คมู่ ือการนเิ ทศ เพื่อพฒั นาความสามารถในการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย นำงสำวศุภวลั ย์ ชูมี ศึกษำนิเทศกช์ ำนำญกำร สำนกั งำนเขตพนื้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำสตลู สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธิกำร
คำนำ คู่มอื การนิเทศเพอื่ สง่ เสรมิ ความสามารถในการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุกของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ เป็นเอกสาร ประกอบการนเิ ทศ ติดตามการปฏิบัตกิ ารนเิ ทศโดยมกี ลุ่มเปา้ หมายเปน็ ครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ สังกดั สานักงานเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูล มีวตั ถุประสงคห์ ลักเพ่ือพฒั นาความสามารถในจัดการเรียนรเู้ ชิงรุกของครูผู้สอน ภาษาอังกฤษ โดยการเปรียบเทยี บความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกก่อนและหลังไดร้ ับการพัฒนาผ่านการ นิเทศที่นากระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการพฒั นาบทเรียนร่วมกันเปน็ เครื่องมือในการนิเทศ ชั้นเรียนของครูผู้สอน ดาเนินการภายใต้จุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ส่งเสริมการ จัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วม และมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้และสมรรถนะของผู้เรียน (Assessment for Learning) ทุกระดับ อีกทั้ง การนิเทศเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนภาษาองั กฤษยังสอดคลอ้ งกบั จุดเน้นของสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาสตูล 19 ข้อ ที่เน้นส่งเสริมความเข้มแข็งของการนิเทศการศึกษา เพื่อปรับบทบาทของ ครูผู้สอนจากผู้นาหรือผู้กากับความรู้ เป็นผู้อานวยการเรียนรู้ สร้างเครือข่ายการพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน ทั้งด้านการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดประเมินผล การใช้สื่อการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษาและการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson Study) เป็นแนวทางในการนิเทศการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรูค้ วามสามารถตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พร้อมพัฒนาสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะใน อนาคตได้ นางสาวศภุ วัลย์ ชูมี ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสตลู ก
คำชแี้ จงการใชค้ มู่ อื การใชง้ านคมู่ อื การนเิ ทศเพ่อื สง่ เสริมความสามารถในการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุกของครูผู้สอน ภาษาองั กฤษ เป็นเอกสารสำหรบั การศกึ ษาดว้ ยตนเอง มขี ั้นตอนการใชง้ านตามลำดบั ดงั น้ี ขั้นตอนท่ี 1 ให้ทา่ นศกึ ษาคมู่ อื สว่ นท่ี 1 เพอ่ื วางแผนลำดับและระยะเวลาการศึกษา ขั้นตอนที่ 2 ให้ทา่ นทำแบบทดสอบก่อนการศึกษาคมู่ ือ (Pre-test) จำนวน 30 ขอ้ ขน้ั ตอนที่ 3 ให้ทา่ น ศกึ ษา สาระสำคัญ และทำกจิ กรรมท้ายหนว่ ย หนว่ ยท่ี 1 แนวคดิ : แนวคดิ ของการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ ข้นั ตอนที่ 4 ให้ทา่ นศกึ ษา สาระสำคญั และทำกจิ กรรมท้าย หนว่ ยท่ี 2 ทิศทาง : รูปแบบการ จัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ขั้นตอนที่ 5 ให้ทา่ นศกึ ษา สาระสำคญั และทำกิจกรรมทา้ ย หนว่ ยที่ 3 วางกรอบ : การออกแบบ การจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก ขนั้ ตอนท่ี 6 ให้ทา่ นศึกษา สาระสำคัญ และทำกจิ กรรมทา้ ย หนว่ ยที่ 4 ตอบโจทย์ : เทคนคิ วิธีการ จดั การเรียนรู้เชิงรกุ วิชาภาษาองั กฤษ ขน้ั ตอนที่ 7 ให้ท่านทำแบบทดสอบหลังการศึกษาคู่มือ (Post-test) จำนวน 30 ข้อ ขอใหผ้ ู้ศึกษา ศกึ ษาเอกสารใหค้ รบทกุ เล่ม ทำแบบทดสอบก่อนการศึกษา ปฏิบัติกจิ กรรมท้ายเล่ม ให้ครบถ้วน และทำแบบทดสอบหลงั การศึกษาตามลำดบั ** การสง่ กจิ กรรมฝกึ ปฏิบตั ิท้ายหน่วยที่ 1- 4 ขอใหท้ ่านสแกนไฟล์เป็น .doc หรอื .pdf ส่งทาง link : https://forms.gle/JoUQ7AU51YxSny6W8 หรือสแกน QR Code ข
สารบญั คานา ก คาชแี้ จง ข สารบญั ค สว่ นที่ 1 บทนา 1 ความสาคญั และความเปน็ มาของการพัฒนาคู่มอื 1 วัตถุประสงค์ 2 เป้าหมาย 2 ขอบขา่ ยเนือ้ หา 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3 คาแนะนาการใช้คู่มือ 3 ส่วนที่ 2 การจัดการเรียนร้เู ชิงรุกสาหรบั ครูผู้สอนภาษาองั กฤษ 5 แบบทดสอบก่อนการใช้คมู่ ือ 6 หนว่ ยที่ 1 แนวคดิ : แนวคิดของการจดั การเรียนรู้เชงิ รกุ 13 กจิ กรรมฝกึ ปฏิบตั ิ 22 หน่วยที่ 2 ทศิ ทาง : รูปแบบการจัดการเรียนร้เู ชงิ รุก 23 กจิ กรรมฝึกปฏิบตั ิ 47 หน่วยท่ี 3 วางกรอบ: การออกแบบการจัดการเรยี นรู้เชงิ รุก 48 กจิ กรรมฝึกปฏิบตั ิ 66 หน่วยที่ 4 ตอบโจทย์ : เทคนคิ วธิ ีการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ วิชาภาษาองั กฤษ 67 กจิ กรรมฝึกปฏิบตั ิ 84 แบบทดสอบหลังการใช้คู่มือ 86 สว่ นท่ี 3 การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศโดยใช้กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) 93 สาหรบั ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ 94 กรอบแนวคิดในการนเิ ทศ ค
วัตถุประสงค์ของการนเิ ทศ 95 ประเด็นการนิเทศ 95 กระบวนการนเิ ทศ 95 เคร่ืองมอื การนิเทศ 101 ตัวชี้วัดความสาเรจ็ 101 บรรณานุกรม จ ง
สว่ นท่ี 1 บทนำ ความสำคญั และความเปน็ มาของการพฒั นาคมู่ อื จากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรยี นรู้โดยการนเิ ทศการสอนหรือการนเิ ทศการเรยี นรู้ของโรงเรยี ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล ได้ศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนของครู พบว่า ครูผู้สอน สว่ นใหญ่ เนน้ บทบาทสำคัญท่กี ารนำกิจกรรมของครู การนำเสนอเนอ้ื หาความรู้ให้ครบถ้วน แต่นักเรียนมีส่วนร่วม ในการคดิ แสดงความคิดเห็น หรอื ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมค่อนข้างนอ้ ย ความกระตือรอื รน้ และแรงจูงใจในการเรียนอยู่ใน ระดับต่ำ ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการเรียนรู้ จึงมีความจำเปน็ ต้องปรับกระบวนทัศน์ในการจัดการเรียนรู้ของครู จากการนำเสนอเนื้อหาความรู้ นักเรียนเปน็ ผู้รับ ไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักเรยี นได้สร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเองผ่านกลวิธีการเรียนรู้เชิงรุกท่ีหลากหลาย ทั้งนี้การปรบั กระบวนทัศน์การจัดการเรียนรูด้ ังกลา่ ว จำต้องพฒั นาควบคู่กบั การสรา้ งองค์ความรูแ้ ละเสริมประสบการณก์ ารจดั การเรียนรู้เชงิ รุกใหแ้ ก่ครูผู้สอนทีส่ ามารถ นำไปปรับใช้ได้ในชั้นเรียน จึงเป็นที่มาของการสร้างและพัฒนาคู่มือการนิเทศเพื่อส่งเสริมความสามารถในการ จดั การเรยี นร้เู ชงิ รุกของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ จัดทำขึน้ เพือ่ พัฒนาความรู้เก่ียวกับการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ท้ังด้าน แนวคิด กระบวนการและการนำไปใช้ รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนได้ปรบั เปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้ เป็นการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ โดยคมู่ อื การนิเทศเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิง รุกของครูผู้สอนภาษาอังกฤษมีแนวทางการศึกษาที่จะกำหนดให้ครูผู้รับการนิเทศได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามลำดับโครงสร้างของคู่มือ ได้แก่ ทำแบบทดสอบก่อนการศึกษา ศึกษาหน่วย ปฏิบัติกิจกรรมท้ายหน่วย และ ทดสอบหลงั การศึกษาคู่มอื คู่มอื มเี นอื้ หาประกอบด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 ส่วนนำ กลา่ วถึงความสำคัญและความเป็นมาของการพัฒนาคู่มือ วตั ถปุ ระสงค์ ขอบข่ายเน้ือหา ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั และคำแนะนำในการใชค้ ู่มือ ส่วนที่ 2 การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ กล่าวถึงองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้เชิงรุก แบ่งออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 1 แนวคิด : แนวคิดของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก หน่วยที่ 2 ทศิ ทาง : รูปแบบการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก หน่วยที่ 3 วางกรอบ : การออกแบบการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก หน่วยท่ี 4 ตอบโจทย์ : เทคนคิ วิธกี ารจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุกวิชาภาษาอังกฤษ สว่ นที่ 3 การปฏบิ ัติการนเิ ทศโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (PLC) สำหรับครูผู้สอน ภาษาอังกฤษ กลา่ วถึง กรอบแนวคิดในการนิเทศ วัตถปุ ระสงค์ในการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ กระบวนการนิเทศ เคร่ืองมอื การนเิ ทศ และตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ ซ่ึงคู่มอื ฉบบั นเ้ี ป็นเครือ่ งมอื สำคัญในการนิเทศเพ่อื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกให้แก่ ครูผสู้ อนภาษาองั กฤษ ในสังกดั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสตูล
วัตถุประสงค์ คูม่ อื การนิเทศเพอ่ื สง่ เสรมิ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ มีวัตถปุ ระสงคใ์ นการดาเนินงาน ดงั น้ี 1. เพือ่ สรา้ ง พัฒนาและเผยแพร่คมู่ ือการจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกสาหรับครูผู้สอนภาษาองั กฤษ สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสตูล 2. เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ครผู ู้สอนภาษาอังกฤษไดพ้ ัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรุกผ่าน การศกึ ษาคมู่ อื ด้วยตนเอง 3. เพ่อื เปน็ แนวทางการจัดการเรียนร้เุ ชงิ รกุ สาหรับครูผู้สอนภาษาองั กฤษ ใหส้ ามารถออกแบบและจดั การ เรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เปา้ หมาย เชิงปริมาณ ครูผ้สู อนภาษาองั กฤษ สังกดั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสตลู เชิงคณุ ภาพ ครูผ้สู อนไดร้ บั การนิเทศ ตดิ ตาม แนะนา ชว่ ยเหลือใหส้ ามารถจดั การเรียนรู้เชิงรกุ วชิ าภาษาองั กฤษได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ขอบข่ายเนอื้ หา คมู่ อื การนิเทศเพอ่ื ส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ มี สว่ นประกอบของเนือ้ หา ดังนี้ สว่ นที่ 1 ส่วนนำ กล่าวถึงความสำคญั และความเป็นมาของการพัฒนาคู่มอื วตั ถปุ ระสงค์ ขอบข่ายเนื้อหา ผลที่คาดว่าจะได้รบั และคำแนะนำในการใชค้ มู่ อื มีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผศู้ ึกษาไดท้ ราบภาพรวม ความสำคัญ วัตถุประสงค์ของคมู่ อื การนิเทศ และเพอ่ื ให้ ทราบแนวทางการใช้คมู่ อื การนิเทศให้มปี ระสทิ ธิภาพ สว่ นที่ 2 การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ สำหรบั ครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ กลา่ วถงึ องค์ความรู้เกีย่ วกบั การจดั การ เรยี นร้เู ชงิ รกุ แบง่ ออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยท่ี 1 แนวคดิ : แนวคิดของการจัดการเรียนร้เู ชงิ รุก หน่วยที่ 2 ทิศทาง : รูปแบบการจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ หนว่ ยที่ 3 วางกรอบ : การออกแบบการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก หน่วยท่ี 4 ตอบโจทย์ : เทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรียนร้เู ชิงรุกวิชาภาษาอังกฤษ 2
มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื สร้างความร้คู วามเขา้ ใจในเน้อื หาเกีย่ วกบั การจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก ต้ังแตใ่ นเชิงทฤษฎี ได้แก่ แนวคดิ ความหมาย ลกั ษณะของการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ และในเชงิ ปฏบิ ตั ิ ได้แก่ รปู แบบ วธิ ีการ แนว ทางการออกแบบการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ และการนำไปใช้ในการจดั การเรยี นรวู้ ิชาภาษาอังกฤษ ซ่งึ ได้จดั เรียง เนื้อหาจากทฤษฎีสู่การปฏบิ ัติตามลำดบั สว่ นท่ี 3 การปฏบิ ัติการนเิ ทศโดยใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) สำหรบั ครูผู้สอน ภาษาองั กฤษ กลา่ วถึง กรอบแนวคิดในการนเิ ทศ วตั ถปุ ระสงค์ในการนเิ ทศ ประเดน็ การนเิ ทศ กระบวนการนเิ ทศ เครือ่ งมอื การนเิ ทศ และตัวช้ีวัดความสำเรจ็ มวี ัตถุประสงค์ เพ่อื ให้ผู้ศึกษาได้ทราบวิธีปฏบิ ัติ แนวทาง กำหนดการ ในการนเิ ทศของผ้นู เิ ทศ และทราบ บทบาท การมีส่วนรว่ ม และตัวอยา่ งสถานการณ์ของสถานศกึ ษาในการนเิ ทศผ่านกระบวนการชมุ ชนแหง่ การ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ผลที่คาดวา่ จะได้รบั ครูผ้สู อนภาษาองั กฤษ สังกดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสตลู ได้รับการนิเทศ ติดตาม แนะนา ช่วยเหลือให้สามารถจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รุกวิชาภาษาอังกฤษไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ คาแนะนาการใช้คู่มือ การใชง้ านค่มู อื การนเิ ทศเพือ่ ส่งเสริมความสามารถในการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุกของครูผู้สอนภาษาองั กฤษ เปน็ การศึกษาด้วยตนเองท่ผี ู้ศึกษาควรกำหนดแผน ระยะเวลา และเปา้ หมายการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั การนิเทศ มขี นั้ ตอนการใช้งานตามลำดับ ดงั น้ี ขัน้ ตอนที่ 1 ศกึ ษาคู่มือส่วนท่ี 1 เพ่อื วางแผนลำดับการศกึ ษา ข้ันตอนท่ี 2 ทำแบบทดสอบกอ่ นการศกึ ษาคู่มือ (Pre-test) ขั้นตอนท่ี 3 ศึกษา สาระสำคัญ และทำกิจกรรมท้ายหนว่ ย หน่วยท่ี 1 แนวคิด : แนวคิดของการจดั การ เรยี นรเู้ ชงิ รุก ขั้นตอนที่ 4 ศกึ ษา สาระสำคัญ และทำกจิ กรรมท้าย หนว่ ยท่ี 2 ทศิ ทาง : รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ เชิงรกุ ขน้ั ตอนท่ี 5 ศกึ ษา สาระสำคัญ และทำกจิ กรรมท้าย หนว่ ยท่ี 3 วางกรอบ : การออกแบบการจัดการ เรียนรูเ้ ชิงรุก ขน้ั ตอนที่ 6 ศึกษา สาระสำคญั และทำกิจกรรมท้าย หนว่ ยท่ี 4 ตอบโจทย์ : เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ เชิงรุกวิชาภาษาองั กฤษ ข้นั ตอนท่ี 7 ทำแบบทดสอบหลังการศึกษาคู่มือ (Post-test) ทงั้ น้ี ขอให้ผู้ศึกษา ศกึ ษาเอกสารโดยละเอยี ดให้ครบถ้วนทุกหนว่ ย ทำแบบทดสอบก่อนการศึกษา ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมท้ายเลม่ ให้ครบถว้ น และทำแบบทดสอบหลังการศกึ ษาตามลำดับ 3
แผนการศกึ ษาคมู่ อื การนเิ ทศเพอื่ พฒั นาความสามารถในการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ (Self-Study Plan) หวั ขอ้ เรอ่ื ง ระยะเวลา เปา้ หมายการศกึ ษา หนว่ ยที่ 1 หน่วยที่ 2 หนว่ ยที่ 3 หนว่ ยท่ี 4 บนั ทกึ 4
สว่ นที่ 2 การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ สำหรบั ครผู สู้ อนภาษาองั กฤษ 5
แบบทดสอบก่อนการศึกษาคู่มือการนิเทศเพือ่ สง่ เสริมการพฒั นาการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก สาหรบั ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษ คาชีแ้ จง ให้ทา่ นเลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ ง 1. ข้อใด ไมใ่ ช่ การจัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ (Active Learning) ก. เป็นกระบวนการเรียนการสอนทใี่ หผ้ ้เู รยี นมีสว่ นรว่ มในชั้นเรยี น ข. เปน็ การลงมือปฏบิ ตั ิโดยครูเปรียบเปน็ เจ้าของความรู้ ค. ผู้เรยี นสรา้ งองคค์ วามรไู้ ด้ เขา้ ใจตนเอง ใช้ศกั ยภาพของตนเองในการคิดวเิ คราะห์ ง.สร้างสรรค์ผลงานตามสิ่งท่ตี นเองสนใจอยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกับทักษะและสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 2. วิธีการสอนแบบใดที่สอดคลอ้ งกับการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก ก. ใหน้ ักเรยี นจดเนือ้ หาจากใบงาน ข. แบ่งกล่มุ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ป้นั ตุก๊ ตาหมีตามแบบในใบงาน ค. นกั เรยี นอภปิ รายแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารดูแลตนเองในสถานการณ์ Covid-19 ง. ครแู จกบัตรคา ใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ กันออกมาอา่ นหน้าชั้นเรยี น 3. ขอ้ ใดคือความหมายของการจัดการเรยี นรูเ้ ชิงรกุ ก. การจัดการเรียนรู้ท่ใี ช้เฉพาะตาราเรียนเป็นหลัก ข. การจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ใหผ้ ูเ้ รียนรับความรจู้ ากครู ค. การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ให้นักเรียนไดท้ ากจิ กรรมเคลอ่ื นไหว ง. การจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นกิจกรรมที่ต้องสอ่ื สาร คิด อภปิ รายร่วมกัน 4. วิธกี ารเรยี นรู้รูปแบบใดเป็นผลจากการเรียนรู้เชงิ รุกมากทสี่ ุด ก. Demonstrations ข. Discussion ค. Teach others ง. Practice Doing 5. การบรรยายหรอื การสอนโดยใหผ้ เู้ รยี นรับความรู้ เหมาะทจี่ ะใชใ้ นข้นั ตอนใด ก. เมื่อตอ้ งการนาเสนอสงิ่ ใหม่ ข. เมือ่ ตอ้ งการควบคมุ ช้ันเรียน 6
ค. เมอ่ื ต้องการใหน้ กั เรยี นนาเสนอ ง. เม่ือต้องการให้นกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรม 6. ข้อใดไมใ่ ช่ลักษณะสาคัญที่ของการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก ก. จัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ีเ่ ปน็ จรงิ และคำนงึ ถึงคุณคา่ ทจ่ี ะเกิดข้ึนในอนาคต ข. จัดกิจกรรมการเรยี นร้เู ป็นสหวทิ ยาการและลงมือปฏบิ ตั ิในสถานการณ์ทเ่ี ปน็ ชวี ิตจริง ค. จัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ เ่ี ปน็ แบบแผนและสาธติ ให้นักเรียนทดลองปฏิบัติตาม ง. จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้นกั เรียนทางานเป็นทมี ในสถานการณท์ ี่เปน็ ชวี ติ จริง 7. ข้อใดไมใชแ่ นวคิดการเรียนรู้เชิงรุก ก. เปน็ การพฒั นาศกั ยภาพการคิด การแกป้ ญั หาและการนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ ข. เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นร้สู ูงสุด ค. ครเู ป็นผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรยี นร้เู พอ่ื เป็นผใู้ หข้ ้อสรปุ หลังจบบทเรยี น ง. ผูเ้ รยี นไดบ้ รู ณาการข้อมลู ขา่ วสารสารสนเทศสู่ทกั ษะการคดิ วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ค่า 8. กิจกรรมใดเป็นการจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ Active Learning รูปแบบร่วมมือ ก. Think-Pair-Share ข. Collaborative learning group ค. Student-led review sessions ง. Analysis or reactions to videos 9. ขอ้ ใด ไม่ใชว่ ธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรเู้ ชิงรุก ก. ประเมินโดยการสงั เกตพฤติกรรม ข. ประเมินโดยผเู้ ชย่ี วชาญ ค. ประเมนิ โดยการสนทนา ง. ประเมนิ ตนเองของผ้เู รยี น 10. ข้อใดกลา่ วถงึ การประเมินตามสภาพจรงิ ไม่ถูกตอ้ ง ก. เปน็ ประเมนิ ด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย ข. เป็นการประเมินท่ีสะท้อนความสามารถทีแ่ ท้จรงิ ของผเู้ รียน ค. เป็นการประเมินที่เน้นการปฏิบัตคิ วบคู่กับการคิดวเิ คราะห์ ง. เป็นการประเมนิ ทีก่ าหนดเกณฑ์ให้สอดคลอ้ งหรือใกลเ้ คียงกับชวี ิตจริง 7
11. เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการประเมนิ การสังเกตพฤติกรรม คอื ขอ้ ใด ก. แบบมาตรประเมินค่า ข. แบบตรวจสอบรายการ ค. แบบบนั ทกึ ง. ถกู ทุกข้อ 12. ขอ้ ใดคือพ้นื ฐานแนวคิดของการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ ก. ให้ผเู้ รยี นเป็นผมู้ ีบทบาทหลกั ในการกากับการเรียนรูข้ องตนเอง ข. ครกู ากบั ดูแลให้ผู้เรียนอยู่ในระเบยี บวนิ ยั อย่างเคร่งครดั ค. บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรยี นมีอิทธิพลตอ่ การเรยี นรู้ ง. จานวนสือ่ ทใ่ี ชส้ ง่ งผลตอ่ พฒั นาการเรยี นรู้อย่างมีนยั ยสาคญั 13. การใชบ้ ัตรคา การใช้เพลง หรือการใช้สตกิ เกอรเ์ สริมพลัง เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบใด ก. เทคนิคการสอน ข. วิธีการจัดการเรยี นรู้ ค. รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ ง. ปรชั ญาการจดั การศึกษา 14. กระบวนการจัดการเรยี นร้โู ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน มีก่ีขนั้ ตอน ก. 4 ขนั้ ตอน ข. 5 ข้ันตอน ค. 6 ขั้นตอน ง. 7 ข้นั ตอน 15. กิจกรรมเชิงสารวจ เชงิ สร้างสรรค์ และเชงิ การแสดงออก เป็ประเภทของกจิ กรรมในรปู แบบการเรยี นรใู้ ด ก. รูปแบบการเรียนรเู้ ชงิ ประสบการณ์ ข. รูปแบบการเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ค. รูปแบบการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน ง. รปู แบบการเรียนรู้โดยใช้กจิ กรรมเปน็ ฐาน 16. หวั ใจสาคัญของการเรียนรู้ผ่านเกม (Game-based learning) คือสง่ิ ใด ก. เพศและวยั ของนกั เรยี น ข. มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั 8
ค. การออกแบบเกมทม่ี ีประสิทธภิ าพ ง. เลอื กกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสม 17 “นกั เรียนแบง่ กลุม่ กาหนดเป้าหมาย แบ่งบทบาทหนา้ ท่ีภายในกลมุ่ ” เปน็ ขัน้ ตอนในในการจดั กิจรรมการ เรียนรู้โดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ก. ขน้ั ใหค้ วามรพู้ ืน้ ฐาน ข. ข้นั กระตนุ้ ความสนใจ ค. ข้ันจดั กลุ่มรว่ มมือ ง. ขน้ั แสวงหาความรู้ 18. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วงจรการจัดการเรยี นรเู้ ชิงประสบการณ์ ก. มีการลงมือปฏบิ ตั ิเชิงรุก ข. สะท้อนผลจากการสงั เกต ค. สร้างแนวคดิ เชงิ นามธรรม ง. สรปุ หลกั การจากผู้มปี ระสบการณ์ 19. กิจกรรม Active Reading รูปแบบใดที่ต้องการให้ผู้เรยี นทาความเข้าใจข้อมลู ที่เป็นรปู ภาพผสมกับ สัญลกั ษณ์แทนคา ก. Closing ข. Pictogram ค. Labelling ง. Emphasizing 20. กจิ กรรมทสี่ ่งเสริม Active Writing รปู แบบใดทส่ี อดคล้องกบั ชีวิตประจาวันของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา ตอนต้นมากทส่ี ดุ ก. Diary ข. Drama ค. Newspaper ง. Presentation 9
21. กจิ กรรมส่งเสริมการทางานเป็นทีมรปู แบบใด ทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนทุกคนไดพ้ ดู เชงิ วพิ ากษ์ตอ่ ผลงานของ เพ่ือนในกลมุ่ ก. การหาข้อยตุ ิ ข. การพูดรอบวง ค. การแก้ปญั หาดว้ ยการต่อภาพ ง. การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แบบหมนุ เวียน 22. หากหอ้ งเรียนของทา่ น มีนกั เรยี นทพี่ ูดนอ้ ย ไม่คอ่ ยกลา้ แสดงออก ท่านจะกระตนุ้ ให้นกั เรยี นของทา่ นร่วม แสดงความคิดเห็นไดม้ ากขึน้ ด้วยวธิ กี ารใด ก. การพดู รอบวง ข. การเขยี นรอบวง ค. การอภปิ รายเป็นทมี ง. คดิ เด่ยี ว คิดคู่ ร่วมกันคดิ 23. “How can you protect yourself from cyberbullying?” เป็นคาถามประเภทใดตามข้นั พทุ ธิพสิ ยั ก. ถามความเข้าใจ ข. ถามการนาไปใช้ ค. ถามการวิเคราะห์ ง. ถามการประเมนิ คา่ 24. จากนทิ าน “ลูกม่วงข้างเริน” เหตกุ ารณท์ ต่ี ัวละครทราบวธิ กี ารเก็บมะม่วงแล้ว แตย่ ังเจอปัญหามะมว่ ง หลน่ ลงพื้น จึงสอบถามแนวทางและคน้ คว้าเพ่มิ เตมิ เปน็ ข้ันตอนใดในกระบวนการเรียนรู้แบบรวมพลงั ก. เสนอสงิ่ เร้า ต้งั คาถาม ข. แสวงหาสารสนเทศ ค. อภิปรายสรา้ งความรู้ ง. สอ่ื สารสะทอ้ นคิด 10
25. ขอ้ ใด ไมใ่ ชอ่ งค์ประกอบความสามารถทางภาษาเพอ่ื การสื่อสาร ก. Expressive competence ข. Discourse competence ค. Grammatical competence ง. Sociolinguistic competence 26. แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวการสอนภาษาเพอ่ื การส่ือสาร (CLT) ประกอบดว้ ยขั้นตอนใดบ้าง ก. warm up / present/ practice / production / wrap-up ข. wrap-up / practice / production / present / warm up ค. Warm up / production / practice / present / wrap-up ง. wrap-up / present / production / practice / warm up 27. การใหฝ้ ึกอา่ นโดยดูภาพแลว้ นามาสนทนาหรอื หาคาตอบเกีย่ วกับภาพน้ันๆ เปน็ การสอนอา่ นขนั้ ตอนใด ก. Personalization ข. Predicting ค. Present ง. Playing 28. หากต้องการใหน้ ักเรยี นมอี ิสระในการเขียน สามารถเติมสว่ นท่ขี าดหายไปใหส้ มบูรณ์ ทา่ นควรใชก้ จิ กรรม การสอนเขียนรูปแบบใด ก. การเขียนแบบอิสระ ข. การเขียนแบบคัดลอก ค. การเขยี นแบบควบคุม ง. การเขยี นแบบกึง่ ควบคุม 29. ขั้นตอนใดทคี่ รผู สู้ อนสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดในการใช้ภาษาของนกั เรียนได้ ก. ขนั้ ฝึก ข. ขั้นนาเสนอ ค. ขนั้ การใชภ้ าษา ง. ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน 11
30. สอื่ การสอนภาษาเพอื่ การสอื่ สารในกจิ กรรมการเรยี นการสอนใด เปน็ task-based material ก. Debate ข. Puppet ค. Flashcard ง. Magazine Link ทำแบบทดสอบกอ่ นการศกึ ษาคู่มอื ฯ https://forms.gle/CDafefp7RoWanQuz8 12
\\ หนว่ ยท่ี 1 แนวคดิ : ความหมายและลกั ษณะของการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ 13
ความหมายของการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รุก การจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีสง่ เสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในชน้ั เรยี น มปี ฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งครกู ับผู้เรียน ม่งุ เน้นการลงมือปฏิบตั ิ โดยครปู รับเปลีย่ นบทบาทจากการเป็นผู้นำ ความรู้ เจ้าของความรู้ ไปเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวก (facilitator) ทำหนา้ ทสี่ รา้ งแรงบนั ดาลใจในการให้คำปรึกษา แนะนำ เปน็ โค้ชและพี่เลี้ยง (Coach & Mentor) เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นสร้างองค์ความรไู้ ด้ เข้าใจในตนเอง ใช้ศักยภาพใน การเรียนรู้ของตนเองในการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ผลงานตามสิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ ทกั ษะและสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้เชิงรุก จึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรยี นรู้มากกว่าเน้ือหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือ สร้างความรู้ใหเ้ กิดขน้ึ ในตนเอง กระตนุ้ ใหเ้ กิดกระบวนการคิดข้ันสูง (Higher-Order Thinking) ด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า และการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมี ความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อืน่ ๆได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีอิสระในการเรียน และมีการควบคุมตัวเอง อยู่ใน ระดบั สงู ลักษณะของกจิ กรรมจะครอบคลุมกระบวนการแกป้ ัญหา ซ่ึงอาจจัดกจิ กรรมเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม เล็กๆ ลักษณะการสอนตรงกันข้ามกับการสอนแบบบรรยาย และประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ที่จะกระตุ้น จูงใจ ผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนเกิด ทักษะด้านการติดต่อสื่อสาร เกิดความรู้สกึ สนุกสนานขณะเรียน เกิดทัศนคติทางบวกใน การเรยี น เพ่มิ ขน้ึ และเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผู้เรียนมกี ิจกรรมร่วมกนั ในลักษณะของการร่วมแรง รว่ มใจ ไดท้ ำงานเปน็ กลุ่ม โดยมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ซ่ึงกันและกนั และนักเรยี นได้แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นซึง่ กนั และกนั จากความหมายข้างต้น สามารถนิยามลักษณะการจัดการเรียนรู้เชิงรุกได้ว่า เป็นการเรียนรู้อย่างมี ความหมาย (Meaningful Learning) โดยการร่วมมือระหว่างนักเรียนด้วยกัน ในการนี้ ผู้สอนต้องลดบทบาทใน การสอน และการให้ข้อความรู้แก่ ผู้เรียนโดยตรง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทำให้ผู้เรียนเกิด ความกระตือรอื ร้นในการที่จะทำกิจกรรมต่างๆ มากขน้ึ อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน หรือการอภปิ รายกบั เพอื่ นร่วมชัน้ เรียน การจัดการเรียนรู้เชงิ รุก มีแนวคิดจากการสอนในทฤษฎกี ารสร้างความรู้ (Constructivist Theory) ซึ่งมี ลักษณะสำคัญคือการให้ผู้เรียน “เกิดการปะทะสังสรรค์ทางปัญญา” เพื่อให้เกิดกระบวนการคิดขั้นสูง (Higher- Order Thinking) โดยประยุกต์ใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมของตน และเชื่อมโยงองค์ความรู้ใหม่จากการมี ปฏิสัมพันธ์ในการเรยี นรรู้ ว่ มกนั เพื่อสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง เมื่อเปรียบเทยี บกบั การจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนไม่มี โอกาสสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง เปน็ ผู้รบั ความรู้ ฟัง จดบนั ทึก วิธกี ารจัดการเรียนรู้ดงั กล่าวส่งผลต่อพฤติกรรม การเรยี นรู้ของผ้เู รยี น สามารถเปรียบเทียบกับปิระมิดในการเรยี นรไู้ ด้ ดังน้ี 14
ภาพที่ 1 ปิระมดิ การเรยี นรู้ เปรยี บเทยี บการเรยี นรู้ Active & Passive Learning ความแตกตา่ งในการจดั การเรยี นรูท้ เี่ น้นใหผ้ ู้เรียนมีบทบาทสำคญั เปน็ ผู้สรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง (Active Learning) กบั การจัดการเรียนรู้แบบต้งั รบั (Passive Learning) ที่ผูเ้ รียนมบี ทบาทในการรับความรจู้ าก การถ่ายทอดของครู จำแนกความแตกตา่ งในแตล่ ะดา้ นได้ ดังน้ี การเปรยี บเทยี บ ACTIVE LEARNING PASSIVE LEARNING ความหมาย การจัดการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ปฏิสัมพันธ์ การเรยี นรู้แบบต้ังรบั คือ ผเู้ รยี นรับการ ระหวา่ งผู้เรียนผ่านกจิ กรรมทีต่ อ้ ง ถา่ ยทอดความรู้โดยไม่มีการตระหนักรู้ เช่น ส่ือสาร อภิปรายรว่ มกัน การต้งั คำถาม การอภิปราย การปฏบิ ตั ิ ใน บทเรยี นนน้ั ๆ ปฏสิ มั พนั ธข์ องผเู้ รยี น มีปฏสิ ัมพันธส์ ูง มีปฏิสมั พนั ธ์ต่อกนั น้อย การเรยี นรู้ นกั เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ครเู ปน็ ศนู ยก์ ลาง การใชง้ าน ใช้เพือ่ พฒั นาการเรียนรู้ ใชเ้ ม่ือมกี ารนำเสนอสง่ิ ใหม่ ความคงทนของความรู้ จดจำได้สงู จดจำได้คอ่ นขา้ งต่ำ ทกั ษะการคดิ ทักษะการคิดขน้ั สงู (HOTS) ทกั ษะการคดิ ข้นั พนื้ ฐาน (LOTS) 15
การเปรยี บเทยี บ ACTIVE LEARNING PASSIVE LEARNING ความรบั ผดิ ชอบ นกั เรียนรับผดิ ชอบ กำกับวินยั ในการ ครผู สู้ อนกำกับติดตามการเรียนรขู้ อง บทบาทของครู เรยี นร้ขู องตนเอง นักเรยี น การรเิ รมิ่ แหลง่ ขอ้ มลู ใหค้ วามชว่ ยเหลือ ออกคำสั่ง คิดแบบขยาย คดิ แบบบรรจบ การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม การฝกึ ครผู ู้สอน หนังสอื ตำรา อินเทอรเ์ นต็ ปฏบิ ัติ สถานการณ์ ดงั น้ัน การจัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ จงึ มีความสำคัญต่อการพัฒนารูปแบบและวธิ ีการจัดการเรียนรูใ้ นช้นั เรียน ที่จะสง่ ผลตอ่ ศกั ยภาพการเรียนร้ขู องผู้เรยี น ดังน้ี 1. ส่งเสรมิ การมอี ิสระดา้ นความคิดและการกระทำของผู้เรียน การมวี ิจารณญาณและการคดิ สร้างสรรค์ ผเู้ รยี นจะไดร้ บั โอกาสให้มสี ่วนร่วมในการปฏบิ ัตจิ ริงและมีการใช้วจิ ารณญาณในการคิดและตดั สินใจปฏิบตั ิ กิจกรรมน้นั มุง่ สรา้ งใหผ้ ู้เรยี นเป็นผู้กำกับทิศทางการเรยี นรู้ คน้ หาแนวทางการเรยี นรู้ของตนเอง สู่การเปน็ ผรู้ ู้คิด รู้ตัดสินใจด้วยตนเอง เพราะฉะนั้นการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ จึงเป็นแนวทางการจดั การเรยี นรูท้ มี่ งุ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถ พฒั นาความคดิ ขน้ั สงู (Higher-Order Thinking) ในการมวี ิจารณญาณ การวเิ คราะห์ การคดิ แกป้ ัญหา การ ประเมิน การตัดสินใจและการสรา้ งสรรค์ 2. สนบั สนุน ส่งเสริมให้เกดิ ความร่วมมือกันอย่างมปี ระสิทธิภาพ ซึ่งความร่วมมอื ในการปฏิบตั งิ านกลุ่มจะ นำไปสู่ความสำเรจ็ ในภาพรวม 3. สนบั สนุน สง่ เสริมให้ผู้เรียนท่มุ เทในการเรียน จูงใจในการเรียน และทำใหผ้ ูเ้ รียนแสดงออกถงึ ความรู้ ความสามารถ เมือ่ ผเู้ รยี นไดม้ สี ่วนรว่ มในการปฏิบัตกิ ิจกรรมอยา่ งกระตือรอื รน้ ในสภาพแวดลอ้ ม ท่เี อื้ออำนวย ผา่ นการใชก้ จิ กรรมท่ีครจู ดั เตรยี มไว้ใหอ้ ย่างหลากหลาย ผเู้ รยี นเลือกเรยี นรู้ในกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความสนใจและ ความถนัดของตนเอง เกิดความรบั ผิดชอบและทมุ่ เทเพือ่ ม่งุ สู่ความสำเร็จ 4. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีก่อให้เกิดการพฒั นาเชิงบวกทั้งตัวผูเ้ รยี นและตัวครู เป็นการปรับการเรยี น เปล่ียนการสอน ผู้เรยี นจะมโี อกาสไดเ้ ลือกใช้ความถนัด ความสนใจ ความสามารถท่ีเปน็ ความแตกต่างระหวา่ ง บคุ คล (Individual Different) สอดรบั กับแนวคดิ พหปุ ัญญา (Multiple Intelligence) เพอื่ แสดงออกถงึ ตัวตน และศักยภาพของตวั เอง ส่วนครผู ู้สอนต้องมคี วามตระหนักทจ่ี ะปรบั เปลีย่ นบทบาท แสวงหาวิธกี าร กิจกรรมท่ี หลากหลาย เพ่ือชว่ ยเสรมิ สร้างศักยภาพของผูเ้ รียนแตล่ ะคน สงิ่ เหล่านี้ จะทำใหค้ รูเกดิ ทักษะในการสอนและมี ความเชี่ยวชาญในบทบาท หน้าท่ีทร่ี ับผิดชอบ เป็นการพัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาผ้เู รยี นไปพร้อมๆกัน 16
ลักษณะของการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ ลกั ษณะสำคัญของการจดั การเรียนร้เู ชิงรุก คือ การปรับเปลีย่ นกระบวนการในการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ นน้ การมีส่วนร่วมของผู้เรยี น ทง้ั การมีส่วนรว่ มด้านการคดิ การส่อื สาร การลงมือปฏิบัติ เพอื่ ให้ผู้เรยี นสามารถค้นพบ องค์ความรู้ ขอ้ สรุป วิธกี ารท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้ด้วยตนเอง แทนท่ีการรับฟงั คำตอบจากครเู พยี งอย่างเดยี ว ดังนน้ั ในการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ ต้องคำนึงลักษณะทมี่ พี ืน้ ฐานจากทฤษฎีการสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism Theory) เพ่อื ใหก้ ารจัดการเรยี นรู้ทีจ่ ะสอดคล้องกบั เปา้ หมายของการจดั การศึกษาและสอดคล้องกบั ความสนใจ ของผ้เู รยี น มีแนวโนม้ ที่ใหจ้ ดั การเรียนรโู้ ดยใหผ้ ู้เรียนสรา้ งความรดู้ ้วยตนเอง ดงั น้ี 1. จดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ป็นจรงิ (Authentic Learning Active) ให้กับนกั เรียน เพ่ือใหน้ กั เรียนเหน็ ความเกี่ยวข้องกบั สิ่งแวดลอ้ มรอบตัวกับชวี ติ ของตนเอง เขา้ ใจสภาพแวดลอ้ ม แล้วสร้างความรูข้ ึน้ สามารถนำ ความรู้น้นั ไปใช้ในการดำรงชีวิตที่เปน็ จรงิ ในอนาคต ดงั นัน้ กิจกรรมการเรยี น การสอนทุกกจิ กรรมควรจะคำนึงถึง คณุ ค่าทจี่ ะเกดิ ขึ้นในอนาคต 2. การจดั การเรียนการสอนควรมีลกั ษณะเป็นสหวิทยาการ ในสภาพการณท์ ่ีเป็นจริงในชวี ิต ความรู้ใน สาขาวิชาการตา่ ง ๆ นน้ั มคี วามสัมพนั ธ์กนั และผลกระทบตอ่ กนั และกนั ในการนำความรไู้ ปใช้อธิบายหรือไปใชใ้ น การท ากจิ กรรมใด ๆ มนุษยต์ ้องใชค้ วามรู้ในหลายวชิ าประกอบกัน ดังนั้น ในการจดั กิจกรรมการสอน ครูไม่ควร แยกความรูน้ ัน้ ออกเป็นสาขาวชิ าโดยเด็ดขาดจากกัน เพื่อใหน้ กั เรยี นเข้าใจธรรมชาตขิ องความรใู้ นลักษณะท่เี ป็น องคร์ วม 3. การจัดการเรียนการสอนควรมีลักษณะการทำงานกันเป็นทีม ในสภาพการณ์ท่ีเปน็ จริง นกั เรียนตอ้ งอยู่ ร่วมกับคนอืน่ การทำงานร่วมกนั เปน็ กิจกรรมหนึง่ ของชีวติ นักเรียนจะได้เรยี นรูต้ ามศกั ยภาพทีแ่ ตกต่างกนั ของแต่ ละบุคคล ซึ่งยอมรับในความแตกต่าง เห็นความจำเปน็ ของการร่วมมอื กนั ในการทำงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย และมี โอกาสไดป้ รับเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจของตนเองให้สมเหตุสมผลมากขน้ึ ดังนน้ั ในการจัดการเรียนการสอน ครู จึงตอ้ งจัดให้นักเรียนได้มีโอกาสในการทำงานรว่ มกบั คนอื่นให้ไดแ้ ลกเปล่ียนความรู้ 4. การจดั การเรียนการสอนควรจัดในโอกาสใหน้ กั เรียนได้แสดงความร้คู วามเขา้ ใจของตนเอง เนอ่ื งจาก นักเรียน แตล่ ะคนมคี วามรู้และประสบการณเ์ ดมิ ทแี่ ตกต่างกัน และในสภาพการณ์เดยี วกัน นกั เรยี นแต่ละคนอาจ สรา้ งความเขา้ ใจได้ไมเ่ หมือนกันหรือไมเ่ ทา่ กัน ขึ้นอยู่กบั ศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล บางคนอาจมีความรทู้ ีถ่ ูกต้อง เพยี งบางสว่ น 5. การจดั การสอนต้องใหน้ ักเรียนได้พฒั นาความรดู้ ้วยตนเอง ในสภาพการณ์ท่ีเป็นจรงิ ของชีวติ มนษุ ย์ เป็นผปู้ ระสบปัญหาและแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง ในการแก้ปัญหามนษุ ย์ มีการรวบรวมขอ้ มูลจากประสบการณท์ ่ี ประสบการณต์ ่าง ๆ วิเคราะห์ สงั เคราะหแ์ ละสรา้ งความเขา้ ใจในประสบการณ์ท่ีประสบดว้ ยตนเอง จึงต้องจัดให้ นกั เรยี นเห็นความสำคญั ท่ีมเี จตคติท่ดี ตี ่อการใฝ่หาและสร้างความเข้าใจของตนเองจนเปน็ นิสัย 17
แนวคิดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ 1. เปน็ การพัฒนาศักยภาพการคิด การแก้ปัญหา และการนำความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ 2. ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดระบบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรูโ้ ดยมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ร่วมกนั ในรปู แบบของ ความรว่ มมือมากกว่าการแข่งขัน 3. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรยี นร้สู ูงสดุ 4. เปน็ กจิ กรรมทใี่ หผ้ ู้เรยี นบรู ณาการขอ้ มลู ขา่ วสาร สารสนเทศ สทู่ ักษะการคิดวิเคราะห์ และประเมนิ คา่ 5. ผู้เรยี นได้เรยี นรู้ความมวี นิ ยั ในการทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ื่น 6. ความรูเ้ กิดจากประสบการณ์ และการสรปุ ของผเู้ รยี น 7. ผ้สู อนเป็นผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพื่อให้ผู้เรยี นเป็นผูป้ ฏบิ ัติดว้ ยตนเอง จากลกั ษณะการเรียนรู้เชงิ รกุ จึงควรจดั กระบวนการจดั การเรยี นรูท้ สี่ อดคล้องกบั แนวคิดดังกล่าว โดยเฉพาะการมงุ่ ความสำคัญให้ผเู้ รยี นเป็นผแู้ สวงหา คน้ พบ และสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ดงั น้ี กระบวนการเรยี นรู้ 1. จัดการเรยี นรู้ท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การแก้ปญั หาและการนำความรูไ้ ปประยกุ ต์ใช้ 2. จดั การเรยี นรูท้ เี่ ปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรสู้ งู สดุ 3. จัดให้ผเู้ รียนสร้างองค์ความร้แู ละจัดกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 4. จดั ให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ทงั้ ในดา้ นการสรา้ งองคค์ วามรู้ การสร้างปฏสิ มั พันธร์ ่วมกนั สรา้ งรว่ มมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. จดั ให้ผูเ้ รียนเรียนรู้เรอ่ื งความรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน การมีวินยั ในการทำงาน และการแบ่งหนา้ ท่คี วาม รบั ผดิ ชอบในภารกิจตา่ ง ๆ 6. จดั กระบวนการเรยี นท่สี รา้ งสถานการณใ์ ห้ผู้เรียนอา่ น พูด ฟัง คดิ อยา่ งล่มุ ลกึ ผู้เรยี นจะเป็นผู้จัดระบบ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 7. จัดกิจกรรมการจัดการเรยี นรูท้ ่ีเน้นทักษะการคิดขนั้ สงู 8. จดั กิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนบรู ณาการขอ้ มูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลกั การความคิด รวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิด้วยตนเอง 18
10. จัดกระบวนการสร้างความรทู้ ่ีเกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้และการสรปุ ทบทวนของ ผู้เรียน โดยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น้ัน ผู้สอนควรตรวจสอบลกั ษณะของกจิ กรรมใหม้ ีแนวคดิ วิธกี ารท่ี สอดคล้องกับกิจกรรมทีเ่ ป็นการเรยี นรู้เชงิ รุก ดังน้ี กจิ กรรมทเ่ี ปน็ การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ 1. กระบวนการเรียนรู้ท่ีลดบทบาทการสอน และการใหค้ วามร้โู ดยตรงของครู แตเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมี ส่วนรว่ มสร้างองค์ความรู้ และจดั ระบบการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 2. กิจกรรมพฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นให้นำความรู้ ความเข้าใจไปประยุกตใ์ ช้ สามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ คิดสร้างสรรค์สงิ่ ตา่ งๆ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดไปสรู่ ะดับทีส่ งู ขึ้น 3. กจิ กรรมเช่อื มโยงกบั นกั เรียน กบั สภาพแวดลอ้ มใกล้ตัว ปัญหาของชมุ ชน สังคม หรอื ประเทศชาติ 4. กจิ กรรมเปน็ การนำความรู้ที่ไดไ้ ปใช้แก้ปัญหาใหม่ หรอื ใช้ในสถานการณ์ใหม่ 5. กิจกรรมเน้นใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ช้ความคิดของตนเองอยา่ งมเี หตมุ ีผล มโี อกาสรว่ มอภปิ ราย และนำเสนอ ผลงาน 6. กิจกรรมเน้นการมีปฏสิ ัมพนั ธ์กนั ระหว่างผเู้ รียนกับผสู้ อน และปฏิสัมพันธก์ นั ระหว่างผู้เรียนด้วยกนั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ ชงิ รุก การวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) เปน็ กระบวนการในการตรวจสอบผล การดำเนนิ กจิ กรรมวา่ บรรลุตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้หรอื ไม่ มสี ่วนใดต้องปรับปรงุ แก้ไขเพ่อื พฒั นาตอ่ ไป โดย ประเมินทงั้ กระบวนการในการจดั กจิ กรรมและประเมนิ คุณภาพของผู้เรยี น ใช้การประเมนิ หลากหลายวิธี ให้ทกุ ฝ่ายได้มี โอกาสในการประเมนิ เชน่ ครปู ระเมินผเู้ รียน ผู้เรียนประเมินเพอื่ น ผู้เรยี นประเมนิ ตนเอง วธิ กี ารในการ ประเมินควรถูกต้องเหมาะสมกับความรู้ ทักษะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่ก าหนดไวใ้ นเป้าหมายของการจัด กจิ กรรมน้ันๆ การประเมินผลการเรยี นรู้เชงิ รกุ ควรใชห้ ลักการประเมนิ ตามสภาพจริงและนำผลการประเมินมาพฒั นา ผเู้ รยี นอย่างตอ่ เนื่องโดยมลี กั ษณะ ดังนี้ 1) ใช้ผู้ประเมินจากหลายฝ่าย เช่น ผเู้ รียน เพ่ือน ผู้สอน ผู้เกี่ยวข้อง 2) ใชว้ ิธีการหลากหลายวิธี/ชนิด เชน่ การสังเกต การปฏิบัติ การทดสอบ การรายงานตนเอง 3) ประเมินหลายๆ ครั้งในแต่ละช่วงเวลาของการเรียนรู้ เช่น กอ่ นเรยี น ระหว่างเรยี นส้นิ สดุ การเรียน ติดตามผล 4) สะท้อนผลการประเมนิ แก่ผ้เู รียนและผเู้ กย่ี วช้อง เพื่อนำไปสูก่ ารพฒั นาผเู้ รยี น 19
วธิ กี ารประเมนิ ผลกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active learning) การเรียนรู้เชงิ รุก (Active learning) เปน็ กิจกรรมทีต่ ้องการพัฒนาผ้เู รียนรอบดา้ น ผสู้ อนสามารถใช้ วิธีการประเมินผล ดงั นี้ 1. การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) เปน็ การประเมนิ ดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลการประเมนิ ทส่ี ะทอ้ นความสามารถที่แท้จรงิ ของผูเ้ รยี น จึงควรใช้การประเมนิ การปฏิบัติ (Performance Assessment) ร่วมกบั การประเมนิ ด้วยวิธกี ารอื่น และกำหนดเกณฑใ์ นการประเมิน (Rubrics) ให้ สอดคลอ้ งหรอื ใกล้เคยี งกบั ชีวิตจรงิ 2. การประเมนิ การปฏบิ ัติ (Performance Assessment) เป็นวิธกี ารประเมินงานหรือ กจิ กรรมทผ่ี ูส้ อน มอบหมายให้ผู้เรยี นปฏบิ ัตงิ านเพื่อให้ทราบถงึ ผลการพฒั นาของผู้เรียน การประเมินลกั ษณะนี้ ผู้สอนตอ้ งเตรยี มสิ่ง สำคัญ 2 ประการ คอื 2.1 ภาระงาน (Tasks) หรอื เกณฑก์ ารประเมนิ กจิ กรรมทจี่ ะให้ผู้เรียน 2.2 การปฏบิ ัติ (Scoring Rubrics) การประเมนิ การปฏิบตั ิ จะชว่ ยตอบคำถามท่ีทำใหท้ ราบว่า “ผู้เรยี นสามารถนำส่งิ ที่เรียนรู้ไปใชไ้ ดด้ เี พยี งใด” ดังนัน้ เพ่ือใหก้ ารปฏิบตั ิในระดบั ช้ันเรียนเปน็ ไปอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ผู้สอนตอ้ งทำความเขา้ ใจทช่ี ัดเจนเก่ียวกับประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) สง่ิ ท่เี ราตอ้ งการจะวัด (พิจารณาจากมาตรฐาน/ตัวช้วี ดั หรอื ผลลัพธท์ ีเ่ ราตอ้ งการ) 2) การจัดการเรยี นรู้ทีเ่ ออื้ ต่อการประเมินการปฏิบัติ 3) รูปแบบหรือวิธีการประเมนิ การปฏิบัติ 4) การสร้างเครอ่ื งมอื ประเมินการปฏิบัติ 5) การกำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ (Rubrics) 3. การประเมินโดยการใช้คำถาม (Questioning) คำถามเปน็ วธิ หี นึง่ ในการกระตุน้ /ชแี้ นะให้ผู้เรยี น แสดงออกถงึ พฒั นาการการเรียนรขู้ องตนเอง รวมถงึ เป็นเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ เพอื่ พฒั นาการเรียนรู้ ดงั น้ัน เทคนิคการตงั้ คำถามเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น จงึ เป็นเรือ่ งสำคญั ย่ิงที่ผู้สอนตอ้ งเรียนรแู้ ละนำไปใชใ้ ห้ได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การตง้ั ค าถามเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นจงึ เป็นกลวธิ ีสำคญั ทีผ่ สู้ อนใชป้ ระเมนิ การเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี น รวมทัง้ เป็นเคร่อื งสะท้อนให้ผู้สอนสามารถช่วยเหลือผู้เรียนใหบ้ รรลุจุดม่งุ หมายของการเรยี นรู้ 4. การประเมินโดยการการสนทนา (Communication) เปน็ การส่ือสาร 2 ทางอกี ประเภทหนึง่ ระหว่าง ผู้สอนกบั ผู้เรียน สามารถดำเนนิ การเปน็ กล่มุ หรอื รายบุคคลก็ได้โดยท่ัวไปมักใชอ้ ย่างไม่เปน็ ทางการ เพ่ือตดิ ตาม ตรวจสอบว่า ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรูเ้ พียงใด เป็นข้อมลู สำหรับพฒั นา วิธกี ารน้อี าจใช้เวลาแต่มปี ระโยชนต์ อ่ การ ค้นหา วินิจฉัย ข้อปัญหา ตลอดจนเร่อื งอ่นื ๆที่อาจเปน็ ปญั หาอุปสรรคตอ่ การเรียนรู้ เช่น วธิ ีการเรยี นรู้ที่แตกต่าง กนั เป็นต้น 5. การประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรม (Behavioral Observation) เป็นการเก็บข้อมูลจากการดู การ ปฏิบตั ิกิจกรรมของผู้เรียนโดยไมข่ ัดจงั หวะการทำงานหรือการคิดของผู้เรยี น การสังเกตพฤตกิ รรมเปน็ ส่ิงท่ีทำได้ ตลอดเวลา แต่ควรมกี ระบวนการและจุดประสงค์ทขี่ ัดเจนว่าตอ้ งการประเมินอะไร โดยอาจใช้เครอ่ื งมอื เช่น แบบ 20
มาตรประมาณคา่ แบบตรวจสอบรายการ สมดุ จดบนั ทกึ เพอ่ื ประเมินผูเ้ รยี นตามตัวชวี้ ัด และควรสงั เกตหลายคร้งั หลายสถานการณแ์ ละหลายช่วงเวลาเพ่ือขจดั ความลำเอียง 6. การประเมนิ ตนเองของผเู้ รียน (Student Self-assessment) การประเมนิ ตนเอง นับเป็นทง้ั เครอ่ื งมอื ประเมนิ และเครอ่ื งมอื พัฒนาการเรยี นรู้ เพราะทำใหผ้ เู้ รยี นได้คิดใครค่ รวญว่าไดเ้ รยี นร้อู ะไร เรียนรอู้ ย่างไรและ ผลงานท่ที ำนัน้ ดีแล้วหรอื ยังการประเมนิ ตนเองจงึ เป็นวิธหี น่ึงทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นผเู้ รียนทีส่ ามารถเรยี นรู้ ดว้ ยตนเอง 7. การประเมินโดยเพ่อื น (Peer Assessment) เปน็ เทคนคิ การประเมินอีกรปู แบบหนึ่งที่น่าจะนำมาใช้ เพอ่ื พฒั นาผู้เรียนให้เข้าถงึ คณุ ลักษณะของงานทีม่ ีคณุ ภาพ เพราะการที่ผู้เรยี นจะบอกไดว้ ่าชนิ้ งานนน้ั เป็นเช่นไร ผู้เรยี นตอ้ งมีความเชา้ ใจอยา่ งขดั เจนก่อนว่า ตนเองกำลงั ตรวจสอบอะไรในงานของเพ่ือน ฉะนน้ั ผู้สอน ต้องอธิบาย ผลที่คาดหวังให้ผ้เู รยี นทราบก่อนที่จะลงมอื ประเมินเพอื่ สรา้ งความมนั่ ใจวา่ ผู้เรยี นเข้าใจการประเมินรปู แบบนี้และ สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 21
กจิ กรรมฝกึ ปฏบิ ตั ิ 1. จงอธิบายความหมายของการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก (1.5 คะแนน) 2. จงสรปุ ลกั ษณะสำคญั ของการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (1.5 คะแนน) 3. จงสรปุ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรียนรเู้ ชิงรุก (1.5 คะแนน) 4. จงบอกความแตกต่างในการวดั และประเมินผลการจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ กับการวดั ผลทั่วไป (1.5 คะแนน) 5. นำแผนการจัดการเรยี นรู้ของท่าน จำนวน 1 แผน มาวิเคราะห์ “กิจกรรมสำคัญ” ในข้นั ตอนการสอน ว่าสอดคลอ้ งกบั ลักษณะการจดั การเรยี นร้เู ชิงรกุ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด เช่น การเขียนตามคำบอก การอ่านออกเสยี ง พร้อมกนั ทง้ั ชนั้ เรียน การนำเสนอความหมายคำศัพท์ การดวู ดี ีโอ เปน็ ต้น (4 คะแนน) กจิ กรรม ความสอดคลอ้ ง 22
หนว่ ยที่ 2 ทศิ ทาง : รปู แบบการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ 23
รูปแบบและวธิ กี ารจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ รุก พน้ื ฐานแนวคิดของการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรุก คือ การให้ผู้เรียนเปน็ ผมู้ ีบทบาทหลักในการเรียนรู้ของตนเอง เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีรากฐานมาจากแนวคิดทางการศึกษาที่เน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ (Constructivism) โดยผ้เู รียนเป็นผู้สร้างความรู้จากข้อมลู ที่ได้รับมาใหม่ด้วยการนำไปประกอบกับประสบการณ์ เดิมในอดีต นอกจากน้ี ยังมีมิติกิจกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 2 มิติ ได้แก่ กิจกรรมด้านการรู้คิด (Cognitive Activity) และ กิจกรรมด้านพฤตกิ รรม (Behavioral Activity) ซึ่งในการนำไปใช้อาจมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนว่า การเรียนรู้เชิงรุก คือรูปแบบที่เน้นความตื่นตัวใน กจิ กรรมด้านพฤตกิ รรม (Behavioral Active) โดยเขา้ ใจว่าความตืน่ ตัวในกจิ กรรมดา้ นพฤติกรรมจะทำใหเ้ กดิ ความ ตื่นตัวในกิจกรรมด้านการรู้คิด (Cognitively Active) ตามลำดับ จึงเป็นที่มาของการประยุกต์ใช้ที่เกิดความ คลาดเคลื่อนว่าให้ผู้สอนลดบทบาทความเป็นผู้ให้ความรู้ลง เป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวกและบริหารจัดการ หลักสูตร โดยปล่อยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เองอย่างอิสระจากการทำกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับ ผู้เรียนดว้ ยกนั เองตามยถากรรม โดยผู้เรียนไมไ่ ดเ้ รียนรู้พฒั นามติ ิด้านการรูค้ ิด ดังนั้น เพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนของมโนทัศน์ดังกล่าว การเตรียมตัวของครูผู้สอน เช่น การเตรียม คำถามที่ทรงพลัง (Powerful Question) เป็นคำถามที่มีความหมาย ชวนคิดวิเคราะห์ เป็นลักษณะของ CCQ (Content Check Question) ก็ช่วยให้ผู้เรยี นได้ค้นพบรูปแบบและแนวทางการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้ ทั้งนี้ ความตื่นตัวในกิจกรรมด้านพฤติกรรมอาจไมก่ ่อให้เกิดความตื่นตัวในกิจกรรมด้านการรู้คดิ เสมอไป การที่ผู้สอนให้ความสำคัญกับกจิ กรรมด้านพฤติกรรมเพียงอยา่ งเดียว เช่น การฝึกปฏิบตั ิและการอภปิ รายในกลุ่ม ของผู้เรียนเอง โดยไม่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมด้านการรู้คิด เช่น การลำดับความคิดและการจัดองค์ความรู้ การวิเคราะห์ ประมวลผล จะส่งผลให้ประสิทธิผลของการเรียนรู้ลดลง นอกจากนี้กรณีของการนำรูปแบบ การจัดการเรียนรู้แบบที่ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมและค้นพบความรู้ด้วยตนเองนี้ไปใช้กับการพัฒนาการเรียนรู้ ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จะเหมาะกับการพัฒนาในขั้น การทำความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ และการวิเคราะห์ ขึ้นไปมากกวา่ ขั้นใหข้ ้อมูลความรู้ เพราะเป็นการเสียเวลามาก และไม่บรรลุผล เทา่ ทคี่ วร 24
รปู แบบการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) การจดั การเรยี นร้แู บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) เปน็ การจดั การเรียนร้ทู ่เี น้นในสง่ิ ที่ เด็กอยากเรียนรู้ โดยสิ่งที่อยากเรียนรู้ดังกล่าวจะต้องเริ่มมาจากปัญหาที่เด็กสนใจหรือพบในชีวิตประจำวันที่มี เนื้อหาเกี่ยวข้องกับบทเรยี น อาจเป็นปัญหาของตนเองหรือปัญหาของกลมุ่ ซ่ึงครจู ะตอ้ งมกี ารปรบั เปลยี่ นแผนการ จัดการเรียนรู้ตามความสนใจของเด็กอย่างเหมาะสม จากนั้นครูและเด็กร่วมกันคิดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับ ปญั หานัน้ โดยปญั หาท่ีจะนำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรบู้ างครง้ั อาจเป็นปญั หาของสังคมที่ครูเป็นผู้กระตุ้นให้เด็กคิด จากสถานการณ์ ขา่ ว เหตกุ ารณ์ต่างๆ ทเ่ี กิดข้ึน จะเนน้ ทีก่ ระบวนการเรียนรขู้ องเด็ก เด็กต้องเรียนรู้จากการเรียน เน้นปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนในกลุ่ม การปฏิบัติและการเรียนรู้ร่วมกัน นำไปสู่การค้นคว้าหาคำตอบหรือสร้าง ความรู้ใหมบ่ นฐานความรูเ้ ดมิ ท่ผี เู้ รยี นมีมาก่อนหนา้ น้ี รปู แบบกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเป็นฐานมีจดุ มงุ่ หมายเพื่อฝึกทักษะการคดิ แก้ปัญหาอย่าง มีเหตุผลและเป็นระบบให้แก่นักเรียนโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิด สร้างสรรค์ คิดวจิ ารณญาณ การสืบคน้ และรวบรวมข้อมูล กระบวนการกลุม่ การบันทึกและการอภิปราย ลกั ษณะของปญั หาในการจดั การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน การจดั การเรียนร้แู บบใชป้ ัญหาเป็นฐาน เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรู้โดยเร่ิมตน้ จากปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ซงึ่ ต้องเป็นปญั หาท่ีใกล้ตัวและพบเจอในชีวิตประจำวัน เพราะผ้เู รียนจะรบั ทราบ เปน็ ประเด็นที่เข้าถึงผ้เู รียนได้ง่าย และสรา้ งองคค์ วามรู้ให้เกิดขน้ึ โดยใช้กระบวนการทำงานแบบกลุ่ม เพื่อใหเ้ กิดการแก้ปญั หาดงั กล่าว ทำให้ตวั ของ ปัญหานน้ั คอื จดุ สำคญั ของการจัดการเรียนรรู้ ปู แบบนี้ โดยลกั ษณะสำคญั ของการจัดการเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หาเปน็ ฐานนั้น ประกอบด้วย 1. ตอ้ งมสี ถานการณ์ที่เป็นปัญหา และใช้ปัญหานนั้ มาเป็นตวั กระตนุ้ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรู้ 2. ปัญหาทน่ี ำมาใช้ ต้องมาจากสง่ิ ใกล้ตวั ผู้เรียน และผ้เู รียนมีโอกาสพบเจอ 25
3. ผเู้ รยี นเรียนรแู้ ละเลือกเฟน้ วิธีการและประเมนิ ผลด้วยตวั เอง 4. เน้นใหผ้ เู้ รียนเรยี นรูเ้ ปน็ กลุ่มย่อย เพือ่ ประโยชนใ์ นการคน้ หาความรู้ และรับสง่ ขอ้ มลู ร่วมกัน 5. เป็นการเรียนรู้แบบบรู ณาการความรู้และทกั ษะกระบวนการตา่ งๆเขา้ ดว้ ยกัน 6. ความรทู้ ี่จะเกิดขน้ึ เมอ่ื จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ปญั หาเป็นฐานแล้วเท่านั้น 7. ใช้การประเมินผลตามสภาพจริง โดยพิจารณาความก้าวหนา้ ในการปฏบิ ตั งิ านของผูเ้ รียน แนวทางการเลอื กรปู แบบของปญั หาทสี่ อดคลอ้ งกบั การจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ ไดแ้ ก่ 1. ปัญหาทีเ่ กิดข้ึนในชวี ติ จรงิ และเกิดจากประสบการณข์ องผ้เู รยี นหรอื ผู้เรยี นอาจมีโอกาสไดเ้ ผชญิ กบั ปญั หานัน้ 2. เปน็ ปัญหาที่พบบอ่ ยมีความสำคัญมขี อ้ มลู เพยี งพอสำหรบั การคน้ คว้า 3. เป็นปัญหาที่ยงั ไม่มีคำตอบชัดเจน ตายตวั หรือแน่นอนและเปน็ ปญั หาที่มคี วามซับซ้อนคลุมเครือหรือ ผู้เรียนเกดิ ความสงสยั เป็นปัญหาทีม่ ีประเดน็ ขัดแย้ง ขอ้ ถกเถียงในสังคมยังไมม่ ขี ้อยุติ 4. เป็นปญั หาท่ีอย่ใู นความสนใจ เปน็ สงิ่ ทีอ่ ยากรู้แตไ่ มร่ ู้ 5. ปญั หาทส่ี ร้างความเดอื ดรอ้ น เสยี หาย เกิดโทษ ภยั และเป็นสงิ่ ไมด่ ี หากมกี ารนำข้อมูลมาใชโ้ ดยลำพัง คนเดียวอาจทำให้ตอบปญั หาผิดพลาด 6. ปญั หาที่ได้รบั การยอมรบั จากผอู้ ่นื วา่ จริง ถกู ต้อง แตผ่ ้เู รยี นไมเ่ ช่ือวา่ จรงิ ยังไม่สอดคลอ้ งกับความคิด ของผ้เู รยี น 7. ปญั หาทีอ่ าจมีคำตอบ หรอื แนวทางการแสวงหาคำตอบได้หลายทางครอบคลมุ การเรยี นร้ทู ก่ี วา้ งขวาง หลากหลายเน้อื หา 8. เป็นปญั หาท่มี ีความยากง่ายเหมาะสมกับพื้นฐานของผูเ้ รยี น 9. เป็นปญั หาทไ่ี มส่ ามารถหาคำตอบของปัญหาได้ทันที ต้องมีการสำรวจ ค้นควา้ และรวบรวมขอ้ มูล หรือ ทดลองดูก่อน จึงจะได้คำตอบ ไมส่ ามารถคาดเดา หรือทำนายได้ง่ายๆ วา่ ตอ้ งใช้ความรอู้ ะไร ยุทธวธิ ีในการสบื เสาะหาความรเู้ ป็นอย่างไร หรอื คำตอบ หรือผลของความร้เู ป็นอยา่ งไร 10. เป็นปัญหาทส่ี ง่ เสริมความรู้ด้านเนื้อหา ทักษะ สอดคลอ้ งกับหลักสตู รการศึกษา กระบวนการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ขน้ั ท่ี 1 กำหนดปญั หา ขน้ั ท่ี 2 ทำความเขา้ ใจกบั ปญั หา ผ้สู อนจะกระตุ้นผู้เรียนดว้ ยคำถามหรือการเสรมิ แรง เพ่อื ให้ผเู้ รยี นทำความเขา้ ใจกับปัญหาที่อยากรู้ โดย เนน้ ใหเ้ กดิ การระดมสมอง เพือ่ หาแนวทางและวิธีการในการหาคำตอบ โดยมีครูผูส้ อนคอยดูแลตรวจสอบเพ่อื ให้ เกดิ ความถูกต้อง 26
ขนั้ ที่ 3 ดำเนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ผู้เรียนจะตอ้ งดำเนินการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งเปน็ ระบบร่วมกัน โดยมกี ารกำหนดกตกิ า วางเป้าหมาย และ ดำเนินกจิ กรรมตามระยะเวลาที่กำหนด โดยมีครูผู้สอนคอยให้คำชแ้ี นะและอำนวยความสะดวก ขนั้ ท่ี 4 สงั เคราะหค์ วามรู้ ผ้เู รียนแต่ละคนสังเคราะหค์ วามรู้ทีไ่ ด้จากการคน้ คว้า โดยมกี ารนำเสนอกนั ภายในกลุ่ม เพอ่ื หาข้อสรุป ทบทวนและตรวจสอบความถูกตอ้ ง โดยมีครูผู้สอนถามคำถามโดยกระตุ้นให้ผเู้ รียนมีการแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ และเกิดความคดิ รวบยอด ขนั้ ที่ 5 สรปุ และประเมนิ คา่ ของคำตอบ ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ นำข้อสรปุ ทีไ่ ดม้ าสร้างเปน็ องค์ความร้ใู หม่ และเลือกวิธที ี่จะนำเสนอสู่ภายนอก โดยผ่าน ความเหน็ ชอบจากครผู ู้สอนในการตรวจสอบความถูกต้อง และความเหมาะสมในการนำเสนอ ขนั้ ท่ี 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน ผเู้ รียนแตล่ ะกลมุ่ นำองค์ความรู้ทไ่ี ด้ไปนำเสนอตามวิธกี ารท่ไี ดก้ ำหนดไว้ เพื่อเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ โดย ครผู ู้สอนประเมนิ ผลการเรียนรู้จากการดำเนนิ งานของผเู้ รยี นตามสภาพจรงิ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน เปน็ หนง่ึ ในแนวการจัดการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับการศกึ ษาใน ศตวรรษท่ี 21 สอดคลอ้ งกับการจัดการเรยี นรุ้เชิงรกุ ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั สามารถนำมาใช้กับผู้เรียนได้ใน ทกุ ระดบั ชั้น โดยขึน้ อยู่กับการคน้ หาปัญหาท่เี หมาะสมกบั พนื้ ฐานความร้ขู องผู้เรยี น ภาพที่ 2 กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน 27
การประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน การประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานควรเป็นการประเมินผลตามสภาพจริง มีการกำหนด เป้าหมายที่มีความสัมพันธ์ในการประเมิน ได้แก่ การทำความเข้าใจด้านกระบวนการที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน และสิ่งที่ได้รับจากเนื้อหาวิชา มีลักษณะการ ประเมินดังนี้ 1) การประเมินตามสภาพจรงิ เปน็ การวดั ผลหรอื ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักเรยี นโดยตรงผ่านชีวิต จริง เช่น การดำเนินการด้านการสืบสวน ค้นคว้า การร่วมมือกันทำงานกลุ่มในการแก้ปัญหา การวัดผลจากการ ปฏิบัติงานจริง เปน็ ตน้ 2) การสังเกตอย่างเป็นระบบ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกับการประเมินผลในด้านทักษะ กระบวนการของผู้เรียนในขณะเรยี น ผู้สอนต้องมกี ารกำหนดเกณฑก์ ารประเมินใหช้ ัดเจน เช่น การแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์นั้น ควรมีการกำหนดเกณฑ์การประเมินไว้ ได้แก่ การสร้างปัญหาหรือคำถาม การสร้างสมมติฐาน การระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม การอธิบายแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการ ประเมนิ ผลสมมตฐิ านบนพนื้ ฐานของข้อมูลท่ดี ี บทบาทของครูในการจดั การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน การจัดการเรียนรแู้ บบใชป้ ญั หาเป็นฐานครูผูส้ อนจะทำหน้าที่สนบั สนุนการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ใหค้ ำปรกึ ษา กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นเอาความรู้เดมิ ที่มอี ย่มู าใช้และเกิดการเรียนรู้โดยการต้ังคำถาม ส่งเสริมให้ผู้เรียนประเมนิ การ เรยี นรู้ของตนเอง รวมทงั้ เป็นผ้ปู ระเมนิ ทักษะของผู้เรยี นและกลมุ่ พร้อมให้ข้อมูลย้อนกลบั เพ่ือให้ผู้เรยี นไดเ้ กิดการ พัฒนาตนเอง รปู แบบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) ลกั ษณะสำคญั ของการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน 1. ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมคี วามต่ืนตวั และกระตือรือรน้ ด้านการรู้คิด 2. กระต้นุ ใหเ้ กิดการเรียนรูจ้ ากตัวผเู้ รียนเอง มากกวา่ การฟงั ผูส้ อนในห้องเรยี น และการทอ่ งจำ 3. พัฒนาทกั ษะการเรียนร้ขู องผู้เรยี น ให้สามารถเรียนรูไ้ ดด้ ้วยตวั เอง ทำให้เกิดการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื ง นอกห้องเรยี นด้วย 4. ได้ผลลพั ธใ์ นการถ่ายทอดความรใู้ กล้เคียงกับการเรยี นรรู้ ปู แบบอ่ืน แต่ได้ผลดีกวา่ ในการพฒั นาทักษะ ด้านการคดิ และการเขียนของผเู้ รยี น 5. ผูเ้ รยี นมีความพึงพอใจกบั การเรียนรู้แบบนีม้ ากกว่ารูปแบบทีผ่ ู้เรยี นเป็นฝ่ายรบั ความรซู้ ึง่ เปน็ การเรยี นรู้ แบบต้งั รบั (Passive Learning) 28
6. มุ่งเน้นความรบั ผดิ ชอบของผู้เรียนในการเรียนรู้โดยผา่ นการอา่ น เขียน คิด อภปิ ราย และเข้าร่วมใน การแก้ปญั หา และยังสมั พันธ์กบั การเรียนร้ตู ามลาดบั ขน้ั การเรยี นรู้ ทัง้ ด้านพทุ ธิพิสัยทกั ษะพสิ ยั และจิตพสิ ัย หลกั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน 1. ใหค้ วามสนใจท่ีตัวผู้เรียน 2. เรียนรผู้ ่านกจิ กรรมการปฏิบัติทน่ี า่ สนใจ 3. ครผู ูส้ อนเปน็ เพียงผ้อู านวยความสะดวก 4. ใชป้ ระสาทสัมผสั ทงั้ 5 ในการเรียนรู้ 5. ไม่เน้นการสอบ แต่ประเมินผลจากพฤตกิ รรม ความเข้าใจ และผลงาน 6. เพอื่ นในชน้ั เรียนช่วยสง่ เสรมิ การเรียน 7. มกี ารจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอ้อื ต่อการพฒั นาความคิด และเสรมิ สรา้ งความมัน่ ใจใน ตนเอง ประเภทของกจิ กรรมในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเปน็ ฐาน กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใช้กจิ กรรมเปน็ ฐาน มหี ลากหลายกิจกรรม การเลือกใช้ข้ึนอยกู่ ับความเหมาะสม สอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องการจดั กจิ กรรมนนั้ ๆ วา่ มุ่งให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ หรอื พฒั นาในเรือ่ งใด สามารถจำแนก ออกเป็น 3 ประเภทหลกั คือ 1. กิจกรรมเชงิ สำรวจ เสาะหา คน้ ควา้ (Exploratory) ซงึ่ เก่ียวขอ้ งกับการรวบรวม สงั่ สมความรู้ ความคิด รวบยอด และทกั ษะ 2. กจิ กรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ (Constructive) ซง่ึ เกย่ี วข้องกบั การรวบรวม ส่งั สมประสบการณโ์ ดยผา่ นการ ปฏิบตั ิ หรือการทางานท่รี ิเรมิ่ สรา้ งสรรค์ 3. กิจกรรมเชงิ การแสดงออก (Expressional) ไดแ้ ก่ กิจกรรมทเ่ี ก่ียวกบั การนาเสนอ การเสนอผลงาน กจิ กรรมการเรยี นรทู้ นี่ ยิ มใช้จดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน • การอภิปรายในช้ันเรียน (class discussion) ที่ใช้ได้ทง้ั ในหอ้ งเรยี นปกติ และการอภิปรายออนไลน์ • การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย (Small Group Discussion) • กจิ กรรม “คิด-จับคู่-แลกเปลยี่ น” (think-pair-share) • เซลล์การเรียนรู้ (Learning Cell) • การฝกึ เขยี นขอ้ ความสั้น ๆ (One-minute Paper) • การโต้วาที (Debate) • การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Play) • การเรยี นรู้โดยใช้สถานการณ์ (Situational Learning • การเรยี นแบบกลุ่มร่วมแรงรว่ มใจ (Collaborative learning group) • ปฏกิ ิริยาจากการชมวดิ ทิ ัศน์ (Reaction to a video) 29
• เกมในชั้นเรยี น (Game) • แกลเลอร่ี วอล์ค (Gallery Walk) • การเรยี นรโู้ ดยการสอน (Learning by Teaching) รปู แบบการเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ (Experiential Learning Model) การเรยี นรูเ้ ชงิ ประสบการณ์ (Experiential Learning Model) หรอื การเรียนรผู้ ่านประสบการณ์เชิง ประจกั ษ์ เปน็ การเรยี นรู้ทส่ี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้จากกิจกรรมหรอื การปฏบิ ัติ ซ่ึงเปน็ ประสบการณ์ท่เี ปน็ รูปธรรม เพือ่ นำไปสู่ความรคู้ วามเข้าใจเชิงนามธรรมโดยผา่ นการสะท้อนประสบการณ์ การคิดวเิ คราะหก์ ารสรุปเป็น หลกั การ ความคดิ รวบยอด และการนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในสถานการณ์จรงิ ลกั ษณะสำคญั ของการเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ 1. เปน็ การเรียนรู้ท่ีผา่ นประสบการณ์เชิงประจักษ์จากกิจกรรม หรือการปฏิบตั ิของผ้เู รียน 2. ทำให้เกิดการเรยี นรู้ใหม่ๆ ท่ีทา้ ทายอยา่ งตอ่ เน่ือง และเป็นการเรียนรู้ที่เกดิ จากบทบาทการมีสว่ นร่วม ของผู้เรียน 3. มีปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างผเู้ รยี นด้วยกันเอง และระหวา่ งผู้เรียนกบั ผูส้ อน 4. ปฏิสมั พนั ธ์ทม่ี ีทำให้เกดิ การขยายตัวของเครือข่ายความรู้ท่ที กุ คนมีอยอู่ อกไปอยา่ งกวา้ งขวาง 5. อาศยั กจิ กรรมการสื่อสารทุกรูปแบบ เชน่ การพูด การเขียน การวาดรปู การแสดงบทบาทสมมุติ การนำเสนอด้วยส่อื ต่าง ๆ ซ่ึงเอื้ออานวยให้เกิดการแลกเปล่ียน การวเิ คราะห์ และสงั เคราะห์การเรียนรู้ วงจรการเรยี นรู้เชิงประสบการณ์ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบที่ สำคญั 4 องค์ประกอบ คือ ประสบการณร์ ูปธรรม การสะท้อนประสบการณ์ จากกจิ กรรมและอภิปราย การสรุปความคิดรวบยอด หลกั การองคค์ วามรู้ และการทดลอง/ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ซึ่งการเรยี นรทู้ ี่มปี ระสิทธิภาพ ควรมคี รบท้งั 4 องค์ประกอบ แม้บางคนจะถนดั หรือ มบี างองค์ประกอบมากกว่า เชน่ ไมช่ อบหรือไม่กล้า แสดงความคิดเหน็ หรือไม่นำประสบการณจ์ ากการปฏิบตั มิ าร่วมอภิปราย ผเู้ รียนจะขาดการมที ักษะในองคป์ ระกอบอน่ื ฉะนัน้ ผู้เรียนควรได้รับการ กระตุ้นส่งเสริมใหม้ ่ที กั ษะการเรยี นรู้ครบทกุ ดา้ น และควรมีพัฒนาการการ เรียนร้ใู ห้ครบทั้งวงจร หรือท้งั 4 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี ภาพท่ี 3 วงจรการเรยี นร้แู บบ 1. ประสบการณร์ ปู ธรรม (Concrete Experience) เปน็ ขนั้ ตอนแรก ประสบการณข์ อง Kolb ของการเรียนรู้ ที่ผ้เู รยี นจะได้รับประสบการณจ์ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมทีผ่ สู้ อนกาหนดไว้ การเรยี นรทู้ ีแ่ ท้จรงิ จะเร่ิมขนึ้ เมอ่ื ได้ลงมือ ปฏิบตั ิ กจิ กรรมอาจเป็นการทดลอง การอ่าน การดูวีดทิ ศั น์ การฟงั เรื่องราว การพูดคยุ สนทนา การทำงานกล่มุ 30
การเล่นเกม บทบาทสมมุติ สถานการณ์จำลอง และการนำเสนอผลการปฏิบัติ เงือ่ นไขสำคญั คือ ผ้เู รียนมีบทบาท หลักในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม (Do, Act) 2. การสะทอ้ นประสบการณจ์ ากกิจกรรม และอภปิ ราย (Reflective Observation and Discussion) หรอื Reflect เป็นขัน้ ที่ผู้เรียนจะมกี ารสะท้อนคดิ แสดงความคิดเหน็ และความรู้สกึ ของตนเอง จากประสบการณ์ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม และแลกเปลย่ี นกับสมาชิกในกลมุ่ (Discussion) ผูเ้ รยี นจะไดเ้ รยี นรู้ ถงึ ความคดิ ความรูส้ กึ ของคนอ่นื ทแ่ี ตกต่างหลากหลาย ซึ่งจะชว่ ยให้เกิดการเรียนร้ทู กี่ ว้างขวางข้ึน และผลของ การสะทอ้ นความคดิ เห็น หรอื การอภปิ รายแลกเปลย่ี น หรอื การย้อนกลับ จะทาใหไ้ ด้แนวคิดหรอื ข้อสรปุ ท่มี ี นำ้ หนกั มากยงิ่ ขึน้ นอกจากนผี้ ู้เรียนจะรสู้ กึ วา่ ตวั เองไดม้ สี ่วนร่วมในฐานะสมาชกิ คนหนงึ่ มีคนฟังเรอื่ งราวของ ตนเอง และไดม้ โี อกาสรับรู้เร่ืองของคนอืน่ ทำใหส้ ัมพันธภาพในกลมุ่ ผูเ้ รียนเป็นไปด้วยดี 3. การสรปุ ความคดิ รวบยอด หลกั การ องค์ความรู้ (Abstract Conceptualization) เป็นขัน้ ทผ่ี เู้ รียน รว่ มกันสรุปขอ้ มลู ความคิดเหน็ จับหลกั ขององคค์ วามรู้ ที่ไดจ้ ากการสะทอ้ นความคิดเห็น และอภิปรายในข้ันท่ี 2 ซง่ึ ในขัน้ นค้ี รอู าจใชค้ ำถามกระตุ้นผเู้ รียนให้ช่วยกันสรุปขอ้ คดิ เห็น กรณีที่กิจกรรมนน้ั เป็นเร่ืองของขอ้ มูลความรู้ ใหม่ ครอู าจเสริมขอ้ มูล ข้อเท็จจริงในประเดน็ นั้น ๆเพ่มิ เติม (Adding) โดยการอธบิ ายบอกกลา่ ว การใหอ้ ่าน เอกสาร การดวู ดี ิทัศน์ ฯลฯ เพอ่ื เตมิ เตม็ ประสบการณใ์ หม่ ให้ผู้เรยี นสามารถสรปุ เปน็ หลกั การ ความคิดรวบยอด หรอื องค์ความรูใ้ หม่ได้ อาจให้ผู้เรยี นสรปุ โดยการเขยี นบนั ทกึ สรุปผลการเรยี นรู้ การเขียนแผนภาพมโนทศั น์ (Mind Mapping) การเสนอแผนภาพ แผนภมู โิ ดยใช้ Graphic Organizers การสรุปเป็นกรอบงาน (Framework) ตวั แบบ หรอื แบบจำลองความคดิ (Mental Model) ภาพที่ 4 ผงั กราฟกิ (Graphic Organizers) ภาพท่ี 5 แบบจำลองทางความคิด (Mental Model) 4. การทดลอง/ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้ (Active Experimentation/ application) ในขั้นนี้ ผ้เู รยี นจะตอ้ งนำ ความคิดรวบยอด องค์ความรู้ หรือขอ้ สรุปที่ได้จากขน้ั ตอนท่ี 3 ไปทดลองและประยุกต์ใช้ กิจกรรมการเรียน การสอนสว่ นมากมักจะขาดองค์ประกอบการทดลอง/ประยกุ ต์ใช้แนวคดิ ซ่งึ ถอื ว่าเปน็ ข้ันตอนสำคัญที่ผูส้ อนจะได้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนไดร้ จู้ กั การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ และนำไปใชไ้ ดจ้ ริง กิจกรรมที่เก่ียวกับการประยกุ ต์ใช้ความรู้ เชน่ การทำโครงงาน การจดั กิจกรรมเผยแพร่ข้อมลู ความรู้ การจัดกจิ กรรมรณรงค์ (Campaign) ในการ 31
จดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ ชิงประสบการณ์ จำเปน็ ต้องจดั กจิ กรรมใหค้ รบวงจรทัง้ 4 องคป์ ระกอบ เพราะองค์ประกอบ ท้งั 4 ดา้ นมคี วามสัมพนั ธเ์ กย่ี วเนอื่ งกนั การเรียนรเู้ ชงิ ประสบการณ์ใหไ้ ด้ผลดีนน้ั ควรจะฝกึ ผเู้ รียนให้มีทกั ษะ ต่อไปนี้ คือ 1. ผเู้ รยี นต้องมีความม่งุ ม่ันที่จะมสี ว่ นร่วมกับการเรยี น ไม่ใช่การเป็นผ้รู บั “ป้อน” ความรูอ้ ยา่ งเดียว 2. ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการฝกึ เร่ืองกระบวนการสะท้อนคดิ (Reflection) อยา่ งสมำ่ เสมอ 3. ผู้เรยี นควรไดฝ้ ึกกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ และความคดิ รวบยอดมากอ่ น โดยเฉพาะ หากเปน็ การเรยี นรู้ เชงิ เทคนิคที่มคี วามซบั ซ้อน ซ่งึ จะตอ้ งมีชว่ งเวลาที่ฝกึ ฝนนักเรียนให้มที ักษะการคดิ มาตัง้ เเต่เริม่ แรก 4. ผู้เรียนควรไดร้ ับการฝกึ ตดั สินใจ (Decision Making) และทักษะการแก้ปญั หา (Problem Solving Skills) เพอ่ื ใช้เป็นเคร่ืองมือในการสรุปองคค์ วามรู้ และเลอื กใชอ้ งคค์ วามร้ทู ี่ใหม่ได้ในอนาคต ดงั นัน้ การเรียนรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื Experiential Learning Model (ELM) เป็นวงจรการเรียนรูท้ ี่มี 4 ข้นั ตอน เริม่ ต้นต้งั เเตก่ ารให้ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบัติ ให้ไดฝ้ กึ การสะท้อนคิด ให้ฝกึ มกี ารสรุปหลกั การเหตุผลจนเกดิ เป็น ความรู้ใหมข่ องตน และขัน้ ตอนสดุ ทา้ ยคือ การฝึกนำความรู้ใหมไ่ ปลองปฏิบัตซิ ำ้ โดยการท่ใี หผ้ ู้เรียนได้ฝึกฝน กระบวนการต่าง ๆ เหล่านอ้ี ยา่ งสม่ำเสมอให้เกดิ ความชำนาญขนึ้ นน้ั จะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรทู้ ่ตี อ้ งอาศยั ทักษะการคิดแบบต่าง ๆ ของผเู้ รยี นตอ่ ไปในอนาคต รปู แบบการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning การเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning ) หมายถึง การ เรียนรู้ทีจ่ ัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรยี นเหมือนกับการทำงานในชีวิต จริงอยา่ งมีระบบ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง ไดเ้ รยี นรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุผล ได้ทำการทดลอง ได้พิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วย ตนเอง รู้จักการวางแผนการทำงาน ฝึกการเป็นผู้นำ ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนา กระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง และการประเมินตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ กระตุ้นเพื่อนาความสนใจที่เกิดจากตัวผู้เรียนมาใช้ในการทากิจกรรมค้นคว้าหา ความรดู้ ว้ ยตวั เอง นำไปสู่การเพม่ิ ความรู้ท่ไี ด้จากการลงมือปฏิบัติ การฟัง และการสงั เกตจากผู้รู้ โดยผู้เรียนมีการ เรียนรผู้ ่านกระบวนการทางานเปน็ กลุ่มท่จี ะนำมาสกู่ ารสรุปความรู้ใหม่ มกี ารเขียนกระบวนการจัดทาโครงงานและ ไดผ้ ลการจัดกิจกรรมเปน็ ผลงานแบบรปู ธรรม นอกจากน้กี ารจดั การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ยงั เน้นการเรียนร้ทู ใี่ ห้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ชีวิต ขณะที่เรียน ได้พัฒนาทักษะต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับหลักพัฒนาการตามลาดับขั้นความรู้ Bloom’s Taxonomy 6 ขั้น คือ ความรู้ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่าและการคดิ สร้างสรรค์ โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ถือได้ว่าเป็น การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เนื่องจากผเู้ รียนไดล้ งมือปฏิบตั เิ พ่อื ฝึกทักษะต่าง ๆ ด้วยตนเองทุกขั้นตอน โดยมคี รเู ป็นผ้ใู หก้ ารส่งเสรมิ สนบั สนุน 32
ลกั ษณะสำคญั ของจดั การเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน 1. เปน็ วธิ ีการเรยี นร้ทู ่ีบูรณาการหลักสูตรกบั การจัดการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งกลมกลนื กนั 2. เป็นการเรียนรู้ทเี่ กดิ จากความสนใจใคร่รูค้ ำตอบของตัวผู้เรยี นเอง 3. เป็นวธิ กี ารเรียนรู้ที่ผ้เู รียนสามารถสร้างความรู้ (Construct) ด้วยตนเอง 4. เป็นวธิ กี ารเรียนรเู้ รือ่ งใดเรื่องหนงึ่ อย่างลกึ ซ้ึงลุม่ ลกึ ดว้ ยวธิ ีการ มรี ะบบ เปน็ ขั้นตอน และต่อเนื่อง 5. เปน็ วธิ กี ารเรียนรู้ทแ่ี สวงหาความรู้และสรุปความรู้ด้วยตนเอง 6. เปน็ วิธีการทน่ี ำเสนอผลการศึกษาค้าคว้าดว้ ยวธิ ีการทเ่ี หมาะสม กระบวนการผลงานทพ่ี บ 7. สำหรบั ขอ้ คน้ พบ ส่งิ ท่ีค้นพบสามารถนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ “เปน็ การหาคำตอบข้อสงสัยโดยใช้ ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละปญั ญาหลาย ๆ ด้าน” ประเภทของโครงงาน โครงงานทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ของผเู้ รยี น อาจจำแนกเปน็ หลกั ได้เป็น 2 ประเภท คอื โครงงาน ท่แี บ่งตามระดบั การให้คำปรึกษาของครู และโครงงานท่แี บ่งตามลกั ษณะกจิ กรรม ดังน้ี 1. โครงงานทแ่ี บง่ ตามระดบั การใหค้ ำปรกึ ษาของครูหรอื ระดบั การมบี ทบาทของผเู้ รยี น โครงงานประเภทครนู ำทาง โครงงานประเภทครลู ดการนำทาง โครงงานประเภทผเู้ รยี นนำเอง (Guided Project) เพมิ่ บทบาทผเู้ รยี น ครไู มต่ อ้ งนำทาง (Less – guided Project) (Unguided Project) 1. ครกู ำหนดปญั หาให้ 1. ครูและผเู้ รยี นร่วมกนั ระบุปญั หา 1. ผเู้ รยี นระบุปัญหาตามความ 2. ครอู อกแบบการรวบรวมขอ้ มลู 3. กำหนดวธิ ที ำกจิ กรรม 2. ครูและผูเ้ รยี นรว่ มกนั ออกแบบ สนใจ 4. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 3. รวบรวมข้อมูลเพือ่ หาคำตอบ 2. ผเู้ รียนออกแบบวิธกี ารรวบรวม - สงั เกต 4. ผเู้ รยี นใชเ้ ครื่องมอื ในการ ขอ้ มลู ด้วยตนเอง - วดั - บนั ทกึ ผล รวบรวมขอ้ มูล 3. ผเู้ รียนใช้เคร่อื งมอื ในการ - ตคี วามขอ้ มลู - สงั เกต รวบรวมขอ้ มูล - สรปุ ผล - วดั - สงั เกต - บนั ทกึ ผล - วดั - ตคี วามข้อมูล - บันทึกผล - สรุปผล - ตีความขอ้ มลู - สรปุ ผล 2. โครงงานทแี่ บง่ ตามลกั ษณะกจิ กรรม 1) โครงงานเชงิ สำรวจ (Survey Project) ลักษณะกจิ กรรมคอื ผเู้ รียนสำรวจและรวบรวมข้อมลู แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมาจำแนกเปน็ หมวดหม่แู ละ นำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ เพ่อื ใหเ้ หน็ ลกั ษณะหรอื ความสมั พนั ธใ์ นเร่ืองท่ีตอ้ งการศึกษาได้ชัดเจนย่งิ ข้นึ 33
2) โครงงานเชงิ การทดลอง (Experiential Project) ขน้ั ตอนการดำเนินงานของโครงงานประเภทนจี้ ะประกอบด้วยการกำหนดปัญหา การกำหนดจุดประสงค์ การต้ังสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การดำเนนิ การทดลอง การรวบรวมขอ้ มูล การตีความหมายขอ้ มูลและ การสรุป 3) โครงงานเชงิ พัฒนาสรา้ งสิ่งประดิษฐแ์ บบจำลอง (Development Project) เป็นโครงงานเก่ียวกับการประยุกต์องค์ความรู้ ทฤษฎี หรือหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์หรือศาสตร์ดา้ นอืน่ ๆ มาพฒั นา สร้างสง่ิ ประดษิ ฐ์ เครอื่ งมือ เคร่ืองใช้ อุปกรณ์ แบบจำลอง เพ่อื ประโยชนใ์ ช้สอยต่าง ๆ ซ่ึงอาจจะเปน็ สงิ่ ประดษิ ฐ์ใหม่ หรือปรบั ปรงุ เปลีย่ นแปลงของเดิมทมี่ ีอยู่แล้วใหม้ ีประสิทธภิ าพสูงข้นึ กไ็ ด้ อาจจะเป็นด้านสังคม หรือดา้ นวิทยาศาสตร์ หรือการสรา้ งแบบจำลองเพ่ืออธบิ ายแนวคดิ ต่าง ๆ 4) โครงงานเชิง แนวคิดทฤษฎี (Theoretical Project) เปน็ โครงงานนำเสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ ซ่ึงอาจจะอยู่ในรปู ของสตู รสมการ หรอื คำอธิบายก็ได้ โดยผ้เู สนอได้ตั้งกติกาหรอื ขอ้ ตกลงขนึ้ มาเอง แลว้ นำเสนอทฤษฎี หลกั การหรอื แนวคิดตามกติกา หรอื ขอ้ ตกลงนน้ั หรอื อาจจะใช้กตกิ าหรอื ขอ้ ตกลงเดิมมาอธบิ ายก็ได้ ผลการอธิบายอาจจะใหม่ ยังไมม่ ีใครคดิ มา ก่อน หรืออาจจะขัดแย้งกบั ทฤษฎีเดมิ หรอื อาจจะเปน็ การขยายทฤษฎหี รือแนวคดิ เดิมก็ได้ การทำโครงงาน ประเภทนตี้ ้องมกี ารศกึ ษาค้นควา้ พ้ืนฐานความรู้ ในเร่อื งนนั้ ๆ อยา่ งกว้างขวาง 5) โครงงานดา้ นบริการสงั คมและส่งเสริมความเป็นธรรมในสังคม (Community Service and Social Justice Project) เป็นโครงงานทมี่ ุ่งให้ผเู้ รยี นศึกษาคน้ ควา้ ประเดน็ ที่เป็นปัญหา ความตอ้ งการในชุมชนท้องถิ่นและดำเนิน กิจกรรมเพื่อการให้บริการทางสังคม หรอื ร่วมกบั ชุมชน องคก์ รอ่นื ๆ ในการแก้ปัญหาหรือพฒั นาในเร่ืองนนั้ ๆ 6) โครงงานด้านศลิ ปะและการแสดง (Art and Performance Project) เป็นโครงงานท่ีมงุ่ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษา คน้ ควา้ นำความรทู้ ไี่ ด้จากการเรียนตามหลกั สตู ร โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ ดา้ นภาษาและสงั คม มาต่อยอด สร้างผลงานด้านศลิ ปะและการแสดง เชน่ งานศิลปกรรม ประติมากรรม หนงั สือการ์ตูน การแตง่ เพลง ดนตรี แสดงคอนเสิรต์ การแสดงละคร การสร้างภาพยนตรส์ น้ั ฯลฯ 7) โครงงานเชิงบูรณาการการเรยี นรู้ เปน็ โครงงานท่ีมุง่ สง่ เสริมให้ผู้เรียนบรู ณาการเช่อื มโยงความร้จู ากตา่ งสาระการเรียนรตู้ ง้ั แตส่ องสาขาวิชา ขน้ึ ไป มาดำเนินการแก้ปัญหา หรอื สร้างประเด็นการศกึ ษาค้นคว้า ทงั้ ในเชงิ ประวัติศาสตรท์ กั ษะการประกอบ อาชีพข้ามสาขาวิชา การแกป้ ญั หาส่งิ แวดล้อม สังคม ทต่ี อ้ งนำความรู้ต่างสาขามาประยกุ ต์ใช้ การคิดค้นสร้าง นวัตกรรมจากการบรู ณาการความรู้ ฯลฯ กระบวนการและขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน กระบวนการและข้นั ตอนในการจดั การเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน ทีไ่ ดจ้ ากโครงการสร้างชดุ ความรู้ เพือ่ สรา้ งเสรมิ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ของเดก็ และเยาวชน:จากประสบการณ์ความสำเรจ็ ของโรงเรยี นไทย ตาม แนวคดิ ของดุษฎี โยเหลา และคณะ (2557) มี 6 ขนั้ ตอน ดังน้ี 34
1. ขนั้ ใหค้ วามรพู้ น้ื ฐาน ครใู หค้ วามรู้พ้ืนฐานเก่ยี วกับการทำโครงงานก่อนการเรียนรู้เนื่องจากการทำ โครงงานมีรูปแบบและข้นั ตอนทีช่ ดั เจนและรัดกมุ ดังน้ัน ผูเ้ รียนจึงมคี วามจำเปน็ อยา่ งยิ่งทจ่ี ะตอ้ งมีความรู้ เกย่ี วกบั โครงงานไว้เปน็ พน้ื ฐาน เพ่ือใช้ในการปฏบิ ัติขณะทำโครงงานจรงิ ในข้ันแสวงหาความรู้ 2. ขน้ั กระตุน้ ความสนใจ ครูเตรียมกิจกรรมท่ีจะกระตุ้นความสนใจของผูเ้ รียน โดยต้องคิดหรือเตรยี ม กจิ กรรมท่ีดงึ ดูดใหผ้ ู้เรยี นสนใจ ใคร่รู้ ถงึ ความสนุกสนานในการทำโครงงานหรอื กจิ กรรมรว่ มกนั โดยกจิ กรรมน้ัน อาจเป็นกิจกรรมท่คี รูกำหนดข้ึน หรอื อาจเปน็ กิจกรรมทผ่ี ู้เรียนมีความสนใจต้องการจะทำอยู่แล้ว ทงั้ น้ใี นการ กระตนุ้ ของครจู ะต้องเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นเสนอจากกิจกรรมที่ได้เรียนรผู้ า่ นการจัดการเรยี นรูข้ องครทู ่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ชมุ ชนทผ่ี ู้เรียนอาศัยอย่หู รอื เปน็ เร่ืองใกลต้ วั ที่สามารถเรียนรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง 3. ขนั้ จัดกลุม่ ร่วมมอื ครูใหผ้ ู้เรียนแบ่งกลมุ่ กันแสวงหาความรู้ ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการวางแผนดำเนิน กิจกรรม โดยนักเรยี นเปน็ ผูร้ ่วมกันวางแผนกจิ กรรมการเรยี นของตนเอง โดยระดมความคิดและหารือแบง่ หนา้ ที่ เพ่อื เปน็ แนวทางปฏิบัตริ ่วมกนั หลังจากที่ได้ทราบหวั ขอ้ ส่งิ ที่ตนเองต้องเรียนรู้ในภาคเรยี นน้นั ๆ เรยี บรอ้ ยแล้ว 4. ข้นั แสวงหาความรู้ ในข้ันแสวงหาความร้มู แี นวทางปฏบิ ตั ิสาหรบั ผู้เรยี นในการทำกิจกรรม ดงั นี้ 4.1 นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัตกิ จิ กรรมโครงงานตามหัวข้อท่ีกลุ่มสนใจผเู้ รยี นปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องตนตาม ข้อตกลงของกลุ่ม พรอ้ มท้ังรว่ มมอื กันปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยขอคำปรกึ ษาจากครเู ปน็ ระยะ เม่ือมีข้อสงสยั หรือปัญหา เกดิ ขึ้น 4.2 ผเู้ รยี นร่วมกนั เขยี นสรุปรายงานจากโครงงานทีต่ นปฏบิ ัติ 5. ขน้ั สรุปสงิ่ ทเี่ รยี นรู้ ครใู ห้ผู้เรียนสรปุ สงิ่ ทเี่ รยี นรู้จากการทำกจิ กรรม โดยครูใช้คำถามถามผู้เรียน นำไปสู่ การสรปุ ส่งิ ท่ีเรียนรู้ 6. ขนั้ นำเสนอผลงาน ครูใหผ้ ู้เรยี นนำเสนอผลการเรยี นรู้ โดยครูออกแบบกิจกรรม หรอื จัดเวลาให้ผเู้ รยี น ได้เสนอส่ิงทต่ี นเองได้เรียนรู้ เพื่อให้เพือ่ นร่วมชัน้ และผูเ้ รียนอื่น ๆ ในโรงเรยี นไดช้ มผลงานและเรียนรกู้ จิ กรรมท่ี ผเู้ รยี นปฏบิ ัตใิ นการทำโครงงาน การประเมนิ ผล 1. ประเมินตามสภาพจริง โดยผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมนิ ผลวา่ กจิ กรรมที่ทาไปน้ันบรรลตุ าม จุดประสงคท์ กี่ าหนดไว้หรอื ไม่ อยา่ งไร ปัญหาและอปุ สรรคทพ่ี บคอื อะไรบ้าง ไดใ้ ช้วธิ กี ารแกไ้ ขอย่างไร ผ้เู รยี นได้ เรยี นรู้อะไรบา้ งจากการทำโครงงานน้ัน ๆ 2. ประเมนิ โดยผู้เก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ ผเู้ รียนประเมนิ ตนเอง เพอ่ื นชว่ ยประเมิน ผสู้ อนหรือครู ท่ปี รึกษา ประเมนิ ผปู้ กครองประเมิน บุคคลอ่นื ๆ ทีส่ นใจและมีส่วนเกยี่ วข้อง 35
รปู แบบการเรยี นรโู้ ดยใช้เกมเปน็ ฐาน (Game-Based Learning) Game-based Learning (GBL) คอื วิธกี ารสอนผา่ นเกม เพ่ือให้ นักเรียนเกิดการเรียนโดยผสมผสานระหว่างเกมกับเนื้อหาอย่าง ลงตัว การใช้ GBL ในการสอนออนไลน์จะช่วยกระตุ้นให้นักเรยี นตื่นตวั ระหว่างการเรียนในคาบเรียน รวมถึงช่วยสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนในคาบ เรียน ผ่านคำถามที่จะใช้เล่นในเกม เพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนเนื้อหา ทั้งหมดก่อนเลิกเรียน การใช้ GBL ยังช่วยให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์บ้าง ผ่านการพดู คยุ กันภายในกลุ่ม เพ่ือกระตนุ้ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรียนรู้ด้วย ตวั เองอีกดว้ ย ซึง่ การเรียนรโู้ ดยใชเ้ กมเป็นส่ือ ถกู ออกแบบมาเพ่ือให้เกิด การเรียนร้โู ดยผสมผสานความสนุกสนานจากการเล่นเกมไปพร้อม ๆ กัน ซึง่ ชว่ ยดึงดดู ความสนใจของผ้เู รยี น โดยมีจุดเร่ิมตน้ เมือ่ ประมาณปี ค.ศ. 2002 ซ่ึงนักวิจยั ด้านการศกึ ษาหลายท่าน เช่น Randal W. Kindley Jennifer Jenson และ Maja Pivec ได้นำเสนอแนวคดิ เกีย่ วกบั การปรับปรงุ การเรียน การสอนใหม่ โดยนำเอาความบันเทิงเข้ามาเปน็ สว่ นหน่งึ ในการออกแบบการเรยี นรู้เพ่อื ให้มีความสอดคล้องกับการ เรียนรู้ของผู้เรียนมากขึ้น จนเป็นที่มาของคำว่า Edutainment ซึ่งหมายถึงการศึกษาที่มาพร้อมกับความบันเทิง กับคำวา่ Plearn ทห่ี มายถงึ เล่นและเรยี น โดยมาจากคำวา่ Play รวมกบั Learn Games-Based Learning คอื แนวการเรียนรรู้ ูปแบบหน่ึงท่ีสำคัญ ซ่ึงช่วยพฒั นาการเรยี นร้ขู องผู้เรียนได้ อยา่ งรวดเรว็ เพราะเปน็ วิธกี ารเรยี นรทู้ ่ีเขา้ กบั ธรรมชาตกิ ารเรียนรูข้ องมนุษยม์ ากทีส่ ุด เพราะมนษุ ย์นน้ั ชน่ื ชอบการ เล่นเกมและมองทุกอย่างเป็นเกมเสมอ ดังที่ Johan Huizinga นักวัฒนธรรมและนักประวัติศาสตร์ชาวดัตช์ ได้ อธิบายไวว้ า่ มนุษยเ์ ราเปน็ สิง่ มีชวี ิตที่ชอบเลน่ มาต้งั แตอ่ ดตี ดังนนั้ การเล่นเกมจึงเป็นสงิ่ ท่ีเก่าแก่ และเป็นส่วนหน่ึง ทีน่ ำมาส่กู ารเปน็ อารยธรรมของมนษุ ย์ นอกจากนี้ เกมยังส่งเสริมให้สมองได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน ซึ่งสมองท่ีได้รับการเรียนรู้ที่สนุกและ เพลิดเพลินนั้น สมองก็จะหลั่งสารแห่งความสุขที่เรียกว่า Endorphins ออกมา ซึ่งส่งผลดีอย่างมากกับผู้เรียน ในขณะที่ถ้าสมองได้รบั แต่ความเครียดและความกดดันในการเรียนรู้ สมองจะหลั่งสารแห่งความเครยี ดที่มีชือ่ วา่ Cortisol ออกมาแทน ซึ่งเป็นโทษกับร่างกาย และเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำไปสู่พฤติกรรมที่ไม่ดีของผู้เรียน เช่น การโดดเรยี น หรือ การไมส่ นใจเรียน เป็นต้น สำหรบั หวั ใจของการเรียนรูผ้ ่านเกมน้ัน การออกแบบเกมคอื หวั ใจสำคัญ เพราะถอื เป็นองคป์ ระกอบหลัก ที่จะนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ให้กับนักเรียนในการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการออกแบบเกมให้มี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกบั การเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี นนั้น ตอ้ งคำนึงถงึ เรือ่ งดงั ต่อไปน้ี – Practice หมายถึง การออกแบบเกมนน้ั จะต้องแฝงแบบฝกึ หัดเพอ่ื ให้ผเู้ รียนไดท้ ดลองทำ – Learning by Doing จะตอ้ งเนน้ ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรดู้ ว้ ยตวั เอง – Learning from Mistakes ให้ผูเ้ รียนเรยี นรจู้ ากความผิดพลาด – Goal-Oriented Learning ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนในเกม เพื่อให้ผู้เรียนพยายามที่จะทำให้บรรลุ 36
เปา้ หมาย – Learning Point ต้องแฝงไปด้วยข้อมูลหรือประเด็นหลักสำคัญในการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียน สามารถนำเอาความรูน้ ั้นไปใชง้ านไดจ้ ริง ขอ้ ดขี องวธิ สี อนโดยใชเ้ กม 1. เป็นวธิ ีสอนทช่ี ่วยให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรสู้ งู ผเู้ รียนไดร้ บั ความสนกุ สนานและเกิดการเรยี นรู้จากการเล่น 2. เปน็ วธิ ีสอนทช่ี ว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ โดยการเห็นประจกั ษ์แจง้ ด้วยตนเอง ทำให้การเรียนรู้นั้นมี ความหมายและอย่คู งทน 3. เป็นวธิ สี อนท่ีผู้สอนไม่เหนอ่ื ยแรงมากขณะสอนและผู้เรียนชอบ ขอ้ จำกดั ของวธิ กี ารสอนโดยใชเ้ กม 1. เปน็ วธิ สี อนท่ีใช้เวลาและคา่ ใช้จา่ ยมาก 2. เปน็ วิธีสอนทผ่ี ู้สอนตอ้ งมีความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการสร้างเกม 3. เปน็ วิธีสอนทีต่ อ้ งอาศัยการเตรยี มการมาก 4. เป็นวิธสี อนท่ีผู้สอนตอ้ งมที ักษะในการนำอภปิ รายท่มี ีประสิทธิภาพ จงึ จะสามารถชว่ ยใหผ้ ู้เรียน ประมวลและสรุปการเรยี นร้ไู ด้ตามวตั ถปุ ระสงค์เกม กระบวนการเรยี นการสอนโดยใชร้ ปู แบบเกมเปน็ ฐาน กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้รปู แบบ Game based learning โดยผูจ้ ดั ทำสรุปขั้นตอน/กระบวนการ ของการสอนรปู แบบ Game based learning ตามแนวคดิ ของ Guido (2016) ได้กล่าวถึงกระบวนการจดั การ เรยี นการสอนไว้ 5 ขน้ั ตอนดังนี้ ขนั้ ที่ 1 กำหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรู้ การกำหนดขอบเขตเนอ้ื หาท่ีชัดเจน จะช่วยใหส้ ามารถเลือกใชเ้ กมได้เหมาะสมกับรปู แบบการเรยี นการ สอนมากขน้ึ โดยกอ่ นใชเ้ กมควรพจิ ารณา ดงั น้ี - Intervention หากนกั เรยี นไม่เข้าใจเน้อื หาในบทเรียน ผู้สอนอาจลองใช้เกมเพือ่ แกไ้ ขจุดบกพร่อง เกมท่ี เลือกควรมคี วามเหมาะสมกับผู้เรียนทงั้ ทางด้านเนื้อหาและลีลาการเรียนรู้ของผูเ้ รียน - Enrichment เกมควรมีความหลากหลายและสร้างความทา้ ทายให้กับผ้เู รยี นในการเรยี นรูว้ ธิ ีการใหมๆ่ - Reinforcement เกมมีคณุ ลักษณะที่หลากหลายนอกจากจะสรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ูเ้ รียนแลว้ ยังเปน็ การ เสริมสร้างเนอื้ หาในบทเรียนได้อีกดว้ ย พร้อมทั้งสรา้ งปฏิสมั พันธ์ใหก้ บั ผู้เรียนหากผ้สู อนจัดการเรียนการสอนใหไ้ ด้ ตรงตามทีก่ ล่าวมา จะสง่ ผลใหก้ ระบวนการเรียนการสอนสอดคลอ้ งความต้องการของครูและนกั เรียน ขน้ั ที่ 2 ทดลองการใช้เกม เมอ่ื เลอื กเกมท่ีเหมาะสมกบั ผู้เรยี นแล้ว ผู้สอนจำเปน็ ต้องนำเกมไปทดลองใชเ้ พือ่ ศกึ ษาขอ้ มูล ดังน้ี 37
- บทบาทของครทู ่มี ีความเหมาะสม เป็นคนท่ีคอยกระตุ้นให้นักเรยี นได้ทดลองทำไดฝ้ กึ ฝนและชมเชยเม่ือ ผเู้ รยี นทำถูกตอ้ งเพอ่ื เป็นการสรา้ งขวญั และกำลังใจ - ความสามารถในการใชง้ าน ควรใชง้ านได้ง่าย มีความท้าทาย - การมสี ่วนร่วม เนื้อหาและวิธีการนำเสนอจะเป็นตวั กำหนดการมสี ว่ นร่วมของนกั เรียน - ประเภทเน้อื หา เพอ่ื รองรับรูปแบบการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลายเกมควรมีเน้ือหาประเภทต่างๆ - ระดบั เน้อื หา เพอื่ ระบจุ ุดปญั หาและความถนัดท่ีหลากหลายเกมควรใช้หลกั การสอนทีแ่ ตกต่างเพอื่ ปรบั เน้อื หาใหเ้ หมาะกับผู้เลน่ แต่ละคน การพิจารณาเกมตามขัน้ ตอนที่กล่าวมาข้างต้นนจี้ ะช่วยใหต้ ัดสินใจไดว้ ่าเกมนีเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับ เป้าหมายการเรียนรูท้ ท่ี ่ีตงั้ ไว้ ขน้ั ที่ 3 ศกึ ษาความพงึ พอใจของผเู้ รยี นทม่ี ตี อ่ เกม เม่ือนำเกมไปทดลองใช้ ตอ้ งมีการตรวจสอบความพงึ พอใจของผูเ้ รียนจากแบบสอบถามความพึงพอใจ เพือ่ ดูความเหมาะสมในด้านตา่ งๆของเกม ตามความคิดเห็นของผู้ใช้งาน ขั้นที่ 4 ปรบั ปรงุ และพฒั นาเกม จากการนำเกมไปทดลองใช้ ผู้สอนจะตอ้ งนำข้อบกพรอ่ งนั้นมาแกไ้ ข ให้สอดคล้องกับเปา้ หมายการเรียนรู้ และผเู้ รยี น ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ รปู แบบการสอนโดยใช้ game-based learning โดยการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากเกมทน่ี ำไปทดลองใช้ เพ่ือนำมาเทยี บกบั เกณฑก์ ารประเมินทีต่ ง้ั ไว้ ทกั ษะพน้ื ฐานกบั กลวธิ กี ารสรา้ งหอ้ งเรยี นเชงิ รุก ในหอ้ งเรยี น กิจกรรมสำคัญท่จี ะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจในสิ่งทก่ี ำลงั เรียนรูไ้ ดง้ า่ ยขึ้น คอื การอา่ น พูด ฟัง ถาม เขียน คดิ อยา่ งลุ่มลึก และการทำงานเป็นทมี 1. เทคนคิ การอา่ นเชงิ รกุ การอ่านท่กี ระตือรือร้น (active reading) เปน็ วธิ ีการอ่านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ช่วยให้ ผู้เรยี นเข้าใจเรื่องที่ อ่านไดด้ ขี ้ึน ไมใ่ ช่การอ่านอยา่ งไปเรอื่ ย ๆ เหมือนกับการอา่ นทัว่ ไป แต่เป็นการอ่านท่มี ีวัตถุประสงค์เพอื่ หาคําตอบ หรือตง้ั คาํ ถาม โดยประมวลความคิดจากสิ่งท่ีอา่ น เพอื่ ให้ม่นั ใจวา่ ผเู้ รียนได้รบั สาระจากการอา่ นอย่างต่อเนื่อง ทง้ั ได้ใชว้ ิจารณญาณในการวเิ คราะหเ์ รอ่ื ง ที่อ่าน เป็นการอ่านเนอ้ื หาอยา่ งตง้ั ใจ และก่อให้ เกิดความสนใจคน้ ควา้ เพมิ่ เติมดว้ ยตวั ผเู้ รียนเอง โดย ใช้เทคนิคต่างๆ ท่ีช่วยส่งเสริมผูเ้ รยี นในการอ่านและทำความเขา้ ใจเนื้อหาได้ ดงั นี้ 1.1 การเน้นคํา (emphasizing) เปน็ กิจกรรมท่ีให้ผ้เู รยี นเลือกคํา วลี ประโยค หรือ ขอ้ มูล ออกจาก เนื้อหาท่ีกําหนด เพอ่ื กระตุน้ นกั เรยี นใหเ้ ห็นคําสําคัญหรอื มโนทศั นท์ ี่สาํ คัญซงึ่ ทาํ ไดห้ ลายวธิ ี เช่น ขีดเสน้ ใต้ ระบายสี วงรอบข้อมูล เป็นตน้ 38
1.2 การเวน้ คํา (closing) เปน็ กิจกรรมเชิงคาดคะเน โดยลบคําสําคญั (Keyword) ในเนอ้ื หาออกบางส่วน แลว้ ให้นักเรียนเติมเน้ือหาให้สมบรู ณ์ ผูส้ อนอาจกาํ หนดคําสาํ หรบั เติมหรอื ไม่ กาํ หนดกไ็ ด้ 1.3 การเรยี งลําดับ (sequencing) เป็นกจิ กรรมตัดแบง่ เนื้อหาความรู้ออกเปน็ สว่ นๆ สลบั คละกัน แล้วให้ ผเู้ รียนจดั เรียงลําดับเชิงเหตุผลของเหตุการณต์ ามเนือ้ หาใหถ้ ูกต้อง 1.4 การระบชุ ่อื (labeling) เปน็ การให้ผูเ้ รียนตัดช้ินส่วนของขอ้ ความทีเ่ ตรยี มให้ แลว้ นําไปติดบน แผนภาพทกี่ ําหนด เพือ่ ตรวจสอบความรู้ท่ถี ูกตอ้ งในการค้นหาช่อื หรือคําท่เี หมาะสม กบั แผนภาพ และใชแ้ ผนภาพ เป็นเครอื่ งชว่ ยจําและแยกแยะเนอื้ หา 1.5 การเขยี นแผนภาพ (drawing diagrams) ให้ผู้เรียนเขยี นแผนภาพหรอื แผนภมู ิ ลําดับความคิดจาก เน้อื หาทอี่ า่ น เพื่อชว่ ยให้ผ้เู รยี นมองเหน็ ภาพ ตรวจทาน และบันทกึ ความเข้าใจใน มโนทศั น์ที่กาํ หนดใหอ้ า่ น 1.6 การอา่ นเนือ้ ความแล้วตง้ั คําถาม (devising question) ผู้สอนเตรียมเนือ้ หาให้ผูเ้ รยี นอ่านแลว้ ตั้ง คําถามแลกเปลี่ยนคาํ ถามกนั เพ่อื ค้นหาคําตอบ หรอื อภปิ รายรว่ มกนั 1.7 การผสมภาพหรือสญั ลกั ษณ์กบั คํา (pictogram) เปน็ การเปล่ยี นคาํ หรือ พยัญชนะบางตัวของข้อมูลให้ เปน็ รปู ภาพหรอื สัญลกั ษณ์แทน ผ้เู รียนทําความเข้าใจข้อมูลทก่ี าํ หนด จากการอ่านเรียงลําดบั ภาพสัญลกั ษณ์และคาํ ต่างๆ คล้ายปรศิ นาภาพ เป็นกิจกรรมที่ทําให้ผู้เรียน สนุก กระตุ้นการอ่าน การเกบ็ ขอ้ มลู และคดั เลือกข้อมูล 2. การเขยี นเชงิ รกุ การเขยี นทกี่ ระตอื รอื ร้น (active writing) เป็นวธิ กี ระตุน้ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงออกเชิงความรู้ ความเข้าใจ โดยใช้ เทคนคิ ต่างๆ ท่ีชว่ ยส่งเสริมผเู้ รียน ในการเขียนดังนี้ 2.1 บนั ทกึ ประจำวนั (dairy) เปน็ กจิ กรรมที่เปิดโอกาสให้ผ้เู รียนสะท้อนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งอสิ ระ โดยส่ือสารแนวความคดิ ของตนเองดว้ ยการเขียน 2.2 รายงานในหนงั สอื พมิ พ์ (newspaper reports) เพ่อื เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเขยี นสาระในรปู ของ บทความ บทสัมภาษณ์ สําหรบั ตีพิมพใ์ นหนงั สือพมิ พ์ หรือใหเ้ ลอื กบทความจาก วารสาร หนังสือพมิ พ์ เพ่อื มาเขียน รายงาน ขอ้ เทจ็ จรงิ 2.3 การเขยี นรอ้ ยแกว้ โคลง กลอน (phrase and poet) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรยี น สรา้ งสรรค์งานเขียนท่ี นาํ ไปส่มู โนทศั น์ หรือการวิเคราะห์ขอ้ เท็จจริง การบรรยายประสบการณห์ รือ ความร้สู ึกของผู้เรียน การเขยี น รายงานโครงการหรอื รายงาน 2.4 บทละคร (drama) ผู้สอนอาจใช้เทคนคิ การเขยี นบทละครโดยใช้เนื้อหาทางการ เรยี นเปน็ หลกั ให้ ผู้เรยี นเขยี นสะท้อนความรู้ แนวคดิ ความคิดเห็น หรอื ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 2.5 การเขียนจดหมาย (letter) เปน็ การเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นสอื่ สารสง่ิ ที่ได้เรียนรู้ โดยการเขยี นจดหมาย โตต้ อบกับผู้ใกลช้ ิด เพ่ือทบทวน พฒั นา และเสรมิ ความเขา้ ใจในเร่ืองที่เรยี น 2.6 การนาํ เสนอ (presentation) เปน็ การรายงานผลการค้นคว้าของผู้เรียนให้ผ้อู ื่นทราบซง่ึ อาจอยู่ใน รูปแบบของการทําโปสเตอร์ หรอื แผ่นพบั กไ็ ด้ 39
3. การพดู -ฟงั เชงิ รกุ การพดู และฟงั เชงิ รุกสามารถทำได้โดยการอภิปรายกลุ่ม เป็นวธิ สี อนทจี่ ัดให้มีข้นึ ดว้ ยเจตนารว่ มกันทีจ่ ะ พิจารณาเรอ่ื งใดเรอื่ งหนึง่ โดยนําข้อปัญหาและแง่คดิ ต่างๆ เกี่ยวกับเรอ่ื งน้ันๆ มารว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ หรอื ช่วยขบคิด เกยี่ วกบั ข้อปัญหานั้น เพ่ือหาขอ้ สรุป โดยทกุ คนมสี ่วนร่วมในการพดู และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งเทา่ เทียมกนั โดยไม่มีการแยกผพู้ ดู และผ้ฟู ัง นบั ว่าเป็นวิธที ี่ทาํ ให้เกิดผลดีมาก เพราะเป็นการเรมิ่ จาก ความรพู้ ้ืนฐาน ของนกั เรยี นไปสู่ประสบการณ์ใหม่ ช่วยพฒั นาเจตคติ ยกระดบั ความสนใจและการมี สว่ นร่วมของนกั เรียนทกุ คน จากการทำงานเปน็ กลมุ่ ใช้กระบวนการทน่ี าํ นกั เรยี นให้คดิ ส่อื สาร และแบ่งปนั ความร้ใู นมโนทศั น์ทางวทิ ยาศาสตร์ ตอ่ กนั เช่น 3.1 การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นการอภปิ รายทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพทส่ี ุดอย่างหนง่ึ ท่ีสามารถใชไ้ ดก้ บั การเรียน วทิ ยาศาสตรท์ กุ บทเรยี นในกรณีท่ตี ้องการให้มกี ารแสดงความคิดเหน็ กนั อยา่ งท่วั ถึง 3.2 การอภิปรายทั้งชน้ั เรียน เป็นการอภปิ รายทีม่ ักมีผ้สู อนเป็นผนู้ ําในการอภิปราย มักใช้เพ่ือกระตุ้น ความสนใจให้ผู้เรียนเร่มิ แสดงความคิดเหน็ ในเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ ซ่งึ อาจเป็นการนาํ เข้าสูบ่ ทเรยี นหรือสรุปบทเรยี น 3.3 การพูดเปน็ คู่ (rally robin) เป็นเทคนิคทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นพูดตอบแสดง ความคิดเห็นเปน็ คู่ๆ โดย เปดิ โอกาสใหส้ มาชิกท่ีเปน็ คู่ได้พูดกัน เช่น กลุ่มมีสมาชกิ 4 คน แบ่งเปน็ 2 คู่ คหู่ นง่ึ ประกอบดว้ ยสมาชิกคนท่ี 1 และคนที่ 2 แตล่ ะคู่จะพูดพร้อมกันไป โดย 1 พดู 2 ฟัง จากนนั้ 2 พูด 1 ฟงั ต่อมา 1 พูด 2 ฟัง เป็นต้น 3.4 การพูดรอบวง (round robin) เปน็ เทคนคิ ที่สมาชกิ ของกลมุ่ ผลดั กนั พดู ตอบ เลา่ อธิบาย โดยไม่ใช้ การเขยี น การวาด และเป็นการพดู ทผ่ี ลัดกันทีละคนตามเวลาท่ีกำหนด จนครบ 4 คน 4. การทำงานเปน็ ทมี การเรยี นแบบร่วมมอื (Co-operative learning) 2 แบบ คือ การเรยี นแบบรว่ มมอื อย่างเปน็ ทางการ (formal co-operative learning) ซงึ่ เป็น เทคนคิ การเรยี นแบบรว่ มมอื ทใ่ี ช้เวลาตลอดคาบการเรียนหรอื ตลอด กจิ กรรมการเรยี นในแต่ละคาบ และการเรยี นแบบร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการ (informal co-operative learning) ซ่งึ ไม่จำเปน็ ต้อง ใช้ตลอดกจิ กรรมการเรียนการสอนในแต่ละคาบ อาจใช้ในขนั้ นํา หรอื สอดแทรกใน ข้ันสอนตอนใดๆ ก็ได้ หรอื ใช้ในขั้นสรุป ข้ันทบทวน หรอื ขัน้ วดั ผล โดยเทคนคิ การเรยี นแบบรว่ มมือ แบบไม่เป็น ทางการ พฒั นาข้ึนและเสนอใหม้ สี มาชกิ 4 คนตอ่ กลุ่มซ่งึ เป็นขนาดทีเ่ หมาะสม 4.1 การพดู เป็นคู่ (rally robin) เป็นเทคนิคทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เรียนพดู ตอบแสดง ความคิดเหน็ เป็นคู่ๆ โดย เปิดโอกาสให้สมาชิกท่ีเป็นคไู่ ด้พูดกัน เช่น กลุม่ มีสมาชกิ 4 คน แบ่งเปน็ 2 คู่ คหู่ นง่ึ ประกอบด้วยสมาชกิ คน ท่ี 1 และคนที่ 2 แตล่ ะคู่จะพดู พรอ้ มกันไป โดย 1 พูด 2 ฟัง จากนั้น 2 พูด 1 ฟัง ตอ่ มา 1 พดู 2 ฟงั เปน็ ต้น 4.2 การเขยี นเปน็ คู่ (rally table) เป็นเทคนคิ ท่ีคลา้ ยกับการพูดเปน็ คู่ทกุ ประการ ต่างกันเพยี งการเขยี น เปน็ คู่ เปน็ การร่วมมือเป็นคๆู่ โดยผลัดกนั เขยี นหรอื วาด 4.3 การพูดรอบวง (round robin) เป็นเทคนคิ ที่สมาชิกของกลุ่มผลดั กนั พดู ตอบ เลา่ อธบิ าย โดยไม่ใช้ การเขียน การวาด และเปน็ การพูดที่ผลัดกนั ทีละคนตามเวลาทีก่ ําหนด จนครบ 4 คน 4.4 การเขียนรอบวง (round table) เปน็ เทคนคิ ทเ่ี หมือนกบั การพดู รอบวง แตกตา่ งกันท่เี นน้ การเขียน การวาด วิธกี าร คอื ผลัดกนั เขียนลงในกระดาษท่เี ตรยี มไว้ทลี่ ะคนตาม เวลาที่กําหนด เทคนคิ น้ีอาจดดั แปลงให้ 40
สมาชิกทุกคนเขยี นคาํ ตอบ หรือบนั ทึกผลการคดิ พร้อมๆ กัน ทั้ง 4 คน ต่างคนตา่ งเขียนในเวลาทีก่ าํ หนด เรยี ก เทคนคิ น้ีวา่ การเขียนพรอ้ มกนั รอบวง (simultaneous round table) 4.5 การแก้ปัญหาดว้ ยการตอ่ ภาพ (jigsaw problem solving) เปน็ เทคนิคท่ี สมาชกิ แต่ละคนคิดคําตอบ ของตนเองไว้ จากน้ันกลมุ่ นาํ คําตอบของทุกๆ คนมารว่ มอภปิ รายเพื่อหา คาํ ตอบที่ดีท่ีสุด 4.6 คิดเดี่ยว-คดิ คูร่ ่วมกนั คิด (think-pair-share) เป็นเทคนิคโดยเริม่ จากปญั หา หรือโจทย์คําถาม โดย สมาชิกแต่ละคนคิดหาคําตอบด้วยตนเองกอ่ น แล้วนําคาํ ตอบไปอภิปรายกับ เพอ่ื นเปน็ คู่ จากนั้นจงึ นาํ คําตอบของ ตนหรอื ของเพอื่ นท่เี ป็นคู่เล่าให้เพอื่ นๆ ฟัง 4.7 อภปิ รายเปน็ คู่ (pair discussion) เป็นเทคนิคท่เี มื่อผู้สอนถาม คาํ ถาม หรือ กาํ หนดโจทย์ แลว้ ให้ สมาชิกร่วมกันคิดและอภิปรายเป็นคู่ 4.8 อภิปรายเปน็ ทมี (team discussion) เปน็ เทคนคิ ทเ่ี ม่อื ผู้สอน ต้งั คําถาม แลว้ ให้ สมาชกิ ของกลุ่มทกุ ๆ คน ร่วมกนั คดิ พดู อภปิ รายพร้อมกัน 4.9 ทาํ เปน็ กลุ่ม-ทํา เปน็ คู่-และทํา คนเดียว (team-pair-solo) เปน็ เทคนิคท่ีเมื่อ ผู้สอนกําหนดปัญหา หรือโจทย์ หรืองานให้ทาํ แล้ว สมาชิกจะทํางานรว่ มกนั ทงั้ กล่มุ จนทํางานไดส้ าํ เรจ็ แลว้ จากน้นั จะแบง่ สมาชิกเปน็ คู่ ให้ทํางานรว่ มกันเปน็ คูจ่ นงานเสรจ็ แล้วถงึ ขน้ั สุดทา้ ยให้ สมาชิกแตล่ ะคนทํางานเดยี่ วจนสาํ เร็จ 4.10 การทาํ โครงงานเป็นกลุ่ม (team project) เปน็ เทคนคิ การเรยี นด้วยวิธี โครงงาน โดยผ้สู อนอาจจะ กาํ หนดวธิ กี ารทําโครงงาน ระบุบทบาทของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้ รว่ มกนั ทําโครงงานตามมอบหมาย หรืออาจ ใชว้ ธิ ีใหผ้ ู้เรยี นร่วมกนั คดิ ทําโครงงาน 4.11 การหาข้อยุติ (showdown) เปน็ เทคนคิ ท่ีใช้ในการทบทวนความรู้ วดั ความรู้ ซึ่งอาจใชไ้ ด้ในทุก ขัน้ ตอนของการสอน 4.12 การใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับแบบหมุนเวียน (rotating feedback) เปน็ เทคนิคท่ี สมาชิกทกุ คนให้ขอ้ มลู ย้อนกลับ ซงึ่ อาจเปน็ ขอ้ คดิ ข้อเสนอแนะ ข้อดี ข้อบกพรอ่ ง ต่อผลงานเพื่อน โดยหมนุ เวยี นไปจนครบอย่างเปน็ ระบบ หรอื อาจมีการกําหนดเวลาด้วยก็ได้ 5. เทคนคิ การตง้ั คำถาม การแบ่งคำถามตามข้นั ของการใช้ความคิดในพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ตามแนวคิดของ Benjamin Bloom โดยแบ่งคำถามเป็น 6 ประเภทคอื 1. ถามความรู้ คำถามทมี่ ีคำตอบแนน่ อน ถามเนื้อหาเก่ียวกบั ขอ้ เท็จจริง คำจำกัดความ คำนยิ าม คำศัพท์ กฎ ทฤษฎีถามเกย่ี วกบั ใคร (who) อะไร (what) เม่ือไร (when) ท่ีไหน (where) รวมทงั้ ใชห่ รอื ไม่ เชน่ มนษุ ย สัมพันธห์ มายถงึ อะไร ผคู้ น้ พบทฤษฎีสัมพนั ธภาพคือใคร 2. ถามความเขา้ ใจ คำถามที่ต้องใช้ความรู้ ความจำมาประกอบเพื่ออธิบายดว้ ยคำพดู ของตนเอง เปน็ คำถามทส่ี งู กว่าถามความรู้ เชน่ จงเปรยี บเทียบความแตกต่างระหว่างการแพร่และการออสโมซสิ จงอธิบาย ลกั ษณะของผมู้ สี ขุ ภาพจิตดี เปน็ ตน้ 3. ถามการนำไปใช้ คำถามที่นำความร้แู ละความเขา้ ใจไปใช้แก้ปญั หาในสถานการณใ์ หม่ เช่น ท่านจะมวี ิธี 41
ประหยดั น้ำในครอบครัวของท่านไดห้ รือไม่ อย่างไร เมือ่ เขา้ ชมพพิ ธิ ภณั ฑท์ ่านควรปฏิบัติตนอยา่ งไรบา้ ง 4. ถามการวิเคราะห์ คำถามที่ให้จำแนกแยกแยะเร่ืองราวตา่ ง ๆ ว่าประกอบด้วยสว่ นยอ่ ยอะไรบา้ ง โดยอาศัยหลักการ กฎ ทฤษฎี ทม่ี าของเรอ่ื งราว หรอื เหตกุ ารณ์น้ัน เช่น สาเหตุสำคัญใดบ้างที่ทำให้โลกร้อน มูลเหตุสำคญั ที่ทำให้สถติ กิ ารมสี ุขภาพจติ ไมด่ ขี องคนในกรุงเทพฯ สูงขนึ้ คอื อะไร 5. ถามการสงั เคราะห์ คำถามทใี่ ชก้ ระบวนการคิด เพือ่ สรุปความสมั พันธ์ระหวา่ งขอ้ มูลย่อย ๆ ขนึ้ เป็น หลกั การ หรอื แนวคดิ ใหม่ เช่น จงสรุปหลกั การถนอมอาหาร จากการศึกษา จงสรปุ ผลเก่ียวกบั สาเหตกุ ารเกิดภาวะ อว้ นหรอื โรคอ้วน 6. ถามการประเมนิ ค่า คำถามทใ่ี หน้ ักเรยี นตคี ณุ ค่าโดยใช้ความรู้ ความรู้สกึ ความคดิ เหน็ ในการกำหนด เกณฑ์ เพอ่ื ประเมินค่าส่ิงเหลา่ น้นั เชน่ ความคดิ เห็นของเพอื่ นคนใด เหมาะสมที่สุด ผลการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ของกลุ่มใดดที ี่สดุ นอกจากน้ยี งั มลี กั ษณะของการใช้คำถามท่เี ป็นเคร่ืองกระตุ้นใหเ้ ดก็ เกดิ การคดิ และสนใจต่อส่อื และส่ิงท่ี อย่รู อบตัว คำถามแบง่ เป็น 2 ระดับ คือ คำถามระดับพ้นื ฐาน และคำถามระดบั สงู คำถามระดบั พนื้ ฐาน เป็นคำถามทเี่ กีย่ วข้องกับข้อเทจ็ จริง ซ่ึงได้จากความจำและการสงั เกต คำถามประเภทนมี้ ักมี คำตอบเดียว คำถามระดบั ตำ่ แบง่ ไดเ้ ปน็ 6 ชนดิ คอื 1. คำถามให้สงั เกต เป็นคำถามท่ีต้องการใช้ประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ล้นิ และผวิ กาย เพยี งสว่ นใด สว่ นหน่งึ หรอื หลายส่วน รวบรวมขอ้ มูลในการตอบคำถาม แต่ผู้ตอบต้องไม่เพม่ิ ความร้เู ดมิ หรอื ความคดิ เห็นส่วนตัว ลงไป เด็ก ๆ เห็นอะไรในภาพนบี้ า้ ง (ตา) เมอ่ื นักเรยี นฟงั เพลงนแ้ี ล้วรู้สกึ อย่างไร มะละกอท่ีเดก็ ๆ ชิมมีรสเปน็ อย่างไร (ล้นิ ) ภาพนม้ี ีลักษณะอย่างไร เด็ก ๆ ลองเอามือเคาะโตะ๊ แล้วฟงั ซวิ า่ มีเสียงอย่างไร (หู) สารเคมีใน 2 บีกเกอร์ ตา่ งกนั อย่างไร ดอกไม้ท่เี ด็ก ๆ ถอื อยู่มกี ลน่ิ หรือไม่ (จมูก) พ้ืนผิวของวัตถเุ ปน็ อยา่ งไร ลองจับดูซิ ผิวของน้อยหนา่ เปน็ อย่างไร (ผิวกาย) 2. คำถามให้ทบทวนความจำเป็นคำถามท่ีผตู้ อบสามารถนำความรหู้ รือประสบการณ์เดิมมาตอบคำถาม- เดก็ ๆ ทราบไหม นกกินอะไรเปน็ อาหาร วันวิสาขบชู าตรงกบั วันใด ลองนึกดซู ิ ไกท่ ่เี ด็ก ๆ เคยเหน็ มีลกั ษณะอยา่ งไร ดาวเคราะห์ดวงใดทม่ี ีขนาดใหญท่ ี่สุด รุ้งกนิ นำ้ มกี ่ีสี ใครเป็นผู้แตง่ เร่ืองความสุขของกะทิ สัตว์ปีกออกลูกเป็นอะไรก่อน เมอ่ื เกดิ อาการแพย้ าควรโทรศพั ท์ไปทีเ่ บอร์ใด 3. คำถามให้บอกความหมายหรือคำจำกดั ความเป็นคำถามท่ีใชต้ รวจสอบประสบการณ์เดมิ เกี่ยวกับความรู้ ความเขา้ ใจ ในเร่ืองคำศัพทแ์ ละความหมายของคำ กอ่ นการจดั ประสบการณ์ใหม่แก่ผู้เรยี น รังนกหมายถงึ อะไร คำว่าสิทธมิ นุษยชนหมายความวา่ อยา่ งไร บา้ นของนักเรียนอกี อยา่ งหนง่ึ ว่าอะไร บอกความหมายของ Passive Voice 42
ข้าวเปลอื กหมายถงึ ขา้ วลักษณะอยา่ งไร 4. คำถามชี้บ่งเป็นคำถามท่กี ำหนดขอ้ มลู ไวห้ ลายอย่าง แล้วให้เลอื กข้อมลู อยา่ งหนึ่งท่เี ด็กต้องการนำมา เปน็ คำตอบ ตวั หนอน หญ้าแห้ง นำ้ หวานจากดอกไม้ ส่งิ ใดคือ อาหาร ประโยคทปี่ รากฏบนกระดานประโยคใดบ้างที่ ของนก เป็น Past Simple Tense มะม่วง สม้ และน้อยหน่า ผลไมช้ นดิ ใดที่มเี มลด็ ภายในผล ระบชุ อื่ สัตวท์ ม่ี กี ระดกู สันหลัง เพยี งเมล็ดเดยี ว ระหว่างวัว ช้าง และมา้ สตั วช์ นิดใดวิ่งเรว็ ท่ีสุด ประเทศใดบา้ งทเ่ี ปน็ สมาชิก APEC ปลาดกุ ปลานิล และปลาทอง ปลาชนิดใดท่ีเล้ียงไวด้ ูเล่น คำใดต่อไปน้เี ป็นคำควบกลำ้ ไม่แท้ 5. คำถามถามนำเปน็ คำถามที่ใช้เน้นเรอื่ งที่ครพู ูด และดึงความสนใจของเด็ก คำถามประเภทนี้มัก นำไปสคู่ ำตอบ ใช่ จริง ถูก เปน็ ส่วนใหญ่ แก้วเป็นเด็กทเี่ ลยี้ งนก ใช่หรอื ไม่ เดก็ ๆ คิดวา่ การยงิ นกเปน็ ส่ิงดหี รือไม่ ต้นไมใ้ นภาพมีขนาดใหญ่ใช่ไหม นกั เรยี นควรเลือกทานเฉพาะของหวานท่ีชอบใชห่ รอื ไม่ 6. คำถามเร้าความสนใจ เปน็ คำถามท่ีไม่ต้องการคำตอบอยา่ งจริงจัง แตใ่ ช้เพือ่ ดำเนินกิจกรรมในชั้น เรยี นให้เปน็ ไปตามทไ่ี ดว้ างแผนไว้ เด็ก ๆ ลองคิดดูซิว่า ในกลอ่ งนีม้ อี ะไรอยู่ เด็ก ๆ คอยดซู ิว่า เพ่ือนจะทำท่าอะไรต่อไป ลองเดาสวิ ่า ถ้าแต่งกายแบบน้ี เขาน่าจะมอี าชีพอะไร เด็ก ๆ คิดวา่ ตัวเองหนา้ เหมือนตวั การต์ ูนอะไรบา้ ง คำถามระดับพ้นื ฐานท้งั 6 ชนิดดงั กล่าว ยังมีความจำเปน็ ในห้องเรยี นอย่มู ิใช่น้อย ทง้ั น้เี พราะครู อาจเลือกใชค้ ำถามเพ่อื ทบทวนความจำ ใช้เชื่อมโยงความรู้และประสบการณเ์ ดิมไปสู่ประสบการณ์ใหม่ และ เพ่อื ควบคมุ กิจกรรมในหอ้ งเรียนให้ดำเนินไปในทศิ ทางที่ตอ้ งการ คำถามระดบั สงู เปน็ คำถามที่ส่งเสรมิ ให้ผู้ตอบใช้ความคิด นำความร้แู ละประสบการณ์เดมิ มาเป็นพ้นื ฐานสรุปหาคำตอบ ส่งเสริมให้เดก็ มคี วามคิดสรา้ งสรรคแ์ ละเกิดทักษะในการคิดอย่างมีระบบ นอกจากนน้ั ยงั เปน็ คำถามทเี่ ปิดโอกาสให้ ผตู้ อบได้แสดงความคดิ เหน็ ตลอดจนกระตุ้นใหไ้ ดล้ องแกป้ ญั หาด้วยตนเอง คำถามระดบั สูงแบ่งได้เป็น 7 ชนดิ คือ 1. คำถามใหอ้ ธิบาย เป็นคำถามท่ีผตู้ อบจะตอ้ งนำความรู้ และประสบการณ์เดิมมาเป็นพน้ื ฐานสรปุ หา คำตอบ ถา้ เด็ก ๆ อยากทราบว่า มดทเี่ ลยี้ งไวช้ อบอาหาร เพราะเหตุใดใบไม้จึงมสี เี ขียว ประเภทใดมากที่สดุ เดก็ ๆ จะทำอยา่ งไร นักเรยี นควรมีบทบาทหนา้ ที่ในโรงเรียนอย่างไร ทำไมเดก็ ๆ จึงบอกวา่ มดชอบกินน้ำหวาน ลองเลา่ ให้เพื่อน ๆ ฟงั ซิ 43
ทำไมเด็ก ๆ เหล่านจ้ี งึ ไมส่ วมเสอื้ ในฤดูหนาว ชาวพุทธทีด่ ีควรปฏิบัตติ นอยา่ งไร ทำไมมดแต่ละรังตอ้ งมีนางพญามด นกั เรียนจะปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไรจงึ จะทำใหร้ ่างกาย แขง็ แรง 2. คำถามใหเ้ ปรยี บเทียบเปน็ คำถามท่ีมจี ุดมงุ่ หมายใหเ้ ดก็ ใช้ความคิดเปรียบเทียบของสองสง่ิ วา่ มี คุณสมบัติหรอื ลกั ษณะคลา้ ยกันหรอื ตา่ งกนั อย่างไร คณุ สมบตั ิทนี่ ำมาเปรยี บเทยี บนัน้ ไดแ้ ก่ รปู รา่ ง ลักษณะ สี ขนาด นำ้ หนัก จำนวน ปรมิ าตร ความสูง ความยาว ความหนา รสชาติ กลิ่น ฯลฯ เสือกับแมวมีอะไรต่างกันบา้ ง พืชใบเลย้ี งคู่ต่างจากพืชใบเล้ยี งเดีย่ วอย่างไร เสือกับแมวมอี ะไรท่ีคลา้ ยกนั จงเปรียบเทยี บวถิ ีชีวิตของคนไทยในภูมภิ าคต่าง ๆ ของประเทศไทย ถ้าเราต้องช่วยกันจดั ผลไม้เหล่าน้ใี ส่กระจาด 2 ใบ สงั คมเมืองกับสงั คมชนบทเหมือนและต่างกันอยา่ งไร เด็ก ๆ จะจดั แบง่ อย่างไร ลองคดิ และเล่าใหเ้ พอ่ื น ๆ ฟัง 3. คำถามให้จำแนกประเภท เป็นคำถามเพอื่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กรู้จกั จัดกลมุ่ จดั หมวดหมโู่ ดยใชเ้ กณฑ์ของ ตนเองหรอื ของผู้อื่น หรอื บอกเกณฑท์ ่ีใช้ในการจัดกลุม่ ท่ีผู้อ่ืนทำไว้ เกณฑท์ ่ีใช้ในการจัดกลมุ่ นอี้ าจไดแ้ ก่ สี ขนาด รปู รา่ ง ประโยชน์ หรอื วัสดทุ ่ใี ช้ หากเป็นภาพของสิง่ มชี วี ิตอาจแบ่งตามอาหาร ท่ีอยู่อาศยั ลกั ษณะเชน่ สัตว์ 2 เทา้ สัตว์ 4 เท้า และประโยชน์ เช่น สัตว์เลีย้ งไวใ้ ช้งาน เป็นต้น ครแู บ่งมดออกเปน็ 2 พวกอยา่ งทเี่ หน็ เด็ก ๆ บอกได้ไหม อะไรเป็นสาเหตทุ ีท่ ำใหเ้ กิดภาวะโลกร้อน วา่ ทำไมครูจงึ แบง่ เช่นนี้ ลองคิดดูซิวา่ เราจะแบ่งภาพสัตวเ์ หลา่ นเ้ี ป็น 2 กลุม่ ได้ วัฒนธรรมแบง่ ออกเปน็ กปี่ ระเภท อะไรบา้ ง อย่างไรดี ครูใหน้ กั เรยี นดูวดี โี อสวนเศรษฐกิจพอเพียง สาเหตุใดที่ทำใหน้ างวันทองถูกประหารชีวิต ลองชว่ ยกนั คดิ วา่ จะแบ่งต้นไม้ไดเ้ ปน็ ก่ีประเภท โลกแบง่ มนุษยด์ ้วยเพศเป็นหญงิ และชาย การติดยาเสพตดิ ของเยาวชนเกดิ จากสาเหตุใด นักเรียนคดิ ว่าเราจะใชเ้ กณฑแ์ บบอ่นื ในการแบง่ ประเภท ของมนษุ ย์ไดอ้ ีกหรอื ไม่ 4. คำถามใหย้ กตัวอย่าง เปน็ คำถามที่ต้องการให้ผตู้ อบบอกชือ่ หรอื ยกตวั อย่างของสง่ิ ท่กี ำหนดให้ โดย อาศยั ทักษะการสงั เกต และมคี วามรคู้ วามจำเร่ืองตา่ ง ๆ เปน็ พน้ื ฐานในการหาคำตอบ ใหน้ ักเรียนยกตัวอย่างผักท่ใี ชเ้ ป็นอาหารคนละ 1 ช่อื รา่ งกายขับของเสยี ออกจากสว่ นใดบา้ ง ใหบ้ อกช่อื ส่งิ ของท่ีบรรจุอยู่ในกระปอ๋ งมาคนละ 1 ช่ือ ยกตวั อย่างการเคลอื่ นท่ีแบบโปรเจกไตล์ บอกช่ือผลไม้ที่มีรสหวานคนละ 1 ชนิด หนิ อัคนสี ามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งไรบ้าง มีสตั ว์ชนิดใดบ้างทเี่ ล้ียงไวใ้ ชง้ าน อาหารคาวหวานในพระราชนิพนธก์ าพย์เหช่ มเครอ่ื ง คาวหวานได้แก่อะไรบา้ ง 44
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118