Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

Description: ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีปญจธาตุ 41 3. พรอ งใหบ าํ รงุ แม แกรง ใหทอนลกู เชน อินของไตและตับพรอ งทงั้ คู การรักษาไมเ พยี งแตจ ะรกั ษา อินของตับเทาน้ัน ยงั ตอ งบํารงุ เสรมิ อนิ ของไตดว ยเพราะเปน อวยั วะแมของไมตบั อกี ตวั อยา งคือ การใช จุดอินกู ซง่ึ เปน เหอเช่ยี จดุ นา้ํ ของเสนเสาอนิ ไต ขา และจุดชวฺ ีเฉฺวียนซ่งึ เปน จุดนํ้าของเสน จฺเหวยี อนิ ตบั ของขา ในการรกั ษาอนิ ของไตและตบั พรอ งทงั้ คู 4. การรักษาโรคโดยใชอารมณของปญจธาตุ คัมภีรเนยจิงภาคซูเว่ิน อินหยางอ้ิงเซ่ียงตาลุน 《素问 。阴阳应象大论》กลา ววา “คนมีอวัยวะตนั ทั้งหา สรา งชหี่ า อยา งใหเปน โกรธ ดใี จ กงั วล (ครนุ คดิ ) เศรา และกลวั ” อารมณโ กรธจะมผี ลไมดีตอตบั อารมณดีใจจะมีผลไมด ตี อหวั ใจ อารมณ ครนุ คดิ กังวลจะมีผลไมด ีตอมา ม อารมณเศรา จะมีผลไมดีตอ ปอด อารมณกลัวจะมผี ลไมด ตี อไต อารมณ โกรธชนะครนุ คิดกงั วล อารมณดชี นะความเศรา ความกลวั ชนะความดีใจ ความเศรา ชนะความโกรธ อารมณครุนคดิ กงั วลชนะความกลวั เปนไปตามลักษณะความสมั พันธระหวา งปญ จธาตใุ นแงอ ารมณ แพทยผ ูม ชี ือ่ เสียงในสมยั ราชวงศจ ินเหวยี น ชอ่ื จางจอ่ื เหอ (张子和) ไดใ ชอ ารมณป ญจธาตุ ในการรกั ษาโรคท่ีเกิดจากอารมณโดยวธิ กี ารขมกลับ ดังนี้ “ใชความเศรา รกั ษาความโกรธ โดยพูดใหเ กดิ ความรูสกึ เศรา ใชค วามดใี จรกั ษาความเศรา โดยพดู ใหเกดิ ความสนุกทะล่ึง ใชค วามกลวั รกั ษาความดีใจ โดยพดู ใหเ กิดความกลวั ความตาย ใชความโกรธรกั ษาความกงั วลครนุ คิด โดยพดู ดถู กู ดหู มน่ิ ดแู คลน ใชค วามกังวลครนุ คิดรกั ษาความกลวั โดยพดู ใหคดิ ” ขอ พึงระวังเก่ียวกบั การใชป ญ จธาตุ หลกั ปญจธาตุเปนเพียงวธิ ีหนึ่งของการแพทยแ ผนจีน ยงั มีความรูใ นการวนิ ิจฉัยรักษาทดี่ อี น่ื อกี เชน ความรูเกย่ี วกับเร่อื ง จ้งั ฝเู ปยนเจง้ิ ชเ่ี สวฺ ยี่ เปยนเจ้ิง ล่วิ จงิ เปยนเจิ้ง ไมควรใชปญ จธาตวุ ิธีเดยี วใน การวนิ จิ ฉยั โรค เพราะบางครงั้ มีความไมเ หมาะสมอยางยงิ่ ตวั อยางเชน ถา อินของไตพรอ ง การใชว ธิ ี เสรมิ อินเพอ่ื รกั ษาอนิ ของไตจะไมนยิ ม เพราะยาอนิ ท่ใี ชร ักษาอนิ ของไตพรอ งนัน้ เปนยาออนเกินไป หรือ การจะอาศยั หลกั ความสัมพันธแมลกู คอื บํารงุ หยางของหวั ใจ เพอ่ื ใหเ กดิ การเสริมมา ม ใหเกดิ หยางช่ี ตาม กไ็ มใชว ธิ ที ่ีนํามาใชรักษาในทางปฎบิ ัติ เพราะสามารถรกั ษาไดดีกวา โดยใชค วามรูใ นเรือ่ ง ม่งิ เหมนิ (命门) มาอนุ หยางของมาม ฉะนนั้ ในการรกั ษาจะตองเลือกวธิ ที ี่เหมาะสมเปน หลัก

42 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบ้อื งตน บทท่ี 4 ทฤษฎีอวยั วะภายใน จ้ังเซีย่ งเสวฺ ยี ซวั (藏象学说) หรือ ทฤษฎอี วยั วะภายใน เปนวชิ าที่วาดว ยอาการแสดงทาง สรีรวทิ ยา หรือ พยาธิวิทยา ซง่ึ บอกถงึ ภาวะของอวยั วะท่ซี อ นอยูภ ายในรางกาย สมัยโบราณการแพทยแ ผนจนี ไดจดั กายวิภาคศาสตร สรีรวทิ ยา และพยาธวิ ทิ ยาเขา ดว ยกนั ดงั น้ัน กายวิภาคศาสตรของการแพทยแ ผนจนี จึงมเี นือ้ หาความรดู า นกายวิภาคศาสตรของการแพทย แผนตะวันตก เชน กลาวถงึ ปอด มาม หวั ใจ ไต ตบั เหมอื นกัน แตจ ะแตกตา งกันท่หี นาที่ของอวยั วะ การแพทยแผนจนี ไดจดั ใหว ิชาสรรี วทิ ยาและพยาธวิ ทิ ยากลาวรวมถงึ อวยั วะ ทาํ ใหหนา ที่ของอวัยวะใน การแพทยแ ผนจนี มมี ากกวาในการแพทยแ ผนตะวันตก ตวั อยางเชน หวั ใจ ทางการแพทยแ ผนจนี นอกจาก จะมหี นา ที่เชน เดียวกบั การแพทยแ ผนตะวนั ตกแลว ยังทําหนาทีค่ วบคุมจิตใจดว ย (神志 เสนิ จอื้ ) กลา วคอื ไดครอบคลุมถึงบางสวนของระบบประสาทในการแพทยแ ผนตะวันตก นอกจากนนั้ การแสดงออกซง่ึ ความ แขง็ แรงของหัวใจสามารถสังเกตไดจ ากใบหนา เนื่องจากหวั ใจเปดทวารท่ีล้นิ ความสมบรู ณจ ึงอยูทใ่ี บหนา เปนตน จงั้ เซีย่ งเสวฺ ียซวั ไดก ลาวถงึ สรีรวิทยาและพยาธิวทิ ยาของจ้ังฝู (脏腑) เปน พนื้ ฐาน คาํ วา “จง้ั ฝ”ู จงึ ใชเ ปน คําแทนของอวยั วะภายใน (内脏 เนย จ ง้ั ) อวัยวะภายในแบง เปน 3 กลมุ ดงั น้ี 1. อวยั วะตนั (脏 จง้ั ) มี 5 ชนดิ ไดแก หัวใจ ตบั มาม ปอด และไต 2. อวัยวะกลวง (腑 ฝู) มี 6 ชนิด ไดแ ก ถุงนาํ้ ดี กระเพาะอาหาร ลําไสเ ล็ก ลาํ ไสใ หญ กระเพาะปสสาวะ และซานเจยี ว 3. อวยั วะกลวงพิเศษ (奇恒之腑 ฉเี หิงจอื ฝ)ู มี 6 ชนดิ ไดแ ก สมอง ไขกระดูก กระดกู เสนเลอื ด ถุงนาํ้ ดี และมดลูก ลักษณะพเิ ศษของหนา ทข่ี องอวยั วะตัน และอวยั วะกลวง คอื เกบ็ และแปรสภาพ อวยั วะภายใน ทาํ หนาท่ีเปนสถานท่เี กบ็ สารจําเปน เพื่อหลอ เลี้ยงรา งกาย อวยั วะกลวงเปนสถานท่เี ปล่ียนผานของสารอาหาร เพอ่ื การดดู ซมึ สารจําเปนแกร างกาย อวัยวะกลวงพเิ ศษ เปนอวยั วะท่มี ลี ักษณะโครงสรางทแ่ี ตกตา งจากอวยั วะตัน แตม หี นาที่เหมอื น อวยั วะตัน คอื ใชเกบ็ สารจงิ แตเ น่ืองจากรูปรางและหนาท่ีไมเ หมือนอวยั วะกลวง ไมสมั ผสั กบั อาหารและ น้าํ ทีก่ ินเขาไป คลา ยกบั อวัยวะทีม่ ีโครงสรา งมดิ ชดิ จงึ ไดช อื่ วา อวยั วะกลวงพเิ ศษ คัมภรี ซเู ว่ิน อจู ัง้ เปยลนุ

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 43 《素问 。五脏别论》กลาววา “สมอง กระดกู ไขกระดูก เสนเลอื ด ถงุ นํ้าดี และมดลูก ทงั้ 6 น้ี รปู รา ง เกบ็ ซอนลึกและม่นั คงคลา ยอิน ดงั น้นั จงึ มหี นา ท่เี กบ็ และถายทงิ้ ขนานนามวา อวัยวะกลวงพิเศษ” ตารางท่ี 4-1 แสดงการจาํ แนกหมวดหมขู องอวัยวะภายใน อวยั วะ อวยั วะทีเ่ กย่ี วของ ลกั ษณะสาํ คญั อวัยวะตันท้ัง 5 หวั ใจ มาม ไต ตบั ปอด 1. มีรปู รางแนนอน 2. สรางและสะสมสารจําเปน อวัยวะกลวงทง้ั 6 กระเพาะปสสาวะ กระเพาะอาหาร 3. แตล ะอวยั วะมหี นา ที่เฉพาะแตกตา ง ลาํ ไสใ หญ ลาํ ไสเ ล็ก ถุงนา้ํ ดี อวยั วะกลวงพิเศษ ซานเจียว กัน แตทํางานเชือ่ มโยงกัน สมอง ไขกระดกู กระดกู 1. มีลักษณะเปนโพรง กลวง เสนเลอื ด ถงุ น้ําดี มดลกู 2. มหี นา ท่ีรับน้ําและสารอาหาร ยอ ย ดูดซึมอาหาร และขับถา ยของเสีย 1. เปนอวัยวะท่มี ีรูปรางมดิ ชิด 2. เก็บสะสมสารจาํ เปนเหมอื นอวัยวะตัน ลักษณะพเิ ศษของจง้ั เซย่ี งเสฺวย่ี ซวั (藏象学说) 1. อวัยวะตันและอวยั วะกลวงมีความสมั พนั ธก นั แบบนอก-ใน อวยั วะทัง้ คสู มั พนั ธก นั ไดตามลกั ษณะเสน ลมปราณท่เี ช่ือมกันตามแนวขวาง เชน เสนมอื ไทอ นิ ปอด สัมพนั ธก ับ ลาํ ไสใ หญ เสน มอื เสา อนิ หัวใจ สัมพนั ธกับ ลําไสเลก็ โดยสรปุ มา ม สัมพันธกับ กระเพาะอาหาร ไต สัมพนั ธกบั กระเพาะปส สาวะ ตบั สัมพนั ธก บั ถงุ นํา้ ดี เย่ือหมุ หวั ใจ สมั พันธกับ ซานเจียว ทางกายภาพอวยั วะคสู ัมพันธน ้มี กั อยใู กลกันและเวลาปว ยมักกระทบถึงกนั ได

44 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน 2. ความสมั พนั ธข องทวารและอวยั วะตนั ทั้ง 5 อวัยวะ รวมถึง เปด ทวารท่ี ความสมบรู ณด ทู ่ี หวั ใจ เสนเลอื ด ล้นิ หนา ปอด ผวิ หนงั จมกู ขน มาม กลา มเนื้อ ปาก รมิ ฝปาก ตับ เอ็น ตา เลบ็ ไต กระดกู หู เสน ผม หากอาการแสดงของทวาร หรอื ความสมบูรณ หรอื อวัยวะทคี่ ลมุ ถงึ มีความผดิ ปกติ แสดงถงึ เลอื ดลมจากอนิ หยางของอวัยวะตันทม่ี าเล้ียงผดิ ปกติ 3. ความสัมพนั ธข องจิตใจ อารมณ กบั อวยั วะตนั ทั้ง 5 อารมณ จิตใจ โกรธ (ตับ) เสนิ (หวั ใจ) กลวั (ไต) ดีใจ (หัวใจ) หนุ (ตบั ) อ้ี (มา ม) เศรา (ปอด) ครุนคิด (มา ม) จื้อ (ไต) ปอ (ปอด) ความสัมพนั ธข องอารมณก ับอวัยวะตันทั้ง 5 คอื ถา อารมณผ ดิ ปกติ เชน โกรธมากเกนิ ไป จะมผี ลกระทบตอ ตับได ดีใจมากเกินไปจะมีผลกระทบตอหัวใจได ความสมั พนั ธข องจิตใจกบั อวยั วะตนั ทั้ง 5 มีดงั น้ี เสิน (神) เปน จิตสว นท่สี ําคญั เปนเจาเหนือจิตสว นอ่นื มีสติรอบรู อี้ (意) เปน จิตสว นทแี่ ยกแยะผิดชอบชวั่ ดอี อกจากกนั ปอ (魄) เปนจติ สวนท่ีรบั ทราบความรสู ึกและไปดําเนนิ จดั การบรหิ าร จ้ือ (志) เปนจติ ท่สี ามารถคิดหากลยุทธ เทคนคิ วธิ กี าร ทีฉ่ ลาดได หนุ (魂) เปน จิตทีม่ ีความกลา หาญ เดด็ เด่ียว ตงั้ ม่ัน

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 45 คมั ภีรซูเวน่ิ เซวฺ ียนหมิงอชู 《ี่ 素问 。宣明五气》กลา ววา “หัวใจซอ นเกบ็ เสิน ปอดซอ น เกบ็ ปอ ตับซอ นเกบ็ หุน มามซอนเก็บชี่ ไตซอนเกบ็ จ้ือ” หมายความวา สตสิ ัมปชญั ญะ ความต้ังม่ัน ความเฉลียวฉลาดของคน มีความสัมพันธกับความสมดุลของหนาที่ ความสามารถของอวยั วะตนั ท้งั 5 อวยั วะตนั (脏 จัง้ ) อวยั วะตันมี 5 ชนิด คอื หัวใจ ปอด มาม ตับ และไต นับเยื่อหมุ หวั ใจรวมอยกู ับหวั ใจ ลักษณะทางสรรี ะวทิ ยาทั่วไปของอวยั วะตันทัง้ 5 คือ การสรา งและเก็บสะสมสารจําเปน และลมปราณ เปน สวนสาํ คญั ของการดํารงชวี ติ ประจาํ วนั และเปน แกนกลางในการทํางานของอวยั วะภายใน อวยั วะตนั ท้ัง 5 มหี นาท่ีการทํางานทแี่ ตกตางกัน โดยมีหัวใจทาํ หนาท่ีสาํ คัญหลกั ของอวยั วะกลุมน้ี ในคมั ภีรเนยจงิ 《内经》ไดก ลา ววา “หวั ใจเปนจา วแหงอวัยวะภายใน” 1. หัวใจ (心 ซนิ ) 1.1 ลกั ษณะทางกายวภิ าคศาสตร ในตาํ ราศาสตรการแพทยแผนจนี เม่อื 2,000 ปกอ น ไดกลา วถึงตําแหนง ทต่ี งั้ ของหวั ใจไวว า ตําแหนงของหวั ใจอยบู รเิ วณใจกลางชอ งทรวงอกอยูใตปอด จงึ ทาํ ใหเ ม่ือหัวใจเตน สามารถรูสกึ ไดบ รเิ วณ ใตห ัวนมดา นซาย รปู รางของหวั ใจจะเหมอื นดอกบวั ตูมควํ่าหวั ลง เน่อื งจากตาํ แหนง ของหวั ใจอยูด านบน ของรางกาย จงึ เปน อวยั วะหยางในทฤษฎี อิน-หยาง ศาสตรก ารแพทยแ ผนจนี ถอื วา หวั ใจเปนจาวแหง ชีพจรและเลอื ด กลาวคอื หวั ใจจะทาํ หนา ท่ีสูบฉีดเลอื ดไปหลอเล้ียงสว นตาง ๆ ของรา งกาย 1.2 หนา ท่ที างสรีรวิทยา 1) หวั ใจควบคมุ เลอื ดและการไหลเวยี นของเลอื ด เสนเลือดเปน เสน ทางลําเลียงเลอื ดจากหวั ใจ หวั ใจสูบฉีดเลือดไหลเวยี นไปตามสว นตาง ๆ ของรา งกายตามเสน เลอื ด การทํางานของหัวใจจงึ มีหวั ใจ เปนหลกั มีเลือดและเสน เลอื ดเปนสวนประกอบ การเชอ่ื มตอการไหลเวียนของเลือดผา นหลอดเลอื ดทว่ั รา งกาย เปน กจิ กรรมของลมปราณของหวั ใจทเ่ี รยี กวา ชี่ของหวั ใจ (心气 ซนิ ชี่) หรอื การเตนของหัวใจ ทง้ั นคี้ วามแรงของการไหลเวยี นเลือดจะขนึ้ กบั ความแรง จงั หวะ และอตั ราการเตนของหวั ใจ โดยสรุป ความปกติของหวั ใจจงึ ขนึ้ กับปจจยั ดงั นี้ - ลมปราณของหวั ใจ ท่ีใชส บู ฉดี เลือดออกจากหวั ใจวา สมบูรณหรือไม - เลือดมปี รมิ าณเพียงพอหรอื ไม - ชพี จรหรือเสน เลอื ดโลงโปรง หรือไม - จงชีป่ กติหรอื ไม

46 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบ้อื งตน เนื่องจากตําแหนง ทต่ี ้งั ของหวั ใจและหวั ใจเชอื่ มตอ ชพี จรโดยเปด ทวารท่ีล้นิ ดงั นน้ั ทางสรรี วทิ ยา สามารถสงั เกตความปกติของการทาํ งานของหวั ใจไดจ าก 4 อยา ง คือ ลักษณะชีพจร สใี บหนา ลักษณะ ลิ้น และความรสู กึ บริเวณทรวงอก ตวั อยางเชน การทํางาน ชพี จร สีหนา ลิ้น ทรวงอก หวั ใจปกติ นมุ นวล ไมเ ร็ว แดง มีเงาชมพู แดงชมพู ปกติ ไมช า มแี รง ชมุ ช้ืน หวั ใจชพ่ี รอง ไมม แี รง หนาหมนหมอง อว นซีด ใจสั่น เสน เลอื ดหวั ใจตบี จมฝด หรอื คลํ้ามดื มวงคลาํ้ แนน หนา อก เจ็บอก จังหวะไมปกติ 2) หวั ใจควบคุมสติ สติ (神 เสนิ ) เปนสง่ิ ที่ไมสามารถมองเห็นหรอื จับตองไดโดยตรง แตส ามารถสงั เกตไดท างออ ม ดังนี้ - จากการแสดงออกของสีหนา นัยนตา คําพดู ความมชี วี ิตชวี า และการตอบสนองตอ ส่งิ เรา การเคล่ือนไหวของแขนขา เปน ตน - จากความรูตัว จิตสํานึก การไตรตรอง คมั ภีรซ ูเ วิน่ หลิงหลนั มี่เตีย่ นลนุ 《素问 。灵兰 秘典论》กลา ววา “หวั ใจนัน้ เปน เสมือนกษัตริยของขาราชการทั้งหลาย มลี กั ษณะของการเหน็ ชอบ รับรู ชอบรอบร”ู แพทยจีนจางเจ้ยี ปน (长介宾) กลา วอา งถงึ คมั ภีรเนยจ งิ 《内经》วา “จิตท้ัง 5 มีใจ เปนผใู ช หวั ใจเปนจา วแหง อวยั วะตนั อวัยวะกลวง และครอบครองขอ มูลของจิตทง้ั 4 ที่เหลอื ” เปน การ เปรยี บเทียบวา หัวใจเปน ใหญ เปน ประธานในจติ ทงั้ 5 คมั ภรี ซ เู วิ่น หลิงหลันม่ีเตย่ี นลนุ กลา ววา “หวั ใจ น้ันเปน จา วแหง อวัยวะตันทงั้ หา และอวยั วะกลวงท้ังหก” “ถา จา วรอบรเู ขาใจไพรฟาอยเู ย็นเปน สุข ถา จาวไมรูเ รื่องขาราชการทัง้ สิบตาํ แหนง เปนอันตราย” สรุปคือ หวั ใจมหี นา ที่เกย่ี วกบั สติ จติ สาํ นึก การ ไตรตรองและครอบคลุมอวยั วะภายใน ถา หวั ใจดีดไู ดจากสตสิ มบูรณจ ติ สํานึกแจมใส การไตรต รองวอ งไว และนอนหลับได ถา หัวใจถูกกระตนุ มากเกนิ ไป จะเกิดอาการสตคิ ลุม คลงั่ ไมส งบเยน็ ถา หัวใจถูกกดมาก เกินไป จะเฉอื่ ยชา หลงลมื เปน ตน 1.3 หวั ใจจัดเปนธาตไุ ฟ ธาตไุ ฟคูกับหวั ใจในปญจธาตุ ธาตุไฟถกู ขม ดวยธาตนุ ้ําของไตเพ่ือใหเ กดิ สมดุล มิฉะนั้น ธาตุ ไฟจากหวั ใจจะรอ นลอยขน้ึ บน คัมภรี ซูเว่นิ เซฺวยี นหมิงอูช่ี《素问 。宣明五气》กลาววา ลักษณะ ธาตไุ ฟของหวั ใจจึงสามารถดไู ดจ ากความสวาง ความสดใส

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 47 1) ใบหนา มีความสวา งเงาใส 2) สตปิ ญญา มีความสนใจในสง่ิ แวดลอ ม ท้ังผวิ เผินตน้ื และเบอื้ งลึก นอกจากน้ันภาวะไฟของหัวใจยังสามารถสังเกตไดจาก บริเวณทรวงอกท่ีเปนท่ีตั้งของหัวใจ หวั ใจเปน หยาง ในหยางสูบฉดี เลอื ดและพลังหยางไปเล้ยี งทัว่ รา งกาย เช่ือมโยงกับฤดรู อนมีรากเกีย่ วของ กบั หยางของไต หวั ใจ เปรียบเหมอื นกษตั รยิ  ปกครองประชาชน ตอ งมีสติสวางไสว บา นเมืองจงึ สงบสขุ ลกั ษณะสตสิ วางไสวเปนลกั ษณะของธาตไุ ฟ หวั ใจเปนจา วแหง อวยั วะภายใน ครอบครองสตจิ ติ สาํ นกึ ดังในคมั ภรี เ นยจ งิ 《 内 经 》 กลาววา “หวั ใจถูกทําอนั ตรายไมได” และคมั ภีรซ เู วนิ่ ลว่ิ เจีย๋ จงั้ เซ่ียงลนุ 《素问 。六节藏象论》 กลา ววา “หัวใจเปนทนุ ของชวี ติ เปนจติ ท่แี ปรเปลีย่ น” ดงั นัน้ ในการรกั ษาใหปอ งกนั หวั ใจไวกอนเปน สําคัญ เยอ่ื หุมหัวใจมหี นาท่ปี กปองรกั ษาหวั ใจ ปอ งกันการรุกรานจากภายนอก ถามีการรกุ รานหัวใจ จะตอ งผานเย่อื หุมหัวใจกอน ลิ้น เปน อวยั วะท่ีทาํ หนาทร่ี ับรสและการพดู ซง่ึ มคี วามเชอ่ื มโยงกับหัวใจ โดยผา นเสน ลมปราณ หัวใจ ความผดิ ปกติของหวั ใจจะสะทอนจากการเปล่ียนแปลงของสสี ิ้น เชน - ถา หยางของหัวใจพรอง ล้นิ จะมีสีขาว บวม ออ นปวกเปย ก - ถา เลอื ดทห่ี วั ใจพรอง ลน้ิ จะซดี ขาว - ถา เลือดทห่ี วั ใจไหลเวยี นไมสะดวก ลิ้นจะมีสมี ว งคลํา้ มจี ํา้ เลอื ด จุดเลือดออก - ถา ไฟทหี่ ัวใจเพมิ่ สูง ปลายลนิ้ จะมสี ีแดง - ถาหนาที่ควบคมุ ทางดานจิตใจผิดปกติ จะมีอาการล้ินแข็ง ลน้ิ ไกส้ัน พดู จาติดขดั หรือพูด ไมอ อก 1.4 ความสมั พันธของหวั ใจกบั อารมณ ของเหลวในรา งกาย เน้ือเยือ่ และอวยั วะรบั รู 1) หวั ใจกับอารมณย นิ ดี ความยนิ ดีเปน การตอบสนองของรา งกายตอสิง่ เรา ภายนอกในสง่ิ ทีน่ ําความพงึ พอใจมาให ใน สภาวะปกติความพึงพอใจจะมผี ลตอ การทาํ งานของหวั ใจ ทําใหหัวใจมกี ารผอนคลาย แตความรสู กึ ดใี จ ท่ีมากเกินไปกส็ ามารถกระทบจติ ใจ ทาํ ใหห วั เราะไมหยดุ หรอื ถา นอยเกนิ ไปกอ็ าจทําใหมีอารมณซ มึ เศราได 2) หวั ใจเกยี่ วขอ งกบั การขับเหงื่อออกจากรางกายทางรูเหงื่อ หัวใจสรางเลอื ด เหงอื่ สรางจากของเหลวในเลอื ด เหงือ่ จงึ เปน ของเหลวจากหวั ใจ หวั ใจสราง ของเหลว 2 ชนดิ คือ เลือดในรางกาย และเหงอ่ื ที่หลง่ั ออกมาภายนอก เลือดกับเหงือ่ มีความเก่ียวขอ ง

48 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบือ้ งตน และกระทบถงึ กนั เชน เสยี เหงื่อมากจะทําใหส ญู เสียของเหลว คอื เลอื ดและลมปราณที่ใชเผาผลาญไป ดวย ถา เลือดและลมปราณพรอ ง กท็ ําใหมอี าการเหงอื่ ออกผดิ ปกติ เชน ถาลมปราณหวั ใจพรอ ง ทําให ลมปราณเวย อ อนแอ จึงมีเหงือ่ ออกมากตอนกลางวัน ถา อนิ หัวใจพรอ งทําใหม ีเหงื่อออกมากตอนกลางคนื 3) ความสมบูรณข องหัวใจแสดงออกท่ใี บหนา ใบหนา มเี สน เลอื ดไปหลอเลย้ี งมากมาย การทาํ งานของหวั ใจสามารถสะทอ นใหเ หน็ ไดจากสีหนา และความสดใสของใบหนา ถา การไหลเวยี นของเลอื ดดี ใบหนาจะมสี อี อกแดงสดใส มชี วี ติ ชวี า ผวิ พรรณ สดชื่นมีนา้ํ มนี วล หากการไหลเวียนของเลอื ดติดขดั ใบหนาจะมีสีหมองคลํ้า เปนตน 4) หวั ใจเปดทวารท่ีลน้ิ หัวใจเปด ทวารทีล่ ิ้น หมายความวา การดูลน้ิ สามารถคาดการณภาวะการทํางานของหวั ใจได 2. ปอด (肺 เฟย ) ปอด เปนจาวแหงการเกดิ และเคล่ือนไหวของลมปราณทว่ั รางกาย รวมทง้ั ลมปราณที่เกิดจาก การหายใจเขาออกดว ย 2.1 ลักษณะทางกายวภิ าคศาสตร ปอดมี 2 ขา ง ตง้ั อยูใ นชองอกซายขวา เปน อวยั วะท่ตี ้งั อยสู งู สุดของรา งกาย มีเนอ้ื สขี าว แบงเปน กลบี นุมเบา มีอากาศอยูภายใน แพทยจ นี จางเจ้ยี ปน (张介宾) อธิบายลกั ษณะปอดวา “โพรง เหมือนรังผงึ้ ดานลางไมมที วารเปด สูดเขา จะพองเต็ม เปาออกจะแฟบ สูดเขาและออกทาํ ใหเ คล่ือนไหว แยกสง่ิ บรสิ ุทธิแ์ ละสกปรกออกจากกนั เปรียบเสมือนหีบลมในรา งกาย” 2.2 หนา ที่ทางสรีรวทิ ยา 1) ปอดควบคุมลมปราณท่วั รางกายใหสมดุล ใหทิศทางของชีข่ ้ึนลงเขาออกสะดวก เกดิ จาก การหายใจเขา ออก คัมภีรซ ูเวิ่น อูจัง้ เซงิ เฉงิ 《素问 。五脏生成》กลา ววา “ชที่ ง้ั หลายลว นมาจาก ปอด” ชท่ี เี่ กิดขนึ้ บางสวนถกู สะสมท่ที รวงอก เรยี กวา จงชี่ (宗气) ไปหลอ เลีย้ งหวั ใจ 2) ปอดควบคมุ การไหลเวียนของนํ้าในรา งกาย หนา ทข่ี องปอดนนั้ มอี ธิบายในคัมภรี ซ ูเ วิน่ จงิ มา ยเปยลุน《素问 。经脉别论》กลา ววา “อาหารเขา สกู ระเพาะอาหาร จงิ ชที่ ่ีไดถ กู มา มนาํ ไปยังปอด ปอดจะทาํ ใหก ารไหลเวยี นของนํา้ สะดวก ลงสู กระเพาะปสสาวะ” ปอดทาํ หนาทค่ี วบคมุ การไหลเวยี นของลมปราณ โดยการแผก ระจายออกขา งนอกลมปราณปอด เพอื่ ใหค วามชุมชื้นแกส ว นตา ง ๆ ของรา งกาย และนําสว นท่เี หลือใชขบั ออกจากรางกายทางลมหายใจและ

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 49 เหงือ่ การไหลเวยี นของลมปราณปอด แบงเปน 2 ชนิด คือ - กระจายนาํ้ ไปสผู ิวหนงั และขับน้ําสวนเกนิ ออกมาเปน เหงอื่ - ไหลเวยี นลงสสู วนลา งของรางกาย นาํ นา้ํ สว นเกินไปท่ีไต และขบั ออกนอกรางกายทางกระเพาะ ปสสาวะ ถา ผิดปกติจะเกิดอาการนํ้าคัง่ เชน กลมุ อาการเสมหะและของเหลวค่ัง บวมน้ํา เปนตน 3) ปอดชวยควบคุมการไหลเวยี นของเลอื ด ปอดเปนจาวแหงลมปราณ ควบคุมการไหลเวียนของลมปราณทวั่ รางกาย ลมปราณไหลเวียน จึงชว ยพาใหเลือดไหลเวยี นไปทั่วรา งกาย แสดงถงึ การทาํ งานสมั พนั ธกันระหวา งเลือดกบั ลมปราณ หัวใจ กับปอด ถา ลมปราณของปอดพรอง จะเกดิ การไหลเวยี นของเลือดติดขัด เชน แนน หนาอก ใจส่นั ลิ้น และริมฝปากเขยี วคลา้ํ ในคัมภีรซ ูเวิ่น《素问 》คําวา “เฟยเ ฉาไปมาย (肺朝百脉)” หมายถึง หนาท่ีของปอดที่ จะชวยการไหลเวียนของเลือดใหส มบรู ณในผปู วยโรคปอดท่ีมีอาการไอเรอื้ รงั หนา ท่ขี องปอดดา นกระจาย เกบ็ ลงพรอ ง ทาํ ใหเ กดิ การไหลเวียนของเลอื ดตดิ ขดั จะพบวา ผูป วยมสี หี นา หมองคลา้ํ รมิ ฝปากมวงคลํา้ เกดิ เมด็ สีตกคาง และมีลกั ษณะของเลือดค่งั ทลี่ ้นิ 4) ปอดควบคุมอวัยวะตาง ๆ ใหท าํ งานอยูใ นสมดุล ปอดมหี นาทจี่ ัดการการไหลเวยี นของนาํ้ สารอาหาร จนิ เยยี่ (津液) และเลอื ดลม ใหไปท่วั รางกายใหส มดลุ ในคมั ภีรซเู วน่ิ หลงิ หลันมเี่ ต่ยี นลนุ 《 素 问 。 灵 兰 秘 典 论 》กลา ววา “ปอด เปรยี บเสมอื นรฐั มนตรี มหี นาที่จัดการบริหาร” โดยควบคุมการหายใจ ทําใหหายใจเขา -ออกสมํ่าเสมอ ควบคุมทิศทางการไหลเวียนของลมปราณ โดยมีทิศทางขึ้น-ลง เขา -ออกแนนอน ชว ยใหห วั ใจสูบฉีดเลือด ไปทว่ั รางกาย ควบคมุ การไหลเวียนน้ํา และรกั ษาสมดุลของนํา้ ในรางกาย 2.3 ความสมั พันธร ะหวางปอดกับอารมณ เนอ้ื เย่อื และอวัยวะรบั รู 1) ปอดมคี วามสัมพันธกบั อารมณเศรา โศก ความเศราโศกเปนการตอบสนองทางอารมณตอ สง่ิ กระตุนท่ีไมนา พงึ พอใจ มผี ลกระทบตอรา งกาย คอื ทาํ ใหล มปราณพรอ งลง จงึ มักกระทบกระเทอื น ปอด เพราะปอดควบคุมลมปราณ ถา การทํางานของปอดไมเต็มสมรรถภาพ ความตานทานตอ ส่ิงกระตนุ ทีไ่ มด จี ะลดลง จงึ เกิดเปน อารมณเศราโศกไดงาย 2) ปอดมีความสัมพันธก บั การขบั ของเสียของจมกู จมูกเปน หนา ตา งของปอด ปอดจะสรา งนํ้ามกู มีลักษณะเหนียวเปน เมือกหลั่งออกมาใหความ ชมุ ช้ืนแกโพรงจมูก ถาปอดผดิ ปกติ ลกั ษณะของน้ํามกู ท่ไี หลออกมาจะเปล่ียนแปลงไป เชน ถา ไดร บั ลม เย็นมากระทบน้ํามกู จะมีลกั ษณะใส ถาถกู ลมรอ นกระทบน้าํ มูกจะมีสเี หลืองและมลี กั ษณะขน เปนตน

50 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน 3) ปอดมคี วามสัมพันธกับผิวหนังและเสน ขน ผวิ หนงั และเสนขนเปนเนือ้ เย่อื ที่หอหมุ รางกาย มีหนาท่ีปองกันอันตรายจากภายนอก ขับเหงือ่ และควบคุมการหายใจ ถาปอดทาํ งานปกติ ผิวหนังจะแข็งแรง มีความตานทานอันตรายจากภายนอก เสน ขนเงางาม โบราณวา “ปอดควบคมุ ดแู ลผวิ หนังและขน” ถา ลมปราณปอดออนแอ การไหลเวียน ของลมปราณลดลง ทําใหความตา นทานของผวิ หนังลดลง มีสาเหตุของโรคจากภายนอกมารุกราน ทาํ ให เปน หวดั ไดงาย ผิวหนังและเสนขนหยาบแหง 4) จมูกเปนหนา ตางของปอด ปอดควบคมุ การหายใจ ในขณะทจ่ี มกู เปนทางผา นและเปนสว นบนสดุ ของเสน ทางการหายใจ ปอดจงึ ติดตอ กบั สงิ่ แวดลอ มภายนอกโดยผา นทางจมกู ถามีสาเหตขุ องโรคจากภายนอกมารกุ รานปอด ทาํ ใหล มปราณปอดติดขดั มีอาการไอ หอบ กม็ กั จะมีอาการผิดปกติของจมกู รวมดวย เชน น้ํามูกไหล จมกู ไมไ ดก ลน่ิ เปนตน ในสมัยโบราณใชอาการผดิ ปกตขิ องจมกู เปนสว นหนึง่ ของการวนิ ิจฉยั โรคปอดดวย 2.4 คุณสมบตั พิ เิ ศษของปอด 1) ปอดเปนอวยั วะที่ละเอยี ดออ น ปอดเปนอวัยวะท่อี อนแอ ละเอยี ดออ น งา ยตอ การกระทบโดยเสียชี่ (邪气) ทั้งหมด โดยเฉพาะ ความแหง ในภาวะท่ีอากาศหนาวและรอ นปกติ แตถ า อากาศรอ นหรอื เย็นผดิ ปกติ ปอดจะทนไมไ ด ถา ปอดถูกกระทบลมเยน็ มากเกนิ ไป ชี่ของปอดจะถูกปดกัน้ รผู วิ หนงั จะปด เกิดอาการไอ ไมม เี หง่อื ถา ปอดถกู กระทบความรอ นมากเกนิ ไป การกาํ จดั เสียชี่จะไมดี เกิดอาการไอจนเสมหะเปนเลอื ดได 2) ปอดเปนอวยั วะตนั ทอ่ี ยูสูงสดุ ปอดเช่อื มตอกบั หลอดลม ลาํ คอ และเปด สภู ายนอกรา งกายท่จี มูก ปอดทาํ งานหายใจเขา ออก จึงมโี อกาสถูกเสยี ช่มี ากระทบไดง าย คัมภรี ซ ูเว่ิน ลิว่ เจยี๋ จง้ั เซ่ยี งลนุ 《素问 。六节藏象论》 กลา ววา “ปอดเปน ไทอนิ ในหยาง เช่อื มโยงกบั ฤดใู นไมร วง” ในฤดรู อ นเสยี ช่ที ีอ่ ยใู นปอดจะสะสมถงึ ระดบั หนึ่ง เม่อื เขา สฤู ดูใบไมร วงซง่ึ อากาศเยน็ ลง ฤดูใบไมรว งเปน ธาตทุ อง ปอดเปนธาตุทองเหมอื นกัน คุณสมบัตขิ องธาตทุ องจะมที ศิ ทางลงและกําจดั เสียชี่ท่สี ะสมในฤดูรอน 2.5 ลมปราณ เลือด อนิ หยางของปอด 1) ลมปราณของปอด ใหความอบอนุ แกป อด มหี นา ที่กระจายชขี่ องปอดและมีทิศทางลง รบั ชีจ่ ากไตผานซานเจยี ว มารวมเปนจงชี่ (宗气) เปนจงชี่ท่มี ากอ นเกิด อีกดานหนงึ่ ชขี่ องปอดมารวมกบั ชี่ท่ีเกดิ จากมาม กระเพาะ

ทฤษฎีอวัยวะภายใน 51 อาหารมารวมเปนจงช่ี เปน จงชสี่ ว นทม่ี าหลงั เกดิ ถาไตไมแขง็ แรง ชีท่ ่มี าจากไตไมเพียงพอ ชข่ี องปอดจะ พรอ งตามได ทําใหห ายใจหอบ ภาวะนเี้ รียกวา “ไตไมร ับช”ี่ ถา มา มและกระเพาะอาหารไมแ ข็งแรง มี ผลกระทบตอ ชปี่ อด มีอาการหายใจสั่น ไมมีแรง เสยี งเบาต่าํ ภาวะน้เี รียกวา ดนิ ไมเ กือ้ หนุนทอง ในระยะแรกของโรคปอดมักจะเปน โรคแกรง เพราะปอดมีลกั ษณะละเอียดออน บอบบาง ออ นแอ และไมท นทานตอ ความรอ นหนาว แตห ากเปน โรคเร้ือรัง จะทําใหชข่ี องปอดพรองลงดว ย 2) เลือดของปอด มีการกลาวถึงเลือดของปอดนอยมาก อาจเปนเพราะวา ปอดหนุนการไหลเวียนของเลือดที่ เกดิ จากหัวใจ ทําใหปอดไมม ปี ญหาการขาดเลือด เลือดคงั่ ของปอดไมมีการกลา วถงึ มากนัก ซ่งึ มีผลตอ การหลอ เล้ียงของเลอื ดทไี่ ปเล้ียงไมถ งึ ทําใหส มรรถภาพของปอดลดลง สว นอาการมเี ลอื ดออกนัน้ เกดิ จากธาตุไฟในปอดหรอื ในเสน ลมปราณปอด 3) อนิ ของปอด อินของปอดเปนสว นหนึง่ ของอนิ ในรา งกาย อินของปอดเปนตัวคูกับหยางของปอด ชว ยยับยงั้ ไมใหหยางของปอดมีมากเกินไป อินของปอดชว ยใหความชุม ช้นื แกปอด และขจัดส่งิ สกปรกในปอด ชว ย ใหช ี่ของปอดมีทศิ ทางลงลาง ทาํ ใหก ารไหลเวยี นของช่มี ีทิศทางขึ้นบน-ลงลา ง เขา -ออก หนุนโดยช่ีตับมี ทิศทางข้นึ บน ชี่ปอดมที ศิ ทางลงลาง รว มกับอนิ ของไต เพอ่ื จบั ชี่ อนิ ปอด ชวยใหก ารขับเหงือ่ สมดุล ลด เสยี ช่รี อนที่ผิวหนัง โรคทเี่ กดิ จากอนิ ของปอดมกั พบบอ ย 4) หยางของปอด ในศาสตรก ารแพทยจ ีนมกี ลาวถงึ นอยมาก 3. มา ม (脾 ผ)ี 3.1 ลักษณะทางกายวภิ าคศาสตร มาม เปนอวยั วะสําคัญในระบบทางเดินอาหาร มามมรี ูปรางเหมือนกบั มาสีมว งแดง ตําแหนง อยใู นชอ งทอ งตอนบน อยูหลงั กระเพาะอาหารใตชายโครงดานซาย มามทาํ หนาท่ีรว มกบั กระเพาะอาหาร โดยกระเพาะอาหารทําหนาทรี่ ับและยอ ยอาหารจนไดสารจาํ เปน สว นมามทําหนาท่ลี าํ เลยี งสารจําเปนนี้ไปใช ทัว่ รา งกาย มา มถอื เปนตนกาํ เนิดของแรงขบั เคลอ่ื นชีวติ โบราณกลาววา มามและกระเพาะอาหารเปน รากฐานของชวี ิตหลังคลอด ทําหนา ที่ควบคุมเลือดและลมปราณ มามเปนธาตุดนิ มโี ครงขายเชื่อมโยงกบั กระพาะอาหาร กลามเนอื้ รมิ ฝป าก และปาก เปน ตน

52 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน 3.2 หนา ทีท่ างสรรี วทิ ยา 1) มามควบคมุ การขบั เคล่ือน การยอ ยและดดู ซมึ - ควบคุมการยอ ยและดดู ซึมสารอาหาร และสงตอ อาหารทร่ี ับประทานไปท่ีกระเพาะอาหาร มามจะทาํ หนาที่ยอยและดูดซึมอาหารในทางเดินอาหาร และสงสารจาํ เปนท่ไี ดจ ากการยอยไปยงั ปอดและ หวั ใจ เพอ่ื สง ตอไปเลยี้ งสว นตาง ๆ ของรา งกาย มา มจึงเปนรากฐานสาํ คัญของชวี ติ หลงั เกิด ถา มา มแขง็ แรง การยอ ยและดดู ซึมอาหารดี การสรางเลือดและลมปราณจะเพียงพอ สขุ ภาพก็จะแขง็ แรง ถา มา มออนแอ การยอ ยและดดู ซมึ อาหารผิดปกติ จะทาํ ใหเ กิดอาการทอ งอืด ทองเดนิ ออ นเพลีย ผอม เลอื ดและ ลมปราณพรอง - ควบคุมการดูดซมึ และสง น้ํา มามชว ยรกั ษาสมดุลของนา้ํ ในรางกาย โดยมา มควบคุมการ ดูดซมึ น้าํ จากทางเดินอาหารไปหลอเลยี้ งรางกาย และนํานา้ํ ทเ่ี หลอื ใชส ง ไปทไี่ ต อาศัยลมปราณไตขับปสสาวะ ออกทางกระเพาะปส สาวะ ถา มามออนแอ จะเกดิ การคงั่ ของน้ํา ความชนื้ และเสมหะ 2) มา มควบคุมการสรา งเลอื ด มามควบคุมการยอ ยและดดู ซมึ อาหารไดส ารอาหารซ่ึงเปนส่ิงจาํ เปน พ้ืนฐานในการสรางเลือด ถา มามออนแอ การดูดซมึ สารอาหารจะลดลง ทาํ ใหการสรางเลอื ดลดลง เกดิ อาการของเลอื ดพรอ ง มอื ชา วิงเวยี น ตาลาย หนาซีด ปากซดี ล้ินซีด 3) มา มควบคมุ ไมใหเลอื ดออก ลมปราณของมา มชวยควบคมุ ใหเลอื ดไหลเวียนอยภู ายในเสนเลือดในรา งกาย ถา ลมปราณ ของมา มพรอ ง ทาํ ใหเ กดิ เลอื ดออกงาย เลอื ดออกใตผวิ หนัง อุจจาระเปนเลอื ด ประจําเดอื นมามาก ฯลฯ 4) มามชวยใหอ วยั วะภายในมตี าํ แหนง ยดึ เกาะม่ันคง ลมปราณของมา มไหลเวียนมีทิศทางลอยขึ้นบน เพ่อื สงตอสารอาหารไปปอดและหัวใจ และ สง ตอ ไปเลี้ยงรางกาย เรียกวา เซงิ ชงิ (升清) ทศิ ทางของลมปราณท่ลี อยขน้ึ บนนี้ยงั ทําใหอ วยั วะภายใน แขวนอยใู นท่ีของมันไมต กหยอ นลงมา ถาลมปราณของมา มผิดปกติ จะทําใหเกิดอาการออนเพลีย ไมม ี แรง ทอ งอดื ทองเดิน อวยั วะภายในตกหยอนสูเบ้ืองลาง 3.3 คุณลกั ษณะพเิ ศษของมา ม 1) มา มชอบความแหง ไมชอบความช้นื ความชนื้ จากภายนอกท่เี ปน เสียชี่ สามารถกระทบมา มไดง า ย เกดิ อาการหนกั ศรี ษะ ทอ งอดื แนน นํา้ ลายเหนียว ถาลมปราณมา มพรอ งจะเกิดความชนื้ ตกคาง มอี าการแขนขาออนแรง เบ่ืออาหาร

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 53 ทอ งอืด มเี สมหะและของเหลวคงั่ บวมนํา้ และทอ งเดิน คัมภีรซูเวน่ิ อวู ่นิ สิงตา ลนุ 《素问 。五 运行 大论》กลา ววา “ตรงกลางใหก าํ เนิดความชืน้ ความชื้นใหก ําเนดิ ธาตดุ ิน ธาตุดนิ ใหกําเนดิ รสหวาน รส หวานใหกาํ เนิดมาม” มามเปน อวยั วะที่อยตู รงกลางของรางกาย สัมพนั ธกบั ความชนื้ (ความช้ืนท่ปี กติ) ธาตุดินรสหวาน ถา การทํางานของมา มผดิ ปกติ เกิดอาการแนนทอง เบอ่ื อาหาร ออ นเพลยี กลามเนื้อ เม่อื ยลา ทองเดิน ปากมีรสหวาน ลน้ิ มฝี า เหนยี ว การรกั ษาจะใชย าท่มี รี สหวานบาํ รุงชี่ หรือ ใชย าท่ีมีกล่นิ หอมขับความชื้น 2) มา มกบั สง่ิ แวดลอ ม มามมคี วามสัมพันธกับความช้นื ธาตุดนิ สเี หลอื ง รสหวาน เปนตน มา มจะกลวั น้ํา ถาถูก คุกคามจะทาํ ใหก ารทาํ งานของมา มเสียไป เกิดอาการแนน อก แนน ทอ ง เบ่อื อาหาร ออนเพลยี ทองเดิน ปากมีรสหวาน นํ้าลายมาก ลน้ิ มีฝา เหนยี วลื่น เปน ตน การรกั ษามา มมักใชยาทีม่ รี สหวานบาํ รุงมา ม 3) มามกบั ตบั ออ น ตาํ ราจีนโบราณไดบ นั ทึกรูปรา งของมา มไวว า มลี กั ษณะโคงแบนเหมอื นเคียว เหมือนลิน้ สุนขั หรอื หงอนไก เมอ่ื เทียบกบั ลักษณะทางกายวิภาคศาสตรใ นปจ จุบนั คือ ตับออน ซง่ึ มีหนาทท่ี างสรรี วทิ ยา คือ ควบคุมเลือด สรา งนาํ้ ยอยชว ยยอ ยอาหาร ฉะนนั้ มามในทางแพทยแ ผนจนี จงึ หมายถงึ มามและตบั ออน 3.4 เลอื ดลมอนิ หยางกบั มา ม ช่ีของมาม (脾气) เปน ลมปราณชนิดหนึ่งในรา งกาย ไดจ ากสวนหนึง่ ของเหวยี นชี่ (元气) ทมี่ าหลอเลยี้ งมา ม และชข่ี องมามท่ไี ดจ ากสารอาหารกลับไปหลอเลีย้ งเหวยี นชี่ใหส มบูรณอยเู สมอ ลมปราณ ของมามมีหนาท่ียอยและดดู ซมึ สารอาหารและนาํ้ ควบคุมไมใ หเลอื ดออกจากหลอดเลอื ดดังกลา วขางตน เลือดของมาม อนิ ของมาม และหยางของมาม หยางของมา มก็เหมือนหยางและลมปราณทว่ั ไปทล่ี มปราณ เปนสวนหนึง่ ของหยาง เม่ือพรองถึงระดับหน่ึงหยางกจ็ ะพรอง หยางของมามพรองเกิดจากชี่ของมา มพรอง เปน เวลานาน รับประทานอาหารหรอื ยาเย็นมาก ทาํ ใหหยางของไตพรอง จงึ กระทบถงึ มา ม ทาํ งานเกนิ ตวั เกดิ อาการทองอดื เบือ่ อาหาร ถายเปน นาํ้ หรอื ถายเหลว มอื เทา เยน็ แขนขาหนกั เมอื่ ย ไมมแี รง มีอาการ ปสสาวะไมคลอ ง บวม ในสตรีจะมอี าการตกขาวมาก ลักษณะขาวใส เมื่อตรวจดูลิน้ จะมลี กั ษณะอวน ซีด ขาว ฝา มีสขี าวลนื่ ชพี จรจมลกึ ไมม แี รง 3.5 ความสมั พนั ธระหวา งมามกบั เนอ้ื เยอื่ และอวัยวะรบั รู 1) มามควบคมุ กลามเนอื้ และแขนขา มามควบคุมกลา มเน้ือตา ง ๆ ของรา งกาย ทั้งนเ้ี พราะมามมหี นา ท่ดี ดู ซมึ และสงผา นสารอาหาร มาหลอ เล้ียงกลา มเน้อื และแขนขาใหเ จริญเติบโตและแขง็ แรง ถามา มทํางานปกติ กลามเนือ้ จะพฒั นาไดดี

54 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอื้ งตน มีความหนาแนน และแขง็ แรง ดงั นั้นถา ชขี่ องมามทาํ งานผดิ ปกติ จะมีผลถึงการขาดสารอาหาร ทาํ ใหก ลา มเนอ้ื และแขนขาลบี เลก็ ไมม ีแรง 2) มา มกบั ปากและริมฝปาก ปากเปนสว นทอ่ี ยสู งู สุดของระบบการยอ ยอาหาร การรบั ประทานอาหารและการรบั รูรสชาติของ อาหารมีสวนเก่ียวขอ งกับการทาํ งานของมา ม ถา มามทาํ งานปกติจะรสู กึ อยากอาหาร การรบั รูรสชาติของ อาหารจะเปน ปกติ ถา มา มออนแอจะมีผลใหเบ่ืออาหาร ปากจืดไมรูร สชาติ รมิ ฝป ากเปนสวนหนง่ึ ของกลา มเนอ้ื มามควบคุมกลา มเนื้อ ดังน้นั มามจึงมีความสมั พนั ธกับ ริมฝป ากดว ย ประสทิ ธิภาพการทํางานของมามจะสะทอ นใหเห็นจากสีของริมฝป าก นอกจากนั้นสีของ ริมฝป ากยงั สะทอ นใหเหน็ ถงึ คณุ ภาพของชี่และเลือดของรา งกายทั้งระบบ ถา ลมปราณมา มปกติ สามารถ สรางเลอื ดและชเี่ พยี งพอ จะพบวา รมิ ฝป ากแดงชมุ ชื้นสดใส ถาลมปราณมา มพรอง ริมฝป ากจะซดี ไม สดใส ถา เปน มากรมิ ฝป ากจะเปนสเี หลือง 3) มามกับการเปล่ียนแปลงทางอารมณ ในภาวะปกตกิ ารครนุ คิดปญหาตาง ๆ จะไมเ ปน ผลลบตอ สขุ ภาพ แตถาครุนคดิ มากเกนิ ไป จะมผี ลกระทบตอสขุ ภาพ ทําใหชต่ี ดิ ขัดและมีผลตอ เนื่องใหก ารทาํ งานของมามในกระบวนการดดู ซึมและ สงผานสารอาหารมคี วามบกพรอ ง ทําใหเกิดอาการเบ่ืออาหาร วิงเวยี นศรี ษะ เปน ตน 4. ตับ (肝 กาน) 4.1 ลกั ษณะทางกายวิภาคศาสตร ตับ เปนอวัยวะสาํ คัญอวยั วะหนึ่ง มีสีมวงแดง แบงเปน 2 กลบี ใหญ ขา งซา ยและขา งขวา ตาํ แหนงอยูชองทอ งตอนบน บริเวณใตช ายโครงขวา หนา ตอ ไตขา งขวา ตบั มโี ครงขา ยเชือ่ มโยงกบั ถุงนา้ํ ดี เอน็ เล็บ ตา เปนตน ตับจัดเปนธาตไุ ม เปนหยาง สัมพันธกับฤดูใบไมผ ลิ และทศิ ตะวนั ออก ตับคูกับการ เกดิ การลอยสูงขึ้น 4.2 หนาท่ีทางสรีรวทิ ยา ตับมีหนาที่ดูแลการไหลเวียนของชี่ไมใ หต ิดขดั ซง่ึ มี 6 ลักษณะ ดังนี้ 1) ปรบั พลวัตหรอื กลไกของช่ี พลวตั ของช่ี (气 机 ชี่จ)ี หมายถึง ทศิ ทางการไหลเวียนของช่ใี นทางขึ้น-ลง เขา-ออก ถา พลวตั ของช่ีไมต ดิ ขัด เลอื ดลมจะไหลเวยี นปกติ อวัยวะภายในและระบบเสนลมปราณจะอยูในภาวะสมดุล ในทางตรงกนั ขา มถา พลวัตของชีไ่ หลเวยี นผดิ ปกติ จะมีผลกระทบตอการไหลเวยี นของเลอื ดและจินเยยี่

ทฤษฎีอวัยวะภายใน 55 การไหลเวยี นของนา้ํ ดี ทศิ ทางการไหลเวียนของชี่มามและกระเพาะอาหาร และกระทบตออารมณ เปนตน 2) ควบคมุ อารมณและจติ ใจ อารมณมีความสัมพันธก บั การไหลเวียนของชี่ตับอยา งมาก ถา ช่ีของตับไหลเวยี นสะดวก เลอื ด ลมจะไหลเวยี นดี รา งกายจะสมดุล อารมณกจ็ ะดี ถาชี่ของตับติดขดั ไมไหลเวียน อารมณจ ะเก็บกด ใบหนา เศรา หมอง ถาชี่ของตบั ไหลเวียนรุนแรงเกินไป อารมณจะหงดุ หงดิ โกรธ โมโหงา ย 3) ควบคุมการไหลเวยี นของน้าํ ดี น้ําดีสรางท่ีตับแลวเก็บสะสมในถุงน้าํ ดี และหลงั่ ออกมาในลําไสเ ล็กชวยการยอ ยอาหาร ถาช่ี ของตับไหลเวยี นเปน ปกติ การสรางและการหล่ังน้ําดีชว ยยอ ยอาหารกเ็ ปนปกติ ถา ช่ขี องตบั ตดิ ขดั ไม ไหลเวียน มผี ลใหการไหลของน้ําดตี ดิ ขดั จะเกดิ อาการปวดแนน ชายโครง อาหารไมยอ ย อาเจยี นรสขม ออกมา หรอื มีอาการดีซา น 4) ชว ยใหช ี่ของมามลอยขน้ึ และชข่ี องกระเพาะอาหารไหลลง ในระบบทางเดินอาหาร มามควบคมุ การยอยและดูดซมึ อาหาร ช่ีของมามชวยสง สารอาหาร ขึน้ ไปที่ปอด กระเพาะอาหารมีหนาท่ีรบั อาหารเพ่อื ยอย หลงั จากนัน้ ชข่ี องกระเพาะอาหารจะชวยผลกั ดัน อาหารลงสสู ําไส ตบั มีหนาที่ควบคุมการไหลเวียนของช่ีมา มและกระเพาะอาหารใหม ีทศิ ทางถูกตอง เพอื่ ให ระบบยอยและดูดซึมอาหารทํางานอยางสมบรู ณ ถา ตบั ทํางานผดิ ปกติ นอกจากจะมีอาการของชี่ของตบั ติดขัดแลว ยังมอี าการตบั กดขีม่ ามและกระเพาะอาหาร ตบั กับมามไมป รองดองกัน ช่ขี องมา มไมลอยขน้ึ มอี าการทองอดื ทองเดนิ ตบั กับกระเพาะอาหารไมสมดลุ ทําใหช่ีของกระเพาะอาหารไมไหลลง มีอาการ แนนทอ ง เรอ คลนื่ ไส อาเจียน เบือ่ อาหาร เปนตน 5) ชว ยการไหลเวียนของเลือดและของเหลวในรางกาย ช่ขี องตบั ชวยใหการไหลเวียนของเลือดและของเหลวในรางกายสะดวก ถาช่ขี องตับติดขัด การ ไหลเวียนของเลอื ดก็จะติดขดั ทําใหเ กิดภาวะเลอื ดคง่ั ในสตรีจะเกดิ อาการปวดประจาํ เดือน ประจําเดือน ไมม า หรือเกิดเน้อื งอกได ถา การไหลเวยี นของของเหลวในรางกายติดขดั จะเกิดอาการเสมหะตดิ คอ โรคตอ มไทรอยด หรือมนี า้ํ ในทองตกคา ง ทอ งมาน เปน ตน 6) ชวยการขับของประจําเดอื นและการหล่ังอสจุ ิ ชีข่ องตับชว ยใหก ารมาของประจาํ เดือนตรงตามกาํ หนดในสตรแี ละการหลง่ั อสจุ ใิ นบรุ ษุ รอบ เดือนจะตดิ ขัด ปวดรอบเดอื นจนถงึ รอบเดอื นไมม า ในผูช ายความตอ งการทางเพศลดลง หล่งั ลําบาก ถา

56 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบอื้ งตน ชีข่ องตบั แกรง รอบเดอื นจะมากอนปกติหรอื มีปรมิ าณมาก ในผชู ายจะมอี ารมณทางเพศมากกวา ปกติและ มนี ้าํ กามเคลื่อน เปนตน 4.3 ความผิดปกติของการไหลเวยี นของช่ี ความผดิ ปกตขิ องการไหลเวียนของชี่มี 2 แบบ คอื 1) ชี่ของตบั ตดิ ขดั - ช่ขี องตับตดิ ขดั เกดิ เลอื ดคงั่ เมื่อชีข่ องตบั ตดิ ขดั ทําใหเลอื ดถกู ผลกั ดนั ไปไมถงึ เกิดอาการ เจบ็ อก แนน อกแบบเสยี ดแทง เกดิ เปน เน้อื งอกได ริมฝป ากเขยี วมว ง ลน้ิ มสี มี วง จดุ เลอื ดค่ัง ถากระทบถงึ ชงมา ย (冲脉) และเญ่ินมาย (任脉) เลือดจะค่งั ในมดลูก รอบเดอื นผิดปกติ ปวดรอบเดือน รอบเดือน ไมมา เปน ตน - ชข่ี องตับตดิ ขดั เกดิ เสมหะ การไหลของของเหลวในรางกายตอ งอาศัยช่ีของตบั ถาชข่ี องตบั ผิดปกติเกิดการตกคางของของเหลวเปนเวลานาน จับเปน เสมหะอุดตันทคี่ อ บรเิ วณคอเปนลูกบว ยตดิ คอ หรอื เปนกอ นที่คอ คอหอยพอก เปนตน - ชขี่ องตับขม กระเพาะอาหารและมาม เกิดอาการปวดแนนกระเพาะอาหาร เรอเปร้ยี ว คลน่ื ไส อาเจยี น เปน ตน - ชข่ี องตบั ตดิ ขัดกลายเปน ไฟ 2) ชีข่ องตับไหลเวียนแกรงมากเกนิ ไป ช่ีของตับมีทศิ ทางไหลเวยี นข้ึนบน ถาผิดปกติไมข ึ้นบนหรือไมลงลา งเกดิ ภาวะ เรยี กวา ไฟตับ หรอื หยางของตับขึน้ บน มอี าการปวดศีรษะ เวยี นศีรษะ หนาแดง ตาแดง แนนหนาอก หงุดหงดิ โมโหงาย ถา อาการรนุ แรงมากขน้ึ หยางของตับจะข้นึ บนกลายเปน ไฟ เรยี กวา “ไฟตับ” เชน ไฟตบั กระทบกระเพาะอาหาร จะมอี าการอาเจียนเปน เลือด ไฟตบั กระทบปอด จะมีอาการไอเปนเลือด เปนตน ถาเปนระดบั มากขนึ้ ไฟทขี่ ้ึนบนจะกลายเปนลมว่งิ ขึน้ ปอด กระหมอ ม และไปทว่ั รา งกาย แขนขา ทําให เกดิ อาการชกั หมดสติ และอมั พฤกษไ ด ไฟตบั เรยี กวา เกิดลมตบั กระทบภายใน ถา เปนระยะเวลานาน ก็จะเผาผลาญอนิ ของตับทําใหเ กดิ ภาวะอนิ พรองไฟแกรง อาการของไฟตบั ขน้ึ บนและหยางตับขึ้นบนแยกกันได คอื ไฟตับข้ึนบน เกิดอาการชข่ี องตบั ติดขดั เปนเวลานานกลายเปนไฟตบั หรือโกรธจดั เกิดไฟตบั ขนึ้ บน หรอื เกิดจากไฟหัวใจมมี ากเกินไป หรือ เกิดจากตับรอนชืน้ อยูนานจนไฟลอยข้นึ บน ดังนนั้ ไฟตับขน้ึ บนจึงเปน โรคแกรงลว น สว นหยางตับขึ้น บนเปนภาวะท่ีเกดิ จากอินของตับและไตไมเพียงพอท่ีจะมากาํ กับหยางของตบั (อนิ ของไตและตบั เชือ่ มโยง

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 57 กัน) ดงั นัน้ หยางของตับจะลอยข้นึ บน ซ่งึ บางคนอาจจะใชค ําวา “ลา งพรอ งบนแกรง ” หมายถึง “ขา งลาง อินพรอง ขางบนหยางแกรง” หรอื ใชคาํ วา “พ้ืนฐานพรอ งเปลอื กนอกแกรง ” อาการของขางบนแกรง ไดแ ก ปวดศรี ษะ หนาแดง ตาแดง หงดุ หงดิ โกรธงาย ใจส่นั นอนไมห ลบั เปนตน สวนอาการของ ขางลา งพรอง ไดแก ปวดเอว เขาออ น ขา 2 ขางไมมีแรง ปากแหง คอแหง ทองผูก สําหรับลมตับส่ันในนัน้ ศพั ทแพทยจนี ใชค าํ ยอ วา ลมตับ (肝风 กานเฟง ) หรือ ลมใน (内 风 เนยเฟง ) เกดิ จาก “ภาวะหยางในรา งกายเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนไหว” แพทยทม่ี ชี ่ือเสยี งในราชวงศ ชิง ชอ่ื เยียะเทียนซือ่ (叶天士) ไดกลา วไวใ นตํารา หลนิ เจิ้งจ่ือหนนั อีอ้นั 《临证指南医案》 คัมภรี ซ ูเวนิ่ จอื้ เจินเอยี้ วตาลุน 《素问 。至真要大论》กลาววา “ลมทงั้ หลายทาํ ใหมอี าการวิงเวยี น ศีรษะเปน เพราะตับ” ในทางคลนิ กิ จะพบวา มอี าการเวียนศีรษะ แขนขาชักกระตกุ หรือเกรง็ หรือหมดสติ ตาลอย อัมพฤกษค รงึ่ ซีก มือเทาสัน่ หรอื ชา เปนตน 4.4 ลมตับ ลมตบั สามารถแบงไดเปน 4 แบบ คือ 1) หยางของตบั เปลย่ี นเปน ลม สาเหตุเกิดจากอารมณ หรือเหนอ่ื ยลา มากเกินไปจนเกิดอนิ พรอ ง ทําใหห ยางลอยขึ้นบน นานเขา หยางเปล่ียนไปเปนลม มีอาการเอน็ เน้ือ กระดูกส่นั ชาตามแขนขา วงิ เวยี นศรี ษะ เดนิ คลายจะลม หวั หนกั หากอาการมากข้นึ จะเปนลม ปากเบ้ียว อมั พฤกษครึง่ ซีก เปนตน 2) รอนสุดเกิดลม สาเหตสุ วนใหญเกดิ จากโรครอนจดั เสียชีแ่ กรงเผามาถงึ เสนลมปราณตับ เกิดลมตบั ขึน้ มีอาการคอแข็ง ชกั กระตุก ตาเหลือก ไขส งู เพอ เปนตน 3) อินพรอ งลมไหว สาเหตเุ กิดจากหลังปวยเปน โรครอนแลว มกี ารใชอนิ ไป หรือเกิดจากปวย เรอ้ื รัง อินถูกใชไ ปทาํ ใหอ ินไมพ อเพียงไปหลอเลี้ยงเอ็น เกดิ อาการสน่ั หรอื เกร็ง 4) เลือดพรอ งเกิดลม สาเหตุเกิดจากเสยี เลอื ดมากเกินไปหรือเกดิ จากสรา งเลือดไมเพียงพอ หรอื ปว ยเรอ้ื รงั เลือดไดร ับการบํารุงไมเ พยี งพอ ทาํ ใหเอ็นไมม ีเลอื ดมาหลอเล้ียง มอี าการไอ สัน่ กระตุก หรือเกรง็ เอ็นยึดตดิ ขดั เล็บกุด ผวิ หนงั แหง คัน เปนตน 4.5 ตบั กักเก็บเลอื ด มีการบนั ทึกคร้ังแรกในคมั ภรี ซเู วิน่ เถยี วจิงลุน《 素 问 。 调 经 论 》และ คมั ภีรหลิงซู เปน เสิน《灵枢。本神》วา “ตบั มหี นาทก่ี ักเก็บเลอื ด” การท่ตี ับเก็บกกั เลอื ดมีผลทําใหไ มเสียเลอื ด ไป เลอื ดเปน สว นของอินซง่ึ อนิ ของตับจะกดหยางของตับไมใ หล อยขน้ึ บน ถา เลอื ดของตับมปี รมิ าณเพียงพอ ช่ีของตับกจ็ ะเพยี งพอ ทาํ ใหหนา ที่ของชข่ี องตบั สมบรู ณต ามดว ย หนาทีก่ กั เก็บเลือดเปนการควบคมุ ปรมิ าณ

58 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอื้ งตน ของเลือด ในคมั ภีรซเู ว่นิ อจู ้งั เซงิ เฉงิ 《素问 。五脏生成》กลาววา “เม่ือคนนอนหลับเลอื ดจะกลบั ไปสูตบั ” แพทยจนี หวางปง จู (王兵注) กลา ววา “ตบั กกั เกบ็ เลอื ดไว หวั ใจเปนผูสูบฉดี เลอื ดใหไ หลเวยี น เมื่อคนต่ืนขยบั ตัวเลือดจะวงิ่ สเู สนลมปราณ เม่อื คนอยนู ่ิงเลือดจะกลบั มาสูตับ ตบั เปน ทะเลแหง เลอื ด” เม่ือทาํ งานมีอารมณห รืออากาศรอ น เลือดจะไหลเวียนออกจากตบั ไปสูอ วยั วะอน่ื เมอื่ นอนอารมณเ ย็น อากาศเยน็ เลอื ดจะไหลกลับสูต บั คอื ไปตามหยางช่ขี องตับทีก่ ระจายออก ในกรณีเลอื ดของตับไม เพียงพอ สาเหตุจากการเสียเลอื ดมากเกนิ ไป หรอื มามและกระเพาะอาหารพรอง ไมสามารถสรา งเลอื ด พอเพยี ง ปว ยเรื้อรังใชอ ินไปมาก เลือดจากตบั ถกู สง ไปยงั ตา เอ็น เลบ็ มดลูกไมเพียงพอ ทาํ ใหต าลาย ตาแหง มองกลางคืนไมเห็น เอ็นติดขัด ตะคิว แขนขาชา เล็บไมสมบูรณ รอบเดือนนอยหรือไมมา ถา หนาทีเ่ ก็บเลือดไมด ี จะมีอาการเลือดออก เชน อาเจยี นเปน เลือด ไอเปน เลอื ด เลือดกาํ เดาไหล รอบ เดอื นมามาก สาเหตเุ กดิ จากอารมณโกรธจดั กระทบตับ หรืออารมณเกบ็ กดนานชี่ของตับกลายเปน ไฟ หรอื เกิดจากมเี สียชข่ี า งใน 4.6 ช่ีของตับ ช่ขี องตับกเ็ ชนเดยี วกับชที่ ีอ่ ื่น ๆ คือ ทาํ ใหเกิดการผลกั ดนั เคลื่อนไหวเปน พ้นื ฐาน สาํ หรบั ช่ี ของตับจะมลี กั ษณะของการไหลเวยี นไปตามสว นตาง ๆ ใหสะดวกไมต ิดขดั ดงั ทไ่ี ดก ลาวมาแลว ในแงช ี่ ของตับพรอง ในคมั ภรี ซ ูเวนิ่ ซางกูเ ทยี นเจินลุน《素问 。上古天真论》กลา ววา “ผูชายอายุ 56 ชี่ ของตับถดถอย เอน็ ไมสามารถทาํ งาน” คัมภีรหลิงซู เทยี นเหนียน《灵枢。天年》กลา ววา “อายุ 50 ชข่ี องตับเริม่ ถดถอย กลีบตบั เริ่มบาง น้ําดเี รม่ิ หาย ตาเริ่มมองไมชดั ” ปจจบุ นั ชข่ี องตบั พรอ งจะมี อาการของชี่พรอ งท่วั ไป บวกกบั อาการที่เสนลมปราณตบั ผา น เชน แนน หนาอก ชอบถอนใจ ทองนอยตึง พอง อารมณไ มดี เปน ตน 4.7 เลอื ดของตบั ดใู นหัวขอ 4.5 ตับกกั เกบ็ เลือด 4.8 อินของตบั อนิ ของตับมีหนาท่ีใหค วามชุมชื้น ชว ยใหมีทศิ ทางลง ทําใหสงบลง เกบ็ กัก มคี วามเกย่ี วพัน กับอินของไต เวลาขาดมกั จะไปคกู นั เปนอนิ ของไตและตบั พรอง เกดิ อาการปวดเอว เขาออ น มีเสยี งในหู ตาลาย ขา 2 ขา งไมมแี รง เปน ตน ถาอินพรอ งแลวมีหยางแกรง ก็จะมีอาการปวดหัว หงุดหงดิ โกรธงาย เปนตน

ทฤษฎีอวัยวะภายใน 59 4.9 หยางของตับ หยางของตับแกรง ไดก ลา วมาแลวในขา งตน สวนหยางของตบั พรอ งมนี อยมาก แพทยจนี บางทานอธิบายวา เปนอาการของช่ตี บั พรอ ง รว มกบั อาการปลายมือเทา เย็น อณั ฑะ อวยั วะเพศเยน็ ทอ งอดื แขนขาบวม ชีพจรเลก็ ไมมแี รง ซึ่งเปนลักษณะของหยางพรอง 4.10 ความสมั พนั ธข องตบั กบั อารมณ เนื้อเยอ่ื และอวยั วะรบั รู 1) ตับสมั พันธกบั อารมณโกรธ ศาสตรก ารแพทยแผนจีนถอื วา อารมณโ กรธมีความสมั พนั ธกับตบั อารมณโ กรธทเี่ กดิ ขึ้น อยางฉบั พลัน มคี วามรุนแรง ถา เปนบอ ย ๆ จะมผี ลตอการทํางานของตับ ทําใหการควบคุมการไหลเวียน ของลมปราณตบั ไมป กติ อารมณโ กรธเฉียบพลันจะบน่ั ทอนช่ขี องตบั ลมปราณ และเลอื ด ใหไหลเวยี น แผซา นลอยขนึ้ มากเกนิ ไป ทําใหมอี าการปวดศีรษะ อาเจียน ถา เปน มากอาจเปน ลมหมดสติได 2) ตบั กับนํ้าตา นํา้ ตาเปนสง่ิ ทขี่ บั ออกมาทางตา ซึ่งเปน กจิ กรรมในการหลอ เลยี้ งใหความชมุ ชนื้ เพ่อื ปกปองตา ความผิดปกตขิ องตบั สงผลกระทบตอ การหลัง่ นาํ้ ตา เชน - เลอื ดในตับพรอ ง ทําใหก ารหลง่ั นํ้าตานอยลง ตาแหง - ความรอนช้ืนในเสน ลมปราณเทาจเฺ หวียอินตับ ทําใหตาแดง นํ้าตาไหล ขีต้ ามาก - อารมณเ ศราโศกเสียใจมากไป ทาํ ใหการหลั่งนา้ํ ตามากข้นึ 3) ตับสมั พันธก บั เอน็ สภาวะของตับสะทอนใหเ ห็นทีเ่ ลบ็ หากผดิ ปกติ แขนขาชา ชักเกรง็ หลงั แอน กัดฟนแนน เลบ็ ไมเงางาม 4) ตาเปน หนา ตางของตับ 5. ไต (肾 เซิ่น) 5.1 ลกั ษณะทางกายวิภาคศาสตร ไต เปนรากฐานของอวยั วะภายในและอิน-หยาง ไตเปน กาํ เนดิ ของชวี ติ ไตเปนรากฐานของ ชวี ิตกอนคลอด ไตมรี ปู รา งรปู ไขม นโคง คลายเมล็ดถั่วแดง ดา นนอกมีเนื้อเย่อื ไขมนั สเี หลืองหอ หมุ เนอื้ ไตตรงกลางสขี าวขอบมีสีดํา ไตมี 2 ขา ง ขางซา ยและขา งขวา อยูในชอ งทอ งบรเิ วณดา นขา งของกระดูก สนั หลงั ระดับเอวอนั ท่ี 2 ไตขา งขวาอยตู ่าํ กวาขา งซา ยเลก็ นอย ไตเปน ธาตนุ ้ํา มโี ครงขา ยเชอ่ื มโยงกบั กระดกู ไขกระดูก สมอง เสนผม หู อวัยวะสบื พนั ธุ และทวารหนกั

60 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบือ้ งตน 5.2 หนาทที่ างสรีรวิทยา ไตมีหนาท่ีกักเก็บจิง (精) ไมใหจิงช่ีถูกใชไปโดยไมจําเปน คัมภีรซูเวิ่น ล่ิวเจ๋ียจ้ังเซี่ยงลุน 《素问 。六节藏象论》กลา ววา “ไตมีหนา ทเี่ ก่ียวกับการจาํ ศลี เกบ็ ซอ นเปน ทนุ เปน ท่ีอยขู องช”่ี ใน “ไตดูแลนา้ํ รบั สารจิงจากอวัยวะภายในทง้ั 5 และภายนอกทงั้ 6 มาเก็บซอ นไว ไตจะสะสมใหม ีจิงพอเพียง อยูต ลอด หากหนา ที่ของไตพรอ งจะกระทบตอ การเจริญเตบิ โต ความพกิ ารทางเพศและสมรรถภาพทางเพศ 1) ไตเก็บสะสมสารจําเปน (จิง) จิงชข่ี องไตมี 2 ชนดิ ไดแก จิงทีไ่ ดร บั มาจากพอ แมเ ปน จิงกอ นเกิด และจงิ ท่ีไดมาจาก สารอาหารเปน จิงหลังเกิด จิงทง้ั 2 ชนิดนตี้ อ งพง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กันและกนั โดยสารจิงหลงั เกดิ นน้ั ตอ งการ อาหารจากจิงกอนเกดิ ในการสรา ง สารจิงท่ไี ดร บั หลงั เกิดจะเตมิ ใหก บั จิงกอ นเกดิ ไมใ หพ รอ ง ในหนังสือ จ่งิ เยวฺ ีย่ ฉวนซจู า เจิง้ 《景岳全书杂症》บันทกึ ไวว า “ตั้งแตคนเกดิ จนถงึ ตาย อาศัยจิงและเลอื ดเปน ทุน เมื่อคนเกิดมาอาศัยสารอาหารหลอเลี้ยงรางกาย ถาไมมีจิงและเลือดโครงสรางก็ไมเกิด ถาไมมี สารอาหารโครงรา งก็ไมเ จรญิ เติบโต จงิ เลอื ด มงิ่ เหมนิ (命门) สารอาหารควบคุมโดยมามและกระเพาะ อาหาร มิ่งเหมินไดพ ลังกอ นเกดิ กระเพาะอาหารและมามไดจ ากพลังหลงั เกดิ สารอาหารตองอาศัยการ จดั การของทุนกอ นเกดิ และจิงเลือดกอนเกดิ ตองอาศัยทุนของสารอาหารหลงั เกิด” สารจิงของไต มีความสําคญั ตอการเกิด และการเจริญเติบโต ในคัมภรี ซเู วิน่ ซางกูเ ทยี นเจิน ลุน《素问 。上古天真论》กลาววา “เด็กหญงิ อายุ 7 ป ชข่ี องไตแกรง และฟนงอก อายุ 14 ป เญ่ินมาย (任脉) และไทช ง (太冲) เช่ือมโยงกันสมบรู ณ เรมิ่ มรี อบเดอื นและมีลูกได อายุ 21 ป ช่ขี อง ไตมมี ากและมฟี น แทสมบูรณ อายุ 28 ป เอ็นและกระดกู แขง็ แรง มีเสนผมสมบูรณเต็มท่ี และรา งกาย สมบรู ณแ ขง็ แรง อายุ 35 ป หยางหมงิ (阳明) เร่ิมถดถอย ใบหนาเริม่ คลํา้ และผมเริ่มรวง อายุ 42 ป ลมปราณหยาง 3 เสน เร่ิมถดถอย ใบหนาหมองคลํา้ และผมเริม่ ขาว อายุ 49 ป เญิ่นมา ยพรอง ไทช ง ถดถอย รอบเดอื นเริม่ หมด รูปรา งเปลี่ยน และไมมบี ตุ ร” และ “ผูชายอายุ 8 ป ช่ไี ตแกรง ผมและฟน เร่มิ เจรญิ อายุ 16 ป ชไ่ี ตบรบิ ูรณส ูวยั เจริญพนั ธุ มกี ารหลั่งน้ําเชื้อ อนิ หยางสมดุล และมีบตุ ร อายุ 24 ป ชี่ของไต กระดูกและเอน็ แขง็ แรง และมีฟนแทสมบูรณ อายุ 32 ป เอ็น กระดูก และกลามเนอ้ื สมบูรณ อายุ 40 ป ชขี่ องไตเริ่มถดถอย ผมรว ง และเหงอื กรน อายุ 48 ป หยางชที่ ่ีข้นึ ขางบนเรมิ่ ถดถอยลง ใบหนาหมองคลํา้ และผมเคราหงอก อายุ 56 ป ชี่ของตบั เร่ิมถดถอย เอ็นขยบั เคล่อื นไหว ไมคลองแคลว นํ้าเช้ือลดลง หมดวัยเจริญพันธุ การทํางานของไตเร่ิมถดถอย และโครงรางเร่ิมเปลี่ยน อายุ 64 ป ฟนและผมรว ง

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 61 จะเหน็ ไดวา จิงชข่ี องไตทําใหเ กดิ การเปลยี่ นแปลงของเสน ผม ฟน สหี นา ลักษณะทางเพศ และโครงรางของรา งกายในเดก็ ถา มีการเจรญิ เตบิ โตชา จะดูไดจ ากชา 5 อยา ง คือ ทรงตัวตรงชา เดนิ ชา ฟนขน้ึ ชา ผมงอกชา พูดชา และมีอาการออ น 5 อยาง คือ คอออน ปากออน มอื ออน ขาออ น กลา มเนอื้ ออน 2) ไตควบคุมน้าํ ไตควบคุมนํ้า หมายถึง ไตควบคุมน้ําโดยการปรับสมดุลของนํ้า ในคัมภีรซูเวิ่น น่ีเถียวลุน 《 素 问 。 逆 调 论 》กลาววา “ไตเปน อวัยวะนาํ้ ควบคมุ จนิ เยีย่ ” ไตควบคุมน้าํ โดยเอานา้ํ จาก สารอาหารไปเลี้ยงทั่วรา งกาย และนาํ นา้ํ ที่ไดจ ากกระบวนการไปทางไต โดยอาศัยความรว มมอื จากปอด มาม กระเพาะอาหาร กระเพาะปสสาวะ ซานเจียว ช่ีจากไตจะใหพลงั งานแกก ระเพาะอาหารในการรับ สารอาหารนา้ํ สง ตอ ใหมา มใชก ารดดู ซึมนาํ้ สง ตอไปยงั ปอด ปอดจะกระจายนาํ้ และสงน้ําลงและมีซานเจียว ทีใ่ หนํา้ ผานสะดวก สง น้ําไปยงั ไตเพื่อขับออกทางกระเพาะปสสาวะ 3) ไตควบคุมช่ี ไตควบคมุ ชี่ โดยการรบั ชีข่ องปอด ชี่ของปอดเกดิ จากการหายใจไปเลยี้ งทว่ั รา งกายนัน้ มี ทิศทางของชีใ่ นทางกระจายออกและลงลาง การทช่ี ข่ี องปอดจะลงลางไดดตี องอาศัยชี่ของไตชวยรบั ซับดดู ไว คมั ภรี เนย จิง《内经》ไดกลา วถงึ ลักษณะความสัมพนั ธระหวางไตกบั ปอดไวเปนครง้ั แรก คัมภรี  หลงิ ซู เปน เสนิ 《灵枢。本神》กลาววา “เสนลมปราณเสาอนิ ไต ไตมกั สมั พนั ธในปอด” ในคมั ภีรซ ู เวิ่น น่ีเถยี วลุน 《素问 。逆调论》กลา ววา “ผูทีน่ อนราบไมได นอนจะหอบ เปน เพราะผลกระทบ จากช่นี ํ้า นา้ํ คอื สารจนิ เย่ียมีลักษณะไหลไป ไตเปนอวัยวะนาํ้ ควบคมุ การนอนและหอบ ในตําราจนิ คุย เอ้ียวเลีย่ 《金匮要略》ไดกลาวถงึ ความสําคญั ของไตถดถอยกบั อาการหายใจส้ันและยาวไกล (หอบ) วา “ผูท หี่ ายใจสั้น มนี ํา้ ตาเล็กนอย รกั ษาโดยขบั ออกทางปส สาวะ ตาํ รับยาท่เี หมาะสม คือ หลิงกยุ จกู ัน ทงั (苓桂术甘汤) และเซนิ่ ช่หี วาน (肾气丸)” ในตําราเลยเ จง้ิ จอื้ ไจฉว นเจ้ิง 《类证治栽喘症》 เขยี นโดยแพทยจ ีนหลินเพย ฉ นิ (林佩琴) กลาววา “ปอดเปน จาวควบคมุ ชีข่ องไต เปน รากฐานของชี่ ของปอด เปนผใู หชี่ ไตเปนผูรับชี่ ลกั ษณะอินหยางเกี่ยวกับการหายใจจึงจะปกติ ถาทศิ ทางการใหขบั ขึน้ ลงของชผี่ ดิ ปกติจะเกิดอาการหอบ” สรปุ ช่ีของปอดมที ศิ ทางขนึ้ บน โดยปอดเปนอวัยวะทอี่ ยสู วนบนของรา งกาย (上焦 ซางเจียว) มี หนา ที่ใหชี่รบั อากาศบรสิ ุทธิ์ กระจายช่ี และเปนธาตทุ อง ชีข่ องไตมีทิศทางลง โดยไตเปนอวัยวะที่อยูสว นลา งของรางกาย (下焦 เซีย่ เจยี ว) มหี นา ท่ี รบั ชี่ เก็บกกั จงิ ช่ี และเปนธาตนุ าํ้

62 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบ้ืองตน ธาตทุ องและน้ําใหก าํ เนิดเกอ้ื กลู กนั เมื่อธาตุใดธาตหุ นึง่ ปว ยเปน เวลานาน จะกระทบถึงอกี ธาตุหนึง่ ได เชน โรคปอด ไอเรอื้ รงั เริ่มจากชนดิ แกรง ตอไปกระทบถงึ ไตกลายเปน หอบชนดิ จากไตพรอ ง กระทบไมด ดู ซบั รับชข่ี องปอดทําใหหอบ 5.3 คุณสมบัตพิ เิ ศษของไต 1) ไตเปนอวัยวะทําหนา ที่เกบ็ กกั คัมภีรซูเวิ่น ล่ิวเจ๋ียจ้ังเซ่ียงลุน《素问 。六节藏象论》กลาววา “ไต หนา ท่เี สินจําศีล เก็บกกั เปน ทุน” ไตไดชื่อวาเปน อวยั วะน้ําใหเ ก็บซอนอนิ แท และหยางดง้ั เดิม (元阳) นอกจากน้ไี ตยังมี หนา ท่ดี ึงนา้ํ และสารเหลวกลับ ควบคมุ การเปด ปด ถายอุจจาระและปสสาวะ ชว ยไมใ หทารกแทง ปดก้นั ไมใหส ารเขมขนหลดุ ออกไป ถา หนา ทเี่ ก็บกักของไตเสียไป ไตรบั ดดู ซบั ช่ีปอดไมไดจะหอบ เก็บจงิ ไมอ ยู จะเกดิ นํ้ากามเคลอ่ื นหรอื หล่งั เรว็ ในสตรีรอบเดอื นมามาก แทงงาย ปส สาวะ อจุ จาระกลัน้ ไมอ ยู จิงชใี่ นไตแปรเปล่ยี นเปนอินของไต หยางของไต เพื่อเปน ทุนของอนิ หยางท่ัวรา งกาย หมายเหตุ คาํ วา อินของไตหยางของไต อินแทห ยางแท (真阴真阳) อินเดิมหยางเดมิ (元阳 元阴) นํา้ ของม่ิงเหมิน ไฟของม่งิ เหมนิ มคี วามหมายเดียวกัน 2) จิงช่ีและอนิ หยางของไต - จงิ ของไต จงิ (精) หมายถึงสารทีม่ อี ยูข นาดเล็ก จาํ เปนตอรา งกาย จงิ ของไต (肾精) มีความจาํ เปน ตอ การเจรญิ เติบโตของกระดูก สมอง และการเจรญิ ทางเพศ เปน ทุนหลงั เกิด หรืออาจไมส ง จงิ ทไ่ี ตจาก พอแมก อ นเกิดเปนทุน ถาจงิ ของไตไมเพียงพอจะเกิดอาการพิการ การเจรญิ เติบโตชา ในเดก็ เกดิ ชา 5 อยางและออ น 5 อยา ง ดังกลา วขางตน ในผูใหญถ า จงิ ของไตไมเ พยี งพอจะแกเรว็ ผมรว ง ฟนรว ง ความจําเส่อื ม สมรรถภาพทางเพศของผูช ายจะมนี ้ํากามนอ ย เปน หมัน ในสตรีจะมีบุตรยาก รอบเดือน ผดิ ปกติ เปน ตน - ชีข่ องไต ช่ขี องไต (肾 气 เซิ่นช)ี่ เปนพลังงานท่แี ปรมาจากจิงของไต ซ่งึ เปน พ้ืนฐานของสรรี ะของ รางกาย เปน พลงั ท่ีใชใ นการเจรญิ เติบโตของรางกาย การเจริญพนั ธุ การดดู ซับรบั พลงั งาน การหายใจ จากปอด ชว ยการไดยิน ควบคุมการเปด ปด การขบั ถา ยอุจจาระปส สาวะ การท่ีชข่ี องไตเพม่ิ หรอื ถดถอย บกพรองถงึ ภาวะเกดิ แก เจ็บ ตาย ถา ชขี่ องไตไมสามารถเหนยี่ วรง้ั เก็บกกั หรอื ไมสามารถจดั การกับนํ้า หรอื ไมรบั ช่ี จะมอี าการน้ํากามเคล่อื น ฝน เปย ก ถายเหลว ปส สาวะใสมาก เปน ตน

ทฤษฎีอวัยวะภายใน 63 - อนิ ของไต ในยุคราชวงศถ งั ซุนซอื เหม่ยี ว (孙思邈) ไดก ลาวถงึ โรคไตซ่ึงมีชนดิ แกรง พรอ งรอ นหนาว วาตอ งรกั ษาโดยการเสริมความชมุ ชืน้ แตย ังไมไ ดก ลาววา เปน อินของไต (肾 阴 เซน่ิ อิน) ตอมาในยุค ราชวงศซ ง เรม่ิ ใชคําวา เสรมิ อนิ ของไต โดยใชตาํ รับยา ล่ิวเวย ต้หี วงหวาน (六味地黄丸) ในยุค ราชวงศหมงิ ไดเ ร่ิมใชคําวา ไตเก็บอินหยาง อินหยางเปนพื้นฐานของอินหยางทั่วรางกาย ในตําราอี กวน เสฺว่ียเจ้ิงลุน《医贯。血证论》กลาววา “ผทู ่ีไดมปี ระตูชีวิตจะดํารงชพี อยไู ด เปนไฟไมม รี ูปรา ง เรียกวา เหวยี นชี่ (元气) หรือ ชด่ี งั้ เดมิ น้ําท่ีไมมรี ูป เรยี กวา เหวียนจงิ (元精) หรือ จงิ ดั้งเดิม โดย เกบ็ อยทู ีไ่ ต 2 ขาง ดงั นั้นกลา วไดวา อวัยวะตันท้งั 5 มีไตเทาน้ันที่มีไฟแทและนํา้ แท หรือเรียกวา อนิ แท หยางแท” ดังนนั้ อนิ ของไต อาจเรยี กวา อินดั้งเดมิ หรอื อินแท ซง่ึ เปน สารเหลวและอนิ ของรา งกายคน ทาํ หนาท่บี ํารงุ เสริมความชุมชืน้ ใหแกอวัยวะตาง ๆ และใหส มดลุ กบั หยางของไต ถาอินของไตพรอง จะ มีอาการแสดง 2 ลักษณะ ดงั นี้ (1) อนิ ของไตไมเพยี งพอใหความชุมช้นื แกรา งกาย จะมอี าการเวยี นศรี ษะ มเี สยี งในหู อจุ จาระ แข็ง รูปรางผอม ลิน้ แหง คอแหง (2) อินของไตไมส ามารถขมหยางของไตใหส มดลุ จะมอี าการรูสกึ รอนขา งในฝามอื ฝาเทา หนา อกรอน เหงอ่ื ออกกลางคืน นอนไมห ลบั ฝน เปย ก เปน ตน - หยางของไต ในยคุ ราชวงศซ ง ตําราผูจ ้ีเปน ซอื่ ฟาง จโู ซว ซวฺ ีฮน่ั เซียวจเฺ หวีย《普济本事方。诸嗽虚 汗消竭》เขียนโดย สฺว่ีซเู วย (许叔微) กลาววา “ช่ขี องไตบริบูรณเปนไฟแท” ตําราฉีเซิงฟาง ปูอี้ 《济生方。补益》เขยี นโดย เอีย๋ นยง เหอ (严用和) กลา ววา “ผทู ี่ดํารงชวี ติ โดยไมด ูแลรา งกายให ดี ใชร า งกายมากเกนิ ไป หยางแทจ ะถดถอย ไฟแทไมส ามารถใหค วามอบอนุ มา มธาตุดิน.......ทง้ั นี้เปน เพราะไฟแทพ รอ ง” แพทยจ ีนทม่ี ีชื่อเสียงจางจ่ิงเยฺวีย่ (张景岳) ไดส รางตํารับยาที่ใชบํารุงหยางของไต เรียก อ้ิวกุยหวาน (右归丸) หยางของไต (肾阳 เซ่นิ หยาง) หรอื หยางแท (真阳 เจินหยาง) หรอื หยางดง้ั เดิม (元阳 เหวียนหยาง) เปน รากทุนของหยางทว่ั รางกาย และใชถ วงดลุ กับอินของไต ถาหยางของไตพรองจะมี อาการออ นเพลยี กลวั หนาว ปลายแขนและขาเยน็ ปวดเอว เขาและแขนเยน็ ๆ สมรรถภาพทางเพศ ลดลง มดลูกเยน็ บวมนา้ํ เปน ตน

64 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบือ้ งตน อวัยวะกลวง (腑 ฝู) อวยั วะกลวงทั้ง 6 (六腑 ลว่ิ ฝ)ู ประกอบดว ย ถุงนาํ้ ดี กระเพาะอาหาร ลําไสเลก็ ลาํ ไสใ หญ กระเพาะปส สาวะ และซานเจยี ว หนา ทีพ่ ้นื ฐานของอวยั วะกลวง คือ รับและชว ยยอ ยอาหารและของเหลว ดดู ซมึ และสง ตอ สารอาหารท่ียอ ยเสรจ็ เรียบรอยแลว ไปยังสวนตาง ๆ ของรา งกาย นอกจากน้ันยงั มีหนาที่ เปลยี่ นกากอาหารและนา้ํ จากสว นตาง ๆ เปนปสสาวะและอจุ จาระแลวขับออกนอกรา งกาย 1. ถงุ นํา้ ดี (胆 ตาน) ถุงนาํ้ ดเี ปนหนง่ึ ในหกอวยั วะกลวง เปนอวัยวะกลวงพเิ ศษ สัมพันธก ับตับ โดยตับสรางนํา้ ดี แลว สงมาเก็บทถี่ ุงนา้ํ ดี ลมปราณตบั ชวยขับนา้ํ ดีลงมาในสาํ ไสเลก็ เพอื่ ชว ยยอ ยอาหาร และถือวา นาํ้ ดเี ปน สารเหลวภายในท่ีสะอาด แพทยจ นี จางเจี้ยปน (张介宾) ไดบ ันทึกไวในตาํ ราเลยจ งิ จัง้ เซยี่ งเสฺวยี 《类 经。藏象学》วา ถุงน้าํ ดีเปนขาราชการตุลาการ เก็บซอ นน้ําหลวงทสี่ ะอาด ถา ตบั มีปญหาช่ขี องตับ ไหลเวยี นไมด ีหรอื ตดิ ขดั จะกระทบถงึ นํ้าดไี หลเวยี นไมด ีดวย ทาํ ใหเ กดิ อาการแนน หนาอกและปวดชายโครง ซงึ่ มีผลตอ มามและกระเพาะอาหาร มีอาการไมเจรญิ อาหาร เบื่ออาหารมนั ทอ งอืด ถายเหลว เปนตน 2. กระเพาะอาหาร (胃 เวย ) 2.1 ลักษณะทางกายวภิ าค กระเพาะอาหารอยใู นชอ งทองสว นบนใตก ระบงั ลม มีรปู รา งโคง แบง ไดเ ปน 3 ตอน คือตอนบน ตอนกลาง และตอนลาง ตอนบนตอกบั หลอดอาหาร ตอนลางตอกับลําไสเล็ก 2.2 หนา ท่ีทางสรรี วทิ ยา กระเพาะอาหารมหี นา ที่ 3 อยาง คือ 1) รองรบั อาหารและนาํ้ อาหารและนาํ้ ท่ีบดเคีย้ วในปาก ผานหลอดอาหารลงสูก ระเพาะอาหาร ถาลมปราณกระเพาะอาหารดี จะรองรบั อาหารและนํา้ ไดดี เปน ทเ่ี ก็บอาหารชั่วคราว ถาผิดปกติจะมอี าการ เบอ่ื อาหาร ทานอาหารไดนอย ทอ งอดื 2) ทาํ หนา ทย่ี อ ยอาหาร กระเพาะอาหารทาํ การยอยอาหารระดบั ตน ใหข นาดอาหารเลก็ ลง เพ่อื สง ลงลาง ไปยังลําไสเ ลก็ เพอื่ แยกยอ ยตอ ไป และรว มกับมามในการดดู ซึมสารอาหารท่ีจําเปนสง ตอ ไปยังปอดและหวั ใจไปเลีย้ งทั่วรางกาย 3) ควบคมุ การไหลลงของอาหารและขับอุจจาระ ในภาวะปกตกิ ระเพาะอาหารมีทิศทางของ ลมปราณไหลลงลาง ชว ยใหอ าหารไหลลงลา งสูลาํ ไสเ ล็กเพือ่ ยอ ยและดดู ซึม กากอาหารถูกขับออกทางลาํ ไส

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 65 ใหญ กลายเปนอจุ จาระออกจากรางกายผานทางทวารหนัก คูกบั ช่ขี องมามทมี่ ีทศิ ทางขนึ้ บน โดยมามและ กระเพาะอาหารเปน คูกัน ลกั ษณะพเิ ศษของกระเพาะอาหาร คือ ทาํ งานรวมกับมามโดยทกี่ ระเพาะอาหารชอบความชืน้ แตมา มชอบความแหง เปนอนิ หยางที่ทาํ ใหเกิดความสมดุลของระบบยอ ยอาหารทดี่ ี คอื คทู ี่ตางกนั อยคู ู กัน ชว ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั (กระเพาะอาหารเปน ธาตุดิน แตอ วยั วะกลวงจดั เปนดินหยาง มามเปน อวยั วะตันซ่ึงเปน ดินอนิ ) 2.3 ชข่ี องกระเพาะอาหาร เวยช ่ี (胃气) หรือ ช่ขี องกระเพาะอาหาร เดิมหมายถงึ ลักษณะของชีพจรท่นี มุ นวลสม่ําเสมอ ปจจบุ ันหมายถึง ความสามารถของกระเพาะอาหารในการขบั เคลือ่ นยอยอาหาร นอกจากนน้ั ยงั หมายถงึ สารอาหารทอี่ ยูใ นกระเพาะอาหาร และประสิทธิภาพการทํางานรวมกนั ของมามและกระเพาะอาหารในการ ยอ ยและดูดซึมสารอาหารที่จาํ เปน ไปเปนทุนหลังเกดิ หรือ หมายถงึ เหวยี นช่ี (元气) ทก่ี ระเพาะอาหาร และมา มรบั มาเพอ่ื ทาํ หนา ทีใ่ นการดดู ซึมและยอยอาหาร โรคท่พี บบอ ยเก่ียวกับกระเพาะอาหาร ไดแก กระเพาะอาหารเยน็ กระเพาะอาหารรอน อนิ ของกระเพาะอาหารพรอง กระเพาะอาหารอาหารติดขัด - กระเพาะอาหารรอ น สาเหตุ เกดิ จากการรบั ประทานอาหารเผ็ดมากเกนิ ไป ไฟจึงลามสูกระเพาะอาหาร อาการ ปวดกระเพาะอาหารแสบรอน เรอเปร้ยี ว มีเสยี งในทอง กินจุกนิ เกง เหงือกอักเสบ ฟนผุ ปากเหม็น อุจจาระแขง็ ลิน้ แดง ฟนเหลือง - อนิ ของกระเพาะอาหารพรอ ง สาเหตุ ปว ยเปนโรคกระเพาะอาหารมานาน หรือปว ยจากโรครอนภายนอกในระยะทา ยของ โรคมากระทบกระเพาะอาหาร เกิดอาการอินพรอง ชอบรับประทานอาหารรสเผ็ด จัด มีความผิดปกติทางอารมณ ถาเปน นานจะกลายเปน ไฟเผาผลาญอินของกระเพาะ อาหาร เกิดอนิ พรอ งในกระเพาะอาหาร อาการ ปวดทอ ง ปวดแบบราํ คาญบริเวณกระเพาะอาหาร รูสกึ หิวแตไมอยากรบั ประทาน บางรายมีอาการไมส บายบรเิ วณล้ินป อาเจียน เรอ ล้นิ มีสีแดง ไมชุมชนื้ ถา พรอ ง มาก ฝาทีล่ ิน้ จะมีลกั ษณะเปน แผนท่ี ชพี จรเล็กเร็ว - กระเพาะอาหารอาหารตดิ ขดั (อาหารไมย อ ย) สาเหตุ รบั ประทานอาหารมากเกินไป มีพน้ื ฐานระบบยอ ยอาหารไมแ ข็งแรง

66 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบ้อื งตน อาการ จกุ เสยี ดแนน ถา อาการมากจะปวด เรอเปรยี้ ว อาเจียนอาหารท่ไี มย อยออกมา ถายเหมน็ มาก - กระเพาะอาหารเยน็ สาเหตุ ความเย็นกระทบท่หี นาทองโดยตรง รบั ประทานอาหารเย็นมากเกนิ ไป ตรากตรํา ทํางานมากเกนิ ไป หยางพรอ ง หรือ ม่ิงเหมนิ (命门) ไฟลามมากระเพาะอาหาร อาการ ปวดกระเพาะอาหาร ถาปวดไมมากจะปวดแบบรําคาญ มอี าการปวดเกร็ง เมอ่ื กระทบความเย็นจะปวดมากขึน้ ถาไดร ับความอบอุนจะรสู กึ สบายขึ้น อาเจยี นเปน นาํ้ ใส ลิ้นมีฝา ขาวล่นื ชพี จรชา 3. ลําไสเ ลก็ (小肠 เสี่ยวฉาง) 3.1 ลกั ษณะทางกายวิภาคศาสตร ลาํ ไสเล็กมลี ักษณะเปนทอกลวงยาว มว นพับไปมา ตําแหนง อยบู รเิ วณตอนกลางของชอ งทอง สวนบนของลาํ ไสเล็กตอ กับกระเพาะอาหาร สวนลา งตอกับลําไสใ หญ ลําไสเ ลก็ มหี นา ท่ีรบั อาหารทย่ี อยแลว บางสว นจากกระเพาะอาหาร จะพกั อยใู นลาํ ไสเลก็ ชวั่ ขณะ เพ่ือยอ ยและดดู ซึมสารอาหารไปเลย้ี งรางกาย ดงั น้ัน ในคัมภีรซเู ว่นิ หลงิ หลนั ม่เี ต่ยี นลุน 《素问。灵 兰秘典论》กลา ววา “ลําไสเ ล็กมีความสัมพนั ธในหนาท่กี บั กระเพาะอาหาร ลาํ ไสใหญ และมาม โดย เปนตวั แยกสารจําเปนออกจากสารทไี่ มต อ งการ เปนทีซ่ ึมผานของน้าํ สงตอกากไป สวนสารจําเปนมามจะ ดดู ซึมไป”แพทยจ ีนจางเจยี้ ปน (张介宾) ไดเขยี นไวใ นตาํ ราเลย จงิ จง้ั เซย่ี งเลย《 类经。藏象类》 วา ถาลาํ ไสเ ลก็ ทําหนาทผี่ ิดปกตจิ ะเกดิ อาการแนนทอง ทอ งอดื อาเจยี น ทองผูก เปน ตน 3.2 หนาท่ีทางสรรี วทิ ยา 1) รบั อาหารจากกระเพาะอาหาร 2) แยกแยะสงิ่ ที่ใชไ ดและใชไ มไ ด โดยสง สิง่ ท่ใี ชไ ดไ ปมาม และสง สงิ่ ท่ีใชไ มไ ดไ ปลาํ ไสใหญ ดงั นัน้ ถา การทาํ หนาท่ขี องลาํ ไสเ ล็กผิดปกติ อุจจาระและปสสาวะจะผดิ ปกติ เชน ทองเสยี หรือ ปสสาวะนอ ย 3.3 ความสัมพันธร ะหวางหวั ใจกบั ลาํ ไสเ ล็ก 1) หัวใจทํางานปกติ ทาํ ใหป ระสิทธิภาพการทาํ งานลาํ ไสเ ล็กในการแยกแยะสงิ่ ท่ีใชไ ดแ ละใช ไมไ ดไดดี 2) ลาํ ไสเ ล็กผดิ ปกติ มผี ลกระทบตอ หวั ใจ

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 67 3) หัวใจมไี ฟมาก ความรอ นจากหวั ใจสงผลใหล าํ ไสเลก็ มคี วามรอน มีนา้ํ นอยลง ปสสาวะ นอย แสบขดั รอ น เปน ตน 4) ลาํ ไสเ ลก็ มคี วามรอน สงผลใหเ กิดความรอนทหี่ วั ใจ ทาํ ใหห งดุ หงดิ ล้ินเปนแผล เปน ตน 4. ลําไสใ หญ (大肠 ตา ฉาง) 4.1 ลักษณะทางกายวภิ าคศาสตร ลาํ ไสใ หญม ลี ักษณะเปนทอ กลวงขนาดใหญก วา แตส้นั กวา ลําไสเ ลก็ ตาํ แหนง อยูบ ริเวณตอน กลางของชองทอ ง สว นบนตอ กบั ลําไสเ ลก็ สว นลางตอกบั ทวารหนัก ลาํ ไสใ หญอ ยรู ะหวางลําไสเ ลก็ กบั รูทวารหนกั มีหนา ทข่ี ับอจุ จาระและดูดซมึ นํา้ กลับ คัมภรี  ซเู วิ่น หลิงหลันมี่เตี่ยนลุน 《素问。灵兰秘典论》กลา ววา “ลาํ ไสใ หญเหมือนขุนนางทีม่ หี นา ท่ถี า ยเท สง่ิ ที่ถูกแปรสภาพออกไป ทาํ หนาทีเ่ หมือนกับเทศบาล สิ่งท่ีแปรสภาพ หมายถงึ อจุ จาระ” 4.2 หนาท่ีทางสรีรวทิ ยา 1) หนาทขี่ องลําไสใ หญและปอดมีความสมั พันธกัน ปอดและลําไสใ หญม ีความสมั พันธกัน แบบนอกใน โดยสัมพันธก บั ชขี่ องกระเพาะอาหารและจินเย่ีย (津液) ในรางกาย ถา รา งกายขาดจนิ เยยี่ อจุ จาระจะแหง แขง็ เกดิ อาการทอ งผูก ถา รา งกายมจี นิ เย่ียมากเกนิ ไป อจุ จาระจะเหลวเกดิ อาการทองเดิน หากชีข่ องกระเพาะอาหารมที ิศทางลงหรอื บกพรอง จะกระทบถงึ การถา ยเทอุจจาระของลําไส ใหญได เพราะเปนเสนลมปราณหยางหมิง (阳明) เหมือนกัน ทาํ ใหเกิดอาการทอ งผกู ชขี่ องปอดพรอง ทําใหทิศทางของช่ีลงลา งบกพรอ งดวย ดงั นนั้ สารนํา้ ที่สงโดยช่ขี องปอดไปยงั ลําไสใ หญไมเ พยี งพอ ช่ี ของปอดทีไ่ ปทล่ี าํ ไสใ หญไมเ พยี งพอทําใหเ กิดอาการทอ งผกู ได 2) ชว ยควบคุมสมดลุ ของน้าํ ในรา งกาย โดยการดดู ซมึ นํ้าจากกากอาหาร ความผิดปกติทจี่ ะ เกิดกับลาํ ไสใหญ ไดแ ก - ถาลาํ ไสใ หญพรองจะเกิดความเยน็ ไมส ามารถดดู ซมึ นํา้ มีอาการเสียงโครกครากในทอ ง ปวดทอ ง ทองเดนิ - ถา มคี วามรอ นในลําไสใ หญ จะเผาผลาญนํ้า ทาํ ใหล ําไสแหง มอี าการทอ งผกู ถา ยลําบาก 5. กระเพาะปส สาวะ (膀胱 ผางกวง) กระเพาะปส สาวะตําแหนงอยใู นชองทองสว นกลาง มีหนา ที่กกั เก็บและสงผา นปสสาวะ มี ความสัมพันธทั้งภายนอกและภายในกับไตในระบบเสนลมปราณ ในคัมภีรซูเว่ิน หลิงหลันม่ีเตี่ยนลุน

68 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน 《素问。灵兰秘典论》กลา ววา “กระเพาะปส สาวะเปน เหมือนขาราชการดแู ลกระแสนาํ้ ทไ่ี หลมา เปน ท่ีเกบ็ รวมของจินเยีย่ เม่ือมีชีแ่ บง มาใหก ็จะขับปส สาวะออก” การขบั ปส สาวะจะเกดิ ขึน้ เมอ่ื มีชแ่ี ปรมา จากไต ดงั นน้ั อาการของการกล้ันปสสาวะไมอ ยู ปส สาวะบอย ปสสาวะคา ง จงึ เกยี่ วขอ งกับชขี่ องไต โรค ของกระเพาะปสสาวะทพี่ บบอย คือ ความรอนชน้ื สะสม เกดิ จากความรอนชน้ื ขัดขวางทิศทางการไหลเวียน ของชี่ ทําใหเ กดิ อาการปสสาวะขดั คอื ปสสาวะแสบรอน ปส สาวะขนุ มีเลอื ด เปน ตน 6. ซานเจยี ว (三焦 ซานเจียว) 6.1 ลักษณะทางกายวิภาคศาสตร ซานเจียว เปนหนึง่ ในหกอวยั วะกลวง ชอ่ื ซานเจียวถกู กลา วถงึ ครั้งแรกในคมั ภีรเ นย จิง《内 经》อธบิ ายซานเจยี ววา คือ อวัยวะที่ “มชี ่ือแตไ มมรี ูป (有名而无形 โหยว หมงิ เออ อสู งิ )” ในยคุ ราชวงศห มิง แพทยจีนจางเจย้ี ปน (张介宾) ไดเ ขยี นไวใ นตําราเลยจงิ จง้ั เซยี่ งเสวฺ ีย《类经。藏象学》 อธบิ ายถงึ ซานเจยี ววา “อยนู อกอวยั วะภายใน อยใู นรางกาย หุมรอบอวยั วะ เปน อวัยวะกลวงขนาดใหญ” ซานเจยี ว แบง เปน 3 สวน ไดแ ก สว นบน (上焦 ซา งเจยี ว) สวนกลาง (中焦 จงเจยี ว) และสว นลา ง (下焦 เซย่ี เจียว) - สวนบน (上焦 ซา งเจียว) คอื ชว งอกทอี่ ยขู องหวั ใจและปอด มหี นา ทส่ี ําคัญคือ รบั อาหาร และนา้ํ และสง ผานไปยงั หลอ เลย้ี งระบบตาง ๆ ของรา งกาย เน่ืองจากปอดและหวั ใจตงั้ อยใู นซางเจียว จงึ ทาํ หนา ทีส่ ง ผานเลอื ดไปหลอเลีย้ งทว่ั รา งกาย - สว นกลาง (中焦 จงเจียว) คอื ชวงทอ งบรเิ วณเหนือสะดือ เปน ท่อี ยขู องมา มและกระเพาะ อาหาร มีหนา ท่ียอยอาหาร และหลอ เล้ยี งใหพ ลังแกช ี่ เลือด และของเหลวในรา งกาย เน่อื งจากมามและ กระเพาะอาหารต้ังอยใู นบริเวณจงเจยี ว หนา ทีข่ องจงเจยี วจงึ ตรงกบั หนา ท่ีของมามและกระเพาะอาหาร - สวนลา ง (下焦 เซย่ี เจยี ว) คอื ชวงทอ งบรเิ วณใตสะดอื ลงไป เปนทตี่ ั้งของตบั ไต ลาํ ไส เล็ก ลําไสใ หญ กระเพาะปส สาวะ และมดลกู หนาท่ีสาํ คัญคือ แปรรูปกากอาหารและของเหลือใชใ นรา งกาย ใหเ ปน อจุ จาระและปสสาวะ เพ่อื ขบั ออกนอกรา งกาย กลา วไดว า เซ่ียเจยี วเปน เสมือนระบบบาํ บัดของเสยี ของตวั เมอื ง 4.2 หนา ทีท่ างสรรี วิทยา ซานเจียวมีหนา ที่ 2 อยาง คือ 1) ชวยการไหลเวียนของนาํ้ คมั ภีรซเู ว่นิ หลงิ หลนั มีเ่ ตียนลนุ 《素问。灵兰秘典论》 กลาววา “ซานเจียวเปรียบเหมือนขา ราชการกรมชลประทานใหนํ้าไหลผา น” สารอาหารและน้าํ จะถูกดูดซึม

ทฤษฎีอวยั วะภายใน 69 แลว ไหลผา นซานเจียวไปหลอ เลี้ยงทว่ั รา งกาย ของเสยี คอื ปสสาวะและอจุ จาระจะถกู ลําเลยี งผานซานเจียว ขับออกนอกรา งกาย ซานเจยี วจงึ มีบทบาทสาํ คัญในการรกั ษาสมดุลของรางกาย โดยเฉพาะสมดลุ ของนาํ้ ในรา งกาย 2) ชว ยการไหลเวยี นของชดี่ งั้ เดมิ (元气 เหวยี นช)่ี คัมภรี ห นันจิง ซนั สอื ปาหนนั 《难经。 三 十 八 难 》กลาววา “ซานเจียวเปน ตัวแทนของเหวียนช่ี ชวยหนุนชี่ทง้ั หลาย” ซานเจยี วชว ยใหช่ี ดั้งเดิมผานไปสอู วยั วะภายในสะดวก อวยั วะกลวงพิเศษ (奇恒之腑 ฉีเหิงจอื ฝ)ู อวัยวะกลวงพเิ ศษ ประกอบดว ย สมอง ไขกระดกู เสน เลือด ถงุ นา้ํ ดี และมดลกู เปนอวัยะ ภายในท่มี ีลกั ษณะเปนทอกลวงเหมือนอวยั วะกลวง ทาํ หนาทเี่ กบ็ สะสมสารจาํ เปน และลมปราณเชน เดียวกับ อวัยวะตนั อวยั วะกลวงทุกอวยั วะยกเวน ถุงนาํ้ ดไี มม คี วามสัมพันธก บั ปญจธาตุ และไมม คี วามสมั พนั ธ แบบคนู อก-ใน แตมคี วามเก่ียวขอ งกบั เสนลมปราณพิเศษ 8 เสน 1. สมอง (脑 หนาว) 1.1 ลกั ษณะทางกายวภิ าคศาสตร สมองต้งั อยใู นกระโหลกศรี ษะ โดยมาจากไต กลาวคือ ไตกํากบั กระดกู สรางไขกระดูกแลว รวมกันเปน กลุม กอนท่สี มอง ดังนนั้ สมองจึงมชี อ่ื วา เปน ทรี่ วมของไขกระดกู ในการแพทยแ ผนตะวนั ตก สมองเปนอวัยวะทที่ าํ หนาท่ีรับผดิ ชอบเก่ียวกับการนึกคิด แตใ น การแพทยแ ผนจนี การนกึ คดิ เปนหนาทสี่ ําคญั ของหวั ใจและประสาท และรวมถงึ อวยั วะตันทั้ง 5 ดว ย 1.2 หนาทท่ี างสรรี วิทยา ในยคุ ราชวงศหมงิ แพทยจีนท่มี ชี ่อื เสยี ง หลีส่ อื เจนิ (李时珍) กลาววา “สมองเปน ท่ีอยขู อง เหวียนเสนิ (元神)” ในยุคราชวงศช งิ หวคู นุ (吴琨) กลาววา “ความจําถูกบนั ทกึ ไวท ่ีสมอง” หวาง ชิงเริน่ (王清任) กลา ววา “สมองเปนทซ่ี ่งึ จดจาํ เมื่อรับประทานอาหารแลวเกิดเปนเลอื ดลม (气血 ชี่ เซวฺ ยี่ ) กลา มเนอ้ื เจริญเตบิ โต สวนของยอดอาหารทมี่ ลี ักษณะใสกลายเปนไขกระดกู แลวไหลขน้ึ สศู ีรษะ (สมอง) หทู ัง้ สองเชื่อมถงึ สมอง การไดย นิ เสียงจึงเปน หนา ท่ีของสมอง ตาสองขา งเปนใยที่งอกออกมา จากสมอง การไดเ ห็นสิ่งตาง ๆ จึงเปนหนา ท่ีของสมอง จมกู เชอื่ มถึงสมอง การดมกลิ่นจงึ เปนหนา ทีข่ อง สมองเชน กนั ” ในทฤษฎีจ้งั เซ่ียง《藏象论》กลาววา “หัวใจมเี สินทําหนา ทีก่ ํากบั สมองอกี ชนั้ หน่ึง”

70 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอื้ งตน 2. มดลกู (女子胞 หนี่จ่ือเปา) มดลกู ตาํ แหนงอยภู ายในทองนอ ยหลงั กระเพาะปสสาวะ มลี กั ษณะเหมือนลกู สาลที ีก่ ลบั หัว มดลูกเปน อวยั วะที่ผลิตประจาํ เดือนและสารอาหารในการหลอเลยี้ งตัวออนในขณะตัง้ ครรภ การมีประจาํ เดือน และการต้งั ครรภม ีความซบั ซอ นมาก และไดรบั อทิ ธิพลจากการกระทําของไต ตบั และเสน ลมปราณชง และเญิ่น โดยจะมีความเก่ียวขอ งกัน ดังน้ี 1) อทิ ธิพลของเทยี นเกวฺ ย และไต เทยี นเกวฺ ย (天癸) เปนผลผลิตของสารจําเปน ของไต เม่ือไดรบั การพัฒนาจนถงึ ระดบั ท่สี มบูรณ เทยี นเกฺวยจะทําหนา ท่พี ัฒนาความสมบรู ณข องรางกายและการทํางานระบบอวัยวะสืบพนั ธุ ดังน้ันการเกิด และการหมดไปของเทยี นเกวฺ ยจงึ มีความสมั พนั ธอ ยา งใกลชดิ กับการทํางานของไต เม่ือสตรมี ีอายุ 12-14 ป รา งกายจะผลติ เทียนเกฺวย ซ่ึงมผี ลใหก ารทาํ งานของอวัยวะสืบพนั ธุมคี วามสมบูรณ สตรใี นวัยน้ีจึงมัก มีประจําเดือนและสามารถในการตั้งครรภไ ด เม่ืออายุมากขึ้นเทียนเกวฺ ย จะมีนอยลงและการทํางานของไตก็ จะมีประสิทธิภาพลดลงไปดว ย ประจําเดือนเร่ิมหมด ความสามารถในการตั้งครรภกจ็ ะคอ ย ๆ หมดไป 2) อิทธิพลของเสนลมปราณชงและเญน่ิ เสนลมปราณท้ัง 2 มจี ดุ เรม่ิ ตน ท่ีบริเวณมดลกู เสน ลมปราณชง (冲脉 ชงมาย) จะไหลเวยี น รว มไปกับเสน ลมปราณไต และติดตอ เชื่อมโยงกับเสนลมปราณหยางหมงิ จงึ มีผลใหก ารไหลเวียนของชี่ และเลอื ดในเสน ลมปราณ 12 เสนเปนไปอยางปกติ จึงไดช ือ่ วา “ทะเลของเสน ลมปราณ 12 เสน ” เสน ลมปราณเญิ่น (任脉 เญน่ิ มา ย) จะเช่ือมโยงกับเสน ลมปราณเทาอิน 3 เสนในชองทอ งชว งลา ง ชว ยการ ไหลเวียนของชีแ่ ละเลอื ดในเสนลมปราณอินทงั้ หมดของรางกาย ดงั นน้ั จงึ ไดช อื่ วา “ทะเลของเสนลมปราณ อนิ ” เมื่อช่แี ละเลือดในเสนลมปราณท้งั 12 เสน เปนปกติ ก็จะไหลเวยี นไปในเสนลมปราณชงและเญน่ิ ทาํ ใหมดลูกสามารถควบคุมการมีประจําเดือนใหเปนปกติ แตการทํางานของเสนลมปราณชงและเญ่ิน ควบคมุ โดยเทียนเกวฺ ย ในวนั เด็กสารจาํ เปน ในไตยังทํางานไดไ มเ ตม็ ที่ และเทียนเกฺวยกย็ ังไมม ีการผลติ ใด ๆ ออกมา เสนลมปราณชงและเญิน่ จะยงั ไมม ีชแ่ี ละเลือดที่สมบูรณจึงยงั ไมม ีประจําเดอื น เม่ือยา งเขา สูวัยรนุ การทํางานของสารจาํ เปน ในไตมคี วามสมบูรณ เทยี นเกฺวย จะเกบ็ ตวั พฒั นาขึน้ จนมีความสมบูรณ สตรจี ะเริม่ มีประจําเดือนและมีความสามารถในการตง้ั ครรภไ ด เมอ่ื มอี ายุมากขึน้ เทียนเกวฺ ยหยุดการทํางาน อันมผี ลมาจากการลดประสิทธภิ าพการทาํ งานของไต ทาํ ใหเ สน ลมปราณชงและเญิน่ มีชีแ่ ละเลอื ดเรมิ่ ลด นอ ยลง ภาวะการหมดประจาํ เดือนกจ็ ะเกิดขึ้น

ทฤษฎีอวัยวะภายใน 71 3) อิทธิพลของหวั ใจ ตบั และมา ม ในบรรดาอวยั วะตนั ทง้ั 5 และอวยั วะกลวงทงั้ 6 มดลกู มีความสมั พันธใกลช ดิ กับหวั ใจ ตับ และมา ม ท้ังน้ีเนื่องจากการมีประจําเดอื นและพัฒนาการของทารกในครรภล วนตองการหลอเล้ียงจากเลอื ด ในขณะที่หัวใจควบคมุ เลือดและหลอดเลือด ตับกกั เกบ็ เลอื ด และมามกํากบั เลอื ดใหอ ยใู นหลอดเลือด การทาํ งานทีไ่ มป กติของอวัยวะทัง้ 3 น้ี จงึ มผี ลตอ ประสิทธภิ าพการทํางานของมดลูก 3. กระดกู (骨 ก)ู กระดกู ถกู ควบคมุ กํากบั โดยไต หมายถงึ หากพลังของไตสมบูรณ กระดกู จะแข็งแรง สามารถ ทําหนาท่ีคํ้าจุนรางกายได หากพลังไตออนแอ กระดูกจะหักงา ย เสือ่ มงาย และใชไดไ มท น เชน ยืนนาน ไมไหว น่ังนานเมอ่ื ยเอว ในผทู ี่พลงั ไตออ นแอ หัวเขาจะปรากฎใหเห็นอาการผดิ ปกติกอน หรือท่ีเอว หรือ ปวดสนเทา ลวนสะทอ นถึงพลงั ในไตท้งั ส้ิน 4. หลอดเลอื ด (血管 เซวฺ ีย่ กว น) หลอดเลือดทาํ หนา ทีเ่ ปน ทอใหเลอื ดไหลเวยี น โดยมีหัวใจทําหนาท่กี าํ กบั กลา วคอื หลอดเลือด จะมคี วามยืดหยนุ และมีสภาพคลอ ง กิจกรรมเหลา น้ีตองอาศยั ชขี่ องหวั ใจและหยางของหวั ใจมากาํ กับ ขณะเดียวกันหลอดเลอื ดกต็ อ ออกจากหัวใจโดยตรง ตบั กํากับการไหลเวยี นของชจ่ี ี (气机) ดังนัน้ หาก ชี่ของตบั ตดิ ขัดจะสงผลตอการไหลเวียนในหลอดเลอื ด หากมมี ากเกนิ ไป จะทําใหเลือดไหลเวยี นเรว็ ขึ้น และขยายตวั ปรแิ ตกได มา มทาํ หนา ทกี่ าํ กับเลือดใหไหลเวียนในหลอดเลือด ช่ขี องมา มจะดดู ร้ังใหเ ลอื ด อยเู ฉพาะในหลอดเลือด หากมา มพรองจะเกิดอาการเลือดออกงาย หยางของไตจะทําหนา ท่ีใหความ อบอุน แกรางกายและอวัยวะเน้อื เยอื่ ตาง ๆ หากหยางของไตพรอ งจะเกดิ ความเยน็ ขน้ึ ภายใน ทาํ ใหก าร ไหลเวยี นของเลอื ดในหลอดเลือดไมสะดวก ทาํ ใหเ กดิ เลอื ดคงั่ 5. ไขกระดูก (髓液 เสวฺ ย เยย่ี ) ไขกระดกู เกยี่ วของกับไต สารจําเปน ของไตสรา งกระดูก ไขกระดกู สรา งและเสริมบาํ รงุ สมอง ใหท ําหนา ทเ่ี ปนปกติ ถาสารจําเปนพรอง อาจเกดิ จากเปน มาแตก าํ เนดิ หรือจากภาวะทุพโภชนาการใน ภายหลัง ทําใหไ มส ามารถสรา งไขกระดกู ไปหลอเลย้ี งสมอง จะมอี าการวงิ เวยี นศีรษะ หูมเี สยี งดัง ตาลาย ปวดเอวและขา ออ นแรง และความจาํ ไมด ี ในเดก็ พบภาวะโตชา กระหมอมปดชา รางกายแคระ แกร็น สติปญ ญาไมดี และเคลอื่ นไหวชา

72 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบื้องตน บทที่ 5 สารจําเปน ชี่ เลือด และของเหลวในรา งกาย สารจําเปน (精 จงิ ) ช่ี (气) เลอื ด (血 เซฺวี่ย) และของเหลวในรา งกาย (津液 จินเยีย่ ) มี ความสําคญั ตอ การดํารงชีวิต โดยเปนสารประกอบพ้นื ฐานของรา งกาย ในคัมภีรห วงต้ีเนยจิง《黄帝内 经》ไดม กี ารอธิบายถงึ ทฤษฎแี ละหลกั การอยา งสมบูรณ ซึง่ แนวคดิ ทฤษฎดี งั กลาวมีความสัมพนั ธอ ยาง ใกลช ิดกบั แนวคิดทางปรชั ญาและทฤษฎวี า ดว ยเรอ่ื งอวยั วะภายใน (脏腑 จัง้ ฝู) สารจาํ เปน ชี่ เลือด และของเหลวในรา งกายมีความสําคญั ตอการทาํ งานของอวยั วะภายใน เสนทางเดินลมปราณ รางกาย และการเปดทวาร หากการทาํ งานของอวัยวะภายในปกติ เสนทางเดนิ ลมปราณ รางกาย และการเปดทวารจึงสามารถผลติ และมกี ารทํางานของสารจาํ เปน ดังนนั้ ในภาวะปกติ การทํางานตอ งสมั พันธก ัน หากในภาวะเกดิ โรคสารประกอบพ้ืนฐานและอวยั วะภายใน เสนทางเดินลมปราณ รา งกาย และการเปด ทวารยอ มเกิดผลกระทบกนั และกนั อยางแยกกันไมออก 1. สารจาํ เปน (精 จงิ ) สารจาํ เปน หมายถงึ สารประกอบชนิดหนงึ่ ทีเ่ ปน สิง่ จาํ เปน พ้นื ฐานของรางกายและการดาํ รงชวี ิต ในท่นี ีจ้ ะใชท ับศัพทวา “จงิ ” 1.1 การสรางสารจาํ เปน จงิ มแี หลงกาํ เนิด 2 แหลง ไดแ ก 1) สารจาํ เปน กอ นกาํ เนิด (先天之精 เซยี นเทยี นจือจงิ ) ไดร ับการถายทอดจากบิดามารดา เกดิ พรอมกบั การกําเนดิ ชีวติ ในครรภ 2) สารจําเปนหลังกําเนดิ (后天之精 โฮวเทยี นจือจงิ ) ไดร ับจากอาหาร เมอื่ รบั ประทาน อาหารรา งกายมกี ารดดู ซมึ มา มจะเปลี่ยนสารทถ่ี กู ดดู ซมึ ใหเปน จงิ แลวรวมกบั ของเหลวในรา งกาย แลว สง ไปยงั อวัยวะภายใน เสนลมปราณ รางกาย และทวารทงั้ หลาย สารจาํ เปนน้ันถือเอาสารจาํ เปน กอ นกาํ เนิดเปนพืน้ ฐาน มีการสรา งสารจําเปน หลงั กาํ เนดิ อยา ง ตอเน่อื ง ตองมีการเตมิ เสรมิ กันสารจาํ เปนในรางกายจึงสมบูรณ หากขาดอยา งใดอยางหน่งึ กจ็ ะเกิดภาวะ สารจําเปน พรอ ง

สารจาํ เปน ช่ี เลอื ด และของเหลวในรา งกาย 73 1.2 การเกบ็ กกั และการขับสารจําเปน 1) การกกั เก็บสารจําเปน จงิ นนั้ จะถกู แบง ไปเกบ็ ยงั อวยั วะภายในทง้ั หลาย แตแ หลง สาํ คญั ทีส่ ุดสําหรบั การกกั เก็บจงิ คือ ไต โดยจิงกอนกาํ เนิดนั้นเรม่ิ แรกถกู กักเกบ็ ทไ่ี ตแตมกี ารแบงบางสว นไปยงั อวยั วะภายในอ่ืน เพอื่ การ เจริญเตบิ ในระหวางอยใู นครรภมารดา สวนจิงหลงั กาํ เนดิ นนั้ เกดิ จากสารอาหารท่ีถูกกระเพาะอาหารและมามยอ ยอยา งละเอยี ด ถกู ลาํ เลยี งไปยังอวยั วะภายในตาง ๆ โดยชี่ของมามกลายเปนจิงของอวยั วะภายใน เพ่ือการทํางานของอวัยวะ ภายใน สว นจงิ ท่เี หลอื ใชน ั้นจะถกู ลาํ เลยี งไปเก็บไวท ่ีไต จิงกอ นกําเนิดจะถูกเติมเต็มดวยจงิ หลงั กาํ เนดิ อยูเสมอ 2) การขบั สารจาํ เปน การขับสารจาํ เปน มี 2 ทาง ไดแก (1) จงิ ทข่ี ับไปยังอวยั วะภายในเพอ่ื หลอเล้ยี ง ขับดัน และควบคุมการทําหนาทข่ี องอวยั วะ ภายในนัน้ ๆ (2) จงิ ท่ีคัดหล่ังเพ่อื การขยายพนั ธุใ นหญิงและชาย 1.3 หนาท่ขี องสารจําเปน 1) ควบคุมการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของรางกาย การเจริญเติบโตและพัฒนาการของรางกาย มีความสัมพันธกับปริมาณของสารจําเปนในไต ในวัยเดก็ สารจาํ เปน จะคอย ๆ เพ่ิมขึน้ รา งกายเตบิ โตมีพฒั นาการตามลําดับ เชน มฟี นนา้ํ นม ฟนนํา้ นม หลุดลว ง มฟี น แทแทนที่ เขา สวู ยั รุนสารจาํ เปน สมบูรณเตม็ ท่กี ลา มเนอื้ และกระดกู เตบิ โตแข็งแกรง เม่ือ ลว งเขา วัยกลางคนและวัยชรา สารจําเปนคอ ย ๆ ลดลง รา งกายคอ ย ๆ เส่อื มลง กลามเน้ือเรม่ิ ออ นแรง กระดูกบาง ฟนลวง ผมขาวและลวงบาง ตามวั หูตึง สารจาํ เปนมบี ทบาทควบคมุ การเจรญิ เติบโต และ พัฒนาการของรางกาย ถาสารจําเปนพรองลง จะมีผลกระทบทาํ ใหเด็กเติบโตมีพัฒนาการชากวาปกติ ผใู หญจะแกก อนวยั 2) ควบคมุ พัฒนาการทางเพศและความสามารถในการสืบพันธุ สารจาํ เปน ของไตทเ่ี ก่ียวกับพัฒนาการทางเพศและความสามารถในการสืบพันธุ หลังคลอดและ วยั เด็ก สารจาํ เปน ของไตจะคอ ย ๆ สมบรู ณจ นถึงวยั รนุ สารจาํ เปนของไตจะเปลี่ยนเปนเทยี นเกฺวย (天 癸) ซ่ึงจะทําใหพ ฒั นาการทางเพศถึงจดุ สูงสุด อวัยวะเตบิ โตพัฒนาเต็มที่ ผชู ายมกี ารสรา งอสจุ ิ ผหู ญิงมี

74 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบื้องตน ระดู มีความพรอมในการสืบพันธุ เม่ืออายุมากข้ึนผานเขาสูวัยกลางคนและวัยชรา เทียนเกฺวยและ ความสามารถในการสืบพนั ธุจะคอ ย ๆ ลดลงจนหมดไป ดังนน้ั สารจําเปนในไตโดยเฉพาะเทียนเกวฺ ยจงึ มีความสมั พนั ธอยา งใกลช ิด และมีอทิ ธิพลตอ พัฒนาการทางเพศและความสามารถในการสืบพันธุ ความ ผดิ ปกตใิ นการเกบ็ สะสมสารจําเปนในไต จงึ มีผลทาํ ใหพฒั นาการทางเพศผิดปกติ ความสามารถในการ สบื พนั ธลุ ดถอย 3) สามารถเปลยี่ นเปน เลือดและลมปราณ สารจาํ เปน สามารถเปลี่ยนเปนเลือดและลมปราณไปหลอ เลี้ยงอวัยวะและน้อื เยอ่ื ตา ง ๆ ให ทํางานเปนปกติ 4) ชว ยใหรา งกายมีภูมิตา นทานโรค สารจาํ เปนสามารถตอตานการรุกรานของโรคจากภายนอก และขจดั สาเหตขุ องโรค 2. ชี่ (气 ลมปราณ) ชี่ เปนสสารท่ีเล็กที่สุดในรา งกาย มกี ารเคล่ือนไหวขึน้ บนลงลา งตลอดเวลา ขบั ดนั และควบคุม การทาํ งานของรา งกาย เม่อื การเคล่อื นไหวของชส่ี ้ินสดุ ชวี ิตกส็ น้ิ สุดดวย 2.1 การสรางชี่ ท่ีมาของช่กี อ นกาํ เนดิ ตงั้ แตอ ยใู นครรภม ารดา รางกายสรา งช่ีโดยอาศยั จงิ กอนกาํ เนดิ กลายเปน ชี่กอนกาํ เนิด ซ่ึงเปนพ้ืนฐานของช่ี เรียก เจินช่ี (真气) หรือ เหวียนช่ี (原气) หรอื เหวียนชี่ (元气) ช่ีหลงั กาํ เนดิ หลงั คลอดรา งกายไดรับชเี่ พ่มิ เติมจากมามและกระเพาะอาหารโดยการดูดซมึ จาก สารอาหารเปลี่ยนเปนช่ี และจากปอดทีส่ ดู อากาศท่ีบรสิ ุทธ์ิเขา สรู า งกายเปลย่ี นเปนช่ี ชีใ่ นรา งกายจะแบงเปนชีอ่ นิ และชีห่ ยาง โดยในชีอ่ ินนน้ั มคี วามหนาวเยน็ จุดเดน คือทําใหส งบ ลด หรอื ทําใหเ จือจาง สว นช่หี ยางน้ันมีความอนุ รอ น จุดเดน คอื กระตนุ ผลักดัน ทง้ั ช่ีอินและหยางใน รางกายจะทาํ งานสมดุล สนบั สนนุ หรือควบคมุ การทํางานซง่ึ กนั และกนั เพอื่ การดํารงชีวิตอยางสมดุล 2.2 หนา ท่ขี องชี่ 1) กระตุนและควบคุมการทํางานในรางกาย ชี่หยางกระตุน ขับดนั และสง เสริม ดังน้ี (1) ใหรางกายเจรญิ เตบิ โตและระบบอวัยวะสืบพนั ธุสมบูรณ (2) กระตุน และขบั ดันการทาํ งานของระบบอวยั วะภายในและลมปราณ (3) กระตุน และขบั ดนั การสรา งและการลาํ เลียงจงิ เลอื ด และของเหลวในรางกาย

สารจําเปน ช่ี เลือด และของเหลวในรา งกาย 75 ช่อี ินชะลอ และควบคุมการทํางาน ดังนี้ (1) ควบคุมและลดการเจริญเติมโตของระบบอวยั วะสบื พนั ธไุ มใ หม กี ารเจริญเติบโตหรอื การทํางานมากเกนิ ไป (2) ควบคุมและชวยลดการทาํ งานของระบบอวยั วะภายในไมใ หท ํางานมากเกินไป (3) ควบคุมและลดการสรางและการลําเลียงของจงิ เลอื ด และของเหลวในรางกายไมให มากเกินไป การทํางานทุก ๆ ดานของรา งกายตองอาศัยช่ี ทัง้ ชหี่ ยางและช่ีอนิ ควรอยใู นระดับทพ่ี อเหมาะ สมดลุ กนั เพื่อไมใ หม กี ารทํางานทมี่ ากหรอื นอยเกนิ ไป 2) ควบคมุ อณุ หภูมภิ ายในรา งกาย ชห่ี ยางใหความรอนและความอบอนุ แกรา งกาย อวัยวะภายใน เสนทางเดินลมปราณ และ สลายความเยน็ ชอี่ ินใหความเย็นแกรา งกาย อวัยวะภายใน เสนทางเดินลมปราณ และลดความรอ นในรางกาย ความรอนและความเยน็ ในรา งกายตองอาศยั ช่ี ชี่หยางและอนิ อยใู นระดบั สมดุล ตางควบคุม กันและกัน ทําใหส ภาพรา งกายอยใู นระดบั ความรอนและความเยน็ ท่ีพอเหมาะ ใหชวี ิตดาํ เนินไปอยา งปกติสขุ 3) ปกปองรกั ษารางกาย ช่ปี กปองรกั ษารางกายโดยปองกันการรกุ รานจากสาเหตุและโรคจากภายนอกรางกายและตอสู ขบั ไลส าเหตขุ องโรค ถาช่ใี นรางกายลดลงจะทาํ ใหภ มู ติ า นทานโรคลดลง ทาํ ใหป ว ยงาย 4) เหนย่ี วรัง้ และควบคุมการทาํ งานของรางกาย ชี่เหนย่ี วรง้ั และควบคุมใหเลือดไหลเวียนอยใู นหลอดเลือด ถา ชพ่ี รองจะมีอาการเลือดออกงาย ช่เี หนย่ี วรงั้ และควบคุมสารคดั หล่ังในรางกาย เชน เหง่อื ปสสาวะ น้ําลาย น้ําในกระเพาะอาหาร และลาํ ไส ในกรณีชี่พรองอาจเกิดปญหาเหง่อื ออกมากกวาปกติ ปสสาวะบอยหรือกล้ันปส สาวะไมอ ยู อาเจยี นเปนนํ้าใส ทองรวงหรือกลัน้ อจุ จาระไมไ ด เปน ตน ช่คี วบคุมการหล่งั อสจุ ิ หากช่ีพรองอาจเกดิ ปญ หาการหลัง่ เรว็ ฝนเปย ก หล่ังอสุจิโดยไมร ูต วั เปนตน ช่เี หนีย่ วร้งั และควบคุมตาํ่ แหนง อวัยวะภายในไมใ หห ยอ น ถา ชพ่ี รอ งอาจเกดิ ปญ หารูทวารหยอน ไตหยอ น กระเพาะอาหารหยอน เปน ตน

76 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน 5) ประสานการทาํ งานของอวยั วะตาง ๆ ในรา งกาย อวัยวะภายในรา งกายแตละอวยั วะมหี นาทีร่ บั ผดิ ชอบอยางชัดเจน การจะทํางานประสานกนั ระหวางอวัยวะ และการรับรขู าวสารระหวางอวัยวะตองอาศัยชี่ท่ีมีการเคล่ือนไหวข้ึนลง และเขา ออก ตลอดเวลาเปนตวั นาํ สาร 6) ควมคมุ การสรางและการเปลย่ี นแปลงของวตั ถพุ ื้นฐานในรา งกาย ช่คี วบคมุ การยอ ยอาหาร ดูดซมึ เพอื่ นําสารอาหารไปสรา งเปนวตั ถพุ ้นื ฐานของรา งกาย ไดแก จงิ ชี่ เลอื ด และของเหลวในรา งกาย เพื่อหลอเลย้ี งสว นตา ง ๆ ในรางกาย หากเกดิ ความผิดปกติจะทาํ ให กระบวนการสรา งและการเปลี่ยนแปลงของวัตถพุ ืน้ ฐานในรางกายหยดุ ชะงัก 2.3 การเคล่ือนไหวของชี่ การเคล่ือนไหลของชี่ เรยี ก ชจ่ี ี (气机) ชีใ่ นรางกายมกี ารไหลเวยี นตลอดเวลาไมหยดุ น่ิง เพื่อใหอวยั วะตา ง ๆ ทาํ งานเปนปกติ การ ไหลเวยี นของชม่ี ี 4 ทิศทาง ไดแก จากลางข้ึนบน จากบนลงลา ง จากในออกนอก และจากนอกเขา ใน ความผิดปกตขิ องการเคลือ่ นไหวของชี่ มีดังนี้ 1) ช่ีไหลเวยี นผดิ ปกติ เรียก ชจ่ี สี ือเถียว (气机失调) 2) ชต่ี ิดขัดเฉพาะที่ เรยี ก ช่ีจอื้ (气滞) 3) ชี่สวนทางลอยขึ้น หรอื ชย่ี อ นกลับ เรียก ชนี่ ี่ (气逆) 4) ชจ่ี มลงขา งลา ง เรียก ชี่เซ่ยี น (气陷) 5) ชเี่ คล่ือนออกนอกเกนิ ไป เรยี ก ช่ีทวั (气脱) 6) ช่เี คลอ่ื นเขา นมากเกินไป เรยี ก ชปี่  (气闭) 2.4 ชนิดของช่ี 1) เหวยี นชี่ (元气, 原气) หรอื เจนิ ช่ี (真气) เหวียนชี่เปนช่ีพ้นื ฐานและสาํ คัญท่ีสุดของรางกาย เปนพลังแรกเริ่มของรา งกายและชวี ติ การสรา ง เหวียนช่ีสรางจากจิงกอนกาํ เนิดเปนสําคัญ แตหลังคลอดตองอาศัยจิงหลังกาํ เนิดที่เกดิ จากการยอ ยและดดู ซึมของมา มและกระเพาะอาหารเติมเต็มเหวยี นช่ี ดงั นั้นความสมบูรณข องเหวยี นช่ี นอกจากอาศัยจิงกอ นกาํ เนิดแลวยงั ตองอาศยั ความสมบรู ณของมา ม กระเพาะอาหาร และโภชนาการดว ย

สารจาํ เปน ช่ี เลอื ด และของเหลวในรางกาย 77 การไหลเวยี น การไหลเวยี นของเหวยี นช่เี มอื่ สรา งจากจงิ กอ นกาํ เนิดเริ่มที่จดุ มิง่ เหมนิ (命门) ผานซานเจียว ไปยังทุกสว นของรางกาย การทาํ งาน (1) กระตนุ การเจริญเติบโตของรางกาย เหวยี นชีก่ ระตนุ ใหร า งกายมกี ารเจริญเติบโตตั้งแต เกิด เมื่อเขาสวู ยั หนุม สาวกก็ ระตุนระบบการสบื พันธใุ หส มบรู ณ เหวียนชจ่ี ะลดลงเม่อื ถึงวัยสูงอายเุ ปน ผลใหร างกายเรม่ิ เกิดการเสื่อมและออ นแอลง (2) ควบคุมการทาํ งานของระบบในรา งกายอยูในสมดลุ เชน ควบคุมรางกายไมใหร อนหรือ เย็นเกินไป 2) จงช่ี (宗气) การสรา ง จงช่ีเกิดจาก 2 แหลง ไดแก (1) สรางจากมา มและกระเพาะอาหาร จากการยอยและดูดซมึ สารอาหาร (2) ไดจ ากปอดสดู อากาศที่บริสทุ ธิ์ จากทั้งสองแหลงรวมเปนจงช่ี การไหลเวยี นของจงชี่ จงชี่เร่มิ จากจดุ ถันจง (膻 中) ตรงกลางอก สงไปปอดแลวขน้ึ ไปลาํ คอกระตุนการหายใจ อกี สว นไปยังหวั ใจและซานเจยี วเพือ่ สงไปทว่ั รา งกาย โดยไปทางหวั ใจจะกระตนุ การไหลเวยี นของเลอื ด ทางซานเจยี วจะลงลางไปยงั ตันเถียน (丹田) คอื จุดชไี่ ห (气海:CV6) เสริมเหวียนชีแ่ ละจากชไ่ี หสง ลง ขาทางเสน เทา เสาหยางหมิง การทาํ งานของจงชี่ (1) กระตนุ ระบบการหายใจ รวมท้งั การออกเสียง ถาจงช่ีสมบูรณทําใหก ารหายใจเตม็ อิ่ม ออกเสยี งมพี ลังกอ งกงั วาน หากจงชอ่ี อ นแอ ทาํ ใหก ารหายใจแผว เบา ออกเสียงออกเบาไรพ ลงั (2) กระตุนการไหลเวยี นของเลอื ดในรา งกาย ในโบราณกาลมีการประเมินความสมบรู ณข อง จงช่ีโดยดจู ากจงั หวะการเตนทบ่ี รเิ วนซวฺ ีหล่ี (虚里) ซง่ึ อยใู ตห ัวนมซา ย (3) เสริมเหวียนชี่ เนื่องจากเหวียนช่ีเกิดจากจิงกอนกําเนิดเปนสําคัญซ่ึงมีจาํ กัด ดังนั้นจึง จาํ เปนตองไดรับการเสรมิ จากจงช่ี

78 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน 3) อ๋ิงชี่ (营气) อิ๋งช่ีเปนช่ีที่มีสารอาหารอุดมสมบูรณ เปนสวนประกอบสําคัญของเลือด มีความสัมพนั ธ อยา งลกึ ซง้ึ จนไมส ามารถแยกจากกนั ได มักเรียกวา อ๋งิ เซฺวย่ี (营血) อ๋ิงชเ่ี ปนอนิ ขณะท่ีเวยช ่เี ปนหยาง การสรา งและการไหลเวียน อง๋ิ ช่สี รางจากจิงหลังกาํ เนิดซึ่งจากการยอ ยและดูดซมึ ของมามและกระเพาะอาหาร เม่ือไดอิง๋ ชี่แลว สง ไปยงั เสน เลอื ดหลอเล้ียงทกุ สว นของรา งกาย การทาํ งานของอ๋ิงชี่ (1) องิ๋ ชอ่ี ยใู นเสน เลือดสามารถเปล่ียนแปลงไปเปน เลอื ดได (2) อ๋ิงช่ไี หลเวยี นไปพรอ มเลือด หลอเลยี้ งทกุ สว นของรา งกาย 4) เวย ช ่ี (卫气) การสรา งและการไหลเวยี น เวยช สี่ รา งจากจงิ หลงั กาํ เนดิ ซง่ึ จากการยอ ยและดูดซมึ ของมามและกระเพาะอาหาร ทีอ่ อกมา อยนู อกเสน ลมปราณจะกลายเปน เวย ช่ี การทาํ งานของเวย ช ่ี (1) เวย ช ี่ปองกนั การรกุ รานของสาเหตุภายนอกที่มากระทบรา งกาย ชว ยขับไลส าเหตขุ องโรค ถา เวยช ี่พรอ งจะทาํ ใหเจบ็ ปวยจากสาเหตภุ ายนอกไดง า ย (2) เวยช ่ีสรางความอบอนุ ใหกับรา งกาย ไมใหถ ูกกระทบจากความหนาวเยน็ (3) เวยช่ชี ว ยควบคุมการเปดปดรูเหงอ่ื เพอื่ รกั ษาความสมดลุ ของนาํ้ ในรา งกาย และรกั ษา อุณหภมู ิของรางกายใหคงทีต่ อการเปลีย่ นแปลงของสง่ิ แวดลอ ม 3. เลอื ด (血 เซวฺ ่ยี ) เลือด เปน ของเหลวสแี ดงที่อยูในหลอดเลือด ทาํ หนาทหี่ ลอ เล้ียงอวยั วะและเน้ือเยอ่ื ตา ง ๆ ทั่วรางกายใหท าํ งานเปน ปกติ 3.1 การสรางเลอื ด เลอื ดสรา งมาจาก 1) สารจาํ เปน หลงั กําเนดิ (后天之精 โฮวเทียนจอื จงิ ) มามและกระเพาะอาหารจะยอยและดูดซึมอาหาร ซ่ึงสวนหน่ึงจะเปล่ียนเปนอ๋ิงชี่ (营气)

สารจําเปน ชี่ เลอื ด และของเหลวในรางกาย 79 และของเหลวในรางกาย ( 津 液 ) และสงไปยังเสนเลือด ซึ่งทั้งอ๋ิงชี่และของเหลวในรางกายถือเปน สวนประกอบทสี่ าํ คัญของเลอื ด 2) สารจาํ เปนจากไต เลือดจึงเกิดจากอ๋งิ ชี่ ของเหลวในรางกาย และสารจําเปน จากไต นอกจากน้นั อวยั วะภายใน อน่ื ลวนมีบทบาทตอการสรา งเลอื ดทั้งส้ิน (1) มา มและกระเพาะอาหาร ยอ ยและดูดซึมสารอาหารเพือ่ สรา งอง๋ิ ชแ่ี ละของเหลวในรางกาย ซึ่งเปนสวนประกอบพ้ืนฐานของเลอื ด (2) หัวใจและปอด สารจาํ เปนหลงั กําเนดิ สรา งอง๋ิ ช่ีและของเหลวในรางกาย จากนั้นสง ขึ้น ไปปอดและหัวใจ รวมกบั อากาศบรสิ ุทธิ์ที่สูดจากปอด ชจ่ี ากหัวใจจะเปลย่ี นเปนเลือดสีแดง (3) ไตสะสมสารจําเปน สารจาํ เปนจากไตเปนสวนประกอบสําคญั ของเลอื ด 3.2 การไหลเวียนของเลอื ด เสนเลือดเปนอวัยวะสําคัญของการไหลเวียนของเลือด ซ่ึงตอออกจากหัวใจแลวแตกแขนง กระจายไปทัว่ รา งกาย 1) หวั ใจ เปน จา วแหงเลอื ด จะสบู ฉีดเลือดมาที่ปอด 2) ปอด เปน เจา แหงช่ี จะแผก ระจายชว ยพาเลอื ดใหไหลเวยี นไปทั่วรา งกาย 3) ตับ สะสมรักษาสมดุลของเลอื ด และชวยควบคุมใหเ ลือดไหลเวียนอยา งราบรื่น 4) ชีข่ องมา ม ควบคมุ ใหเ ลือดไหลเวยี นอยูภายในเสน เลอื ด ถาแรงขบั ดันจากหัวใจ ปอด และตับไมเ พยี งพอ จะทําใหการไหลเวียนของเลอื ดไมสะดวก เกิดเลือดคงั่ ได ถามา มออนแออาจทําใหม อี าการเลอื ดออกงาย 3.3 การทาํ งานของเลอื ด 1) เลือดอดุ มไปดวยสารอาหารมากมาย การลําเลยี งของเลอื ดไปดานใน ไดแ ก อวัยวะภายใน ดา นนอก ไดแ ก ผิวหนัง กลา มเนื้อ และกระดกู เสนเอ็น จะชว ยหลอเล้ียงและใหความชมุ ชน้ื ทวั่ รางกาย อยางไมห ยดุ ย้งั ทําใหก ารทาํ งานเปน ไปอยา งปกติ 2) เลอื ดเก่ยี วกบั จติ ใจ เลอื ดเปนส่ิงท่จี ําเปนตอการทาํ งานของจิตใจ ถาเลือดเพยี งพอจะทําให จติ ใจแจม ใส ถา เลือดท่หี ัวใจและตับพรอง จะทําใหม ีอาการใจส่นั นอนไมห ลบั ฝน ความจาํ เสอ่ื ม หงดุ หงดิ กระวนกระวาย หมดสติ

80 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบอ้ื งตน 4. ของเหลวในรางกาย (津液 จนิ เยี่ย) ของเหลวในรา งกาย คือ ของเหลวท้งั หมดทม่ี อี ยใู นรางกายตามธรรมชาติ มคี วามสําคญั ตอ การทาํ งานของอวัยวะตา ง ๆ ของเหลวในรา งกายแบง เปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ 1) จนิ (津) เปนของเหลวใสไหลไปมา เปนหยาง ทาํ หนาทแ่ี ทรกซึมหลอ เลย้ี งผวิ หนงั กลา มเน้ือ ชองเปด ตาง ๆ 2) เยี่ย (液) เปนของเหลวเหนียวขน เปนอิน ทําหนาที่หลอลื่นขอตอ ไขกระดูก สมอง อวยั วะภายใน จนิ และเยย่ี สามารถเปลี่ยนแปลงเปน ซ่งึ กันและกนั ได ถาจนิ ลดลงจะทาํ ใหเ ย่ียลดลงดว ย ถา เยยี่ ลดลงกจ็ ะทาํ ใหจินลดลงได สมดุลของของเหลวในรางกาย เกิดจากการทํางานรว มกันของมา ม ปอด และ ไต ความผดิ ปกตขิ องอวยั วะเหลา นจ้ี ะมีผลกระทบตอ การสราง การไหลเวยี น และการขบั ถา ยของเหลว อาจทําใหข องเหลวสรา งไมเ พียงพอ การไหลเวยี นติดขัด มนี ํ้าคงั่ 4.1 การสรา งของเหลวในรา งกาย ของเหลวในรางกายสรา งจากอาหารและนํา้ ทีถ่ กู ดดู ซมึ จากกระเพาะอาหาร ลาํ ไสเลก็ ลาํ ไสใ หญ การทํางานของมา ม กระเพาะอาหาร และลําไส จึงมีผลตอการสรา งของเหลวในรา งกาย 4.2 หนา ท่ีของของเหลวในรางกาย 1) ใหค วามชมุ ช้นื แกอ วยั วะและเน้อื เยื่อตา ง ๆ ในรา งกาย 2) เปน สว นประกอบของเลอื ด ชว ยใหเ ลอื ดไหลเวียนสะดวก ทําใหเลือดไมขน และมปี ริมาณ คงท่ี ชวยปรบั สมดลุ ของรา งกายใหอณุ หภมู ิคงที่ ชวยขบั ของเสียออกนอกรางกายทางเหงือ่ และปสสาวะ 4.3 การไหลเวียนของของเหลวในรา งกาย การไหลเวียนและขับถายของเหลวในรางกาย ข้ึนกบั การทาํ งานของมาม ปอด และไต โดย มามจะควบคุมการดูดซึมนาํ้ จากทางเดนิ อาหารสง ขึ้นไปที่ปอด ช่ีของปอดแผก ระจายชว ยพานํา้ ไปหลอเลี้ยง ใหความชุม ช้ืนแกส ว นตาง ๆ ของรา งกาย ขบั นา้ํ สว นเกนิ ออกทางลมหายใจและเหงื่อ ชข่ี องปอดยงั ไหลเวยี น ลงสว นลา ง พานา้ํ สวนเกนิ ไหลเวยี นไปทไี่ ต ไตชวยควบคมุ ปรมิ าณนาํ้ ในรางกาย โดยน้ําท่ใี ชแ ลว ถกู สง มา ทไี่ ต ไตแยกนาํ้ ทย่ี งั มีประโยชนส ง กลบั ไปท่ปี อด เพอ่ื ไหลเวยี นหลอเลี้ยงรา งกายอีกครัง้ หน่งึ สวนน้าํ เสีย ทีไ่ มมีประโยชนถกู สง มาเก็บทกี่ ระเพาะปสสาวะ และขบั ออกมาเปนปส สาวะ ความสมั พนั ธร ะหวา งสารจาํ เปน ชี่ เลือด และของเหลวในรา งกาย 1. ความสัมพนั ธระหวา งชีก่ ับเลอื ด 1) ผลของช่ีตอเลือด (1) สรางเลอื ด

สารจําเปน ช่ี เลือด และของเหลวในรา งกาย 81 (2) ขับดนั ใหเ ลอื ดไหลเวยี น (3) เหนีย่ วร้ังไมใ หเลอื ดไหลออกนอกหลอดเลือด 2) ผลของเลอื ดตอช่ี (1) เปน ทางลาํ เลียงใหช ่ไี ปทต่ี า ง ๆ ได (2) หลอเลย้ี งอวยั วะภายใน ถาไมมีเลอื ดไปหลอ เล้ียง อวยั วะภายในกจ็ ะทํางานไมได ทําให ไมเกดิ ชี่ 2. ความสมั พนั ธระหวา งชี่กบั ของเหลวในรา งกาย 1) ช่สี รางของเหลวในรา งกาย 2) ชขี่ บั ดันของเหลวในรา งกาย ช่ีของมามจะแปรสภาพอาหาร และลําเลียงน้ําไปปอด ชี่ของ ไตแปรสภาพนํ้าเปนไอสงไปทป่ี อด และช่ีของปอดกระจายนํ้าไปหลอเลี้ยงอวัยวะตาง ๆ 3) ชี่เหนี่ยวร้ังของเหลวในรางกาย 4) ของเหลวในรา งกายเปน ทางลําเลยี งชี่ 3. ความสมั พันธระหวางเลอื ดกับของเหลวในรา งกาย 1) มแี หลง กาํ เนดิ จากมามเหมือนกนั 2) ของเหลวในรางกายเปนสว นหน่ึงของเลอื ด เพื่อไปหลอเล้ยี งอวัยวะและเนอ้ื เยอ่ื ตา ง ๆ สามารถซึมกลบั มาอยูในเสน เลือด การสญู เสยี เลอื ดและของเหลวในรา งกายจะมผี ลกระทบซึง่ กันและกนั ท้งั 3 อยางเกิดจากแหลงเดยี วกนั ความสัมพนั ธระหวา ง ชี่ ความสัมพันธระหวางช่ี ชี่กับเลือด กับของเหลวในรางกาย เลือด ของเหลว ในรา งกาย ความสัมพนั ธร ะหวางเลอื ดกบั ของเหลวในรางกาย รปู ที่ 5-1 แสดงความสัมพันธร ะหวา งสารจําเปน ชี่ เลือด และของเหลวในรางกาย

82 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอื้ งตน บทที่ 6 ทฤษฎีระบบเสน ลมปราณ 1. ความรทู ่วั ไปเก่ียวกบั ระบบเสน ลมปราณ ระบบเสน ลมปราณ (经络系统 จงิ ลวั่ ซี่ถง) เปน ทฤษฎพี ้นื ฐานท่สี ําคัญของการฝง เข็มและรม ยา และการแพทยแ ผนจนี ทุกสาขา เสน ลมปราณเปนเสน ทางไหลเวียนของเลอื ดและช่ี โดยจะแตกแขนง เช่ือมโยงกันเปนรางแหไปหลอเลี้ยงทุกสวนของรางกาย แบงเปนเสนลมปราณหลัก (经 จิง) และเสน ลมปราณยอย (络 ล่ัว) เสนลมปราณหลกั เปนเสน ลมปราณใหญ มเี สน ทางตามแนวยาวของลําตวั และแขนขา มกั อยลู กึ ลงไปใตผวิ หนงั และในชั้นกลามเนื้อ ทําหนาทีเ่ ช่ือมสัมพนั ธรางกายสว นบนกับสว นลางและอวัยวะ ภายในกับระบบโครงสรางของรา งกาย เสน ลมปราณยอย เปน เสนลมปราณท่ีแตกแขนงจากเสนลมปราณหลกั สว นมากแยกออก ตามแนวขวางไปยงั ผวิ หนังและสว นตาง ๆ ของรางกาย โดยแตกเปนแขนงยอย ๆ เช่อื มโยงกันเปน รางแหคลายระบบเสน เลอื ดฝอย 2. องคประกอบของระบบเสน ลมปราณ เสน ลมปราณ จําแนกออกเปน 6 ประเภท ไดแ ก 2.1 เสน ลมปราณหลกั 12 เสน (十二经脉 สอื เออรจงิ มา ย) 2.2 เสนลมปราณสาขา 12 เสน (十二经别 สอื เออรจ งิ เปย) 2.3 เสนลมปราณลวั่ 15 เสน (十五络脉 สืออลู วั่ มา ย) 2.4 เสน ลมปราณเอ็น 12 เสน (十二经筋 สอื เออรจงิ จิน) 2.5 แนวเขตผิวหนัง 12 แนว (十二皮部 สอื เออ รผปี )ู 2.6 เสนลมปราณพเิ ศษ 8 เสน (奇经八脉 ฉจี งิ ปามาย) 2.1 เสนลมปราณหลัก 12 เสน (十二经脉 สอื เออ รจ งิ มา ย) เสนลมปราณหลัก 12 เสน เปนเสน ลมปราณปกตทิ ที่ ําหนา ท่ีเช่ือมโยงอวัยวะภายในกับระบบ โครงสรา งรา งกายและแขนขา แบง เปน เสน ลมปราณอนิ 6 เสน สงั กัดในอวยั วะตัน (脏 จัง้ ) และเสน ลมปราณหยาง 6 เสนสังกัดในอวยั วะกลวง (腑 ฝ)ู

ทฤษฎีระบบเสนลมปราณ 83 แขนและขาแตล ะขา งมเี สนลมปราณหลัก 6 เสน แบง เปนเสนลมปราณหยาง 3 เสน และเสน ลมปราณอิน 3 เสน โดยเสน ลมปราณอินและเสน ลมปราณหยางของแขนขาแตละขา งจะมรี ะดับความเปน อินและหยางตา งกนั เสน ลมปราณอนิ แบงเปน 3 ระดับ ไดแ ก ไทอิน (太阴) เสาอิน (少阴) จเฺ หวยี อิน (厥阴) เสนลมปราณหยางแบง เปน 3 ระดับ ไดแก หยางหมิง (阳明) ไทหยาง (太阳) เสา หยาง (少阳) ช่อื ของเสนลมปราณแตละเสน จะประกอบดวยคุณสมบัติ 3 อยาง คือ 1) เปน เสน ลมปราณมือหรือเทา 2) ระดับความเปนอินหรอื หยาง 3) อวยั วะตน สงั กดั ตารางที่ 6-1 แสดงช่ือของเสนลมปราณ อวยั วะตน สงั กัดและอวยั วะคสู มั พนั ธ เสน ลมปราณ ช่ือเสนลมปราณ อวัยวะตนสงั กดั อวยั วะคูสมั พันธ เสน มือไทอินปอด ปอด ลําไสใหญ เสน อนิ มอื 3 เสน เสน มอื เสา อนิ หัวใจ หัวใจ ลําไสเ ล็ก เสน มอื จฺเหวียอนิ เย่ือหุมหวั ใจ เยื่อหมุ หัวใจ ซานเจยี ว เสนเทา ไทอนิ มา ม มา ม กระเพาะอาหาร เสน อนิ เทา 3 เสน เสนเทาเสา อินไต ไต กระเพาะปสสาวะ เสน เทา จฺเหวยี อินตบั ตบั ถุงนาํ้ ดี เสนมอื หยางหมิงลําไสใ หญ ลําไสใหญ ปอด เสน หยางมือ 3 เสน เสน มอื ไทหยางลาํ ไสเ ล็ก ลําไสเล็ก หวั ใจ เสน มือเสาหยางซานเจยี ว ซานเจียว เยือ่ หมุ หวั ใจ เสน เทา หยางหมงิ กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหาร มาม เสนหยางเทา 3 เสน เสนเทา ไทห ยางกระเพาะปสสาวะ กระเพาะปส สาวะ ไต เสน เทาเสาหยางถุงน้ําดี ถุงนํ้าดี ตับ วิถีไหลเวยี นของเสนลมปราณหลกั 12 เสน 1) เสน ลมปราณมอื ไทอินปอด เสน ลมปราณมือเสา อินหวั ใจ และเสนลมปราณมือจเฺ หวียอิน เยอ่ื หุมหัวใจ ไหลเวยี นออกจากทรวงอก ผานไปตามแขนดา นใน สปู ลายมอื และสงตอ ใหก ับเสนลมปราณ มอื หยางท่เี ปนคูสัมพนั ธ บรเิ วณปลายมอื

84 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน 2) เสน ลมปราณมอื หยางหมงิ ลําไสใ หญ เสนลมปราณมือไทห ยางลาํ ไสเ ลก็ และเสน ลมปราณ มอื เสา หยางซานเจียว ไหลเวยี นจากปลายมอื ขน้ึ ไปตามแขนดานนอก ผานหวั ไหลไ ปยงั ศรี ษะ และสง ตอ ใหก บั เสนลมปราณเทา หยางที่มีระดับหยางเสมอกนั เชน เสนมอื หยางหมิง สงตอ ให เสนเทาหยางหมงิ แผนภูมทิ ่ี 6-1 โครงสรางระบบเสน ลมปราณ - เสน ปกติ 12 เสน -ไทอ ินปอด -เสนมอื อิน 3 เสน -จฺเหวยี อินเยอ่ื หมุ หวั ใจ เสน ยอย -เสาอินหวั ใจ 15 เสน -หยางหมงิ ลําไสใ หญ -เสนมอื หยาง 3 เสน -เสา หยางซานเจยี ว -ไทหยางลาํ ไสเ ล็ก -หยางหมงิ กระเพาะอาหาร -เสนเทาหยาง 3 เสน -เสาหยางถงุ นาํ้ ดี -ไทหยางกระเพาะปสสาวะ -ไทอ นิ มาม -เสน เทา อนิ 3 เสน -จเฺ หวยี อนิ ตับ ระบบเสน -เสา อินไต ลมปราณ -เสน ยอยใหญจากเสน มาม 1 เสน -เสน ตู -เสน ยอยจากเสน ตู 1 เสน -เสนยอ ยจากเสน เญิ่น 1 เสน -เสน เญ่นิ -เสน ชง - เสน พิเศษ 8 เสน -เสน ไต -เสน อนิ เชียว -เสนหยางเชยี ว -เสน อนิ เหวย -เสนหยางเหวย - เสนสาขา 12 เสน - เสนลมปราณเอ็น 12 เสน - แนวเขตผวิ หนัง 12 แนว

ทฤษฎีระบบเสนลมปราณ 85 แผนภมู ิท่ี 6-2 วงจรวถิ ีไหลเวยี นของเสน ลมปราณหลกั มือ เสนมือไทอินปอด เสน มือหยางหมิงลาํ ไสใหญ เทา ศรี ษะ วงจรไทอนิ -หยางหมิง-ดา นหนา เสนเทาไทอินมาม เสน เทาหยางหมงิ กระเพาะอาหาร ลาํ ตัว มอื เสนมอื เสาอนิ หัวใจ เสนมือไทห ยางลําไสเลก็ เทา ศรี ษะ วงจรเสาอนิ -ไทหยาง-ดา นหลัง เสน เทาเสาอนิ ไต เสน เทาไทหยางกระเพาะปส สาวะ ลาํ ตัว มอื เสนมือจฺเหวยี อิน เสน มอื เสาหยางซานเจียว เยื่อหุมหวั ใจ เทา ศีรษะ วงจรจฺเหวยี อนิ -เสาหยาง-ดา นขาง เสน เทาจเฺ หวียอนิ ตับ เสน เทาเสาหยางถุงนํา้ ดี 3) เสน ลมปราณเทา หยางหมงิ กระเพาะอาหาร เสนลมปราณเทา ไทหยางกระเพาะปสสาวะ และเสน เทา ลมปราณเสา หยางถุงนา้ํ ดี ไหลเวียนจากศรี ษะ ผา นลาํ ตวั ลงไปตามขาดา นนอก สูปลายเทา และสง ตอใหเ สน ลมปราณเทา อินทเี่ ปน คูสัมพันธ บรเิ วณปลายเทา 4) เสน ลมปราณเทา ไทอ นิ มา ม เสน ลมปราณเทา เสาอินไต และเสน ลมปราณเทาจเฺ หวียอิน ตับ ไหลเวยี นจากปลายเทา ขน้ึ ไปตามขาดานใน เขา สลู ําตวั ไปยงั อวยั วะตันทเี่ ปนตนสงั กดั และสงตอ การไหลเวียนใหเ สนลมปราณมืออินในระดบั ถัดไป เชน เสน เทา ไทอิน สง ตอ ให เสนมือเสา อิน โดยสรปุ 1) เสน มืออนิ ออกจากทรวงอก ผา นแขนดานใน สงตอใหเ สน มอื หยางคสู ัมพนั ธ ท่ี ปลายมือ 2) เสนมอื หยาง จากปลายมือ กลับข้ึนไปตามแขนดานนอก สง ตอใหเสนเทา หยางระดบั เดยี วกนั

86 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบ้อื งตน ท่ศี ีรษะ 3) เสน เทาหยาง จากศรี ษะ ผานลําตัว ลงไปตามขาดา นนอก สงตอใหเ สนเทาอินคสู มั พนั ธ ที่ ปลายเทา 4) เสน เทาอิน จากปลายเทา กลบั ไปตามขาดานใน สง ตอใหเสนมืออินระดับถัดไป ในลําตัว 2.2 เสนลมปราณสาขา 12 เสน (十二经别 สอื เออรจงิ เปย ) เสนลมปราณสาขา เปน เสน ลมปราณทแ่ี ยกจากเสน ลมปราณหลกั ทีบ่ ริเวณแขนขา แลว กระจาย เขาสสู ว นลึกของลาํ ตวั ไปยังอวยั วะภายในตนสงั กดั และเช่อื มโยงกับเสน ลมปราณสาขาของอวยั วะคูสมั พันธ แลวออกสภู ายนอกบรเิ วณลําคอ ทา ยทอย หรือใบหนา เขาบรรจบรวมกบั เสนลมปราณหลักอกี ครั้งหนง่ึ เนือ่ งจากเสน ลมปราณสาขาแผก ระจายอยูสว นลกึ ของรา งกายจงึ ไมม จี ุดฝงเขม็ ในความเปนจรงิ เสนลมปราณ สาขาคอื สว นหนง่ึ ของเสน ลมปราณหลกั ทท่ี ําหนาท่ีไหลเวียนหลอ เล้ียงอวัยวะภายใน เชื่อมสมั พนั ธอ วยั วะ บน-ลาง นอก-ใน ทําใหโ ครงขายของระบบเสน ลมปราณแผก วา งขวางครอบคลุมยิ่งขนึ้ วถิ ีไหลเวียนของเสน ลมปราณสาขาแตล ะเสน จะไปบรรจบรวมกบั เสน สาขาของเสนลมปราณ หลกั ทเ่ี ปน คสู มั พนั ธกนั จึงแบง วถิ ีไหลเวียนของเสนลมปราณสาขา ออกเปน 6 คู ไดแ ก 1) เสน ลมปราณสาขาคทู ี่ 1: สาขาของเสน เทา ไทห ยางกระเพาะปส สาวะ และเสน เทา เสา อนิ ไต (1) เสน สาขาของเสน เทาไทห ยางกระเพาะปส สาวะ แยกจากเสนลมปราณกระเพาะปส สาวะ ท่ีขอพบั เขา ผา นไปถงึ ใตตอ กระดกู กน กบ วนรอบทวารหนกั เชอื่ มตอ กบั กระเพาะปส สาวะซงึ่ เปนอวัยวะ ตน สงั กดั และแยกไปที่ไตซง่ึ เปนอวยั วะคูส ัมพนั ธ จากนัน้ ผานขึ้นไปตามกระดูกสนั หลงั กระจายเสน ไป ยังหัวใจ แลว ออกสูภ ายนอกบรเิ วณคอไปรวมกบั เสนเทาไทห ยางกระเพาะปส สาวะ (2) เสนสาขาของเสน เทา เสาอนิ ไต แยกจากเสนลมปราณไตทใี่ ตขอพบั เขา ผา นข้นึ ไปตัด กับเสน สาขาของกระเพาะปส สาวะที่ตน ขา แลว ผา นขึน้ ไปยงั ไตซงึ่ เปน อวยั วะตนสงั กดั แลวขน้ึ ไปตัดผาน กบั เสนลมปราณไตบ รเิ วณกระดูกสนั หลงั อกที่ 7 แลวขึน้ ไปยงั โคนลิ้น ออกสภู ายนอกบริเวณตนคอไป รวมกบั เสนลมปราณเทาไทหยางกระเพาะปส สาวะ 2) เสน ลมปราณสาขาคูท่ี 2: สาขาของเสน เทา หยางหมิงกระเพาะอาหารและเสน เทา ไทอ นิ มา ม (1) เสน สาขาของเสนเทา หยางหมิงกระเพาะอาหาร แยกจากเสน ลมปราณกระเพาะอาหาร ท่ีตน ขาผา นเขา ชอ งทอ ง ไปยงั กระเพาะอาหารซึง่ เปนอวัยวะตน สงั กัดและกระจายเสนไปท่ีมา มซง่ึ เปน อวัยวะ คสู มั พันธ แลว ขนึ้ ไปยังหวั ใจ จากนัน้ ผา นไปตามแนวของหลอดอาหารถงึ ปาก แลว ผานขนึ้ ไปตามจมูกถึง ตา แลว ออกมารวมกับเสน เทา หยางหมิงกระเพาะอาหาร (2) เสน สาขาของเสน เทา ไทอ นิ มาม แยกจากเสน ลมปราณมา มทตี่ น ขาแลวบรรจบกบั เสน ลมปราณสาขาของเสน กระเพาะอาหาร แลว ข้ึนไปยังลาํ คอสว นหนา และสน้ิ สดุ ท่ลี ิน้

ทฤษฎรี ะบบเสนลมปราณ 87 3) เสนลมปราณสาขาคทู ี่ 3: สาขาของเสน เทาเสาหยางถงุ นํา้ ดีและเสน เทา จฺเหวียอนิ ตับ (1) เสน สาขาของเสนเทา เสา หยางถุงนาํ้ ดี แยกจากเสนลมปราณถุงนาํ้ ดที ่ตี น ขา ผา นขอ สะโพกเขาสูชองทอ งสวนลางในชองเชิงกราน บรรจบกับเสนสาขาของเสน เทาจเฺ หวียอนิ ตบั จากนน้ั ผา นไป ยังกระดูกซโ่ี ครงสวนลางไปยงั ถุงน้ําดซี งึ่ เปนอวยั วะตน สงั กัด และกระจายเสน ไปยงั ตบั ซ่ึงเปนอวยั วะคู สัมพันธ แลว ผา นไปตามหวั ใจ หลอดอาหาร ใบหนาและตา แลว จงึ รวมเขากบั เสน เทา เสา หยางถงุ นา้ํ ดี บริเวณหางตา (2) เสน สาขาของเสน เทา จฺเหวยี อนิ ตบั แยกจากเสน ลมปราณตับท่หี ลังเทา ผานข้นึ ไปยัง หวั เหนา เขา สชู อ งเชิงกราน บรรจบรวมเขา กบั เสนสาขาของเสน เทา ถุงนํา้ ดี 4) เสนลมปราณสาขาคทู ่ี 4: สาขาของเสน มอื ไทห ยางลาํ ไสเลก็ และเสน มอื เสา อนิ หวั ใจ (1) เสน สาขาของเสน มอื ไทห ยางลาํ ไสเลก็ แยกจากเสน ลมปราณลําไสเลก็ ท่หี วั ไหล ผา น รักแรเขาไปยงั หวั ใจซง่ึ เปน อวยั วะคูส ัมพันธ แลวผา นลงไปในชอ งทองไปรวมกบั เสน มอื ไทห ยางลาํ ไสเ ล็ก (2) เสน สาขาของเสน มอื เสาอนิ หวั ใจ แยกจากเสน ลมปราณหวั ใจบริเวณรักแร ผานเขา ชอ งอกไปยงั หวั ใจซ่งึ เปน อวัยวะตนสงั กดั แลว ผา นขน้ึ ไปตามลําคอ ใบหนา ออกมารวมกบั เสน มือไทหยาง ลําไสเ ลก็ ทบ่ี รเิ วณหัวตา 5) เสนลมปราณสาขาคูท ี่ 5: สาขาของเสน มอื หยางหมิงลาํ ไสใ หญและเสนมือไทอ นิ ปอด (1) เสน สาขาของเสนมอื หยางหมิงลาํ ไสใ หญ แยกจากเสนลมปราณลําไสใ หญท่มี ือ แลว ผา นแขน หัวไหลไปยังเตานม ท่ีหวั ไหลม ีสาขาแยกออกมา 2 เสน เสน แรกเขาสูกระดูกสนั หลงั ตรงตน คอ แลว ผานลงไปยงั ลาํ ไสใ หญซ ง่ึ เปน อวยั วะตนสงั กดั และกระจายไปยงั ปอดซง่ึ เปน อวยั วะคูสัมพนั ธ เสน สาขาจากหัวไหลเ สน ท่ี 2 ผานไปตามลาํ คอ ออกมารวมกบั เสน มือหยางหมิงลาํ ไสใหญบ ริเวณแอง เหนอื กระดูกไหปลารา (2) เสนสาขาของเสน มอื ไทอ นิ ปอด แยกจากเสน ลมปราณปอดบริเวณรกั แร ผา นเขา สชู อ ง อกไปยงั ปอดซง่ึ เปนอวัยวะตน สงั กดั และกระจายไปลําไสใหญซง่ึ เปนอวยั วะคสู มั พนั ธ จากนนั้ มสี าขาจาก ปอดผา นข้นึ ไปยงั กระดกู ไหปลารา ลาํ คอ แลว ออกมาบรรจบรวมกบั เสน มอื หยางหมิงลาํ ไสใ หญ 6) เสนลมปราณสาขาคูที่ 6: สาขาของเสนมือเสาหยางซานเจียวและเสนมือจฺเหวียอิน เย่ือหมุ หวั ใจ (1) เสน สาขาของเสน มือเสา หยางซานเจียว แยกจากเสน ลมปราณซานเจยี วทีก่ ลางกระหมอ ม ผานลงมายงั แอง เหนือกระดกู ไหปลารา ผา นเขา สูซานเจยี วแลว กระจายอยใู นชอ งอก

88 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน (2) เสนสาขาของเสนมือจเฺ หวยี อนิ เยอื่ หุมหัวใจ แยกจากเสน ลมปราณเยอ่ื หมุ หวั ใจที่ใต ตอ รกั แรล งมา 3 ชุน แลว ผานเขา ชองอกเช่อื มสัมพันธกับซานเจียว จากน้ันมีสาขาผานขึน้ ไปตามลําคอ แลว ออกมาบรรจบรวมกับเสน มือเสา หยางซานเจยี วทห่ี ลงั หู 2.3 เสนลมปราณล่วั 15 เสน (十五络脉 สอื อูล วั่ มาย) เสนลมปราณลั่ว 15 เสน เปน เสน ลมปราณที่แยกจากจดุ ลวั่ ของเสน ลมปราณหลกั 12 เสน จากจุดล่ัวของเสนลมปราณตูทางดานหลังลาํ ตวั 1 เสน จากจุดลั่วของเสน ลมปราณเญนิ่ ทางดา นหนา ลําตัว 1 เสน และจากจุดตาเปา (大包, SP21) ซ่ึงเปน จุดสุดทายของเสนลมปราณมามอยูดานขางลาํ ตวั 1 เสน รวมเปน 15 เสน เสน ลมปราณล่วั มลี ักษณะเปน เสนท่ีแตกแขนง แผกิ่งกา นสาขาเปนเสน เล็กละเอียดจํานวน มากมายกระจายสูสว นผิวของรา งกาย เสน ลมปราณลว่ั ของเสน ลมปราณหลักแตละเสน มแี นวทางการ ไหลเวียนหลักเปน 2 ทิศทาง โดยเมือ่ ออกจากจุดลัว่ เสน แขนงสว นหน่ึงจะไปเชื่อมโยงกับเสน ลมปราณ หลกั ท่เี ปน คูสัมพันธ สว นท่เี หลอื จะไหลเวยี นขนานไปกบั เสน ลมปราณเดิมไปยงั อวยั วะเปา หมายในลาํ ตัว และศรี ษะ เสน ลมปราณลั่วของเสนลมปราณหลักทงั้ 12 เสน จงึ ทําหนา ท่เี ช่ือมโยงเสน ลมปราณหลกั ท่ี เปน คูสัมพันธ และสงเสรมิ การไหลเวยี นของเลอื ดและชไ่ี ปยังพนื้ ทีอ่ วัยวะทเ่ี สน ลมปราณหลักครอบคลมุ เสนลมปราณลวั่ ของเสนลมปราณเญ่นิ ออกจาก จุดจิวเหวย (鸠尾, CV15) ตรงล้ินป แผ กระจายครอบคลุมสวนทองท้ังหมด เสนลมปราณล่ัวของเสนลมปราณตู ออกจากจุดฉางเฉียง (长强, GV1) ตรงบริเวณฝเ ยบ็ แผกระจายครอบคลุมไปตลอดแนวสองขา งของกระดูกสนั หลงั จนถงึ ตนคอและศรี ษะ เสนลมปราณนี้จะ เขารวมกับเสนกระเพาะปสสาวะบรเิ วณสะบัก เสน ลมปราณล่วั จากจุดตาเปา (大包, SP21) ซงึ่ เปนจุดสดุ ทายของเสน ลมปราณมา ม อยู ดานขางของลาํ ตวั เสน ลมปราณนแี้ ผก ระจายครอบคลมุ หนา อกและชายโครง 2.4 เสนลมปราณเอ็น 12 เสน (十二经筋 สือเออ รจ งิ จนิ ) เสนลมปราณเอ็น เปนชองทางใหเลือดและชี่จากเสนลมปราณหลัก ไปหลอเล้ียงและควบคุม การทํางานของเอ็นและกลามเน้ือ เอ็นและกลามเน้ือเช่ือมตอกระดูกและขอไวดวยกัน เสนลมปราณเอ็น จึงหลอเลี้ยงและควบคุมการทํางานของระบบโครงสรางรางกาย ไดแก กระดูก ขอ เอ็นและกลามเนื้อ เสนลมปราณเอ็น มีประโยชนในการรักษาโรคระบบโครงสรางของรางกาย โดยเฉพาะโรคของกลามเน้ือ และเสนเอ็น เชน กลุมอาการปวดกลามเน้ือ กลามเนื้อหดเกร็งเปนตะคริว กลามเนื้อฝอลีบ เสนเอ็นหด รง้ั ติดขัด

ทฤษฎีระบบเสนลมปราณ 89 เสนลมปราณเอ็น มีจํานวน 12 เสน เทากับจํานวนของเสนลมปราณหลัก และมีแนวเสนทาง สว นใหญ ซอ นทับกบั เสนลมปราณหลัก จงึ มชี ่อื ลอตามชื่อของเสนลมปราณหลกั ทค่ี รอบคลุมอยู อยางไร กต็ าม เสนลมปราณเอ็นมีลกั ษณะพิเศษ คือ ทกุ เสนมีจุดเริ่มตนจากปลายมือหรือปลายเทา เมื่อออกจาก จุดเร่ิมตน จะแผออกไปตามกลามเน้ือ แลวขมวดสอบแคบเปนระยะ คลายเปนเสนขอปลอง ไหลเวียน เขาสูลําตัวและศรี ษะ แตไ มเ ขาไปเชื่อมโยงกบั อวยั วะภายใน วิถีไหลเวียนสวนใหญของเสนลมปราณเอ็น แมจะมีแนวซอนทับกับเสนลมปราณหลัก แต เสน ลมปราณเอน็ กม็ รี ะบบวิถไี หลเวียนที่แตกตา ง และมีลักษณะเฉพาะ ไดแก 1) เสนลมปราณเอ็นเทาหยาง 3 เสน เริ่มตนจากปลายเทา ผานขาดานนอก กระจายผาน ลําตวั ดา นหนา ดานขางและดานหลงั ดานละ 1 เสน แลว ไปส้นิ สุดท่ตี า 2) เสนลมปราณเอ็นเทาอิน 3 เสน เริ่มตนจากปลายเทา ผานขึ้นตามขาดานใน ไปส้ินสุด บริเวณรอบอวยั วะเพศ 3) เสนลมปราณเอ็นมือหยาง 3 เสน เร่ิมตนจากปลายมือ ผานแขนดานนอก ไปสิ้นสุดที่ หนาผาก บรเิ วณงา มผม 4) เสนลมปราณเอ็นมืออิน 3 เสน เริ่มตนจากปลายมือ ผานแขนดานใน ไปส้ินสุดบริเวณ กลา มเนื้อทรวงอก 2.5 แนวเขตผวิ หนัง 12 แนว (十二皮部 สือเออรผ ปี ู) ผิวหนงั เปนดา นชั้นนอกสุดของรา งกาย เปน ชอ งทางตดิ ตอระหวา งอวยั วะภายในกบั สงิ่ แวดลอม และทําหนาท่ีปกปอ งรา งกาย จากปจ จยั รกุ รานภายนอก การแพทยแผนจนี จดั ผวิ หนังเปนสวนหนง่ึ ของ ระบบเสนลมปราณ โดยเปนอวยั วะชั้นนอกสดุ ทร่ี ะบบเสน ลมปราณหลอ เลยี้ งอยู ผวิ หนงั แบง เปน 12 แนว เขต ตามแนวการไหลเวยี นของเสนหลัก 12 เสน ระบบเสน ลมปราณปกปอ งรางกายจากปจจัยรุกรานภายนอก โดยการควบคมุ การปดและเปด ของรขู ุมขนและตอ มเหง่อื เมอ่ื ระบบของผวิ หนงั สญู เสยี การปอ งกนั ทําใหเหตุแหงโรครุกลา้ํ ผา นผวิ หนัง เขา เสน ลมปราณยอ ย ไปเขาเสน ลมปราณตน แลวผานตามเสนลมปราณตน เขา สอู วยั วะภายใน ผวิ หนงั และเสนลมปราณ จึงเปน ชอ งทางใหเหตุแหง โรครุกรานเขา สอู วยั วะภายใน ในทางกลับกัน เมื่อมีความผิดปกติของอวัยวะภายใน อาการและอาการแสดงของโรคสามารถ สะทอนผานระบบเสนลมปราณออกสูผิวหนัง ตําแหนงและลักษณะความผิดปกติของผิวหนัง ใชเปน แนวทางในการวนิ จิ ฉัยถงึ อวยั วะภายในท่ีผิดปกติ และลกั ษณะทางพยาธสิ ภาพ

90 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้ืองตน ในการรักษาโรค ผิวหนงั เปนชองทางในการรักษาความผดิ ปกติของอวัยวะภายใน โดยอาศยั การเชอื่ มโยงของระบบเสน ลมปราณ โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในการรักษาโรคดว ยการฝงเขม็ ซึ่งมจี ดุ ฝงเขม็ จาํ นวนมากมายในระบบเสนลมปราณ จาํ เปนตองอาศัยผิวหนังเปนจุดอางองิ ในการหาตาํ แหนง จุด และ ใชผิวหนงั เปน ทางผานในการกระตนุ จุดฝงเข็ม นอกจากน้ีตําแหนง ท่ีผิดปกติบนผวิ หนังทีเ่ กยี่ วขอ งกบั โรค ยงั สามารถใชเ ปน จดุ ฝง เขม็ ไดอีกดว ย 2.6 เสนลมปราณพิเศษ 8 เสน (奇经八脉 ฉีจิงปามาย) เสนลมปราณพเิ ศษแตกตา งจากเสน ลมปราณหลกั ทไี่ มม จี ดุ เรม่ิ ตน จากอวยั วะภายในและไมไ ด สงั กดั อยกู บั อวยั วะภายใน เสน ลมปราณพเิ ศษแตละเสน มีจดุ เรมิ่ ตนและวิถีการไหลเวยี นท่ีเฉพาะของ ตนเอง โดยวถิ ีไหลเวียนมักรอยรัดอยรู ะหวา งเสน ลมปราณหลกั นอกจากนเ้ี สน ลมปราณพิเศษไมม จี ดุ ฝงเข็มเปน ของตนเอง ยกเวน เสนลมปราณตูและเสน ลมปราณเญ่ิน หนาที่โดยรวมของเสน ลมปราณพิเศษ คือ เชื่อมโยงเสนหลักใหทํางานสอดคลองสัมพนั ธกนั เปนแหลง พักสาํ รองเลือดและชี่ รวมถงึ ควบคมุ และปรบั สมดุลการไหลเวียนของเลือดและช่ี อยา งไรก็ ตาม เสนลมปราณพเิ ศษทั้ง 8 เสน ตา งมวี ิถกี ารไหลเวียน คณุ สมบัติ และหนา ท่ีแตกตา งกัน 1) เสน ลมปราณเญ่ิน (任脉 เญิ่นมา ย) เญิน่ (任) แปลวา รับผดิ ชอบ, ต้งั ครรภ เสนลมปราณเญนิ่ มวี ิถกี ารไหลเวียนอยตู ลอดแนวเสน กลางลาํ ตวั ดา นหนา ครอบคลมุ ทอ ง อก คอจนถงึ คาง เสนลมปราณเญน่ิ เชือ่ มโยงสัมพันธกบั เสน ลมปราณอนิ ทกุ เสน ทําหนาทร่ี องรบั และ สนับสนนุ ชี่ ใหก บั เสน ลมปราณอินทงั้ หมด จงึ ไดรบั สมญาวา ‘ทะเลแหง เสน ลมปราณอิน (阴脉之海 อินมา ยจือไห)’มจี ดุ ฝง เขม็ ทง้ั สน้ิ 24 จดุ ซงึ่ เปน 1 ใน 2 เสน ลมปราณพเิ ศษท่มี ีจดุ ฝงเขม็ ของตน 2) เสนลมปราณตู (督脉 ตูมา ย) ตู 督 แปลวา ปกครอง ดูแล เสน ลมปราณตู มีวถิ กี ารไหลเวียนหลกั อยูต ลอดแนวเสน กลางลําตวั ดานหลงั และศรี ษะ และ เชอ่ื มโยงกบั เสนลมปราณหยางทุกเสน ทําหนาท่ีควบคุมการไหลเวียนของชี่ ในเสน ลมปราณหยางทัง้ หมด จึงไดรบั สมญาวา ‘ทะเลแหง เสน ลมปราณหยาง (阳脉之海 หยางมา ยจือไห)’มจี ุดฝงเข็มทัง้ ส้นิ 28 จุด ซึง่ เปน 1 ใน 2 เสนลมปราณพิเศษท่มี จี ุดฝงเข็มของตน 3) เสน ลมปราณชง (冲脉 ชงมา ย) เสน ลมปราณชง ออกมาจากทอ งนอ ยตรงฝเ ย็บแลวไหลเวยี นขนานไปกับเสนลมปราณไต