Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Description: การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Search

Read the Text Version

ผูขายยา ยไปอยูท่ีใด ท้ังทบ่ี ริษทั ผูขายก็ไมไดแจงสถานท่ีตง้ั สํานักงานแหงใหมใหนายทะเบียนบริษัท ทราบ ตามมาตรา 1148 วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย อันเปนการกระทํา - 89 - ความผิดตามมาตรา 14 แหงพระราชบัญญัติกําหนดความผิดเกี่ยวกับหางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499 กรณีจึงถือไดวา บริษัทผูขายมีเจตนา หลีกเล่ียงไมยอมรับคําบอกกลาวใด ๆ การท่ีกรมทางหลวงสงหนังสือบอกเลิกสัญญาไปตามท่ีอยู ปรากฏทางทะเบียน แมบริษัทผูขายจะไมไดรับก็ตาม ยอมถือไดวากรมทางหลวงไดแสดงเจตนา บอกเลิกสัญญาไปถึงผูขายแลวโดยไมตองคํานึงวาบริษัทผูขายจะไดรับทราบขอความในหนังสือ บอกเลกิ สญั ญานน้ั หรอื ไม (ขอหารอื ตามคําวินิจฉยั กรมอัยการที่ 145/2530) หมายเหตุ การท่ีสวนราชการมีหนังสือแจงใหผูขายหรือผูรับจาง สงมอบส่ิงของหรืองาน จางตามสัญญาหรือแจงใหมาทําการแกไขความชํารุดบกพรอง ก็ใชหลักเดียวกันขางตน หากไดสง หนังสือไปยังภูมิลําเนาของหางหุนสวน บริษัทตามที่ปรากฏในทะเบียนแลว ก็ถือวาสงถึง เชน เดยี วกัน เอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาบอกเลิกสญั ญา 1. ประกาศสอบราคา หรือประกาศประกวดราคา และเงื่อนไขการสอบราคา ประกวดราคา 2. ตนฉบับเอกสารใบเสนอราคาของผขู ายหรือผูร บั จา งตามสัญญาซือ้ ขายและสัญญาจา ง 3. ตน ฉบับเอกสารการเปรยี บเทียบราคาของคณะกรรมการเปด ซองสอบราคาหรือ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา 4. ตนฉบับเอกสาร ความเห็นของคณะกรรมการเปดซองสอบราคาหรือคณะกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคาวา เห็นควรใหจ ัดซ้อื หรือจดั จา งจากผเู สนอรายใด 5. ตนฉบับเอกสารการอนุมัติจัดซื้อหรือจัดจางของผูมีอํานาจส่ังซ้ือสั่งจางตามระเบียบ สํานกั นายกรฐั มนตรีวาดวยการพสั ดุ 6. ตนฉบบั สัญญาซอ้ื ขายหรือสญั ญาจาง 7. ตนฉบับหนังสือสัญญาคํ้าประกันของผูค้ําประกัน เชน หนังสือสัญญาค้ําประกันของ ธนาคารฯ

8. หลักฐานการพิจารณาอนุมัติใหขยายระยะเวลาการงดหรือลดคา ปรับตามสัญญาซ้ือขาย หรอื สญั ญาจาง ในกรณีทีม่ ีการอนุมัตใิ หข ยายระยะเวลาการงดหรือลดคาปรับตามสัญญา ซอื้ ขาย หรือสัญญาจาง - 90 - 9. คูฉบับหนังสือซึ่งสวนราชการเรียกใหผูขายหรือผูรับจางรีบดําเนินการสงมอบสิ่งของ ตามสัญญาซ้ือขายหรือสงมอบงานจาง เม่ือพนกําหนดระยะเวลาสงมอบตามที่กําหนด ไว ในสัญญา และใหนําเงนิ คา ปรบั กรณสี ง มอบลาชามาชําระ 10. ตนฉบับหลักฐานการรับทราบหนังสือบอกกลาวตามขอ 9. ของผูขายหรือผูรับจาง ซึ่งสํานักงานไปรษณียโทรเลขนําสงใหผูรับ “ใบตอบรับภายในประเทศ” (ใบเหลือง) ที่ ผูขาย หรือผูรับจางหรือผูรับแทน ไดลงลายมือช่ือในเอกสารใบตอบรับวาไดรับหนังสือ ตามขอ 9. แลว 11. หนังสือจดหมายติดตอระหวางสวนราชการกับผูขายหรือผูรับจางอื่น ๆ เชน หนังสือ ทวงถามหนังสือขอผอนผันการสงมอบออกไป หนังสือท่ีผูขายหรือผูรับจางแจงวา ยินยอมใหปรับกรณีสงมอบลาชา หนังสือแจงปญหา และอุปสรรคในการสงมอบลาชา เปนตน 12. หลักฐานการตรวจรับกรณีที่ผูขายสงมอบสิ่งของหรือผูรับจางสงมอบงานจาง แตไม ถูกตองตามสัญญาและคณะกรรมการตรวจการจางหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ บนั ทกึ การตรวจรับมคี วามเห็นวา การสง มอบดังกลา วไมถ ูกตองตามสญั ญา 13. หลกั ฐานการแจงใหผูขายหรือผูรับจางดําเนินการแกไข ปรับปรุงสิ่งของหรืองานจางให ถูกตองตามสัญญา 14. ความเห็นของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจางและผู ควบคมุ งานกอสรา งพจิ ารณาเหน็ ควรใหบอกเลกิ สญั ญาซ้ือขายหรือสญั ญาจาง 15. สําเนาสัญญาซื้อขายหรือ สัญญาจางของผูขายหรือผูรับจางรายใหมเพ่ือเรียกราคาหรือ คาจา งทเี่ พ่มิ ขน้ึ

- 91 - เหตบุ อกเลกิ สญั ญาจา ง 1. ผรู บั จา งไมเริม่ ลงมอื ทํางานจา งภายในกาํ หนดเวลาตามสญั ญา กรณีตัวอยาง กรมประมงทําสัญญาวาจางบริษัท ป. ทําการกอสรางอาคารของหนวยงาน ในสังกัด โดยปรากฏตามสัญญาจางกําหนดใหผูรับจางเริ่มลงมือทํางานจางภายในวันที่ 1 มีนาคม 2526 และใหงานเสร็จบริบูรณภายในวันที่ 26 ตุลาคม 2526 แตผูรับจางมิไดลงมือทํางานจาง อยางไร ดังนี้จะบอกเลกิ สัญญาจา งกอนครบกาํ หนดเวลาตามสญั ญาไดห รือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญาจางกําหนดใหผูรับจางเร่ิมลงมือทํางานจางภายใน วันท่ี 1 มีนาคม 2526 และถาผูรับจางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาดังกลา ว ผูวาจางมีสิทธิ บอกเลิกสัญญาได ดังนั้น หากผูรับจางไมปฏิบัติตามสัญญา และมีเหตุใหเช่ือไดวาผูรับจางจะไม สามารถทํางานใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลาดวยแลว กรมประมงในฐานะผูวาจางมีสิทธิบอกเลิก สัญญาได โดยหาจําเปนตองรอใหพนกําหนดแลวเสร็จของงานตามสัญญาดวยไม (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉัยกรมอยั การที่ 93/2526) กรณีตัวอยาง เม่ือผูรับจางไมลงมือทํางานจางภายในกําหนด ผูวาจางยอมอาศัยสิทธิตาม สัญญาบอกเลิกสัญญาไดทันที แมยังไมถึงกําหนดเวลาแลวเสร็จตามสัญญาก็ตาม (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉัยกรมอัยการท่ี 6/2531) กรณีตัวอยาง กองทัพเรือไดวาจางบริษัท ท. ทําการกอสรางอาคารสถานที่ราชการ กําหนดใหผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณภายใน 730 วัน นับแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2521 ซ่ึงจะ ครบกําหนดในวันท่ี 29 มิถุนายน 2523 บัดน้ีระยะเวลาลวงเลยมาแลวจํานวน 473 วัน แตผูรับจาง ทาํ งานจา งไดเ พียงรอยละ 17 เทา นน้ั และยงั ปรากฏวาผูรับจางประพฤติผิดเงื่อนไขตาง ๆ ตามสัญญา อยูตลอดเวลา ดังน้ี หากกองทัพเรือแนใจในวิชาชางท่ีจะพิสูจนไดวา ชวงระยะเวลาที่เหลืออยู บริษัทผูรับจางไมสามารถจะทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณไดตามขอสัญญากองทัพเรือยอมบอกเลิก สญั ญาได (ขอหารอื ตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอัยการที่ 173/2522)

2. ผรู ับจา งไมสามารถทํางานใหแลวเสรจ็ ตามกําหนดเวลาสญั ญา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ขอ 138 กําหนดวาในกรณีที่ คูสญั ญาไมส ามารถปฏิบตั ิตามสัญญาหรือขอ ตกลงได และจะตอ งมีการปรบั ตามสัญญาหรอื ขอ ตกลง - 92 - นั้น หากจํานวนเงินคาปรับจะเกินรอยละ 10 ของวงเงินคาพัสดุหรือคาจาง ใหสวนราชการ ดําเนินการบอกเลิกตามสัญญาหรือขอตกลง เวนแตคูสัญญาจะไดยินยอมเสียคาปรับใหแกทาง ราชการโดยไมมีเง่ือนไขใด ๆทั้งสิ้น ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญา ไดเ ทาที่จําเปน 3. มีเหตุเชื่อไดวาผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาหรือจะลาชาเกินกวา กําหนดสญั ญา คําพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ คดีหมายเลขแดงท่ี อ. ๘/๒๕๕๓ ผถู กู ฟองคดีทาํ สัญญารบั จางกอ สรา งถนนลาดยาง ในวงเงิน ๔,๘๙๙,๙๙๐ บาท กับผูฟองคดี กําหนดใหเร่ิมทําการกอสรางภายในวันท่ี ๑๙ เมษายน ๒๕๔๔ และใหแลวเสร็จ สมบูรณภายใน วันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๔๔ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เริ่มทําการกอสรางในวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๔ เปนการ เร่ิมทํางานลาชากวากําหนดเวลาในสัญญาถึง ๗๓ วัน และไดหยุดทําการกอสรางในวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๔ หากนับเวลาท่ีเหลืออยูจากกําหนดเวลาเร่ิมกอสรางถึงกําหนดเวลาแลวเสร็จของการทํางาน ตามสญั ญาแลว จะเหลือเวลาทาํ งานตามสัญญาไดเพยี ง ๓๗ วัน ทั้งท่ผี ฟู องคดีไดม ีหนงั สือแจง ใหผูถูก ฟองคดี เขาทําการกอสรางหลายคร้ัง เม่ือผูถูกฟองคดี เขาไปทํางานลาชาไมตรงตามกําหนดเวลา และเกิด อุปสรรคขัดของในการทํางานจากการท่ีราษฎรสองขางทางทําการเพาะปลูกตามฤดูกาลปกติ เม่ือผูถูกฟอง คดี มิไดเขาไปทําการกอสรางถนนตามกําหนดเวลาและไมสามารถทําการกอสรางถนนใหแลวเสร็จ สมบูรณต ามสญั ญา จงึ ถือวา เปนฝายผิดสัญญา ผฟู อ งคดจี ึงมสี ิทธทิ ่ีจะบอกเลกิ สญั ญาได 4. ผูรับจา งทาํ ผดิ สญั ญาขอใดขอหน่ึง กรณีตัวอยาง ผูรับจางนํางานไปจางชวง โดยไมไดรับอนุญาตจากผูวาจาง เปนการผิด สญั ญา ผูว า จา งมสี ิทธิบอกเลิกสญั ญาได (ขอหารือตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การท1ี่ 66/2523)

5. ผูรับจางตกเปน บุคคลลม ละลาย 6. ผูรับจางเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุมงาน หรือ บรษิ ทั ทีป่ รึกษา ซง่ึ ไดร บั มอบอํานาจจากผวู าจาง - 93 - เหตบุ อกเลกิ สัญญาเนอ่ื งจากความผดิ ของผูว า จาง กรณตี ัวอยาง เดิมสํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวา การสงมอบพ้ืนท่ีใหผูรับจางเขาทํางานเปน เพียงการท่ีผูวาจางในฐานะเจาหนี้ ตองกระทํากอนเพื่อที่ลูกหน้ีคือผูรับจางจะชําระหนี้งาน ตามนัย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 208 วรรคสอง หาใชวัตถุแหงหน้ีที่ผูวาจางจะตองชําระ ตามสัญญาไม เมอื่ ผูวา จา งสง มอบพืน้ ทีไ่ มไ ด ผูรับจา งก็ไมมีสทิ ธิบอกเลิกสญั ญา คงมีสิทธิไดรับการ ขยายเวลาปฏิบตั ิงานเทา นนั้ (ขอ หารือตามคําวนิ จิ ฉยั สํานกั งานอัยการสูงสดุ ท่ี 31/2539) ตอมาสํานักงานอัยการสูงสุดไดตอบขอหารือ วาสัญญาจางเปนสัญญาตางตอบแทน แมสัญญากาํ หนดวา ผูร บั จา งจะตองเขาทาํ งานภายในวันที่ 25 มกราคม 2538 โดยผูวาจางตองสงมอบ พื้นท่ีภายในกําหนดเดียวกัน เมื่อผูวาจางไมสามารถสงมอบพ้ืนท่ีใหผูรับจางเขาดําเนินการตาม กําหนดสัญญา แมเพียงบางสวน หางผูรับจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 388 สําหรับงานท่ีทําไปแลว ผูวาจางตองชดใชคืนแกผูรับจางตามที่กําหนดไว ในสัญญาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 391 วรรคสาม(ขอหารือตามคําวินิจฉัย สาํ นักงานอยั การสูงสดุ ท่ี 67/2539) การบอกเลิกสัญญาโดยปรยิ าย ผวู าจางทราบวา ผรู ับจางไมส ามารถดาํ เนินการกอ สรางได แตไ มดําเนินการอยางใด ใหผูรบั จางปฏิบัตติ ามสัญญาหรือใชสิทธิเรียกรอ งตามสัญญา และขาดการติดตอผูรบั จางประมาณ 2 ปท้ัง ๆ งานตามสัญญาควรจะเสร็จตั้งแตเริ่มขาดการติดตอกันแลว พฤติการณเชนนี้ถือไดวาท้ังสองฝาย สมัครใจเลิกสัญญากนั โดยปรยิ ายแลว (ขอ หารอื ตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 110/2530) สิทธิของผูว าจา งภายหลังบอกเลิกสัญญา

สญั ญาจา ง ขอ 16. สิทธิของผูว า จา งภายหลังบอกเลิกสญั ญา ในกรณีที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญา ผูวาจางอาจทํางานน้ันเองหรือวาจางผูอ่ืนให ทํางานนั้นตอจนแลวเสร็จได ผูวาจางหรือผูท่ีรับจางทํางานนั้นตอมีสิทธิใชเคร่ืองใชในการกอสราง ส่ิงท่ีสรางขึ้นชั่วคราวสําหรับงานกอสรางและวัสดุตาง ๆ ซึ่งเห็นวาจะตองสงวนเอาไวเพ่ือการ ปฏิบัติงานตามสญั ญาตามท่ีจะเหน็ สมควร - 94 - ในกรณีดังกลาว ผูวาจางมีสิทธิริบหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้งหมด หรือบางสวน ตามแตจะเห็นสมควร นอกจากนั้นผูรับจางจะตองรับผิดชอบในคาเสียหายซ่ึงเปนจํานวนเกินกวา หลักประกันการปฏิบัติงาน และคาเสียหายตาง ๆ ที่เกิดข้ึน รวมทั้งคาใชจายท่ีเพ่ิมข้ึนในการทํางาน น้ันตอใหแลวเสร็จตามสัญญา และคาใชจายในการควบคุมงานเพิ่ม (ถามี) ซึ่งผูวาจางจะหักเอาจาก เงินประกนั ผลงาน หรอื จํานวนเงนิ ใด ๆ ท่ีจะจา ยใหแ กผ ูร ับจางก็ได ภายหลงั บอกเลิกสัญญาแลว ผวู าจา งมสี ิทธติ ามขอสัญญาดังนี้ 1. รบิ หลักประกันสญั ญา 2. ใชเ ครอ่ื งใชในการกอสรางทสี่ รา งขึน้ ชั่วคราวสาํ หรบั งานกอ สราง เชน หางราน บานพักคนงาน เปนตน 3. ใชว ัสดุตา ง ๆ เชน เหล็กเสน (ขอ หารือกรมอัยการ ท่ี 43/2517) (สาํ หรบั เคร่อื งมือท่ีใชในการกอ สรา งรบิ ไมไดเ นอื่ งจากไมใ ชว ัสดุกอ สรา ง) 4. เรียกคาเสยี หาย เชน ตองจา งผูรบั จา งรายใหมทํางานจางราคาสูงข้นึ คา ควบคมุ งาน คา ขาดประโยชนจ ากการใชอาคารสถานทีต่ ามสญั ญา 5. หักคาจางที่คางจายหรือเงินประกันผลงานท่ีผูรับจางมีสิทธิไดรับมาชําระคาปรับและ คาเสยี หายได 1. การรบิ หลกั ประกนั สญั ญา กรณีตวั อยาง บริษัทผูรับจางไมทํางานใหแลวเสร็จตามสัญญาดวยตนเอง แตกลับนํางานน้ันไปจางชวง อีกทอดหนึ่ง โดยไมไดรับอนุญาตจากผูวาจางเปนการผิดสัญญา ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและ

ใชส ทิ ธิเรียกคาปรับ ริบหลักประกันสัญญา และสงวนสิทธิเรียกคาเสียหายตามสัญญาได (ขอหารือ ตามคาํ วินิจฉยั กรมอัยการท่ี 166/2523) ผรู ับจางไมไ ดว างหลักประกนั เมื่อเลกิ สัญญา ริบหลกั ประกันไมไ ด กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาจางบริษัท ส.ทําการกอสรางอาคารของสถานศึกษา ขอสัญญากําหนดใหผูรับจางนําหลักประกันสัญญาเปนหนังสือคํ้าประกันของธนาคารจํานวน - 95 - รอ ยละ 5 ของราคางานจางเปนเงินจํานวน 122,300 บาท มามอบไวเปนหลักประกันการปฏิบัติตาม สัญญา แตป รากฏวาในวันทําสญั ญา ผูรับจา งไมไ ดน าํ หลักประกนั ของธนาคารมามอบ โดยอางวายงั ทําไมแลวเสร็จและรับรองดวยวาจาวาจะนํามาใหทันทีท่ีธนาคารออกหนังสือค้ําประกันเสร็จ เจาหนาที่ผูรับมอบอํานาจทําสัญญาแทนกรมอาชีวศึกษา เห็นวาใกลสิ้นปงบประมาณเกรงจะ ดําเนินการตามข้ันตอนไมทัน จึงไดลงนามในสัญญาเพ่ือนําไปกันเงิน ตอมาผูรับจางท้ิงงาน กรมอาชีวศึกษาจึงไดบอกเลิกสัญญา กรมอาชีวศึกษาจึงไมอาจเรียกรองเงินคํ้าประกันได และจะ เรียกใหผูรับจางชําระเงินประกันไมได เพราะผูรับจางไมอยูในฐานะผูคํ้าประกัน(ขอหารือตามคํา วินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 57/2524) ผูร ับจา งไมไดผ ิดสัญญาริบหลักประกันไมไ ด กรณีตัวอยาง กรมประมงไดทําสัญญาจางเหมาบูรณะ หนองกระเด็น กับหางหุนสวน จาํ กดั ร.แตหา งไมส ามารถทาํ งานจางได เนื่องจากปรากฏการณทางธรรมชาตนิ ้ําทวมบริเวณสถานท่ี กอสราง กรมประมงจึงพิจารณาใหยกเลิกสัญญา ดังน้ีไมปรากฏวาหางผูรับจางไดกระทําผิดสัญญา อยางใด กรมประมงจึงไมอาจใชสิทธิริบหลักประกันสัญญาหรือเรียกรองใหธนาคารผูคํ้าประกัน ชําระเงินได ชอบที่จะคืนสัญญาค้ําประกันใหแกธนาคารไป (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 74/2527) 2. การใชเคร่ืองใชใ นการกอ สรา งทีส่ รา งข้ึนชั่วคราวสําหรบั งานกอสรา ง กรณีตัวอยาง กรมทางหลวงบอกเลิกสัญญาจางกับบริษัทผูรับจาง โดยริบหลักประกันและ สงวนสทิ ธทิ ี่มอี ยตู ามสัญญาแลว แตอาคารสาํ นักงาน บานพักช่ัวคราว ซึ่งผูรับจางไปปลูกสรางใน

ท่ีดินที่มีผูอ่ืนเปนเจาของ หาใชส่ิงปลูกสรางท่ีผูจางไดสรางข้ึน ณ สถานท่ีกอสรางอันจะตกเปน กรรมสทิ ธ์ิของผวู า จา งตามสัญญาไม (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอยั การท่ี 138/2522) สญั ญาจา ง ขอ 16. วรรคสองกําหนดวา ในกรณีที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญา ผูวาจางอาจทํางานน้ันเองหรือวาจางผูอื่นให ทํางานนั้นตอจนแลวเสร็จได ผูวาจางหรือผูท่ีรับจางทํางานนั้นตอมีสิทธิใชเคร่ืองใชในการกอสราง - 96 - ส่ิงท่ีสรางข้ึนชั่วคราวสําหรับงานกอสรางและวัสดุตาง ๆ ซ่ึงเห็นวาจะตองสงวนเอาไวเพ่ือการ ปฏบิ ตั งิ านตามสัญญาตามท่จี ะเหน็ สมควร กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาจางบริษัท ป.จํากัด ทําการกอสรางอาคารโรงพล ศึกษาและอาคารโรงฝกงานของวิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม บริษัท ป.ทํางานจางเพียงบางสวน แลวไมอาจปฏิบัติตามสัญญาตอไปได กรมอาชีวศึกษาจึงบอกเลิกสัญญาจาง ตอมาบริษัท ก. มี หนังสือแจงวาเปนผูรับจางชวงจากบริษัท ป. จํากัด ไดขนเครื่องใชกลับไปแลว คงเหลือแตวัสดุ กอสรางบางสวน เชน เหล็กเสน อิฐบล็อก และเสาเข็ม จึงขออนุญาตขนวัสดุกอสรางดังกลาว กลับคนื ไป กรมอาชีวศกึ ษาจงึ มหี นงั สือหารือไปยงั สาํ นกั งานอยั การสงู สุดดงั นี้ 1. กรณีท่ีกรมอาชีวศึกษาแจงบอกเลิกสัญญาจางแตมิไดแจงสงวนเคร่ืองใชในการกอสราง สง่ิ ที่สรา งข้ึนชั่วคราวสําหรับงานกอสรางและวัสดุตาง ๆ เอาไวเพ่ือการปฏิบัติงานตามสัญญาจา งขอ 16 การเลิกสญั ญา ดงั น้จี ะยดึ หนวงเครื่องใชและวัสดดุ ังกลา วไวใชง านตอไปไดหรอื ไม 2. จากกรณีดังกลาวตามขอ 1 หากสงวนไวใชงานแลว แตยังไมอาจจัดหาผูรับจางรายใหม ได กรมอาชวี ศกึ ษาจะสงวนไวใ ชไดน านเทาใด 3. หากสงวนไวและนําวัสดุที่ใชกอสราง เชน เหล็กเสน เสาเข็ม อิฐบล็อก ไปใชงานแลว กรมอาชีวศึกษาจะตองชดใชราคาคาวัสดุใหแกผูรับจางหรือไม หากตองใชจะชดใชราคาขณะท่ี สงวนไวห รือคิดราคาคา วัสดุขณะสงมอบคนื 4. ภายหลังบอกเลิกสัญญาจางกับบริษัท ป.แลว นาย พ.ผูจัดการบริษัท ก.จํากัด ซ่ึงอางวา รับเหมาชวงงานตอจากบริษัท ป. จํากัด และมิไดเปนคูสัญญากับกรมอาชีวศึกษาไดแจงความ ประสงคจะขอนําเคร่ืองมือเคร่ืองจักรและอุปกรณกอสราง รวมทั้งวัสดุกอสราง เชน เหล็กเสน อิฐบล็อก และเสาเขม็ ออกจากสถานทก่ี อ สรา งเพ่อื นาํ ไปใชงานอ่นื ดงั น้ี หากกรมอาชีวศกึ ษาใชสิทธิ สงวนการใชเครื่องใชในการกอสราง สิ่งกอสรางท่ีสรางข้ึนช่ัวคราวและวัสดุตาง ๆ ในบริเวณ

สถานที่กอสรา งกับบรษิ ทั ป. จาํ กดั จะมีผลถึงเคร่ืองใชในการกอสรางสิ่งกอสรางที่สรางข้ึนช่ัวคราว และวัสดุตาง ๆ ของผูรับจางชวง ซ่ึงกรมอาชีวศึกษามิไดรูเห็นยินยอมในการท่ีบริษัท ป. จํากัด ไปกระทําการวา จา งชวงดว ยหรอื ไม - 97 - สํานกั งานอัยการสูงสุดมีความเหน็ วา 1. ในกรณีที่กรมอาชีวศึกษาบอกเลิกสัญญาจางน้ัน ตามสัญญาจางขอ 16 วรรคแรก กาํ หนดใหส ทิ ธแิ กกรมอาชีวศึกษาที่จะใชเครื่องใชในการกอสราง สิ่งที่สรางข้ึนช่ัวคราวสําหรับงาน กอ สรางและวสั ดุตา ง ๆ ซ่ึงเห็นวา จะตองสงวนเอาไวเพ่ือการปฏิบัติงานตามสัญญาตอไปไดโดยมิได มีเงื่อนไขใหตองบอกกลาวลวงหนาในขณะแจงบอกเลิกสัญญา ดังน้ันกรมอาชีวศึกษาจึงมีสิทธิใช เครอ่ื งใชและวัสดดุ งั กลา วไวใชงานตอไป แมม ไิ ดแจงสงวนไวก ต็ าม 2. กรณีดังกลาวตามขอ 1 กรมอาชีวศึกษามีสิทธิใชเคร่ืองใชและวัสดุดังกลาว เพื่อทํางาน ตอไปโดยไมชักชาและจนกวางานที่คางอยูจะเสร็จเรียบรอยตามสัญญา แตจะเปนเวลานานเทาใด น้นั ยอมขึ้นอยกู ับพฤตกิ ารณแตละกรณไี ป 3. บรรดาเหล็กเสน เสาเข็ม และอิฐบล็อก ซ่ึงกรมอาชีวศึกษานําไปใชสิ้นเปลืองหมดไป กรมอาชีวศกึ ษามพี นั ธะตอ งชดใชราคาคา วัสดใุ หแกผ ูรบั จา งตามราคาตลาดของวัสดขุ ณะท่นี าํ ไปใช 4. การทบ่ี รษิ ัท ก. จํากัด เขาทํางานตามสัญญาจาง โดยกรมอาชีวศึกษามิไดรูเห็นยินยอมนั้น ถอื ไดวา เปนเพยี งการเขามาในฐานะตัวแทนหรือเปน บรวิ ารของผูรับจาง และตองผูกพันตามเงื่อนไข ในสัญญาจางเชนเดียวกับผูรับจาง กรมอาชีวศึกษาจึงชอบที่จะใชสิทธิตามสัญญาจางขอ 16 วรรค แรก ใหม ผี ลไปถงึ เคร่ืองใชในการกอสรา ง ส่ิงกอ สรางทสี่ รางขึ้นช่ัวคราว และวัสดุตาง ๆ ของบริษัท ก. จาํ กัดได สัญญา ขอ 16 วรรคหนึ่งกําหนดใหสิทธิผูวาจางที่จะใชเคร่ืองใชในการกอสรางสิ่งท่ีสราง ขึ้นชั่วคราวสําหรับงานกอสรางและวัสดุตาง ๆ ซ่ึงเห็นวาจะตองสงวนเอาไวเพือ่ การปฏิบัติงานตาม สัญญาตอไปได ดังนั้น หากทางราชการประสงคท่ีจะปฏิบัติตามสัญญานี้ตอไปไมวาจะทําดวย ตนเอง หรือจางผูรับจางรายใหม หากจําเปนตองใชเคร่ืองใชและวัสดุดังกลาวแลวทางราชการก็ออก คาํ ส่ังไมอ นุญาตใหผรู ับจางขนยา ยเคร่อื งใชแ ละวสั ดอุ ปุ กรณดังกลา วได

กรณีดังกลา วแมท างราชการจะมสี ิทธิใชก็ตาม แตก็ตอ งมีหนาท่ีตามกฎหมายท่ีจะดูแลรักษา ทรพั ยส ินนั้นตามสมควร เชนจะพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะเชน นั้น เวนแตวัสดุตางๆ ที่ไดใช ในการกอสรางไปแลว ยอมส้ินเปลืองหมดไปในการกอสรางและตกเปนกรรมสิทธ์ิแกทางราชการ ในท่ีสุด ทางราชการก็ตองชําระคาวัสดุดังกลาวชดใชคืนแกผูรับจางในราคาทองตลาดในขณะท่ี นําไปใชดวย ฉะน้ัน หากทรัพยสินดังกลาวเกิดชํารุดเสียหาย และทางราชการจะตองรับผิดหรือไม ยอ มขนึ้ อยูกบั พฤติการณวา ทางราชการไดด ูแลรักษาทรัพยสนิ นน้ั ตามสมควรหรือไม - 98 - งานกอสรางที่ผูรับจางไดดําเนินการไปแลว แมจะไมแลวเสร็จตามสัญญาก็ตกเปน กรรมสิทธ์ิของทางราชการซ่ึงเปนผูวาจาง แตผูวาจางตองใชเงินใหแกผูรับจางตามสัญญา หรือคา ของงานที่ไดกอสรา งไปแลวดังกลาวดวย (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอยั การท่ี 95/2539) กรณตี วั อยาง 1. เคร่ืองใชในการกอสรางตามสัญญาจางขอ 16 หมายถึงส่ิงท่ีจําเปนตองใชเพื่อใหงาน กอสรางแลวเสร็จ เชนเคร่ืองเชื่อมโลหะ เครื่องผสมคอนกรีต เคร่ืองตอกเข็ม เล่ือย ลิฟทที่ใชขนสง คนงานหรือวัสดุกอสราง แตไมรวมถึงวัสดุที่ใชกอสรางซึ่งจะประกอบเขาเปนสวนหนึ่งของเน้ือ งานกอ สราง 2. ส่ิงท่ีสรางข้ึนชั่วคราวสําหรับงานกอสรางตามสัญญาจางขอ 16 หมายถึงสิ่งที่กอสรางข้ึน เปนการช่ัวคราวเพ่ือประโยชนในการทํางานกอสรางใหแลวเสร็จ และจะตองร้ือถอนออกไป ภายหลังงานกอสรางแลวเสร็จ เชนบานพักคนงานกอสราง สํานักงาน สนาม โรงเก็บวัสดุอุปกรณ ตางๆ ที่ใชในการกอสราง นั่ง ราน สวนวัสดุตางๆ หมายถึงวัสดุท่ีใชในการกอสรางซ่ึงจะประกอบ เขาเปนสวนหน่ึงของเน้ืองานกอสราง เชน ไม อฐิ หิน ปูน ทราย ตะปู เหล็กเสน กระเบ้ือง สังกะสี และสี เปนตน 3. วัสดุหรืออุปกรณตางๆ ท่ีผูรับจางนําเขามาเพ่ือการกอสราง ถาเปนวัสดุท่ีใชแลว สิ้นเปลืองหมดไป ผูวาจางยอมมีหนาท่ีที่จะตองชําระคาวัสดุน้ันชดใชคืนใหแกผูรับจางเดิม ตาม ราคาตลาดของวัสดุขณะท่ีนําไปใชดวย แตถาเปนวัสดุท่ีใชแลวยังคงสภาพเดิม ผูวาจางมีสิทธิใช เครื่องใชในการกอสรางดังกลาว โดยไมตองชดใชราคาแตตองคืนใหแกเจาของไปเม่ือไดทํางาน เสรจ็ แลว

4. ส่ิงของท่ีเปนใชเคร่ืองใชในการกอสราง สิ่งท่ีสรางขึ้นชั่วคราวสําหรับการกอสราง และ วัสดุตางๆ ท่ีผูวาจางมิไดสงวนไวเพ่ือการปฏิบัติตามสัญญาหรือไมจําเปนที่จะตองใชอีก หากผู รับจา งไมข นยา ยออกไปและจะเปน การกดี ขวางการใชสถานท่ีกอสรางนั้น ผูวาจางชอบที่จะตองแจง ใหผ รู บั จางจัดการขนยา ยออกไปจากสถานที่กอสราง โดยกําหนดระยะเวลาพอสมควรเสียกอน และ หากผูรับจางไมยอมขนยายสิ่งของออกไปภายในกําหนดระยะเวลาดังกลาว ไมวาดวยเหตุใดๆ ผูวา จางยอมมีสิทธขิ นยายส่งิ ของตางๆน้นั ไปใหพ น และเอาไวในท่ปี ลอดภยั พอสมควร และหากตองเสยี คาใชจายในการขนยาย ผูวาจางมีสิทธิเรียกคาทดแทนไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1336 และมาตรา 1337(คําวินิจฉยั ตามขอหารือสาํ นกั งานอัยการสูงสุดที่ 5/2539) - 99 - ขอ หารือกรมอัยการท่ี 206/2528 กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาจาง หางหุนสวนจํากัด ท. กอสราง อาคารของวิทยาลัยเทคนิค สมุทรสงคราม ผูรับจางผิดสัญญากรมอาชีวศึกษาจึงบอกเลิกสัญญาจาง ผูรับจางทิ้งปนจั่นตอก เสาเขม็ และคานเหล็กเสนสําหรบั ลงเสาเข็ม ปญหาจะรบิ พัสดทุ ั้งสองรายการไดหรอื ไม สํานักนายกรัฐมนตรี ไดมีหนังสือที่ นร (กวพ) 1002/8315 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2533 9ตอบ ขอหารือวาสิ่งของตามสัญญาจาง ไมหมายความรวมถึงเครื่องมือท่ีผูรับจางนํามาใชในงาน เชน สวา น ดวย สําหรับปนจั่นและคานเหล็กสําหรับลงเสาเข็ม เปนเครื่องมือท่ีผูรับจางนํามาใชในงาน กอ สราง จงึ ไมอ าจริบมาประมูลขายและนําเงินมาสมทบในการกอสรา งได หมายเหตุ เรื่องน้ีเปนการวินิจฉัยตามสัญญาแนบทายระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. 2521 ซ่ึงกําหนดวา เมื่อบอกเลิกสัญญาแลว ใหสิ่งของตกเปนกรรมสิทธ์ิของผูวาจาง สําหรับสัญญาตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 กําหนดไวแตเพียงวาใหผูวาจางมีสิทธิใชเครื่องใชในการ กอสราง สิ่งท่ีสรางข้ึนชั่วคราวสําหรับงานกอสรางและวัสดุตาง ๆ ซ่ึงเห็นวาตองสงวนเอาไวเพ่ือ การปฏบิ ตั ิงานตามสญั ญาตามทเ่ี หน็ สมควรเทา นั้น 3. การเรียกคาเสียหายท่ีตองจางผูรับจางรายใหมทํางานจางมีราคาสูงข้ึน คาควบคุมงานคาขาด ประโยชนจ ากการใชอาคารสถานที่ตามสัญญา

สัญญาจา งรายใหมตดั ลดรายการเรียกการเรียกราคาคาจา งเพมิ่ ข้ึนไมไ ด กรณีตัวอยาง กรมสามัญศึกษาไดทําสัญญาวาจางผูรับจางทําการกอสรางโรงเรียนในสังกัด ตอมาผูรับจาง ทิ้งงานจึงไดบอกเลิกสัญญาจาง ดังน้ีถาจะดําเนินการจางผูรับจางรายใหม โดยตัดลดรายการจาก แบบรูปรายการเดมิ สรา งหอ งเรียน 18 หองเรียน แตตดั ลดลงเหลอื เพียง 12 หอ งเรยี น และลดรายการ อื่นอีกบางเพื่อใหวงเงินเหลือเทากับจํานวนเงินคาจางท่ีเหลืออยู และจะฟองรองใหผูรับจางรายเดิม ชดใชค าเสียหายเต็มจาํ นวนเงนิ ทีจ่ ะตองเพมิ่ ขน้ึ เพ่ือทําการกอ สรา งเต็มตามแบบรูปรายการเดิม จะได หรอื ไม - 100 - กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา การจางผูรับจางรายใหมโดยตัดลดรายการจากแบบรูป รายการเดิม เพอื่ ใหพอดีกับเงินคา จางที่เหลอื อยูนั้น ไมอาจฟองผูรับจางคนเดิมใหรับผิดชดใชคาจาง ท่ีจะเต็มแบบรูปรายการเดิม ในสวนที่เกินกวาจํานวนคาจางที่เหลืออยูได เพราะตามขอสัญญา กําหนดวาผูรับจางตองรับผิดเฉพาะเงินคาจางของผูรับจางคนใหมที่เกินกวาจํานวนเงินคาจางของผู รบั จา งทีเ่ หลอื เทานั้น เม่ือไมม ีการกอสรางท่ีแทจริง ก็ไมมีเงินคาจางสวนที่เกินที่ตองจายใหผูรับจาง คนใหม (ขอ หารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 242/2517) กรณีตวั อยา ง ผูวาจางตองจายคาจางเพิ่มขึ้นตามสัญญาใหม และการจายเงินคา เค ใหแกผูรับจางรายใหม ดว ยนนั้ กรณยี อมถือวา เงนิ ทเี่ พิม่ ขึ้นเนือ่ งจากการทําสัญญาแบบปรับราคาได เปนคาจางท่ีเพ่ิมขึ้นซึ่ง ผูวาจางสามารถเรียกเอาจากผูรับจางเดิมได(ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ 22/2535) 5. หักคาจางที่คางจายหรือเงินประกันผลงานท่ีผูรับจางมีสิทธิไดรับมาชําระคาปรับ และคาเสยี หายได สัญญาจา งขอ 17 คาปรับหรือคาเสียหายซึ่งเกิดข้ึนจากผูรับจางตามสัญญาน้ี ผูวาจางมิสิทธิท่ีจะหัก เอาจากจํานวนเงินคาจางที่คางจายหรือจากเงินประกันผลงานของผูรับจาง หรือบังคับจาก หลกั ประกันการปฏิบตั ิตามสญั ญากไ็ ด

หากมีเงินคาจางตามสัญญาท่ีหักไวจายเปนคาปรับ และคาเสียหายแลวยังเหลืออยู อกี เทาใด ผูว า จางจะคนื ใหแกผ รู ับจางท้งั หมด กรณีตัวอยาง สํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบทไดทําสัญญาจางบริษัท ท. บริการดาน วิศวกรรมสํารวจฯ ตอมาสํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบทไดบอกเลิกสัญญากับบริษัท ท. เน่ืองจาก บริษัท ท. สงมอบการงานท่ีทําชํารุดบกพรอง และดําเนินการเรียกคาเสียหายตามสัญญา ดังน้ี สํานักงานเรงรดั พัฒนาชนบทจะรอการจา ยเงินคา จางแลวเสร็จท่ีผูรับจางสงมอบกอนบอกเลิกสัญญา ไดห รอื ไม - 101 - กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา กรณีท่ีผูรับจางผิดสัญญาและผูวาจางบอกเลิกสัญญา แลว ผูวาจางชอบที่จะรอการเบิกจายเงินคาจางท่ีผูรับจางจะไดรับตามสัญญาในระหวางดําเนินการ เรียกคาเสียหายตามสัญญาได อันเปนการใชสิทธิยึดหนวงสินจางตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณชิ ยมาตรา 599 (ขอ หารือตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การท่ี 78/2523) การหกั กลบลบหน้ีในสัญญาทางปกครอง คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ. ๓๐๔/๒๕๕๒ ผูถูกฟองคดี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (เดิม)) ทําสัญญาจางใหผูฟองคดี (หางหุนสวนจํากัด อ.) กอสรางโรงเรือนโคนมพรอมโรงรีดนม ๑ หลัง ตามสัญญาจางเลขท่ี ๕/๒๕๔๓ โดยมีธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) สาขาสัตหีบ จังหวัดชลบุรีเปนผูคํ้าประกัน หลังจากตกลงทําสัญญาและทําการกอสรางแลวผูฟองคดีอางวาผูถูก ฟองคดีสงมอบพ้ืนท่ีกอสรางลาชา เปนเหตุใหผูฟองคดีสงมอบงานลาชาไป ๙๘ วัน ผูถูกฟองคดีจึง หักเงินคา จา งเปนคาปรับตามขอ ๑๕ ของสัญญาจางวันละ ๔,๐๐๐ บาทรวมเปนเงิน ๓๙๒,๐๐๐ บาท แตผูฟองคดีโตแยงวาไมเปนธรรมผูถูกฟองคดีจึงไดอนุมัติใหขยายเวลากอสรางใหผูฟ องคดีออกไป อีก ๕๙ วัน ดังนั้น ผูถูกฟองคดีจึงมีสิทธิท่ีจะหักเงินจากคาจางเปนคาปรับตามสัญญาจางเลขท่ี ๕/๒๕๔๓ ไดเพียง ๓๙ วัน วันละ๔,๐๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๑๕๖,๐๐๐ บาท เทาน้ัน สําหรับจํานวน เงินท่ีผูถูกฟองคดีหักเกิน ตามขอ ๑๗ วรรคสอง ของสัญญาจางกําหนดวา หากมีเงินคาจางตาม

สัญญาท่ีหักไวจายเปนคาปรับแลวยังเหลืออยูอีกเทา ใด ผูถูกฟองคดีจะคนื ใหแกผูฟองคดีท้ังหมดแต ผูถูกฟองคดีกลับนําเงินคาปรับท่ีหักเกินจํานวนดังกลาวไปหักกลบลบหน้ีกับเงินคาปรับท่ีผูฟองคดี จะตองถูกผูถูกฟองคดีหักจากคาจางตามสัญญาจางเลขท่ี ๖/๒๕๔๓ ขอ ๑๕ อีกสัญญาหนึ่งซ่ึงผูถูก ฟองคดีไดจางผูฟองคดีกอสรางโรงปฏิบัติงานแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร พรอมระบบบําบัดนํ้า เสยี และครุภัณฑ๑ หลัง เนื่องจากดําเนินการกอสรางลาชากวากําหนดตามสัญญาโดยผูถูกฟองคดีคิด คาปรับเปนจํานวน ๔๓๕ วัน วันละ ๙,๘๔๙ บาทเชนน้ี ผูฟองคดีเห็นวาการกระทําของผูถูกฟองคดี ที่ไมคืนเงินคาปรับสวนที่เกินตามสัญญาจางเลขท่ี ๕/๒๕๔๓ ใหแกผูฟองคดีไมชอบดวยกฎหมาย จงึ นาํ คดมี าฟองขอใหศ าลมีคาํ พิพากษาหรอื คําสัง่ ใหผ ถู กู ฟองคดีคนื เงนิ คา ปรับ พรอมดอกเบ้ียนับแต - 102 - วันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวาผูถูก ฟองคดีเพียงแตกลาวอางวา ผูฟองคดีทําการกอสรางโรงปฏิบัติงานแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร พรอมระบบบําบัดน้ํา เสียและครุภัณฑ ๑ หลัง ลาชากวากํา หนดตามสัญญาเปนจํานวน ๔๓๕ วัน จะตองถูกหักเงินคาจางวันละ ๙,๘๔๙ บาท รวมเปนเงิน ๔,๒๘๔,๓๑๕ บาท และผูฟองคดีเองก็ได โตแยงคัดคานเก่ียวกับการคิดคาปรับและการบอกเลิกสัญญาจางเลขที่๖/๒๕๔๓ อยางไมเปนธรรม ของผูถูกฟองคดีอยูในขณะน้ี กรณีจึงถือไดวาสิทธิเรียกรองของผูถูกฟองคดีตามสัญญาจางเลขท่ี๖/ ๒๕๔๓ ยงั มีขอโตแ ยงระหวา งผูฟ อ งคดีกบั ผถู กู ฟอ งคดตี ามมาตรา ๓๔๔ แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยท่ีบัญญัติวา สิทธิเรียกรองใดยังมีขอตอสูอยู สิทธิเรียกรองนั้นทานวาหาอาจจะเอามาหัก กลบลบหน้ีไดไม อีกท้ังการปรับตามสัญญา และการหักกลบลบหนี้ตามสัญญาท้ังสองฉบับ มี หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา กลาวคือ ตามสัญญาจางเลขที่ ๕/๒๕๔๓ผูฟองคดีไดจัดให ธนาคารทหารไทยฯ เปนผูค้ําประกันการปฏิบัติตามสัญญาในวงเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงผูถูกฟองคดี อาจเรยี กเอากบั หลักประกนั ทว่ี า นี้ หรือจะใชส ิทธเิ รยี กรองคา ปรบั ตอศาลก็ยอ มกระทาํ ไดตามขอ ๑๗ ของสัญญาจาง นอกจากน้ี เงนิ คาปรับท่ีผูถูกฟองคดีหักเกินไปจํานวน ๒๓๖,๐๐๐ บาท ผูถูกฟองคดี เองก็ไดมีหนังสือขออนุมัติกรมบัญชีกลางคืนใหแกผูฟองคดี เปนผลใหการสงมอบงานงวดสุดทาย ไมเกินกําหนดเวลาตามสัญญาซึ่งกรมบัญชีกลางก็ไดอนุมัติเบิกจายเงินจํานวนดังกลาวคืนใหแกผู ฟอ งคดีแลว เพยี งแตผถู ูกฟอ งคดีไมย อมคนื เงนิ ใหแก ผูฟองคดีเทาน้ัน โดยจะกันเงินจํานวนน้ีไวเพ่ือ นําไปหักกลบลบหน้ีกับเงินคาปรับตามสัญญาจางเลขที่ ๖/๒๕๔๓ ดังน้ัน การที่ผูถูกฟองคดีนําเงิน คาปรับจํานวน ๒๓๖,๐๐๐ บาท ไปหักกลบลบหน้ีกับเงินคาปรับตามสัญญาจางเลขท่ี ๖/๒๕๔๓ ในขณะท่ีผูฟองคดียังมีขอโตแยงเกี่ยวกับการหักคาปรับและการบอกเลิกสัญญาตามสัญญาจางเลขที่

๖/๒๕๔๓ อยูเชนนี้ จึงเปนการกระทําที่ขัดตอเจตนาของผูฟองคดีท่ีไดทําสัญญาใหผูถูกฟองคดี สามารถหักเงินคาจางเปนคาปรับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาตามขอ ๑๗ ของสัญญาจาง อีกท้ังเปนการไมชอบดวยมาตรา ๓๔๑และมาตรา ๓๔๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยผู ถูกฟองคดีจึงไมมีสิทธิจะนําเงินคาปรับจํานวน ๒๓๖,๐๐๐ บาท ไปหักกลบลบหนี้กับคาปรับตาม สัญญาจางเลขที่ ๖/๒๕๔๓ ไดดังนั้น การที่ผถู ูกฟองคดีนําเงินคาปรับที่ตองคืนใหแกผูฟองคดีตาม สญั ญาจา งเลข ที่ ๕/๒๕๔๓ จํา น วน ๒๓๖,๐๐๐ บาทไปหักกลบลบหนี้กับเงนิ คาปรับของผูฟองคดี ทจี่ ะตองถูกผูถูกฟองคดีหักตามสัญญาจา งเลขท่ี ๖/๒๕๔๓ จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย และขอสัญญา จึงพิพากษาใหผูถูกฟองคดีชําระเงินจํานวน ๒๓๖,๐๐๐ บาท ใหแกผูฟองคดี พรอมดอกเบ้ียอัตรารอยละ ๗.๕ ตอ ป นับแตว ันฟองจนกวา จะชาํ ระเสรจ็ - 103 - เหตบุ อกเลกิ สัญญาซอ้ื ขาย 1. ผูขายไมส ง มอบสง่ิ ของท่ตี กลงขายใหแกผซู ื้อ 2. ผขู ายสง มอบสิ่งของไมถูกตองตามสัญญา 3. ผขู ายสงมอบสิง่ ของไมครบจาํ นวนตามสญั ญา สทิ ธิของผูซื้อภายหลงั การบอกเลกิ สัญญา สัญญาซอ้ื ขายขอ 10 วรรคสาม ในระหวางท่ีผูซ้ือยังมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาน้ัน หากผูซ้ือเห็นวาผูขายไมอาจปฏิบัติ ตามสัญญาตอไปน้ี ผูซื้อจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา และริบหลักประกันหรือเรียกรองจากธนาคารผู ออกหนังสือคํ้าประกันตามสัญญา ขอ 6 และ ขอ 8 กับเรียกรองใหชดใชราคาที่เพิ่มขึ้นตามกําหนด ไวในสัญญาขอ 9 วรรคสองก็ได และถาผูซ้ือไดแจงขอเรียกรองใหชําระคาปรับไปยังผูขาย เมื่อครบ กาํ หนดสง มอบแลว ผูซ้อื มสี ทิ ธิทจี่ ะปรบั ผูข ายจนถึงวันบอกเลิกสัญญาไดอีกดว ย บอกเลกิ สัญญาซื้อขายแลว ผซู ้ือมีสิทธิ 1. เรียกใหผูขายใชราคาท่ีเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากจัดซื้อจากผูขายรายใหม ภายในกําหนดเวลา ตามขอสญั ญา นบั แตว นั บอกเลกิ สัญญาซอ้ื ขาย 2. ส่ิงของท่ีซื้อขายกับผูขายรายใหมตองเปนยี่หอ ขนาด รุน ประเทศผูผลิต ตรงตาม สัญญาเดิม

3. รบิ หลักประกัน เรียกคา ปรับนับแตวนั ถัดจากวนั ครบกําหนดสง มอบตามสัญญาจนถึงวัน บอกเลกิ สัญญา การบอกเลิกสัญญามีผลต้ังแตคูสัญญาแจงยกเลิกไปยังคูสัญญาอีกฝายหน่ึงเปนตนไป ฉะนั้นการคิดคํานวณคาปรับจึงตองคิดถึงวันที่บอกเลิกสัญญา (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 225/2523) - 104 - 1. เรียกใหผูขายใชราคาท่ีเพ่ิมข้ึนเน่ืองจากจัดซ้ือจากผูขายรายใหม ภายในกําหนดเวลาตามขอ สัญญา นบั แตว ันบอกเลิกสญั ญาซ้ือขาย กรณีตัวอยาง การเรียกใหผูขายเดิมรับผิดชดใชคาเสียหายในราคาที่เพิ่มข้ึนนั้น สัญญาซื้อ ขายกําหนดใหตองดําเนินการจัดซ้ือใหแลวเสร็จภายใน 3 เดือน นับแตวันบอกเลิกสัญญาซ้ือขาย การซ้ือขายมผี ลสมบูรณกอใหเ กิดสทิ ธิเมื่อตกลงซื้อขายกันแลว คือผูขายตกลงขายและผูซื้อตกลงซ้ือ ขายเกดิ เปน สญั ญาซ้อื ขายข้นึ หากผูมีอํานาจสั่งซื้อไดมีหนังสือยืนยันการซื้อไปยังผูขายรายใหมแลว การซ้ือขายรายใหม จะมีผลตอเม่ือหนังสือยืนยันการซื้อไปถึงผูขาย หากเกินกําหนดเวลา 3 เดือนนับแตวันบอกเลิก สัญญา ก็ไมอาจเรียกใหผูขายรายเดิมชดใชราคาสิ่งของท่ีเพิ่มข้ึนได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรม อยั การท่ี 197/2523) กรณีตัวอยาง ผูขายผิดสัญญา เม่ือผูซ้ือบอกเลิกสัญญาแลว แตซ้ือสิ่งของตามสัญญาครั้ง ใหมเม่ือเกินกําหนดระยะเวลาท่ีระบุในสัญญา แมราคาจะสูงข้ึนก็ไมสามารถเรียกคาเสียหายที่ เพม่ิ ขึ้นได (ขอหารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 187/2522) กรณีตัวอยาง กองทัพบกทําสัญญาซ้ือขายวัตถุดิบผลิตแบตเตอรี่แหง จากบริษัท น. จํากัด กําหนดสงมอบภายในวันท่ี 6 กุมภาพันธ 2527 แตผูขายไมสงมอบจึงบอกเลิกสญั ญาซ้ือขาย และ ไดจัดซ้ือจากผูขายรายใหมในราคาสูงกวาเดิมเปนเงินจํานวน 977,370 บาท ตามสัญญาซื้อขายเดิม กําหนดวาผูขายจะตองรับผิดชดใชราคาส่ิงของท่ีเพิ่มข้ึนจากราคาที่กําหนดไวในสัญญาตอเมื่อผูซ้ือ

จัดซ้ือส่ิงของจากบุคคลอื่นภายในกําหนด 3 เดือน นับแตวันที่บอกเลิกสัญญา เมื่อปรากฏวา กองทัพบกไดบอกเลิกสัญญาท้ังสองฉบับตั้งแตวันที่ 7 กุมภาพันธ 2527 แลว เพิ่งมาทําสัญญาจัดซื้อ สิ่งของใหมเมื่อวนั ที่ 7 กันยายน 2527 ซึ่งเปนเวลาเกินกาํ หนด 3 เดือน กองทัพบกจึงไมอาจเรียกรอง ใหผูข าย (บริษทั น.) ชดใชราคาส่งิ ของท่ีเพิ่มขึ้นได (ขอ หารือตามคาํ วนิ ิจฉยั กรมอัยการที่ 158/2528) 2. สิง่ ของทีซ่ ้อื ขายกับผูขายรายใหมตองเปนย่หี อ ขนาด รนุ ประเทศผผู ลิต ตรงตามสญั ญาเดิม เมอ่ื สวนราชการผูซื้อบอกเลิกสัญญาซ้ือขายเพราะผูขายไมอาจจัดสงมอบส่ิงของตามสัญญา ไดขอสัญญากําหนดใหผูซื้อมีสิทธิเรียกใหผูขายรับผิดชดใชราคาส่ิงของท่ีเพิ่มขึ้นไดตามขอสัญญา - 105 - คงมีปญหาวาหากสิ่งของที่จัดซื้อจากผูขายรายใหมมีราคาแพงข้ึน เพราะเปนสินคาตางย่ีหอและ ประเทศผผู ลติ ดังนี้ จะเรยี กใหผูขายเดิมรบั ผิดชดใชร าคาที่เพิ่มขึ้นไดห รือไม กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา การเรียกคาเสียหายที่เกิดขึ้นแตการไมชําระหน้ีนั้น หมายถึงการไมชําระหนี้ที่เปนวัตถุประสงคอยางเดียวกัน การที่ผูซื้อไดซื้อส่ิงของคนละชนิดกับที่ กําหนดไวในสัญญา โดยซ้ือส่ิงของคนละย่ีหอ เปนผลิตภัณฑท่ีผลิตคนละประเทศ และมีราคาถูก แพงแตกตางกันมาก ผูซื้อจึงไมอาจนําราคาสิ่งของที่แตกตางกันมาเรียกใหผูขายรับผิดชดใชราคาท่ี เพ่ิมขน้ึ ได (ขอหารือตามคาํ วนิ จิ ฉัยกรมอยั การที่ 25/2520) การสื่อสารแหงประเทศไทย ไดทําสัญญาซ้ือขายเครื่องรับสงวิทยุยี่หอรีเจนซ่ี จากหาง หุนสวนจํากัด อ. จํานวน 10 เคร่ือง ราคา 177,500 บาท แตผูขายไมอาจสงมอบส่ิงของได จึงบอก เลิกสัญญาและไดประกวดราคาใหมโดยใช สเปคที่ใชในการซื้อจากผูขายรายเดิม และไดตกลงซ้ือ เครอ่ื งรบั สงวทิ ยุ ยี่หอ มอโตโรลลาท่ีจัดซ้ือใหม มีคุณสมบัติแตกตางและดีกวายี่หอรีเจนซ่ี และราคา แพงกวา เปนเงนิ จํานวน 92,000 บาท ดงั นี้จะเรียกใหหางหนุ สวนจํากดั อ. รับผดิ ชดใชราคาท่ีเพ่ิมขึ้น ไดหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาเคร่ืองรับ สงวิทยุยี่หอมอโตโรลลามีคุณสมบัติแตกตางจาก ยี่หอรีเจนซี่ตามสัญญาเดิม โดยมีอุปกรณเพ่ิมเติม 4 รายการ ซ่ึงถือวาเปนสวนที่ดีกวายี่หอรีเจนซี่ ฉะนั้นเคร่ืองรับสงวิทยุที่จัดซ้ือใหมจึงมีสเปคหรือลักษณะเฉพาะแตกตางจากเคร่ืองรับสงวิทยุตาม สัญญาเดมิ ผูขายจงึ ไมตองรบั ผิดชดใชร าคาท่เี พิ่มข้ึน (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอัยการท่ี 67/2523)

กรมอาชีวศึกษาไดทําสัญญาซื้อขายเหล็กฉากตายจาก หางหุนสวนจํากัด เค. จํานวน 1,080 อัน ราคา 502,200 บาท แตผูขายไมสามารถสงมอบสิ่งของตามสัญญาได จึงไดบอกเลิกสัญญาและ ไดทําสัญญาซื้อขายเหล็กฉากตายจากหางหุนสวนจํากัด ส. ในราคา 599,400 บาท ซ่ึงมีราคาสูง กวาเดิม 97,200 บาท ตอมากรมอาชีวศึกษาไดยื่นฟองคดีแพงใหหางหุนสวนจํากัด เค. รับผิดชําระ หนช้ี ดใชร าคาทีเ่ พ่ิมขึน้ ตามสญั ญาศาลชัน้ ตน พิพากษาใหจ าํ เลยรับผิดชําระหนี้ ศาลอุทธรณพิพากษา กลบั ใหยกฟองกรมอาชีวศกึ ษาไดฎ กี าคดั คานคาํ พพิ ากษาของศาลอทุ ธรณ ศาลฎีกาพิพากษาวาโจทยตองซื้อของในราคาที่เพ่ิมข้ึน กรณีหาตองรอใหการซ้ือขายราย หลังมีการสงมอบสิ่งของและชําระราคาที่ซื้อขายกันตามสัญญาเสียกอนใหม แตการจัดซ้ือตามขอ สญั ญา หมายถงึ ซือ้ สิง่ ของชนดิ เดียวกันกับสิ่งของที่ทําสัญญาซื้อขายเดิม คือ ตองเปนยี่หอและขนาด เดียวกัน มิใชวาจะเลือกซื้อสิ่งของใหมที่มีคุณภาพดีกวาอยางไรก็ได เพราะจะเปน การไดเปรียบ และไมเปน ธรรมแกค กู รณี (คาํ พิพากษาศาลฎกี าท่ี 727/2529) - 106 - สญั ญาซื้อขายสิง่ ของท่ีจัดซอ้ื จากผูข ายรายอนื่ เปน สนิ คาตา งยี่หอกับส่ิงของที่บอกเลิกสัญญา และเปน ส่งิ ของคนละบริษัท จงึ ไมอ าจเรยี กใหผ ขู ายรายเดิมรับผิดชอบใชราคาท่เี พิ่มขึ้นจากราคาตาม สญั ญาซ้อื ขายเดิมได เพราะเปน สงิ่ ของคนละตราอักษรของคนละบริษัทกัน (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอยั การท่ี 92/2533) 4. รบิ หลกั ประกนั และเรียกคาปรับนับแตวนั ถดั จากวันครบกําหนดสงมอบตามสัญญาจนถึงวันบอก เลิกสัญญาผูขายไมไ ดผ ดิ สัญญาริบหลกั ประกัน เรยี กคา ปรับและคา เสียหายไมไ ด กรณีตัวอยาง กรมสามัญศึกษาไดทําสัญญาซื้อขายแวนขยายกับองคการคาของคุรุสภา โดยกําหนดคุณลักษณะเฉพาะเปนแวนขนาดเสนผาศูนยก ลาง 75 มม. กําลังขยายไมนอยกวา 7 เทา ซ่ึงเปนคุณลักษณะเฉพาะที่เปนสาระสําคัญของสัญญา ที่นํามาจากสถาบันสงเสริมการสอน วิทยาศาสตรเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงคลาดเคลื่อนทําใหไมสามารถผลิตแวนใหมี กําลังขยายตามที่กําหนดได ผูขายจึงไมสามารถสงมอบสิ่งของตามสัญญาได กรมสามัญศึกษาไดมี หนังสือบอกเลิกสัญญาซ้ือขาย และไดหารือไปยังกรมอัยการวา จะถือวาเปนความผิดของผูขายดวย หรือไม และหากไมใชความผิดของผูขาย กรมสามัญศึกษาจะงดไมริบหลักประกันสัญญา ไมเรียก คา ปรบั และคาเสียหายจากผูข ายไดห รือไม

กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา การที่ผูซื้อไดกําหนดคุณลักษณะเฉพาะซ่ึงเปน สาระสําคัญของสัญญา ซ่ึงคลาดเคล่ือนทําใหไมสามารถผลิตแวนขยายใหมีกําลังขยายไดตามที่ กําหนดอันมิใชความผิดของผูขาย การท่ีผูขายไมสามารถสงมอบแวนขยายตามสัญญาได จึงไมเปน การผดิ สัญญา กรมสามญั ศึกษายอมไมมสี ิทธริ ิบเงินประกนั เรียกคาปรับและคาเสียหายจากผูขายได (ขอหารือตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอยั การท่ี 32/2527) หลักประกนั และคาปรับตามสัญญา กรณีที่ผูขายหรือผูรับจางไมอาจสงมอบงานจางหรือสิ่งของตามสัญญาซื้อขายไดภายใน กําหนดเวลาตามสัญญา ผูขายหรือผูรับจางตองรับผิดชําระคาปรับเปนรายวันตามอัตราท่ีกําหนดใน สัญญา นอกจากความรับผิดในเร่ืองคาปรับแลวผูขายหรือผูรับจางยังตองนําหลักประกันมาวางเปน ประกันการปฏิบัติตามสัญญาอีกสวนหนึ่งดวยอาจเปนหนังสือ สัญญาค้ําประกันของธนาคารหรือ - 107 - หลักประกันท่ีระบุไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุอยางใดอยางหน่ึงก็ได ความ รับผิดชอบของธนาคารผูคํ้าประกันมีหนาที่ตองชําระหนี้ตามที่สวนราชการเรียกรองในกรณี ดงั ตอไปนี้ 1. ถูกริบหลักประกันเม่ือผูขายหรือผูรับจางผิดสัญญา และสวนราชการไดบอกเลิก สญั ญาแลว 2. กรณีท่ีผูขายหรือผูรับจางไมชําระคาปรับ สวนราชการอาจเรียกใหธนาคารชําระหน้ี แทนไดต ามจาํ นวนเงนิ คา ปรบั แตตอ งไมเ กนิ วงเงนิ ท่กี ําหนดไวใ นสัญญาคํ้าประกัน 3. กรณีสิ่งของตามสัญญาซ้ือขายหรืองานจางเกิดการชํารุดบกพรองภายในเวลาที่กําหนด ไวในสัญญาและผูขาย หรือผูรับจางไมแกไขซอมแซม ผูค้ําประกันอาจตองรับผิด ชดใชคาเสียหาย ภายในวงเงินที่ทางราชการไดรบั ความเสียหายนนั้ แตไมเกนิ วงเงินทีก่ าํ หนดไวใ นสญั ญาคา้ํ ประกัน คงมีปญหากรณีผขู ายหรือผูรับจางสง มอบลาชาและตองรับผิดชําระคาปรับ ซ่ึงสว นราชการ ไมไดแจงใหผูขายหรือผูรับจางชําระคาปรับ แตกลับมีหนังสือแจงใหธนาคารผูคํ้าประกันชําระ แทน ดงั น้ีจะมีผลอยา งไร

กรณีตัวอยาง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (สปช.) ไดทําสัญญาซ้ือ ขายครุภัณฑกับบริษัท ก. แตผูขายไมสงมอบส่ิงของตามสัญญา จึงไดบอกเลิกสัญญาและเรียกให ธนาคารผูคาํ้ ประกันนาํ เงินคาปรบั มาชาํ ระ ดังน้กี รมอัยการพิจารณาแลว เห็นวา 1. การที่ สปช. เรียกใหธนาคารชําระคาปรับตามสัญญาคํ้าประกัน มิใชเปนการใชสิทธิริบ หลักประกันเม่ือธนาคารไดชําระเงินคาปรับใหแก สปช.ครบถวนแลว สปช.จึงไมอาจเรียกรองให บรษิ ัท ก. ผูขายรบั ผิดชาํ ระคา ปรับไดอกี 2. การที่ธนาคารไดนําเงินคาปรับเต็มวงเงินท่ีธนาคารตองรับผิดชอบมามอบใหแก สปช. แลว จงึ ไมอ าจเรียกรองใหธนาคารชดใชเงินตามสัญญาค้าํ ประกันไดอ ีก สปช.ตองคนื หนังสือ สญั ญาค้าํ ประกันใหแ กธนาคารผคู า้ํ ประกนั ผูข ายหรอื ผรู บั จา งไมยอมรบั เงนิ คาจา งหรอื ราคาสิง่ ของควรปฏบิ ตั ิอยา งไร ในกรณีที่สวนราชการเบิกเงินคาจางหรือคาส่ิงของเพ่ือชําระหน้ีตามสัญญาแลว แตผูขาย หรือผูรับจางไมยอมรับชําระหนี้ สวนราชการควรนําเงินดังกลาวไปวางที่ศาลจังหวัดท่ีผูขายหรือผู รับจางมภี ูมลิ าํ เนาอยู และแจง ใหผ ูขายหรือผูรับจา งทราบดวย - 108 - การขอขยายเวลาสัญญาจางและสญั ญาซ้ือขาย สัญญาจา ง ขอ 20 ขอ 20. การขยายเวลาปฏิบัติงานตามสญั ญา ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผดิ หรอื ความบกพรอง ของฝายผูวาจาง หรือพฤติการณอันหน่ึงอันใดที่ผูรับจางไมตองรับผิดตามกฎหมาย ทําใหผูรับจาง ไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามเงื่อนไขและกําหนดเวลาแหงสัญญาน้ีได ผูรับจางจะตองแจงเหตุ หรือพฤติการณดังกลาว พรอมหลกั ฐานเปนหนังสือใหผูวาจางทราบเพ่ือขอขยายเวลาทํางานออกไป ภายใน 15 วัน นับถดั จากวันท่เี หตนุ ัน้ สิน้ สุดลง ถาผูรับจางไมปฏิบัติใหเปนไปตามความในวรรคหน่ึง ใหถือวาผูรับจางไดสละ สิทธิ์เรียกรองในการที่จะขอขยายเวลาทํางานออกไปโดยไมมีเง่ือนไขใด ๆ ทั้งส้ิน เวนแตกรณีเหตุ เกิดจากความผิดหรอื ความบกพรอ งของฝา ยผูว าจาง ซึ่งมีหลกั ฐานชัดแจง หรือผูว า จางทราบดีอยแู ลว ตัง้ แตต น

การขยายกําหนดเวลาทํางานตามวรรคหน่ึง อยูในดุลพินิจของผูวาจางที่จะ พจิ ารณาตามท่ีเห็นสมควร สญั ญาซอื้ ขายขอ 12 ขอ 12. การขอขยายเวลาสงมอบ ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุใด ๆ อันเนื่องมาจากความผิดหรือความบกพรอง ของฝายผูซ้ือหรือจากพฤติการณอ่ืนใดอันหน่ึงซึ่งผูขายไมตองรับผิดชอบตามกฎหมาย เปนเหตุให ผูขายไมสามารถสงมอบส่ิงของตามเง่ือนไขและกําหนดเวลาแหงสัญญาน้ีได ผูขายมีสิทธิขอขยาย เวลาทําการตามสัญญา หรือของดหรือลดคาปรับไดโดยจะตองแจงเหตุหรือพฤติการณดังกลาว พรอมหลักฐานเปนหนงั สอื ใหผ ูซ อื้ ทราบภายใน 15 วนั นบั แตว นั ท่เี หตุน้นั สนิ้ สุดลง ถาผูขายไมปฏิบัติใหเปนไปตามความในวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูขายไดสละสิทธิ เรียกรองในการท่ีจะขยายเวลาทําการตามสัญญาหรือของดหรือลดคาปรับ โดยไมมีเง่ือนไขใด ๆ ท้ังสิ้น เวนแตกรณีเหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของฝายผูซ้ือซ่ึงมีหลักฐานชัดแจงหรือผู ซือ้ ทราบดีอยูแลวตั้งแตต น - 109 - การขยายเวลาทําการตามสัญญา หรือของดหรือลดคาปรับตามวรรคหน่ึงอยูใน ดลุ พนิ จิ ของผูซ อ้ื ทจ่ี ะพิจารณา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 139 การงดหรือลดคาปรับใหแกคูสัญญา หรือการขยายเวลาทําการตามสัญญาหรือ ขอตกลงใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณา แตถาวงเงินในการส่ังการใหจัดหา คร้ังนั้นเกินอํานาจของหัวหนาสวนราชการ ใหเสนอปลัดกระทรวงพิจารณา และใหพิจารณาได ตามจํานวนวนั ท่มี ีเหตเุ กิดข้นึ จรงิ เฉพาะกรณีดงั ตอไปนี้ (1) เหตเุ กิดจากความผดิ หรือความบกพรอ งของสวนราชการ (2) เหตสุ ุดวสิ ัย (3) เหตุเกดิ จากพฤตกิ ารณอันหน่ึงอนั ใดท่ีคูสัญญาไมตอ งรบั ผดิ ตามกฎหมาย

ใหสวนราชการระบุไวในสัญญากําหนดใหคูสัญญาตองแจงเหตุดังกลาวใหสวนราชการ ทราบภายใน 15 วัน นับแตเหตุน้ันไดส้ินสุดลง หากมิไดแจงภายในเวลาท่ีกําหนด คูสัญญาจะยกมา กลาวอาง เพ่ือขอลดหรืองดคาปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได เวนแตกรณีตาม (1) ซ่ึงมี หลักฐานชัดแจง หรือสวนราชการทราบดีอยแู ลวตง้ั แตต น สัญญาซื้อขายและสัญญาจาง ในการจัดซื้อพัสดุครุภัณฑและการกอสรางตามแบบสัญญา ซึ่งในบังคับตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 จะมีขอกําหนดไวใน สัญญาวาผูขายหรือผูรับจางจะตองสงมอบส่ิงของตามสัญญา ซ้ือขายหรือสงมอบงานจางใหแก สวนราชการ ภายในวันเดือนปที่กําหนดไวในขอสญั ญา หากสงมอบส่ิงของท่ีซื้อขาย หรือสงมอบ งานลา ชาผขู ายหรอื ผรู ับจา งจะตอ งถกู ปรับตามขอ สญั ญาเปน รายวัน สาํ หรับงานจางจะกําหนดอัตรา คาปรับเปนจํานวนเงินท่ีแนนอน สวนสัญญาซ้ือขายผูขายจะถูกปรับในอัตราวันละรอยละ 0.2 ของราคาส่ิงของท่ียังไมไดสงมอบนับแตวันถัดจากวันครบกําหนดสงมอบตามสัญญาเปนตนไป จนถึงวันที่ไดสงมอบส่ิงของตามสัญญาซ้ือขายครบถวนถูกตอง หรือสงมอบงานจางตามสัญญาแลว เสร็จบริบูรณแ ลว - 110 - อยางไรก็ตามการสงมอบสิ่งของหรืองานจางลาชา ก็มิใชวาผูขายหรือผูรับจางจะตองถูก ปรับเสมอไป ผูขายหรือผูรับจางอาจขอขยายเวลาสัญญาจางหรือสัญญาซ้ือขายออกไปโดยไมตอง รับผิดชําระคาปรับไดตามท่ีกําหนดไวในขอ 139 แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 โดยมสี ทิ ธิไดร บั การขยายเวลาตามจาํ นวนวันทีม่ ีเหตเุ กดิ ข้ึนจรงิ อนั เนอ่ื งจากเหตุตอไปน้ี 1. เหตสุ ดุ วิสัย เชน น้าํ ทวมสถานท่ีกอสรางทาํ การกอ สรา งไมไ ด 2. ความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการ เชน สง มอบสถานที่กอสรางไมไดทําให ผูรบั จางลงมือทาํ งานจา งกอ สรา งลาชา กวาวนั เร่มิ ตนตามสญั ญา 3. เหตุเกิดจากพฤติการณที่คูสัญญาไมตองรับผดิ ชอบตามกฎหมาย เชน ผูขายสั่งซื้อสินคา จากบริษัทตางประเทศ แตคนงานของบริษัทผูผลิตเกิดการประทวงนัดหยุดงานไมผลิตสินคา เปนเหตุใหก ารสงสินคามายงั ไทยลาชา เปน ตน

ถึงแมจะเกิดเหตุการณดังกลาวท้ังสามกรณีขางตน ผูขายหรือผูรับจางก็ตองมีการขอขยาย เวลาสัญญาจางหรือสัญญาซื้อขายภายในกําหนดเวลา 15 วันนับแตเหตุการณ ขางตนสิ้นสุดลงดวย ทั้งน้ีปรากฏตามสัญญาซ้ือขาย ขอ 12 วรรคแรก และสัญญาจางขอ 20 หากผูขายหรือผูรับจางไม ติดตอ ขอขยายเวลาภายในกําหนด 15 วันนบั แตเ หตกุ ารณนั้นส้นิ สดุ ลง ถือวา เปน การสละสิทธิจะขอ ขยายเวลาสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางภายหลังไมได เวนแตกรณีที่เกิดจากความผิดบกพรองของ สวนราชการซึ่งมีหลักฐานโดยชัดแจงหรือสวนราชการทราบดีอยูแลวตั้งแตตนแมจะมีการขอขยาย เวลาสัญญาเม่ือพนกําหนด 15 วันนับแตเหตุการณน้ันส้ินสุดลง แลวก็ขอขยายเวลาสัญญาจางหรือ สัญญาซอื้ ขายโดยงดคา ปรับได ซงึ่ สญั ญาโดยท่ัวไปจะมีขอความเขยี นไวชัดเจนวาการขอขยายเวลา สัญญาจะตองขอภายในกําหนด 15 วัน นับแตเหตุการณนั้นส้ินสุดลง เวนแตกรณีอันเกิดจาก ความผดิ หรือความบกพรองของสวนราชการผวู าจา ง (หรือผูซ ้ือ) การขอขยายเวลาสัญญาตอ งอยรู ะหวา งการปฏบิ ตั งิ านกอ นสงมอบตามสัญญา กรณีตัวอยาง สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษาแหงหน่ึงไดทําสัญญาจางแทนกรม อาชีวศึกษา ผูวาจางใหทําการกอสรางอาคารโรงฝกงาน 4 ช้ัน 1 หลัง กําหนดใหผูรับจางเริ่มลงมือ กอสรางภายในวันที่ 17 มิถุนายน 2534 เม่ือถึงกําหนดดังกลาวสถานศึกษาไมอาจสงมอบสถานท่ี กอสรางให แกผูรับจางได เพราะยังตองร้ืออาคารเกา 2 หลัง ไมเสร็จจนถึงวันที่ 9 สิงหาคม 2534 - 111 - จึงสงมอบสถานที่กอสรางใหแกผูรับจางได กรณีท่ีผรู ับจางเขาทํางานจางลาชาน้ี ผูรับจางนํามาเปน เหตุขอขยายเวลาสญั ญาจางได เพราะถือวาเกิดจากความผิดบกพรองของสวนราชการผูวาจาง ตอมา ผูรับจางไดมีหนังสือฉบับลงวันท่ี 3 มิถุนายน 2535 ขอขยายเวลาสัญญาจางออกไปเน่ืองจากความ ลาชานั้น แตปรากฏวาสัญญาดังกลาวไดตัดขอความในสัญญาที่วา “เวนแตกรณีอันเกิดจากความผิด หรือบกพรองของสวนราชการผูวาจาง” ออกไปขอความในสัญญา กรมอาชีวศึกษาไดมีหนังสือ หารือไปยังสํานักงานอัยการสูงสุดวา จะพิจารณาขยายเวลาสัญญาไดหรือไม และปรากฏขอเท็จจริง เพิ่มเติมวาขณะมีการหารือน้ัน ผูรับจางไดสงมอบงานจางตามสัญญาและมีการตรวจรับงานจาง เรียบรอยแลว สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวมีความเห็นวา การขอขยายเวลาสัญญาจางชอบที่จะ กระทําไดขณะที่งานจางตามสัญญายังไมแลวเสร็จ เม่ือปรากฏวาผูรับจางไดทํางานตามสัญญาจาง

แลวเสร็จบริบูรณแ ลว และไดส ง มอบงานใหแกกรมอาชีวศึกษาตรวจรบั ไปแลว จึงไมมีประเด็นท่ีจะ พิจารณาวาควรอนุมัติขยายเวลาสัญญาจางอีกหรือไม สวนการเรียกใหผูรับจางรับผิดชําระคาปรับ เพราะการสงมอบลาชาน้ัน หากความลาชาเปนเพราะพฤติการณท่ีผูรับจางไมตองรับผิดชอบ ก็ไม อาจเรยี กใหผรู ับจา งชาํ ระคาปรับไดต ามนัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 205 การตออายุสัญญาชอบท่ีจะกระทําได ในขณะเมื่องานตามสัญญายังไมแลวเสร็จ เมื่อปรากฏ วาผูรับจางไดทํางานตามสัญญาจางแลวเสร็จบริบูรณและสงมอบงานใหแกผูวาจางตรวจรับไปแลว จึงไมมีขอท่ีจะพิจารณาวาควรตออายุสัญญาหรือไม เพราะเปนการลวงเลยไปแลว สวนการปรับ เพราะผูร ับจา งสง มอบงานจา งลาชา กวากําหนด หรือผิดนัดเปนเวลาเทาใดนั้น จะตองพิจารณาวาเหตุ ตา ง ๆ นั้น เปนพฤติการณซ ง่ึ บริษัทผรู บั จางตอ งรับผิดชอบหรือไม ตามนัยมาตรา 205 แหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การท่ี 31/2526) หมายเหตุ 1. การขอขยายเวลาสัญญาซื้อขายและสัญญาจาง ผูขายหรือผูรับจางตองมีคําขอขยายเวลา สัญญาจางหรอื สญั ญาซอ้ื ขายเขามาดวย 2. การขอขยายเวลาสัญญาจางหรือสัญญาซ้ือขาย หากผูขายหรือผูรับจางไดสงมอบสิ่งของ ตามสัญญาหรือสงมอบงานจางแลว ผูขายหรือผูรับจางก็ไมอาจขอขยายเวลาสัญญาซ้ือขายหรือ - 112 - สัญญาจางไดอีก (ตามขอ 139 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535)คงขอได เฉพาะในเรือ่ งการงดหรอื ลดคา ปรับเทานั้น เพราะไมมีระยะเวลาตามสัญญาที่จะขอใหพิจารณาขยาย ระยะเวลาตามสญั ญาไดอกี 3. การขอลดหรืองดคาปรับตองเปนกรณีท่ีมีเหตุอันเน่ืองมาจากผูขาย หรือผูรับจางไมตอง รับผิดชอบ ตามนัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 205 บัญญัติวา “ตราบใดท่ีการชําระ หน้นี ้ันยังมิไดกระทาํ ลงเพราะพฤติการณอนั ใดอันหนึง่ ซึ่งลูกหนไี้ มตองรับผดิ ชอบ ตราบน้ันลกู หนี้ ยงั หาไดชือ่ ผิดนัดไดไม”มีความหมายรวมถึงเหตอุ นั เกดิ จากเหตุสดุ วิสยั เหตุอันเกิดจากความผิดหรือ บกพรองของสวนราชการ และเหตุอันเกิดจากเหตุใด ๆ ที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบดวยการงดหรือ ลดคาปรับตองพิจารณาวาการท่ีผูรับจางสงมอบสิ่งของหรืองานจางตาม สัญญาลาชาเปนพฤติการณ ทผ่ี ขู ายหรือผรู บั จางตองรบั ผดิ ชอบหรอื ไม หากเปนพฤตกิ ารณท่ีไมต องรับผิดชอบ ก็ไมอาจเรียกให

ผูขายหรือผรู ับจางชําระคาปรับกรณี สงมอบลาชาตามขอสัญญาไดตามนัยมาตรา 205 แหงประมวล กฎหมายแพง และพาณิชย การขยายเวลา สัญญาไมชอบดว ยระเบียบก็ปรบั ผูรับจางไมได กรณีตัวอยาง ความลาชาเกิดจากผูรับจางไมแจงใหการประปา ดําเนินการประสานทอเมน และติดตั้งมาตรวัดนํ้าใหเสียแตเนิ่น ๆ ผูรับจางจึงตองรับผิดชําระคาปรับตามสัญญาอยางไรก็ตาม เมอื่ ผูวาราชการจงั หวดั ผูว าจา งอนมุ ตั ิใหตอ อายุสัญญาออกไป แมก ารอนุมัติจะชอบดวยระเบียบของ ทางราชการหรือไม ก็เปนระเบียบภายในของผูวาจาง หาอาจยกข้ึนเปนขอตอสูบุคคลภายนอกไดไม และไมอาจปรับผูรับจางไดในชวงระยะเวลาที่มีการอนุมัติใหตออายุสัญญาแลว (ขอหารือตามคํา วินจิ ฉัยกรมอยั การท่ี 96/2522) กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาวาจาง หางหุนสวนจํากัด ท. ทําการกอสรางอาคาร ปฏิบัติการและโรงฝกงาน 2 ช้ัน 2 หลัง ของวิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ กําหนดใหผูรับจาง ทํางานแลวเสร็จภายในวันท่ี 10 สิงหาคม 2530 แตปรากฏวาระหวางวันท่ี 12 เมษายน 2530 ถงึ วันท่ี 21 เมษายน 2530 เครื่องสูบน้ําของวิทยาลัยเกิดการชํารุดเสียหายจนไมสามารถทําการสูบน้ํา ขึ้นมาใชได และหลังจากเคร่ืองสูบนํ้าใชไดแลวยังประสบปญหา นํ้าท่ีสูบขึ้นมามีรสเค็มไมสามารถ ใชผสมคอนกรีตโครงสรางและผสมปูนกอฉาบผนังได ผูควบคุมงานของกรมอาชีวศึกษา จึงไดส่ัง - 113 - หยุดงานเทคอนกรีตไว จนกวาจะมีนํ้าใชผสมคอนกรีต ตอมาผูรับจางมีหนังสือขอขยายเวลาสัญญา จางออกไป เนื่องจากอุปสรรคในการทํางานเปนเวลา 30 วัน คณะกรรมการตรวจการจางเห็นวาเปน เหตุสุดวิสัย ควรตอสัญญาใหมีกําหนด 24 วัน และไดรับอนุมัติการตออายุสัญญา กรมอาชีวศึกษา ไดหารือไปยังกรมอัยการวาเหตุดังกลาวจะถือวาเปนเหตุสุดวิสัยท่ีจะตออายุสัญญาใหแกผูรับจางได หรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาเมื่อผูมีอํานาจที่จะพิจารณาส่ังอนุญาตใหตออายุสัญญาตาม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ไดใชดุลพินิจและส่ังอนุญาตใหตออายุสัญญาใหแก ผูรับจางแลว คําส่ังดังกลาวยอมมีผลผูกพันผูวาจาง แมภายหลังจะเห็นวาการพิจารณาอนุมัตินั้นไม ถูกตองตามระเบียบปฏิบัติ ก็ไมอาจสั่งแกไขเปล่ียนแปลงใหถูกตองได เวนแตผูรับจางจะตกลง ยินยอมดวย (ขอ หารอื ตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การที่ 185/2532)

การขยายเวลาสัญญาใหผรู ับจางหรือผขู ายตองแจง ใหธ นาคารผคู า้ํ ประกนั สญั ญาทราบดวย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 700 บัญญัติวา “ถาค้ําประกันหนี้อันจะตอง ชําระ ณ เวลามีกําหนดแนนอน และเจาหน้ียอมผอนเวลาใหแกลูกหน้ี ทานวาผูคํ้าประกันยอมหลุด พนจากความรับผิด แตถาผูค้ําประกันไดตกลงดวยในการผอนเวลา ทานวาผูคํ้าประกันหาหลุดพน จากความรับผิดไม” สัญญาจางผูวาจางมีฐานะเปนเจาหน้ี และผูรับจางมีฐานะเปนลูกหนี้ในการ ปฏิบัติงานตามสัญญาใหแกเจาหนี้ สําหรับในสวนราคางานจางผูรับจางเปนเจาหน้ีมีสิทธิเรียกรอง เงินจากลูกหน้ีคือ ผูวาจางได สรุปไดวาตางฝายตางเปนเจาหน้ีลูกหนี้ซึ่งกันและกัน ซึ่งกฎหมายคํ้า ประกันบัญญัติไววาหากเจาหน้ียอมผอนผันการชําระหน้ี หรือยอมผอนเวลาชําระหน้ี โดยผูค้ํา ประกันไมไดตกลงดวย ผูค้ําประกันยอมหลุดพนความรับผิด ดังนั้น สัญญาคํ้าประกันซ่ึงเปน สัญญาที่กําหนดเวลาชําระหน้ีแนนอน หมายถึง มีกําหนดเวลาสงมอบงานจางแลวเสร็จบริบูรณ แนนอนแลว หากทางราชการผูวาจาง (เจาหนี้) ไดอนุญาตใหผูรับจาง (ลูกหนี้) ตออายุสัญญา ออกไป ซ่ึงถือวาเปนการผอนเวลาชําระหนี้ออกไปแลว ผูวาจางจะตองมีหนังสือแจงใหผูคํ้าประกัน ทราบดวย การค้าํ ประกันจึงยังมีผลผูกพันตอไป หากไมไดแจงใหผูคํ้าประกันทราบแลวผูคํ้าประกัน อาจยกเปนขอตอสูปฏิเสธความรับผดิ ตามสัญญาคาํ้ ประกันได - 114 - กรณีตัวอยาง การประปาสวนภูมิภาคไดทําสัญญาวาจางบริษัท ก. ทําการกอสรางอาคาร โดยผูรับจางไดนําหนังสือสัญญาคํ้าประกันของธนาคาร ท. มาค้ําประกันการปฏิบัติตามสัญญา ซึ่งในสัญญาขอ 2 กําหนดวา “ขาพเจายอมรับรูและยินยอมดวยในกรณีท่ีการประปาสวนภูมิภาคได ยินยอมใหผัดผอนหรือผอนผันการปฏิบัติตามสัญญาใหแกบริษัท ก. โดยเพียงแตการประปาสวน ภูมิภาคแจงใหขาพเจาทราบโดยไมชักชาเทานั้น” ตอมาการประปาสวนภูมิภาคไดพิจารณาอนุมัติ การตออายุสัญญาแกผูรับจาง ดังนี้จะเปนการผัดผอนเวลาหรือผอนผันการปฏิบัติตามสัญญาใหกับ ผูรับจา ง ซึง่ การประปาจะตอ งแจง ใหธนาคาร ท. ผูคาํ้ ประกนั ทราบดวยหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา การท่ีการประปาสว นภูมิภาคตอสัญญาใหผูรับจาง ถือไดวา เปนการผอนเวลาในการปฏิบัติตามสัญญาใหก ับผูรับจางแลว การประปาสวนภูมิภาคจึงตองแจงให ธนาคาร ท. ผูค้ําประกันผูรับจางทราบตามหนังสือสัญญาคํ้าประกันของธนาคาร มิฉะนั้น อาจมีผล

ใหผูค้ําประกันหลุดพนความรับผิดตามสัญญาค้ําประกัน (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 38/2528) หมายเหตุ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2521 ใชคําวาการตออายุ สัญญาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ใชคําวาการขยายเวลาทํางานตาม สญั ญาหรือขอ ตกลง 1. เหตุเกิดจากความผดิ ความบกพรองของสว นราชการ การออกแบบกอ สรางบกพรอ งเปนความผดิ บกพรอ งจากฝายผวู าจาง กรมการฝกหัดครู ทําสัญญาจางบริษัท บ. กอสรางอาคารคหกรรมศาสตร ตอมาไดสั่งให ผูรับจางทําบอน้ําท้ิงเพิ่มเติมจากแบบแปลนเดิมอีก 4 บอ โดยไมมีการแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญา จึงไมตองปฏิบัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ในเร่ืองการแกไขเปลี่ยนแปลง สญั ญาภายหลงั ลงนามแลว และการทผี่ ูว าจา งส่งั ใหผูร บั จางทาํ บอนาํ้ ท้ิงอกี 4 บอ เพราะการออกแบบ บกพรอง จึงเปนการเพิ่มงานใหแกผูรับจาง เพราะความผิดบกพรองของผูวาจาง อันเปนเหตุ ท่ีผูรับจางนํามากลาวอางเพ่ือขอตออายุสัญญาจางได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 208/2523) - 115 - การสงมอบสถานทกี่ อสรา งลาชา เปน ความผดิ บกพรองจากฝายผวู า จา ง คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.79/2548 ผูฟองคดีรับจางกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและรางระบายน้ํากับเทศบาลฟองขอให เทศบาลคืนเงินคาปรับกรณีผูรับจางสงมอบงานลาชากวาเวลาท่ีกําหนดไวในสัญญาจาง ตามสวน ของจํานวนวนั ทเี่ ทศบาลตองรบั ผดิ ชอบในความลา ชา ท่ีเกิดข้นึ ศาลปกครองสงู สุดวินิจฉัยวา เทศบาลในฐานะผวู า จา งยอ มมีหนาทจี่ ัดเตรยี มพน้ื ทใี่ หพรอ มทจี่ ะสงมอบแกผูรับจางเพ่ือเขา ทํางานกอสราง แมวาในสัญญาจางจะไมไดมีขอกําหนดในเรื่องดังกลาวไวก็ตาม เม่ือมีเหตุขัดของใน การสงมอบพ้ืนท่ีเปน เหตใุ หผูรบั จางไมสามารถเขาทําการกอสรางไดอันเปนสาเหตุสวนหน่ึงที่ทําให

ระยะเวลาในการกอสรางของผูรับจางตองลาชาออกไป โดยระยะเวลาที่ลาชาในสวนนี้เทากับ ระยะเวลาที่เทศบาลไดใชไปในการแกไขเหตุขัดของเพ่ือใหสามารถสงมอบพ้ืนที่กอสรางได ซ่ึงถือวา เปนระยะเวลาท่ีเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของเทศบาล ดังน้ัน เม่ือปรากฏวา ผูรับจางไดแจงเหตุขัดของ เพื่อใหเทศบาลไดแกไข รวมท้ังขอขยายระยะเวลาการปฏิบัติตามสัญญา จางแลว จงึ เปน กรณีท่ีเทศบาลตอ งขยายระยะเวลาในการกอสรางใหกับผูรับจาง ตามระยะเวลาที่เปน ความบกพรองของเทศบาล ฉะนั้นการปรับผูรับจางกรณีสงมอบลาชา โดยไมหักจํานวนวันที่ เทศบาลตอ งขยายระยะเวลาการกอ สรางใหกบั ผูรบั จางออกจากจํานวนวนั ทสี่ งมอบงานลาชา ทั้งหมด จึงไมชอบ ศาลพิพากษาใหเทศบาลคืนเงินคาปรับในสวนตองขยายระยะเวลาการกอสรางใหกับ ผูร ับจา ง คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๒๐๑/๒๕๕๒ ผูฟองคดีกอสรางอาคารกีฬาในรม ๓ ชั้น จํานวน ๑ หลัง ราคา ๙,๕๐๐,๐๐๐ บาท กําหนดวัน แลวเสร็จในวันท่ี ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๔๔ ภายหลังจากท่ีทําสัญญาแลว ผูฟองคดีมีหนังสือลงวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๓ ขออนุญาตเขาดําเนินการกอสรางและขอใหผูถูกฟองคดีสงมอบพื้นท่ี แตผูถูกฟอง คดีไมสามารถสงมอบพ้ืนที่ใหแกผูฟองคดีไดเน่ืองจากยังตองรอการขนยาย ตนพญาสัตบรรณที่ ขึ้นอยูในบริเวณสถานที่กอสรางเพ่ือนําไปปลูกในบริเวณอ่ืนภายในสถาบันของผูถูกฟองคดี และได รองขอใหผ ฟู องคดเี ปนผูขนยา ย จงึ ตอ งถือวาการทผ่ี ูฟอ งคดีตอ งยายตน ไมออกจากพ้ืนที่กอสรางเปน - 116 - เหตุใหผ ูฟอ งคดีตอ งเขาทํางานในพ้ืนที่บริเวณกอสรางลาชาไมตรงตามสัญญาจาง แมผูฟองคดีจะไม เคยมีหนังสือขอเลื่อนเวลาดําเนินการหรือช้ีแจงใหผูถูกฟองคดีทราบก็ตาม แตตองถือวาเปนเหตุท่ี เกิดจากความผิดพลาดหรือความบกพรองของผูถูกฟองคดี ตามขอ ๑๓๙ ของระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี วา ดว ยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ผถู กู ฟอ งคดตี อ งงดหรือลดคา ปรบั ใหแกผฟู องคดี

- 117 - ความผิดจากฝายผูขายหรือผรู บั จา งขอขยายเวลาหรอื ลดหรืองดคา ปรับไมไ ด การที่ผูรับจางมไิ ดลงมือทํางานจาง เปนเหตุใหราษฎรเจาของที่ดินเขาไปปลูกพืชผลในสถานที่ กอสรางและเสียเวลาไป เน่ืองจากตองรอการเก็บเกี่ยวพืชผลยอมเปนความผิดของผูรับจางเอง ซึง่ จะตอ งถูกปรับและไมอาจตอ อายุสัญญาได (ขอ หารือตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอยั การที่ 135/2525) บริษัทผูขายขอตอสัญญาโดยแจงวาโรงงานผูผลิตในตางประเทศ ไดสงเอกสารมาผิดเปนเหตุ ใหผูขายไมสามารถออกของตามพิธีศุลกากรได มิใชเหตุสุดวิสัยหรือความผิดบกพรองของฝายผูซ้ือ (ขอ หารอื ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการท่ี 1/2525) ตามสัญญาซื้อขายกําหนดใหผูขายมีหนาท่ีสงมอบและติดต้ังส่ิงของที่ซื้อขาย ณ สถานที่ ท่กี ําหนด เม่อื ปรากฏวาสงิ่ ของทีซ่ ้ือขายบางสวนตกแตกในระหวางการขนสงไปยังสถานที่ติดตั้ง จึงอยู ในความรับผิดชอบของผูขาย ไมอาจนํามาเปนเหตุตออายุสัญญาใหแกผูขายได (ขอหารือตามคํา วินิจฉยั กรมอัยการท่ี 13/2524) ความลาชาในการกอสรางอาคาร อันเกิดจากการที่ผูวาจางไดส่ังใหผูรับจางหยุดงานช่ัวคราว เนื่องจากผูรับจางกอสรางผิดรายการจนเปนเหตุใหผูรับจางตองใชเวลาในการแกไขใหถูกตอง และไม อาจสรางใหแลวเสรจ็ ไดภ ายในกําหนดเวลาตามสัญญา ผูรับจางจะขอยืดเวลาออกไปหาไดไม ผูวาจางมี สทิ ธปิ รับผูรบั จางไดต ามขอกําหนดในสญั ญา (ขอหารอื ตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 54/2523) 2. เหตุสุดวิสัย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 8 บัญญัติวา คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบตั ิก็ดี เปนเหตทุ ไ่ี มอ าจปอ งกนั ได แมทง้ั บคุ คลผตู องประสบหรือ ใกลจะประสบเหตุน้ัน จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและ ภาวะเชน น้นั เหตดุ งั กลาวยังสามารถปองกันหรอื แกไขไดไมถือวา เปนเหตสุ ุดวิสยั กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัยเชียงใหมทําสัญญาจางเหมากอสรางอาคารหองสมุด 1 หลัง กับบริษัท พ. ระหวางกอสรางไดเกิดเพลิงไหมอาคาร เนื่องจากไฟฟาชอตเคร่ืองเชื่อมเปนเหตุให สิ่งกอสรางชาํ รดุ เสยี หาย บรษิ ัท พ. จึงตอ อายุสญั ญาเน่ืองจากเหตุเพลิงไหมดังกลาว ดังน้ีจะพิจารณาให ตออายุสัญญาไดห รอื ไม

- 118 - กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา ปรากฏตามหนังสือของสถานีตํารวจภูธรอําเภอเมือง เชียงใหมวา เหตุเพลิงไมเกิดจากการกระทําโดยประมาทของคนงานเชื่อมเหล็กของบริษัทผูรับจาง กรณีไมใชเหตุสุดวิสัย เพราะอยูในวิสัยท่ีบริษัทผูรับจางจะปองกันมิใหเกิดอุบัติเหตุเชนวาน้ันได โดยจัดใหมีการระมัดระวังตามสมควร บริษัทผูรับจางจึงไมอาจยกเอาเหตุเพลิงไหมดังกลาวข้ึน เปนขอ อา งเพ่ือขอตอ อายุสญั ญาตามระเบยี บพัสดไุ ด (ขอ หารือตามคําวนิ จิ ฉยั กรมอยั การท่ี 143/2522) กรณีตัวอยาง การสูญหายของสินคาระหวางบรรทุกเรือเดินทางจากตางประเทศมายัง กรุงเทพฯ เปนกรณีท่ีเจาของเรือและผูควบคุมอาจปองกันได ถาใชความระมัดระวังพอสมควร การสูญหายดังกลาวจึงไมใชเหตุสุดวิสัย อันจะทําใหการชําระหน้ีกลายเปนพนวิสัยตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 218, 219 เพราะยังอยูในวิสัยท่ีผูขายจะจัดหาสินคามาสงมอบแก ผซู อื้ ได (ขอ หารือกรมอัยการที่ 38/2521) การติดขดั เพราะตองขออนญุ าตจากรัฐบาลตา งประเทศกอนไมใ ชเหตุสดุ วสิ ัย กรณีตัวอยาง ผูขายไมสามารถสงของใหแกผูซื้อไดตามกําหนด เพราะติดขัดเรื่องตองขอ อนุญาตจากรฐั บาลตางประเทศกอน ไมใ ชเหตุสุดวสิ ัย กรมประชาสัมพันธ ทําสัญญาซ้ือขายหลอดเคร่ืองรับสงวิทยุฯ และทรานซิสเตอรกับ บริษัท ส. ในประกาศแจงความประกวดราคาระบุวาตองเปนผลิตภัณฑตา งประเทศ โดยตองสั่งมาจาก โรงงานผผู ลิตในตา งประเทศดวย บริษัท ส. ขอตออายุสัญญาโดยอางวาหลอดเครื่องสงวิทยุตอ งผลิตใน ตางประเทศและเปนส่ิงของท่ีมีไวในครอบครองไมไดผิดกฎหมาย การนําเขาตองไดรับอนุญาตกอน กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาเหตุดังกลาวไมพอถือวาเปนเหตุสุดวิสัยท่ีจะตออายุสัญญาใหได (ขอหารือตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การที่ 13/2523) กรณีตัวอยาง ผขู ายไมส งของตามสัญญาใหแ กผ ูซือ้ โดยอา งวา บริษัทผูผลิตในไตหวันไมยอม สง ของใหเนื่องจากไมมีความสัมพันธทางการทูตกับประเทศไทยนั้น ไมใชเหตุสุดวิสัย(ขอหารือตามคํา วินิจฉยั กรมอัยการที่ 24/2521)

- 119 - การขาดแคลนวัสดุ อุปกรณใ ชใ นการกอสรา ง ไมถ ือวา เปน เหตสุ ุดวิสัย กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาไดทําสัญญาจางผูรับจางทําการกอสรางอาคารของวิทยาลัย เกษตรกรรมพิจิตร แตผูรับจางไมอาจทํางานจางไดแลวเสร็จภายในกําหนดสัญญา จึงขอตออายุสัญญา โดยอางวาขนาดไมโ ครงหลงั คาและโครงสรางอ่นื ๆ มีความยาวมาก ไมมีจาํ หนา ยในทองตลาด ดังน้ีจะ เปน เหตุสุดวสิ ยั หรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาขออางของผูรับจางท่ีขอตออายุสัญญาจาง เนื่องจากขาดแคลน ไมขนาดตาง ๆ นั้น มิใชเหตุสุดวิสัย เพราะผูรับจางสามารถปองกันได กับทั้งผูรับจางมีหนาที่ตอง เตรียมจัดหาไวใหเพียงพอกับการใชงานหรือมิฉะนั้น ก็ตองสั่งซื้อเสียแตเน่ิน ๆ ตามสมควร ตามวิสัย ของผูมีอาชีพรับเหมากอสราง การที่ผูรับจางเพ่ิงติดตอในชวงเวลาที่ผูขายไมสามารถสงของไดทันตาม สญั ญา กรณมี ใิ ชเ หตุสุดวิสัย (ขอ หารอื ตามคาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 148/2525) กรณีตัวอยาง กรมการฝกหัดครูทําสัญญาวาจางหางหุนสวนจํากัด อ. กอสรางอาคารเรียน โดยไดจ ัดทาํ สญั ญาจา งภายหลังจากกองทัพภาคท่ี 4 ออกคาํ ส่ังปดปา ถึง 9 เดอื น หากมีการขาดแคลนไม เน่ืองจากคําสั่งปดปา ผูรับจางยอมทราบดีอยูแลวกอนเขาทําสัญญา ควรจะไดหาทางแกไขและปองกัน ได ดังนั้น พฤติการณการขาดแคลนไม จึงเปนพฤติการณที่หางตองรับผิดชอบ มิใชเหตุสุดวิสัยท่ีจะขอ ตออายสุ ัญญาดว ยเหตดุ ังกลา วได (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การที่ 183/2523) กรณีตัวอยาง นํ้ามันขาดแคลนในทองท่ีท่ีผูรับจางรับทํางานตามสัญญาจาง แตยังไมถึงขนาด ไมมีอยเู ลย ท้ังผูรับจางมีโอกาสจะจัดหานํ้ามันเตรียมการไวกอนแลว กรณีไมใชเหตุสุดวิสัย (ขอหารือ ตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การที่ 153/2523) กรณีตัวอยาง การขาดแคลนปูนซิเมนต ไมใชเหตุสุดวิสัยที่จะพิจารณาตออายุสัญญาได (ขอ หารือตามคําวินิจฉัยกรมอยั การท่ี 176/2522) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายทําขึ้นหลังจากเกิดภาวะการขาดแคลนนํ้ามันเช้ือเพลิง และผูขาย ยอมทราบภาวะการขาดแคลนนํ้ามันอยูกอนแลว จึงไมอาจอางไดวาปญหาการขาดแคลนนํ้ามันเปนเหตุ สุดวิสัยเพ่ือขอตออายุสัญญา และการท่ีโรงงานผูผลิตประสบปญหาท่ีมีผูสั่งซื้อมากจนอุปกรณท่ีใชใน การผลติ หมดสตอ ก กไ็ มอ าจถอื วาเปนเหตสุ ุดวสิ ัย (ขอ หารือตามคําวินจิ ฉยั กรมอยั การที่ 3/2519)

- 120 - อุปสรรคทถี่ ือวาเปน เหตุสุดวิสยั กรณีตัวอยาง สินคาที่ซื้อขายตามสัญญาเปนสินคาที่ตองส่ังจากโรงงานผูผลิตในตางประเทศ ผูขายไดส่ังสินคาเขามาเก็บในคลังสินคาแลว แตสิ่งของดังกลาวชํารุดเพราะเกิดน้ําทวมในคลังสินคา ซ่ึงเกิดกอนกําหนดเวลาสงมอบใหแกผูซื้อ ผูขายจึงตองส่ังใหบริษัทผูผลิตสงของมาใหมแทน ทําให การสงมอบลาชากวากําหนดตามสัญญา เปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 199/2525) กรณีตัวอยาง การนัดหยุดงานของคนงานโรงงานผูขายเปนผลโดยตรงที่ทําใหการสงมอบ ลา ชา เปนเหตุสุดวสิ ยั (ขอหารอื ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 79/2521) กรณีตัวอยาง สํานักงานเรงรัดพัฒนาชนบททําสัญญาซื้อขายรถเกล่ียดิน กับบริษัท ย. ตอมา บรษิ ัท ย. แจง วา ไมส ามารถสง ของไดต ามกาํ หนดเพราะเกิดการนัดหยุดงานของกรรมการท่ีโรงงานของ บริษัทผูผลิตในตางประเทศ เปนเหตุใหผูผลิตไมสามารถผลิตรถเกลี่ยดินไดตามเวลาที่กําหนดไว ดังนี้ กรณีเปน เหตุสดุ วิสัย บริษทั ย. ขอขยายเวลาสงมอบได (ขอหารือตามคําวนิ ิจฉัยกรมอยั การที่ 84/2521) กรณีตัวอยาง การนัดหยุดงานที่ทาเรือในสหรัฐอเมริกา เปนผลโดยตรงที่ทําใหผูขายไมอาจ สงมอบส่ิงของไดตามกําหนดเวลาในสัญญา เปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 97/2521) เหตุจากภยั ธรรมชาติ นอกเหนอื ความคาดหมายขอขยายเวลาสัญญาได กรณีตัวอยาง งานถมดินบริเวณสถานที่กอสราง ข้ึนอยูกับดินฟาอากาศเปนสําคัญ หากขอ เท็จจรงิ ฟง ไดวาในชวงเวลาดังกลาว ฝนตกลงมาจนเปนอุปสรรคขัดขวางไมสามารถทํางานตาม สญั ญาได ยอ มเปน เหตสุ ดุ วิสยั (ขอหารือตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การท่ี 6/2525) กรณตี วั อยาง ผรู บั จา งตอ งหยุดงานเนอื่ งจากน้าํ ทว ม ถอื ไดวาเปนเหตุสุดวิสัยท่ีผูรับจางไมอ าจ ปองกันได ผูวาจางยอมพิจารณาตออายุสัญญาโดยงดหรือลดคาปรับใหแกผูรับจางได (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉยั กรมอัยการที่ 212/2523) กรณีตัวอยาง เสนทางท่ีใชในการขนสงวัสดุกอสรางนํ้าทวมจนทางราชการสั่งปดถนนเปน เหตุใหผูรับจาง ไมอาจขนสงวัสดุใหตามสัญญาได ยอมถือเปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอยั การที่ 97/2522)

- 121 - กรณีตวั อยาง ฝนตกหนกั นา้ํ ปาไหลเซาะทางขาด เปนเหตุใหเกิดอุปสรรคแกผูรับจางและมิใช เหตุการณท ่ีเกิดขึ้นตามฤดกู าล ยอมเปนเหตสุ ดุ วิสัย (ขอ หารอื ตามคาํ วนิ ิจฉยั กรมอัยการท่ี 132/2522) กรณีตวั อยา ง ภาวะฝนแลง ในชวงเดือนมกราคม-เมษายน จะเปนเหตุสุดวิสัยหรือไมขึ้นอยูกับ วาผูขายทราบอยูกอนทําสัญญาหรือไมวาในชวงเวลาดังกลาวสภาพอากาศเกิดฝนแลงเปนประจํา หากไมทราบอาจถือวา เปน เหตสุ ุดวิสยั ได (ขอ หารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 101/2530) กรณตี ัวอยา ง น้าํ ทว มเกดิ ขนึ้ โดยคาดหมายไมได แมผ รู บั จางจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร แลว ก็ไมอาจปองกนั ได เปน เหตุใหการทํางานตองหยุดและทําใหการสงมอบงานลาชา เปนเหตุสุดวิสัย (ขอ หารอื ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอยั การท่ี 128/2526) กรณีตัวอยาง น้ําทวมบริเวณงานกอสราง ซ่ึงทวมลนตล่ิงเปนปรากฏการณของระดับน้ํา สูงสุดที่จะเกิดในรอบ 20 ปตอครั้ง และโดยพิจารณาประกอบรายงานของผูเช่ียวชาญ (กรม ชลประทาน) แลวอาจถอื ไดวา เปน เหตสุ ดุ วสิ ัย (ขอหารือตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอยั การที่ 84/2527) กรณีตัวอยาง กรมการปกครองไดรับแจงวา จังหวัดนครศรีธรรมราชไดทําสัญญาวาจาง นาง ล. ทําการกอสรางสะพาน ค. ส. ล. ผูรับจางไดทํางานจางตามสัญญา โดยไดเบิกจายเงินคาจางงวด ที่ 1 และงวดท่ี 2 ใหแกผูรับจางแลว คงเหลืองวดท่ี 3 (งวดสุดทาย) ซึ่งผูรับจางไดทํางานกอสรางตาม สัญญาแลวเสร็จ และกําลังจะสงมอบงานงวดสุดทาย ไดเกิดภาวะนํ้าทวมฉับพลันทําใหสะพานไดรับ ความเสียหาย กอนท่ีคณะกรรมการตรวจการจางจะตรวจรับงานจาง จังหวัดจึงยังไมสามารถจะเบิกจาย เงินงวดสุดทายใหแกผูรับจางได จนกวาผูรับจางจะแกไขหรือทําขึ้นใหมใหอยูในสภาพม่ันคง เหมือนเดิม ตามแบบแปลนในสัญญา ดังนี้เปนเหตุสุดวิสัยจังหวัดสามารถพิจารณาตออายุสัญญาใหแก ผรู ับจา งเพราะเหตดุ งั กลาวได (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอัยการท่ี 10/2534) กรณีตัวอยาง เรือบรรทุกสินคาถูกพายุโซนรอนทําใหเรืออับปางและสินคาเสียหายท้ังหมด ถอื ไดว าเปน เหตุสดุ วสิ ัย (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉยั กรมอัยการท่ี 87/2528) ภัยธรรมชาตทิ ่เี กดิ ปกติเปน ประจําตามฤดกู าล นาํ มากลา วอา งขยายเวลาสัญญาไมได กรณีตัวอยาง น้ําทวมบริเวณสถานที่กอสรางซ่ึงเกิดข้ึนในชวงเวลาทํางานตามสัญญาจางเปน ประจําทุกป มิใชเหตุสุดวิสัยเพราะกอนทําสัญญาผูรับจางยอมจะใชความระมัดระวังและปองกันได โดยตอรองระยะเวลาการทํางานออกไปเทาท่ีจะสามารถปฏิบัติงานใหแลวเสร็จได (ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉัยกรมอัยการที่ 124/2522)

- 122 - กรณีตัวอยาง ผูรับจางทราบวาบริเวณที่จะทําการกอสรางไดเกิดน้ําทวมข้ึนกอนลงนาม ในสัญญา และมีน้ําทวมเปนเหตุการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นทุกป จึงไมอาจนับไดวาเปนเหตุสุดวิสัย (ขอ หารือตามคาํ วนิ จิ ฉัยกรมอยั การที่ 164/2530) กรณีตัวอยาง นํ้าทวมขังบริเวณสถานที่กอสราง ไดเกิดข้ึนในชวงเวลาทําการตามสัญญา เปนประจําทุกปแลว ก็นับวาไมใชเหตุสุดวิสัย เวนแตเหตุนั้นมิไดเกิดข้ึนเปนประจําทุกปและคาดหมาย ไมไดวาจะเกิดข้ึนเม่ือใดหรือไม ก็อาจถือเปนเหตุสุดวิสัยได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 16/2528) ครบกาํ หนดอายุสญั ญาแลว จงึ เกดิ เหตุสุดวสิ ยั นาํ มาอา งขอขยายเวลาสัญญาไดห รอื ไม แนววนิ จิ ฉยั กรมอัยการเดมิ กรณีตวั อยา ง อายุการทํางานตามสัญญาสนิ้ สุดลงแลว ผรู บั จางทาํ งานไมแลวเสร็จหลังจากน้ัน ไดเกิดอุทกภัย เปนเหตุใหแขวงการทางส่ังปดทาง และเปนเหตุใหผูรับจางไมอาจลําเลียงวัสดุอุปกรณ ในการกอสรางได เหตุดังกลาว ผูรับจางจะนํามาอางเปนเหตุสุดวิสัยเพ่ืองดคาปรับไมได เพราะ ชวงเวลาหลังจากครบกําหนดอายุสัญญา แมผูรับจางทํางานตอมาก็ไมหมายความวา ผูวาจางยอมผอน ผนั เวลาใหแ กผ รู ับจางอนั จะไมต องรบั ผดิ ตามสัญญา (ขอหารอื ตามคําวินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 221/2523) กรณตี ัวอยาง สาํ นักงานพลังงานแหง ชาติทําสญั ญาวา จา งหางหุนสวนจํากัด ต. ทําการกอสราง คลองสงนํ้า กําหนดใหผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณภายในวันที่ 11 พฤษภาคม 2521 แตหางไดสง มอบงานลาชากวากําหนดตามสัญญา 78 วัน โดยหางมีหนังสือขอตอสัญญาออกไป จํานวน 22 วัน เน่ืองจากการเกิดอุทกภัยระหวางวันที่ 9 - 31 สิงหาคม 2521 อางวาเปน เหตุสุดวิสัยไมสามารถทํางาน จา งได ดังน้ีจะตอ สญั ญาไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาการท่ีหางหุนสวนจํากัด ต. ผิดนัดไมชําระหนี้ (สงมอบ งาน) ใหต รงตามเวลาท่ีกําหนด หา งจะยกเหตทุ ีอ่ างระหวา งผิดนดั มาเปนขออางเพื่อยืดเวลาการชําระหนี้ ไมได หางตองรับผิดชอบตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 217 (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอยั การที่ 80/2523)

- 123 - กรณีตัวอยาง การนัดหยุดงานของกรรมกรในโรงงานผูผลิตในตางประเทศ ซึ่งอยูภายใน ระยะสงมอบ ยอมถือเปนเหตุสุดวิสัย อันจะนําไปขยายระยะเวลาสงมอบไปไดเทาระยะเวลาท่ีเปนเหตุ สุดวิสัยนั้น สวนกรณีไมมีเรือบรรทุกของมายังประเทศไทยท่ีอางเปนเหตุสุดวิสัย หากไดลวงพน ระยะเวลาสงของลงเรืองวดสุดทายตามสัญญาแลวยอมจะนํามาอางเปนเหตุสุดวิสัยไมได (ขอหารือตาม คาํ วนิ จิ ฉัยกรมอัยการที่ 105/2518) แนววินจิ ฉยั สาํ นักงานอยั การสูงสุดใหม กรณีตัวอยาง จังหวัดชุมพรทําสัญญาจางเอกชนขุดลอกคลองกําหนดทํางานแลวเสร็จ ภายในวันท่ี 20 สิงหาคม 2540 ตอมาวันท่ี 22 สิงหาคม 2540 เกิดอุทกภัยซึ่งเปนภัยธรรมชาติเปน ภัยธรรมชาติมาขัดขวางเปนเหตุใหไมสามารถทํางานตอไปได เปนเหตุสุดวิสัยที่ผูรับจางไมตอง รับผิด และผูรับจางไดแจงเหตุดังกลาวใหแกผูวาจางทราบแลว หัวหนาสวนราชการมีอํานาจ พิจารณางดหรือลดคาปรับไดตามจํานวนวันท่ีเกิดอุทกภัยจริง (ขอหารือสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ 129/2540) กรณีตัวอยาง จังหวัดชุมพรทําสัญญาจางเอกชนขุดลอกหวย กําหนดทํางานแลวเสร็จ ภายในวันท่ี 23 กรกฎาคม 2540 ตอมาวันที่ 22 สิงหาคม 2540 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2540 เกิดอุทกภัยเนื่องจากพายุไตฝุนเปนเหตุใหผูรับจางไมสามารถทํางานได ผูรับจางจึงแจงขอหยุด งานช่วั คราวและขอลดคาปรบั ชว งเกดิ อทุ กภยั สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวาเหตุสุดวิสัยเกิดหลังครบกําหนดเวลาตาม สัญญาจาง ผูรับจางไมอาจอาง ป.พ.พ. มาตรา 205 เพ่ือใหพนความรับผิดตามสัญญาได ขอเท็จจริงเร่ืองน้ีไดความวา ผูรับจางยังมิไดบอกเลิกสัญญาแมลวงเลยกําหนดระยะเวลาตาม สญั ญา ซ่ึงแสดงวาคูสัญญายงั ผูกพนั ตอกันตามสญั ญาจาง ระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการ พัสดุ พ.ศ.2535 ขอ 139 ไดใหอํานาจหัวหนาสวนราชการที่จะพิจารณางดหรือลดคาปรับ โดยมิไดกําหนดวาจะตองเปนเหตุท่ีเกิดขึ้นกอนสิ้นสุดระยะเวลาตามสัญญา ผูวาจางมีอํานาจ พิจารณางดหรือลดคาปรับได สวนกรณีท่ีผูรับจางขออนุมัติใหหยุดงานนั้น ผูรับจางไดหยุดงาน โดยเหตุน้ําทวมซ่ึงเปนเหตุสุดวิสัยอยูแลว จึงไมมีกรณีอนุมัติใหหยุดงานแตอยางใด (ขอหารือ สาํ นักงานอัยการสูงสุดที่ 130/2540)

- 124 - หมายเหตุ เรอ่ื งน้ีผูขายอางวาไมมีเรือบรรทุกสินคาในปลายเดือนมีนาคม 2516 วันท่ี 15 เมษายน 2516 และวันที่ 30 เมษายน 2516 แตตามสัญญากําหนดสงมอบของงวดสุดทายในวันท่ี 15 ธันวาคม 2515 เหตุที่ผูขายอางวาไมมีเรือเกิดขึ้นภายหลังครบกําหนดอายุสัญญาแลวการท่ีผูขายไมรีบสงของ ภายในกําหนดอายุสัญญาซึ่งเปนชวงเวลาท่ีมีเรือบรรทุกสินคา จึงเปนพฤติการณที่ผูขายตองรับผิดชอบ ดวย ไมอาจนาํ มากลา วอา งขอขยายเวลาสัญญาได การขาดเงนิ ทุนหมนุ เวียน การลดคาเงนิ บาท ไมใชเ หตขุ ยายเวลาสัญญา การท่ีผูวาจางจายเงินคาจางใหกับผูรับจางลาชากวากําหนดเวลาตามสญั ญาจาง ผูรับจางยกเปน เหตุเรียกรองคาเสียหายได แตจะยกเปนขออางเพื่อขอตออายุสัญญาไมได เพราะผูรับจางมีหนาที่ตอง จัดเตรียมสิ่งของ สัมภาระ และชางฝมือไวเพื่อดําเนินการใหแลวเสร็จตามสัญญาผูรับจางจึงอางเหตุวา ขาดทุนหมุนเวียน คาวัสดุหรือรานคาไมใหเครดิตเปนเหตุผลตออายุสัญญาเพื่องดหรือลดคาปรับไมได (ขอหารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอัยการท่ี 167/2525) การปรับคาเงินบาทมิใชเหตุสุดวิสัย เพราะเปนกรณีท่ีอาจเกิดข้ึนได ตามปกติสุดแตรัฐบาล จะกําหนดตามภาวะเศรษฐกิจ ซึ่งผูขายหรือผูรับจางจะตองเสี่ยงภัยในการประกอบกิจการของตน (ขอ หารอื ตามคาํ วนิ จิ ฉัยกรมอัยการที่ 1/2528) เหตุอน่ื ๆ กรณตี วั อยาง ผกค. คกุ คามและซมุ โจมตี เปนเหตุใหผูรับจางไมสามารถทํางานจางไดเปนเหตุ สดุ วสิ ยั (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉัยกรมอยั การท่ี 25/2525) กรณีตัวอยาง เหตุเก่ียวกับสถานการณไมสงบและมีการตอสูทางทหารที่ชายแดนไทยทําให การขนสงวัสดุเขาไปยังสถานที่กอสรางไมปลอดภัย เปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอยั การท่ี 70/2524) กรณตี วั อยา ง กรมประชาสมั พันธ ไดทาํ สัญญาซ้ือขายเคร่อื งสง วิทยุ กระจายเสียงกับบริษัท อ. ตอมาเกิดเหตุการณปฏิวัติขึ้นในประเทศไทย เปนเหตุใหบริษัทติดต้ังเครื่องรับสงวิทยุลาชากวากําหนด จาํ นวน 5 วนั เปนพฤตกิ ารณท ีผ่ ขู ายไมตอ งรับผิดชอบ (ขอหารอื ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอยั การที่ 9/2525)

- 125 - กรณีตัวอยาง กรรมกรของผูรับจางกอสรางนัดหยุดงาน มีการปดกั้นและประกาศไมใหผูใด เขาทํางานพรอมท้ังขมขูวาจะใชอาวุธปนถาขัดขืน เปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 121/2521) กรณตี วั อยา ง ผูรบั จางไมส ามารถทํางานได เน่ืองจากถูกอิทธิพลขมขู แตเจาหนาที่ของรัฐเขา ควบคุมสถานการณไ วไ ด ไมถอื วาเปนเหตสุ ดุ วิสยั (ขอหารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 190/2528) คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ. ๒๖๐/๒๕๕๒ ผูฟองคดีไดยื่นซองประกวดราคาจางเหมากอสรางอาคารท่ีวาการอําเภอบันนังสตา จังหวัด ยะลา และไดลงนามในสัญญาจางกับผูถูกฟองคดีเมือ่ วันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๗ วงเงินคากอสราง ๗,๙๘๐,๐๐๐ บาท รวมทั้งไดนําหนังสือค้ําประกันของธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จํากัด (มหาชน) จํานวน ๓๙๙,๐๐๐ บาทมอบใหแกผูถูกฟองคดีเพ่ือเปนหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาโดยตองเร่ิมทํางาน ภายในวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๗ และตองทําใหเสร็จสมบูรณภายในวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ สัญญาจางดงั กลาวไดกาํ หนดวา ถา ผรู ับจา งมิไดล งมอื ทํางานภายในกําหนดเวลา หรือไมสามารถทํางาน ใหแลวเสร็จตามกําหนดเวลา ผูวาจางมีสิทธิยกเลิกสัญญาและมีสิทธิจางผูรับจางรายใหมเขาทํางาน รวมท้ังมีสิทธิริบหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาภายหลังจากท่ีทําสัญญาแลวผูฟองคดีไมไดเขา ทํางานภายในระยะเวลาท่ีกําหนด นายอําเภอบันนังสตาในฐานะผูรับมอบอํานาจจากผูถูกฟองคดี จึงจัดทําหนังสือเรงรัดใหผูฟองคดีเขาดําเนินการกอสรางตามสัญญา แตผูฟองคดีขอสงวนสิทธิขยาย ระยะเวลาการกอสรางโดยอางวาสถานการณความไมสงบที่เกิดขึ้นในภาคใต ทําใหแรงงานไมยอมเขา ทํางานในพ้ืนท่ี ผูถูกฟองคดีเห็นวาเหตุดังกลาวมิใชเหตุอันอาจขอขยายระยะเวลาได แตเปนกรณีที่ผู ฟองคดีขาดสภาพคลองทางการเงิน จงึ ไดข อใหผูฟองคดีเรง กอสรา งใหแลว เสรจ็ ตามสญั ญา ผูฟองคดีจึง ไดมีหนังสือยืนยันความรับผิดชอบในการทํางาน แตเม่ือถึงกําหนดก็ไมไดเขาดําเนินการกอสราง ผูถูก ฟองคดีจึงมีหนังสือบอกเลิกสัญญาจางและขอสงวนสิทธิในการริบเงินประกันตามสัญญากับผูฟองคดี หลังจากน้ัน ผูถูกฟองคดีไดอนุมัติใหอําเภอบันนังสตาดําเนินการจางกอสรางอาคารที่วาการโดยวิธี พเิ ศษ แตไ มมผี ูประกอบการรายใดสนใจรับงานกอสรางอาคารดังกลา ว นอกจากนี้ ยังปรากฏขอเท็จจริง วากอนหนาน้ีผูถูกฟองคดีไดทํา การสํารวจวามีผูประกอบการรับเหมาท่ีอยูในขายไดรับผลกระทบการ ขาดแคลนแรงงานจากปญหาความไมสงบเรียบรอยที่เกิดขึ้นหรือไมซึ่งผลปรากฏวามีผูรับเหมายื่นคํา

- 126 - รอ งขอขยายระยะเวลาการกอ สรางหรือขอตอ อายสุ ัญญาจางหรอื ของดหรือลดคา ปรบั ผูฟ องคดีจึงเห็นวา ผูถูกฟองคดีไมอาจริบหลักประกันได เน่ืองจากการที่ไมอาจปฏิบัติตามสัญญาเปนเพราะเกิดเหตุการณ ความไมสงบในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ทําใหคนงานไมกลาเขาไปทํางานในพื้นที่ ซ่ึงเปน เหตุการณที่อยูนอกเหนือการควบคุมของผูฟองคดีศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวา ดว ยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ขอ ๑๓๙ วรรคหน่ึง กําหนดวาการงดหรือลดคาปรับใหแก คูสัญญาหรือขยายระยะเวลาทําการตามสัญญาหรือขอตกลง ใหอยูในอํานาจของหัวหนาสวนราชการที่ จะพจิ ารณาไดต ามจํานวนทมี่ ีเหตเุ กิดข้ึนจริงเฉพาะกรณดี งั ตอไปนี้ (๑) เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการ (๒) เหตุสุดวิสัย (๓) เหตเุ กดิ จากพฤติการณอ นั หนง่ึ อนั ใดทคี่ สู ญั ญาไมตอ งรับผดิ ตามกฎหมาย เมื่อปรากฏวา ผูถูกฟอ งคดี ยอมรับวาไดเกิดเหตุการณความไมสงบในพื้นท่ี ๓ จังหวัดชายแดนภาคใตจริงกรณีจึงมีเพียงปญหา ที่ตองพิจารณาวาเหตุการณดังกลาวมีความรุนแรงจนเปนเหตุใหผูฟองคดีไมสามารถจัดหาคนงานเขา ทํางานในพ้ืนที่กอสรางไดจริงหรือไม ซ่ึงเม่ือผูถูกฟองคดีไดทําการสํารวจแลวพบวา ผูประกอบการ รบั เหมาเกือบทั้งหมดอยูในขายไดรับผลกระทบการขาดแคลนแรงงานจากปญหาความไมสงบที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ เม่ือผูถูกฟองคดีบอกเลิกสัญญากับผูฟองคดีก็ปรากฏวาไมมีผูประกอบการรายใดสนใจที่จะ รับงานกอสรางดังกลาว โดยตางใหเหตุผลวาพื้นที่กอสรางเปนพื้นท่ีลอแหลม เสี่ยงภัย คนงานกอสราง ไมกลาเขาทํางานหรือพักอาศัยในสถานท่ีกอสราง ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากขอเท็จจริงดังกลาวแสดง ใหเห็นวา การท่ีผูฟองคดีไมสามารถรับงานจางกอสรางอาคารที่วาการอําเภอบันนังสตาไมไดมีสาเหตุ สาํ คัญมาจากเรอื่ งงบประมาณทีไ่ มเพยี งพอแตเ พยี งประการเดียว และขอเท็จจริงดงั กลาวเพยี งพอท่ีจะรับ ฟงไดว าเหตุการณความไมสงบท่ีเกิดข้ึนมีความรุนแรง จนเปนเหตุใหผูประกอบการรับเหมาซ่ึงรวมท้ัง ผูฟองคดีประสบปญหาการขาดแคลนแรงงานท่ีจะเขาทํางานในพื้นท่ีกอสรางจริง ประกอบกับ เหตุการณดังกลาวเปนเหตุการณท่ีผูฟองคดีไมอาจปองกันได แมจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนผูฟองคดีกรณีจึงถือไดวาเปนเหตุสุดวิสัยตามนัย ขอ ๑๓๙ วรรคหนึ่ง ของระเบียบสํา นักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๕และของสัญญาจาง เม่ือผูฟองคดีมีหนังสือแจงเหตุสุดวิสัยดังกลาวใหผูถูกฟองคดีทราบและขอขยายระยะเวลาการกอสราง ตามสัญญาจาง ผูถูกฟองคดีชอบที่จะพิจารณาขยายระยะเวลาใหแกผูฟองคดี การท่ีผูถูกฟองคดีไม พิจารณาขยายระยะเวลาและบอกเลิกสัญญาจางกับผูฟองคดี รวมท้ังริบเงินหลักประกันจากธนาคารผูคํ้า ประกนั จึงเปน การไมช อบตามระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วา ดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕

- 127 - 3. พฤติการณท่ลี ูกหนีไ้ มตอ งรับผดิ ชอบ กรณีตัวอยาง กองทัพบกไดทําสัญญาตกลงซ้ือขายกลองถายภาพความเร็วสูง กับบริษัท ก. ระบุวาเปนย่ีหอใดย่ีหอหน่ึงโดยเฉพาะเจาะจง ซ่ึงเปนผลิตภัณฑของบริษัท ร. ประเทศอเมริกาโดยใหผู ซ้ือมีหนาที่ขอยกเวนภาษีนําเขาใหแกผูขาย จึงเปนการซ้ือขายส่ิงของจากผูผลิตในตางประเทศเทาน้ัน เมื่อบริษัท ก. ผูขายสงมอบลาชาเน่ืองจากบริษัทผูผลิตจะตองขออนุญาตสงออกจากกระทรวงพาณิชย ของสหรัฐอเมริกา และกระทรวงพาณิชยใชเวลาในการพิจารณาคําขอนานถึง 99 วัน ถือไดวาเปน พฤติการณที่ผูขายไมตองรับผิดชอบ ดังนั้นในการคิดคาปรับกองทัพบกจะตองนําเวลาที่กระทรวง พาณชิ ยของสหรฐั อเมริกา พิจารณาคาํ ขออนญุ าตสงออกนานเกนิ กวาเวลาท่ีใชในการพิจารณาตามปกติ หักออกจากระยะเวลาท้ังหมดท่ีสงมอบลาชาเสียกอน โดยคิดหักคาปรับเฉพาะเวลาในสวนท่ีเหลือจาก การหกั ออกแลว (ขอหารอื ตามคาํ วนิ ิจฉัยกรมอัยการท่ี 88/2530) หมายเหตุ เร่ืองนี้ตองพิจารณาขอเท็จจริงวาเวลาท่ีใชในการพิจารณาตามปกติอาจมีเวลาเพียง 7 วัน หรอื 10 วนั แลว นําเวลาทใี่ ชในการพจิ ารณาคาํ ขอปกตหิ กั ออกจากจาํ นวน 99 วันกอน เหลอื เทาไร เปนเวลาท่ีใชในการพิจารณาคําขออนุญาตสงออกนานเกินปกติ แลวจึงนํามาหักออกจากระยะเวลาท่ี ผูขายสง มอบลา ชาทั้งหมด สวนทเ่ี หลือนํามาคิดคาปรบั กรณตี วั อยา ง ขณะที่ผูรับจางทาํ การตอกเสาเข็ม ไดพบฐานรากของอาคารฝงลึกอยูใตดิน ผูรับ จางตองเสียเวลารื้อถอน เอาฐานรากเดิมออกกอน จึงตอกเสาเข็มได ดังน้ีไมถือเปนเหตุสุดวิสัย แตการ ท่ีผูรับจางตองเสียเวลากับการร้ือถอนฐานรากอาคารเกาออก เปนพฤติการณท่ีผูรับจางตองรับผิดชอบ อันจะมีผลใหถือวา ผูรับจางไดช่ือวาเปนผูผิดนัดหรือไม ยอมข้ึนอยูกับขอเท็จจริง กลาวคือ หาก คูสัญญาไมอาจทราบถึงอุปสรรคดังกลาวมากอนเลย ผูวาจางมิไดแจงใหผูรับจางทราบถึงอุปสรรค ดังกลาวมากอน รวมท้ังสภาพของพ้ืนท่ีกอสรางอาคารท่ัวไปไมอาจทราบไดวามีฐานรากอาคารเดิมฝง อยูใตดิน ตองทําการร้ือถอนเสียกอน กรณีเชนนี้ยอมถือไดวาเปนพฤติการณ ท่ีผูรับจางไมตอง รบั ผิดชอบ หากผรู ับจางทาํ งานลาชากวากําหนดเน่ืองจากเหตุดังกลาว ก็จะปรับผูรับจางตามสัญญาหรือ ถอื วาผรู ับจา งผดิ นดั ไมได (ขอ หารอื ตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การที่ 41/2530) กรณีตัวอยาง กรมทหารสื่อสารไดทําสัญญาซื้อขายตูสาขาโทรศัพท จํานวน 1 ตู พรอมเคร่ืองโทรศัพทชนิดกดปุม จํานวน 600 เคร่ือง จากบริษัท อ. กําหนดสงมอบและติดต้ังใหแลว

- 128 - เสร็จสามารถใชงานไดดี ภายในวันท่ี 31 กรกฎาคม 2529 ท่ีโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา เขาชะโงก อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก บริษัทผูขายไดสงมอบตูสาขาโทรศัพทอัตโนมัติและติดต้ัง แลวเสร็จเม่ือวันที่ 18 กันยายน 2529 เกินกําหนดในสัญญาไป 49 วัน เน่ืองจากผูซ้ือกอสรางอาคาร ชุมสายโทรศัพทถาวรไมเสร็จ ซึ่งถือวาเปนการชําระหน้ีของบริษัทผูขายที่ยังมิไดทําลงเพราะ พฤติการณอันใดอันหนึ่ง ซ่ึงบริษัทผูขายไมตองรับผิดชอบ บริษัทผูขายจึงไมตองรับผิดชําระคาปรับ กรณีสง มอบลา ชา (ขอหารอื ตามคําวนิ จิ ฉยั กรมอัยการท่ี 154/2530) กรณีตัวอยาง กรมวิชาการเกษตรไดทําสัญญาจางบริษัท ส.ทําการกอสรางและปรับปรุง ศูนยวิจัยฯ แตบริษัท ส. ไมสามารถดําเนินการกอสรางตามสัญญาได เนื่องจากมีปญหาราษฎรบุกรุก ที่ดิน ดังนี้ถือวา เปนพฤติการณที่ผูรับจางไมตองรับผิดชอบ และไมตกเปนผูผิดนัดตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 205 (ขอ หารอื ตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 152/32) กรณีตัวอยาง สํานักนโยบายและแผนมหาดไทย ไดทําสัญญาซ้ือขายรถจักรยานยนต พรอ มอุปกรณวิทยุสื่อสาร จํานวน 45 คัน กับบริษัท ม. กําหนดสงมอบส่ิงของภายในวันท่ี 30 ธันวาคม 2528 แตผูขายไมสามารถสงมอบสิ่งของภายในกําหนดเวลาได เนื่องจากไดรับอนุญาตการนําเขาจาก กรมไปรษณียโทรเลข ในวันท่ี 30 ธันวาคม 2528 ดังนั้น ในชวงเวลาความลาชาดังกลาว หากผูขายไม มีสวนกอใหเกิดขึ้นดวยแลว ยอมถือวาเปนพฤติการณที่ผูขายไมตองรับผิดชอบ ผูซ้ือไมอาจใชสิทธิ ปรบั ผูขายตามสัญญาได (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 7/2529) กรณีตัวอยาง ผูขายจําเปนตองส่ังซ้ือส่ิงของตามสัญญาจากโรงงานผูผลิตในประเทศญ่ีปุน โดยตรงเพราะไมส ามารถจัดซอ้ื จากแหลง อ่นื ได ทง้ั ไดเ กิดเพลิงไหมโกดังเก็บของภายในโรงงานผูผลิต กอนถึงกําหนดสงมอบของใหแกผูซ้ือตามสัญญา เปนเหตุใหสิ่งของเสียหาย ผูผลิตตองเสียเวลาผลิต ใหมจริง ก็ตองถือวาเปนพฤติการณที่ผูขายไมตองรับผิดชอบและผูขายยังไมตกเปนผูผิดนัด ผูซื้อจึงไม อาจปรับผูขายเพราะสงมอบลาชาได และผูขายยอมนําเหตุน้ีมาอาง เพื่อขอตออายุสัญญาไดดวย (ขอหารือตามคําวนิ จิ ฉยั กรมอัยการท่ี 68/2527) กรณีตัวอยาง กองทัพบกไดทําสัญญาซื้อขายเครื่องรับ-สงวิทยุ ขนาด 125 วัตต จํานวน 15 ชุด และขนาด 5 วัตต จํานวน 40 ชุด จากบริษัท ย. กําหนดสงมอบสิ่งของภายในวันที่ 4 มกราคม 2526 ปรากฏวาผูขายสงมอบเคร่ืองรับสงวิทยุขนาด 5 วัตต เม่ือวันท่ี 20 เมษายน 2526 และขนาด 125 วัตต เม่ือวันที่ 12 มิถุนายน 2526 ลาชากวากําหนดเวลาตามสัญญา เน่ืองจากผูขายไดมีหนังสือแจงใหฝาย

- 129 - ผูซ้ือออกหนังสือรับรองไปยังกรมไปรษณียโทรเลข ตามหนังสือ ลงวันท่ี 14 กรกฎาคม 2525 หลังวัน ลงนามในสัญญาเพียง 5 วัน แตการออกใบอนุญาตไดแลวเสร็จเรียบรอยเม่ือวันท่ี 14 เมษายน 2526 รวมใชเวลาถึง 9 เดือนเศษ พนกําหนดสงมอบตามสัญญาไปแลวถึง 3 เดือนเศษ เปนเหตุใหผูขายไม สามารถนําเคร่ืองรับ-สงวิทยุ สงมอบใหผูซื้อไดจึงมีปญหาวาผูขายจะตองรับผิดชําระคาปรับเนื่องจาก การสงมอบลาชา หรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาความลาชาดังกลาวเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของทางราชการใน การออกใบอนุญาตฯ โดยผูข ายไมม สี ว นกอใหเกิดความลา ชา ดังกลาวดว ยแลว ยอมถือวาเปนพฤติการณ ท่ผี ขู ายไมตองรับผิดชอบและผูขายยังไมไดช่ือวาเปนผูผิดนัด กองทัพบกจงึ ไมอาจใชสิทธิปรับผูขายใน ชวงเวลาความลา ชา ท่เี กดิ จากเหตดุ งั กลาวได (ขอ หารือตามคาํ วนิ ิจฉยั กรมอัยการท่ี 57/2527) กรณีตัวอยาง สัญญาซื้อขายระบุใหผูขายตองสงสินคาจากตางประเทศมายังประเทศไทย โดยใชเรือไทย แตปรากฏวาเรือไทยถูกยึด ทําใหสินคาไมอาจสงมายังประเทศไทยไดผูขายจึงสง มอบลาชา เปนพฤติการณที่ผูขายไมตองรับผิดชอบ ซึ่งจะปรับผูขายในชวงเวลาท่ีลาชาไมได (ขอหารือ ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอยั การที่ 82/2529) คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๑๖๔/๒๕๕๒ ผูฟองคดีดําเนินการขุดเจาะถนนหรือทางเทาสาธารณะภายในเขตเทศบาลเมืองจันทบุรีโดย มิไดข ออนุญาตตอ นายกเทศมนตรแี ละมไิ ดชําระคา ตอบแทนในการขุดเจาะถนนและทางเทาตอเทศบาล เมืองจันทบุรีกอนเปนเหตุใหเทศบาลเมืองจันทบุรีมีหนังสือแจงใหระงับการกอสรางงานการขุดเจาะ พ้ืนที่ ผิวการจราจรและทางเทาภายในเขตเทศบาลทั้งหมดจนกวาจะไดดาํ เนินการ ใหถูกตองเรียบรอย เสียกอน กรณีดังกลาวเปนความบกพรองของผูฟองคดีท่ีไมปฏิบัติ ตามระเบียบเทศบาลเมืองจันทบุรี เม่ือปรากฏ เหตุใหตองมีการระงับการกอสรางเกิดจากความบกพรองของผูฟองคดีเอง มิใชเกิดจาก ความผิดหรือความบกพรองของผูถูกฟองคดี (การประปาสวนภูมิภาค) ผูฟองคดีจึงไมอาจอางเหตุ ดังกลาวเพื่องดหรือลดคาปรับแกผูฟองคดี หรือขยายเวลาทําการกอสรางตามสัญญา ฉะนั้น เม่ือผูฟอง คดีสง มอบงานลา ชากวาที่กําหนดไวใ นสญั ญาเปนเวลา ๖๕ วัน มีเหตเุ กดิ จากพฤตกิ ารณอนั ใดทีค่ สู ัญญา ไมตองรับผิดตามกฎหมาย ผูฟองคดีจึงตองรับผิดของสัญญา ซึ่งกําหนดวา หากผูฟองคดีไมสามารถ ทํางานใหแลวเสร็จตามเวลา ที่กําหนดไวในสัญญาและผูถูกฟองคดียังมิไดบอกเลิกสัญญา ผูฟองคดี

จ ะ ต อ ง - 130 - ชําระคาปรับใหแกผูถูกฟองคดีเปนเงินวันละ ๒๘,๔๐๐ บาท นับถัดจากวันท่ีกําหนดแลวเสร็จตาม สัญญา เม่ือสัญญา ขอ ๒๐ วรรคสาม กําหนดวา การขยายเวลาทําการกอสรางตามสัญญาก็ดี การขอลด หรืองดคาปรับก็ดี ใหอยูในดุลพินิจของผูถูกฟองคดีที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควร การท่ีผูถูกฟองคดี พิจารณาขยายระยะเวลากอสรางตามสัญญาจางใหกับผูฟองคดีจํานวน ๔ วัน จึงถือวาผูถูกฟองคดีไดใช ดุลพินิจพิจารณาลดคาปรับใหแก ผูฟองคดีตามที่เห็นสมควรแลว ดวยเหตุน้ี การท่ีผูถูกฟองคดีหักเงิน คาจางงวดที่ ๓ และงวดท่ี ๔ ไวเปน เงินคาปรับจํานวน ๖๕ วัน ผูถูกฟองคดีจึงตองคืนเงินคาจางที่หัก เปนคา ปรบั จาํ นวน ๔ วัน จาํ นวน ๑๑๓,๖๐๐ บาท พรอมดอกเบ้ยี สิ่งของท่ีตองจัดหาจากแหลงหน่ึงแหลงใดโดยเฉพาะเมื่อเกิดปญหาอุปสรรคที่แหลงผลิตขอขยายเวลา สัญญาได กรณีตัวอยาง การนัดหยุดงานของโรงงานที่จัดสงวัสดุอุปกรณใหแกผูขาย และผูขาย ไมสามารถจัดหาหรือจัดซ้ือไดจากแหลงอื่น นอกจากโรงงานนั้นแหงเดียวเทาน้ัน การนัดหยุดงาน ดังกลาวเปนผลโดยตรงใหผูขายไมสามารถสงมอบของใหผูซื้อได เปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคํา วินจิ ฉยั กรมอัยการท่ี 57/2525) กรณีตัวอยาง แมสัญญาไมไดระบุย่ีหอพัดลมดูดควัน แตผูรับจางก็ยินยอมปฏิบัติตาม ประสงคของผวู าจางทีใ่ หใชพดั ลมดูดควันย่ีหอเฉพาะทําจากประเทศอังกฤษ โดยยอมสั่งจากบริษัทใน ประเทศอังกฤษโดยตรง เมื่องานจางลาชากวากําหนดเพราะเกิดภาวะขาดแคลนวัตถุดิบในอังกฤษ ทําใหผูผลิตสงของใหไมทัน และพัดลมดังกลาวไมอาจติดตอสั่งซื้อจากแหลงอ่ืนนอกจากบริษัทผูผลิต ยอมถือวาเหตุแหงการลาชาดังกลาว เกิดขึ้นจากพฤติการณนอกเหนือความรับผิดชอบของผูรับจาง ซึ่งผรู ับจางไมอาจปอ งกันได ผรู ับจา งไมตอ งรับผดิ (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 145/2523) กรณีตัวอยาง สัญญาระบุใหใชสินคาที่ผลิตจากบริษัทในประเทศอังกฤษเทานั้น เมื่อกรรมกร ในประเทศอังกฤษนัดหยุดงานเปนเหตุใหการผลิตสินคาชะงักลง ถือวาเปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตาม คาํ วนิ ิจฉยั กรมอัยการท่ี 194/2522)

กรณีตัวอยาง ขณะทําสัญญาซื้อขาย ถาปรากฏวาบริษัทผูผลิตไดผลิตสินคาไวแลว เหตุท่ี กรรมกรนัดหยุดงานไมถือวาเปนเหตุสุดวิสัย แตถาขณะทําสัญญาซ้ือขาย บริษัทผูผลิตยังมิไดผลิต - 131 - สินคาแลว กรรมกรนัดหยุดงานก็ถือวาเปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 198/2522) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายของจากผูผลิตในตางประเทศเทานั้น หากผูขายไมสามารถสง มอบสินคาไดเพราะ โรงงานแหงเดียวที่ผลิตสินคาตองคําพิพากษาใหลมละลายภายหลังจากผูขายได ทําสัญญากับผูซื้อแลว หรือผูขายเพ่ิงทราบหลังจากทําสัญญาวาโรงงานดังกลาวลมละลาย ยอมถือเปน เหตุสดุ วสิ ัย (ขอหารือตามคาํ วนิ ิจฉัยกรมอยั การท่ี 114/2530) กรณีตัวอยาง กรณีผูขายส่ังซื้อสินคาจากตางประเทศหลังจากทําสัญญาไวแลวเปนเวลาหลาย เดือน ซึ่งหากส่ังซื้อเม่ือเร่ิมทําสัญญาผูผลิตตางประเทศอาจสงมอบสินคาไดทันกอนลมละลาย กรณีไม ถอื วา เปนเหตสุ ุดวสิ ัย และเปน พฤติการณที่ผูขายตอ งรับผดิ ชอบ (ป.พ.พ. มาตรา 205) ส่งิ ของท่ีจดั หามจี ําหนายโดยทว่ั ๆ ไป ขอขยายเวลาสัญญาไมไ ด กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาซื้อขายเครื่องพันขดลวดมอเตอร จากหางหุนสวน จํากัด อ. สัญญาระบุวาเปนเคร่ืองที่ผลิตในประเทศไทย หางไดไปวาจางโรงงานที่จังหวัดนนทบุรีทํา การผลิตส่ิงของตามสัญญา ตอมาเกิดอุทกภัย นํ้าทวมโรงงาน ผูผลิตไมสามารถประกอบเครื่องพัน ขดลวดได แตส่ิงของดังกลาวสามารถผลิตไดจากโรงงานทั่ว ๆไปจึงไมเปนเหตุสุดวิสัย (ขอหารือตาม คาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การท่ี 67/2525) เพราะผขู ายอาจใหโรงงานอนื่ ผลติ แทนได กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาทําสัญญาซื้อขายเคร่ืองมือชางทอประปา ยี่หอ ลีดผลิตจากอเมริกา จํานวน 1 เคร่ือง จากบริษัท ส. กําหนดสงมอบส่ิงของภายในวันที่ 6 มกราคม 2523 แตบริษัทสงมอบ สงิ่ ของไมท ันภายในกาํ หนดสญั ญา โดยอางวา คนงานโรงงานผูผลิตสินคาดังกลาวไดนัดหยุดงาน ดังน้ี จะถือวาเปน เหตุสดุ วสิ ัยทบี่ ริษทั ผขู ายจะนํามากลา วอา งเพ่อื ขอตออายสุ ญั ญาโดยงดคา ปรับไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญาซื้อขายตกลงซ้ือขายเคร่ืองมือชางทอประปาย่ีหอ ลีด ผลิตจากอเมริกา 1 เครื่อง แตตามสัญญามิไดระบุใหบริษัท จะตองสั่งซื้อเคร่ืองมือชางทอประปาจาก บริษัทใดในประเทศหรือตางประเทศ หรือเฉพาะจากบริษัทผูผลิตมาสงมอบใหแก กรมอาชีวศึกษา

จึงถือไดวาเปนสัญญาซ้ือขายสิ่งของภายในประเทศ ซ่ึงเปนหนาที่ของผูขายจะตองดําเนินการไมวา โดยวิธีใดเพื่อใหไดส่ิงของมาสงมอบแกผูซื้อภายในกําหนดหากผูขายจะส่ังซื้อส่ิงของจากตางประเทศ - 132 - ผขู ายกต็ อ งเสีย่ งเอาเองวา จะสง สงิ่ ของใหแกผ ซู ้ือไดทนั ภายในกําหนดหรือไม ดังน้ันความลาชาอันเกิด จากบริษัทผูสงของใหแกผขู ายน้ัน จึงไมอาจอางวาเปนเหตุสุดวิสัยท่ีจะตอสัญญาโดยงดหรือลดคาปรับ ใหแกผ ูขายได (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉยั กรมอัยการท่ี 135/2523) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขาย แมระบุวาเคร่ืองยนตที่ใชตองเปนยี่หอลอยด แตก็ไมได หมายความวา ผูขายจะตองซ้ือเฉพาะโดยตรงจากโรงงานผูผลิตแตแหงเดียว ผูขายอาจจะซื้อจากผู จําหนายรายอื่นก็ได เมื่อหลักฐานปรากฏวา โรงงานผูผลิตเลิกกิจการกอนวันลงนามในสัญญา ยอมแสดงวาผูข ายมไิ ดขวนขวายจดั หาสั่งเองตามสัญญาเตรียมไวใหพรอมแตเน่ิน ๆ จึงเปนกรณีท่ีผูขาย อาจปองกนั ไดและมิใชเหตสุ ุดวิสัยทผ่ี ูข ายจะอางได (ขอ หารือตามคําวินิจฉยั กรมอัยการที่ 28/2523) กรณีตัวอยาง สัญญาซื้อขายปุยหินฟอสเฟต มิไดระบุวาผูขายจะตองนําหินฟอสเฟต ซึ่งเปน สว นผสมของปุยมาจากภาคเหนือของประเทศไทยเทาน้ันมาใชผสม บริษัทผูขายจะนําหินฟอสเฟตจาก แหลง ใด ๆ ก็ได ดังน้ันเหตุท่ีผูขายขอตออายุสัญญาโดยอางเหตุสุดวิสัยนํ้าทวมในภาคเหนือไมสามารถ ลําเลียงหินฟอสเฟตได หาใชเปนเหตุสุดวิสัยท่ีจะตออายุสัญญาได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 125/2522) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายลูกปนยาวกับบริษัท อ. กําหนดวาลูกปนตองเปนผลิตภัณฑ ของบริษัท ซี ตอมาบริษัท อ. ขอขยายเวลาสัญญา อางวากรรมกรของบริษัท ด. ผูผลิตอุปกรณ ชนวนทาย นัดหยุดงาน จึงไมสามารถสงชนวนทายใหบริษัท ซี บริษัท ซี จึงไมสามารถผลิตลูกปนได ทันกําหนด ดังน้ีสัญญาซ้ือขายกําหนดเพียงใหลูกปนยาวตองเปนผลิตภัณฑของบริษัทซี เทานั้น สวนชนวนทายหาไดจํากัดวาตองเปนของบริษัท ด. เทานั้น ดังนั้นการที่กรรมกรของบริษัท ด. นัดหยุด งานจงึ ไมเ ปนเหตสุ ุดวิสัย (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 110/2521) กรณีตวั อยาง กรมอาชวี ศึกษาทาํ สัญญาซือ้ ขายเครื่องมือวิทยาศาสตรกับ หางหุนสวนจํากัด ซ. แตผูขายไมอาจสงมอบสิ่งของใดไดโดยขอยกเลิกสัญญาอางวาบริษัทผูผลิตในตางประเทศผลิตใหไม ทันและของขาดสตอก เปนเรื่องนอกเหนืออํานาจของผูขาย คงมีปญหาวาเหตุท่ีผูขายอางจะถือวาเปน เหตุสุดวสิ ยั เพยี งใดหรอื ไม

กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาสัญญาซื้อขายเคร่ืองมือวิทยาศาสตรจากผูขาย ภายในประเทศ เคร่ืองมอื จะผลติ จากประเทศใดไมใชสาระสําคัญของสัญญา ผูขายตองเส่ียงเอาเองวาจะ สงเคร่ืองมือใหแกผูซ้ือทันตามกําหนดเวลาในสัญญาหรือไม เม่ือไมสามารถสงมอบส่ิงของใหได - 133 - จึงถือวาผูขายผิดนัด แมบริษัทผูผลิตจะไดแจงใหผูขายทราบวา บริษัทผูผลิตไมสามารถสงของใหได เนอ่ื งจากขาดสตอ ก กไ็ มถอื วาเปนเหตุสดุ วิสัย (คาํ วนิ ิจฉยั กรมอยั การที่ 11/2520) หมายเหตุ ขอเท็จจริงเร่ืองนี้ปรากฏวาหางผูขายเสนอรายละเอียดเคร่ืองมือวิทยาศาสตรตาม รายละเอียดแนบทายสญั ญาซือ้ ขายเขา มาโดยระบวุ า เปนของท่ีผลิตจากบริษัทในสหรัฐอเมริกา และกรม ไดตกลงทําสัญญาตามท่ีบริษัทผูขายเสนอ สัญญาดังกลาวจึงเปนสัญญาซ้ือขายเครื่องมือวิทยาศาสตร จากผขู ายภายในประเทศ สวนเครือ่ งมือจะผลิตจากประเทศใด ไมใ ชส าระสําคญั ของสญั ญา กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายกําหนดวาผูขายจะจัดสงอะไหลของใหมที่แทหรืออะไหลที่ผลิต โดยตรงจากบรษิ ทั ผูผลิตใหแกผูจะซอื้ หมายความวา ผูขายมีหนาท่ีจัดสงอะไหล ซึ่งมีคุณภาพดังกลาว ใหแกผูจะซื้อ โดยจัดซื้ออะไหลจากบริษัทผูผลิตโดยตรงหรือบริษัทใดก็ได แมตอมาบริษัทผูผลิตได ถอนการเปนผแู ทนจาํ หนายกับผูจ ะขาย ผจู ะขายอาจหาซ้อื อะไหลที่ตองการจากผูผลิตในฐานะธรรมดา หรือซื้อจากผูอื่นก็ยอมทําได ดังน้ัน การท่ีผูจะขายถูกถอนการเปนผูแทนจําหนายจึงไมใชเหตุสุดวิสัย หรือการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย อันทําใหผูจะขายมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอยั การที่ 53/2520) กรณตี วั อยาง กรมอาชีวศกึ ษาไดทําสญั ญาซอื้ ขายเครื่องกลึง ซีเอ็นซี แบบแคร เลื่อนเอียง ยี่หอ โอกุมะ กับบริษัท น. กําหนดใหผูขายสงมอบส่ิงของภายในวันที่ 27 กุมภาพันธ 2536 ตอมาวันท่ี 9 ตุลาคม 2535 บริษัทผูขายไดติดตอใหบริษัท พ. ซ่ึงเปนหุนสวนของบริษัทผูขายในประเทศสิงคโปร ชวยเปดเลตเตอรออฟเครดิตในการสั่งซื้อสิ่งของดังกลาวจากบริษัทโอกุมะจํากัด ผูผลิต โดยบริษัท พ. ไดออกใบสั่งซื้อเม่ือวันที่ 9 ธันวาคม 2535 ไปยังบริษัทผูผลิตโดยตรง โดยกาํ หนดสงมอบส่ิงของ ภายในเดือนมกราคม 2536 ณ ทาเรือกรุงเทพ ตอมาบริษัทโอกุมะ สาขาสิงคโปร ไดมีหนังสือฉบับลง วันท่ี 29 มกราคม 2536 แจงวาคณะกรรมการพิจารณาการสงออกแหงประเทศญ่ีปุน ไดกําหนดระเบียบ ใหมใหการสงสินคาดังกลาวออกนอกประเทศตองผานการตรวจสอบและลูกคาท่ีซื้อเคร่ืองจักรจาก ประเทศญ่ีปุนจะตองสงขอมูลตาง ๆ ไปยังบริษัทผูขาย เพ่ือปองกันมิใหนําเคร่ืองจักรท่ีจําหนายทํา ชิ้นสวนปรมาณูสงใหประเทศอิรัค บริษัทจึงขอขอมูลจากวิทยาลัยเพื่อสงให บริษัทโอกุมะ จํากัด

แหงประเทศญี่ปนุ เพ่ือดาํ เนนิ การตามระเบียบ ปรากฏวาส่ิงของดังกลาวไดสงลงเรือมาถึงทาเรือกรุงเทพ วันท่ี 6 ตุลาคม 2536 และสงมอบใหแกวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2536 ซึ่งคณะกรรมการตรวจรับ พสั ดุไดทําการตรวจรบั เรียบรอยแลว - 134 - กรมอาชวี ศกึ ษาจงึ ไดห ารอื ไปยงั สาํ นักงานอยั การสูงสุดวา 1. สัญญาซ้ือขายดังกลาวจะถือวาเปนการซื้อขายทรัพยเฉพาะสิ่งซ่ึงบริษัท น. ผูขายตองส่ังซื้อ สนิ คา และนําสงิ่ ของทส่ี งั่ ซ้อื โดยตรง จากประเทศญ่ีปุนมาสงมอบแก กรมอาชีวศกึ ษาหรือไม 2. เหตุที่บริษัทสงมอบส่ิงของลาชา เนื่องจากคณะกรรมการพิจารณาการสง ออกแหงประเทศ ญี่ปุน ไดกําหนดระเบียบในการสงเคร่ืองจักรออกเพ่ิมเติม และตอง เสียเวลาในการตรวจสอบขอมูล จะถือวาเปนเหตุใดเหตุหนึ่งตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ขอ 139 อนั จะ ถอื วา เปน พฤติการณท ่ี ลูกหนี้ไมตอ งรบั ผิดชาํ ระคาปรับกรณีผิดนัดหรอื ไม เพราะเหตุใด สํานกั งานอยั การสูงสดุ พิจารณาแลว เหน็ วา 1. สัญญาซ้ือขายทรัพยกําหนดไวเพียงประเภท ยังมิไดระบุตัวทรัพยที่จะสงมอบดวยความ ยินยอมของกรมอาชีวศึกษาผูซ้ือ โดยเฉพาะเจาะจงแนนอนลงไป บริษัท น. ผูขายจึงไมจําตองส่ังซ้ือ สินคา และนําสง่ิ ของทส่ี ง่ั ซอ้ื โดยตรงจากประเทศญ่ีปุน สงมอบใหแกผูซ ้อื 2. สัญญาซ้อื ขายระหวา งบริษัทผขู ายกบั กรมกาํ หนดระยะเวลาสาํ หรบั การสงมอบสินคาไวเปน เวลานานพอสมควร ขอเท็จจริงปรากฏวาคณะกรรมการไดพิจารณาในการสงออกเรียบรอยโดยใชเวลา เพียง 30 วัน ซึ่งบริษัทผูขายควรจะไดดําเนินการไดทันการสงมอบลาชาเน่ืองจากคณะกรรมการ พิจารณาการสงออกแหงประเทศญี่ปุนไดกําหนดระเบียบปฏิบัติในการสงออกเครื่องจักรเพิ่มเติม และ ตอง เสียเวลาในการตรวจสอบขอมูลดังกลาว ไมถือวาเปนเหตุใดเหตุหนึ่งตามระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรวี าดวยพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 139 และไมอาจอางเปนพฤติการณ ท่ีลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ชําระคาปรบั กรณีผิดนัด ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 205 ได เอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณาขยายระยะเวลาสัญญาการของด และลดคาปรับแกผูขาย หรอื ผูรบั จา ง

1. สําเนาสญั ญาซ้อื ขายหรือสญั ญาจาง 2. ตนฉบับเอกสารท่ีผูขายหรือผูรับจางสงถึงสถานศึกษา เพ่ือขอขยายระยะเวลาสัญญาของด หรอื ลดคาปรบั ตามสญั ญาซื้อขายหรอื สญั ญาจาง - 135 - 3. บันทึกรายงานการกอสรางประจําวันเปนรายวันของผูควบคุมงานกอสรางหรือ คณะกรรมการตรวจการจา ง 4. ความเห็นของคณะกรรมการตรวจการจางและผูควบคุมงานกอสราง ซึ่งมีความเห็นวาควร จะพิจารณาอนุมัติการขยายระยะเวลาตามสัญญาจางหรืองดหรือลดคาปรับใหแกผูรับจางดวยเหตุ ตามท่ีกําหนดไวในขอ 139 แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ (1) - (3) เหตุใดบา ง จํานวนกว่ี นั 5. ตน ฉบบั เอกสารประกอบการพจิ ารณาดังตอ ไปน้ี (ถา มี) - หลักฐานการสง่ั ใหผ ูร ับจา งหรอื ผขู ายหยุดงาน - หลักฐานการสงมอบพื้นที่กอสรางใหผูรับจางลาชา เชน การรื้อถอนส่ิงกอสราง การปรับปรุงดินฯ - หลกั ฐานการสงมอบสถานทีใ่ หผ ขู ายเขา ทาํ การติดต้งั ครภุ ัณฑตามสญั ญาซอ้ื ขายลาชา - หลักฐานซ่ึงตองรอการวินิจฉัยของบุคคล หรือหนวยงานกอน จึงสามารถปฏิบัติงาน ตามสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางได เชน การทดสอบสภาพดิน การปรับปรุงผังและแบบแปลน สง่ิ กอสรา ง การปรบั ปรุงอาคาร การพจิ ารณายกเวนอากรนาํ เขาเพ่อื การศกึ ษาของคณะกรรมการ - หลกั ฐานทบี่ ุคคลหรือหนวยงานภายนอกแจงใหระงบั การปฏิบัตติ ามสญั ญาไวกอ น 6. เอกสารหลักฐานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ อันเปนเหตุใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติงานตาม สัญญาซ้ือขายหรือสัญญาจาง เชน รายงานการตรวจสอบสภาพของกรมอุตุนิยมวิทยา กรณีฝนตกหนัก เอกสารของทางราชการท่ีแสดงวาน้ําทวมสถานท่ีกอสราง ภาพถายซ่ึงแสดงถึงปญหาและอุปสรรคเปน เหตุใหไมส ามารถปฏบิ ัตติ ามสัญญาได 7. กรณีท่ีผูขายหรือผูรับจางเคยไดรับการพิจารณาอนุมัติใหขยายเวลาหรืองดหรือลดคาปรับ ใหสง สาํ เนาหลักฐานการอนุมตั ิดงั กลาวดวย การเรียกคาปรบั ตามสญั ญาซื้อขายและสญั ญาจา ง

สญั ญาซือ้ ขาย ขอ 10. วรรคสาม ในระหวางท่ีผูซ้ือยังมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาน้ัน หากผูซ้ือเห็นวาผูขายไมอาจปฏิบัติตาม สัญญาตอไปได ผูซ้ือจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา....... และถาผูซื้อไดแจงขอเรียกรองใหชําระคาปรับไป ยังผขู าย เม่อื ครบกาํ หนดสงมอบแลว ผูซ อื้ มีสทิ ธทิ ี่จะปรับผขู ายจนถึงวนั บอกเลิกสญั ญาไดอกี ดวย - 136 - สญั ญาจาง ขอ 15. วรรคสอง ในระหวางท่ีผูวาจางยังมิไดบอกเลิกสัญญานั้น หากผูวาจางเห็นวาผูรับจางจะไมสามารถ ปฏิบัติตามสัญญาตอไปได ผูวาจางจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา........และถาผูวาจางไดแจงขอเรียกรองไป ยังผูรับจาง เม่ือครบกําหนดแลวเสร็จของงานขอใหชําระคาปรับแลว ผูวาจางมีสิทธิที่จะปรับผูรับจาง จนถงึ วนั บอกเลกิ สัญญาไดอกี ดวย ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 134 วรรคทายกําหนดวา “เม่ือครบกําหนดสงมอบพัสดุตามสัญญาหรือขอตกลง ใหสวนราชการรีบแจงการเรียกคาปรับตาม สัญญาหรือขอตกลงจากคูสัญญา และเม่ือคูสัญญาไดสงมอบพัสดุ ใหสวนราชการบอกสงวนสิทธิการ เรยี กคา ปรบั ในขณะทร่ี ับมอบพสั ดุนัน้ ดวย” ไมเ รียกคาปรับกอ นบอกเลิกสญั ญาเรยี กคา ปรบั ไมไ ด กรณตี ัวอยา ง การบอกเลกิ สัญญาทจ่ี ะทาํ ใหผ ซู อ้ื มีสิทธิเรยี กคา ปรบั ดวย จะตอ งดําเนินการตาม ข้ันตอนของสัญญา (ทายระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ) กลาวคือ เมื่อครบกําหนดสง มอบตามสัญญาแลว ผูซ้ือตองแสดงเจตนาตอผูขายวาจะเรียกคาปรับโดยยังไมประสงคจะใชสิทธิบอก เลิกสัญญา และระหวางรอการสงมอบของจะใชสิทธิปรับตามสัญญาเสียกอน หากตอไปเห็นวาผูขาย ไมอ าจปฏิบัตติ ามสัญญาได จึงบอกเลิกสัญญา เชน น้ผี ซู ้ือจึงจะมีสิทธิปรับผูขายจนถึงวันบอกเลิกสัญญา (ขอ หารือตามคําวินิจฉยั กรมอยั การท่ี 111/2530) กรณตี ัวอยาง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ ไดท ําสญั ญาจา งหางหุนสวน จํากัด ก. ทําการกอสรางอาคารเรียนและโรงฝกงานรวม 4 สัญญา แตหางไมดําเนินการทํางานจางตาม สัญญาอยางใด ผูวาจางไดมีหนังสือเตือนใหผูรับจางปฏิบัติตามสัญญาแลว แตผูรับจางเพิกเฉย ผูวาจาง เห็นวาผูรับจางไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาจางใหแลวเสร็จภายในอายุสัญญาได เพราะลวงเลยกําหนด อายุสัญญาแลว จึงไดบอกเลิกสัญญาและริบหลักประกันสัญญา กับใหผูรับจางนําเงินคาปรับตาม

สัญญาท้ัง 4 สัญญา มาชําระ แตผูรับจางเพิกเฉย ดังน้ีสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แหงชาติจะเรียกใหผรู บั จางรับผดิ ชําระคา ปรบั ไดหรอื ไม - 137 - กรมอัยการพิจารณาแลวเหน็ วา การที่ผวู าจางจะใชส ิทธปิ รับผูรับจา งในกรณบี อกเลกิ สัญญาจาง ไดน้ัน ตองปรากฏขอเท็จจริงวา เมื่อพนกําหนดสงมอบงานตามสัญญาจางแลวผูวาจางไดแสดงเจตนา ตอผูรับจางวา จะเรียกคาปรับตามสัญญาโดยยังไมประสงคจะบอกเลิกสัญญาดวย จึงจะเรียกคาปรับได เร่ืองนี้ปรากฏวาเม่ือครบกําหนดสัญญาแลวผูวาจางไดแจงใหผูรับจางดําเนินการอีกอันเปนการแสดง เจตนาเพยี งยอมผอนปรนใหผ รู ับจางทํางานจางตอไปแมจะลวงเลยกําหนดแลวเสร็จของงานตามสัญญา ไปแลว และหนังสือของผูวาจางก็มิไดแสดงเจตนาตอผูรับจางเลยวาประสงคจะใชสิทธิปรับผูรับจางไว ดังนั้น เมื่อตอมาไดมีการบอกเลิกสัญญาจางเพราะผูรับจางไมอาจปฏิบัติตามสัญญาได ชวงเวลา ระหวางวันพนกําหนดแลวเสร็จตามสัญญาจนถึงวันบอกเลิกสัญญา จึงถือไมไดวาเปนชวงเวลาใน ระหวางท่ีมีการปรบั ไมอาจปรบั ผรู บั จางได (ขอหารอื ตามคาํ วินิจฉัยกรมอยั การที่ 104/2526) กรณีตัวอยาง เมื่อผูรับจางมิไดลงมือทํางานจางตามกําหนดในสัญญาจนเลยกําหนดแลวเสร็จ ของงานแลว ยอมถือวาผูรับจางผิดสัญญา และผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได สําหรับผรู ับจางซ่ึงเปน ฝายผิดสัญญาไมมีสิทธิบอกเลิกสัญญา สวนการเรียกคาปรับเปนรายวันสําหรับความลาชาตั้งแตวันท่ี ลวงเลยกําหนดแลว เสร็จจนถึงวันบอกเลิกสัญญานั้น ผูวาจางจะมีสิทธิเรียกไดตอเม่ือผูวาจางไดใชสิทธิ ปรับผูรับจางหรือไดแจงใหผูรับจางทราบวา ผูวาจางมีความประสงคที่จะใชสิทธิปรับผูรับจางหรือได แจงใหผูรับจางทราบวา ผูวาจางมีความประสงคที่จะใชสิทธิปรับผูรับจางไวแลวกอนมีการบอกเลิก สัญญา (ขอ หารอื ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 87/2532) กรณีตัวอยาง เม่ือครบกําหนดสงมอบ ผูซ้ือไดแจงสงวนสิทธิปรับใหผูขายทราบแลว โดยยัง ไมประสงคจ ะบอกเลิกสัญญา ตอ มาถา ผูซ ื้อเหน็ วา ผขู ายไมสามารถสง มอบของได ผูซ้ือก็มีสิทธิบอกเลิก สัญญา โดยถือวาเปนการบอกเลิกสัญญาในระหวางการใชสิทธิปรับ ผูซื้อจึงมีสิทธิริบหลักประกัน สัญญา เรียกรองราคาสิ่งของที่เพ่ิมข้ึนเนื่องจากตองซ้ือสิ่งของจากบุคคลอ่ืนและมีสิทธิเรียกคาปรับ นบั ตงั้ แตว ันครบกาํ หนดสงมอบถึงวนั บอกเลกิ สญั ญา (ขอหารือตามคําวนิ ิจฉยั กรมอัยการที่ 99/2533) ไมใชความผดิ ผูขาย ผรู บั จา งปรับไมไ ด

กรณีตัวอยาง กรมทางหลวงทําสัญญาซ้ือขายแผนอลูมิเนียมจากบริษัท ค. กําหนดสงมอบ สิ่งของตามสัญญาภายในวันท่ี 25 ธันวาคม 2521 ผูขายไดสงมอบส่ิงของตามสัญญาแลว แตกรม - 138 - ทางหลวงไดทําการทดลองแผนอลูมิเนียมเพื่อหาคุณภาพจํานวน 4 ครั้ง ผลการทดลองปรากฏวาใชได ผูขายจึงไดนําแผนอลูมิเนียมมาชดใชแทนตัวอยางท่ีนําไปทดลองเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2523 แมจะ ปรากฏตามขอสัญญาวาผูขายจะตองนําแผนอลูมิเนียมมาใชแทนแผนที่เสียหายจากการทดลองก็ตาม ก็ไมถือวาเปนการสงมอบลาชากวากําหนด ปรับผูขายไมได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 167/2523) กรณีตัวอยาง บริษัทผูรับจางตองหยุดงานเพราะผูวาจางไดแกไขเปล่ียนแปลงแบบแปลน กอสราง เปนพฤติการณที่ผูวาจางไดกระทําข้ึน ผูรับจางจึงขอขยายเวลาสัญญาจางในชวงเวลาท่ีเสีย ไปได (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 135/2522) กรณีตัวอยาง บริษัทผูขายมีความจําเปนตองนํารถไปใหบริษัทอ่ืนเปล่ียนพวงมาลัยใหอยู ทางขวาของตัวรถและบริษัทอ่ืนนั้น ไดดําเนินการลาชากวาท่ีกําหนดไว โดยบริษัทผูขายไมสามารถ ควบคุมได ดังนี้ตองถือวาความลาชาเปนพฤติการณท่ีอยูนอกเหนือการควบคุมของบริษัทผูขาย บริษัท ผูข ายยอมไดร ับการยกเวน ไมต องเสียคา ปรบั ตามสัญญา (ขอ หารอื ตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 64/2523) คา ปรับกรณสี ง มอบส่งิ ของหรอื งานจางลาชา สัญญาจางและสัญญาซื้อขายจะกําหนดในเร่ืองคาปรับกรณีสงมอบงานจางหรือสิ่งของ ตามสัญญาลาชากวากําหนดเวลาสงมอบตามสัญญาโดยใหคิดคาปรับเปนรายวัน ในทางกฎหมายถอื วา คาปรับเปนคาเสียหายท่ีคูสัญญาตกลงกันไวลวงหนา ปกติจะคิดคาปรับกันตั้งแตวันพนกําหนดสง มอบตามสัญญา โดยนับจากวันถัดจากวันครบกําหนดสงมอบเปนตนไป จนถึงวันที่ผูขายหรือผูรับจาง ไดสงมอบสิ่งของหรืองานจางแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญาหรือจนถึงวันบอกเลิกสัญญาจางหรือสัญญา ซื้อขาย การปรับในอัตราวันละเทาใดจึงตองกําหนดกันไวใหชัดเจนเปนอัตราแนนอน หากขอสัญญา ไมกาํ หนดอตั ราคาปรบั ไว ตอ มาผขู ายหรอื ผูรบั จางสงมอบลา ชากไ็ มอ าจปรับผูขายหรือผรู บั จา งได คาปรับเรียกไดเม่ือครบกําหนดเวลาตามสัญญาจางงวดสุดทาย หรือที่ไดรับการขยายเวลา สญั ญาจา งแลว ผูรบั จา งทาํ งานจา งไมแ ลวเสรจ็ และตองดําเนนิ การดงั ตอ ไปน้ี จงึ เรยี กคา ปรับได