Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

Description: ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

หนงั สอื ใชใ้ นการอบรมหลักสูตรแพทยฝ์ งั เขม็ กรมแพทยท์ หารบกเท่านั้น

ศาสตรก ารแพทยแ ผนจนี เบ้ืองตน กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2551 ISBN 978-974-16-0792-1

ศาสตรการแพทยแผนจีนเบือ้ งตน ท่ีปรกึ ษา สมชัย โกวิทเจรญิ กุล วชิ ยั โชคววิ ัฒน บรรณาธกิ าร ทศั นีย ฮาซาไนน เย็นจิตร เตชะดํารงสิน ลือชา วนรัตน กองบรรณาธกิ าร โกสนิ ทร ตรรี ัตนวีรพงษ ชํานาญ สมรมิตร สมชาย จิรพินิจวงศ จรัส ตั้งอรามวงศ ธวชั บรู ณถาวรสม สวุ ดี วองวสุพงศา วัฒนาพร คมุ บุญ ตอ งตา อชุ ชิน สวาง กอแสงเรอื ง บณั ฑิตย พรมเคียมออ น อมั พร กรอบทอง กิตติศกั ด์ิ เกงสกุล สทุ ศั น ภทั รวรธรรม ประพนั ธ พงศคณติ านนท เบญจนยี  เภาพานชิ ย ยุพาวดี บญุ ชิต นฐั นชิ า วบิ ลู วรเศรษฐ รวินนั ท กุดทิง เจาของลขิ สทิ ธ์ิ : กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ออกแบบปก : ทัศนยี  ฮาซาไนน อมั พร กรอบทอง บุญสม รัตนากูล พมิ พครง้ั ท่ี 1 : ธนั วาคม 2551 จํานวน 1,000 เลม พมิ พท ่ี : สาํ นักงานกิจการโรงพมิ พ องคการทหารผา นศึกในพระบรมราชปู ถมั ภ 2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบุรี เขตบางซอ่ื 31 กรงุ เทพมหานคร 10800 ขอ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหงชาติ ลือชา วนรตั น, ทัศนีย ฮาซาไนน, เย็นจติ ร เตชะดาํ รงสนิ (บรรณาธิการ) ศาสตรการแพทยแ ผนจนี เบ้ืองตน -กรงุ เทพมหานคร สาํ นักงานกจิ การโรงพมิ พอ งคก ารทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถัมภ, 2551. 216 หนา กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ISBN 978-974-16-0792-1

คาํ นํา ก คํานํา ความรเู กยี่ วกับศาสตรก ารแพทยแผนจนี เปน พน้ื ฐานของการแพทยแ ผนจนี ทกุ แขนง วธิ กี ารตรวจ วินจิ ฉัยผูป วยแตล ะคนมคี วามสําคญั ตอการรกั ษา การเจ็บปว ยในโรคเดียวกนั อาจใชวิธกี ารรกั ษาตางกัน เน่ืองจากสาเหตุของการเกิดโรคแตกตางกัน ท้ังดานสภาพรางกายและสภาพแวดลอม วิธีการตรวจ วินิจฉยั โรคของศาสตรก ารแพทยแ ผนจีน จงึ เปนศลิ ปะทดี่ ึงดูดความสนใจของผูท เี่ ก่ยี วของ ความสามารถ ของแพทยจ ีนในการรกั ษาผูปวยนั้น จาํ เปนตองอาศัยระยะเวลาในการฝกฝนใหเกดิ ความชาํ นาญภายใต การควบคุมของอาจารยทมี่ ีประสบการณส ูง แพทยจีนทม่ี ีความเชยี่ วชาญสามารถตรวจวนิ ิจฉยั อาการโรค ไดอยางแมน ยําโดยไมจ ําเปน ตองใชอ ุปกรณช ว ย ศาสตรก ารแพทยแ ผนจีนจึงสะดวกในการใชร กั ษา และ ในวธิ รี กั ษาบางประเภท เชน การฝง เขม็ การนวดทยุ หนา ลว นไมตอ งใชอปุ กรณก ารรักษาท่ซี บั ซอ น ใชเพยี ง เข็มและมือในการนวดกดจดุ กส็ ามารถบรรเทาอาการเจบ็ ปวยไดใ นเวลาอันส้นั ปจ จุบันการแพทยแผนจีน จงึ เปน ท่สี นใจของประชาชนทั่วไป และเปน ศาสตรที่แพทยแผนปจ จุบันใหค วามสนใจและศึกษาเพ่อื นาํ ไป ผสมผสานและประยุกตใ ชก ับศาสตรข องตน ปจจบุ ันศาสตรก ารแพทยแผนจนี มีหลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาตรใี นสถาบนั การศึกษาท้ัง ภาครัฐและเอกชน แตยังไมมกี ารจดั ทําตํารามาตรฐานท่ีแพรหลาย กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและ การแพทยทางเลอื กจงึ ไดจ ดั ทําตาํ รา “ศาสตรการแพทยแ ผนจนี เบอ้ื งตน ” ข้นึ เพือ่ เปนหนงั สอื สาํ หรบั ผสู นใจ ศึกษาและผเู ขารบั การอบรมในหลักสูตรระยะสนั้ และเพอ่ื เปน พน้ื ฐานในการศึกษาศาสตรการแพทยแผน จีนในแนวลกึ ตอ ไป ตํารา “ศาสตรก ารแพทยแ ผนจนี เบ้ืองตน ” เลมนี้ มเี นือ้ หาเก่ยี วกบั แนวคิดในการรกั ษาโรค สาเหตุ ของการเกิดโรค ระบบอวยั วะทสี่ าํ คัญของรา งกายตามแนวคิดของศาสตรการแพทยแผนจีน วธิ กี ารตรวจ วินจิ ฉยั โรค การวเิ คราะหก ลุมอาการโรค การศึกษาสาเหตุของโรค และการกําหนดวิธกี ารรกั ษาท่เี หมาะสม การจดั ทาํ หนังสอื เลม น้ีไดรับความรวมมือจากแพทยท ี่สาํ เร็จการอบรมหลักสูตร “การฝงเข็ม” 3 เดอื นของกระทรวงสาธารณสขุ ท่ีสนใจในศาสตรการแพทยแ ผนจนี โดยมีคณะผเู ชย่ี วชาญดานศาสตร การแพทยแผนจีนเปนที่ปรึกษา ความรูพ้ืนฐานศาสตรการแพทยแผนจีนรวบรวมจากเน้ือหาการอบรม หลกั สตู ร “การฝงเข็ม” และจากตาํ ราอืน่ ๆ นอกจากนนั้ ยงั ไดร ับความอนุเคราะหจ ากผเู ชีย่ วชาญดา น ศาสตรการแพทยแผนจนี ไดแก อาจารยจ รสั ตงั้ อรามวงศ และ อาจารยส วาง กอแสงเรือง ในการ

ข ศาสตรการแพทยแ ผนจนี เบอ้ื งตน ตรวจสอบความถกู ตองของเนอื้ หา โดยเฉพาะเน้ือหาการตรวจจับชีพจร อาจารยจ รสั ตงั้ อรามวงศ ได กรณุ าเรียบเรยี งและใหภ าพประกอบจนมคี วามสมบูรณแ กผทู ี่สนใจในการศึกษาและฝกปฏบิ ตั ติ อ ไป ใน การจดั ทําตาํ ราเลมน้ี คณะผจู ดั ทําไดมีการประชมุ รว มกันหลายครงั้ เพ่ือพจิ ารณาความเหมาะสมของเน้อื หา และชว ยกนั แกไ ขเรียบเรยี งเนอื้ หาท่เี ขาใจยาก เชน ทฤษฎีอนิ -หยาง ทฤษฎีปญ จธาตุ ใหเปนเนอ้ื หาท่ีผูอาน ท่ัวไปสามารถเขา ใจไดงาย กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื กขอขอบคุณคณะทํางานทุกทา นโดยเฉพาะ อยา งย่งิ อาจารยจรสั ตั้งอรา มวงศ อาจารยส วาง กอแสงเรอื ง ที่ไดเสียสละเวลาและทุมเทสติปญญารวมกัน จดั ทาํ ตําราเลม นี้ขึ้น ซึ่งจะเปนประโยชนแ กบ ุคลากรทางการแพทย แพทยจีน ตลอดจนนิสติ นักศกึ ษาและ ประชาชนท่วั ไป ในการเรยี นรูแ ละสรางความเขาใจเบือ้ งตนเกี่ยวกบั ศาสตรการแพทยแ ผนจีน และนาํ ไป ประยกุ ตใชใ หเปนประโยชนต อ ตนเองและผูอืน่ ตอ ไป (นายแพทยล ือชา วนรัตน) อธบิ ดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก

สารบญั ค สารบญั หนา คาํ นาํ ก สารบญั บทท่ี 1 ประวัตกิ ารแพทยจ นี โดยสงั เขป ค บทที่ 2 ทฤษฎอี ิน-หยาง 1 27 ความเปนมาของอนิ -หยาง 27 การจาํ แนกอิน-หยาง 30 การแปรเปลีย่ นไปสโู รคพยาธิ 32 การใชหลกั อนิ -หยางในการปอ งกนั และรกั ษาโรค 33 บทที่ 3 ทฤษฎปี ญจธาตุ 34 กาํ เนดิ ทฤษฎปี ญจธาตุ 34 ความเปนมาของปญจธาตุ 34 ความสมั พนั ธระหวางปญ จธาตุ 37 หลกั การใชปญ จธาตุในการรกั ษาโรค 40 บทท่ี 4 ทฤษฎอี วัยวะภายใน 42 อวัยวะตนั ทงั้ 5 45 อวัยวะกลวงทงั้ 6 64 อวยั วะกลวงพเิ ศษ 69 บทท่ี 5 สารจาํ เปน ช่ี เลอื ด และของเหลวในรา งกาย 72 สารจาํ เปน 72 ชี่ (ลมปราณ) 74 เลือด 78 ของเหลวในรา งกาย 80 บทที่ 6 ทฤษฎีระบบเสนลมปราณ 82 ความรูท่วั ไปเกีย่ วกบั ระบบเสนลมปราณ 82 องคป ระกอบของระบบเสน ลมปราณ 82 หนาท่ีของระบบเสน ลมปราณ 92

ง ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน สารบัญ (ตอ) หนา การประยุกตใชท ฤษฎีเสนลมปราณทางคลนิ กิ 92 ความรูเบือ้ งตน เกยี่ วกบั จดุ ฝง เขม็ 93 บทท่ี 7 สาเหตขุ องโรค 99 ปจ จัยจากลมฟาอากาศทัง้ หกทาํ ใหเ กดิ โรค 100 อารมณทง้ั เจด็ ทําใหเ กดิ โรค 108 สาเหตุอนื่ ๆ ท่ีทําใหเ กดิ โรค 110 ผลของความผดิ ปกตทิ ่เี ปนสาเหตุของโรค 114 บทที่ 8 การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคดวยศาสตรการแพทยแ ผนจีน 118 ความเปน มาของอนิ -หยาง 118 การตรวจวนิ จิ ฉยั โรคทางการแพทยแผนจีน 118 การมองดู 118 การฟง เสียงและการดมกล่ิน 135 การถาม 137 การตรวจชีพจร 150 บทที่ 9 การวเิ คราะหกลมุ อาการของโรค 170 อาการ กลมุ อาการ และโรค 170 กระบวนข้ันตอนทางความคิดในการเปย นเจิ้ง 171 การวเิ คราะหโรคตามทฤษฎขี องช่ีและเลอื ด 171 การวเิ คราะหโ รคดว ยปากังเปย นเจ้ิง 174 การวิเคราะหกลมุ อาการของอวยั วะตนั ทั้ง 5 181 การวิเคราะหก ลมุ อาการตามทฤษฎเี วย ช อ่ี ๋งิ เซวฺ ยี่ 193 การวเิ คราะหก ลมุ อาการของอวยั วะกลวงทั้ง 6 196 การวิเคราะหก ลมุ อาการตามทฤษฎีเสน ลมปราณท้ังหก 199 การวเิ คราะหก ลมุ อาการซานเจียว 202 การวิเคราะหก ลมุ อาการตามทฤษฎีจิงลวั่ 204 บรรณานกุ รม 207

หมอเทวดา เปย นเชวฺ ีย่ หมอคนแรกทีเ่ ริ่มวชิ าจบั ชพี จร สถานที่ถา ยภาพ: Traditional Chinese Medicine Expo 2008, International Trade Center, ปก ก่ิง ถา ยภาพโดย ดร.อัญชลี จูฑะพุทธิ



ประวัติการแพทยจีนโดยสงั เขป 1 บทท่ี 1 ประวัตกิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป การแพทยจนี มปี ระวัติความเปน มายาวนานหลายพนั ป พัฒนาการของการแพทยแ ผนจนี แบง ตามยุคตา ง ๆ ในประวตั ิศาสตรจ นี ไดเปน 7 ยคุ ดังนี้ 1. ยคุ โบราณ 2. ยคุ ราชวงศเ ซี่ย ถงึ ยคุ ชนุ ชวิ 3. ยคุ กอกําเนิดทฤษฎีการแพทยจ ีน 4. ยุคราชวงศจ นิ้ ราชวงศใตกบั เหนอื ราชวงศส ยุ ราชวงศถ งั และยคุ หาราชวงศ 5. ยุคราชวงศซง ถงึ ราชวงศหมงิ 6. ยุคพัฒนาการแพทยแ ละเวชปฏิบตั แิ ผนใหมใ นชว งยคุ ราชวงศหมงิ ราชวงศชิง กอนสงครามฝน 7. ยคุ การแพทยส มัยใหม เหตกุ ารณส าํ คัญ ๆ ในแตละยคุ มีดงั นี้ 1. ยุคโบราณ (古代 Ancient Age) เปนยุคเริ่มตนของการเกษตรกรรม เหตุการณในยุคนี้ปรากฎอยูในตํานานและหลักฐาน ทางโบราณคดี ซง่ึ ทีส่ าํ คัญคือ - ฝูซี (伏羲 Fu Xi) ประดิษฐเ ข็มหิน 9 เลม อายุ 4,000-5,500 ป ซ่ึงอาจใชเ พอ่ื การรกั ษา โดยวิธฝี งเขม็ มีผูเ ชือ่ วา ฝูซมี กี ารรเิ ร่มิ ประดษิ ฐตัวอักษรภาพขน้ึ ใชดว ย - เสินหนง (神农 Shen Nong) เร่ิมนาํ สมุนไพรมาใชรักษาโรค - จกั รพรรดิหวงตี้ (黄帝 Huang Di) เปนผูริเริม่ รว มกบั แพทยใ นราชสาํ นกั ถกปญ หาวชิ า ความรทู างการแพทย วิธีรกั ษา รวมทัง้ การเขียนใบสัง่ ยา เพอ่ื รา งบันทกึ เปน ตาํ ราแพทย 2. ยุคราชวงศเ ซี่ย (夏代 Xia Dynasty) ถงึ ยุคชุนชวิ (春秋 Chunqiu) (2,100-476 ป กอ นครสิ ตศักราช) ตามหลกั ฐานทางโบราณคดี คนจนี รจู ักทําเหลา ตั้งแตก ลางยุคหินใหม ในยคุ วฒั นธรรมหยางเสา (仰韶 Yang Shao) ราว 4,000-10,000 ปมาแลว การรูจกั การทาํ เหลา มผี ลตอการแพทย คอื การ นาํ มาใชในการทํายา โดยเฉพาะยาดองเหลาตา ง ๆ ในยุคนี้เร่ิมมีการทํายาตมโดยมีการผลติ ภาชนะสาํ หรับ

2 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน ตมยา ยาตมเปนจุดเดน ของการแพทยแผนจีน เพราะมีประโยชนสําคัญ 4 ประการ คอื - สะดวกตอการรบั ประทาน และทําใหด ูดซมึ งาย - เพ่ิมสรรพคณุ ลดพิษ และผลขางเคยี ง - สะดวกในการปรับขนาดตัวยาตาง ๆ - ทําใหการนาํ แรธ าตตุ าง ๆ มาประกอบยาไดงา ยขน้ึ การรจู กั ทํายาตมทาํ ใหก ารแพทยจีนพฒั นาแนวทางการใชย าผสมมาอยา งตอเนื่อง อทิ ธพิ ลของ พอมดหมอผเี ริ่มเสอ่ื มลงตง้ั แตย คุ นี้ ดงั จะเห็นไดจ ากในยุคชนุ ชิว พอมดหมอผถี ูกจดั ใหอ ยูใ นฝายพธิ กี รรม (Minister in Charge of Protocol) ในขณะท่ีแพทยข ้ึนตออัครมหาเสนาบดี (Prime Minister) ในสมัยราชวงศโจว (周代 Zhou Dynasty) แพทยห ลวงในยคุ น้ันแบง เปน 4 ประเภท คอื โภชนากร แพทยทัว่ ไป ศัลยแพทย และสัตวแพทย นอกจากนี้ ยังพบเอกสารโบราณชอ่ื ซานไหจ ิง (山海经 หรือ คูมือภูเขาและแมน ํา้ ) ซงึ่ เนื้อหา หลกั เปน เร่อื งทางภมู ศิ าสตร แตไดกลาวถงึ ยาสมนุ ไพรไวร าว 120 ชนดิ ทง้ั จากพืช สตั ว และแรธาตุ 3. ยคุ กอ กําเนดิ ทฤษฎกี ารแพทยจนี (中医理论体系的初步建立 Origin of Traditional Chinese Medicine Theory) จากยคุ จนั้ ก๋วั (ยคุ รณรฐั 战国) ถึงยคุ สามกก (三国 San Guo) (475 ป กอนครสิ ตศ กั ราช ถงึ ค.ศ. 265) เปน ยุคเร่ิมอารยธรรมสําคัญ ในยุคจั้นกว๋ั มีการใชว วั ควาย ปยุ และอุปกรณท ี่ทําจากเหล็ก ในการทําเกษตรกรรม มกี ารประดิษฐเครอ่ื งวัดแผน ดนิ ไหว และทส่ี ําคัญคือการทาํ กระดาษ เปน ยุคกําเนดิ ลัทธขิ งจือ่ (孔子 Kong Zi) และลทั ธิเตา (道教 Dao Jiao) รวมท้ังเริม่ เสน ทางสายไหม สาํ หรับอารยธรรมทางการแพทย พบตาํ ราการแพทยเขียนบนผาไหมและไมไผ จากสุสาน หมาหวางตุย (马王堆 Ma Wangdui) แหงราชวงศฮ ่ัน ซึ่งมีรายละเอียด คอื ตาํ ราบนผนื ผา ไหม มีถึง 10 เลม คือ - หา สิบสองโรคและตาํ รบั ยา - ตาํ รารกั ษาสุขภาพ - ตํารารักษาเบด็ เตลด็ - ภาพการบริหารลมหายใจ - ตาํ ราโรคทางสูตกิ รรม - กญุ แจชว ยยอยและเสริมสขุ ภาพ

ประวตั ิการแพทยจนี โดยสงั เขป 3 - ลักษณะชพี จรในผปู ว ยหนกั - การคลําชีพจร - ตําราด้งั เดิมเร่ืองการรมยาบนเสนลมปราณ 12 เสน บนแขนขา - ตําราด้ังเดมิ เรื่อง 12 เสนลมปราณสาํ หรบั รมยา หนงั สอื บนซกี ไมไ ผ มีจาํ นวนทั้งส้ิน 200 ชิ้น มีเนอื้ หาประกอบดว ยตาํ รา 4 เลม คือ - สบิ คาํ ถาม - ประสานอนิ หยาง - ตาํ รายาตาง ๆ และขอหามใช - หลกั การบริหารประเทศ ตํารา 4 เลม นี้ ประกอบดว ยตวั อักษร 4,000 ตัว สรปุ หลกั การสาํ หรบั สขุ ภาพและการรักษา โรค 4 ประการ คือ - ใหปฏบิ ตั ิตามกฎธรรมชาติ 4 ฤดูกาล และหลักอนิ หยาง โดยมีสองสง่ิ ท่ตี รงขา มกนั ใน ธรรมชาติคอื หญิงเปน ฝายลบ และชายเปนฝา ยบวก - ใหความสําคัญกับอาหารและการรับประทานใหเปนเวลา ควบคุมอารมณท ง้ั ความสนกุ สนาน ความโกรธ ความเศรา เสียใจ และความสุข - บรหิ ารรา งกายโดยชกี่ ง - ปรบั และควบคมุ กิจกรรมทางเพศ ในยุคนมี้ คี ัมภีรทางการแพทยท ส่ี าํ คญั 3 เลม ไดแ ก 1) คมั ภีรห วงตเ้ี นยจิง《黄帝内经 Huang Di Nei Jing》หรอื เนยจ งิ 《内经 Nei Jing》 แบงเปน 2 ภาค คอื ซูเวนิ่ 《素问 Su Wen》หรือ Plain Questions หรือ คาํ ถามงา ย ๆ และ หลงิ ซู 《灵枢 Ling Shu》หรือ Miraculous Pivot หรือ แกนมหศั จรรย เชื่อวาเปน ผลงานของปราชญ หลายคนในยุคจั้นกวั๋ แตต ัง้ ชอื่ วา เปน คมั ภรี หวงตี้เนยจิงตามประเพณี และเพ่ือเพม่ิ ความนาเชอื่ ถือของ ตํารา เนื้อหามที ้ังสน้ิ 81 เร่อื ง กลา วถงึ การเรียนวิชาแพทย จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี หลักพน้ื ฐาน เรื่องอนิ -หยาง (阴阳 Yin Yang) และธาตทุ ง้ั หา หรอื อูสิง (五行 Wu Xing) คอื ไม ไฟ ดิน ทอง และนาํ้ ตลอดจนหลักธรรมชาติ 6 ประการ คือ การปองกันและการรักษา สาเหตุและอาการของโรค ผลของฤดูกาล ผลของภูมศิ าสตร ผลจากอุตนุ ยิ ม การฝง เขม็ และการรมยา

4 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้ืองตน คัมภีรหวงตเ้ี นยจิง คัมภรี หวงต้ีเนยจงิ ภาคซูเว่นิ นอกจากนีย้ ังกลา วถงึ หลกั การวินจิ ฉยั โรค 4 ประการ คือ การสงั เกต การฟงและการดม การถาม และการคลาํ และจับชพี จร ความสาํ เร็จของคมั ภีรเ นยจ ิง เกิดจากสาระสาํ คญั สรุปได คือ - ทฤษฎอี ินหยาง และธาตุทัง้ หา - แนวคิดองครวม - แนวคดิ เรือ่ งอวยั วะ เสนทางการทํางานของอวยั วะ (Channels) และเสน ทางคขู นาน (Collaterals) ซง่ึ เปนรากฐานสําคัญของวชิ าฝง เขม็ และรมยา - แนวคิดเรื่องการปองกันโรค - การปฏเิ สธส่ิงล้ีลบั และหมอผี คัมภีรหวงตเี้ นยจ ิง ภาคหลงิ ซู กลาวไวช ดั เจนวาโรคเกดิ จาก สาเหตุตาง ๆ และไมมเี ลยท่ีเกดิ จากเทวดาหรือภตู ผี 2) คัมภรี เ สนิ หนงเปน เฉา จงิ 《神农本草经》หรือ Classic of Shen Nong’s Materia Medica หรือ ตําราเภสัชวิทยาดงั้ เดมิ ของเสนิ หนง มีอายุราว 1,780 ป ประกอบดว ยตํารา 3 เลม กลา วถงึ ตวั ยา 365 ชนิด ไดแก พืช 252 ชนิด สตั ว 67 ชนิด และแรธ าตุ 46 ชนิด มีการแบง ยา ออกเปน 3 ระดับ ตามความปลอดภัย คือ - ชัน้ ดี (Top grade) เปนยาท่ีมคี วามปลอดภัยในการใช - ช้ันปานกลาง (Middle grade) เปนยาทไ่ี มม อี นั ตรายหากใชอ ยางถกู ตอ ง - ชนั้ ตาํ่ (Low grade) เปนยาท่ีอนั ตรายโดยเฉพาะหากรับประทานมากเกินไป

ประวตั กิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป 5 ตามคัมภรี เ สนิ หนงเปน เฉาจงิ ยังริเร่มิ หลักทฤษฎยี าจีนโดยแบง ยาออกเปน 4 จาํ พวก (รอ น เยน็ อนุ และกลาง) 5 รส (เปร้ยี ว เคม็ เผ็ด หวาน และขม) 7 ผลลัพธ (ตวั ยาเดยี่ ว เสรมิ ฤทธก์ิ ัน เสรมิ ฤทธฝ์ิ ายเดียว ถูกขม ลดทอนหรอื กําจดั พิษ ลดทอนฤทธ์ิ และใหผ ลตรงขา ม) หลักการรักษาอาการ ฝา ยเย็นดวยยารอ น และรักษาอาการฝา ยรอนดวยยาเย็น อยา งไรก็ตาม ในยุคราชวงศฮ ่นั (汉代 Han Dynasty) ลทั ธเิ ตามอี ทิ ธพิ ลสงู ทาํ ใหมกี ารมุง แสวงหายาอายวุ ฒั นะมากกวา เรื่องการรักษาโรค ตวั ยาที่ใชประกอบเปนยาอายุวัฒนะจึงถูกจดั เปนยาช้ันดี เสินหนงเปนเฉา จงิ จางจงจงิ่ 3) ซางหานจาปง ลุน《伤寒杂病论》หรอื Treatise on Febrile and Miscellaneous Diseases หรือ ตาํ ราไขแ ละโรคเบ็ดเตลด็ เขียนโดย จางจง จงิ่ (张仲景 Zhang Zhongjing) ตอนปลายยุค ราชวงศฮ ั่นตะวนั ออก (ค.ศ. 25-220) โดยรวบรวมความรทู างการแพทยใ นอดีตและประสบการณของตนเอง แตงตํารา 16 เลม แยกโรคตามอาการ และอาการแสดง ทส่ี าํ คัญคอื เลกิ เช่อื วาเทวดาและสง่ิ ศกั ดิ์สิทธิ์เปน ตนเหตุทําใหเ กิดโรค และบรรยายวธิ กี ารรกั ษา 8 วธิ ี ไดแ ก การขบั เหงื่อ การทําใหอาเจยี น การระบาย การ ประสาน การใหค วามอนุ การลดความรอ น การบาํ รงุ และการสลาย ในยุคน้ีมแี พทยทม่ี ชี ื่อเสียง ไดแก 3.1 เปยนเชว่ีย (扁鹊 Bian Que) หรือ ฉินเยฺว่ียเหริน (秦越人 Qin Yueren) เปน แพทย ทเี่ ขยี นตําราแพทยไ วห ลายเลม เปนผูตอตานความเชือ่ เรอื่ งหมอผอี ยา งแขง็ ขัน ซอื หมา เชยี น (Si Maqian) นักประวัติศาสตรคนสาํ คัญในยุคราชวงศฮ่ันยกยองวา เปยนเชว่ียเปนหมอคนแรกที่เริ่มวิชาจับชีพจร เปยนเชวีย่ ไดรบั ฉายาวาเปน หมอเทวดา (Divine Doctor)

6 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบ้ืองตน 3.2 อหี ยิ่น (伊尹 Yi Yin) หรือ ฉางกง (仓公 Cang Gong) เปน ผูบันทึกเรอื่ งชพี จรไว 20 ชนิด (ปจ จุบันรวมได 28 ชนดิ ) เปนผรู ิเร่ิมการบนั ทกึ ประวัติคนไข เปน ผูตอ ตา นเรอื่ งยาอายวุ ฒั นะ อยางแขง็ ขันและกลา ยอมรับความผดิ พลาดในการวินิจฉยั และการรักษาโรคของตน 3.2 ฮัวถวอ (华佗 Hua Tuo) เปน แพทยทีไ่ ดรับการยกยองวา เปนศลั ยแพทยผ ูบุกเบกิ มี ชีวติ อยใู นยุคสามกก เปนคนท่ีไมสนใจยศตําแหนง มุงรักษาคนธรรมดาสามัญ ตอ มามีโอกาสรกั ษาโจโฉ จนไดร ับตาํ แหนงเปนแพทยประจาํ ตวั ของโจโฉ แตทนคิดถึงบานไมได จึงเดินทางกลบั บาน และไมยอม เดนิ ทางกลับมาตามคาํ สง่ั โจโฉจึงสั่งจบั และใหป ระหารชีวติ กอ นตาย ฮวั ถวอมอบตําราใหผ คู ุม แตผูคุม กลวั ความผิดไมก ลารับไว ฮวั ถวอจึงเผาตาํ ราท้ิง ทําใหต าํ ราของฮัวถวอสูญสน้ิ ไป ฮัวถวอมศี ษิ ยเ อก 3 คน แตงตําราแพทยไ ว 2 เลม มตี าํ ราอกี หลายเลมท่รี ะบุวา ฮัวถวอเปน ผูแตง อยา งไรก็ตาม เช่ือวาแตง โดยบุคคลอน่ื แตใสช่ือฮวั ถวอเปน ผูเขียน เชอ่ื วาฮัวถวอใชยาหมาฝสู าน (麻沸散 Ma Fu San) เปน ยา ระงบั ความรูสึกชนิดรับประทานใหแ กคนไขก อนผาตัด นอกจากน้ี ฮัวถวอยังสนใจเรอื่ งสขุ อนามยั สว น บคุ คล การบํารุงสขุ ภาพ และการบรหิ ารรางกายโดยเลียนแบบทา ทางของสัตว 5 ชนดิ คอื เสอื กวาง หมี ลิง และนก ตามประวัตกิ ลาววา แมฮ วั ถวอจะมอี ายุรอยป สขุ ภาพกย็ งั ดี และหวผู ู (吴普 Wu Pu) ศิษย คนหนงึ่ ของฮวั ถวอ ซ่งึ ปฏบิ ัติตนโดยการบริหารรางกายเลียนแบบสัตว 5 ชนดิ เมือ่ มีอายุถึง 90 ป หู ตา และฟน ก็ยังดี ฮัวถวอมีความชํานาญเรอ่ื งฝง เขม็ และรมยา โดยพยายามใชย านอยชนดิ และฝงเขม็ นอยจดุ เปยนเชวย่ี อีหยนิ่ (ฉางกง) ฮัวถวอ

ประวตั กิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป 7 4. ยุคราชวงศจ น้ิ (晋 代 Jin Dynasty) ราชวงศหนานเปยเฉา (ราชวงศใตก ับเหนือ 南北 朝代 Southern and Northern Dynasties) ราชวงศส ุย (隋代 Sui Dynasty ราชวงศถ งั (唐代 Tang Dynasty) และยคุ อูไต (หาราชวงศ 五代 Five Dynasties) (ค.ศ. 265-960) เปน ยุคท่กี ารแพทยแ ละเภสัชกรรมของจีนมกี ารพัฒนาอยางเตม็ ที่ โดยไดร บั อิทธิพลจากลทั ธิ ขงจื่อ ลัทธิเตา และศาสนาพุทธ ท้ังสามลัทธิศาสนาลว นไมเช่อื เรื่องพระเจา แตมอี ิทธพิ ลตอ การแพทยจ นี แตกตางกัน พทุ ธศาสนาเผยแผเขา สจู นี ตามเสน ทางสายไหม ตง้ั แตย ุคราชวงศฮ นั่ จนถงึ ราชวงศเ หนือกบั ใต ราชวงศถ งั เปนยุคแรกที่พุทธศาสนารุงเรืองที่สุด มีการสรางวัดวาอารามมากมาย และมกี ารแปล พระไตรปฎกเปนภาษาจนี ประชาชนทั่วไปศรัทธาในพุทธศาสนาอยา งกวางขวาง ขณะเดยี วกัน ถอื กันวา เหลาจ่ือศาสดาของลัทธิเตาซง่ึ มชี อื่ เดมิ วา หล่ีตา น เปนบรรพบรุ ษุ เกา แกของคนในตระกูลหรอื แซหล่ี ซ่งึ เปนแซเดยี วกบั กษัตรยิ ราชวงศถ ัง จงึ ทาํ ใหล ัทธิเตาไดร บั ความศรทั ธาเปนพิเศษ และทาํ ใหค วามนิยมใน เร่ืองยาอายุวัฒนะและเร่ืองคาถาอาคมแพรหลายข้ึนดว ย หลังยคุ จ้ินตะวันตก มคี วามนิยมนําโลหะหนัก มาทําเปนยาอายุวฒั นะกนั มาก แตแ ทนทจ่ี ะทาํ ใหอายยุ ืน กลบั เปนอันตรายตอ ผูใช ในยคุ นี้มีพฒั นาการทางการแพทยจีนท่สี าํ คญั ดังนี้ 1) การพัฒนาเรือ่ งการจบั ชพี จร ตําราทส่ี ําคัญคือ มายจิง 《脉经》หรอื Pulse Classic หรอื ชพี จรคลาสสคิ แตง โดย หวางซูเหอ (王叔和 Wang Shuhe) แบง ชีพจรไว 24 ชนิด ตามทฤษฎี การแพทยจนี เชอ่ื วา หลงั จากเลอื ดไหลผา นปอดแลว จะไปรวมศูนยท ่ตี าํ แหนงชีพจรท่ขี อ มือ โดยชีพจรที่ ขอ มอื ซา ยจะบง บอกภาวะของหวั ใจ ลาํ ไสเ ล็ก ตับ ถุงน้าํ ดี และไต ชพี จรท่ขี อมือขวาจะบง บอกภาวะของ ปอด ลําไสใหญ มา ม กระเพาะอาหาร และไต 2) การพัฒนาเรื่องปจจยั การเกดิ โรคและอาการของโรค ในป ค.ศ. 610 จักรพรรดิฉาวเหวยี น ฟาง (巢元方 Chao Yuanfang) มพี ระราชโองการใหเ ขยี นตาํ รา จูปงเหวยี นโฮว ลนุ 《诸病源候论》 หรอื General Treatise on the Causes and Syndromes of Diseases หรอื ตาํ ราท่ัวไปเร่ืองสาเหตแุ ละ อาการของโรค เปน หนังสอื 50 เลม แบง เปน 67 บท 1,720 หวั ขอ เปนตาํ ราท่ไี มกลา วถงึ ตํารับยาเลย ตัวอยา งทีน่ าสนใจ เชน การบรรยายอาการของโรคเบาหวานวา “จะกระหายน้าํ มาก ปส สาวะบอย บางครง้ั เปนแผลท่ผี วิ หนังงาย ผูปว ยมกั ชอบกนิ อาหารมนั และหวาน ทาํ ใหเกดิ ความรอ นภายใน” บรรยายเร่ือง โรคหิดและวิธีการรักษา โดยรูวาสาเหตุเกิดจากเชื้อหิด และรูวาพยาธิลําไสเกิดจากการรับประทานเนอ้ื วัวและเนอื้ ปลาดิบ เปนตน

8 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบือ้ งตน หวางซูเหอ ฉาวเหวียนฟาง ถาวหงจ่ิง 3) ความกา วหนา ทางเภสัชวิทยาและการปรงุ ยา มีพฒั นาการในดานตาง ๆ ดงั นี้ 3.1 การปรับปรงุ ตํารายา มกี ารปรับปรุงตาํ รายาเสนิ หนงโดย ถาวหงจงิ่ (陶弘景 Tao Hongjing) (ค.ศ. 452-536) ถาวหงจง่ิ ไดตรวจสอบตาํ รายาเสนิ หนง และเขียนขึน้ ใหมเ ปน ตํารา เปน เฉา จงิ จี๋จู《本草经集注》หรือ Collective Notes to Classic of Materia Medica หรอื การรวบรวม บันทกึ เก่ียวกับตํารายาคลาสสิค เปน หนงั สอื 7 เลม กลาวถงึ ยาเพม่ิ เตมิ จากเดิมที่มีอยู 365 ขนาน เพม่ิ อกี 365 ขนาน รวมเปน 730 ขนาน มกี ารจดั หมวดหมยู าใหมตามความแรงของสรรพคุณยา ริเริ่มหลัก “ยาตางกลมุ อาจใชร กั ษาโรคเดยี วกนั ได” และกลาวถงึ วธิ กี ารเกบ็ สมุนไพร เชน ควรเก็บสมุนไพรชว งตน ฤดูใบไมผ ลหิ รือปลายฤดใู บไมรว ง เพราะชว งเวลาดงั กลา ว ดอก ผล กิ่ง และใบ จะโตเตม็ ท่แี ละสุก ถาวหงจงิ่ ยงั เขยี นตาํ ราไวอ กี หลายเลม ไดแก จปู งทงเหยายง 《 诸 病 通 药 用 》หรือ Effective Recipes หรอื ตํารบั ยาท่ไี ดผล เปนเฉา จงิ จีจ๋ ู《本草经集注》หรือ Chinese Herbs in Verse หรือ ความเรยี งเร่ืองสมนุ ไพรจนี โจวโฮว ไปอ ีฟาง《肘后百一方》Supplement of a Hundred Formulae to Keep up Ones Sleeve หรือ ภาคผนวกของรอยสูตรตํารับเพ่ือเก็บไวในแขนเส้ือ เปยจ๋ี โฮวฟาง《备急后方》หรือ Formulae for Keeping Good Health and Longevity หรือ สูตรตาํ รบั เพือ่ รักษาสุขภาพและทาํ ใหอายยุ ืน อายุวัฒนะคลาสสิค (Classic of Longevity) และ วิธเี ลนแรแปร ธาตุ (Methods of Alchemy) ถาวหงจ่ิงเปนนักปราชญทม่ี ีแนวคดิ ผสมผสานทง้ั พุทธ ขงจ่อื และเตา แต เขาทํางานเพียงคนเดยี วเทา นั้น และตาํ ราของถาวหงจงิ่ ยงั มีความเชือ่ ในเร่อื งยาอายุวัฒนะ นอกจากตาํ ราของถาวหงจิ่งแลว ในยุคราชวงศถงั ยงั จดั ทาํ ตาํ รายาหลวงขึ้นเผยแพรท ัว่ ประเทศ ช่อื ซนิ ซวิ เปน เฉา《新修本草》หรือ The Newly Revised Compendium of Materia Medica (ค.ศ. 659) เปนหนังสอื 54 เลม แบง เปน 3 ภาค

ประวัตกิ ารแพทยจีนโดยสังเขป 9 - ภาคแรก เรอ่ื งตาํ รายา วาดว ยธรรมชาติ รส แหลงกําเนิด วิธเี กบ็ และเตรียมยา และขอ บงใช - ภาคสอง เร่อื งลกั ษณะยา วา ดว ยลกั ษณะของยาแทจากภาคตาง ๆ ของประเทศ - ภาคสาม เปนรูปภาพคลาสสคิ ของยา ซินซิวเปนเฉา นับเปนตํารายาหลวงฉบับแรกของโลกท่ีเก่ียวกับตัวยาสมุนไพร กอนตํารายา นูเรมเบิรก (Nuremberg Pharmacopoeia) ซึ่งเผยแพรใ น ค.ศ. 1542 เปน เวลาถงึ 800 ป ตาํ รายาฉบับ นกี้ ลาวถงึ วสั ดอุ ดุ ฟน ซึ่งทําจากตะกวั่ เงนิ และปรอท เปนเวลาถึง 1,000 ปก อนที่เบลล (Bell) ทันตแพทย ชาวองั กฤษจะคดิ คน โลหะผสมเงินและปรอทเพือ่ ใชอดุ ฟน นอกจากตํารา 2 ฉบับทกี่ ลา วมาแลว ยงั มคี วามกาวหนาทางเภสัชวทิ ยาอ่นื ๆ ไดแ ก การ รวบรวมตํารบั ยาจากตา งประเทศ และการจดั ทาํ ตาํ รายา สอื อเู ปน เฉา《食物本草》หรอื Compendium of Materia Medica for Dietaric Treatment หรอื ตาํ รายาฉบับยอ เพอ่ื โภชนบําบดั 3.2 การพัฒนาการรกั ษาเฉพาะโรค ไดแ ก - การรกั ษามาลาเรยี ดวยสมุนไพรฮอมดง (常山 Changshan หรอื Radix Dichroae) - การรกั ษาโรคเหนบ็ ชา (Beriberi) โดย เฉนิ ฉางชี่ (陈藏器 Chen Cangqi) พบวา การกินขา วขาวเปนเวลานานจะทําใหเ ปน โรคเหนบ็ ชา และ ซนุ ซอื เหมยี่ ว (孙思邈 Sun Simiao) พบวา การกินขา วกลอ งชวยรักษาโรคเหนบ็ ชาได - การรกั ษาโรคคอพอกดว ยสาหรา ยทะเล (Marine Algae) สาหรา ยทะเลสนี า้ํ ตาล (Kelp) และตอมธัยรอยดจากสัตว - การรักษาโรคตามวั ในท่มี ืด (Night Blindness) ดวยตบั สตั ว - การรกั ษาวัณโรคดวยรกสัตว 3.3 การนาํ วชิ าเลนแรแ ปรธาตมุ าใชในการพัฒนาเภสัชเคมีภณั ฑ เกิดจากความพยายาม แสวงหายาอายุวัฒนะต้ังแตย คุ ตนราชวงศฉนิ ทําใหม กี ารพัฒนาวชิ าเลน แรแปรธาตุ สงผลใหมกี ารพฒั นา เภสัชเคมภี ัณฑใ นยุคเร่ิมแรก 3.4 การพัฒนาการปรงุ ยา มตี าํ รา เหลย ก งเผา จอื้ ลนุ 《雷公炮炙论》หรือ Leis Treatise on Medicinal Preparation หรือ ตาํ ราการปรุงยาของเหลย แนะนําการปรงุ ยา เพื่อเพม่ิ สรรพคุณ ลดพิษ และอาการขา งเคียง รวมทั้งการปรงุ ยาเพื่อใหใชไ ดง า ย และเกบ็ รักษาไดน าน 4) การพฒั นาเวชปฎบิ ตั ิ ในยคุ ราชวงศจ ้นิ ราชวงศส ยุ และราชวงศถงั มแี นวโนม การพัฒนา แพทยใหม คี วามชาํ นาญเฉพาะทางแขนงตาง ๆ ดังนี้

10 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบือ้ งตน 4.1 ตําราเวชศาสตรฉ กุ เฉนิ มกี ารรวบรวมและเขยี นตําราชือ่ สือโฮวจวิ้ จูฟาง《时后救 卒方》หรอื Emergency Formulae to Keep up Ones Sleeve หรอื ตํารายาฉุกเฉินสาํ หรับเก็บไวใ น แขนเส้อื โดยเกอหง (葛洪 Ge Hong) ซ่งึ นับเปน ตาํ ราปฐมพยาบาลเลม แรกของโลก ตั้งแตเ มือ่ 1,600 ป มาแลว 4.2 ตําราฝงเขม็ และรมยา มตี าํ ราฝง เข็มและรมยาช่อื เจินจวิ่ เจี่ยอ่จี ิง《针灸甲乙 经》 หรือ A-B Classic of Acupuncture and Moxibustion หรอื ตาํ รา เอ-บี คลาสสคิ เขียนในยคุ ราชวงศ ฉนิ โดย หวงฝูม่ี (皇甫谧 Huang Fumi) (ค.ศ. 215–282) เปนหนังสอื 12 เลม 128 บท แบง เปน 2 ภาค ภาคแรกเปนทฤษฎีพนื้ ฐาน ภาคสองเปนเวชปฏบิ ตั ิ นับเปน ตําราสาํ คัญของการแพทยจนี ในเรอ่ื ง ฝง เขม็ นบั จากคมั ภีรเนยจิง ตอมาในยคุ ราชวงศฉินตะวันออก เปากู (鲍姑 Bao Gu) ภรรยาของเกอ หง เปนแพทยห ญิงคนแรกของจนี ทชี่ าํ นาญเร่ืองฝงเขม็ และรมยา 4.3 ตาํ ราเฉพาะเรื่องทางศัลยศาสตร มีตาํ ราชอ่ื หลิวเจวยี นจือ่ กยุ อ๋ฟี าง《刘涓子鬼遗 方 》หรือ Liu Juanzi’s Remedies Left Over by Ghosts หรอื ตาํ ราผบี อกของหลวิ เจวียนจอื่ รวบรวมโดย กงชิง่ ซวน (龚庆宣 Gong Qingxuan) ในยคุ ราชวงศฉี เปนตาํ ราเลม แรกทมี่ เี นื้อหาเฉพาะ เร่อื งทางศลั ยศาสตร เปน หนังสือ 10 เลม เก่ียวกบั การรกั ษาบาดแผล ฝ ผวิ หนงั อักเสบ การบาดเจบ็ และโรคผวิ หนังตา ง ๆ มตี าํ รับการรกั ษา 140 ตํารบั ประกอบดว ยเรือ่ งการหามเลอื ด การระงบั ปวด ยา สมาน การบรรเทาพษิ และการระงับความรูสกึ เกอหง หวงฝูม่ี 4.4 ตาํ ราเฉพาะเรือ่ งการบาดเจบ็ มตี าํ ราช่อื เซียนโซวหลซ่ี างซมู ฟ่ี าง《仙授理伤续秘 方》หรือ Secret Formulae to Treat Traumatic Injury Given by Celestials หรือ ตํารบั ลับจาก เทวดาในการรกั ษาการบาดเจ็บ เขียนโดยนักพรตเตาช่อื ลน่ิ เตาเหริน (蔺道人 Lin Daoren) (ค.ศ.

ประวตั กิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป 11 790-850) เปนตาํ รารักษาการบาดเจบ็ เลม แรก กลาวถึงการวินิจฉยั และรกั ษาโรคกระดกู หกั ท้งั ชนดิ มีแผล ปด และเปดมกี ารแนะนาํ ใหใ ชฝ น ชวยระงับความรสู กึ เจบ็ ปวดในขณะดงึ จดั กระดกู ใหเขา ที่ 4.5 ตําราเฉพาะเร่อื งทางสตู ิศาสตร มีตําราชือ่ จิงเสีย้ วฉา นเปา《 经 效 产 宝 》หรอื Tested Prescriptions in Obstetrics หรือ ตํารับที่ทดสอบแลวทางสูติศาสตร (ค.ศ. 852) เขียนโดย จานยิน (昝殷 Zan Yin) ในคํานําของตําราบรรยายไววา ในปต า จง (大中 Dazhong) ซงึ่ ตรงกับ ค.ศ. 847 อคั รมหาเสนาบดี (PrimeMinister) ไปห มนิ จง (Bai Minzhong) ตระหนกั ถึงปญหาการคลอด ยากทพี่ บมากข้นึ จงึ สงคนออกไปตระเวนหาแพทยท ชี่ าํ นาญทางสูตกิ รรม ไดพบกบั จานยนิ จึงนําตวั ไปให อัครมหา-เสนาบดสี มั ภาษณด ว ยตนเอง จานยนิ ตอบคําสัมภาษณโ ดยรวบรวมเปนตาํ ราให 3 เลม อัคร มหาเสนาบดีไปพอใจวาเปน ตําราท่ีสั้นกระชบั ดี จึงตัง้ ชอื่ หนังสอื ให ตํารานปี้ ระกอบดว ยเนื้อหา 52 บท 317 ตาํ รบั - เลม แรก เปน ตํารารกั ษาภาวะขาดประจาํ เดอื น ตกขาวและความผิดปกติระหวา งตงั้ ครรภ - เลมสอง วา ดว ยความผิดปกติในการคลอด - เลมสาม วาดว ยความผิดปกติหลงั คลอด 4.6 ตําราเฉพาะเรื่องกุมารเวชศาสตร มีตําราชอื่ หลูซฺยงจิง《颅匈经》หรอื Manual of the Fontanel and Head หรือ คมู ือกระหมอ มและศรี ษะ เปนตําราทไี่ มทราบชอ่ื ผเู ขยี น นบั เปน ตาํ รา กมุ ารเวชศาสตรเ ลม แรกในยุคราชวงศสยุ และราชวงศถงั เปนหนงั สือ 2 เลม เลมแรก เปนเรอื่ งชีพจร ผิดปกติลกั ษณะตา ง ๆ ทงั้ ในผูใหญและในเดก็ เลมสอง อธบิ ายสาเหตแุ ละการรกั ษา 5) ระบบการศกึ ษาและการบริหารการแพทย ในยคุ น้มี พี ัฒนาการทสี่ ําคญั คอื ค.ศ. 581 ในยคุ ราชวงศส ยุ มีการกอตง้ั ไทอเี ว่ยี น (太医院 Imperial Medical Institute หรอื สถาบันแพทยห ลวง) ซึ่งประกอบดว ย 3 แผนก คอื แผนกยา การนวด และเวทมนต (Incantation) ค.ศ. 618 ในยุคราชวงศถัง กจิ การแพทยหลวงซง่ึ เดิมจาํ กัดขอบเขตงานอยูเฉพาะในวงั หลวง ไดข ยาย ออกไปท่ัวประเทศ มีการเร่มิ กจิ การโรงเรยี นแพทย เพ่มิ ระยะเวลาการฝก อบรมเปน แพทยแ ละผเู ช่ียวชาญ เฉพาะทาง เชน - อายุรแพทยทง้ั ระบบ เนน โรคภายใน (内科 Internal Medicine) ใชเ วลา 7 ป - อายุรแพทยภ ายนอก (外科 External Medicine) ใชเวลา 5 ป - กุมารแพทย ใชเ วลา 5 ป - แพทยรักษาโรคตา หู คอ จมูก ใชเ วลา 2 ป

12 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอื้ งตน มีระบบการสอบประจาํ เดือน ประจําภาค และประจําป สอบทัง้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ มี กรรมการจากภายนอกมารวมในการสอบไลประจาํ ป ผูเขา เรียนแพทยม กั เปนบุตรหลานขาราชการ สว นที่ เรียนเภสัชศาสตรมกั เปนบตุ รหลานชาวบาน การศกึ ษาการแพทยของจีนในยุคนี้มีความเปน ระบบมากกวา ระบบของโรงเรยี นแพทยส มยั แรกในอกี สองศตวรรษตอ มาของยุโรป เชน ท่ีซาเลอรโ น ประเทศอิตาลี (ค.ศ. 846) ในยคุ ราชวงศถ งั มีแพทยท ่มี ชี ื่อเสียง คอื 5.1 ซุนซือเหมี่ยว (孙思邈 Sun Simiao) (ค.ศ. 581-682) ขณะมีอายุ 71 ป (ค.ศ. 652) ไดแตงตาํ รา เชยี นจินเอี้ยวฟาง《千金要方》หรอื Thousand Ducat Formulae หรอื ตํารบั ยา พันเหรียญทอง เปนหนังสือ 30 เลม ตอมายังแตงตออีก 30 เลม ช่ือ ตํารา เชียนจินอ้ีฟาง《千金翼 方》หรือ Supplement to the Thousand Ducat Formulae หรอื ภาคผนวกตํารับยาพันเหรียญทอง นกั ประวตั ิศาสตรการแพทย เรียกตาํ ราชุดนว้ี า “สารานุกรมชุดแรกวาดวยเวชปฏบิ ัติในประวตั ิศาสตร การแพทยแ ผนโบราณของจนี (The First Encyclopedia of Clinical Medicine in the History of Traditional Chinese Medicine)” ตําราชดุ น้มี จี ุดเดน ทสี่ ําคัญ ดังน้ี - กลาวถงึ ตวั ยาถึง 4,000 ชนดิ ในฉบับเดิม และอีก 2,000 ชนิดในภาคผนวก - ใหค วามสนใจกบั การดแู ลสขุ ภาพของแมแ ละเดก็ - ใหค วามสําคญั กับโภชนบาํ บดั มุง เรื่องการสรางเสริมสขุ ภาพ โดยให “ทาํ งานเบา ๆ เปน ประจํา อยาหักโหมทํางานหนกั เกินกําลงั ” ใหค วามเอาใจใสกบั ตํารับยาพ้นื บา น สงเสริมการศกึ ษาเรือ่ ง จริยธรรมวชิ าชพี ซนุ ซอื เหมี่ยวไดรบั ยกยองเปน “เภสชั ยราชา (Medicine King)” 5.2 หวางถาว (王焘 Wang Tao) (ค.ศ. 670-755) ไดร วบรวมตาํ ราจากแพทยราว 70 คน มาเขยี นใหม ใชเวลา 10 ป เสรจ็ ใน ค.ศ. 752 คอื ตํารา ไวไถมี่เอีย้ วฟาง《外台秘要方》หรอื Arcane Essentials from Imperial Library หรอื ตาํ ราสาระล้ลี ับจากหอ งสมุดราชสํานกั เปน หนงั สือ 40 เลม 450 หวั ขอ 1,104 เร่อื ง ยา 6,700 ตํารบั การรมยา 7 ชนิด ใน 19 เร่ือง จุดฝง เข็ม 663 จุด ใน 19 เรอ่ื ง และเปนคร้งั แรกท่ีมกี ารบนั ทกึ เรื่องการชิมปส สาวะในผูป ว ยเบาหวาน

ประวัติการแพทยจนี โดยสงั เขป 13 ซนุ ซอื เหม่ียว หวางถาว ไวไ ถมเ่ี อีย้ วฟาง 5. ยคุ ราชวงศซง (宋代 Song Dynasty) ถงึ ราชวงศเ หวยี น (元代 Yuan Dynasty) (ค.ศ. 960-1368) ในยคุ ราชวงศซ ง เหนือ (ค.ศ. 960-1127) มีการคนพบทางวิทยาศาสตรท ่สี าํ คญั คือ การ คน พบดนิ ปน เข็มทิศ และการพิมพ คารล มารกซ (Karl Marx) (ค.ศ. 1818-1883) ไดก ลาวถึงการ คนพบทง้ั สามส่ิงนใี้ นหนังสอื การประยุกตท างการแพทยธ รรมชาตแิ ละวิทยาศาสตร (The Application of Medicine, Nature and Science) วา “ดินปนไดระเบิดชนช้นั นกั รบออกเปนเสีย่ ง ๆ และเข็มทิศได ถกู ใชเปดตลาดโลกและสรางอาณานิคม ขณะท่กี ารพิมพไ ดก ลายเปน เครือ่ งมือของการศึกษาใหม และ เครอ่ื งมอื ของการฟน ฟูวทิ ยาศาสตร และเปนคานงดั ท่ีแขง็ แรงทสี่ ุดซ่งึ เปน พืน้ ฐานสําคัญในการสรางและ พัฒนาจิตวญิ ญาณ” ในยุคดงั กลา วจีนเริ่มมีการพิมพธ นบตั รใช และมีการพฒั นาทงั้ ทางดา นดาราศาสตร และกลศาสตรอ ยา งกวา งขวาง อยา งไรกต็ ามในยคุ ราชวงศซ ง มกี ารปะทะทางความคดิ อยา งรนุ แรง ระหวา ง แนวคดิ ดั้งเดิมตามลทั ธขิ งจอ่ื กับความรใู หม ๆ (New learning) เหลา น้ี ในยคุ นี้ มพี ฒั นาการทางการแพทยหลายประการ ไดแ ก 1) การชาํ ระและพมิ พเผยแพรตําราแพทย มีการดาํ เนนิ การตามลําดบั ดังน้ี ค.ศ. 971 พระจกั รพรรดมิ ีพระราชโองการใหม ีโครงการพบปะสงั สรรคของนกั ปราชญผเู ชีย่ วชาญ ทางการแพทย (The Imperial Edict of Visiting Scholars with Outstanding Medical Skills) ค.ศ. 981 มพี ระราชโองการใหเสาะหาตําราแพทย โดยการซ้อื หามาเปนจํานวนมาก ค.ศ. 1026 มกี ารสะสมตาํ ราแพทยแ ละตาํ รับยาเพม่ิ เติมอกี มาก ค.ศ. 1057 จดั ตงั้ เส้ียวเจง้ิ อซี จู หฺ วี (校正医书局 The Proofing Bureau for Medical Books หรือ สาํ นกั งานชําระตาํ ราแพทย) ในสถาบนั แพทยฮ ่นั หลนิ ( 翰 林 医 官 院 The Hanlin

14 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบือ้ งตน Medical Officers Academy) ใชเ วลา 10 ป ระหวางป ค.ศ. 1068-1077 ชาํ ระตาํ ราแพทยโ บราณ เชน คัมภีรซ เู ว่นิ ถกู แกไ ขกวา 6,000 คาํ และมคี ําอธิบายเพิม่ เติมกวา 2,000 แหง ตาํ ราตาง ๆ ไดร ับการ ชําระและเผยแพร ทาํ ใหไ ดร บั ความเชือ่ ถอื เปน ตาํ ราอา งอิงตอ มาเปน เวลากวา 1,000 ป 2) การกอต้ังสํานักเภสัชวิทยาแหงชาติ มีการพัฒนาทั้งการผลิตและจาํ หนายยา เปลี่ยน ช่ือโรงงานผลิตยา (熟药所 Drug Processing Workshop) เปน ตาํ รับเวชปราณีการุณโอสถสถาน (Medical Grace Formulae Benevolent Dispensary) และเปลี่ยนชอ่ื สถานจาํ หนายยา เปน เวชการณุ โอสถสถาน (Medical Benevolent Dispensary) 3) การพัฒนาระบบการศกึ ษาแพทย สถาบันแพทยหลวงไดพ ฒั นาระบบการศึกษาแพทย โดย แบง นักศึกษาออกเปน 3 ระดับ มกี ารสอบเลอื่ นชั้นทุก 2 ป และแบงโรงพยาบาลของโรงเรยี นแพทยเ ปน 3 แผนก ไดแ ก - แผนกอายรุ ศาสตร สตู ศิ าสตร และกมุ ารเวชศาสตร - แผนกฝง เขม็ และรมยา - แผนกโรคภายนอก ซึง่ รวมถงึ ศลั ยศาสตร การรักษาการบาดเจ็บและการจดั กระดกู 4) การพัฒนาสตู รตํารับยาและเภสชั วทิ ยา มกี ารพัฒนาตําราทางเภสชั วิทยา และสตู รตํารับ ยาจํานวนมาก ไดแก - ตํารายา เปน เฉา กังมชู าํ ระใหมป ไคเปา (Kai Bao Newly Revised Compendium of Materia Medica) ซ่ึงตรงกบั ค.ศ. 973 โดย หลิวหาน (刘翰 Liu Han) ผเู ชี่ยวชาญทางเภสชั วิทยา หมาจ้ือ (马志 Ma Zhi) แพทยห ลวง และไจซฺวี่ (翟煦 Zhai Xu) กบั จางหฺวา (张华 Zhang Hua) ซงึ่ เปนสมาชกิ ราชบณั ฑติ ยสถาน (Imperial Academy) - ตํารา จงิ สอื่ เจิง้ เลย เ ปยจีเ๋ ปน เฉา 《经史证类备急本草》หรือ Classic and Historical Classified Materia Medica for Emergency หรอื ตาํ รับยาแบบดั้งเดิมและการแบง ประเภทตาม ประวตั เิ พอื่ โรคฉกุ เฉนิ (ค.ศ. 1056-1093) แตงโดย ถงั เซน่ิ เวย (唐慎微 Tang Shenwei) เปน หนังสอื 32 เลม มีตวั ยา 1,558 ชนิด โดยเปนยาใหม 476 ชนดิ - ตาํ รา ไทผ ิงเซิง่ หยุ ฟาง《太平圣惠方》หรือ Peaceful Holy Benevolent Formulae หรอื ตํารับยาการุณสวรรคสนั ติ (ค.ศ. 987-992) รวบรวมโดย หวางหวฺ านอ่หี นง (Wang Huanyinong) ตามพระราชโองการของจกั รพรรดริ าชวงศซง เปน หนงั สือ 100 เลม 1,670 เรื่อง และ 16,834 ตาํ รับ

ประวัติการแพทยจีนโดยสังเขป 15 - ตํารา ไทผิงหยุ หมนิ เหอจจี้ ฺหวฟี าง《太平惠民和剂局方》หรือ Formulae of the Peaceful Benevolent Dispensary หรอื ตาํ รบั ยาของการณุ สนั ตโิ อสถสถาน (ค.ศ. 1102-1106) ตอ มา มีการแกไขปรับปรงุ เปล่ียนชอ่ื ใหมเ ปน ตํารับสาํ หรับโอสถสถาน (Formulae of the Dispensary) เปน หนังสือ 5 เลม 21 เร่ือง และ 297 ตาํ รับยา ปจจุบันไดมกี ารแกไ ขเพมิ่ เตมิ เปน 10 เลม 14 เรือ่ ง 788 ตํารับยา ทงั้ นตี้ ํารับยาในตํารานี้จะประกอบดวยตวั ยาหลายชนิด - ตํารา เซิ่งจจ่ี ง ล《ู 圣济总录》หรือ The Complete Record of Holy Benevolence หรือ บนั ทกึ ฉบับสมบรู ณแ หงสวรรคการุณย (ค.ศ. 1111–1117) รวบรวมโดยคณะแพทยแหงราชวงศซ ง เปนหนังสือ 200 เลม ประมาณ 20,000 ตํารบั และ 66 กลมุ 5) การพฒั นาการแพทยเ ฉพาะทางแขนงตา ง ๆ ไดแ ก 5.1 สาเหตขุ องโรค มี ตําราเรอื่ งสาเหตุของโรค คอื คําอธบิ ายเรอื่ งโรค กลมุ อาการและ ตาํ รายาเก่ยี วกบั การผนวกรวมสาเหตโุ รคสามกลุม《三因极一病证方论》หรอื Discussion of Illness, Syndromes and Formulae Related to the Unification of the Three Groups of Pathogenic Factors เขียนโดย เฉนิ เอย๋ี น (陈言 Chen Yan) 5.2 การฝงเข็มและรมยา ในป ค.ศ. 1027 มีการหลอ รปู บรอนซขนาดเทา คนจริงจํานวน 2 รูป แสดงจุดฝงเข็ม 657 จุด และเปดดูอวัยวะภายในได รูปหนึ่งวางไวใหนักศึกษาใชเปนอุปกรณ การเรียนในโรงเรียนแพทย อีกรูปหนึ่งเก็บไวที่พระตาํ หนักเหรินจ่ี (仁济殿 Ren Ji Palace) ใน วัดตา เซียงกวั๋ (大相国Ta Xiangguo Temple) นอกจากน้ยี ังมกี ารเขียนตาํ ราฝง เข็มและรมยาเผยแพร อกี หลายชดุ 5.3 วชิ านรเี วชวทิ ยา มตี ําราท่สี ําคญั ไดแ ก - ตาํ รา สอื ฉานลุน 《十产论》หรอื Treatise on Ten Obstetric Problems หรือ ตําราเร่ืองสบิ ปญหาทางสูติศาสตร (ค.ศ. 1078) เขียนโดย หยางจือ่ เจี้ยน (杨子建 Yang Zijian) - ตาํ รา ฟเู หรนิ ตาฉวนเหลยี งฟาง《妇人大全良方》หรอื Complete Effective Formulae for Woman หรอื ตํารับทีไ่ ดผ ลสมบูรณสําหรบั สตรี (ค.ศ. 1237) เขียนโดย เฉนิ จอื้ หมงิ (陈 自明 Chen Ziming) อธบิ ายความผดิ ปกติ 260 เร่อื ง 24 กลุม โดย 19 กลุมเปน เร่อื งทางนรเี วช ท่ี เหลืออกี 5 กลุมเปน เรอ่ื งทางสตู ศิ าสตร 5.4 วิชากุมารเวชศาสตร มีตาํ ราชื่อ เส่ียวเออรเหยาเจ้ิงจ๋ือจฺเหวีย《小儿药证直诀》 หรือ Key to Syndrome Identification and Treatment of Diseases in Infants หรือ กญุ แจการ

16 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน วนิ ิจฉัยกลุมอาการและการรกั ษาโรคในทารก เขยี นโดย เฉยี นอ่ี (钱乙 Qian Yi) (ค.ศ. 1032-1113) เปน หนงั สอื 3 เลม ดงั นี้ - เลม แรก เปนเรอ่ื งการรกั ษาโรคตามการวินิจฉัยกลมุ อาการ และภาวะชพี จร - เลมสอง เปนกรณศี ึกษาผปู ว ย 23 ราย ทผ่ี เู ขียนเคยรักษา - เลม สาม เปน รายการยาที่ใชบ อ ย ความเขา กันของยา และการบริหารยา เฉยี นอ่ีเนนการวนิ จิ ฉัยโรคดวยการดู (Inspection) โดยการสังเกตลกั ษณะผิวหนัง สภาพ ของใบหนา และดวงตา นอกจากนี้ มีการพฒั นาวธิ ีการวนิ จิ ฉยั โรคโดยการสังเกตหลอดเลอื ดดําใตผ วิ หนงั บนนิว้ ช้ขี องเด็ก โดย หลิวฝาง (刘昉 Liu Fang) เขียนในตาํ รา เสีย่ วเออ รปง เหวียนฟางลนุ 《小儿病 源方论》หรือ A Newly Compiled Book on Pediatrics หรือ ตํารารวมเลมใหมในกุมารเวชศาสตร อธิบายลกั ษณะ 3 ประการของหลอดเลือดดาํ หลงั น้ิวชเ้ี ดก็ ตอ มาไดม ีการพฒั นาพบลกั ษณะตาง ๆ เพม่ิ เปน 10 ประการ ทบี่ งบอกโรคของอวยั วะภายในตา ง ๆ เฉียนอี่ เส่ยี วเออ รเ หยาเจงิ้ จือ๋ จฺเหวยี 5.5 ศลั ยศาสตรและวทิ ยาการบาดเจ็บ หรือ ซางเคอเสฺวยี (伤科学 Traumatology) มี ตําราช่อื ไวเคอจงิ เอย้ี ว《外科精要》หรอื Essentials of External Diseases หรอื ตําราเรอ่ื งสาํ คญั เก่ยี วกับโรคภายนอก (ค.ศ. 1263) เขยี นโดย เฉนิ จอ้ื หมิง (陈自明 Chen Ziming) และมกี ารบนั ทึก เกีย่ วกบั โรคมะเร็งเปนครัง้ แรกในตํารา เวย จเ้ี ปาซู 《卫济宝书》หรือ Treasured Book for Health Care หรือ ตาํ ราขมุ ทรัพยเ พ่อื การดแู ลสขุ ภาพ นอกจากน้ี มกี ารรักษากระดกู สนั หลงั หกั โดยการแขวน ถว งนาํ้ หนกั กอ นทแ่ี พทยช าวองั กฤษชื่อ เดวิส (Davis) จะกลา วถงึ วิธกี ารจดั ใหเ ขา ที่โดยการแขวน (Reduction by Suspension) เปนเวลาถึง 600 ป และมกี ารใชเ ฝอ กไม 4 ชนิ้ เพ่อื รกั ษากระดกู หกั

ประวตั ิการแพทยจนี โดยสงั เขป 17 5.6 การพัฒนาดา นนิตเิ วชศาสตร มีตาํ รานติ ิเวชศาสตรช อ่ื ส่วี านจีล๋ 《ู 洗冤集绿》หรอื Records of Washing Away the Injustice หรือ บนั ทึกการขจดั ความอยุตธิ รรม เขยี นโดย ซงฉอื (宋 慈 Song Ci) (ค.ศ. 1186-1249) เปนหนงั สือ 4 เลม ดังน้ี - เลมแรก เปนเรอ่ื งพนื้ ฐานนิติเวช การผา ศพพิสูจน และการวิเคราะหเหตุการณข อง การบาดเจบ็ - เลม สอง แยกแยะสาเหตขุ องการมีบาดแผลและการตาย วาบาดแผลเกดิ กอ นหรอื หลงั ตาย เปนการฆาตัวตายหรือฆาตกรรม - เลม สาม วา ดวยยาพิษ ทง้ั จากสตั วห รือแรธ าตุ ท่ใี ชฆ า ตัวตายหรือฆาตกรรม - เลม ส่ี วา ดว ยวธิ แี กพ ษิ และภาวะฉกุ เฉนิ ตาง ๆ 6. ยุคพัฒนาการแพทยและเวชปฏิบัตแิ ผนใหม ชวงยคุ ราชวงศห มิง (明代 Ming Dynasty) และราชวงศชงิ (清代 Qing Dynasty) กอนสงครามฝน (ค.ศ. 1368-1840) เหตกุ ารณใ นยคุ นี้ท่มี ีผลกระทบตอ พฒั นาการแพทยข องจีน ไดแ ก ในป ค.ศ. 1371-1435 ขันที เจิง้ เหอ (郑和 Zheng He) หรอื ซนั เปา กง (三宝公 San Bao Gong) ไดออกเดินทางทอ งทะเล ไปตลอดทะเลจนี ใตถ งึ อนิ เดยี และกวา 30 ประเทศในตะวนั ออกกลางและแอฟริกา ทาํ ใหป ระเทศจนี ได แลกเปล่ียนวิทยาการและการแพทยกับประเทศตาง ๆ แตขณะเดียวกัน ก็มีการปดก้ันควบคุมบรรดา ปญญาชน โดยในราชวงศหมิงและราชวงศชิงไดจ ัดระบบการสอบคดั เลือกขา ราชการ มกี ารสอบถงึ 8 ภาค และมีความพยายามปด กน้ั ขดั ขวางกระแสทนุ นิยมโดยการใชน โยบายปดประเทศดว ย พัฒนาการดานตา ง ๆ ทางการแพทยท ส่ี าํ คญั ในยุคน้ี มีดังนี้ 1) การพัฒนาตาํ ราการแพทยและเภสชั ตํารบั ไดแ ก - ตํารายา เปน เฉากังม《ู 本草纲目》หรือ Compendium of Materia Medica (ค.ศ. 1578) เขียนโดย หลี่สอื เจิน (李时珍 Li Shizhen) (ค.ศ. 1518-1593) โดยใชเ วลากวา 30 ป ศกึ ษา ตาํ รากวา 800 เลม เขียนตําราน้เี สรจ็ เมื่อมีอายุได 60 ป และพมิ พเ ผยแพรครัง้ แรกใน ค.ศ. 1596 เปน หนังสือรวม 52 เลม กลาวถงึ สมุนไพร 1,892 ชนดิ โดย 374 ชนิดเปน รายการใหมเ พิ่มจากตํารา เดิม มีภาพประกอบกวา 1,160 ภาพ เปนตํารับยากวา 11,000 ตาํ รบั และตาํ รับยากวา 8,160 ตาํ รับ เขยี นจากประสบการณของเขาเอง มีการจดั หมวดหมูของสมนุ ไพรใหมที่เปนวทิ ยาศาสตรดวย ทัง้ น้ี ดารวิน (Davin) ไดอางองิ ขอ มลู เรือ่ งปลาทอง (Golden Fish) และไกดํา (Blackbone Chicken) จาก ตาํ ราชดุ น้ดี วย ดารว นิ เรียกตาํ รานีว้ า สารานกุ รมจนี โบราณ (Encyclopedia of Ancient China)

18 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน หล่ีสือเจิน เปนเฉากงั มู ตอมา จาวเสวยี หมน่ิ (赵学敏 Zhao Xuemin) (ค.ศ. 1716-1805) ไดเขียนตํารา เปน เฉา กงั มสู ืออ《ี๋ 本草纲目拾遗》หรือ An Addendum to the Compendium of Materia Medica หรือ ภาคผนวกของตํารายาเปน เฉากังมูของหลส่ี ือเจิน โดยใชเวลาราว 40 ป ทบทวนตาํ รากวา 600 เลม - ตํารา จือ๋ อูหมิงสอื ถูเขา 《植物名实图考》หรือ Illustrated Investigation of Names and Natures of Plants หรอื หนังสอื ภาพการสบื คน ช่ือและธรรมชาติของพืช เขียนโดย หวูฉีจุน (吴其 浚 Wu Qijun) (ค.ศ. 1789-1847) ซึ่งเปน ขา ราชสํานักตําแหนงสงู และมโี อกาสเดนิ ทางไปหลายมณฑล กวา ครึ่งประเทศ เชน สานซี (陕西) หูเปย (湖北) หูหนาน (湖南) เจียงซี (江西) ซีจ้ัง (西藏) ฝู เจี้ยน (福建) ยฺหวนิ หนาน (云南) และกยุ โจว (贵州) เปน ตน เขาสนใจศกึ ษาสมนุ ไพรของทอ งถิ่น ตา ง ๆ และศกึ ษาตาํ รากวา 800 เลม ซ่งึ ในครง้ั แรกไดร วบรวมพืชกวา 780 ชนดิ ตอมาปรับปรงุ ใหมเ ปน หนงั สือถงึ 38 เลม กลาวถงึ พืช 1,714 ชนดิ - ตาํ รา ผจู ี้ฟาง《普济方》หรอื Prescription for Curing All People หรือ ตาํ รับยาเพอื่ รักษาทุกคน (ค.ศ. 1406) เปนหนงั สอื 168 เลม แบง เปน กวา 100 หวั ขอ 2,175 หวั ขอ ยอ ย ตาํ รบั ยากวา 61,000 ตาํ รบั รวมตัวอักษรราว 10 ลา นอกั ษร - หนังสือ อีฟางเขา《医方考》หรอื Verification of Formulae หรือ หนังสือการทดสอบ ตาํ รบั ยา (ค.ศ. 1584) เขียนโดย หวคู ุน (吴琨 Wu Kun) (ค.ศ. 1551-1602) เปนหนังสือ 6 เลม 72 หวั ขอ เปน หนังสอื ทไี่ ดร บั ความนยิ มมาก ตอ งพิมพซ าํ้ ประมาณ 10 ครัง้ - หนังสอื อีฟางจเี๋ จี่ย《医方集解》หรือ Collection of Formulae and Notes หรอื หนงั สือรวบรวมสูตรตํารบั และบนั ทกึ เขียนโดย วางหมา ว (汪昴 Wang Mao) แบงเปน 21 หวั ขอ 300 ตาํ รับ

ประวตั กิ ารแพทยจีนโดยสงั เขป 19 - ตาํ ราเกี่ยวกับไข หลายเลม ไดแก ตํารา ซางหานลนุ 《伤 寒 论 》หรือ Treatise of Febrile Diseases หรอื ตาํ ราโรคไข ตาํ รา ซอื เรอเถยี วเปย น《 湿 热 条 辨 》หรือ Systematic Differentiation of Damp Heat Syndromes หรือ ตําราการแยกกลมุ อาการรอนชื้นอยา งเปนระบบ ตํารา เวินปงเถยี วเปยน《温病条辨》Systematic Differentiation of Febrile Diseases หรือ ตาํ รา แยกโรคไขอ ยา งเปนระบบ และ ตาํ ราโรคระบาดฉบบั ยอ (Compendium on Epidemic Febrile Diseases) 2) การพัฒนาทฤษฎีโรคระบาด และการปลกู ฝ ในยุคราชวงศหมิง และราชวงศช งิ เกิดโรคระบาดขน้ึ หลายครง้ั มีโรคระบาดเกิดข้นึ ราว 64 ครัง้ ในชว ง 276 ปข องยุคราชวงศห มงิ และ 74 คร้ัง ในชว ง 266 ปของยคุ ราชวงศชงิ จึงมกี ารพฒั นาตาํ ราที่ เกี่ยวของกบั โรคระบาด คอื ตํารา เวนิ อ่ีลนุ 《温疫论》หรอื Treatise of Pestilence หรือ ตําราโรคไข ระบาด เขยี นโดย หวูโหยว ซงิ่ (吴有性 Wu Youxing) เปนหนังสือ 2 เลม วางทฤษฎีพนื้ ฐานเร่อื งโรค ระบาด ในคาํ นําบรรยายสาเหตุของโรคระบาดวา โรคระบาดมิไดเกดิ จากลม ความเย็น ความรอ น หรอื ความชนื้ แตเ กิดจากเหตุผดิ ปกติของดินฟาอากาศเปนพษิ จากการเปลย่ี นแปลงตามฤดกู าล (ตาํ ราการแพทย จีนดงั้ เดิม เชื่อวา โรคเกิดจากเหตธุ รรมชาติ 6 ประการ ไดแ ก ลม ความเย็น ความรอ น ความช้ืน ความ แหง และไฟ) นอกจากน้ี ยังเชือ่ วา เชอื้ โรคระบาดเขา สูรางกายทางจมกู และปาก หวูโหยว ซ่งิ ยงั สงั เกตเหน็ วา โรคระบาดเกิดในคนและสัตว ไมเ หมือนกัน “วัวปวยในขณะท่ีเปดไมป ว ย และคนปวยในขณะที่สัตว ไมป ว ย” หวูโหยว ซง่ิ (หวอู วิ้ เขอ) สาํ หรบั การบุกเบกิ เรื่องการปลกู ฝปองกันไขท รพษิ มผี บู ันทกึ วาคนจนี ในอําเภอไทผิง (太平 Taiping) มณฑลหนงิ กว๋ั ฝู (Ningguofu) ซึง่ ปจจบุ นั คอื มณฑลอนั ฮุย (安徽 Anhui) รจู ักวิธกี ารปลกู

20 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบ้ืองตน ฝป องกนั ไขท รพิษมาต้ังแตร ัชสมยั หลงชงิ (隆庆 Long Qing) แหง ราชวงศหมิง (ค.ศ. 1567-1572) ในยคุ ราชวงศชงิ มีหนงั สือทก่ี ลาวถงึ ตาํ นานท่ีมาของการปองกันไขท รพษิ ในประเทศจีน 2 เลม คอื หนังสือ ตาํ ราอา งอิงใหมเกยี่ วกบั การปลกู ฝใ นมนษุ ย (New Text About Human Variolation) (ค.ศ. 1884) แตงโดย หวูหรงหลุน (武荣纶 Wu Rong Lun) และตงยฺวซี่ าน (董玉山 Dong Yushan) บันทึกไวว า “จากการสืบคน หนงั สอื เกา ๆ พบศัพทท างการแพทยเ กย่ี วกบั การปลกู ฝในคน ใน ชว งสมัยถงั ไคเยฺวียน (Tang Kaiyuan) จา วสือ (Zhao Shi) ซ่งึ อาศัยอยทู างตอนเหนอื ของลมุ นา้ํ แยงซี ไดใชวธิ พี นผงแหง หรือที่ทําใหช ุม ของสะเก็ดแผลไขท รพิษ เขา ไปในเยอื่ บจุ มูกของเดก็ ท่ีปกติ” หนังสือเลม ดงั กลาวไดก ลา วถึงการปลูกฝใ นจนี วา เรมิ่ ตง้ั แต ค.ศ. 713-741 หนังสืออีกเลม คือ ตําราไขท รพิษ (Treatise on Pox) (ค.ศ. 1713) เขยี นโดย จูชุนเซ่ยี (Zhu Chunxia) แพทยราชสาํ นกั แหงสถาบนั แพทยหลวง กลาวไววา การปลูกฝเริ่มตนมาจาก หมอเทวดา (Divine Doctor) แหงภูเขาเออรเหมย (娥眉 Emei) ตัง้ แตรชั สมัยซง เจินจง (宋真宗 Song Zhenzong) (ค.ศ. 1023-1063) ตาํ นานมไิ ด กลา วถงึ วิธกี ารปลกู ฝ แตเลาวา หวางตาน (王旦 Wang Dan) อคั รมหาเสนาบดีของราชสาํ นกั ซงเจินจง ไดนําวธิ จี ากหมอเทวดามาปลูกฝใ หก บั ลูกของตนเอง หลังจากลูกหลายคนของเขาตอ งตายไป เพราะไข ทรพิษ ตํานานทง้ั สองเร่อื งนไี้ มมีหลกั ฐานพสิ ูจน จึงไมใ ครไ ดร บั ความเช่อื ถอื วธิ ีการปลูกฝข องจนี เผยแพรไปใชในญ่ีปนุ ค.ศ. 1652 และเขา สรู ัสเซีย ค.ศ. 1688 3) การพฒั นาเวชปฏิบัติ ในยุคราชวงศหมงิ และราชวงศช ิง มีการพฒั นาเวชปฏบิ ัติแขนงตา ง ๆ ท้ังอายุรศาสตร ศัลยศาสตร วิทยาการบาดเจ็บ สูติศาสตร นรีเวชวิทยา กุมารเวชศาสตร จักษุวิทยา ทันตกรรม ลาริงซวทิ ยา และวทิ ยาการฝง เข็ม มตี าํ ราแพทยหลายชุดเขยี นข้นึ ในยคุ น้ี เชน - ตาํ รา อวิ้ อวิ้ จี๋เฉิง《幼幼集成》หรือ A Complete Work on Pediatrics หรือ ตํารา กุมารเวชศาสตรฉ บับสมบูรณ (ค.ศ. 1750) เขียนโดย เฉินฟเู จิ้ง (陈复正 Chen Fuzheng) โดยเขยี น จากประสบการณร าว 40 ป อธบิ ายลักษณะหลอดเลือดดําท่ีนวิ้ ชีใ้ หส มบรู ณข ้นึ เนนการรักษาดวยยา ภายนอกมากกวา ยาภายใน - ตําราเปา อิงชวั เอย้ี ว《保婴撮要》หรือ Synopsis of Caring for Infants หรือ ตําราดแู ล ทารกฉบบั ยอ เขยี นโดยสองพอ ลกู เซฺวยี ไข (薛铠 Xue Kai) และ เซวฺ ยี จี่ (薛己 Xue Ji) เปน หนงั สอื 20 เลม กลาวถึงโรคตา ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกของเดก็ กวา 700 เรือ่ ง มเี รื่องวิธีการปองกันบาดทะยกั ในเดก็ แรกเกดิ โดยการจ้ีสายสะดอื ที่ตัดออกดว ยความรอน

ประวตั ิการแพทยจนี โดยสังเขป 21 4) การรวบรวมและชําระตาํ ราแพทยด งั้ เดมิ มกี ารรวบรวมและชําระตาํ ราแพทยดงั้ เดมิ อยา ง กวา งขวาง โดยเฉพาะคมั ภรี เ นยจ งิ (Classic of Internal Medicine) และตาํ ราซางหานลนุ (Treatise on Febrile Disease) โดยทําใหกระชับและชดั เจนขน้ึ จนไดร บั ความนิยมอยา งกวา งขวางในเวลาตอ มา ในยุคตนราชวงศชงิ ตําราแพทยต าง ๆ ตาํ ราด้ังเดิมกวา 120 เลม ไดรับการจัดหมวดหมู เพอ่ื ใหอา งองิ ไดส ะดวก จัดทาํ เปนหนังสอื รวม 520 เลม เน้ือหาครอบคลุมตั้งแตบ นั ทกึ ทางการแพทยส มยั ดงั้ เดมิ การวนิ จิ ฉยั โรค การรักษา ทฤษฎีพนื้ ฐานของโรคแขนงตา ง ๆ การประกอบโรคศิลปะ บันทึก เหตกุ ารณแ ละประวัติแพทยท่มี ชี อ่ื เสยี ง รวมทง้ั ทฤษฎีและวธิ กี ารปรงุ ตาํ รับยา ตําราสําคัญจากการรวบรวมและชาํ ระตําราแพทยดง้ั เดิม คือ ตํารา อีจงจนิ เจี้ยน《医宗金 鉴》หรอื ตาํ ราการแพทยฉ บบั ราชสาํ นกั (ค.ศ. 1739) รวบรวมและชาํ ระโดยแพทยราชสาํ นกั แหงราชวงศ ชิง มี หวเู ชยี น (吴谦 Wu Qian) เปนหวั หนาคณะ จัดทาํ เปนหนงั สอื 90 เลม หลงั การสถาปนารฐั จนี ใหมใน ค.ศ. 1949 สถาบนั แพทยราชสาํ นัก (The Institute of the Imperial Physicians) จดั ใหตาํ รา ชุดนี้เปนตําราอางอิงของนกั ศกึ ษา นอกจากนี้ ยังมีการรวบรวมบันทึกเวชปฏิบตั ิของแพทย เชน - หนังสือ กจู ินอีถง 《古今医统》หรือ A Great Collection of Medical Works, Ancient and Modern หรือ หนงั สอื รวบรวมผลงานทางการแพทยค รง้ั ใหญท ั้งโบราณและปจ จบุ นั (ค.ศ. 1556) รวบรวมโดย สวีชุนฝู (徐春甫 Xu Chunfu) - หนังสอื เจงิ้ จ้ือจุนจเฺ หวยี 《证治准绝》หรอื Standard of Diagnosis and Treatment (ค.ศ. 1602) โดยหวางเขนิ่ ถัง (王肯堂 Wang Ken Tang) - หนังสอื จิ่งเยว่ียฉวนซู《景岳全书》หรือ Complete Works of Zhang Jingyue หรอื หนังสือผลงานฉบบั สมบูรณข องจางจ่งิ เยวยี่ (ค.ศ. 1624) โดย จางเจย้ี ปน (张介宾 Zhang Jiebin) เปนหนงั สอื 64 เลม รวมกวา 1 ลา นตวั อกั ษร - หนังสือ หมิงอีเลย อนั้ 《名医类案》หรอื Classified Medical Records of Famous Physicians หรือ หนงั สือเรียบเรยี งการบันทกึ ทางการแพทยอ ยา งเปนระบบของแพทยผ มู ีช่ือเสียง (ค.ศ. 1549) รวบรวมโดย เจียงกวน (江瓘 Jiang Guan) โดยใชเ วลาทาํ งานกวา 20 ป รวบรวมบนั ทึกและ เขยี นคาํ วิจารณ แตท ําไดเพียง 12 เลม ก็เสียชวี ิต เจยี งยิง่ ซู (Jiang Yingsu) ผเู ปน บุตรใชเวลาทํางานสืบ ทอดตอมาอกี 19 ป จงึ เสรจ็ และตีพิมพเผยแพรไดใน ค.ศ. 1591 หนังสือนไ้ี ดร ับความนยิ มและตีพิมพซา้ํ หลายครง้ั

22 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน - หนังสอื ซหู มิงอเี ลย อนั้ 《 续 名 医 类 案 》หรอื Supplements to the Classified Medical Records of Famous Physicians หรือ ภาคผนวกหนงั สอื เรียบเรียงการบนั ทึกทางการแพทย อยา งเปนระบบของแพทยผูมีชื่อเสียง (ค.ศ. 1770) และหนังสือ คาํ อภิปรายเร่ืองเวชปฏิบัติในหลิวโจว 《柳州医话》หรอื Discussion of Medical Practice in Liu Zhou รวบรวมโดย เวยจ อื ซวิ่ (魏之 绣 Wei Zhixiu) จางจงิ่ เยว่ีย หวางเขิ่นถัง 5) การแลกเปลี่ยนทางการแพทยก บั ตา งประเทศ ในยุคราชวงศห มงิ และราชวงศช งิ มีการ แลกเปล่ียนทางการแพทยของจนี กับประเทศเพื่อนบาน คอื ประเทศญป่ี ุน และเกาหลี โดยสวนใหญญ่ีปุน และเกาหลรี ับถายทอดวิทยาการจากจนี ขณะเดียวกนั วทิ ยาการทางการแพทยของตะวนั ตกไดเ ผยแพรเ ขา สจู ีนท้งั วชิ ากายวภิ าคศาสตร สรีรวทิ ยา เภสชั วิทยา และอ่นื ๆ แตม ีอทิ ธพิ ลตอ การแพทยจ นี ไมมากใน ขณะที่การแพทยจ นี เริ่มเผยแพรเขา สูยุโรปโดยผานทางคณะมิชชันนารี เชน มเิ ชล บอยม (Michel Boym) ตีพมิ พหนงั สือชอ่ื พรรณไมจ ีน (Chinese Flora) (ค.ศ. 1643) เปน ภาษาละตินโดยเนื้อหาสว นใหญไ ดมาจากตํารายาเปนเฉากงั ม《ู 本草纲目》หรือ Compendium of Materia Medica ของหลสี่ อื เจนิ อาร พี แฮรริว (R.P. Harrieu) ตพี มิ พหนังสือ ความลับของการแพทยจีนดัง้ เดิม (Secret Classic of Traditional Chinese Medicine) (ค.ศ. 1671) พมู เิ กอร (Pumiger) แปลหนงั สอื อหี มงิ เหอจงก๋ัวมา ยหล《ี่ 医明和中国脉理》หรือ Medical Guide and Traditional Chinese Medicine Pulse Theory หรอื คูมอื ทางการแพทยแ ละ ทฤษฎีชีพจรการแพทยจีน เปน ภาษาละตนิ ใน ค.ศ. 1680 และพมิ พเผยแพรใ นประเทศเยอรมนี

ประวัตกิ ารแพทยจนี โดยสงั เขป 23 เคลอเยอร (Cleryer) รวมงานแปลของพมู เิ กอรเ รือ่ งชพี จรของจนี การตรวจลิน้ สมนุ ไพรจนี 289 ชนดิ และภาพเสนชพี จร 68 ภาพ ตีพมิ พหนงั สือ ตวั อยา งการบาํ บัดโรคของจนี (中国医法齐例 Examples of Chinese Medical Therapies) เปน ภาษาละตนิ ใน ค.ศ. 1682 ท่ีเมืองแฟรงเฟร ต ประเทศเยอรมนี ในศตวรรษที่ 17 แพทยชาวตะวนั ตกเรมิ่ นาํ วชิ าฝงเขม็ และรมยาไปใช กลา วคอื ค.ศ. 1671 มีการตพี ิมพต าํ รารมยาออกมา 2 เลม ในประเทศเยอรมนี เลม หน่งึ เขยี นโดย เกลฟูซสุ (Geilfusius) อกี เลม หนึง่ เขยี นโดย บูสชอฟ (Busschof) เซอรจอหน ฟลอเยอร (Sir John Floyer) แพทยช าวองั กฤษเขยี นรูปแบบการจบั ชีพจรของ แพทย (Form of Doctor’s Feeling the Pulse) เจ เอ เกหม า (J.A. Gehma) ตพี มิ พห นงั สือ การประยุกตวิธีรมยาของจีนในการรกั ษาอาการ ปวดขอ จากโรคเกา ท (应用中国灸术治疗痛风 Application of Chinese Moxibustion to Treat Migratory Arthralgia) (ค.ศ. 1683) โดยพมิ พทเี่ มืองฮมั บูรก (Hamburg) ประเทศเยอรมนี 7. ยุคการแพทยสมยั ใหม จากสงครามฝน การสถาปนาจีนใหม จนถึงปจ จุบนั ( 现 代 Modern Age) (ค.ศ. 1840–ปจจุบนั ) 1) การยอมรบั การแพทยตะวนั ตก ประวัติศาสตรจีนในชวงยุคนี้ การแพทยตะวันตกมีผลกระทบอยางมากตอการแพทยจีน เร่มิ ตน จากการเกิดสงครามฝนระหวางจีนกับชาตติ ะวันตก 2 คร้ัง คือ ครง้ั แรกทาํ สงครามกบั ประเทศ องั กฤษ (ค.ศ. 1840-1842) และครั้งท่ีสองทาํ สงครามกับประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส (ค.ศ. 1856-1860) กอนสงครามฝน การแพทยตะวนั ตกในประเทศจีนถกู ปดก้ัน มกี ารตงั้ สถานพยาบาลการแพทย ตะวันตกบางเพยี งเลก็ นอ ยเทานัน้ เชน โธมสั อาร คอลเลดจ (Thomas R.Colledge) แพทยข องบริษทั บริติชอสิ ตอินเดีย เริ่มตงั้ โรงพยาบาลมิชชนั นารแี หง แรกทีเ่ มืองมาเกา (Macau) และใน ค.ศ. 1834 ป เตอร ปารเ กอร (Peter Parker) (ค.ศ. 1804-1888) แพทยบาทหลวงชาวอเมริกันถกู สง ไป ท่เี มืองกวาง เจาและจัดต้ังโรงพยาบาลตา แตหลังสงครามฝน จีนตกอยูในฐานะกึ่งเมืองขึ้น มีการต้ังโรงพยาบาล มิชชันนารีเปนจํานวนมาก ระหวาง ค.ศ. 1828-1949 มโี รงพยาบาลมชิ ชนั นารมี ากถงึ 340 แหง เคทเบอรี โจนส (Katebury Jones) เขยี นถงึ บทบาทของโรงพยาบาลเหลา นไ้ี วใ นหนังสือ บน คมมีดผา ตดั (On the Edge of the Operating Knife) (ค.ศ. 1935) ตพี มิ พท่ีนครเซ่ียงไฮ (上海 ซา ง ไห) วา “สําหรับนายแพทยป เ ตอร ปารเกอรแ ลว มีดผาตัดของเขาทาํ หนาทฟ่ี นบานประตูจีนใหเ ปดออก

24 ศาสตรการแพทยแผนจีนเบื้องตน ขณะท่กี ระสุนปน ของตะวนั ตกพังทลายไมไ ด” สมาคมแพทยนกั สอนศาสนาอเมรกิ ัน (American Medical Preaching Association) ตง้ั โรงเรียนแพทยต ะวันตกแหงแรกขนึ้ ทเ่ี มอื งกวางเจา ใน ค.ศ. 1866 ชาวจนี เองก็ไดตัง้ โรงเรียนแพทย ตะวนั ตกขึน้ ทีเ่ ทียนสนิ เมือ่ ค.ศ. 1881 และต้ังโรงเรยี นแพทยต ะวันตกขนึ้ ในมหาวทิ ยาลยั ปกกิ่ง ใน ค.ศ. 1903 ซ่ึงตอ มาไดแ ยกตวั ออกจากมหาวทิ ยาลยั เปน โรงเรียนแพทยปก กิ่ง เม่อื ค.ศ. 1906 หลงั “สัญญาสนั ติภาพ” (ค.ศ. 1901) ระหวา งจีนกับองั กฤษ สหรฐั อเมริกา เยอรมนี และ ฝร่งั เศส มกี ารตง้ั โรงเรียนแพทยข ึ้นหลายแหง เชน โรงเรยี นแพทยเสยี เหออเี สวยี ถาง (协和医学堂 Union Medical School หรือ โรงเรียนแพทยยูเนยี น ค.ศ. 1903) ทปี่ ก กง่ิ (北京 เปยจิง) โรงเรยี น แพทยฉหี ลู (Qilu ค.ศ. 1904) ที่จี้หนาน (济南 Jinan) โรงเรียนตา ถง (大同 Datong ค.ศ. 1908) ท่ี ฮั่นโขว (Hankou) โรงเรยี นแพทยถงจี้ (同济医院 ค.ศ. 1908) ทีน่ ครเซยี่ งไฮ โรงเรยี นแพทยย เู นียน (ค.ศ. 1911) ท่ีเมืองฝูโ จว (福州 Fuzhou) และโรงเรียนแพทยเซียงหยา (Xiangya ค.ศ. 1914) ทเี่ มอื ง ฉางซา (Changsha) รวมแลว มโี รงเรยี นแพทยตะวันตกของคณะมชิ ชันนารกี วา 20 แหง หลงั การปฏวิ ตั ิ ประชาธิปไตยในป ค.ศ. 1911 มีโรงเรียนแพทยท้ังของรัฐและเอกชนตั้งขึ้นอีกหลายแหงทั่วประเทศ นอกจากน้ี นกั ศกึ ษาจํานวนมากเดินทางไปศกึ ษาการแพทยในตา งประเทศ ทงั้ ในญป่ี ุน และยโุ รป และมี การแปลตําราแพทยตะวนั ตกจาํ นวนมากเปนภาษาจีน ในยุคดังกลาว มีการตอสูกันระหวางการแพทยจีนและการแพทยตะวันตก และผลที่สุด การแพทยจนี เปน ฝายพา ยแพ แพทยจ ีนหลายคนมคี วามพยายามผสมผสานการแพทยทงั้ สองแผนเขา ดว ยกัน แตเน่อื งจากทฤษฎีพน้ื ฐานแตกตางกัน จงึ ผสมผสานกนั ไมได 2) ความพยายามลมเลิกการแพทยจีน หลังจากการแพทยตะวันตกไดร บั การยอมรับอยา งกวางขวางในประเทศจนี รฐั บาลกกมนิ ตง๋ั มีความคิดและความพยายามลมเลิกการแพทยจ ีน ดงั น้ี ค.ศ. 1914 หวางตา เซยี รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ เสนอใหยกเลกิ การแพทยจนี และให ใชก ารแพทยต ะวนั ตกเพยี งอยางเดยี ว ค.ศ. 1925 สมาคมสหศึกษาแหง ประเทศจนี เสนอตอรฐั บาลใหน ําการแพทยจ นี เขา เปนสว น หนึ่งของสถาบันการแพทยตะวันตก แตถ กู ปฎิเสธ เดอื นกมุ ภาพันธ ค.ศ. 1929 ในท่ปี ระชุม “คณะกรรมการกลางสาธารณสุข” นายแพทยเ วี่ย วินซิ่ว ซึ่งศึกษาวิชาแพทยจากญ่ีปุนและกลับมาจีน ใน ค.ศ. 1914 เสนอใหยกเลิกการรักษาโรคโดย

ประวตั ิการแพทยจนี โดยสงั เขป 25 แพทยจ นี ดวยเหตผุ ล คอื - ทฤษฎีแพทยจนี ลว นแลวแตเ ปน ทฤษฎเี พอฝน - การวนิ จิ ฉัยโรคดวยวิธกี ารแมะหรือจบั ชพี จรไมเปน จริง เปนการหลอกลวงประชาชน - การแพทยจ ีนไมสามารถปองกนั โรคระบาดได - พยาธวิ ิทยาของการแพทยจ นี ไมเปน วทิ ยาศาสตร นายแพทยเ วีย่ วนิ ซิ่ว เสนอข้นั ตอนการยกเลิกการแพทยจ นี ไว ดังนี้ - ข้ึนทะเบียนแพทยจีนทม่ี อี ยทู กุ คน ภายในป ค.ศ. 1930 - จัดอบรมแกแพทยจนี มกี าํ หนด 5 ป จนถงึ ค.ศ. 1930 แลว มอบประกาศนียบตั รให สาํ หรับผูท่ีไมไ ดร บั ใบประกาศนียบัตร ใหห มดสิทธ์ิในการประกอบโรคศลิ ปะ - แพทยจนี ที่มอี ายุเกนิ 50 ป และไดใ บประกอบโรคศิลปะในประเทศมาแลว เกนิ 20 ป ให ยกเวน ไมตอ งเขา รับการอบรม แตจาํ กดั มใิ หร ักษาโรคติดตอ ไมมีสิทธ์เิ ขยี นใบมรณบตั ร และใบประกอบ โรคศิลปะดังกลา วใหมีอายุตอไปอีก 15 ป นับแต ค.ศ. 1929 - หา มแพทยจ ีนโฆษณาประชาสมั พันธ และหา มแนะนําการแพทยจ ีนทางหนังสอื พิมพ - หามนําเสนอขา วในวารสาร หา มการโฆษณาท่ีไมเ ปน วิทยาศาสตร - หามตงั้ สถาบนั การแพทยจ นี หลังจากมติดังกลาวผานการพิจารณาของท่ีประชุม ไดเกิดการตอตานจากวงการแพทยและ เภสัชกรรมแผนจนี อยางกวางขวาง กลมุ สมาคมตา ง ๆ 132 กลมุ จาก 15 มณฑล ไดส ง ตวั แทนไป ชุมนมุ กนั ท่นี ครเซย่ี งไฮ กลมุ ผตู อตา นไดชคู ําขวญั “เรยี กรอ งการแพทยจ นี เพ่อื ปอ งกันการรกุ รานทาง วัฒนธรรม เรยี กรอ งแพทยแ ละเภสชั กรจนี เพ่อื ปองกันการรุกรานทางเศรษฐกิจ” มกี ารเจรจากับรฐั บาล เพือ่ ใหย กเลิกมตดิ ังกลา ว แพทยแ ละเภสัชกรแผนจีนในนครเซ่ียงไฮน ัดกันหยดุ งานครง่ึ วนั เปน การประทว ง โดยไดรบั การสนบั สนุนจากองคก รตา ง ๆ เชน สมาคมการคา แหง ประเทศจนี สมาคมสนิ คาแหงประเทศ จีน สาํ นักพมิ พขา วการแพทย และชาวจนี โพน ทะเลในแถบอุษาคเนยไ ดส ง โทรเลขสนับสนนุ การคดั คาน คร้ังนด้ี วย การรณรงคค ดั คานดงั กลาวจดั ขน้ึ ในวันท่ี 17 มนี าคม ค.ศ. 1929 แพทยจีนจงึ ถอื วันที่ 17 มนี าคม ของทุกป เปนวันแพทยจนี ผลของการคัดคานอยา งกวางขวางทาํ ใหมติดงั กลาวไมไ ดนําไปปฏบิ ัติ แตก็มีการดาํ เนนิ การ บางประการ ไดแก - กระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกคาํ สง่ั ใหเรียกโรงเรียนการแพทยจ นี เปนเพยี งสถานใหการศกึ ษา

26 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบอื้ งตน - กระทรวงสาธารณสุขเปลี่ยนชอื่ โรงพยาบาลแพทยจ ีนเปน สถานพยาบาล และหา มแพทยจ ีน ทาํ งานรวมกบั ฝายการแพทยแ ผนปจจบุ ัน - ค.ศ. 1932 รัฐบาลมีคาํ สง่ั หามสอนการแพทยจ นี ในระบบโรงเรยี น ผลที่ตามมาทาํ ใหโรงเรียนแพทยจีนลดจํานวนลงมากมาย ที่เห็นไดชัดเจนคือ ในมณฑล กวางตงุ จากเดิมมโี รงเรียนแพทยจ ีนอยมู ากกวา 20 แหง คงเหลืออยูเพียงแหงเดยี วใน ค.ศ. 1947 แพทยจีนซ่ึงประมาณวามอี ยูราว 5 แสนคน แตเพราะการสอบทเ่ี ขม งวด ทําใหสว นนอ ยเทา นน้ั ทส่ี อบผา น และไดร ับใบประกอบโรคศิลปะ เชน ในนครเซ่ียงไฮ ระหวาง ค.ศ. 1927-1935 มผี ูส อบไดเพียง 6,000 คน เทาน้นั การแพทยจ นี ในประเทศจีนจงึ เสือ่ มสลายลงตามลาํ ดับ 3) การฟน ฟูการแพทยจ นี หลงั การสถาปนาจนี ใหม ระหวา งสงครามกลางเมืองทย่ี าวนานถึง 28 ป เนอ่ื งจากเขตที่ฝา ยคอมมนู สิ ตครอบครองอยู ถูกปด ลอ มจากทุกดาน การแพทยในเขตนจ้ี งึ ตองอาศัยการใชประโยชนจากการแพทยจ ีน และไดมีการ ผสมผสานการแพทยตะวันตกมาโดยตอ เนือ่ ง หลงั การสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 รฐั บาลจีนใหมม ี นโยบาย “สังคายนาการแพทยจ นี ” ทัว่ ประเทศ ตอมา ค.ศ. 1956 ไดจ ัดตง้ั สถาบนั สอนการแพทยจ นี ใน 4 เมอื งใหญ คอื นครปกกิ่ง นครเซี่ยงไฮ เมอื งนานกงิ และเมืองเฉิงตู และขยายเพ่ิมจาํ นวนขึน้ เรื่อย ๆ ชว งการปฏวิ ตั วิ ฒั นธรรม รัฐบาลมนี โยบายกระจายบรกิ ารสาธารณสุขไปทั่วประเทศ ดวยการ สรา ง “หมอเทาเปลา ” ข้ึน มีการเสนอคาํ ขวญั “หญา หน่ึงกํา เข็มหนง่ึ เลม สามารถรกั ษาโรคได” การผลติ แพทยด ว ยนโยบายซา ยจดั ทาํ ใหเกดิ แนวคดิ “การรวมแพทยท งั้ สองแผนเขา ดว ยกัน” เพ่ือผลิตแพทย แผนใหมใ หรทู ัง้ การแพทยตะวันตกและการแพทยจนี แตไมป ระสบผลสําเรจ็ เพราะทาํ ใหไดแ พทยท ไ่ี มม ี ความรลู มุ ลกึ พอทง้ั สองแผน เมื่อเขา สยู คุ “สท่ี นั สมยั ” (ค.ศ. 1980) มีนโยบายทบทวนการพัฒนาการแพทยในประเทศจนี ตั้งเปาหมายใหมใหมี “การคงอยูรวมกันของการแพทยจีนและการแพทยตะวันตก และการผสมผสาน ระหวา งการแพทยจ นี กบั การแพทยตะวนั ตก โดยมงุ เนนใหมีการพฒั นาพรอม ๆ กัน” ปจจุบันการแพทยจ ีนมกี ารพัฒนาทคี่ รบวงจร ท้งั หลกั สตู รการเรยี นการสอน การใหบริการ ในโรงพยาบาล และการพฒั นายา โดยการแพทยจีนและการแพทยตะวันตกมกี ารยอมรบั ซ่ึงกนั และกัน และไดร ับการยอมรับจากทง้ั รัฐบาลและประชาชน

ทฤษฎีอนิ -หยาง 27 บทท่ี 2 ทฤษฎีอิน-หยาง ความเปน มาของอนิ -หยาง อนิ -หยาง (阴阳 Yin-Yang) เปน แนวคดิ ปรชั ญาของชาวจนี ที่มมี าแตโ บราณกาล ไดจาก การสังเกตและคนพบลักษณะที่สําคัญของธรรมชาติ วาส่ิงตาง ๆ ประกอบดวย 2 ดาน ซ่ึงขัดแยงกัน ตอสูกัน พ่งึ พากนั แยกจากกนั ไมไ ด รูปท่ี 2-1 สญั ลักษณอ ิน-หยาง สีดาํ แทนอนิ สขี าวแทนหยาง ทฤษฎอี ิน-หยาง เรม่ิ มมี าต้งั แตยคุ ราชวงศโ จว (1,000-256 ปกอนคริสตกาล) มกี ารกลา วถงึ อิน-หยาง เปน ครง้ั แรก ซึง่ ถกู บันทกึ ในคมั ภีรอ ีจ้ ิง《易经》และไดรับการปรับปรุงแนวคดิ เร่ือยมาจนถึง ขีดสงู สดุ ในยุคจน้ั ก๋วั (2,476-221 ปก อ นคริสตกาล) เนื่องจากทฤษฎีอิน-หยาง ครอบคลมุ สง่ิ ตา ง ๆ ไวตั้งแตโ บราณ จงึ ถูกนํามาใชใ นวชิ าการตาง ๆ เชน พยากรณอ ากาศ หมอดู ภูมศิ าสตร-ฮวงจยุ ดาราศาสตร คณติ ศาสตร และการแพทยแผนจีนดว ย เรมิ่ ในสมยั ราชวงศจ ้ินและราชวงศฮนั่ กลา วกันวา ผูท่ีจะเขา ใจเรื่องอนิ -หยางไดด ี ตอ งเขา ใจคําพูดท่บี ันทกึ อยูใ นคัมภีรเนยจ งิ ภาคซูเว่นิ อนิ หยางอ้ิงเซีย่ งตา ลนุ 《素问 。阴阳应象大论》กลา ววา “สรรพส่ิง ลวนถูกครอบคลมุ โดยกฎเกณฑ ลักษณะคูสองดานท่ีมกี ารแปรเปล่ียนมีเกิดดับเปน พ้นื ฐานเปนท่ีพิสดาร แปรเปลยี่ นไปไดเ ร่ือย ๆ ไมส นิ้ สุด” ความสําคัญอยทู ่คี าํ วา “ลกั ษณะค”ู (天地之道 เทียนตีจ้ ือเตา) การแปรเปลย่ี น (变化之 父母 เปยนฮฺวาจือฟหู ม)ู และคาํ วา “เปนที่พิสดารแปรเปลย่ี นไดเ ร่ือยไมส น้ิ สุด” (神明之府也 เสิน หมนิ จือฝเู หย่ีย)

28 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอื้ งตน 1. ลกั ษณะคขู องอนิ -หยาง ลักษณะคูของอนิ -หยางมีสองลกั ษณะ ดังน้ี 1.1 ลักษณะท่ีตรงขามกนั ขัดแยง กนั สูก นั (阴阳对立 อินหยางตุยล)ี่ เชน ทิศทางการ เคลอื่ นไหวสูดานนอก สูด า นบน ไฟ อุน รอ น ฯลฯ เปนหยาง ทศิ ทางการเคล่ือนไหวสูดานใน สูดา นลาง สงบนง่ิ น้ํา หนาวเย็น ฯลฯ เปนอนิ 1.2 ลักษณะคทู ี่พ่งึ พาอาศัยกนั และแยกกนั ไมไ ด (阴阳互相 อนิ หยางฮเู ซียง) คือ ไมว า อนิ หรือหยาง ไมสามารถแยกกันอยเู ดยี่ ว ๆ ได เมอื่ ดานบนเปน หยาง ดา นลา งตองเปนอนิ จะมดี า นบนโดย ไมม ดี า นลา ง หรือมดี านลางโดยไมมดี านบนไมได ตอ งมีคูกนั เสมอ อกี ตวั อยางหน่ึงคือ ฝนเกดิ จากชีข่ อง ดินซง่ึ เปนหยาง พานํา้ ระเหยข้นึ เปน กอนเมฆแลว ตกลงมา ฝนซ่งึ เปน มวลคืออนิ จะเห็นไดว า วฏั จักรของ การเกิดฝน ตอ งมอี นิ -หยางคกู ัน แยกจากกนั ไมได ในสมัยราชวงศห มงิ ไดก ลา วถึงอนิ -หยางเกีย่ วกับการ พ่ึงพาและแยกจากกนั ไมไ ดใ นตาํ ราอีกว น อนิ หยางลนุ 《医贯。阴阳论》วา “หยางสัมพันธกับอิน อินสัมพันธกับหยาง ไมมีหยางเกิดอินไมได ไมมีอินหยางก็ไมเ กดิ ” คัมภีรซ ูเวิน่ อินหยางองิ้ เซีย่ งตาลนุ 《素问 。阴阳应象大论》กลาววา “อินอยใู นหยางเปน ยามเฝา หยางอยูนอกเปน ผรู บั ใชข องอิน” ความสัมพนั ธแ บบแยกกนั ไมไ ดน ี้ แพทยผ ูมชี อื่ เสยี งในสมยั ราชวงศหมงิ ช่ือ จางเจย้ี ปน (张 介宾) ไดเขยี นไวใ นตําราเลย จงิ ว่ินช่เี ลย 《 类经。运气类》วา “ฟามที นุ เปน หยาง ในหยางน้ันมีอิน ดนิ มที ุนเปน อิน ในดนิ น้นั มีหยาง” ในสมยั ราชวงศช งิ หวงเยวฺ ยี นอวฺ ้ี (黄元御) ทไ่ี ดเขียนไวใ นตาํ ราซหู ลิงเวยยวฺ ิน่ 《苏灵微 蕴 》วา “อนิ -หยางแยกกนั ไมไ ด อวยั วะตันทั้งหาเปนอนิ แตเก็บซอนหยางไว ถาไมมีอวยั วะตนั ทงั้ หา คอยเกบ็ ซอ นหยางไว หยางกห็ ลุดลอยไป สวนอวยั วะกลวงทัง้ หกเปนหยาง เปน ที่สารจงิ แปรมา ไมมี อวัยวะกลวงทงั้ หก สารอินจงิ ที่เปน อินก็ไมม ี จงิ จะแหงเหือดไป” ชีใ่ หกําเนิดเลือด ทาํ ใหเ ลอื ดไหลเวยี นได เลอื ดใหช ่เี ปน ที่อาศยั อยูแ ละทาํ หนา ที่บาํ รงุ ชี่ ลักษณะ การอยรู ว มกันแบบอาศยั พ่งึ พากันแยกกนั ไมไ ดตอ งสมดลุ จงึ จะอยไู ดปกตสิ ขุ ไมเ ปนโรค ถา เกิดภาวะทีไ่ ม สมดลุ เชน รา งกายมีอะไรมากระตุนใหต น่ื ตัวมากเกินไป เกดิ ภาวะหยาง และไมม ตี วั ยบั ยัง้ ควบคุมให สมดุล ความต่นื ตัวเพิ่มขนึ้ เร่อื ย ๆ กก็ ลายเปน คนบา ไดใ นท่สี ุด ตรงกนั ขามถา ไมมกี ารกระตนุ ใหต ืน่ ตวั เหลือแตอ ินเปน สวนใหญ ก็เปนโรคเศรา ซึม โรคนอนไมห ลับหรือนอนเกง หรือผูปว ยติดยาเสพตดิ ใน ปจจุบัน กส็ ามารถอธบิ ายในลกั ษณะความสัมพนั ธแบบอิน-หยางไดเชน กนั

ทฤษฎีอนิ -หยาง 29 2. การแปรเปลี่ยนของอิน-หยาง 2.1 การจําแนกสรรพสงิ่ วา เปน อนิ หรอื เปนหยาง เปน สง่ิ แนน อน เชน ไฟ มคี ณุ สมบัตริ อ น ลอย ขึ้นบนจัดเปน หยาง นา้ํ มคี ุณสมบตั ิเย็น ลงลา งเปนอิน คณุ สมบตั ิประจําตัวของสรรพส่ิงน้ีเปล่ยี นแปลง ไมได แตสามารถแปรเปลย่ี นไดในกรณีเปรยี บเทียบ เชน ฤดูใบไมร ว ง ซึ่งมีอากาศเย็น เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กับฤดรู อ น จงึ จัดเปนอนิ แตถ า เปรยี บเทียบกับฤดูหนาวซ่ึงเย็นกวาฤดใู บไมรว งกจ็ ดั เปน หยาง 2.2 อนิ หรือเปน หยาง สามารถแบงเปนอิน-หยางไดอ กี นน่ั คือ อนิ -หยาง แปรเปลี่ยนไปโดยแบง ไปไดเรอ่ื ย ๆ ไมสิ้นสุด ตวั อยางเชน กลางวันกบั กลางคืน กลางวันเปนหยาง กลางคืนเปนอนิ ในคัมภีรซ ู เวนิ่ จนิ กยุ เจนิ เอ๋ียนลนุ 《素问。金贵真言论》ไดอธิบายวา “ในอินมหี ยาง ในหยางมอี ิน” ดงั น้ี “ ชวงเชาตรรู ุง สาง จนถงึ เท่ียงวนั เปนหยางในหยาง ชว งเท่ียง ชว งเทย่ี งคนื จนถึง เย็น เปนอนิ ในหยาง ชว งไกเ ร่มิ ขนั จนถึง ไกเ ร่มิ ขัน เปนอนิ ในอนิ จนถงึ เชาตรรู ุง สาง เปน หยางในอิน” ทํานองเดยี วกนั รา งกายคนก็แบง เปน อิน-หยางได อวัยวะตนั เปนอิน อวยั วะกลวงเปนหยาง หวั ใจและปอดอยูสว นบนของรา งกาย จัดเปนหยาง หัวใจเปนธาตุไฟจึงจัดเปน หยางในหยาง ปอดเปน ธาตุ ทองจึงจัดเปน อินในหยาง ตบั และไตอยูสว นลา งของรา งกายจดั เปน อนิ ตับมีลกั ษณะแกรง จดั เปน หยาง ในอิน ไตเปน ธาตนุ ํ้าจึงจัดเปนอินในอนิ มามอยูตรงกลางของรา งกายถงึ เขตอินพอดจี ดั เปนอิน การแปรเปล่ียนของอนิ -หยางแบงไดไมส ิ้นสดุ จงึ เปนคาํ อธบิ ายของคาํ วา “อะไรอยูภายใตฟา ดนิ นน้ั เปน แบบนี้” ดงั มกี ลา วในคมั ภรี ซเู วน่ิ อินหยางหลีเหอลนุ 《素问。阴阳离合论》วา “อนิ -หยาง น้ันจากสิบขยายไดเปน รอ ย เปน พนั เปนหมนื่ ขยายไปเร่อื ย ๆ จนนบั ไมถ วน ความจริงมาจากหนึ่ง” 2.3 อิน-หยาง เพิ่ม-ลด แปรสภาพ รา งกายคนในเวลากลางวนั จะถูกกระตุนใหพรอ มทํางานจัดเปน ภาวะหยาง แตกลางคืนรา งกายจะถกู ควบคุมใหพักผอ นอยใู นภาวะอิน พอใกลรงุ ภาวะหยางจะคอ ย ๆ เพิม่ ขนึ้ และรา งกายก็จะเรม่ิ ถูกกระตุน ใหพรอ มทํางาน หยางเพมิ่ อนิ ลด (阴消阳长 อนิ เซยี วหยางฉาง) ในทางตรงขา มเมือ่ พระอาทติ ยต กดิน หยางจะลดอนิ จะเพมิ่ (阳消阴长 หยางเซียวอินฉาง) เปน เชนน้ี รา งกายจึงจะสมดลุ ซง่ึ แสดงวาอินและหยางคอยควบคมุ แปรเปลยี่ นไปมาเรอ่ื ย ๆ ถา ผดิ ปกติไปจะเกดิ ภาวะอนิ หรอื หยางแกรง หรือ อนิ หรือหยางพรอง และถา แกรง หรอื พรองถงึ ระดบั สงู สดุ อนิ -หยางอาจจะ แปรสภาพได เชน ฤดใู บไมผ ลิจนถึงฤดรู อ น อากาศจะอนุ ไปจนถึงรอ นสุด แลว กเ็ ร่ิมแปรสภาพเปน ฤดู

30 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน ใบไมร วง อากาศจะเย็นและฤดหู นาวอากาศจะเย็นสุด แลว กลับมาเปน อากาศอนุ รอนในฤดูใบไมผลิอกี ตอ งมีคาํ วาระดบั สูงสุดจึงมกี ารแปรสภาพ ดังในคมั ภีรซเู วิ่น อินหยางอง้ิ เซ่ียงตาลุน 《素问。阴阳应 象大论》กลา ววา “หนาวสุดเกิดรอ น รอ นสุดเกิดหนาว” “อนิ สุดเกดิ หยาง หยางสดุ เกิดอนิ ” การ แปรสภาพของอนิ -หยางในทางคลินกิ เชน การกระตุน เปนหยาง ถา กระตุนถงึ ขีดสงู สดุ แลว จะกลายเปน ถูกกดหรือถูกกดยับยง้ั เปนอินจะกลายเปน โรคซมึ เศรา ตรงกนั ขา มถา ถูกกดถงึ ขดี สงู สดุ กก็ ระตนุ ใหอาละวาด ได (โรค mania) คนไขทตี่ ิดเช้อื โรคหดั เปนพิษไขส ูงมากถงึ ขดี สงู สุด ไขล ดตัวเย็น หนา ซีด ขาชาเย็น เหงื่อออกมาก กค็ อื สภาพหยางแปรเปล่ยี นเปนอนิ 3. ซานอนิ ซานหยาง (三阴三阳) อนิ -หยางน้ันแบงมาจากหน่ึงคือ ไทจ ี๋ (太极) เรมิ่ แรกแบง จาก ไทจ ๋เี ปน อินหยาง แลวแบง เปน 4 เรยี ก ซอื่ เซีย่ ง (四象) ซงึ่ จะมแี ตเ สาอิน เสาหยาง ไทอ ิน ไทห ยาง โดยแบง ตามหลกั การวา ตรงไหนมชี ม่ี ากหรอื นอ ย ตอมามกี ารแบง ยอยลงไปตามปรมิ าณชมี่ ากนอ ยเปน หยางมเี สา หยางเปน 1 หยาง ไทหยางเปน 2 หยาง หยางหมงิ เปน 3 หยาง หยางหมงิ มชี ีม่ ากสดุ อินมีจเฺ หวยี อินเปน 1 อิน เสา อินเปน 2 อิน ไทอนิ เปน 3 อนิ ไทอ นิ มีจํานวนอนิ มากท่ีสุด เสนอนิ มี 3 เสน เสน หยางมี 3 เสน รวมกัน เปน 6 เสน ซ่งึ ไดถกู พัฒนาเปน วิชา ลว่ิ จงิ เปย นเจง้ิ 《六经辨证》 ซงึ่ เปน วธิ ที ีใ่ ชพ ิเคราะหรกั ษาโรคที่ ดมี ากวิธหี นง่ึ การจําแนกอนิ -หยาง การแพทยแผนจนี ไดจ ําแนกอนิ -หยาง ดังน้ี 1. แบงรา งกายและเนอื้ เย่อื โครงสรา ง หยาง อนิ อวัยวะภายนอก ขาแขนดา นนอก อวัยวะภายใน หัวใจ ปอด อยดู านบน อวัยวะภายนอก ขาแขนดานใน ช่ี พลังงาน ไมมรี ูป อวัยวะภายในมาม ตบั ไต อยูดานลาง เลอื ด ของเหลวในรางกาย (津液 จินเยีย่ ) มีรปู

ทฤษฎีอนิ -หยาง 31 2. แบงตามหนาที่สรีรวทิ ยา หยาง อิน ขน้ึ บน ลงลาง ออกนอก เขาใน กระตนุ กดยับย้ัง ใหความรอนอนุ ใหความหนาวเยน็ ขบั เคลือ่ น ใหค วามช้ืน (นง่ิ ) อรปู (พลังงาน) มรี ูป 3. แบง ตามอาการแสดงของโรค หยาง อิน ไขร อน หนาว จติ ต่ืนเตน จติ หงอยเหงา อุจจาระแหง อุจจาระเหลว ปส สาวะส้นั เหลืองเขม ปส สาวะใสขาว สีหนาสวาง มีเงา สีหนามดื หมองคลาํ้ เสียงดัง เสียงสงู เสียงคอย เสียงต่ํา ชีพจรลอย ใหญ ล่ืน เร็ว แกรง ชพี จรจม เล็ก ฝด ชา พรอ ง 4. แบงตามอทิ ธิพลหรอื ปจ จยั ตาง ๆ ท่ีกอ ใหเกิดโรค (邪气 เสียชี่) หยาง อิน แหง ลม ชื้น ไฟ (รอน) หนาว (เยน็ ) เสยี ชีห่ ยาง (เปน อนั ตรายตอ เสยี ชอ่ี ิน (เปนอันตรายตอ อินและนํ้าของรา งกาย) หยางชขี่ องรางกาย) แหงรอ น แหง เยน็ กับคํากลาววา “หยางเกนิ เปน โรคอนิ อินเกิน เปน โรคหยาง”

32 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบือ้ งตน 5. แบงตามรสและฤทธิข์ องยา (4 ฤทธ์ิ 5 รส) หยาง อิน ฤทธ์ิรอ น ฤทธิเ์ ยน็ จัด ฤทธอิ์ ุน ฤทธิเ์ ยน็ รสเผ็ด รสขม รสหวาน รสเปรย้ี ว รสเค็ม การแปรเปล่ียนไปสโู รคพยาธิ ความสมบรู ณข องอนิ -หยางในรา งกาย มีความสาํ คญั ตอสขุ ภาพไมว า จะเปน ความสมดลุ ระหวา ง สว นบนหรือสว นลางของรางกาย หรือ ระหวางภายในหรือภายนอกรางกาย หรือระหวา งพลงั งานชี่นอก หรือพลงั งานชี่ในรางกาย หรอื ระหวา งชีก่ ับมวล ถาความสมดุลเสยี ไปกป็ วยเปน โรค แมโรคตาง ๆ จะ ซับซอ นเพยี งใด กม็ วี ธิ ีรักษาโดยปรบั สมดุลของอิน-หยางในรา งกาย การเสยี สมดลุ มี 2 แบบ ดงั นี้ 1. อินหรือหยางแกรง (阴阳偏盛 อนิ -หยางเพียนเซงิ่ ) อนิ หรอื หยางแกรง หมายถงึ ภาวะทีอ่ นิ หรอื หยาง ดา นใดดานหนง่ึ เกดิ แกรงขึน้ มาขมดาน ตรงขามทําใหเ กดิ โรค เชน เสยี ชี่ทเี่ ปน หยางเขาสูรา งกาย อินและเยีย่ (นาํ้ จะถกู กระทบ เสยี ชท่ี เ่ี ปน หยาง มีลกั ษณะรอน ภาวะรางกายจะมีหยางเพ่มิ ข้นึ มอี าการรอ น) แตถา เสยี ช่ีเปนอนิ มลี กั ษณะเยน็ เขาสรู า งกาย ความเย็นจะเพ่ิมขน้ึ ทําลายหกั ลางหยางลง จะมอี าการของความหนาวเยน็ ดงั ในคมั ภีรซ เู วนิ่ อินหยางอง้ิ เซย่ี งตา ลุน (素问 。阴阳应象大论) อธบิ ายวา “อินแกรง เปน โรคหยาง หยางแกรง เปนโรคอิน อิน แกรง จกั หนาว หยางแกรง จักรอ น” สรุปคําวา “โรคหยาง” หมายถงึ สญู เสยี หยางช่ี โรคอนิ หมายถงึ สญู เสยี อนิ และเย่ยี 2. อนิ หรือหยางพรอง (阴阳偏虚 อนิ -หยางเพียนซวฺ )ี อินหรือหยางพรอ ง หมายถึง ภาวะที่อินหรือหยาง ดา นใดดานหนง่ึ ขมหรอื ยบั ย้ังดา นตรงขา ม ไมอ ยู ทาํ ใหเกดิ โรคข้นึ ตัวอยางเชน อินพรอ งหยางเกนิ หยางพรอ งอินเกนิ อนิ พรอ งจะรอ น หยางพรอง จะหนาว สาํ หรับอินพรองหยางแกรง เนื่องจากอนิ ทพ่ี รองจะทําใหม ีอาการรอ น คอแหง ปากแหง อจุ จาระ แข็งแหง เมื่อไฟลอยขึ้นขางบนแกมจะแดง มีเหงื่อออกและรอนวันละสองครั้งเปนเวลา เรียก เฉาเยอ (潮 热) ล้ินแดงฝานอย ชีพจรเล็กเร็ว สาํ หรับกรณี หยางพรองอินแกรง หยางพรองจะทาํ ใหหนาว

ทฤษฎีอนิ -หยาง 33 จิตใจหอเหีย่ วและไมม ีแรง กลวั หนาว ปลายมือเทาเย็น อุจจาระเหลว ปส สาวะมากนานสขี าว ล้ินอวนซีด ชพี จรพรอง ออนแรง การใชห ลกั อินหยางในการปองกนั และรกั ษาโรค อินหยางตอ งอยคู กู ันไมแ ยกจากกัน ตอ งพงึ่ พาอาศยั กัน ถาอินหรือหยางอยา งใดอยา งหนงึ่ พรอ งไป เชน ถา อินพรองพรองระดับหนึง่ จะทําใหห ยางพรองดวย และในทํานองเดียวกนั ถาหยางพรอ ง ถงึ ระดับหน่งึ จะไมสามารถเกิดอินได และตอไปพรอ งทง้ั คู เรียก อนิ -หยางเหลี่ยงซวฺ ี (阴阳两虚) ถา อนิ หรอื หยางพรอ งจนหมด ชีวติ อยูไ มได หยางหมดไป เรยี ก หยางทวฺ อ (阳脱) อนิ แหง ไป เรียก อิน เจี่ย (阴竭) แพทยผูมีชือ่ เสยี งในสมยั ราชวงศห มิง ชอื่ จางเจี้ยปน (张介宾) ไดเ ขยี นไวใ นตาํ ราจิ่งเยฺวย่ี ฉวนซู ซนิ ลิ่วปาเจิน้ 《景岳全书。新六八阵》ไดมีการบนั ทึกถึงวิธีรกั ษาวา “การรักษาเสรมิ หยางท่ี ดี ใหเพิม่ ยาอินเขาไป การรกั ษาเสรมิ อนิ ท่ีดนี ัน้ ใหเพมิ่ ยาหยางเขา ไป” วิธนี ี้เรียกวา “ใชอ นิ เพอ่ื เสริมหยาง ใชหยางเพอ่ื เสรมิ อิน” ตํารับยาท่มี ีชอ่ื เสยี งของทาน คือ อ้วิ กุยหวาน (右归丸) โดยใช สูตี้ (熟地) ซง่ึ เปนตัวยาเสริมอินใสใ นตาํ รบั ยาเสริมหยาง เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพของตํารบั ยา และในตาํ รับยา จฺวอ กยุ หวาน (佐 归 丸) ใสตัวยาเขากวางในตํารับยาเสริมอิน เพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพของตํารับยาเสรมิ อิน ซึ่ง แสดงถงึ ความสมั พันธข องอนิ -หยางตามหลัก “ในอนิ มหี ยาง” และ “ในหยางมอี นิ ”

34 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบื้องตน บทที่ 3 ทฤษฎีปญ จธาตุ กาํ เนดิ ทฤษฎปี ญ จธาตุ ปญ จธาตุ (五行 อสู งิ ) เปนทฤษฏเี กา แกข องจีน บรรยายถงึ วัตถทุ ัง้ หลายในจักรวาลประกอบดว ย ลักษณะของ ไม ไฟ ดิน ทอง นาํ้ เปนพนื้ ฐาน มีการใหกําเนิดเก้ือกลู ขมยับยั้งระหวา งลกั ษณะทัง้ หา เพ่อื ใหร ะบบภายในหรือระหวางระบบอยไู ดอ ยางสมดุล ทฤษฎปี ญจธาตุภายหลังไดแ พรห ลายเขา สูการแพทย แผนจนี ใชในการอธิบายถงึ สรรี วิทยา การเกดิ โรค และการปองกันรกั ษาโรค ความเปน มาของปญ จธาตุ ปญจธาตุ พฒั นาจาก “5 ทิศ (五方 อฟู าง) 5 แบบ (五节 อเู จย๋ี ) 5 ดาว (五星 อซู งิ ) และ 5 พร (五材 อไู ฉ)” ในสมัยราชวงศซ าง (商朝) จากการเซนไหวข อฝนในทิศตา ง ๆ เกดิ การกําหนด “5 ทศิ ” ขน้ึ โดยมีทศิ ตะวนั ออก ทิศใต ทศิ ตะวนั ตก ทศิ เหนือ และทิศตรงกลาง ซ่งึ หมายถงึ ท่ีอยขู องประชาชนตอ แนวคิดนี้ เร่ิมสังเกตถงึ ผลกระทบของภูมิอากาศและอณุ หภมู ิตอผลติ ผลที่ไดจ ากการเพาะปลกู ไดแปร ภูมอิ ากาศ เปน “4 ฤด”ู และ “5 แบบ” ตอมามนี ักปราชญคนพบดาวนพเคราะห 5 ดวง ทสี่ ามารถ มองเหน็ ดว ยตาเปลา ตั้งช่อื ดาว นํา้ ทอง ไฟ ไม ดิน คอื ดาวพุธ ดาวศกุ ร ดาวองั คาร ดาวพฤหัส และ ดาวเสาร และเชอ่ื วา การโคจรของดาว 5 ดวงน้ีอยา งปกติเปนระเบยี บ มอี ิทธิผลตอ พลงั งานและสสารบน โลก และสมั พันธก ับภมู ิอากาศและฤดกู าลทงั้ 4 ในสมยั ของจกั รพรรดหิ์ วงตี้ไดจ ัดทําปฏทิ ินดวงดาว เรมิ่ ใชคาํ วา “อซู งิ ” และเช่ือกนั วา การโคจรของดวงดาว 5 ดวง ในปใดถา เปน ไปตามปกติ ปน้นั ผลผลิตของ เกษตรกรจะรงุ เรอื ง ในยคุ ชุนชวิ จนั้ กว๋ั มีบนั ทึกใชค ํา “อไู ฉ (五材)” หมายถึง ธาตไุ ม ธาตุไฟ ธาตุดนิ ธาตุนํ้า ธาตุทอง และถอื วาธาตุทัง้ 5 เปนส่ิงจาํ เปน ขัน้ พ้ืนฐานในการดํารงชวี ติ ไดม าจากพลงั งานและสสาร จากฟาดิน จาก 5 ทศิ 5 แบบ และ 5 ดาว นักปราชญไดส ังเกตอทิ ธิพลของอากาศ การเปล่ียนแปลงของ ผลผลติ การโคจรของดวงดาว จนทําใหกําเนิดคาํ วา “อูสิง (五行)” ขึ้นมาและคอ ย ๆ คนพบลักษณะ ความสมั พันธพิเศษ คอื “การขม หรือ การยับยัง้ (相克 เซยี งเคอ )” เชน ไฟชนะทอง หรอื ไฟขมทอง นํา้ ชนะไฟ หรอื นาํ้ ขม ไฟ และสังเกตจากลกั ษณะภูมิอากาศ เชน ลม (ไม) ชนะความชนื้ ความช้ืน (ดิน) ชนะความหนาว ความหนาว (นาํ้ ) ชนะความรอ น ความรอน (ไฟ) ชนะความแหง ความแหง (ทอง) ชนะ

ทฤษฎีปญ จธาตุ 35 ลม ทําใหเกิดคาํ วา ไมขมดนิ ดินขม นํา้ นํ้าขม ไฟ ไฟขมทอง ทองขมไม เปนหลักการการขมของปญจธาตุ เกดิ ข้ึน จากการสังเกตเรือ่ ง ฤดกู าลภมู ิอากาศพบวา ฤดูใบไมผ ลิตนไมเ ริ่มเกิดขน้ึ มา ฤดใู บไมผลคิ ู กบั ไม คูกับการเกดิ เรียกสั้น ๆ วา ฤดูใบไมผ ลิเกดิ ไม (春生木) ฤดูรอ นตน ไมเ จรญิ เติบโต (夏长火) ไฟทาํ ใหเจริญเติบโต กลางฤดรู อ นผลไมส ุก (夏长化土) ฤดูใบไมร วงตอ งเก็บเก่ียว (秋收金) ฤดู หนาวมีการหลีกเรน จาํ ศีล (冬团藏水) จะเหน็ ไดว า ฤดูใบไมผ ลมิ กี ารเกดิ โตในฤดูรอ น สกุ ในกลางฤดู รอ น รวงโรยในฤดูใบไมร วง และเรน จําศีลในฤดหู นาว เปน ลักษณะเก้อื หนนุ กันใหก าํ เนดิ เกดิ คําพูดวา “ฤดใู บไมผ ลเิ กดิ ฤดูรอนเจริญเตบิ โต ฤดูใบไมรว งโรย และฤดหู นาวเรน” (春生, 夏长, 秋收, 冬藏) และไดห ลกั วา ไมใ หก ําเนดิ ไฟ ไฟใหก ําเนิดดิน ดินใหก าํ เนดิ ทอง ทองใหก าํ เนิดนา้ํ น้ําใหกาํ เนิดลม เปน หลักการของปญ จธาตใุ นแงก ารใหกาํ เนดิ เกอื้ กูล (相生 เซียงเซิง) 1. ลักษณะเฉพาะตัวของปญจธาตุ กอนราชวงศจ้ินมกี ารบนั ทกึ ลกั ษณะพิเศษเฉพาะตวั ของปญ จธาตไุ ว ดังนี้ ธาตไุ ม - งอตรงเหมือนกิง่ ไม มหี วั งอตรงเปนปลอง - แผกระจายเหมือนก่งิ ไมย ืดสาขากระจายออกไปเรอ่ื ย ๆ - กระจายออกดา นนอก - ความหมายคือ งอ ยดื ไดแ ก ตบั ถงุ นํ้าดี เอ็น ธาตุไฟ - ใหความอบอนุ - ความรอนลอยขน้ึ บน - ไดแก หวั ใจ ลาํ ไสเลก็ ธาตุดิน - ใหก ําเนิดแกส รรพสิ่ง - ดนิ เปน มารดาของสรรพสงิ่ ทุกอยา งมาจากดนิ - ดนิ เปนสง่ิ ท่สี รรพสง่ิ ตองกลบั คืนสู - สังกดั อยไู ดก บั 4 ธาตทุ ี่เหลอื - ไดแก มาม กระเพาะอาหาร กลามเน้อื ธาตุทอง - สามารถแปรสลายแยกออกจากกนั เชน แยกทองออกมาจากแรด ิน - สามารถแสดงความแขง็ แกรงของโลหะ - ดดู ซับสารบริสทุ ธ์ิ ทิศทางกระจายและลง - ไดแ ก ปอด และ ลําไสใหญ

36 ศาสตรการแพทยแผนจนี เบอ้ื งตน ธาตุน้าํ - จาํ ศีล หลีกเรน เกบ็ ซอน - ใหค วามชุมชน้ื - ทิศทางลงลาง - หนาวเย็น 2. การจําแนกสรรพสงิ่ ใหเ ขา กับธาตุท้ัง 5 ตารางที่ 3-1 แสดงความสมั พนั ธระหวางปญ จธาตุกบั สรรพสงิ่ สรรพสิ่ง ไม ไฟ ดนิ ทอง นาํ้ อวัยวะตนั ทั้ง 5 ตับ ไต อวัยวะกลวงทั้ง 6 ถงุ นา้ํ ดี หวั ใจ มา ม ปอด กระเพาปสสาวะ เน้อื เยื่อ เอ็น กระดกู อวัยวะรับสัมผสั ตา ลาํ ไสเ ลก็ กระเพาะอาหาร ลําไสใ หญ หู เสียง ตะโกน ครวญคราง อารมณ โกรธ หลอดเลือด กลามเนอื้ ผิวหนงั กลัว ฤดกู าล ใบไมผ ลิ หนาว ทิศ ตะวนั ออก ลน้ิ ปาก จมูก เหนือ สภาพอากาศ ลม เย็น สี เขียว หัวเราะ รอ งเพลง รองไห ดํา รส เปร้ยี ว เคม็ ของเหลว นา้ํ ตา ดใี จ กงั วล ครุน คดิ เศรา นํา้ ลาย (ขน) ความสมบูรณ เลบ็ เสนผม กล่นิ หนื ฤดูรอ น ปลายฤดรู อ น ใบไมรวง บูด ใต กลาง ตะวันตก รอ น ช้นื แหง แดง เหลือง ขาว ขม หวาน เผด็ เหงือ่ น้ําลาย (ใส) นํ้ามูก สีหนา ริมฝปาก เสนขน ไหม หอม เนา ตวั อยางเชน - อารมณก ลวั ตกใจมาก ๆ จะมีผลตอ ทวารหนกั หรือทวารเบาอาจมผี ลทาํ ใหอ ุจจาระราด หรอื ปสสาวะราดได - คนท่เี ครียดมากเปนเวลานาน ๆ ครุนคิดมาก มกั ไมรูสกึ หวิ ขาวและจะมีผลตอ มา ม - คนท่โี กรธรนุ แรงจะมใี บหนาเขียวหมองคล้ํา - คนทีม่ ีเสน ผมดกดํา จะสะทอ นถึงการทาํ งานของไตยงั ดีอยู - ไตจะถกู ความเย็นกระทบในทศิ เหนอื - ปลายล้ินมสี ีแดงจํา้ ๆ จะสะทอนถงึ ปญ หาทหี่ วั ใจและหลอดเลอื ด

ทฤษฎีปญ จธาตุ 37 ความสัมพนั ธระหวางปญ จธาตุ 1. ความสมั พันธระหวางปญ จธาตแุ บบปกตแิ ละปญ จธาตุแบบผดิ ปกติ ตามธรรมชาติเพอ่ื ใหเกดิ ความสมดุลจะมีการใหกาํ เนิด (สรา งหรอื เก้อื กลู ) และการขม (ทาํ ลาย หรือยับย้ัง) ในรางกายคนก็เหมือนกันจะมีท้งั การสง เสริมและยับยั้ง ไมใ หม ากเกนิ ไปเพื่อใหรางกายสมดลุ ไม (ตับ) นา้ํ (ไต) ไฟ (หวั ใจ) ทอง (ปอด) ดิน (มา ม) รปู ที่ 3-1 แสดงภาพการใหกาํ เนิดและการขม ของปญ จธาตุ เสน ประ แสดงการสรา ง เสน ทึบ แสดงการขม 1.1 ความสมั พนั ธระหวางปญจธาตแุ บบปกติ 1.1.1 การใหก าํ เนิด การสรา ง การเกื้อกูล (相生 เซยี งเซงิ ) หมายถึงการชว ยเหลือเกอื้ กูล ใหเติบโต หนุนใหกา วหนา ใหเกดิ กําเนิดขนึ้ ไม ไฟ ดนิ ทอง น้าํ ไม เปนวฏั จักรวงจรเชน นีไ้ ปเรอ่ื ย ๆ ทกุ ธาตุในปญ จธาตุ เปน ทง้ั ผใู หกําเนดิ และ ผูถ ูกใหก าํ เนิด เหมอื นแมใหก ําเนดิ ลูก เชน - ไมใ นปา เสียดสีกันเกดิ ไฟ - ไฟเม่อื มอดกลายเปนเถา ถาน (ดนิ ) - ดนิ เปนแหลงสรา งทุกอยาง เชน โลหะทอง - ทองเมื่อนาํ มาแปรสภาพเกดิ เปนของเหลว (นา้ํ ) - นา้ํ จะมาหลอเลีย้ งใหต น ไม (ไม) เจรญิ งอกเติบโต

38 ศาสตรก ารแพทยแผนจีนเบื้องตน 1.1.2 การขม การยับย้ัง การทําลาย (相克 เซียงเคอ) การขมกันจะขม กนั โดย เวน 1 ธาตุ เชน ไมก ําเนดิ ไฟ ไมไ มข มไฟ แตจ ะไปขมดนิ เชน - ไมขม ดนิ คอื ไมย ึดดินไวเ พื่อไมใ หดินพงั ทลาย จึงสมดลุ - ดนิ ขม นํา้ คอื แนวดนิ กนั้ นํา้ ได ดดู ซับน้ําไว - ทองขม ไม คือ โลหะลมไมไมใ หไ มม ากเกนิ ไป - น้าํ ขม ไฟ คอื น้ําดับไฟไมใหลกุ ลามได - ไฟขมทอง คอื ไฟทําใหโ ลหะออ นตัวลง 1.2 ความสมั พนั ธระหวา งปญ จธาตุแบบผดิ ปกติ 1.2.1 ขม เกิน (相乘 เซยี งเฉงิ ) หมายถึง ภาวะทีแ่ ขง็ แกรง รงั แก ขม เหง ออ นแอ หรอื มี การขมมากกวาปกติ การขม เกิน มี 2 แบบ เชน ขณะที่ไมข มดนิ มากเกินไป เพราะเหตไุ มแกรง เกิน ภาวะ นเ้ี รียกวา ไมแกรง เกนิ ขมดิน ทําใหเกิดโรคแกรง อกี แบบหนงึ่ คือ ดินออนแอมากเกนิ ไป ไมเ ลยขมเกนิ ได เรยี กวา ดนิ พรอ งไมเ ลยขม เกินทาํ ใหเ กดิ โรคพรอง 1.2.2 ขมกลบั (相侮 เซยี งอ)ู หมายถงึ ปญจธาตุท่ถี กู ขม ปกติ ขมสวนทิศกลบั ไป เชน ปกติ ทองขมไม แตในกรณีผิดปกติ ไมไ มยอมใหทองขม แตก ลับขม ทองสวนกลบั และมี 2 ลกั ษณะ คือ แบบหนงึ่ แรงขม ปกตไิ มเพียงพอ เชน ทองออนแอไมม แี รงขมไมไดตามปกติ ไมเลยขม กลบั เรยี กวา ทอง พรอ งไมเลยขม กลับ (金虚木侮 จนิ ซวฺ ีมูอ)ู อกี แบบหนึ่งปญ จธาตทุ ถี่ กู ขมแขง็ แกรง เกนิ ไป เชน ไม แกรง ไมยอมใหท องขม ซํ้ากลับขมสวน เรยี กวา ไมแกรงเกินขม ทองสวนกลบั (木旺侮金 มวู างอูจนิ ) การขม เกนิ และขมกลับสามารถเกดิ ไดในเวลาเดียวกนั เชน ไมแกรงเกนิ ขม ดนิ ขณะเดยี วกัน กข็ มทองดวย ความผดิ ปกติทเ่ี กิดจากปญจธาตุ ทีส่ มั พนั ธกันแบบแมล กู มี 2 แบบ ดงั นี้ แบบที่ 1 แมป วยกระทบถงึ ลกู (母病及子 หมปู ง จจี๋ อ่ื ) เมื่อมีอวยั วะตันอันใดอันหนง่ึ ของแมเกิดปวยจะกระทบถงึ อวยั วะตนั ของลูก เชน ตบั (ไม) เปนโรค จะกระทบถึง หัวใจ (ไฟ) หวั ใจ (ไฟ) เปน โรค จะกระทบถงึ มาม (ดนิ ) แบบท่ี 2 ลูกปวยกระทบถงึ แม (子病犯母 จือ่ ปง ฟา นหมู) หมายถงึ เมื่ออวยั วะตนั ของลกู ปวย จะกระทบถึงอวยั วะตนั ของแม เชน ตับ (ไม) เปนโรค จะกระทบไปถึง ไต (นา้ํ ) ไต (นาํ้ ) เปน โรค จะกระทบไปถงึ ปอด (ทอง)

ทฤษฎีปญจธาตุ 39 2. ความสัมพนั ธระหวางปญ จธาตกุ ับอวัยวะตนั จากทฤษฎีปญ จธาตจุ ะเหน็ ไดวา ความสามารถของหนา ท่ีอวัยวะตน นอกจากจะข้นึ กบั อวยั วะตนั นน้ั ๆ แลว ยังขน้ึ กบั อวัยวะตนั ทีม่ าใหกําเนิดสรางเกอ้ื กูล หรอื อวยั วะตนั ท่มี าขม 2.1 ความสามารถของหนา ท่ีขนึ้ กบั อวัยวะตนั ทส่ี ราง 2.1.1 การสรา งไฟ ตบั (ไม) ใหกาํ เนดิ หัวใจ (ไฟ) ตับมหี นาทเ่ี ก็บเลือดเพือ่ มาเก้ือกลู หลอ เลี้ยงหัวใจ เพือ่ ฉดี ไปเลย้ี งทั่วรา งกาย เรยี กวา ตับ (ไม) สรา งไฟ (หวั ใจ) 2.1.2 การสรา งดนิ หวั ใจ (ไฟ) ฉีดเลือดไปเลี้ยงมา ม (ดนิ ) ใหความอบอนุ พลังงานแกม า ม (ดนิ ) เรียกวา หวั ใจ (ไฟ) สรา งมา ม (ดนิ ) 2.1.3 การสรา งทอง มา มสรางเลือดและจงิ สง ไปใหป อด (ทอง) เรียกวา มา ม (ดนิ ) สรา งปอด (ทอง) 2.1.4 การสรางนา้ํ ปอด (ทอง) จะเก้ือกูลหนุนอินของไต (น้ํา) หรือกลาวไดวา ปอดเปน ตนน้ํา ซึ่งชวยใหไตอินสามารถยับย้ังไตหยางใหอยใู นภาวะสมดุล เรียกวา ปอด (ทอง) สรางไต (น้ํา) 2.1.5 การสรางไม สารจําเปน ของไต คือ จิง (精) จะแปรสภาพไปเปน เลือดในตับ (ไม) เรยี กวา ไต (นาํ้ ) สรางตับ (ไม) 2.2 ความสามารถของหนา ทอี่ วยั วะตันขนึ้ กบั อวัยวะตันทีข่ ม 2.2.1 ไม (ตบั ) ขม ดนิ (มาม) คือ ตับมหี นาท่ีควบคุมการไหลเวียนของพลังชขี่ องมาม ใหอ ยู ในภาวะปกติ ไมใหช ่ีของมา มตดิ ขัด 2.2.2 ดนิ (มาม) ขม น้ํา (ไต) คอื มา มขบั ความช้นื และน้ําไดปกติ จะมผี ลใหไ ตขับนา้ํ ปกติ ไมเ กดิ การค่ังของนํ้า 2.2.3 น้ํา (ไต) ขมไฟ (หวั ใจ) คอื อินของไตไปควบคุมไฟของหวั ใจไมใ หม ากเกินไป 2.2.4 ไฟ (หัวใจ) ขมทอง (ปอด) คอื ไฟของหัวใจสามารถควบคุมไมใหช่ขี องปอดกระจาย มากเกินไป 2.2.5 ทอง (ปอด) ขมไม (ตบั ) คือ ช่ีของปอดทกี่ ระจายและลงลางจะขมชข่ี องตับไมใหข ึ้น บนมากไป 3. การขมผดิ ปกตกิ บั การเกดิ โรค เม่ือมองสรีระของรา งกายโดยองครวม จะเห็นวา อาการของโรคทีเ่ กดิ ขึน้ นนั้ เปน ผลรวมของ ความสมั พันธร ะหวา งปญ จธาตุ ซ่ึงเกดิ ไดในกรณีทกี่ ารสรา งผิดปกติ หรอื ในกรณที ม่ี กี ารขมเกิน

40 ศาสตรก ารแพทยแผนจนี เบอื้ งตน 3.1 อาการท่เี กิดจากการสรางท่ผี ดิ ปกติระหวา งปญจธาตุ ที่เรยี กวา แมล ูกถายทอดอาการให กัน มี 2 แบบ ดังน้ี แบบท่ี 1 แมปวยกระทบถงึ ลกู เม่ืออวยั วะของแมพ รอ ง อวัยวะของลกู ก็จะพรองตามทาํ ให เกดิ ภาวะพรองท้งั แมและลกู ตัวอยา งเชน เมอื่ ไตพรอ งมีผลใหสารจงิ และเลือดของตบั ไมเพียงพอ หรือ เม่ืออนิ ของไตไมเ พียงพอไมสามารถไปหลอเลยี้ งอนิ ของตบั จนเกิดภาวะอนิ ของไตและตับทั้งคูพรอง เปน เหตุใหเกดิ ภาวะตับแกรงเกนิ นาํ้ ไมส ามารถหลอเลี้ยงเก้อื กลู ตบั มอี าการอินของตบั และไตพรองเปน สาํ คญั อีกตวั อยางทแ่ี มปว ยกระทบถงึ ลกู คอื ตับเปน อวยั วะแมเกิดแกรง เปนไฟ กระทบถึงหวั ใจ (ไฟ) อวัยวะลูก ทาํ ใหเกดิ ภาวะไฟของตับและหวั ใจแกรงท้ังคู แบบท่ี 2 ลูกปว ยแมป วยตาม สวนใหญเม่อื ลกู มีอาการพรอ งแมจ ะมีอาการพรองตาม เรียกวา จื่อเตา หมชู ี่ (子盗母气) อวยั วะของลกู อาจจะแกรง หรอื พรอ งกไ็ ด เชน อนิ ของไตพรอ ง ทาํ ใหอินของ ปอดพรอ งตาม เกิดอินของไตและปอดพรอ ง หรอื ไฟของตบั แกรง จนทาํ ใหอ ินของไตพรอ ง กลายเปน โรคอินของไตพรอง ไฟของตบั แกรง ซ่งึ เปนโรคท่ีมีทั้งแกรง และพรองอยดู ว ยกัน โรคท่ีเกิดจากแมกระทบ ถึงลกู จะมากกวา โรคทเี่ กิดจากลกู กระทบถงึ แม 3.2 อาการที่เกดิ จากการขม ท่ผี ดิ ปกติระหวางปญ จธาตุ มี 2 แบบ ดังนี้ แบบท่ี 1 แบบขม เกิน เชน ไม (ตบั ) แกรงเกนิ ขม ดนิ (มาม) ทําใหม ีอาการของช่ีติดขดั สง ผล ตอการทาํ งานของมา ม เกิดอาการแนนลน้ิ ป ทองอืด ปากขม เรอเปรี้ยว อุจจาระเหลว หรอื ตับ (ไม) ขม มา ม (ดนิ ) ทพ่ี รอง มีอาการของมามและกระเพาะอาหารออ นแอ ไมส ามารถทนตอการขม ของตบั เกิด อาการเวยี นศรี ษะ ไมมแี รง อาหารไมยอ ย เรอแนน อดึ อัดชายโครง ทองเสีย ถา ยเหลว เปน ตน แบบท่ี 2 แบบขม กลับ เชน ปกติทอง (ปอด) จะขม ไม (ตับ) แตถ าตับแกรงมากจนขม สวน ทองปอดกลับ เรียกภาวะนว้ี า ไมแ กรง ขม ทองกลบั พบมอี าการของไฟตบั หงดุ หงิด ขโ้ี มโห หนา แดง ตา แดง แนนหนาอก ไอมาก เสมหะมเี ลอื ด โรคทเ่ี กิดจากการขมกลับจะเบากวาโรคทเ่ี กิดจากการขม เกนิ หลกั การใชป ญจธาตุในการรกั ษาโรค 1. แกรง ใหทอน พรอ งใหเสรมิ 2. ใหเนน รักษาอวยั วะทีถ่ กู กระทบกอ น เชน ไมแ กรง ขม ดนิ เกนิ ไป การรักษานั้นตองบาํ รงุ เสริม มามใหแขง็ แรงกอ น เมือ่ มามแขง็ แรงทนการขม โรคกจ็ ะหายโดยงา ย