญั ญา

31 ช้ัน ที่ รหัส ตัวชวี้ ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 7 ตัวช้วี ัด 8  เร่ืองน่ารจู้ าก ส 1.1 9 ม.3/7 พระไตรปิฎก : พทุ ธปณิธาน 4 10 ส 1.1 ในมหาปรนิ ิพพานสูตร 11 ม.3/8 เห็นคุณคา่ และวิเคราะหก์ าร ➢ การปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรม ✓ ส 1.1 ✓ ม.3/9 ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมใน (ตามสาระการเรยี นรู้ ข้อ 6.) ✓ ส 1.1 การพฒั นาตน เพือ่ ม.3/10 ส 1.2 เตรียมพร้อมสำหรบั การ ม.3/1 ทำงาน และการมีครอบครวั เห็นคุณค่าของการพฒั นาจติ ➢ พฒั นาการเรียนรดู้ ว้ ยวิธคี ดิ ✓ ✓ เพื่อการเรียนรู้และดำเนนิ ชวี ติ แบบโยนิโสมนสกิ าร 2 วธิ ี คอื ด้วยวิธคี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร วิธคี ิดแบบอริยสจั และวธิ ีคดิ คอื วธิ ีคดิ แบบอรยิ สจั และวธิ ี แบบสืบสาวเหตุปจั จัย คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจยั หรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถอื สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหาร ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา จติ และเจริญปัญญาดว้ ยอานา ➢ รแู้ ละเข้าใจวิธีปฏิบัตแิ ละ ปานสติ หรือตามแนวทางของ ประโยชน์ของการบรหิ ารจติ และ ศาสนาท่ตี นนับถือ เจรญิ ปญั ญา ➢ ฝึกการบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญาตามหลกั สตปิ ัฎฐานเน้น อานาปานสติ ➢ นำวิธกี ารบริหารจติ และ เจริญปัญญาไปใชใ้ น ชีวิตประจำวนั วิเคราะหค์ วามแตกต่างและ ➢ วิถกี ารดำเนนิ ชีวิตของศา ยอมรบั วถิ กี ารดำเนินชีวติ สนิกชนศาสนาอื่นๆ ของศาสนิกชนในศาสนาอืน่ ๆ วเิ คราะห์หน้าทแี่ ละบทบาท ➢ หนา้ ที่ของพระภกิ ษุในการ ของสาวก และปฏบิ ัติตนต่อ ปฏิบัตติ ามหลักพระธรรมวินัย สาวก ตามท่กี ำหนดได้ถกู ต้อง และจรยิ วตั รอย่างเหมาะสม

32 ชนั้ ท่ี รหสั ตัวชี้วัด รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 12 ตวั ช้ีวัด 13 ➢ การปฏิบตั ิตนต่อพระภิกษุใน 14 ส 1.2 ม.3/2 งานศาสนพิธีทบี่ ้าน การสนทนา 15 ส 1.2 ม.3/3 การแต่งกาย มรรยาทการพูดกับ ส 1.2 ม.3/4 พระภกิ ษตุ ามฐานะ ส 1.2 ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ ➢ การเป็นศษิ ย์ทีด่ ี ตามหลัก ✓ ม.3/5 ✓ บุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ทศิ เบื้องขวา ในทิศ 6 ของ ✓ ตามที่กำหนด พระพทุ ธศาสนา ✓ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องศาสนิกชนที่ ➢ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีชาวพุทธ ดี ตามพุทธปณธิ าน 4 ในมหา ปรนิ พิ พานสตู ร ปฏิบัตติ นในศาสนพธิ ีพธิ ีกรรม ➢ พิธีทำบุญ งานมงคล งาน ได้ถูกตอ้ ง อวมงคล ➢ การนิมนต์พระภิกษุ การ เตรยี มท่ตี ้ังพระพุทธรปู และ เคร่อื งบูชา การวงด้าย สายสญิ จน์ การปลู าดอาสนะ การเตรียมเครื่องรบั รอง การจุด ธูปเทียน ➢ ข้อปฏบิ ตั ิในวันเล้ียงพระ การถวายข้าวพระพุทธ การ ถวายไทยธรรม การกรวดน้ำ อธบิ ายประวัตวิ ันสำคญั ทาง ➢ ประวัตวิ นั สำคญั ทาง ศาสนาตามท่ีกำหนดและ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทย ปฏิบตั ติ นได้ถูกต้อง  วันวิสาขบชู า (วันสำคัญ สากล)  วันธรรมสวนะและเทศกาล สำคญั ➢ หลักปฏิบัติตน : การฟัง พระธรรมเทศนา การแตง่ กาย ในการประกอบ ศาสนพิธที วี่ ัด การงดเว้นอบายมขุ ➢ การประพฤติปฏบิ ตั ิในวนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ

33 ช้ัน ท่ี รหัส ตวั ชวี้ ัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 16 ตวั ชี้วัด 17 ส 1.2 แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ ➢ การแสดงตนเป็นพุทธมาม ✓ ม.3/6 หรือ แสดงตนเป็นศาสนกิ ชน ✓ 18 ส 1.2 ของศาสนาท่ตี นนับถือ กะ ม.3/7 นำเสนอแนวทางในการธำรง  ขัน้ เตรยี มการ ✓ 19 รกั ษาศาสนาทตี่ นนับถือ  ขน้ั พธิ กี าร 20 ส 2.1 ✓ ม. 3/1 อธิบายความแตกต่างของการ ➢ การศกึ ษาเรียนรู้เรื่อง ✓ กระทำความผดิ ระหว่าง ส 2.1 คดีอาญาและคดแี พ่ง องคป์ ระกอบของ ม. 3/2 มสี ว่ นร่วมในการปกป้อง พระพุทธศาสนานำไปปฏิบตั แิ ละ ส 2.1 คุ้มครองผูอ้ ่นื ตามหลักสิทธิ เผยแผต่ ามโอกาส ม. 3/3 มนุษยชน ➢ การศกึ ษาการรวมตัวของ อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมไทยและ องค์กรชาวพทุ ธ เลือกรบั วฒั นธรรมสากลที่ ➢ การปลูกจติ สำนึกในด้านการ เหมาะสม บำรุงรกั ษาวดั และพุทธสถานให้ เกดิ ประโยชน์ ➢ ลักษณะการกระทำความผดิ ทางอาญาและโทษ ➢ ลักษณะการกระทำความผดิ ทางแพ่งและโทษ ➢ ตวั อยา่ งการกระทำความผิด ทางอาญา เชน่ ความผิดเกย่ี วกับ ทรัพย์ ➢ ตวั อยา่ งการทำความผดิ ทาง แพ่ง เชน่ การทำผิดสัญญา การ ทำละเมิด ➢ ความหมาย และ ความสำคัญของสทิ ธิมนุษยชน ➢ การมีส่วนรว่ มคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจกั รไทยตามวาระและ โอกาสท่ีเหมาะสม ➢ ความสำคัญของวัฒนธรรม ไทย ภูมิปญั ญาไทยและ วัฒนธรรมสากล

34 ช้ัน ที่ รหัส ตัวชวี้ ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 21 ตวั ช้วี ดั ➢ การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย 22 ส 2.1 ม. 3/4 และ ภูมปิ ัญญาไทยทเี่ หมาะสม 23 24 ส 2.1 ➢ การเลือกรับวฒั นธรรมสากล ม. 3/5 ท่เี หมาะสม ส 2.2 ม.3/1 วเิ คราะห์ปจั จยั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิด ➢ ปจั จัยทกี่ อ่ ใหเ้ กิดความ ✓ ส 2.2 ม.3/2 ปัญหาความขดั แย้งใน ขดั แย้ง เช่น การเมือง การ ✓ ✓ ประเทศ และเสนอแนวคิดใน ปกครอง เศรษฐกจิ สังคม การลดความขัดแย้ง ความเชือ่ ➢ สาเหตปุ ญั หาทางสังคม เชน่ ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ปญั หายาเสพ ติด ปัญหาการทุจริต ปัญหา อาชญากรรม ฯลฯ ➢ แนวทางความรว่ มมือในการ ลดความขัดแยง้ และการสร้าง ความสมานฉันท์ เสนอแนวคดิ ในการดำรงชวี ติ ➢ ปัจจัยทีส่ ่งเสริมการ ✓ อยา่ งมีความสุขในประเทศ ดำรงชีวิตให้มีความสขุ เช่น การ และสังคมโลก อยรู่ ว่ มกันอยา่ งมีขนั ติธรรม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เห็นคณุ ค่าในตนเอง รู้จกั มองโลกในแง่ดี สร้างทักษะ ทางอารมณ์ รจู้ ักบริโภคด้วย ปัญญา เลอื กรับ-ปฏิเสธขา่ ว และวัตถตุ า่ งๆ ปรับปรุงตนเอง และส่ิงต่างๆใหด้ ีขึ้นอย่เู สมอ อธิบายระบอบการปกครอง ➢ ระบอบการปกครอง แบบ แบบต่างๆ ท่ีใชใ้ นยุคปจั จบุ ัน ตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นยุคปจั จบุ ัน เชน่ การปกครองแบบเผด็จการ การ ปกครองแบบประชาธปิ ไตย ➢ เกณฑ์การตดั สินใจ วเิ คราะห์ เปรียบเทียบระบอบ ➢ ความแตกต่าง ความ การปกครองของไทยกับ คลา้ ยคลงึ ของการปกครองของ

35 ช้ัน ที่ รหสั ตัวชว้ี ดั รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 25 ตวั ช้วี ดั ส 2.2 ประเทศอ่นื ๆ ที่มีการปกครอง ไทย กับประเทศอืน่ ๆ ทีม่ กี าร 26 ม.3/3 27 ระบอบประชาธิปไตย ปกครองระบอบประชาธิปไตย ส 2.2 28 ม.3/4 วเิ คราะห์รัฐธรรมนญู ฉบบั ➢ บทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนูญ ✓ ส 3.1 ปัจจุบันในมาตราตา่ งๆ ท่ี ในมาตราต่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั ✓ ม.3/1 ✓ เก่ยี วข้องกับการเลอื กตง้ั การ การเลือกตงั้ การมสี ว่ นรว่ ม ส 3.1 ม.3/2 มสี ว่ นรว่ ม และการตรวจสอบ และการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจ การใช้อำนาจรัฐ รฐั ➢ อำนาจหน้าที่ของรัฐบาล ➢ บทบาทสำคญั ของรฐั บาลใน การบริหารราชการแผน่ ดนิ ➢ ความจำเปน็ ในการมรี ฐั บาล ตามระบอบประชาธปิ ไตย วิเคราะหป์ ระเดน็ ปัญหาที่ ➢ ประเด็น ปญั หาและ เป็นอปุ สรรคต่อการพฒั นา ผลกระทบท่ีเปน็ อุปสรรคต่อการ ประชาธิปไตยของประเทศ พฒั นาประชาธปิ ไตยของ ไทยและเสนอแนวทางแก้ไข ประเทศไทย ➢ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา อธิบายกลไกราคาในระบบ ➢ ความหมายและประเภทของ เศรษฐกิจ ตลาด ➢ ความหมายและตัวอย่างของ อุปสงคแ์ ละอปุ ทาน ➢ ความหมายและความสำคญั ของกลไกราคาและการกำหนด ราคาในระบบเศรษฐกจิ ➢ หลกั การปรับและ เปลย่ี นแปลงราคาสินคา้ และ บรกิ าร มีส่วนรว่ มในการแก้ไขปัญหา ➢ สำรวจสภาพปจั จุบันปญั หา ✓ และพัฒนาทอ้ งถ่ินตาม ทอ้ งถ่นิ ทง้ั ทางดา้ นสังคม ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อม ➢ วเิ คราะหป์ ัญหาของทอ้ งถิ่น โดยใชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

36 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ช้วี ดั รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 29 ตัวชวี้ ดั 30 ส 3.1 ➢ แนวทางการแก้ไขและ ม.3/3 31 พัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของ ส 3.2 ม.3/1 เศรษฐกิจพอเพียง ส 3.2 วิเคราะหค์ วามสมั พันธ์ ➢ แนวคดิ ของเศรษฐกจิ ✓ ม.3/2 ระหว่างแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงกับการพัฒนาในระดับ พอเพยี งกบั ระบบสหกรณ์ ต่าง ๆ ➢ หลักการสำคัญของระบบ สหกรณ์ ➢ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงกบั หลกั การและระบบของสหกรณ์ เพือ่ ประยุกต์ใช้ในการพฒั นา เศรษฐกจิ ชมุ ชน อธิบายบทบาทหน้าทขี่ อง ➢ บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน ✓ ✓ รฐั บาลในระบบเศรษฐกจิ การพฒั นาประเทศในด้านตา่ ง ๆ ➢ บทบาทและกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของรฐั บาล เชน่ การ ผลติ สินคา้ และบริการสาธารณะ ทีเ่ อกชนไมด่ ำเนนิ การ เช่นไฟฟ้า ถนน โรงเรียน ➢ บทบาทการเก็บภาษีเพื่อ พัฒนาประเทศ ของรัฐในระดับ ตา่ ง ๆ ➢ บทบาทการแทรกแซงราคา และ การควบคมุ ราคาเพื่อการ แจกจา่ ยและการจดั สรรในทาง เศรษฐกจิ ➢ บทบาทอ่นื ของรฐั บาลใน ระบบเศรษฐกจิ ในสังคมไทย แสดงความคิดเหน็ ตอ่ นโยบาย ➢ นโยบาย และกจิ กรรมทาง และกจิ กรรมทาง เศรษฐกจิ เศรษฐกจิ ของรฐั บาล ของรฐั บาลที่มีตอ่ บุคคล กล่มุ คน และประเทศชาติ

37 ช้ัน ที่ รหสั ตัวชว้ี ัด รายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 32 ตัวชี้วดั ส 3.2 อภปิ รายบทบาทความสำคัญ ➢ บทบาทความสำคญั ของการ ✓ 33 ม.3/3 34 ของการรวมกลมุ่ ทาง รวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ระหว่าง ✓ ส 3.2 ✓ 35 ม.3/4 เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเทศ ✓ 36 ✓ 37 ส 3.2 ➢ ลักษณะของการรวมกล่มุ ม.3/5 ทางเศรษฐกจิ ส 3.2 ม.3/6 ➢ กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ส 4.1 ต่างๆ ม.3/1 อภปิ รายผลกระทบทเ่ี กดิ จาก ➢ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะ ส 4.1 ม.3/2 ภาวะ เงินเฟอ้ เงินฝืด เงินเฟ้อ เงนิ ฝืด ความหมาย สาเหตแุ ละแนวทางแก้ไขภาวะ เงนิ เฟ้อ เงนิ ฝืด วเิ คราะหผ์ ลเสียจากการ ➢ สภาพและสาเหตุปัญหาการ วา่ งงาน และแนวทาง ว่างงาน แก้ปญั หา ➢ ผลกระทบจากปญั หาการ วา่ งงาน ➢ แนวทางการแกไ้ ขปญั หาการ วา่ งงาน วิเคราะห์สาเหตแุ ละวธิ ีการกดี ➢ การค้าและการลงทนุ กันทางการคา้ ในการค้า ระหว่างประเทศ ระหว่างประเทศ ➢ สาเหตแุ ละวิธกี ารกดี กันทาง การคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ วเิ คราะห์เรอ่ื งราวเหตุการณ์ ➢ ขั้นตอนของวิธีการทาง สำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ได้ ประวัตศิ าสตร์สำหรบั การศึกษา อยา่ งมีเหตผุ ลตามวธิ กี ารทาง เหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตร์ท่ี ประวตั ิศาสตร์ เกดิ ขนึ้ ในทอ้ งถิน่ ตนเอง ใช้วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ใน ➢ วิเคราะห์เหตุการณ์สำคญั ใน ✓ การศกึ ษาเรื่องราวตา่ ง ๆ ที่ สมัยรัตนโกสินทร์ โดยใชว้ ธิ ีการ ตนสนใจ ทางประวตั ิศาสตร์ ➢ นำวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ มาใชใ้ นการศึกษาเร่ืองราวท่ี เก่ียวข้องกบั ตนเอง ครอบครวั และท้องถ่ินของตน

38 ช้ัน ท่ี รหสั ตัวช้วี ัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ 38 ตัวช้วี ัด 39 ส 4.2 อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม ➢ ทีต่ ัง้ และสภาพทาง ✓ ม.3/1 ✓ 40 เศรษฐกิจ และการเมืองของ ภมู ิศาสตรข์ องภูมภิ าคตา่ งๆของ 41 ส 4.2 ✓ 42 ม.3/2 ภูมภิ าคต่างๆ ในโลก โลก (ยกเวน้ เอเชีย) ท่ีมผี ลต่อ ✓ ✓ ส 4.3 โดยสังเขป พัฒนาการโดยสงั เขป ม.3/1 ส 4.3 วิเคราะหผ์ ลของการ ➢ พฒั นาการทางสงั คม ม.3/2 เปลีย่ นแปลงท่นี ำไปสู่ความ เศรษฐกิจ และการเมืองของ ส 4.3 ม.3/3 รว่ มมือ และความขัดแยง้ ใน ภูมิภาคตา่ งๆของโลก (ยกเว้น ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 ตลอดจน เอเชีย)โดยสงั เขป ความพยายามในการขจดั ➢ อทิ ธิพลของอารยธรรม ปญั หาความขดั แยง้ ตะวนั ตกที่มผี ลตอ่ พฒั นาการ และการเปล่ียนแปลงของสงั คม โลก ➢ ความร่วมมือและความ ขัดแยง้ ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 20 เชน่ สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ครั้งที่ 2 สงครามเย็น องคก์ ารความ ร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ วิเคราะหพ์ ฒั นาการของไทย ➢ การสถาปนา สมยั รัตนโกสินทร์ในด้านต่างๆ กรุงเทพมหานครเปน็ ราชธานี วเิ คราะหป์ ัจจยั ท่ีส่งผลต่อ ของไทย ➢ ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความมั่นคง ความมัน่ คงและความ เจรญิ รุง่ เรืองของไทยในสมัย และความเจริญรุ่งเรอื งของไทย รัตนโกสนิ ทร์ ในสมัยรตั นโกสินทร์ วิเคราะห์ภูมิปัญญาและ ➢ บทบาทของพระมหากษัตริย์ วฒั นธรรมไทยสมัย ไทยในราชวงศ์จักรีในการ รัตนโกสนิ ทร์ และอิทธิพลต่อ สร้างสรรค์ความเจริญและความ การพัฒนาชาติไทย มน่ั คงของชาติ ➢ พัฒนาการของไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ทางดา้ นการเมือง การปกครอง สงั คม เศรษฐกิจ และความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ประเทศตามชว่ งสมยั ต่างๆ

39 ช้ัน ที่ รหสั ตวั ชว้ี ดั รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ตัวชี้วดั 43 ➢ เหตกุ ารณ์สำคัญสมัย 44 ส 4.3 45 ม.3/4 รัตนโกสินทรท์ มี่ ีผลต่อการ 46 ส 5.1 47 ม.3/1 พัฒนาชาตไิ ทย เช่น การทำ ส 5.1 สนธสิ ัญญาเบาว์รงิ ในสมยั รัชกาล ม.3/2 ส 5.2 ที่ 4 การปฏิรูปประเทศในสมัย ม.3/1 ส 5.2 รชั กาลท่ี 5 การเขา้ ร่วม ม.3/2 สงครามโลกคร้ังท่ี 1 และครง้ั ท่ี 2 โดยวิเคราะห์สาเหตุปจั จยั และผลของเหตุการณต์ ่าง ๆ ➢ ภูมิปัญญาและวฒั นธรรม ไทยในสมยั รตั นโกสินทร์ วเิ คราะห์บทบาทของไทยใน ➢ บทบาทของไทยตั้งแต่ ✓ ✓ สมัยประชาธิปไตย เปลีย่ นแปลงการปกครองจนถึง ปจั จุบนั ในสงั คมโลก วเิ คราะหล์ กั ษณะทาง ➢ ลักษณะทางกายภาพของ ✓ กายภาพของทวีปอเมริกา ทวีป อเมรกิ าเหนือ และอเมรกิ า ✓ ✓ เหนือ และอเมริกาใต้ โดย ใต้ เลือกใชแ้ ผนท่ีเฉพาะเร่ืองและ ➢ การเลือกใช้แผนท่เี ฉพาะ เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ใน เร่อื งและเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ การสืบคน้ ข้อมูล ในการสืบคน้ ข้อมลู วิเคราะห์สาเหตกุ ารเกดิ ภยั ➢ ภัยพิบัตขิ องทวีปอเมริกา พิบตั ขิ องทวีปอเมริกาเหนือ เหนือและอเมริกาใต้ และอเมรกิ าใต้ สำรวจและระบทุ ำเลท่ีตั้งของ ➢ ทำเลท่ตี ง้ั ของกจิ กรรมทาง กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ เศรษฐกิจและสังคมในทวปี สังคมในทวปี อเมริกาเหนอื อเมริกาเหนือและอเมรกิ าใต้ และอเมรกิ าใต้ วิเคราะหป์ ัจจัยทางกายภาพ ➢ การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ ง และปัจจยั ทางสังคม ที่มผี ล ทางประชากร สง่ิ แวดลอ้ ม ตอ่ ทำเลท่ีตง้ั ของกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม เศรษฐกจิ และสังคม ในทวีป ในทวีปอเมริกาเหนือและ อเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต้ อเมริกาใต้

40 ช้ัน ที่ รหัส ตวั ชีว้ ดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ 48 ตัวชวี้ ดั ส 5.2 สบื ค้น อภปิ รายประเด็น ➢ ประเด็นปัญหาจาก ✓ 49 ม.3/3 ✓ ปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ระหว่าง ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ ง ✓ 50 ส 5.2 31 ม.3/4 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับ ส 5.2 กบั มนุษย์ทเี่ กดิ ขึน้ ในทวปี มนษุ ยท์ ่ีเกิดขน้ึ ในทวีปอเมริกา ม.3/5 อเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต้ เหนอื และอเมริกาใต้ วิเคราะหแ์ นวทางการจดั การ ➢ แนวทางการจดั การภยั พิบัติ ภยั พิบตั แิ ละการอนุรักษ์ และการอนุรกั ษท์ รัพยากรและ ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมใน สิง่ แวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาเหนือและ และอเมรกิ าใต้ อย่างย่ังยืน อเมริกาใต้ อย่างย่งั ยืน ระบุความร่วมมือระหว่าง ➢ เปา้ หมายการพฒั นาทยี่ ่ังยนื ประเทศทม่ี ีผลต่อการจัดการ ของโลก ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม ➢ ความรว่ มมือระหว่าง ประเทศท่ีมผี ลตอ่ การจดั การ ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม รวม 50 ตัวช้ีวดั 19

41 โครงสร้างหลักสตู รกลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ าพื้นฐาน ระดับชัน้ รหัส ชือ่ รายวชิ า ชอื่ รายวิชาภาษาองั กฤษ หน่วย เวลาเรยี น กติ รายภาค ส21101 สงั คมศึกษา 1 Social Studies 1 1.5 60 ชั่วโมง ม.1 ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 1 Thai History 1 0.5 20 ชั่วโมง ส21103 สังคมศึกษา 2 Social Studies 2 1.5 60 ชว่ั โมง ส21104 ประวตั ศิ าสตร์ 2 Thai History 2 0.5 20 ชั่วโมง ส22101 สังคมศึกษา 3 Social Studies 3 1.5 60 ชว่ั โมง ม.2 ส22102 ประวตั ิศาสตร์ 3 Thai History 3 0.5 20 ชั่วโมง ส22103 สงั คมศึกษา 4 Social Studies 4 1.5 60 ชว่ั โมง ส22104 ประวตั ิศาสตร์ 4 Thai History 4 0.5 20 ชั่วโมง ส23101 สงั คมศึกษา 5 Social Studies 5 1.5 60 ชว่ั โมง ม.3 ส23102 ประวัตศิ าสตร์ 5 Thai History 5 0.5 20 ชว่ั โมง ส23103 สงั คมศึกษา 6 Social Studies 6 1.5 60 ชั่วโมง ส23104 ประวัติศาสตร์ 6 Thai History 6 0.5 20 ชว่ั โมง รายวิชาเพม่ิ เติม ระดับช้นั รหสั ชื่อรายวิชา ช่ือรายวชิ าภาษาอังกฤษ หน่วย เวลาเรยี น กติ รายภาค ม.1-3 ส20201 กฎหมายน่ารู้ Law course 0.5 20 ชว่ั โมง

42 มาตรฐานการเรียนรู ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู

43 มาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู รหสั วชิ า ส 21101 รายวิชา สงั คมศกึ ษา 1 กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ นนับถือและศาสนาอื่น มศี รัทธาที่ถกู ต้อง ยดึ มนั่ และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมเพ่ืออย่รู ่วมกนั อยา่ งสันตสิ ขุ ชนั้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. อธบิ ายการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา หรือ  การสงั คายนา ศาสนาท่ตี นนับถือส่ปู ระเทศไทย  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศไทย 2. วิเคราะหค์ วามสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา ➢ ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยใน หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ทมี่ ีต่อสภาพแวดลอ้ ม ฐานะเปน็ ในสังคมไทย รวมท้งั การพฒั นาตนและ  ศาสนาประจำชาติ ครอบครัว  สถาบนั หลกั ของสังคมไทย  สภาพแวดลอ้ มท่ีกวา้ งขวางและครอบคลุม สงั คมไทย  การพฒั นาตนและครอบครัว 3. วิเคราะหพ์ ุทธประวัติตัง้ แตป่ ระสตู จิ นถงึ ➢ สรุปและวเิ คราะห์ พุทธประวัติ บำเพญ็ ทุกรกิรยิ า หรอื ประวัตศิ าสดาท่ตี น  ประสตู ิ นับถือตามท่กี ำหนด  เทวทูต 4  การแสวงหาความรู้  การบำเพ็ญทกุ รกริ ยิ า 4. วิเคราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอยา่ ง ➢ พุทธสาวก พทุ ธสาวิกา การดำเนนิ ชวี ติ และข้อคิดจากประวัติสาวก  พระมหากัสสปะ ชาดก/เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตวั อย่างตามท่ี  พระอบุ าลี กำหนด  อนาถบิณฑิกะ  นางวิสาขา ➢ ชาดก  อมั พชาดก  ตติ ตริ ชาดก 5. อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมสำคญั ใน ➢ พระรตั นตรยั กรอบอรยิ สจั 4 หรือหลักธรรมของศาสนาท่ี  พุทธคุณ 9 ตนนบั ถือ ตามที่กำหนด เหน็ คุณค่าและนำไป ➢ อริยสัจ 4 พฒั นาแกป้ ัญหาของตนเองและครอบครัว  ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรร้)ู

44 ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง o ขันธ์ 5 - ธาตุ 4  สมทุ ัย (ธรรมที่ควรละ) o หลักกรรม - ความหมายและคุณค่า o อบายมุข 6  นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) o สขุ 2 (กายิก, เจตสิก) o คหิ สิ ุข  มรรค (ธรรมทีค่ วรเจริญ) o ไตรสกิ ขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 - ไมค่ บคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผู้ควรบชู า ➢ พทุ ธศาสนสภุ าษติ  ยํ เว เสวติ ตาทโิ ส คบคนเช่นใดเป็นคนเช่นนั้น  อตตฺ นา โจทยตตฺ านํ จงเตือนตน ด้วยตน  นิสมฺม กรณํ เสยฺโย ใคร่ครวญก่อนทำจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทุกฺขา เรอื นท่ีครองไม่ดีนำทุกข์มาให้ 6. เห็นคุณคา่ ของการพฒั นาจิต เพ่อื การ ➢ โยนิโสมนสกิ าร เรยี นรู้และการดำเนินชวี ิต ด้วยวธิ ีคิดแบบ  วธิ ีคดิ แบบคณุ ค่าแท้ – คุณคา่ เทยี ม โยนิโสมนสิการคือวธิ ีคดิ แบบคณุ ค่าแท้ –  วิธคี ดิ แบบคณุ - โทษและทางออก คณุ ค่าเทียม และวิธคี ดิ แบบคุณ – โทษ และ ทางออก หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของ ศาสนาทต่ี นนบั ถือ

45 ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 7. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจิตและเจริญ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตามแนวทาง  วธิ ีปฏิบัติและประโยชนข์ องการบริหารจติ ของศาสนาทต่ี นบั ถือตามที่กำหนด และเจรญิ ปญั ญา การฝึกบริหารจิตและเจรญิ ปญั ญาตามหลกั สตปิ ัฎฐานเน้นอานาปานสติ  นำวิธีการบริหารจติ และเจริญปญั ญาไปใชใ้ น ชวี ิตประจำวนั 8. วเิ คราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทาง ➢ หลกั ธรรม (ตามสาระการเรยี นรู้ขอ้ 5) ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ในการดำรงชวี ติ แบบ พอเพยี ง และดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมเพื่อการ อยรู่ ่วมกนั ได้อย่างสันติสุข 9. วิเคราะห์เหตผุ ลความจำเปน็ ทท่ี ุกคนต้อง  ศาสนิกชนของศาสนาตา่ ง ๆ มกี ารประพฤติ ศึกษาเรียนรู้ศาสนาอ่ืนๆ ปฏบิ ัติตนและวิถีการดำเนนิ ชวี ติ แตกต่างกันตาม หลักความเชอื่ และคำสอน ของศาสนาทตี่ นนบั ถือ 10. ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ศาสนิกชนอ่ืนใน  การปฏบิ ัติอย่างเหมาะสมตอ่ ศาสนกิ ชนอ่ืนใน สถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม สถานการณ์ต่างๆ 11. วิเคราะหก์ ารกระทำของบคุ คลท่เี ป็น ➢ ตวั อยา่ งบคุ คลในท้องถิน่ หรือประเทศทป่ี ฏิบตั ิ แบบอยา่ งด้านศาสนสัมพันธ์ และนำเสนอ ตนเปน็ แบบอย่างด้านศาสนสัมพนั ธ์หรอื มีผลงาน แนวทางการปฏบิ ัติของตนเอง ดา้ นศาสนสมั พันธ์ สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนทด่ี ี และธำรงรกั ษา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ช้ัน ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. บำเพ็ญประโยชน์ตอ่ ศาสนสถานของศาสนา  การบำเพ็ญประโยชน์ และ ที่ตนนบั ถือ การบำรงุ รกั ษาวดั 2. อธบิ ายจริยวตั รของสาวกเพื่อเปน็ แบบอย่าง  วิถชี วี ติ ของพระภกิ ษุ ในการประพฤติปฏบิ ัติ และปฏบิ ัตติ นอยา่ ง  บทบาทของพระภกิ ษใุ นการเผยแผ่ เหมาะสมต่อสาวกของศาสนาท่ตี นนบั ถือ พระพุทธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม ปาฐกถา ธรรม การประพฤตติ นให้เป็นแบบอยา่ ง  การเขา้ พบพระภกิ ษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย

46 ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง การฟงั เจริญพระพุทธมนต์ การฟงั สวด พระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา 3. ปฏบิ ัติตนอย่างเหมาะสมต่อบคุ คลต่างๆ  ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อเพ่ือนตามหลกั ตามหลักศาสนาท่ตี นนับถือตามท่กี ำหนด พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ 4. จดั พธิ ีกรรม และปฏิบัติตนในศาสนพธิ ี  การจัดโต๊ะหมูบ่ ชู า แบบ หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 7 พิธีกรรมได้ถกู ต้อง หมู่ 9  การจดุ ธูปเทียน การจดั เครอื่ งประกอบโต๊ะ หมู่บูชา  คำอาราธนาต่างๆ 5. อธิบายประวตั ิ ความสำคัญ และปฏิบตั ิตน  ประวัตแิ ละความสำคญั ของวันธรรมสวนะ ในวนั สำคัญทางศาสนาท่ตี นนับถือ ตามท่ี วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ กำหนดได้ถกู ต้อง  ระเบยี บพธิ ี พธิ ีเวยี นเทยี น การปฏิบัติตน ในวนั มาฆบชู า วนั วิสาขบชู า วนั อัฏฐมบี ชู า วัน อาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั สาระท่ี 2 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีของการเปน็ พลเมอื งดี มคี า่ นยิ มทดี่ ีงามและธำรง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยู่รว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสนั ตสิ ขุ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. ปฏบิ ัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธิ  กฎหมายในการคมุ้ ครองสทิ ธิของบุคคล ของบุคคล o กฎหมายการคุ้มครองเด็ก o กฎหมายการศึกษา o กฎหมายการคุ้มครองผู้บรโิ ภค o กฎหมายลขิ สิทธ์ิ  ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายการ คมุ้ ครองสทิ ธขิ องบุคคล 2. ระบุความสามารถของตนเองในการทำ  บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนท่มี ีตอ่ สงั คม ประโยชนต์ ่อสังคมและประเทศชาติ และประเทศชาติ โดยเนน้ จติ สาธารณะ เชน่ เคารพ กติกาสังคม  ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย มสี ว่ นร่วมและ รับผดิ ชอบในกจิ กรรมทางสงั คม อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook