Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประเมินปี 65

คู่มือประเมินปี 65

Published by nam_jaijai, 2022-03-07 05:21:31

Description: คู่มือประเมินปี 65

Search

Read the Text Version

1 คู่มอื ติดตามประเมินผลการดำเนนิ งาน ตามแผนยทุ ธศาสตร์ดา้ นการบรกิ ารวิชาการ ของสถาบนั พระบรมราชชนก ระหว่างปี 2565 - 2569 กองบริการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก

2 คำนำ วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ของสถาบัน พระบรมราชชนกด้านการบริการวิชาการแก่สังคม ซึ่งเป็นภารกิจหลักของสถาบันพระบรมราชชนกครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคม เพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชมุ ชน ซึ่งอาจารย์ของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรม ราชชนกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในขณะที่มีการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว โดยคู่มือฉบับนี้ จะช่วยให้อาจารย์ที่ผู้รับผิดชอบภารกิจการให้บริการวิชาการแก่สังคม มีเครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล/ประมวลผลของการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม เพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อันจะนำไปสู่ชุดข้อมูลระบุความก้าวหน้า ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคม เพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งคณะผู้บริหาร อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้องในการให้บริการวิชาการแก่สังคม จะนำข้อมูลที่ได้สะท้อนการดำเนินงานไปสู่การปรับปรุงผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของการให้บริการ วิชาการแกส่ งั คมในอนาคตต่อไป กองบริการวชิ าการ สถาบันพระบรมราชชนก กุมภาพนั ธ์ 2565

3 สารบัญ หน้า คำนำ สารบญั 1 เกริ่นนำ 2 กรอบแนวคิดของการติดตามประเมิน 3 วตั ถุประสงค์ของการติดตามประเมิน 4 ขอบเขตการตดิ ตามประเมินผลตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การบริการวชิ าการแกส่ งั คมเพื่อ ตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีสว่ นรว่ มของชุมชน 5 - แบบกรอกข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวช้ีวัดกลยุทธ์ที่ 1.1.1 ร้อยละของวทิ ยาลยั ท่ีมี ระดับความสำเรจ็ ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของศนู ย์บรกิ ารวิชาการ 6 แบบกรอบขอ้ มลู ผลการดำเนินงานตามตวั ช้ีวดั กลยุทธท์ ี่ 1.2.1 จำนวนบคุ ลากรที่เปน็ วิทยากร/กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ /ิ เปน็ ท่ปี รึกษา 1.2.1.1 ระดับชาติ - 1.2.1.2 นานาชาติ 7 - แบบกรอบขอ้ มูลผลการดำเนินงานตามตัวชว้ี ดั กลยุทธท์ ี่ 1.3.1 ระดบั ความสำเร็จของการ พัฒนาหลกั สตู รใหม่ 8 แบบกรอบขอ้ มูลผลการดำเนินงานตามตวั ชวี้ ัดกลยทุ ธ์ท่ี 1.3.2 จำนวนผทู้ ี่ได้รบั การ พฒั นาสมรรถนะดา้ นสุขภาพสอดคล้องกบั ระบบสขุ ภาพ 1.3.2.1 บุคลากรดา้ นสุขภาพ 1.3.2.2 ประชาชน 9 แบบกรอบข้อมลู ผลการดำเนินงานตามตวั ชี้วัดกลยทุ ธท์ ี่ 1.3.3 ร้อยละของหลักสูตร ฝึกอบรมท่ีมคี ่า NPS ระดับดีมากขึ้นไป 12 แบบกรอกข้อมูลผลการดำเนนิ งานตามตัวช้ีวัดกลยุทธ์ท่ี 2.2.1 ร้อยละของอัตราการเพ่ิม ของเงนิ รายได้จากการให้บรกิ ารวิชาการ ภาคผนวก 1. แบบกรอกข้อมูลสำหรบั การติดตามประเมนิ ผลตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การให้บริการวิชาการ แก่สังคมเพ่ือตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ในระหว่างปี 2565 - 2569 จำนวน 6 ตวั ชว้ี ัดกลยทุ ธ์ 2 รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการสตั ว์ปลอดโรค คนปลอดภยั จากโรคพษิ สนุ ขั บ้า ตามพระปณธิ าน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจา้ นอ้ งนางเธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควัฒน วรขตั ตยิ ราชนารี

4 1. เกรนิ่ นำ สถาบันพระบรมราชชนก(สบช.) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีสถานะ เป็นนิติบุคคลและมีวิสัยทัศน์คือ “สถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นนำของอาเซียน สร้างกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อชุมชนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ด้วยพันธกิจ 7 ประการ ได้แก่ (1) ผลิตบัณฑิตและ พัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับแนวนโยบายแห่งรัฐเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการและทักษะ ในวิชาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสำนึกต่อสังคมและเพื่อให้มีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (2) จัดการศึกษา วิจัย ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย เพื่อสร้างหรือพัฒนาองค์ความรู้ และนำความรู้นั้น ไปใช้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ (3) พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการให้เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและนานาชาติ (4) ส่งเสริมให้ เกิดโอกาสและเสมอภาคทางการศึกษาตามความต้องการของชุมชน (5) ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม โดยเน้นความร่วมมือชุมชน (6) ให้บริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุข และ(7) ส่งเสริมและทะนุบำรุง ศลิ ปะและวัฒนธรรม ในระหว่าง ปี 2565-2568 สถาบันพระบรมราชชนก (สบช.) ได้พัฒนายุทธศาสตร์ของสถาบัน พระบรมราชชนก สำหรับใชเ้ ปน็ กรอบการดำเนินงานใหบ้ รรลุพัทธกจิ ดงั กลา่ วไว้ 4 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1. การผลิตกำลังคนด้านสุขภาพที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับ ความต้องการของระบบสขุ ภาพ ชมุ ชน สงั คม ยุทธศาสตร์ที่ 2. การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านสุขภาพเพื่อพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและ สงั คมอย่างยัง่ ยนื ยุทธศาสตร์ที่ 3. การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วม ของชมุ ชน ยุทธศาสตรท์ ่ี 4. การบรหิ ารจัดการสอู่ งค์กรสมรรถนะสูงภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล จากยุทธศาสตร์ดังกล่าว กองบริการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานภายในของ สถาบันพระบรมราชชนก เป็นหน่วยงานภายในที่รับผิดชอบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการ แก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในปี 2565-2569 ทั้งนี้ กองบริการ วิชาการสถาบันพระบรมราชชนกได้กำหนดเป้าประสงค์ที่รองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการ วิชาการแก่สังคมเพอ่ื ตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมสี ว่ นร่วมของชุมชน ไว้ จำนวน 2 เป้าหมาย ไดแ้ ก่ เป้าประสงค์ที่ 1 เป็นศูนย์บริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพและสุขภาวะ ชมุ ชน เป้าประสงคท์ ี่ 2 เป็นสถาบันอดุ มศึกษาทม่ี ศี กั ยภาพในการบริการวิชาการ

5 ทั้งนี้ กองบริการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนกได้กำหนดกลยุทธ์ที่รองรับการบรรลุเป้าประสงค์ที่ 1 เป็นศูนย์บริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพและสุขภาวะชุมชน ไว้ จำนวน 3 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธท์ ่ี 1.1 พฒั นาระบบและกลไกในการสรา้ งความเขม้ แข็งของศูนย์บรกิ ารวชิ าการและการจัดต้ัง ศนู ย์บริการวชิ าการ (Training Center) กลยุทธ์ท่ี 1.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถาบันให้มีความเชี่ยวชาญในการบริการวิชาการ ใหเ้ ป็นทไี่ ด้รบั การยอมรบั จากหน่วยงานภายนอก ท้ังระดบั ชาติ และนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 1.3 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพประชาชน เพื่อตอบสนองความต้องการของ ระบบสุขภาพ นอกจากนี้ กลยุทธข์ ้างต้นแลว้ ยงั มีกลยุทธท์ ่ีรองรบั การบรรลุเป้าประสงคท์ ่ี 2 เปน็ สถาบันอดุ มศึกษา ท่มี ีศกั ยภาพในการบริการวิชาการ กองบรกิ ารวชิ าการ สถาบนั พระบรมราชชนกไดก้ ำหนดกลยุทธ์ทร่ี องรับการ บรรลเุ ปา้ ประสงค์ดังกลา่ วไว้ จำนวน 1 กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ กลยทุ ธ์ที่ 2.2 พัฒนาระบบและกลไกสนบั สนนุ การจัดบริการวชิ าการ กองบริการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก ได้พัฒนาตัวชี้วัดที่ระบุความสำเร็จที่สืบเนื่องจาก การ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ และนำกลยุทธ์ไปดำเนินการ และรายงานระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ไวจ้ ำนวน 6 ตวั ช้วี ดั กลยุทธ์ ไดแ้ ก่ 1.ตวั ชีว้ ัดกลยทุ ธ์ที่ 1.1.1 รอ้ ยละของวทิ ยาลัยท่มี รี ะดบั ความสำเรจ็ ในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของศูนย์บรกิ ารวชิ าการ 2.ตัวช้วี ดั กลยุทธ์ที่ 1.2.1 จำนวนบุคลากรท่เี ปน็ วทิ ยากร กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ทปี่ รกึ ษา 1) ระดบั ชาติ 2) ระดับนานาชาติ 3.ตัวชีว้ ัดกลยุทธ์ที่ 1.3.1 ระดบั ความสำเร็จของการพฒั นาหลกั สตู รใหม่ 4.ตวั ชี้วดั กลยุทธท์ ่ี 1.3.2 จำนวนผู้ที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านสขุ ภาพด้วย สบช. โมเดล 1) บุคลากรดา้ นสุขภาพ 2) ชมุ ชน 5.ตวั ชี้วัดกลยทุ ธท์ ่ี 1.3.3 ร้อยละของหลักสตู รฝึกอบรมทม่ี ีคา่ NPS ระดับดมี ากขึ้นไป 6.ตวั ชีว้ ดั กลยทุ ธ์ที่ 2.2.1 รอ้ ยละของอตั ราการเพิ่มขึ้นของเงินรายไดจ้ ากการบริการวิชาการ จากการกำหนดตัวชี้วัดกลยุทธ์ทั้ง 6 ตัวชี้วัดกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น จะช่วยให้บุคลากร อาจารย์ ผู้บริหารของวิทยาลัย คณะ และสถาบันพระบรมราชชนก มีแนวทางสำหรับการพัฒนาสารสนเทศที่ระบุ ความสำเร็จหรือไม่สำเร็จ และผลลัพธ์ที่สืบเนื่องจากการให้บริการวิชาการแก่สงั คมภายหลังจากการขับเคล่อื น ยุทธศาสตร์ที่ 3 และมีการนำชุดข้อมูลตัวชี้วัดกลยุทธ์ดังกล่าวไปประโยชน์สำหรับการพัฒนาและปรับปรุงผล การให้บริการวิชาการในปีงบประมาณต่อไปได้ โดยบุคลากรและอาจารย์ท่ีทำหน้าท่ีรับผิดชอบในการแปลง

6 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ไปสู่การออกแบบกิจกรรม/โครงการที่ให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดกลยุทธ์ที่ 1.1.1, 1.2.1, 1.3.1, 1.3.2 1.3.3 และ 2.2.1 รวมท้ังมีการนำแบบกรอกชุดข้อมูลสำหรับการเก็บรวบรวมชุดข้อมูลให้ สอดคล้องกับตัวชี้วัดดังกล่าวได้ อันนำไปสู่การยกระดับผลลัพธท์ ี่สืบเนื่องจาการการดำเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ทั้งนี้ กองบริการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก ยังมีการประยุกต์แนวคิดการประเมินผล แบบ Action Research Evaluation (ARE) มาใช้ในการออกแบบการประเมินผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์การให้บริการวิชาการแก่สังคม เนื่องจากเป็นแนวคิดการประเมินผล ที่เอื้อให้ได้ชุดข้อมูล สารสนเทศ และนำชุดขอ้ มูลไปใช้สำหรบั การเรียนรู้และพัฒนาผลงานวิชาการของอาจารย์ ที่สืบเนื่องจากการ ให้บริการวิชาการในระหวา่ งปงี บประมาณ 2565-2569 ได้ 2.กรอบแนวคิดของการติดตามประเมินผลการดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ท่ี 3 การบรกิ ารวิชาการแก่สังคม เพ่ือตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน การติดตามประเมินผลครั้งนี้ เป็นการประยุกต์แนวคิดการติดตามประเมินตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้วยการประยุกต์ กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการและการประเมินไปพร้อม ๆ กันของนายแพทย์อำนาจ ศรีรัตนบัลล์ (https://www.gotoknow.org/posts/657450) ภายใต้หลักคิด Plan…Act...Observe…Reflect and Evaluation” ซึ่งมุ่งเน้น การเรียนรู้ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของวิทยาลัย/คณะ รวมถึงบุคลากรสาบวิชาการและสายสนับสนุนที่ร่วมให้บริการวิชาการ จะได้เรียนรู้ ผ่านขั้นตอนการติดตาม ประเมนิ ผล 5 ขน้ั ตอน ได้แก่ (1) เนน้ ผลลพั ธ์ทส่ี บื เน่อื งจากการให้บริการวิชาการแก่สังคมเปน็ หลกั (2) กำหนดวตั ถุประสงค์การติดตามประเมนิ ผลเพือ่ การเรียนรู้และพัฒนา (3) มกี ารใช้ชดุ ขอ้ มูลในระหวา่ งทีม่ ีการดำเนนิ โครงการให้บริการวิชาการแก่สังคม (4) มีการตดิ ตามประเมินผลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง/หลายครงั้ ทั้งหมด 4 ไตรมาสต่อปี (5) มีการออกแบบการติดตามประเมนิ แบบมีสว่ นรว่ มของผู้เกย่ี วข้องในการให้บริการวิชาการแก่สังคม อาทิ ผู้เข้ารับบริการวิชาการจากเขตบริการสุขภาพ 1-13 เขต เป็นต้น โดยที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบงานบริการ วิชาการแก่สังคมของวิทยาลัย/คณะ สามารถออกแบบกระบวนการเรียนรู้ในระหว่างที่มีการวางแผนงาน ติดตามประเมินผล และมีชุดข้อมูลที่สะท้อนความสำเร็จผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการ วิชาการแก่สงั คม เพ่อื ตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน ซ่งึ เป็นชุดข้อมลู ทีท่ ำให้ผูร้ ับผดิ ชอบ งานบริการวิชาการแก่สังคมได้บทเรียน และเกิดความรู้ใหม่ในระหว่างดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การ บรกิ ารวิชาการแก่สงั คมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน ดังแผนภาพท่ี 1

7 แนวคดิ การตดิ ตามประเมินยุทธศาสตร์ ผ่านกระบวนการวิจยั เชงิ ปฏิบัติการ (Action Research Evaluation: ARE) ภายใต้ หลกั คิด “Plan…Act….Observe….Reflect and Evaluation…” (Fettermen,2001;Kemmis & Mc Taggart,1990) การวางแผนงานติดตามประเมิน การสะท้อนชุดข้อมูลในแต่ละยุทธศาสตร์ การประเมนิ ในแตล่ ะตวั ชว้ี ดั ตามยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การดำเนินงานในแต่ละ การพัฒนาเครอ่ื งมือและตดิ ตามประเมิน ตวั ชวี้ ดั /ให้ขอ้ เสนอแนะและสะทอ้ นผล การใช้ประโยชนจ์ ากการตดิ ตามประเมนิ ผล และการพฒั นาในอนาคต ขน้ั ตอนการติดตามประเมินการใหบ้ รกิ ารวชิ าการแก่สังคม แผนภาพท่ี 1 วงจรการติดตามประเมนิ แบบ Action Research Evaluation: ARE จากแผนภาพที่ 1 แสดงการใช้แนวคิดการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ผา่ นกระบวนการติดตามและประเมินผล ซ่งึ เกิดจากการประยุกตใ์ ช้แนวคิด Action Research Evaluation ซึ่งเป็นการติดตามประเมินแบบมุ่งเน้นผลลัพธ์เป็นหลักเพื่อตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ของการให้บริการ วิชาการว่า หลักสูตรการอบรม/โครงการให้บริการวิชาการอะไรได้ผลลัพธ์? หลักสูตรการอบรม/โครงการ ให้บรกิ ารวิชาการอะไรไม่ได้ผล? เพราะเหตุใด? และผู้เกยี่ วข้องโครงการ/งานบริการวิชาการต้องทำความเข้าใจ ให้ตรงกันในเรื่องผลลัพธ์ของการให้บริการวิชาการ อาทิ ผลลัพธ์ที่สืบเนื่องจากการให้บริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การให้บริการวชิ าการผ่านการสร้าง \"ปัจจัยเอ้ือต่อความสำเรจ็ ของการให้บริการ\" ได้แก่ การยกระดับ ความสำเร็จในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ เป็นเป้าหมายหรือ \"ผลลัพธ์สุดท้าย\" (หรือผลลัพธ์ระยะยาว) ทั้งนี้เนื่องจากการให้บริการวิชาการแก่สังคมของวิทยาลัย/คณะ จะก่อให้ การเปลี่ยนแปลงจนเกิดการยกระดับความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ มักใช้เวลาค่อนข้างยาวนาน (เป็นทมี่ าของช่อื ว่าผลลัพธร์ ะยะยาว) วิทยาลยั /คณะ สามารถแสดงใหเ้ ห็นการเปล่ยี นแปลงของการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ อาทิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ให้บริการวิชาการ

8 การนำชุดความรู้ไปใช้ประโยชน์ภายหลังจากชุมชนกลุ่มเป้าหมายมาเข้ารับบริการวิชาการจากวิทยาลัย/คณะ จึงเรียกว่า \"ผลลัพธ์ระยะกลาง\" หากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมายก่อนหน้านั้น จะได้ชื่อว่า \"ผลลพั ธร์ ะยะสั้น\" หรอื \"ผลลัพธ์ระหวา่ งทาง\" ประโยชน์ของผลลัพธร์ ะยะสน้ั คือ เปน็ การเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ในระยะต้น ๆ ของการใหบ้ รกิ ารวชิ าการจากวิทยาลยั /คณะ เป็นต้น เพื่อออกแบบการติดตามประเมินผล รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการทำงานของทีมทำงานพร้อม ๆ กับการให้บรกิ ารวชิ าการแก่ชุมชน/สงั คม รวมไปถึงการปรับปรุงกจิ กรรม ย่อยให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแกส่ ังคมเพื่อตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมีส่วน ร่วมของชุมชน ผ่านการวางแผนแบบมีส่วนรว่ มของชุมชน/ประชากรกลุ่มเป้าหมาย การจัดทำคู่มือ/เครื่องมือ สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล และสะท้อนคิดจากการปฏิบัติงานให้แก่ทีมทำงาน อีกทั้งจัดทำรายงานและ ถอดบทเรียนผลการติดตามประเมินผลตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบ สุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนา/ยกระดับผลลัพธ์ ที่สืบเนื่องจากการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชมุ ชน รวมทั้งเพื่อขยายผลชุดความรู้ความเชี่ยวชาญของอาจารยใ์ ห้สามารถขยายผลได้ และแบบทวีคูณ ซึ่งจะเอื้อต่อการตอบสนองความต้องการ/ความจำเป็นของการให้บริการวิชาการแก่สังคม แต่ละชุมชน/กลุ่มเป้าหมายได้มากยิ่งขึ้น เพื่อการยกระดับการนำความเช่ียวชาญของอาจารย์ในวิทยาลยั สังกัด สถาบนั พระบรมราชชนกไปใช้ประโยชน์ จนเกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมบริการสุขภาพ/การดแู ลตนเองของ ประชาชนในสงั คมตอ่ ไป 3.ขอบเขตของเนื้อหาในคู่มือการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การให้บริการวิชาการ แกส่ งั คมเพื่อตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน ในระหว่างปี 2565-2568 การติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนอง ระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน วิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกครั้งนี้ มขี อบเขตของเน้ือหาดงั นี้ 3.1 ขอบเขตของด้านเน้อื หา 3.1.1 การดำเนินงานในยุทธศาสตร์ท่ี3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบ สขุ ภาพ โดยการมีส่วนรว่ มของชุมชน วทิ ยาลยั ในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก ปี 2565-2569 3.1.2 เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประกอบด้วย การดำเนินงานที่รองรับการบรรลุ เป้าประสงค์ที่ 5 เป็นศูนย์บริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพและสุขภาวะชุมชน รวมทั้งเป้าประสงค์ท่ี 6 เปน็ สถาบันอดุ มศึกษาท่ีมีศักยภาพในการบริการวชิ าการเชิงพาณิชย์ 3.1.3 กลยุทธ์ที่รองรับการดำเนินงานให้ยุทธศาสตร์ที่ 3 บรรลุเป้าประสงค์ที่ 1 และ เป้าประสงค์ที่ 2 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ที่รองรับการบรรลุเป้าประสงค์ทั้งสองเป้าประสงค์ ได้แก่

9 (1) กลยุทธ์ท่ี 1.1 พัฒนาระบบกลไกในการสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการ วิชาการ และการจดั ตงั้ ศูนยบ์ รกิ ารวิชาการ (Training Center) (2) กลยุทธ์ที่ 1.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถาบันให้มีความเชี่ยวชาญในการ บรกิ ารวิชาการให้เปน็ ทยี่ อมรับจากหน่วยงานภายนอก ทั้งระดับชาติ และนานาชาติ (3) กลยุทธ์ที่ 1.3 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพประชาชน เพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของระบบสุขภาพ (4) กลยทุ ธท์ ี่ 2.2 พัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการจัดบริการวิชาการ 3.1.4 ตวั ชี้วดั กลยุทธ์ในยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 จำนวน 6 ตวั ชว้ี ัดกลยทุ ธ์ ประกอบด้วย (1) ตัวชี้วัดกลยุทธ์ที่ 1.1.1 ร้อยละของวิทยาลัยที่มีระดับความสำเร็จในการ เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของศนู ย์บริการวิชาการ (2) ตวั ช้วี ัดกลยทุ ธ์ที่ 1.2.1 จำนวนบุคลากรที่เป็นวิทยากร กรรมการ ผูท้ รงคุณวุฒิ ท่ปี รกึ ษา 1.2.1.1 ระดับชาติ 1.2.1.2 นานาชาติ (3) ตัวชว้ี ดั กลยุทธ์ที่ 13.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการพฒั นาหลักสูตรใหม่ (4) ตัวชี้วัดกลยุทธ์ที่ 1.3.2 จำนวนผู้ที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านสุขภาพด้วย สบช. โมเดล 13.2.1 บคุ ลากรดา้ นสุขภาพ 13.2.2 ชมุ ชน (5) ตัวชว้ี ดั กลยทุ ธ์ที่ 1.3.3 รอ้ ยละของหลักสตู รฝึกอบรมที่มคี ่า NPS ระดบั ดีมากข้ีนไป (6) ตัวชี้วัดกลยุทธ์ที่ 2.2.1 ร้อยละของอัตราการเพิ่มขึ้นของเงินรายได้จากการ ใหบ้ ริการวิชาการ 3.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและผู้รบั บริการวิชาการจากวทิ ยาลัย ในปีงบประมาณ 2565-2569 3.2.1 ประชากรและกลุ่มผ้ใู ห้ข้อมูลสำคัญ แบง่ เปน็ 4 กลุม่ กลุ่มที่ 1 ตัวแทนภาคีเครือข่าย ได้แก่ ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) องค์กรภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา แกนนำหรืออาสาสมัครชุมชน เช่น อ.ส.ม. ก้ชู ีพกู้ภัย เป็นตน้ กลมุ่ ท่ี 2 อาจารยท์ เ่ี ป็นวทิ ยากร อาจารยท์ เ่ี ปน็ ที่ปรกึ ษา/กรรมการ/ผทู้ รงคุณวุฒิ กลุม่ ท่ี 3 ผ้บู ริหารหน่วยงานเขตบริการสขุ ภาพ/หนว่ ยงาน/โรงพยาบาล/สาธารณสุข จังหวัด/สสอ./รพ.สต. ฯลฯ กลุ่มที่ 4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบงานบริการวิชาการแก่สังคมของวิทยาลัยในสังกัด สถาบนั พระบรมราชชนกทั้ง 39 แหง่

10 4. นยิ ามศพั ทเ์ ชงิ ปฏิบัติการ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ หมายถึง กระบวนการสนับสนุนให้บุคลากร มีระบบและกลไก/ปัจจัยที่เอื้อต่อให้การดำเนินงานของศูนย์บริการวิชาการ โดยบุคลากรของสถาบนั พระบรมราช ชนก มีการนำชุดความรู้ ความเชี่ยวชาญ สามารถใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญไปให้บริการวิชาการ ผ่านกิจกรรม การใหค้ วามรู้ การใหค้ ำปรกึ ษา การพัฒนาศักยภาพ การจัดอบรม การประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ การเป็นพ่ีเลี้ยง การเป็นโค้ช การจัดการเรียนรู้ทางไกล และการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์(Application) เพื่อให้แก่ชุมชน/ บุคลากร/ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ให้สามารถเข้าถึงชุดความรู้ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในสังกัดสถา บัน พระบรมราชชนก ศนู ยบ์ ริการวชิ าการ หมายถึง วิทยาลยั ในสงั กดั สบช.มแี ผนปฏบิ ตั ิตกิ ารนำความรู้ความเชี่ยวชาญของ อาจารย์ไปสู่การใช้ประโยชน์ ผ่านกิจกรรมการถ่ายทอดชุดความรู้ที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ/สาธารณสุข/ สหเวชศาสตร์ หรอื มีกิจกรรมการใหค้ ำปรกึ ษาวิชาการแกช่ มุ ชนเป้าหมาย จนเอ้ือตอ่ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม การให้บริการสุขภาพของบุคลากรสุขภาพ การดูแลตนเองให้ปลอดโรคของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย การส่งเสริมสขุ ภาพ/การปอ้ งกันโรค/การควบคุมการแพรก่ ระจายเชอื้ ในชุมชน เปน็ ต้น การให้บริการวิชาการ หมายถึง กระบวนการจัดเวที/ออกแบบกิจกรรมให้อาจารย์ที่ความรู้ ความเชี่ยวชาญในประเด็นต่าง ๆ ไปให้ความรู้ /เป็นที่ปรึกษา/กรรมการวิชาการ/ผู้ทรงคุณวุฒิสอบป้องกัน วิทยานพิ นธ์ ฯลฯ ให้แกป่ ระชาชน/ชมุ ชน/องคก์ รเป้าหมายของวิทยาลยั ในสังกัดสถาบนั พระบรมราชชนก หรือ การบรู ณาการระหวา่ งการสอน การวิจัยกับโครงการใหบ้ รกิ ารวชิ าการอนื่ ๆ องค์กรเป้าหมาย หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ที่ได้รับการพัฒนา จากหนว่ ยงานในสังกดั สถาบนั พระบรมราชชนกเพอื่ ตอบสนองความต้องการของหนว่ ยงาน ชุมชนเป้าหมาย หมายถึง สถานท่ี พื้นท่ี โรงเรียน และชุมชนไดร้ บั การพฒั นาจากหน่วยงานในสังกัด สถาบันพระบรมราชชนกเพ่อื ตอบสนองความต้องการของสถานที่ พืน้ ท่ี โรงเรียน และชุมชน หลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง หัวข้อวิชา เนื้อหาสาระ วิธีการ กิจกรรม ประสบการณ์ ที่วิทยาลยั /คณะ ในสังกัดสถาบนั พระบรมราชชนก จัดใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมเกิดการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมดา้ นความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ไปในทศิ ทางท่ไี ด้ตง้ั วตั ถปุ ระสงคไ์ ว้ โดยหลักสตู รฝึกอบรมมีระยะเวลาอบรม ต้ังแต่ 1 เดอื นขน้ึ ไป ค่า NPS (Net Promoter Score) หมายถึง ผลการวดั ระดับความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ ารและความ ซื่อสัตย์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งจะสะท้อนให้วิทยาลัยผู้จัดได้ทราบความซื่อสัตย์ของผู้เข้ารับ การฝึกอบรม โดยผูใ้ ช้แบบประเมินด้วยคำถามเพียง 1 คำถาม เชน่ “ทา่ นจะแนะนำให้ญาตหิ รือเพ่ือนมาสมัคร เข้ารับการฝึกอบรมมากนอ้ ยเพียงใด” (คะแนนเต็ม 10) โดยจะมีคะแนนใหเ้ ลือกตั้งแต่ 0 ไปจนถึง 10 โดยที่ 0 หมายถงึ ไม่มีทางเปน็ ไปได้ และ 10 หมายถงึ เป็นไปไดอ้ ยา่ งแน่นอน และจากผลของคะแนนประเมินแบ่งกลุ่ม ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรม ในการประเมนิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ครงั้ น้ี มรี ายละเอียด ดงั แสดงไวต้ ารางที่ 1 ดงั น้ี

11 ตารางที่ 1 ตัวอย่างการประเมินผลตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบ สขุ ภาพ โดยการมสี ว่ นร่วมของชุมชน โจทย์ประเมนิ ตัวช้วี ัด แหลง่ ขอ้ มลู เครือ่ งมอื ท่ีใช้ ระยะเวลา วิธีการวเิ คราะห์ ผู้รบั ผิดชอบ ในการเก็บ การเก็บ ข้อมูล รวบรวมข้อมูล ขอ้ มลู 1.วิทยาลัยมี 11.1 ร้อยละของ -คณะ แบบรายงาน สิงหาคม 65 -แจกแจงความถี่ กองบรกิ าร การเสรมิ สรา้ ง วิทยาลัยทม่ี รี ะดบั -วิทยาลยั ที่ 1.1.1 -หาค่าร้อยละ วิชาการ ความเข้มแขง็ ความสำเร็จในการ ของ เสรมิ สรา้ งความ ศูนยบ์ รกิ าร เขม้ แขง็ ของ วิชาการอยู่ ศนู ย์บรกิ ารวิชาการ ระดับใด (คะแนนระดบั 5)

12 ภาคผนวก แบบกรอกข้อมูลสำหรบั การติดตามประเมินผลตามยุทธศาสตร์ท่ี 3 การใหบ้ ริการวชิ าการแก่สังคมเพ่อื ตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน ในระหวา่ งปี 2565-2569 จำนวน 6 ตัวช้ีวดั กลยุทธ์

13 1. แบบกรอกข้อมูลสำหรับการติดตามประเมินผลตามยุทธศาสตร์ที่ 3 การให้บริการ วิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ในระหว่างปี 2565 - 2569 จำนวน 6 ตัวชวี้ ดั กลยทุ ธ์ ประกอบด้วย (1) ตัวชี้วัดกลยุทธ์ที่ 1.1.1 ร้อยละของวิทยาลัยที่มีระดับความสำเร็จในการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของศูนย์บริการวิชาการ (2) ตัวชี้วดั กลยุทธท์ ี่ 1.1.2 จำนวนบุคลากรท่ีเปน็ วิทยากร กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ทป่ี รึกษา 1.2.1.1 ระดบั ชาติ 1.2.1.2 นานาชาติ (3) ตวั ชี้วัดกลยุทธ์ท่ี 1.3.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการพฒั นาหลกั สูตรใหม่ (4) ตัวชี้วดั กลยุทธท์ ่ี 1.3.2 จำนวนผูท้ ไ่ี ด้รับการพัฒนาสมรรถนะดา้ นสขุ ภาพด้วย สบช. โมเดล 1.3.2.1 บุคลากรดา้ นสุขภาพ 1.3.2.2 ชุมชน (5) ตัวชี้วดั กลยุทธท์ ่ี 1.3.3 ร้อยละของหลกั สูตรฝึกอบรมที่มคี ่า NPS ระดบั ดมี ากขน้ึ ไป (6) ตวั ชี้วดั กลยุทธท์ ี่ 2.2.1 ร้อยละของอัตราการเพ่ิมข้นึ ของเงินรายไดจ้ ากการบรกิ ารวิชาการ

14 รายละเอียดตัวช้ีวัดกลยุทธ์ที่ 1.1.1 รอ้ ยละของวิทยาลัยท่ีมีระดบั ความสำเร็จในการเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ของศูนยบ์ ริการวชิ าการ 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบรกิ ารวชิ าการแก่สงั คมเพ่ือตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 2. กลยุทธ์ที่ 1.1 : พฒั นาระบบกลไกในการสร้างความเข้มแข็งของศนู ยบ์ ริการวิชาการและการจดั ต้ัง ศูนยบ์ ริการวิชาการ (Training Center) 3. ตัวชี้วัดกลยุทธที่ 1.1.1 : ร้อยละของวิทยาลัยที่มีระดับความสำเร็จในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของศนู ยบ์ ริการวชิ าการ 4. หนว่ ยวัด : 2 ระดับ 1) ระดบั วทิ ยาลัย หน่วยวัดเป็น ระดบั ความสำเร็จ 2) ระดบั สถาบัน หนว่ ยวดั เปน็ ร้อยละ 5. คำอธบิ าย: บริการวิชาการ หมายถึง การจัดฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บค่าลงทะเบียน และแบบให้เปล่า งานคน้ คว้า สำรวจ วิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ วางระบบ วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ์ งาน เขยี น หรอื งานแปลทางวิชาการ งานท่ีปรึกษาหรือให้คำปรึกษาทางวชิ าการทางเทคนิคหรือวิชาชีพ รวมท้ังงาน ให้บริการวิชาการในลักษณะอื่นๆ ที่เป็นการขอความร่วมมือจากชุมชน ส่วนราชการ จังหวัด องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น โรงเรียนหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นให้ช่วยบริการวิชาการและวิชาชีพ ทั้งนี้แม้ไม่อยู่ในแผนของ สถาบัน ก็สามารถนําไปนับรวมเป็นผลงานได้ เมื่อมีหนังสือขอความร่วมมือที่ได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการ / คณบดีหรอื ผู้ทีผ่ อู้ ำนวยการ / คณบดีมอบหมาย เปน็ หลกั ฐานประกอบ ศูนย์บริการวิชาการ (Training Center) หมายถึง หน่วยงานในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ที่มุ่งให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สร้างคน สร้างความรู้ สร้างคุณภาพ สร้างคุณธรรม โดยการประยุกต์ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนำองค์ความรู้ไปสู่ชุมชนและสังคมให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยการให้บริการในการ ดำเนินการทางวิชาการ ได้แก่ การอบรม (Training) การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Work shop) ระบบพี่เลี้ยง (Mentor) ระบบโค้ช (Coach) การเรียนรู้ทางไกล (E-learning) การให้คำปรึกษาด้านวิชาการและวิจัยแก่ หน่วยงานภายในและภายนอก รวมถึงการบริการความรู้แบบให้เปล่า โดยความร่วมมือของสถาบันการศึกษา และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการเผยแพร่ความรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สงั คมมีเป้าหมายสูงสุด คือ การส่ง มอบความรู้สู่ชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเป็นแหล่งการหารายได้เพื่อสนับสนุนการ เรยี นการสอนให้แก่วทิ ยาลยั

15 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ หมายถึง ระบบสนับสนุนทั้งคน เงิน และ อุปกรณ์ ที่เป็นองค์ประกอบสำคญั ท่ชี ่วยใหก้ ารดำเนนิ งานของศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ ก่อเกิดการรวมตัว ร่วมใจรว่ ม พลัง ร่วมทำ และการเรียนรู้ร่วมกันของอาจารย์ผู้สอน ผู้บริหาร และบุคลากรวิชาชีพ บนพื้นฐานวัฒนธรรม ความสมั พันธแ์ บบกัลยาณมติ ร มีวสิ ัยทศั น์ คณุ ค่า เปา้ หมายและภารกิจรว่ มกนั โดยทำงานร่วมกันแบบทมี เป็น ผู้นำร่วมกนั และผู้บริหารแบบผู้ดแู ลสนบั สนุน สู่การเรียนร้แู ละพฒั นาวิชาชพี เปลีย่ นแปลงคุณภาพของอาจารย์ สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ความสำเร็จหรือประสทิ ธิผลของผู้เรยี นเป็นสำคัญ ก่อให้เกิดความสุขของการ ทำงานร่วมกันของสมาชิกในทีม ศูนย์การเรียนรู้นี้อาจอยู่ในสถานบริการ และ/หรือสถาบันการศึกษา ทั้งน้ี อาจารย์ต้องพัฒนาตนเองด้านปฏบิ ัติการทางคลินิกทีส่ อดคล้องกับความเชีย่ วชาญรายสาขา และคุณสมบัติของ อาจารย์และผู้สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามที่สภาวิชาชีพกำหนดไว้ ซึ่งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ศูนย์บริการวิชาการ โดยการสร้างความร่วมมือ (MOU: Memorandum of understanding) กับถาบัน การศึกษาด้านสุขภาพทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงานภาครฐั และเอกชนที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพื่อ 1) พฒั นาบุคลากรด้านอาจารย์ท่ีเชยี่ วชาญพร้อมส่งมอบองค์ความรู้ท่ีหลากหลายสูช่ มุ ชน และสงั คม 2) พัฒนา บุคลากรสุขภาพสหวิชาชีพให้มีความรู้ความสามารถพร้อมส่งมอบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานสู่ชุมชน และ สังคม 3) พัฒนารูปแบบการให้บริการวิชาการที่หลากหลาย เช่น การอบรม (Training) การประชุมเชิง ปฏิบัติการ(Work shop) ระบบพี่เลี้ยง (Mentor)ระบบโค้ช (Coach) การเรียนรู้ทางไกล (E-learning) และ การพัฒนา Application ต่างๆ เพื่อให้บริการความรู้แบบให้เปล่า เป็นต้น และ 4) สนับสนุนงบประมาณเพื่อ การพัฒนาทต่ี อ่ เน่ือง กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความกา้ วหน้าของขน้ั ตอนการดำเนนิ งานตามเป้าหมายแตล่ ะระดบั ดงั น้ี ระดบั ระดับขั้นตอนของความสำเรจ็ (Milestone) คะแนน ขน้ั ตอนท่ี ๑ ข้ันตอนที่ ๒ ขนั้ ตอนที่ ๓ ขน้ั ตอนที่ ๔ ข้ันตอนท่ี ๕ ๑ ๒  ๓   ๔    ๕     เง่ือนไข : รายละเอียดการดำเนินงานระดับความสำเรจ็ ของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์พฒั นา บคุ ลากร (Training Center)

16 ขนั้ ตอน รายละเอียดการดำเนินงาน 1 มคี วามร่วมมือ (MOU/MOA) กับสถาบันการศกึ ษาดา้ นสุขภาพทั้งใน และต่างประเทศ รวมถงึ หนว่ ยงานภาครัฐ และเอกชนท่เี กย่ี วข้องทกุ ภาคส่วน 2 มแี ผนปฏบิ ตั ิการ(Action plan) การบริการวชิ าการเชงิ รุก ประกอบด้วย 1)Training need 2)Public training 3) Inhouse Training 4)บริการวิชาการแบบให้เปลา่ เพอื่ สงั คม และชมุ ชน และ 5) แผนพัฒนาความเชย่ี วชาญอาจารยด์ า้ นการเรยี นการสอน 3 การพฒั นาระบบสารสนเทศงานบริการวชิ าการที่เชอื่ มโยงกับสถาบันพระบรมราชชนก 4 รายงานผลการดำเนินงานการบริการวชิ าการเชิงรกุ และการพฒั นาระบบสารสนเทศงาน บริการวชิ าการ สง่ ผลใหศ้ นู ย์บรกิ ารวิชาการดำเนินงานได้อย่างเขม้ แข็ง 5 มกี ารประเมนิ ผลการสนบั สนนุ เพอ่ื เสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนยบ์ ริการวิชาการอย่างต่อเนือ่ ง 6. สตู รการคำนวณ : ไม่มี 7. ตัวชี้วัด และคา่ เป้าหมาย : ตวั ชว้ี ดั ขอ้ มูลพื้นฐาน เป้าหมาย (Target) ของตัวชีว้ ัดตาม ของตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ ร้อยละของวทิ ยาลยั ที่มรี ะดับ (Baseline) ความสำเร็จในการเสริมสร้าง 2565 2566 2567 2568 2569 ความเขม้ แขง็ ของศนู ย์บริการ N/A 40 50 60 70 80 วิชาการ (คะแนนระดบั 5) 8. แหลง่ ข้อมลู /วธิ กี ารจดั เก็บขอ้ มลู : เอกสารในการดำเนินการ 5 ข้ันตอน 9. วิธีการประเมนิ ผล : ระบบประเมนิ ผลการสนับสนุนการพัฒนาศนู ยบ์ รกิ ารวิชาการของวทิ ยาลยั ทเ่ี ชอ่ื มโยงกับ สถาบนั พระบรมราชชนก 10. เอกสารสนบั สนุน : แผนปฏิบัตกิ าร(Action plan) การบรกิ ารวิชาการเชงิ รกุ ประกอบด้วย 1)Training need 2)Public training 3) Inhouse Training 4)บริการวิชาการแบบใหเ้ ปลา่ เพอื่ สังคมและชมุ ชน รวมถงึ แผนให้บริการพฒั นาความเช่ียวชาญบคุ ลากรด้านการสอน และแผนพัฒนาวัสดุ ครุภัณฑ์ 11. ผกู้ ำกับดูแลตัวชี้วัด: หน่วยงาน กองบริการวิชาการ

17 รายละเอยี ดตัวชี้วัดกลยุทธท์ ี่ 1.2.1 จำนวนบคุ ลากรท่เี ป็นวทิ ยากร กรรมการ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ ทป่ี รึกษา 1. ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การบริการวชิ าการแกส่ งั คมเพ่ือตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมสี ่วนร่วมของ ชมุ ชน 2. กลยุทธท์ ่ี 1.2 พฒั นาศักยภาพบุคลากรของสถาบนั ให้มคี วามเชย่ี วชาญในการบริการวชิ าการให้เปน็ ท่ี ยอมรบั จากหนว่ ยงานภายนอก ท้ังระดับชาติ และนานาชาติ 3. ตัวช้ีวัดกลยุทธท์ ี่ 1.2.1 จำนวนบุคลากรท่ีเป็นวิทยากร กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ทป่ี รกึ ษา 12.1.1. ระดบั ชาติ 12.1.2. ระดับนานาชาติ 4. หน่วยวดั : จำนวนบุคลากรทีเ่ ปน็ วทิ ยากร กรรมการ ผูท้ รงคณุ วุฒิ ท่ีปรกึ ษา 5. คำอธบิ าย : บุคลากร หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติงานในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกที่ปฏิบัติงานที่วิทยาลัย คณะ กอง และสำนกั งาน ทัง้ สายวชิ าการและสายสนับสนนุ การบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคม หมายถงึ การใหค้ ำปรกึ ษาทางวชิ าการ และถา่ ยทอดองค์ความรู้ ท่เี กิดขึ้นจากการจัดการเรียนการสอน การวจิ ยั และการสรา้ งนวัตกรรมแกภ่ าครฐั ภาคเอกชน ชมุ ชน และสังคม เพอ่ื นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์และสง่ เสรมิ การเรียนรูข้ องชุมชนกลุ่มเปา้ หมาย ความเชี่ยวชาญในการบริการวิชาการ หมายถึง การเป็นวิทยากร กรรมการ/ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา กรรมการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เป็นกรรมการ ที่ปรึกษาแผนงาน โครงการของหน่วยงานภายนอก ระดับชาติ นานาชาติ ของผู้ปฏิบัติงาน สถาบันพระบรมราชชนกท้ังบคุ ลากรสายวิชาการและสายสนบั สนุน ทไี่ ดร้ บั เชิญจากหน่วยงานภายนอกสถาบัน พระบรมราชชนก 6. สตู รการคำนวณ: นบั จำนวน บคุ ลากรสายวิชาการและสายสนบั สนุนทไี่ ด้รับเชญิ เปน็ กรรมการรว่ มกบั หน่วยงานภายนอก โดยแยกเป็น ระดับชาติ 1. จำนวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากรจากหน่วยงาน ภายในประเทศ 2. จำนวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนบั สนุนทีเ่ ป็นกรรมการจากหน่วยงานภายในประเทศ 3.จำนวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่ว ยงาน ภายในประเทศ 4. จำนวนบคุ ลากรสายวิชาการและสายสนบั สนุนที่เป็นทีป่ รกึ ษาจากหนว่ ยงานภายในประเทศ

18 ระดบั นานาชาติ 1. จำนวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากรจากหน่วยงาน ต่างประเทศ 2. จำนวนบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนท่เี ปน็ กรรมการจากหน่วยงานตา่ งประเทศ 3. จำนวนบุคลากรสายวชิ าการและสายสนับสนุนทีเ่ ปน็ ผู้ทรงคุณวุฒจิ ากหนว่ ยงานต่างประเทศ 4. จำนวนบคุ ลากรสายวชิ าการและสายสนับสนุนท่เี ป็นทปี่ รึกษาจากหน่วยงานต่างประเทศ 7. ตัวชวี้ ัดและคา่ เป้าหมาย : ข้อมูลพื้นฐาน เป้าหมาย (Target) ของตัวชีว้ ัดตาม ตวั ช้ีวดั ของตัวช้ีวัด ปีงบประมาณ (Baseline) 2565 2566 2567 2568 2569 1.2.1 จำนวนบคุ ลากรทีเ่ ปน็ วิทยากร กรรมการ/ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ/ ท่ีปรึกษา 1.2.1.1. ระดับชาติ. 231 250 275 300 325 350 1.2.1.2. ระดบั นานาชาติ 11 13 15 17 19 21 8. แหล่งข้อมูลหรือวธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมูล : กองบรกิ ารวิชาการ คณะและกองเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่อื การศึกษา และวิทยบริการ เกบ็ ข้อมลู โดยใชข้ อ้ มูลจากฐานข้อมูลผเู้ ชย่ี วชาญของสถาบนั และวทิ ยาลยั 9. วิธกี ารประเมินผล : นับจำนวนบคุ ลากรท่เี ปน็ วิทยากร กรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ท่ีปรึกษา จากหน่วยงาน ภายนอกเทียบกับเกณฑ์ 10. เอกสารสนับสนุน : 1. ฐานข้อมลู ผูเ้ ช่ียวชาญในระบบฐานข้อมูลบุคลากรของสถาบันพระบรมราชชนก และวิทยาลัย 2. หนงั สอื เชิญเป็นวทิ ยากร 11. ผกู้ ำกบั ดแู ลตัวช้ีวัด : กองบริการวชิ าการ

19 รายละเอยี ดตัวช้ีวัดกลยทุ ธ์ที่ 1.3.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการพัฒนาหลักสตู รใหม่ 1. ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมเพอ่ื ตอบสนองระบบสขุ ภาพ โดยการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน 2. กลยทุ ธท์ ี่ 1.3 : พฒั นาสมรรถนะบุคลากรดา้ นสุขภาพ/ประชาชน เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของระบบ สุขภาพ 3. ตัวชี้วดั กลยุทธท์ ่ี 1.3.1 : ระดับความสำเร็จของการพฒั นาหลักสูตรใหม่ 4. หนว่ ยวัด : ระดับความสำเร็จใหม่ 5. คำอธิบาย : การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง กระบวนการที่ประกอบไปด้วยการสร้างความร่วมมือ(MOU) ระหว่าง องค์กรด้านสุขภาพและ/หรือสถาบันการศึกษา เกี่ยวกับการสร้างเนื้อหา วิชาการเพื่อดำเนินการพัฒนา ท้ังน้ีรวมถึงการสรา้ งหลักสตู รใหม่ และหลกั สตู รทีน่ ำมาปรบั ปรุงให้ทนั สมยั หลักสูตรใหม่ หมายถึง หลักสูตรที่พัฒนาใหม่ หรือหลักสูตรที่นำมาปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของระบบสุขภาพ (หลักสตู รตงั้ แต่ 3 วนั ข้ึนไป) การนำไปใช้ หมายถึง การเผยแพร่หลักสูตรสู่การพัฒนาบุคลากรทสี่ อดคล้องกับระบบบริการสุขภาพ รวมถงึ หลักสูตรด้านบรหิ าร และดา้ นสนับสนนุ บริการสขุ ภาพของวิชาชีพด้านสุขภาพทุกระดับ ท้งั หลักสูตรการ พัฒนาตามสมรรถนะวิชาชีพ และหลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะตามความต้องการขององค์กรทั้งด้านวิชาการ และดา้ นบรหิ าร ด้วยรูปแบบการพฒั นาที่หลากหลาย เช่น อบรม, E-learning, ประชมุ , คมู่ อื ฯลฯ ระดบั ความสำเรจ็ ของการพฒั นาหลักสูตรใหม่ และการนำไปใช้ หมายถึง การสนบั สนุนและ/หรอื สรา้ ง ความร่วมมือทั้งใน และต่างประเทศระหว่างสถาบันการศึกษาใน/นอกสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก และ/หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ให้สามารถพัฒนาหลักสูตรในระบบสุขภาพที่ตอบสนองระบบบริการ สขุ ภาพทส่ี อดคลอ้ งกบั ความต้องการตามบริบทของพ้ืนท่ี รวมถึงการเผยแพร่หลักสูตร ด้วยวิธกี ารต่างๆ โดยคิด เป็นระดับความสำเร็จของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนฯ และความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา เม่ือ เทยี บกบั เกณฑ์ทีก่ ำหนด ๕ ระดบั 6. สูตรการคำนวณ: ไมม่ ี

20 7. เกณฑ์การใหค้ ะแนน: กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความกา้ วหนา้ ของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแตล่ ะระดับ ดังนี้ ข้นั ตอนการ ข้นั ตอนท่ี ๑ ระดบั ขัน้ ตอนของความสำเร็จ (Milestone) ขั้นตอนท่ี ๕ ดำเนินงาน ขน้ั ตอนที่ ๒ ข้นั ตอนที่ ๓ ข้ันตอนท่ี ๔ ๑   ๒   ๓   ๔    ๕    8. แนวทางการประเมินผล : แบ่งเกณฑ์การประเมินเปน็ 2 รอบ ไดแ้ ก่ รอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน ดงั น้ี 8.1 การประเมนิ รอบ 6 เดือนแรก ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ระหว่างวนั ที่ 1 ตลุ าคม 25๖ 4 - 31 มีนาคม 2565) คา่ คะแนนท่ไี ด้ 1 2 34 5 ขั้นตอนที่ 1 - ขนั้ ตอนที่ 2 - ข้นั ตอนที่ 3 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรอบ 6 เดอื น ข้นั ตอนการ การดำเนินงาน ค่าคะแนนท่ีได้ ดำเนนิ งาน 1 คะแนน 1 สร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร/สถาบันการศึกษาเฉพาะด้าน/ 2 คะแนน 2 คะแนน เฉพาะทาง(MOU/MOA) 2 แนวทาง/ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาหลกั สตู รรองรบั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 3 แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ นการพัฒนาหลกั สูตร(แผนพัฒนา/ปรับปรงุ หลักสตู ร) 8.2 การประเมนิ รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (ระหว่างวนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565) คา่ คะแนนทไี่ ด้ 1 23 4 5 ขน้ั ตอนที่ 1 ข้ันตอนท่ี 2 ขน้ั ตอนท่ี 3 ขนั้ ตอนที่ 4 ข้นั ตอนที่ 5

21 เกณฑ์การให้คะแนนรอบ 12 เดือน ขั้นตอนการ การดำเนนิ งาน คา่ คะแนนทไ่ี ด้ ดำเนนิ งาน 1 คะแนน 1 สร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร/สถาบันการศึกษาเฉพาะ 1 คะแนน 1 คะแนน ด้าน/เฉพาะทาง(MOU/MOA) 1 คะแนน 2 แนวทาง/ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาหลกั สตู รรองรบั ระบบบริการสุขภาพ 1 คะแนน 3 แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาหลักสูตร(แผนพัฒนา/ปรับปรุง หลกั สตู ร) 4 สนับสนุนเวทีการพฒั นาหลกั สตู รรองรับระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 5 สนับสนุนการดำเนินงานเผยแพร่ และถ่ายทอดหลกั สตู ร 9. ตวั ช้ีวดั และค่าเปา้ หมาย : ข้อมูลพืน้ ฐาน เปา้ หมาย (Target) ของตัวชว้ี ัดตามปงี บประมาณ ตวั ชี้วัด ของตัวชี้วัด 2565 2566 2567 2568 2569 (Baseline) จำนวนหลกั สูตรท่ีพัฒนา สมรรถนะบุคลากรดา้ นสขุ ภาพ N/A 2 3 4 5 5 10. แหล่งขอ้ มลู หรือวิธกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูล : ระบบลงทะเบียนสถาบันพระบรมราชชนก 11. วิธีการประเมนิ ผล : จำนวนหลกั สูตรที่ปรากฏในระบบลงทะเบยี นของปีงบประมาณ ของทุกวิทยาลยั เชื่อมโยงกบั สถาบนั พระบรมราชชนก 12. เอกสารสนับสนนุ : ระบบรายงานหลักสูตรดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพรายสาขา (Abstract & Full text) ของวทิ ยาลัยทุกแห่ง 13. ผกู้ ำกบั ดแู ลตัวช้ีวัด: กองบรกิ ารวชิ าการ

22 แบบฟอร์มรายละเอยี ดตัวช้วี ัดเชิงปรมิ าณ 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การบริการวชิ าการแกส่ งั คมเพ่ือตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน 2. กลยุทธท์ ี่ 1.3 : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรดา้ นสุข ภาพประชาชน เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของระบบ สุขภาพ 3. ตวั ช้ีวัดกลยทุ ธ์ท่ี 1.3.2 : จำนวนผู้ทีไ่ ด้รบั การพฒั นาสมรรถนะดา้ นสุขภาพด้วย สบช.โมเดล 1.3.2.1 บุคลากรด้านสุขภาพ 1.3.2.2 ชุมชน 4. หนว่ ยวดั : จำนวน 5. คำอธิบาย : การพฒั นาสมรรถนะด้านสขุ ภาพ หมายถึง บุคลากรด้านสขุ ภาพในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก และชุมชนเป้าหมายในการให้บรกิ ารวิชาการแก่สังคมของหนว่ ยงานในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก ทีเ่ ข้ารับ การพฒั นา ในรูปแบบต่างๆ ไดแ้ ก่ การอบรม การประชมุ การสัมมนา การให้คำปรึกษา ตลอดจนการพฒั นา นวัตกรรมในชมุ ชนที่ประชาชนมสี ว่ นร่วมในการพฒั นา สบช.โมเดล หมายถึง เครื่องมือคัดกรองภาวะสุขภาพ เพื่อเฝ้าระวังโรคของสถาบันพระบรมราชชนก ตามแนวคิดการจัดการโรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง โดยให้ค่าระดับความ รนุ แรงของโรคตามสี จากกล่มุ ปกติ ถงึ กลุ่มปว่ ย และกลุ่มทม่ี ีภาวะแทรกซ้อน ตามโมเดลดังน้ี

23 การพัฒนาสมรรถนะด้านสุขภาพด้วยสบช.โมเดล หมายถึง บุคลากรในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ท่ีไดร้ ับการคดั กรองภาวะสขุ ภาพ ด้วยเครือ่ งมอื คัดกรองภาวะสขุ ภาพ “ปิงปองจราจร 7 สี” โดย กลุ่มป่วย ต้องเข้าระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตลอดจนการได้รับการพั ฒนา และเฝา้ ระวงั ไมใ่ หเ้ ข้าส่ภู าวะกล่มุ ปว่ ยท่มี ภี าวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ต้องได้รับการกระตุ้นเตือน และการให้คำปรึกษาด้านการดูแลรักษา ที่ตอ่ เนอื่ ง และควรมีโปรแกรมตดิ ตาม และเฝ้าระวังที่เกิดการมีส่วนรว่ มอยา่ งเป็นรูปธรรม 6. สตู รการคำนวณ : ไม่มี ข้อมูลพืน้ ฐาน เป้าหมาย (Target) ของตัวชี้วดั ตาม 7. ตวั ช้ีวัดและค่าเป้าหมาย : ของตัวชี้วัด ปีงบประมาณ (Baseline) ตัวช้วี ดั 2565 2566 2567 2568 2569 N/A จำนวนผทู้ ่ีไดร้ ับการพัฒนา N/A 2,000 2,500 3,000 3,500 4,000 สมรรถนะด้านสุขภาพสบช.โมเดล 20 25 30 35 40 13.2.1 บคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ 13.2.2 ชุมชน 8. แหลง่ ขอ้ มลู หรือวิธกี ารจัดเกบ็ ข้อมูล : ระบบลงทะเบียนสถาบันพระบรมราชชนก 9. วิธีการประเมินผล : ระบบประเมินผลข้อมูลลงทะเบียนของสถาบันพระบรมราชชนกจำแนกสายวิชาชีพ ทั้งบคุ ลากรสุขภาพ และชุมชนเป้าหมายของวทิ ยาลัย 10. เอกสารสนับสนุน : ระบบรายงานผู้ที่ได้รับการพัฒนาของวิทยาลัยทุกแห่ง จำแนกเป็นสายวิชาชีพ ท้ังบุคลากรสขุ ภาพ และชุมชนเป้าหมายของวิทยาลยั 11. ผกู้ ำกบั ดูแลตัวชี้วดั : ชอ่ื - สกลุ นางสาวเบญจพร รชั ตารมย์ เบอรต์ ิดต่อ โทร.0 2590 1818 E-mail address: [email protected]

24 แบบฟอร์มรายละเอยี ดตัวช้ีวัดเชิงปรมิ าณ 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การบริการวิชาการกาสังคมเพื่อตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของ ชมุ ชน 2. กลยุทธ์ที่ 1.3 พัฒนาสมรรถนะบคุ ลากรด้านสุขภาพ/ประชาชน เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของระบบ สุขภาพ 3. ตัวช้ีวดั กลยทุ ธท์ ี่ 1.3.3 : รอ้ ยละของหลักสูตรฝึกอบรมที่มีคา่ NPS ในระดับดมี ากข้ึนไป 4. หนว่ ยวดั : ร้อยละ 5. คำอธิบาย : หลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง หวั ข้อวิชา เนื้อหาสาระ วิธีการ กิจกรรม ประสบการณ์ ที่วิทยาลัย/คณะ ในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก จดั ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมเกิดการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมดา้ นความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ไปในทิศทางทีไ่ ดต้ ัง้ วัตถุประสงค์ไว้ โดยหลกั สตู รฝึกอบรมมรี ะยะเวลาอบรม ตงั้ แต่ 1 เดือนขนึ้ ไป คา่ NPS (Net Promoter Score) หมายถงึ ผลการวัดระดับความพึงพอใจของผูร้ ับบรกิ ารและความ ซ่ือสัตย์ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งจะสะท้อนให้บุคลากรผู้จัดการฝึกอบรม ได้ทราบความซื่อสัตย์ของ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยผู้ใช้แบบประเมินดว้ ยคำถามเพียง 1 คำถาม เช่น “ท่านจะแนะนำให้ญาติหรือเพื่อน มาสมัครเข้ารบั การฝึกอบรมมากน้อยเพียงใด” (คะแนนเต็ม 10) โดยจะมคี ะแนนให้เลือกตั้งแต่ 0 ไปจนถึง 10 โดย ท่ี 0 หมายถึง ไมม่ ีทางเป็นไปได้ และ 10 หมายถงึ เป็นไปไดอ้ ย่างแนน่ อน และจากผลของคะแนนประเมนิ แบ่งกลมุ่ ผู้ เขา้ รับการฝึกอบรม ออกเปน็ 3 กล่มุ ดงั น้ี กลุ่มที่ 1 ผู้ที่ให้คะแนนตั้งแต่ 0 – 6 คะแนน เรียกว่ากลุ่ม Detractors คือ ผู้ที่ไม่พึงพอใจในการ เข้ารบั การฝึกอบรม กลุม่ ที่ 2 ผู้ทีใ่ หค้ ะแนนตั้งแต่ 7 – 8 คะแนน เรียกว่ากลมุ่ Passive คอื ผู้ท่พี ึงพอใจ แตถ่ า้ มหี นว่ ยงาน อ่ืนท่จี ดั ฝึกอบรมดีกวา่ ก็พร้อมจะไปเข้ารบั การฝกึ อบรมท่ีอ่ืน กลุ่มที่ 3 ผู้ที่ให้คะแนนตั้งแต่ 9 – 10 คะแนน เรียกว่ากลุ่ม Promotors คือ ผู้ที่พึงพอใจมาก พรอ้ มสนับสนนุ การดำเนนิ การของวิทยาลยั และพรอ้ มเข้ารับการฝกึ อบรมอยา่ งแน่นอน ระดับดีมาก หมายถึง ผลการคำนวณค่าคะแนน NPS ที่มีค่า 70 คะแนนขึ้นไป โดยนำเปอร์เซ็นต์ ของ Promotors – เปอรเ์ ซ็นต์ของ Detractors และนำผลการคำนวณมาเทยี บกบั เกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี ค่า NPS 80 ข้นึ ไป เท่ากบั ดีเย่ยี ม ค่า NPS 70 – 79.99 ขน้ึ ไป เท่ากบั ดีมาก คา่ NPS 60 – 69.99 ขึน้ ไป เทา่ กบั ดี ค่า NPS 50 – 59.99 ข้ึนไป เท่ากบั พอใช้ ค่า NPS นอ้ ยกวา่ 50 เท่ากับ ปรับปรุง

25 6. สตู รหรอื วิธกี ารคำนวณ : จำนวนคนในกลุ่ม Promotors (คน) (A) 6.1 สำหรบั ผจู้ ัดอบรม = จำนวนผู้เขา้ รบั การอบรมทงั้ หมด (คน) (E) x 100 1. หาค่าคะแนน Promotors = B 2. หาค่าคะแนน Detractors = จำนวนคนในกลุ่ม Detractors (คน) (C) 3. คำนวณคะแนน NPS x 100 คา่ NPS G จำนวนผูเ้ ขา้ รับการอบรมท้ังหมด (คน) (E) =D = โดยนำ % Promotors – % Detractors = G = B-D 6.2 สำหรบั ผ้ปู ระเมนิ ยทุ ธศาสตร์ คำนวณร้อยละของหลกั สตู รฝกึ อบรมที่มคี ่า NPS ในระดบั ดมี ากขน้ึ ไป = จำนวนหลกั สตู รฝกึ อบรมทมี่ ีคา่ NPS ในระดบั 70 (ดีมาก) ขึน้ ไป x 100 หลักสตู รทง้ั หมดทเี่ ปดิ อบรมระยะเวลา 1 เดอื นข้ึนไป หมายเหตุ วิทยาลัยรายงานเฉพาะจำนวนหลกั สูตรทม่ี ีคา่ NPS ในระดบั 70 ขน้ึ ไป และจำนวนหลกั สูตรท่ีเปดิ อบรมระยะเวลา 1 เดอื นขน้ึ ไป 7. ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมาย : ข้อมูลพนื้ ฐาน เปา้ หมาย (Target) ของตัวช้วี ดั ตาม ตัวชี้วัด ของตัวช้ีวัด ปีงบประมาณ (Baseline) 2565 2566 2567 2568 2569 ร้อยละของหลกั สตู รฝึกอบรม 65 70 75 80 85 90 ท่มี ีคา่ NPS ในระดับดีมากข้นึ ไป 8. แหลง่ ข้อมลู หรือวิธีการจัดเก็บข้อมูล : 9. วธิ ีการประเมินผล : หน่วยจดั ฝกึ อบรมประเมนิ ผลหลงั เสรจ็ สิน้ การใหฝ้ ึกอบรมหรือบรกิ าร โดยใชแ้ บบ ประเมนิ ตามรูปแบบ NPS 10. เอกสารสนับสนนุ : รายงานผลการประเมนิ NPS รายไตรมาส 11. ผู้กำกบั ดแู ลตัวชี้วัด : กองบริการวิชาการ เบอรต์ ดิ ต่อ 0 2590 1818, 0 2590 1811, 0 2590 181

26 แบบฟอร์มรายละเอยี ดตัวชีว้ ัดเชงิ ปรมิ าณ 1. ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การบริการวชิ าการแก่สงั คมเพอื่ ตอบสนองระบบสุขภาพ โดยการมสี ว่ นร่วมของ ชมุ ชน 2. กลยทุ ธ์ที่ 2.2 : พัฒนาระบบและกลไกสนบั สนุนการจดั บรกิ ารวชิ าการ 3. ตวั ช้ีวัดกลยทุ ธ์ท่ี 2.2.1 : รอ้ ยละของอตั ราการเพ่ิมของเงนิ รายได้จากการบริการวิชาการ 4. หนว่ ยวดั : รอ้ ยละ 5. คำอธิบาย : รายได้ หมายถึง รายรับของสถาบันพระบรมราชชนกที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมการ ใหบ้ ริการวชิ าการ การให้บริการวิชาการ หมายถึง การให้บริการของสถาบัน คณะ วิทยาลัย จากคณาจารย์ หรือบุคลากรของสถาบันพระบรมราชชนก โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญเชิงวิชาการ วิชาชีพ เพื่อให้บริการแก่ประชาชน ชุมชน บุคลากรจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชนในการปฏิบัติงาน โดยเก็บค่าลงทะเบยี น คา่ ธรรมเนยี ม หรอื คา่ จา้ งจากการใหบ้ ริการในลักษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี - การวิเคราะห์ การสำรวจ การทดสอบ การตรวจสอบ การประมวลผล การวางระบบ การใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำ การให้บริการเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ - การฝึกอบรม สัมมนา อภปิ ราย บรรยาย ประชุม ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ - การวิจัย การค้นคว้า สำรวจ หรืองานบรกิ ารวิชาการอื่น ๆ ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 อัตราเพ่ิมรอ้ ยละ 1 ของรายไดจ้ ากการให้บริการวชิ าการของปีที่ผ่านมา 2 อตั ราเพิ่มรอ้ ยละ 2 ของรายไดจ้ ากการให้บริการวชิ าการของปีท่ีผา่ นมา 3 อตั ราเพิ่มรอ้ ยละ 3 ของรายไดจ้ ากการใหบ้ ริการวิชาการของปีทผ่ี ่านมา 4 อัตราเพิ่มรอ้ ยละ 4 ของรายได้จากการใหบ้ ริการวชิ าการของปีท่ผี ่านมา 5 อตั ราเพิ่มรอ้ ยละ 5 ของรายได้จากการให้บริการวชิ าการของปที ผ่ี ่านมา 6. สตู รการคำนวณ : ไมม่ ี 7. ตัวช้ีวดั และคา่ เป้าหมาย : ขอ้ มูลพน้ื ฐาน เปา้ หมาย (Target) ของตัวชวี้ ดั ตาม ตวั ชว้ี ดั ของตัวช้ีวดั ปงี บประมาณ (Baseline) 2565 2566 2567 2568 2569 ร้อยละของอัตราการเพ่ิมของเงิน N/A 5 5 5 5 5 รายได้จากการบรกิ ารวชิ าการ

27 8. แหลง่ ข้อมูลหรือวิธีการจัดเก็บขอ้ มลู : ระบบลงทะเบียน และระบบการเงนิ ของสถาบนั พระบรมราชชนก 9. วธิ กี ารประเมนิ ผล : ระบบบรหิ ารจดั การดา้ นหลักสูตรที่เปิดลงทะเบียน เชอ่ื มโยงระบบการเงินของสถาบัน 10. เอกสารสนับสนนุ : ระบบรายงานอิเลก็ ทรอนิกสด์ า้ นการเงนิ การคลัง 11. ผกู้ ำกบั ดูแลตัวชี้วดั : ชือ่ - สกุล นางสาวเบญจพร รัชตารมย์ เบอร์ติดต่อ โทร.0 2590 1818 E-mail address: [email protected]

28 ตัวช้วี ัดกลยุทธท่ี 1.1.1 ร้อยละของวทิ ยาลยั ที่มรี ะดับความสำเรจ็ ในการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของศนู ย์บรกิ าร วิชาการ หน่วยวัด : 2 ระดับ 1) ระดับวทิ ยาลยั หนว่ ยวัดเป็น ระดบั ความสำเรจ็ 2) ระดบั สถาบนั หนว่ ยวัดเปน็ รอ้ ยละ ระดบั วิทยาลัย โปรดระบุหน่วยงาน..................................................................... โปรดระบชุ ่ือผู้รายงาน......................................ตำแหน่ง...........................เบอร์โทรตดิ ต่อ............. คำอธิบาย บริการวิชาการ หมายถึง การจัดฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บค่าลงทะเบียน และแบบใหเ้ ปลา่ งานคน้ คว้า สำรวจ วเิ คราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ วางระบบ วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ์ งาน เขียน หรืองานแปลทางวิชาการ งานที่ปรึกษาหรือให้คำปรึกษาทางวิชาการทางเทคนิคหรือวิชาชีพ รวมท้ังงาน ให้บริการวิชาการในลักษณะอื่นๆ ที่เป็นการขอความร่วมมือจากชุมชน ส่วนราชการ จังหวัด องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น โรงเรียนหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นให้ช่วยบริการวิชาการและวิชาชีพ ทั้งนี้แม้ไม่อยู่ในแผนของ สถาบัน ก็สามารถนําไปนับรวมเป็นผลงานได้ เมื่อมีหนังสือขอความร่วมมือที่ได้รับอนุมัติจากผู้อำนวยการ / คณบดหี รือผู้ที่ผู้อำนวยการ / คณบดมี อบหมาย เปน็ หลักฐานประกอบ ศูนย์บริการวิชาการ (Training Center) หมายถึง หน่วยงานในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ที่มุ่ง ให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สร้างคน สร้างความรู้ สร้างคุณภาพ สร้างคุณธรรม โดยการประยุกต์ ถ่ายทอด เทคโนโลยี และนำองค์ความรู้ไปสู่ชุมชนและสังคมให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยการให้บริการในการดำเนินการ ทางวิชาการ ได้แก่ การอบรม (Training) การประชุมเชิงปฏิบัติการ(Work shop) ระบบพี่เลี้ยง (Mentor) ระบบโค้ช (Coach) การเรียนรู้ทางไกล (E-learning) การให้คำปรึกษาด้านวิชาการและวิจัยแก่หน่วยงาน ภายในและภายนอก รวมถึงการบริการความรู้แบบให้เปล่า โดยความร่วมมือของสถาบันการศึกษา และภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการเผยแพร่ความรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคมมีเป้าหมายสูงสุด คือ การส่งมอบ ความรูส้ ู่ชุมชนอย่างมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล รวมทง้ั เปน็ แหล่งการหารายได้เพื่อสนบั สนุนการเรียนการ สอนให้แกว่ ทิ ยาลยั การเสริมสร้างความเข้มแข็งของศูนย์บริการวิชาการ หมายถึง ระบบสนับสนุนทั้งคน เงิน และ อปุ กรณ์ ท่ีเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญทช่ี ่วยให้การดำเนินงานของศูนยบ์ รกิ ารวชิ าการ กอ่ เกิดการรวมตวั รว่ มใจรว่ ม พลัง ร่วมทำ และการเรียนรู้ร่วมกันของอาจารย์ผู้สอน ผู้บริหาร และบุคลากรวิชาชีพ บนพื้นฐานวัฒนธรรม ความสมั พนั ธแ์ บบกลั ยาณมิตร มวี สิ ยั ทศั น์ คณุ คา่ เปา้ หมายและภารกจิ ร่วมกัน โดยทำงานร่วมกนั แบบทีม เป็น ผู้นำร่วมกนั และผู้บรหิ ารแบบผู้ดแู ลสนับสนุน ส่กู ารเรียนร้แู ละพัฒนาวิชาชีพเปล่ยี นแปลงคุณภาพของอาจารย์ สู่คุณภาพการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นความสำเรจ็ หรือประสิทธิผลของผู้เรียนเป็นสำคัญ ก่อให้เกิดความสุขของการ ทำงานร่วมกันของสมาชิกในทีม ศูนย์การเรียนรู้นี้อาจอยู่ในสถานบริการ และ/หรือสถาบันการศึกษา ทั้งน้ี อาจารยต์ อ้ งพฒั นาตนเองด้านปฏิบัติการทางคลินิกทสี่ อดคล้องกับความเชยี่ วชาญรายสาขา และคุณสมบัติของ

29 อาจารย์และผู้สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามที่สภาวิชาชีพกำหนดไว้ ซึ่งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ศูนย์บริการวิชาการ โดยการสร้างความร่วมมือ (MOU: Memorandum of understanding) กับถาบัน การศึกษาด้านสุขภาพทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน เพ่ือ 1) พัฒนาบุคลากรด้านอาจารย์ที่เชยี่ วชาญพร้อมส่งมอบองค์ความรู้ท่ีหลากหลายสู่ชุมชน และสงั คม 2) พัฒนา บุคลากรสุขภาพสหวิชาชีพให้มีความรู้ความสามารถพร้อมส่งมอบบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานสู่ชุมชน และ สังคม 3) พัฒนารูปแบบการให้บริการวิชาการที่หลากหลาย เช่น การอบรม (Training) การประชุมเชิง ปฏิบัติการ(Work shop) ระบบพี่เลี้ยง (Mentor)ระบบโค้ช (Coach) การเรียนรู้ทางไกล (E-learning) และ การพัฒนา Application ต่างๆ เพื่อให้บริการความรู้แบบให้เปล่า เป็นต้น และ 4) สนับสนุนงบประมาณเพ่ือ การพัฒนาที่ตอ่ เน่ือง กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น ๕ ระดับ พิจารณา จากความก้าวหนา้ ของขัน้ ตอนการดำเนินงานตามเปา้ หมายแตล่ ะระดับ ดงั น้ี ระดบั ขัน้ ตอนที่ 1 ระดบั ขัน้ ตอนของความสำเรจ็ (Milestone) ขั้นตอนท่ี 5 คะแนน  ข้ันตอนท่ี 2 ขั้นตอนที่ 3 ข้นั ตอนท่ี 4   1   2   3    4   5 เงื่อนไข : รายละเอียดการดำเนินงานระดับความสำเร็จของการเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของศนู ยพ์ ัฒนา บคุ ลากร (Training Center) ขัน้ ตอน รายละเอียดการดำเนนิ งาน 1 มคี วามรว่ มมือ (MOU/MOA) กบั สถาบนั การศึกษาดา้ นสุขภาพทัง้ ใน และต่างประเทศ รวมถงึ หน่วยงานภาครฐั และเอกชนที่เก่ียวข้องทุกภาคส่วน 2 มีแผนปฏิบตั กิ าร(Action plan) การบรกิ ารวิชาการเชงิ รุก ประกอบดว้ ย 1)Training need 2) Public training 3) Inhouse Training 4) บริการวชิ าการแบบใหเ้ ปลา่ เพื่อสงั คมและชมุ ชน และ 5) แผนพัฒนาความเช่ยี วชาญอาจารยด์ า้ นการเรยี นการสอน 3 การพัฒนาระบบสารสนเทศงานบรกิ ารวิชาการทีเ่ ชื่อมโยงกับสถาบันพระบรมราชชนก 4 รายงานผลการดำเนนิ งานการบริการวิชาการเชิงรุก และการพัฒนาระบบสารสนเทศงาน บรกิ ารวชิ าการ สง่ ผลให้ศูนย์บรกิ ารวชิ าการดำเนินงานได้อยา่ งเข้มแข็ง 5 มกี ารประเมินผลการสนับสนนุ เพ่ือเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของศนู ย์บริการวิชาการอย่างต่อเน่ือง

30 โปรดทำเครื่องหมาย  ใน  ตามผลการดำเนินงาน รายละเอียดการ ผลการดำเนนิ งานตามข้นั ตอน ดำเนินงาน ปี 2564 ปี 2565 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ขัน้ ตอนที่ 1.................................. ขั้นตอนที่ 2.................................. ขนั้ ตอนที่ 3.................................. ข้นั ตอนที่ 4.................................. ขน้ั ตอนที่ 5..................................

31 ตวั ช้ีวัดกลยุทธ์ท่ี 1.2.1 จำนวนบุคลากรท่เี ปน็ วทิ ยากร กรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ ท่ีปรึกษา 12.1.1. ระดบั ชาติ 12.1.2. ระดับนานาชาติ โปรดระบุหนว่ ยงาน..................................................................... โปรดระบุช่ือผู้รายงาน..................................ตำแหน่ง.......................................เบอร์โทรตดิ ตอ่ ....................... คำอธิบาย บุคลากร หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติงานในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกที่ปฏิบัติงานที่ วิทยาลยั /คณะ/กอง /สำนักงานทั้งสายวิชาการและสายสนบั สนุน การบรกิ ารวิชาการแกส่ งั คม หมายถึง การให้คำปรกึ ษาทางวชิ าการ และถ่ายทอดองค์ความรู้ ท่เี กดิ ขน้ึ จากการจัดการเรยี นการสอน การวิจยั และการสร้างนวัตกรรมแก่ภาครัฐ ภาคเอกชน ชมุ ชน และสังคม เพื่อนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนแ์ ละส่งเสริมการเรยี นรู้ของชุมชนกลุ่มเปา้ หมาย ความเชี่ยวชาญในการบริการวิชาการ หมายถึง การเป็นวิทยากร/กรรมการ/ ผู้ทรงคุณวุฒิ/ กรรมการวิทยานพิ นธน์ ะระดับบณั ฑิตศึกษา/กรรมการสอบป้องกันวทิ ยานิพนธ์ของนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา เป็นกรรมการ/ทป่ี รกึ ษาแผนงาน/โครงการของหนว่ ยงานภายนอกระดับชาต/ิ นานาชาติของผู้ปฏบิ ตั ิงานสถาบัน พระบรมราชชนกทั้งบุคลากรสายวิชาการ/สายสนับสนุน ที่ได้รับเชิญจากหน่วยงานภายนอกสถาบันพระบรม ราชชนก

รายละเอียด จำนวนบุคลากรสายวิชาการ (คน) 2565 2566 ระดบั ชาติ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. 1.จำนวนบคุ ลากรท่ีไดร้ บั เชญิ เป็นวทิ ยากรจากหนว่ ยงาน ระดบั ชาติภายในประเทศ 2.จำนวนบุคลากรทเ่ี ป็นกรรมการ จากหนว่ ยงานระดบั ชาติ ภายในประเทศ 3.จำนวนบคุ ลากรที่เป็น ผู้ทรงคุณวุฒจิ ากหน่วยงาน ระดบั ชาติ ภายในประเทศ 4.จำนวนบคุ ลากรทเ่ี ป็นทีป่ รกึ ษา จากหนว่ ยงานระดบั ชาติ ภายในประเทศ ระดบั นานาชาติ 1.จำนวนบคุ ลากรที่ได้รับเชิญ เปน็ วทิ ยากรจากหน่วยงาน ตา่ งประเทศ 2.จำนวนบุคลากรทเ่ี ปน็ กรรมการ จากหนว่ ยงานตา่ งประเทศ 3.จำนวนบุคลากรท่เี ป็น ผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากหนว่ ยงาน ต่างประเทศ 4.จำนวนบคุ ลากรที่เปน็ ท่ีปรึกษา จากหนว่ ยงานตา่ งประเทศ *หมายเหตุ กรณุ าแนบ File สำเนาจดหมายเชญิ / ตำสัง่ แต่งตงั้

30 จำนวนบคุ ลากรสายสนบั สนนุ (คน) 2565 2566 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

31 ตัวชี้วัดกลยทุ ธท์ ่ี 1.3.1 ระดับความสำเรจ็ ของการพฒั นาหลักสูตรใหม่ โปรดระบหุ นว่ ยงาน..................................................................... โปรดระบุช่อื ผูร้ ายงาน....................................ตำแหนง่ ....................................เบอร์โทรตดิ ตอ่ ....................... คำอธบิ าย การพัฒนาหลักสูตร หมายถงึ กระบวนการทป่ี ระกอบไปด้วยการสร้างความร่วมมือ(MOU) ระหว่าง องค์กรด้านสุขภาพและ/หรือสถาบันการศึกษา เกี่ยวกับการสร้างเนื้อหา วิชาการเพื่อดำเนินการพัฒนา ทัง้ น้ีรวมถึงการสรา้ งหลกั สตู รใหม่ และหลักสตู รทีน่ ำมาปรบั ปรุงใหท้ นั สมยั หลักสูตรใหม่ หมายถึง หลักสูตรท่ีพัฒนาใหม่ หรือหลกั สตู รทนี่ ำมาปรับปรุงเพ่ือให้สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของระบบสุขภาพ (หลักสตู รตง้ั แต่ 3 วนั ข้นึ ไป) การนำไปใช้ หมายถึง การเผยแพร่หลักสูตรสู่การพัฒนาบุคลากรที่สอดคล้องกับระบบบริการ สุขภาพ รวมถึงหลักสูตรด้านบริหาร และด้านสนับสนุนบริการสุขภาพของวิชาชีพด้านสุขภาพทุกระดับ ทั้ง หลักสูตรการพัฒนาตามสมรรถนะวชิ าชีพ และหลักสตู รการพัฒนาสมรรถนะตามความต้องการขององค์กรท้ัง ด้านวิชาการ และด้านบรหิ าร ด้วยรูปแบบการพฒั นาทหี่ ลากหลาย เช่น อบรม, E-learning, ประชุม, คมู่ ือ ฯลฯ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาหลักสูตรใหม่ และการนำไปใช้ หมายถึง การสนับสนุนและ/หรือ สร้างความร่วมมือทั้งใน และต่างประเทศระหว่างสถาบันการศึกษาใน/นอกสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก และ/หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ ให้สามารถพัฒนาหลักสูตรในระบบสุขภาพที่ตอบสนองระบบบริการ สุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการตามบริบทของพื้นที่ รวมถึงการเผยแพร่หลักสูตร ด้วยวิธีการต่างๆ โดย คิดเป็นระดับความสำเร็จของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนฯ และความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา เมอ่ื เทยี บกับเกณฑ์ทกี่ ำหนด ๕ ระดบั โปรดทำเครือ่ งหมาย  ใน  ตามผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนนิ งานตามขนั้ ตอน รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน ปี 2564 ปี 2565 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ขั้นตอนที่ 1......................................... ข้นั ตอนท่ี 2......................................... ขน้ั ตอนท่ี 3......................................... ข้ันตอนที่ 4......................................... ขน้ั ตอนที่ 5.........................................

32 ตวั ชี้วัดกลยุทธ์ท่ี 1.3.2 จำนวนผทู้ ี่ได้รับการพฒั นาสมรรถนะด้านสุขภาพดว้ ยสบช.โมเดล 1.3.2.1 บคุ ลากรด้านสุขภาพ 1.3.2.2 ชมุ ชน โปรดระบุหนว่ ยงาน..................................................................... โปรดระบชุ อ่ื ผรู้ ายงาน......................................ตำแหนง่ .......................................เบอร์โทรตดิ ต่อ................... คำอธบิ าย การพัฒนาสมรรถนะด้านสขุ ภาพ หมายถึง บุคลากรด้านสขุ ภาพในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก และชุมชนเป้าหมายในการให้บริการวิชาการแกส่ ังคมของหน่วยงานในสังกดั สถาบันพระบรมราชชนก ทเี่ ข้า รับการพฒั นา ในรูปแบบต่างๆ ไดแ้ ก่ การอบรม การประชมุ การสัมมนา การให้คำปรึกษา ตลอดจนการ พฒั นานวตั กรรมในชมุ ชนท่ีประชาชนมสี ว่ นร่วมในการพัฒนา สบช.โมเดล หมายถึง เครอ่ื งมือคดั กรองภาวะสขุ ภาพ เพือ่ เฝา้ ระวงั โรคของสถาบันพระบรมราชชนก ตามแนวคิดการจดั การโรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง โดยใหค้ ่าระดบั ความ รุนแรงของโรคตามสี จากกลุ่มปกติ ถงึ กล่มุ ป่วย และกลมุ่ ทม่ี ีภาวะแทรกซ้อน ตามโมเดลดังนี้

33 การพัฒนาสมรรถนะด้านสขุ ภาพดว้ ยสบช.โมเดล หมายถึง บุคลากรในสงั กดั สถาบันพระบรม ราชชนก ท่ไี ดร้ บั การคัดกรองภาวะสขุ ภาพ ดว้ ยเครื่องมือคัดกรองภาวะสุขภาพ “ปิงปองจราจร 7 ส”ี โดย กลมุ่ ป่วย ต้องเขา้ ระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยวธิ ใี ดวิธหี น่ึง ตลอดจนการไดร้ บั การพัฒนา และ เฝ้าระวงั ไม่ให้เข้าส่ภู าวะกลุ่มป่วยทมี่ ภี าวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วยทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน ตอ้ งไดร้ บั การกระต้นุ เตอื น และการให้คำปรกึ ษาดา้ นการดูแลรกั ษาท่ี ต่อเน่อื ง และควรมโี ปรแกรมตดิ ตาม และเฝ้าระวงั ทเ่ี กิดการมีสว่ นรว่ มอยา่ งเปน็ รูปธรรม ระบุจำนวนผู้ได้รับการพัฒนา (คน) วัน/เดือน/ปี กจิ กรรมท่ีดำเนนิ การ บุคลากร (คน) ชมุ ชน (จำนวน) ทีด่ ำเนินการ สายวิชาการ สายสนับสนนุ ระบุจำนวน และช่ือชุมชน

34 ตวั ช้ีวดั กลยุทธ์ท่ี 1.3.3 : รอ้ ยละของหลักสตู รฝกึ อบรมที่มีค่า NPS ในระดบั ดีมากข้ึนไป โปรดระบุหนว่ ยงาน..................................................................... โปรดระบุช่อื ผรู้ ายงาน.....................................ตำแหน่ง....................................เบอร์โทรตดิ ต่อ....................... คำอธิบาย หลักสูตรฝึกอบรม หมายถึง หัวข้อวิชา เนื้อหาสาระ วิธีการ กิจกรรม ประสบการณ์ ที่วิทยาลัย/ คณะในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก จัดใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมด้านความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ไปในทิศทางที่ได้ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ โดยหลักสูตรฝึกอบรมมีระยะเวลาอบรม ตั้งแต่ 1 เดอื นขน้ึ ไป ค่า NPS (Net Promoter Score) หมายถึง ผลการวัดระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและ ความซื่อสัตยข์ องผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ซึ่งจะสะท้อนให้บุคลากรผูจ้ ัดการฝกึ อบรม ได้ทราบความซื่อสตั ยข์ อง ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม โดยผูใ้ ชแ้ บบประเมนิ ดว้ ยคำถามเพยี ง 1 คำถาม เช่น “ท่านจะแนะนำใหญ้ าติหรือเพื่อน มาสมัครเข้ารบั การฝึกอบรมมากนอ้ ยเพยี งใด” (คะแนนเตม็ 10) โดยจะมีคะแนนใหเ้ ลอื กต้งั แต่ 0 ไปจนถึง 10 โดย ที่ 0 หมายถึง ไม่มที างเป็นไปได้ และ 10 หมายถงึ เป็นไปได้อย่างแนน่ อน และจากผลของคะแนนประเมินแบง่ กลมุ่ ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ออกเปน็ 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ผู้ที่ให้คะแนนตั้งแต่ 0 – 6 คะแนน เรียกว่ากลุ่ม Detractors คือ ผู้ที่ไม่พึงพอใจในการ เข้ารับการฝึกอบรม กลุ่มที่ 2 ผู้ที่ให้คะแนนตั้งแต่ 7 – 8 คะแนน เรียกว่ากลุ่ม Passive คือ ผู้ที่พึงพอใจ แต่ถ้ามี หน่วยงานอ่ืนท่ีจดั ฝกึ อบรมดีกวา่ ก็พรอ้ มจะไปเขา้ รบั การฝกึ อบรมที่อืน่ กลุ่มที่ 3 ผู้ที่ให้คะแนนตั้งแต่ 9 – 10 คะแนน เรียกว่ากลุ่ม Promotors คือ ผู้ที่พึงพอใจมาก พร้อมสนับสนุนการดำเนนิ การของวิทยาลัยและพรอ้ มเขา้ รับการฝึกอบรมอยา่ งแนน่ อน ระดับดีมาก หมายถึง ผลการคำนวณค่าคะแนน NPS ที่มีค่า 70 คะแนนขึ้นไป โดยนำเปอร์เซ็นต์ ของ Promotors – เปอรเ์ ซน็ ตข์ อง Detractors และนำผลการคำนวณมาเทยี บกับเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี คา่ NPS 80 ข้ึนไป เทา่ กบั ดีเย่ียม คา่ NPS 70 – 79.99 ขึ้นไป เทา่ กบั ดีมาก คา่ NPS 60 – 69.99 ขึน้ ไป เท่ากบั ดี ค่า NPS 50 – 59.99 ขึน้ ไป เทา่ กบั พอใช้ คา่ NPS นอ้ ยกว่า 50 เทา่ กับ ปรบั ปรุง

35 แบบรายงานค่า NPS จากหลักสตู รฝกึ อบรม คำอธบิ าย โปรดระบุข้อมลู ในช่อง  ตามผลการประเมินการจดั อบรมของหน่วยงานท่าน คา่ NPS 1.ขอ้ มูลทวั่ ไป วิทยาลัย............................................................................... (B-D) ผรู้ ายงาน.............................................................................. วัน เดือน ปี ที่รายงาน.......................................................... รอบการดำเนนิ งาน  1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 31 มีนาคม 2564  1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564 2. ผลการดำเนนิ งาน ลำดับ ชือ่ หลกั สตู รที่จัด จำนวนผเู้ ขา้ รับ จำนวนคนกล่มุ ค่าร้อยละกลุ่ม จำนวนคนกลมุ่ คา่ ร้อยละกลุ่ม อบรม การอบรม (E) Promotors (A) Promotors (B) Detractors (C) Detractors (D) รวมจำนวนหลกั สูตรทง้ั หมดท่ีมีคา่ NPS = ในระดบั 70 (ดีมาก) ข้ึนไป = หลักสูตร รวมจำนวนหลักสูตรทั้งหมดท่ีฝกึ อบรม = หลักสูตร

36 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการ แผนงาน / โครงการ / หลกั สตู ร............................................................................................................................ วัน / เดือน / ปี .................................................... คำชแ้ี จง โปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ ตัวเลขท่ีตรงกับความต้องการของท่านภายหลังเขา้ รบั การประชุม/อบรม สัมมนา ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผเู้ ข้ารบั โครงการ/อบรม/สมั มนา 1. หนว่ ยงาน................................................ 2. ตำแหนง่  ผู้บรหิ าร  อาจารย์  ผสู้ นบั สนุนการปฏิบตั งิ าน (สายสนบั สนุน)  อื่นๆ (โปรดระบ)ุ ....................................................................... 3. วุฒิการศึกษา  ปริญญาตรี  ปริญญาโท  ปรญิ ญาเอก  อน่ื ๆ โปรดระบุ.............................. 4. อายุ (ป)ี  ต่ำกว่า 30  31-40  41-50  มากกว่า 50 ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ าร โปรดทำเครื่องหมาย ✓ ตัวเลขตามความคิดเห็นของท่านเกี่ยวกับการแนะนำให้ผู้อื่นเข้ารับการสัมมนา/ อบรม/ประชุม หมายเลขมีความหมายดังนี้ 1 - 6 = ไม่แนะนำ 7 – 8 = ไม่แน่ใจ 9 - 10 = แนะนำแน่นอน เมื่อท่านผ่านการอบรม / เขา้ รบั การพัฒนาคร้ังน้ี ท่านคิดวา่ จะแนะนำการประชุม/อบรม/สัมมนาน้ี ให้กับคน ที่ทา่ นรูจ้ ักเพือ่ ใหเ้ ขา้ รบั การอบรม/พฒั นา/สมั มนาในระดบั คะแนนเทา่ ใด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 โปรดส่งคนื ผจู้ ดั ขอบคณุ ค่ะ

37 ตัวช้ีวดั กลยุทธ์ท่ี 2.2.1 ร้อยละของอัตราการเพมิ่ ของเงินรายได้จากการบริการวชิ าการ โปรดระบหุ นว่ ยงาน..................................................................... โปรดระบุชือ่ ผรู้ ายงาน.......................ตำแหน่ง....................................เบอรโ์ ทรตดิ ต่อ................... คำอธิบาย รายได้ หมายถึง รายรับของสถาบันพระบรมราชชนกที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมการ ให้บรกิ ารวชิ าการ การให้บริการวิชาการ หมายถึง การให้บริการของสถาบัน คณะ วิทยาลยั จากคณาจารย์ หรอื บคุ ลากรของสถาบนั พระบรมราชชนก โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญเชิงวิชาการ วิชาชีพ เพอื่ ใหบ้ ริการแก่ประชาชน ชมุ ชน บคุ ลากรจากสว่ นราชการ รฐั วิสาหกจิ เอกชนในการปฏิบตั ิงาน โดยเก็บคา่ ลงทะเบียน คา่ ธรรมเนียม หรอื ค่าจา้ งจากการให้บริการในลักษณะ ดังต่อไปน้ี - การวิเคราะห์ การสำรวจ การทดสอบ การตรวจสอบ การประมวลผล การวางระบบ การให้คำปรกึ ษา แนะนำ การใหบ้ ริการเคร่อื งมือและอปุ กรณ์ - การฝึกอบรม สมั มนา อภิปราย บรรยาย ประชมุ ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร - การวิจยั การคน้ ควา้ สำรวจ หรอื งานบริการวิชาการอืน่ ๆ ขัน้ ตอนการ เกณฑ์การให้คะแนน ดำเนนิ งาน อัตราเพ่ิมร้อยละ 1 ของรายไดจ้ ากการให้บริการวชิ าการของปที ีผ่ า่ นมา 1 อตั ราเพ่ิมร้อยละ 2 ของรายไดจ้ ากการให้บริการวชิ าการของปีท่ผี า่ นมา 2 อัตราเพิ่มร้อยละ 3 ของรายได้จากการใหบ้ ริการวิชาการของปีที่ผ่านมา 3 อตั ราเพ่ิมรอ้ ยละ 4 ของรายไดจ้ ากการให้บริการวชิ าการของปีทผี่ ่านมา 4 อัตราเพ่ิมรอ้ ยละ 5 ของรายได้จากการให้บริการวชิ าการของปีที่ผา่ นมา 5

38 ระบุกจิ กรรมที่ ปงี บประมาณ 2565 (ระบจุ ำนวนเงนิ ) ให้บรกิ ารวชิ าการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม รวมรายได้ รวมรายได้ ต.ค. - มี.ค. 65 เม.ย. - ก.ย. 65 ระบรุ ายไดจ้ ากการให้บรกิ ารวิชาการในปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63 - ก.ย. 64) จำนวน A บาท ระบุรายได้จากการให้บรกิ ารวชิ าการในปีงบประมาณ 2565 (ต.ค.64 - ก.ย. 65) จำนวน B บาท สูตรการคำนวณ รายได้ปี 2565 B - รายได้ปี 2564 A =C รายไดป้ ี 2564 A อตั ราเติบโตเพม่ิ ขนึ้ ของเงนิ รายได้ = C แปลงค่ารายไดเ้ ป็นรอ้ ยละ = C X 100 = D % ค่าร้อยละของรายได้ทเ่ี พ่ิมข้ีนจาก = D % ปงี บประมาณ 2564 ถงึ ปงี บประมาณ 2565

39 รายงานผลการดำเนินงานโครงการสตั วป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพษิ สุนขั บา้ ตามพระปณธิ าน ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควัฒน วรขัตตยิ ราชนารี วิทยาลัย................................................................... ปงี บประมาณ 2565

40 คำนำ ด้วยศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงมีพระปณิธานเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการดูแลทุกข์สุขของพสกนิกรชาวไทย รวมถึงสรรพ ชีวติ ภายใต้ร่มพระบารมใี ห้ได้รับความผาสุก อาศัยอำนาจตามคำสัง่ ที่ 214/2559 ลงวันที่ 29 กันยายน 2559 เรื่องแต่งตั้งอนคุ ณะกรรมการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวาง ควัฒน วรขัตติยราชนารี ซึ่งมีปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานคณะอนุกรรมการด้านการเฝ้าระวัง ปอ้ งกัน ควบคุม และดูแลรกั ษาโรคพษิ สุนัขบ้าในคน โดยอธิการบดสี ถาบันพระบรมราชชนก เปน็ อนกุ รรมการ เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จ สถาบันพระบรมราชชนก โดยกองบริการวิชาการ กองส่งเสริมวิชาการและคุณภาพการศึกษา กองกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ และวิทยาลัยในสังกัดทุกแห่ง ได้จัดทำโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ปี พ.ศ. 2565 โดยมีการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้เป็นแนวทางในการดำเนินงานโครงการ ฯ สถาบันพระบรมราชชนกจึงได้จัดทำแนวปฏิบตั ิเพือ่ ใช้ในการดำเนินงานโครงการสัตวป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานสำหรับ วิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก งานบรกิ ารวชิ าการ

41 สารบญั หน้า - ความเปน็ มาของการดำเนินโครงการสตั วป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสนุ ขั บ้า 1 ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจ้าน้องนางเธอ เจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขตั ตยิ ราชนารี พ.ศ. 2563 – 2565 2 - วัตถุประสงค์ของโครงการ 3 - การดำเนนิ โครงการ 3 - การส่งรายงานผลการดำเนนิ งาน

42 ความเป็นมาของการดำเนนิ โครงการ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงมีพระปณิธาน เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในการดูแลทุกข์สุขของพสกนิกรชาวไทย รวมถึงสรรพชีวิต ภายใต้ร่มพระบารมีให้ได้รับความผาสุก ตราบจนทุกวันนี้ และขออัญเชิญพระกระแสรับสั่งเมื่อครั้ง เสด็จทอดพระเนตร การดำเนินงานของศูนย์ดูแลสุนัขจรจัดของกองทัพเรือ ณ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 30 เมษายน ๒๕๕๙ ว่า \"ทรงห่วงใยปัญหาโรคพิษสุนัขบ้าที่เป็นปัญหาสำคัญของชาติ\" และทรงมี พระประสงค์ให้โรคพิษสุนัขบ้าหมดไปจากประเทศ โดยต้องค่อยเป็นค่อยไป สัตวแพทย์ควรมีบทบาทในการ ช่วยดำเนนิ การ รัฐบาลไดน้ อ้ มรบั ใส่เกล้าฯ สนองพระปณิธาน และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้มีคำส่ังที่ ๒๑๔/๒๕๕๙ ลงวันที่ 29 กันยายน 2559 แต่งตง้ั คณะกรรมการขบั เคลื่อนการดำเนนิ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และทรงมีพระกรุณาธิคุณรับเป็นประธานกรรมการ ฯ พร้อมพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าศิริภาจุฑา ภรณ์ ทรงรับเป็นรองประธาน ฯ เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการ ฯ เห็นผลเป็นรูปธรรม โดยมีองค์ประกอบ ของคณะกรรมการจากสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และกรม กอง ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการน้อมเกล้าจารึกพระเกียรติคุณที่ทรงมีต่อ พสกนิกรชาวไทย และสรรพชีวิตเนื่องในโอกาสวันมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖o พรรษา ของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจา้ น้องนางเธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี กรมพระศรสี วางควัฒน วรขัตติยราชนารี เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐ รัฐบาลเห็นสมควรดำเนินการโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี เป็นการเผยเพร่พระเกียรติ คุณใหป้ รากฏสบื ไป เพอ่ื ใหก้ ารดำเนนิ โครงการ ฯ เห็นผลเป็นรปู ธรรม รัฐบาลจึงอาศยั อำนาจตามความในมาตรา 11 (6) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่งตั้งคณะกรรมการ ขับเคลื่อนการดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ดร.สมเด็จ พระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซง่ึ มปี ลัดกระทรวงสาธารณสขุ เป็นกรรมการ และอาศยั อำนาจตามคำสัง่ สำนกั นายกรฐั มนตรี ที่ ๒๑๔/2๕๕๙ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕5๙ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี พร้อมทั้งจัดทำ ยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการดังกล่าวโดยกระทรวงสาธารณสุขดำเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้าน การเฝ้าระวังปอ้ งกันควบคุมโรค และดูแลรักษาโรคในคน

43 อธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข เป็นอนุกรรมการของคณะอนุกรรมการ ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และดูแลรักษาโรคพิษสุนัขบ้าในคน ตามคำสั่ง ที่ 1/2559 ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2559 เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการดำเนนิ โครงการสตั วป์ ลอดโรค คนปลอดภัย จาก โรคพิษสนุ ขั บ้า ตามพระปณธิ านศาสตราจารย์ ดร.สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อคั รราช กุมารี สถาบันพระบรมราชชนก รับผิดชอบการดำเนินงานตามแผนบูรณาการโครงการสัตว์ปลอดโรค คน ปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ จ้าฟ้าจุฬาภรณ วลยั ลักษณ์ อัครราชกมุ ารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยรชนารี ซึง่ มที ศิ ทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคพิษสุนัขบ้า ในปี 2๕๖๓ - ๒๕๖๘ ในกลยุทธ์ที่ ๒กลยุทธ์การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในคน โดยมีกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ การบูรณาการในการเรียนการสอน และการให้บริการสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภัยในชุมชน โดยมีตัวชี้วัด 2 ตัวชี้วัดคือ 1. ร้อยละของวิทยาลัยที่มีการนำเนื้อหาเกี่ยวกับสัตว์ปลอดโรคคนปลอดภัยไป บูรณาการในรายวชิ าที่เกี่ยวข้อง 2. จำนวนวิทยาลัยที่มโี ครงการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคมเพือ่ สัตวป์ ลอดโรคคน ปลอดภัยในชุมชน สถาบันพระบรมราชชนก มีหน้าที่ในการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายแห่งรฐั เพื่อให้มีความรู้ ความสมารถทางวชิ าการและทกั ษะในวชิ าชีพ ใหบ้ รกิ ารวิชาการแกส่ ังคม โดยเน้นความร่วมมือกับชุมชน ตามมาตรา ๘ (๑) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ กองบริการวิชาการ จึงได้จัดทำโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตาม พระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรี สวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ปี พ.ศ. ๒5๖๓ - 2565 โดยมีกองบริการวิชาการ กองส่งเสริมวิชาการและ คุณภาพการศึกษา กองกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และสหเวชศาสตร์ วทิ ยาลัยในสงั กดั สถาบนั พระบรมราชชนก และภาคีเครือขา่ ยจากกระทรวงมหาดไทย กรม ควบคุมโรค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมการปกครองส่วน ท้องถนิ่ สมาคมสนั นิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหา วิทยลัยเกษตรศาสตร์ ผ้เู ช่ยี วชาญทีเ่ กยี่ วขอ้ งในพ้นื ท่ี และผ้เู ชยี่ วชาญโรคพิษสุนขั บา้ จากทุกหน่วยงาน ร่วมกัน ดำเนินการให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าสำหรับสถานศึกษาและชุมชน มีกิจกรรมการบูรณาการ การเรียน การสอนและการบริการวิชาการแก่สังคม และชุมชนเพื่อสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า และการให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้าสำหรับประชาชนในชุมชน โดยเน้นชุมชนที่เป็นชุมชนเป้าหมายของ วิทยาลัยที่เปน็ พื้นที่เสี่ยง และเป็นพื้นท่ีเฝ้าระวังโรคพิษสนุ ัขบา้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการสนอง พระปณธิ านในการกำจดั โรคพษิ สุนัขบ้าใหห้ มดไปจากประเทศไทย วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย พื้นที่เสี่ยง และพื้นท่ีเฝ้าระวัง มีความรู้ความ เข้าใจในการเลี้ยงสุนัข ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าทั้งในคนและสัตว์ กระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัว ต่อการควบคมุ โรคพิษสุนขั บ้า และปอ้ งกันควบคมุ โรคพิษสนุ ขั บา้ ๒. เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาในหน่วยงานสังกัดสถาบนั พระบรมราชชนก ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และปอ้ งกันควบคุมโรคพษิ สนุ ัขบ้าทท่ี ันสมยั

44 ๓. เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่ประชาชนและบุคลากร เกี่ยวกับ โรคพิษสุนัขบ้าแก่ชุมชนพื้นที่ เป้าหมายของวิทยาลัยในสงั กัดสถาบนั พระบรมราชชนก ๔. เพ่อื ใหเ้ กดิ เครือข่ายความรว่ มมือกบั หน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อใหบ้ รกิ ารวิชาการแก่สงั คม ในการพฒั นาชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ ปลอดภัยจากโรคพิษสนุ ขั บ้าอย่างย่งั ยนื การดำเนินโครงการ 1. การประชาสัมพันธโ์ ครงการ สถาบันพระบรมราชชนก ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการสตั ว์ ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี พ.ศ. 2563 – 2565 ผา่ นเว็ปไซต์ ของสถาบนั พระบรมราชชนก 2. วิทยาลัยกำหนดกรอบเวลาในการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมของวทิ ยาลัยผ่านเวป็ ไซต์ของสถาบนั พระบรมราชชนก www.pi.ac.th 3. วิทยาลัยนำภาพกิจกรรมที่ไปดำเนินการกับชุมชนเป้าหมาย หรือ บูรณาการโรคพิษสุนัขบ้ากับ การเรียนการสอน ประชาสัมพันธ์ผา่ นเว็ปไซต์ของสถาบนั พระบรมราชชนก www.pi.ac.th การส่งรายงานผลการดำเนินงาน วิทยาลัยส่งรายงานผลการดำเนินงานโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ภายหลังการดำเนินกิจกรรมสิ้นสุดได้ที่เว็ปไซต์ของสถาบันพระบรมราช ชนก www.pi.ac.th ในประเดน็ 1. การเพิม่ สาระรายวิชาท่ีทนั สมยั เร่อื งโรคพษิ สุนขั บา้ 2. การจดั การเรยี นการสอนทม่ี กี ารบรู ณาการกบั ภารกจิ อนื่ 3. การบริการวชิ าการแกส่ งั คมและชมุ ชน ฯลฯ

45 ตัวอย่างเนือ้ หาการเพม่ิ สาระรายวชิ าที่ทนั สมัยเรอื่ งโรคพิษสุนขั บา้ 1. ชือ่ -สกลุ ผู้รายงาน 2. สถานะของผู้รายงานที่เกี่ยวข้องกบั รายวิชาท่ีเพิ่มสาระท่ีทนั สมัยเร่ืองพิษสุนขั บ้า 3. รายวิชาทเ่ี พ่มิ สาระที่ทันสมยั เรอ่ื งโรคพิษสุนัขบา้ / ทบี่ ูรณาการกับภารกิจอนื่ 4. หลกั สูตร 5. ปกี ารศกึ ษาที่มีการเรยี นการสอนสำหรบั รายวิชาน้ี 6. รายชอื่ คณาจารย์ทีส่ อน 7. นักศกึ ษาชั้นปที ี่ ..... จำนวนนักศกึ ษาท่ีผา่ นการเรียนการสอนในรายวิชานี้..........คน 8. ผลทเ่ี กิดขน้ึ กบั นักศึกษา ตวั อย่างการจัดการเรียนการสอนท่มี ีการบูรณาการกับภารกิจอ่นื 1. ชือ่ -สกุล ผ้รู ายงาน 2. สถานะของผรู้ ายงานที่เก่ยี วขอ้ งกับการจัดการเรียนการสอน ทมี่ กี ารบรู ณาการกบั ภารกจิ อื่น 3. รายวชิ าทมี่ ีการบูรณาการกบั ภารกิจอน่ื 4. ภารกจิ ที่บูรณาการ 5. หลกั สูตร 6. ปีการศึกษาทีม่ ีการเรยี นการสอนสำหรบั รายวชิ านี้ 7. นกั ศกึ ษาช้นั ปที ่ี....... 8. รายชอื่ คณาจารยท์ ่สี อน 9. จำนวนนกั ศกึ ษาที่ผา่ นการเรยี นการสอนในรายวชิ าน้.ี ....คน 10. ผลทเ่ี กิดขึน้ กบั นักศกึ ษา อาจารย์ และชุมชน

46 การบูรณาการโรคพษิ สุนัขบ้ากับการบรกิ ารวิชาการแกส่ ังคม 1. วทิ ยาลัยประชุมร่วมกบั ชมุ ชนเปา้ หมายเพื่อศึกษาสภาพปญั หาโรคพษิ สุนัขบ้า ในชุมชน (ซงึ่ ควรเปน็ ปัญหา ของชมุ ชน)* 2. จดั ทำโครงการเพื่อดำเนนิ การสตั ว์ปลอดโรคคนปลอดภยั จากโรคพิษสนุ ัขบา้ 3. จดั ทำแผนการให้บรกิ ารเพ่ือแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนขั บ้าในชุมชนร่วมกบั ชมุ ชนและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง / ผ้เู กี่ยวข้อง เช่น ปศสุ ตั ว์ อบต/อปท อสม กำนัน ผใู้ หญ่บา้ น ฯลฯ 4. ให้บริการเพอ่ื แก้ไขปัญหาโรคพษิ สนุ ัขบ้าในชมุ ชนตามแผนที่วางไว้และควรมีหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องข้องรว่ ม ดำเนินกิจกรรมรว่ มด้วยเพื่อใหเ้ กดิ ความย่ังยนื 5. ตดิ ตามการแก้ไขปัญหาโรคพิษสุนัขบา้ ในชมุ ชนเป้าหมายเปน็ ระยะเพ่ือให้คำปรึกษา / กระตุ้นให้เกดิ การ ดำเนนิ งานทตี่ ่อเนือ่ ง 6. ประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ ตามแบบรายงานผล การให้บริการวิชาการแก่สงั คม

47 แบบรายงานสรุปผลการเพิ่มสาระรายวชิ าที่ทนั สมัย วิทยาลยั ..................................................................................................................... .................................. หลักสูตร....................................................................................................................................................... ชอ่ื วิชาทเ่ี พมิ่ สาระรายวิชา........................................................................................................................... นักศกึ ษาชน้ั ปีท่ี .....................ภาคการศึกษา..................................ปกี ารศึกษา............................................ หัวขอ้ เนอ้ื หา วิธกี ารสอน วิธกี ารประเมินผล หนว่ ยท่.ี .................. เรอื่ ง........................ หัวขอ้ ย่อย:โรคพิษสุนขั บ้า ผลทไี่ ดร้ ับ ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ........................................................................... ............................................................................................................................. ............................................... …………………………………………………………….. (....................................................................) ผ้รู ายงาน........................................................ ตำแหนง่ .........................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook