Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Description: การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Search

Read the Text Version

กรณีตัวอยาง คําพิพากษาศาลฏีกาที่ 2794/ 2534 ระหวาง บริษัทชินาติ จํากัด โจทก กรมอาชีวศึกษากับพวก จําเลย โดยบริษัทไดเปนโจทกฟองวา วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ ไดสอบราคาจัดซ้ือครุภัณฑเตาชุบแข็งพรอมอุปกรณ 1 เตา ราคา 87,500 บาท โดยไดจัดทําสัญญา ซื้อขายเมื่อเดือนธันวาคม 2526 ตอมาบริษัทไดนําครุภัณฑตามสัญญาไปสงมอบใหวิทยาลัย แตวทิ ยาลัยไมส ามารถเบิกจา ยเงนิ คา ครุภัณฑไ ด เนื่องจากสํานักงบประมาณ ใหทบทวนการจัดซื้อ รายนี้ใหม และไดสงครุภัณฑคืนใหบริษัท บริษัทจึงมาฟองเรียกคาเสียหาย เปนเงินจํานวน 105,580 บาท พรอมดอกเบี้ย โดยฟองกรมอาชีวศึกษา ผูอํานวยการวิทยาลัยและผูชวย ผอู าํ นวยการวิทยาลยั ซง่ึ รกั ษาราชการแทน และเปนผลู งลายมอื ชื่อแทนกรมอาชวี ศึกษา ผูซ ือ้ ประเด็นสําคัญของเร่ืองน้ีคือวิทยาลัยไดจัดทําสัญญาซื้อขายกับบริษัทผูขายกอนไดรับ อนุมัติเงินประจํางวด จะถือวาสัญญาซ้ือขายมีผลผูกพันกรมอาชีวศึกษาหรือไม ศาลฎีกาพิจารณา แลววินิจฉัยวา เง่ือนไขตามประกาศสอบราคาขอ 18 กําหนดวา ในการสอบราคาจะมีผลสมบูรณ เมื่อกรมอาชีวศึกษาไดรับอนุมัติเงินประจํางวดหรือเงินบํารุงการศึกษาจากสํานักงบประมาณ หากสํานักงบประมาณไมอนุมัติ ซ่ึงหมายถึงไมมีการจัดซ้ือคร้ังน้ี ผูเสนอราคาจะไมเรียกรอง คาเสียหายทุกกรณี ซ่ึงบริษัทโจทกก็ทราบเงื่อนไขดังกลาวดีแลว ดังน้ันเม่ือสํานักงบประมาณ ไมอนุมัติเงินประจํางวดโดยวิทยาลัยไดมีหนังสือแจงใหบริษัทโจทกทราบ และไดสงสินคาคืน โจทกแลว สัญญาซื้อขายยังไมเกิดขึ้น บริษัทโจทกไมมีสิทธิเรียกรองใหจําเลยรวมกันชําระราคา สนิ คา พิพาท      - 40 - การลงนามในสญั ญากอ นไดรบั การโอนจัดสรรงบประมาณ การลงนามในสัญญากอนไดรับอนุมัติเงินประจํางวด เปนการขัดมาตรา 23 แหง พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 เวนแตไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีเสียกอน ตามนัยมาตรา 23 วรรคทาย หากหนวยราชการมีความจําเปนเรงดวนท่ีจะตองลงนามในสัญญา กอนไดรับอนุมัติเงินประจํางวดโดยไมขัดกับกฎหมาย จึงตองขออนุมัติคณะรัฐมนตรีกอน                (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 73/2533) ปญหาประกาศสอบราคาหลายครั้ง จะทาํ เปนสัญญารวมกันฉบับเดยี วไดหรือไม 

  กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัย ธ. ไดจัดซ้ือโดยวิธีสอบราคา 6 คร้ัง ผูขายไดมีคําเสนอขาย ครภุ ณั ฑ โดยแยกเสนอขายตามประกาศแจง ความสอบราคา ดงั น้ี มหาวิทยาลัย ธ. ในฐานะผูซื้อจะสนองรับซ้ือครุภัณฑตามที่ผูขายเสนอแยกแตละรายการ โดยรายการเสนอ 2 ครั้ง ซง่ึ เสนอโดยผเู สนอรายเดยี วกนั มาจัดทําเปน สัญญาเดียวไดหรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา คําเสนอขายครุภัณฑในการสอบราคาทั้ง 6 คร้ัง ตองถือวา ผูเสนอมีความประสงคจะทําสัญญาขายครุภัณฑแตละรายการแยกจากกัน ดังน้ัน มหาวิทยาลัย ธ. ในฐานะผูซื้อจะสนองรับคําเสนอและบังคับใหผูเสนอรวมการเสนอ 2 คร้ัง มาทําเปนสัญญาเดียว ไมได เวนแตผูเสนอจะตกลงยินยอมดวยในการทําเชนนั้น กรณีท่ีผูเสนอยินยอมเชนวาน้ัน หากปรากฏวามีครุภัณฑหลายรายการที่จะรวมทําเปนสัญญาเดียวน้ัน มีกําหนดเวลาสงมอบ ไมพรอมกัน มหาวิทยาลัย ธ. จะตองกําหนดเง่ือนไขการจายเงิน การสงมอบ การตรวจรับ และ การปรบั สําหรับครุภัณฑแ ตละรายการแยกตางหากจากกันดวย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 118/2532) การจัดซือ้ ส่ิงของนอกเหนือวงเงนิ และรายการทสี่ าํ นกั งบประมาณอนุมัตมิ ผี ลอยางไร ในการจัดทําสัญญาซื้อขายและสัญญาจาง สวนราชการตองตกลงทําสัญญาเฉพาะตาม รายการที่สํานักงบประมาณไดอนุมัติเทาน้ัน มีสถานศึกษาบางแหงไดทําสัญญาซื้อขายกับผูขาย     - 41 - นอกเหนือจากรายการท่สี ํานกั งบประมาณอนุมัติ กรณีดังกลาวอาจถือไดวาผูลงนามในสัญญาหรือ ผูตกลงจัดซ้ือสิ่งของนอกเหนือจากที่สํานักงบประมาณไดอนุมัติ เปนการกระทํานอกอํานาจ ขอ ตกลงนอกเหนอื สญั ญาไมม ีผลผูกพนั กรมอาชีวศกึ ษา ซึ่งอาจมผี ลผกู พันกบั ผูตกลงจัดซื้อเปน การเฉพาะตวั ดังกรณตี วั อยา ง กรมอาชีวศึกษาไดรับอนุมัติเงินงบประมาณใหจัดซื้อรถยนตตูแบบไมโครบัส ขนาด 12 ท่ีน่ัง จํานวน 1 คัน เพ่ือใชในราชการวิทยาลัยเกษตรกรรมแหงหน่ึง ซ่ึงสถานศึกษาไดดําเนินการ จดั ซอื้ รถยนตขนาดดังกลาว และไดทําสัญญาซ้ือขายกับหางหุนสวนจํากัด ต. ตกลงซื้อขายรถยนต ตจู ํานวน 1 คัน ราคา 380,000 บาท แตผูอํานวยการวิทยาลัยไดติดตอจัดซ้ืออุปกรณภายในรถยนต

ไดแ ก วิทยุ เทป ลาํ โพง เครื่องปรับอากาศ เกาอ้ี และตวู างของ รวมราคา 129,000 บาท ซึ่งผูขาย ไดสงมอบรถยนตพรอมอุปกรณดังกลาวใหแกสถานศึกษาแลว แตสัญญาซ้ือขายไมไดระบุเรื่อง อุปกรณภายในรถยนตดวย คงมีแตใบสงของช่ัวคราวกํากับการสงของเทาน้ัน ในการชําระราคา สถานศึกษาไดชําระเฉพาะราคารถยนตแลว แตอุปกรณภายในยังติดคางไมชําระ ผูขายจึงฟอง กรมอาชวี ศกึ ษาและผูอํานวยการวิทยาลัยเกษตรกรรมเปนจําเลยใหร วมกันรับผิดชําระราคาอุปกรณ ติดรถยนตเปนเงินจํานวน 129,000 บาท พรอมดอกเบ้ีย ตอมาศาลช้ันตนไดพิจารณาแลว มีคําพิพากษาใหกรมอาชีวศึกษา ชําระเงินราคาอุปกรณติดรถยนต และใหยกฟองผูอํานวยการ วิทยาลัยเปนจําเลย กรมอาชีวศึกษาจึงไดอุทธรณคําพิพากษาของศาลดังกลาว ซึ่งศาลอุทธรณ ภาค 1 ไดมีคําพิพากษาในคดีหมายเลขแดงที่ 2414/2535 วินิจฉัยวา ปรากฏตามสัญญาซ้ือขายวา เปนการจัดซ้ือเฉพาะรถยนตเทานั้น โดยกรมอาชีวศึกษาไดมอบอํานาจใหหัวหนาสถานศึกษา จัดซื้อเฉพาะรถยนตตู 1 คัน ตามท่ีไดรับอนุมัติเงินงบประมาณ ซ่ึงสถานศึกษาไดดําเนินการสอบ ราคา เอกสารดังกลาวก็ระบุวาเปนการเรียกสอบราคาจัดซื้อเฉพาะรถยนตตูแบบไมโครบัส จึงฟง ขอเท็จจริงไดวากรมอาชีวศึกษาไดมอบอํานาจใหหัวหนาสถานศึกษาจัดซ้ือเฉพาะรถยนต การท่ี ผูอาํ นวยการวิทยาลัยรับมอบอุปกรณภายในรถมาดวย จึงเปนการกระทําที่ปราศจากอํานาจ ยอมไม มีผลผูกพันกรมอาชีวศึกษา แมอุปกรณจะติดตั้งอยูภายในรถยนตซ่ึงใชในกิจการของ กรมอาชีวศึกษา ก็เปนเรื่องของการใชสอยรถยนต มิใชกรมอาชีวศึกษาถือประโยชนจากการใช สอยอุปกรณภายในรถยนตโดยตรง จึงพิพากษาใหยกฟองบริษัทโจทก คดีน้ีโจทกไมไดฎีกา คาํ พิพากษาของศาลจึงเปนทีส่ ุด - 42 - หมายเหตุ คดีนี้ศาลจังหวัดไดมีคําพิพากษาใหยกฟองผูอํานายการวิทยาลัยเกษตรกรรม โดยไมปรากฏวาโจทกไดอุทธรณคัดคานเพ่ือใหผูอํานวยการวิทยาลัยรับผิดแตอยางใด คดีช้ันศาล อุทธรณจึงไมมีการพิจารณาในประเด็นที่วาผูอํานวยการวิทยาลัยควรตองรับผิดเปนการสวนตัว หรือไม อยางไรก็ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 823 บัญญัติวา ถาตัวแทนกระทํา การใดโดยปราศจากอาํ นาจกด็ หี รือทํานอกเหนอื ขอบอาํ นาจกด็ ี ทา นวา ยอมไมผ กู พันตัวการ เวนแต ตัวการจะใหสัตยาบันแกการน้ัน ถาตัวการไมใหสัตยาบัน ทานวาตัวแทนยอมตองรับผิดตอ บุคคลภายนอกโดยลําพังตน เวนแตจะพิสูจนไดวาบุคคลภายนอกนั้นไดรูอยูวาตนทําการโดย ปราศจากอาํ นาจหรอื ทํานอกเหนอื ขอบอาํ นาจ

หางหนุ สว นจาํ กัด เมอ่ื ผเู ปน หนุ สว นผูจัดการถึงแกกรรม หา งตอ งเลิกกนั มผี ลอยา งไร กรณีตัวอยาง องคการสะพานปลาไดประกวดราคาจางกอสรางเข่ือนคันดิน เข่ือนไม ระบายนํ้ามีหางหุนสวนจํากัด ซ. ซึ่งมีนาย ส. เปนหุนสวนผูจัดการ เปนผูเสนอราคาเพียงรายเดียว และยนิ ยอมลดราคาใหบ างสวน องคการสะพานปลาจึงแจงผลการประกวดราคาและแจงใหหาง ซ. มาลงนามในสัญญาเรียบรอยแลว ขณะอยูระหวางตรวจสอบความถูกตองของเจาหนาท่ีองคการ สะพานปลากอนนําเสนอ ผูอํานวยการองคการสะพานปลาลงนามในฐานะคูสัญญา นาย ส. หุนสวนผูจัดการไดถึงแกกรรม เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2530 ซึ่งมีผลในทางกฎหมายคือ เม่ือหุนสวนผูจัดการซ่ึงเปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดถึงแกกรรม หางหุนสวนจํากัดยอมเลิกกัน จึงมีปญ หาวา 1. สัญญาจางท่ีนาย ส. ไดลงนามไวแลว แตสวนราชการยังไมไดลงนามในสัญญาจาง จะถือวามสี ญั ญาเกิดข้ึนแลว หรอื ไม 2. ผูอํานวยการองคการสะพานปลามีสิทธิลงนามในสัญญาจางผูกพันหางใหปฏิบัติตาม สัญญาจางไดหรือไม กรมอัยการพิจารณาแลว เห็นวา 1. สญั ญาจางระหวางองคการสะพานปลากับหาง เปนสัญญาจางทําของ ซึ่งไมมีกฎหมาย บังคับใหทําเปนหนังสือ เมื่อหางไดมาจัดทําสัญญาโดยไดตกลงกันในสาระสําคัญของสัญญา ครบถวนทุกขอ และไดทําสัญญาเปนหนังสือโดยหุนสวนผูจัดการของหางลงลายมือช่ือพรอมทั้ง - 43 -  ประทับตราไวแลว ทั้งหางยังไดลงมือทํางานจางไปแลวดวย หากไมมีกรณีเปนที่สงสัย ตามพฤติการณตองถือวาสัญญาจางระหวางองคการสะพานปลา กับหางไดเกิดข้ึนแลวตามนัย มาตรา 366 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ถึงแมผูแทนองคการสะพานปลาจะยังมิไดลง ลายมือช่ือในสัญญาจางก็ตาม เพราะกิจการดังกลาวมิใชกิจการที่กฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ ตามนยั มาตรา 9 แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย 2. การท่ีหุนสวนผูจัดการของหางถึงแกกรรม หางตองเลิกกันตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 1055(5) ประกอบมาตรา 1080 ก็ไมทําใหสัญญาจางระหวางองคการ สะพานปลา กับหางสิ้นสุดลงตามมาตรา 606 เพราะงานตามสัญญาจางเปนงานกอสราง ซ่ึงเปน

งานจางเหมาทั่ว ๆ ไป มิใชงานที่ตองอาศัยความรูความสามารถเฉพาะตัวของหุนสวนผูจัดการ ที่ถึงแกความตายแตอยางใด แมหางตองเลิกกันโดยผลของกฎหมาย แตหางก็ยังคงอยูตราบเทา เวลาท่ีจําเปนเพื่อการชําระบัญชี ตามมาตรา 1249 ดังน้ันองคการสะพานปลากับหางยังคงมีสิทธิ และหนาท่ีตอกันตามเง่ือนไขสัญญาจางทุกประการ (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการท่ี 137/2530) หมายเหตุ 1. สัญญาจางทําของแมไมมีกฎหมายบังคับวาตองทําเปนหนังสือก็ตาม แตการประกวด ราคาจางซึ่งมวี งเงนิ จํานวนมากในทางปฏิบัติของทางราชการนั้นตองทํากันเปนหนังสือสัญญาหรือ ขอตกลง ซง่ึ หากยังไมไ ดทํากนั เปนหนงั สือ เมื่อกรณเี ปนที่สงสัย ถือวายังไมมีสัญญาตอกันจนกวา จะไดท ําข้ึนเปน หนังสือ ตามทีบ่ ญั ญตั ิไวในมาตรา 366 วรรคสอง สาํ หรับเรื่องน้ีฝายผูรับจางไดมา ลงนามในสัญญาแลว แมฝายผูวาจางยังไมไดลงนามก็ตาม แตมีขอเท็จจริงปรากฏเพิ่มเติมวาผู รับจางไดเขาทํางานตามสัญญาจางดวยแลว กรณีจึงไมมีขอสงสัยวาสัญญาจางไดเกิดขึ้นแลว หรอื ไม ไมตกอยูในบังคับมาตรา 366 วรรคสอง แตหากผรู ับจางยังไมไดเขาทํางานเลยก็อาจมีขอ สงสัยไดว าสัญญาจางไดเ กดิ ขึ้นแลว หรอื ไม 2. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 1055(5) เม่ือผูเปนหุนสวนคนใดคนหน่ึงตาย หางยอมเลิกกัน แตกฎหมายใหถือวาแมหางจะไดเลิกกันแลว ก็ใหถือวายังคงตั้งอยูเทาเวลาท่ี จําเปนเพื่อการชําระบัญชีตามมาตรา 1249 ดังน้ันกรณีที่หุนสวนผูจัดการตายดังกลาว สัญญาจางก็ ยังคงมีผลผูกพันกันอยูในชวงระยะเวลาหนึ่งเม่ือเสร็จการชําระบัญชีแลวถือวาหางเลิกกันสัญญา จางก็สิ้นความผูกพนั - 44 - หุนสวนผจู ดั การหางถึงแกกรรมหา งเลิกกัน และไดโ อนกิจการใหหางทตี่ ัง้ ข้นึ ใหม   กรณีตัวอยาง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติไดทําสัญญาวาจาง หางหุนสวนจํากัด ร. มีนาย ท. เปนหุนสวนผูจัดการ ตอมาหุนสวนผูจัดการถึงแกกรรม ภริยาของ นาย ท. ซึ่งเปนผูจัดการมรดกไดจดทะเบียนเลิกหาง และไดจดทะเบียนจัดต้ังบริษัทขึ้นใหม ชอ่ื บริษทั ร. โดยมภี ริยาของนาย ท. เปนกรรมการผจู ัดการ วตั ถุประสงคข องบรษิ ัท ร. ขอหนึ่งระบุ วารับโอนงาน ผลงาน งานระหวางทํา สิทธิของหางหุนสวนจํากัด ร. มาเปนของบริษัทดังน้ี

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ จะตองยินยอมใหบริษัท ร. ทํางานจางตาม สัญญาตอไปดวยหรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา เมื่อมีการจดทะเบียนเลิกหางหุนสวนจํากัด ร. ซึ่งเปน คูสัญญากับสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติแลวไดมีการจัดตั้งบริษัท ร.               ขน้ึ โดยมีวตั ถปุ ระสงคใ นการรับโอนงาน ผลงาน งานระหวางทํา สิทธขิ องหางหุนสวนจํากัด ร. มาเปนผลงานของบริษัทดวยนั้น ไมมีผลผูกพันใหสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แหงชาติ ตองยินยอมใหบริษัทรับชวงงานของหาง เพราะสํานักงานการประถมศึกษาแหงชาติ ไมไดเปนคูสัญญา กับบริษัท ร. ไมไดมีนิติสัมพันธกับบริษัทท่ีตั้งขึ้นใหมแตอยางใด (ขอหารือ ตามคําวนิ จิ ฉัยกรมอัยการที่ 75/2532) กรณีจดทะเบียนเปลยี่ นช่ือนิติบคุ คลใหมจะตองปฏบิ ัติอยา งไร    กรณีตัวอยาง เมื่อบริษัทคูสัญญายังมีสภาพเปนนิติบุคคลอยู เพียงแตเปล่ียนชื่อและ เปลี่ยนเจาของเทาน้ัน การแกไขเปล่ียนชื่อคูสัญญา จึงหาจําเปนที่จะตองทําในรูปบันทึกขอตกลง ตอทายสัญญาหรือทําสัญญาใหมแตอยางใด เพียงแตนําเอกสารที่เก่ียวกับการแจงการเปลี่ยนช่ือ และ มีหนังสือรับรองการเปล่ียนชื่อแนบทายสัญญาก็เพียงพอแลว(ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉยั สํานกั งานอัยการสูงสดุ ที่ 108/2539) - 45 - ผจู ดั การหา งถึงแกกรรม ทายาทเขาเปน หุน สวนแทนท่ี หางไมเลิกกนั   กรณีตัวอยาง สํานักงานการประถมศึกษาแหงชาติไดทําสัญญาจาง จางหางหุนสวนจํากัด พ. โดยมีนาย จ. เปนหุนสวนผูจัดการ ตอมานาย จ. ถึงแกกรรม นาง ส. ภริยานาย จ. ไดรอ งขอตอ ศาลขอเปนผูจัดการมรดก และศาลไดมีคําส่ังให นาง ส. เปนผูจัดการมรดกของนาย จ. นาง ส. จึง ไดเขาเปนหุนสวนผูจัดการแทนโดยนายทะเบียนหุนสวนบริษัทไดจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง ทะเบียนของหางหุนสวนจํากัด พ. เรียบรอยแลว ถือไดวา หา งหุนสวนจํากัด พ. ยังคงมีสภาพนิติ

บุคคล และมีการดําเนินกิจการของหางตอไปได เมื่อปรากฏตามหลักฐานทางทะเบียนวา นาง ส.                เปนหุนสวนผูจัดการ สปช. ยอมชําระหนี้คาจางตามสัญญาท่ี สปช. ทําไวกับ หางหนุ สว นจํากัด พ. ใหแกนาง ส. ได (ขอ หารอื ตามคาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 31/2533)   แบบกอ สรางแนบทา ยสญั ญากาํ หนดแบบฐานรากไวท ั้งแบบมีเสาเข็มและไมม ีเสาเขม็ กรณีตัวอยาง กระทรวงสาธารณสุขไดทําสัญญาวาจาง บริษัท ศ. ทําการกอสรางอาคาร โรงพยาบาล โดยใชแบบกอสรางที่ใชเปน มาตรฐานการกอ สรางท่ัวไป กลาวคือ แบบกอสรางแนบ ทา ยสัญญาจาง ไดกําหนดแบบฐานรากไวทั้งแบบมีเสาเข็ม และไมใชเสาเข็ม มิไดกําหนดบังคับให ผูรับจางปฏิบัติตามแบบใดแบบหนึ่งโดยเฉพาะ ประกอบกับในการเขาเสนอราคา ผูรับจางและ ผูเสนอราคารายอ่ืนไดเสนอราคากอสรางตามแบบไมใชเสาเข็มเพียงแบบเดียว ราคาที่เสนอจึง ไมไดคิดรวมราคาเสาเข็มไวดวย นอกจากนั้นยังไดตอรองและตกลงรับราคาของผูรับจางที่เสนอ มาโดยไมมีเง่ือนไขใด ๆ เก่ียวกับฐานราก จึงเห็นไดชัดวาคูสัญญาท้ังสองฝาย ตางมีเจตนาตรงกัน ตั้งแตเ ร่ิมแรกที่จะทาํ สัญญาจางกอสรางชนิดทไ่ี มต อ งตอกเสาเข็ม ไมใชก รณยี กเลิกการตอกเสาเข็ม ตามรายการท่ัวไปประกอบแบบกอสราง ทางราชการจึงไมอาจหักเงินคาเสาเข็มคืนจากผูรบั จางได            (ขอ หารอื ตามคําวินจิ ฉยั กรมอัยการท่ี 10 /2528) กรณีตัวอยาง กรมทางหลวงไดทําสัญญาวาจางหางหุนสวนจํากัด พ. ทําการกอสราง บานพักขาราชการจํานวน 4 หลัง สัญญาจางมีแบบรูปและรายการละเอียดซึ่งถือวาเปนสวนหน่ึง ของสัญญา โดยมีขอกําหนดวาฐานรากใชคอนกรีตเสริมเหล็กตามแบบขยาย ถาดินรับนํ้าหนัก ไดมากกวา 6 ตัน/ม.2 ไมตองตอกเสาเข็มในการประกวดราคา หางหุนสวนจาํ กัด พ.ไดเสนอราคา - 46 - โดยมีบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคากอสรางโดยประมาณคาเสาเข็มไวดวย ขณะกอสรางไดทํา การทดลองกําลังรับนํ้าหนักของดินในพ้ืนท่ีบริเวณเขตการทางเชียงใหมแลว ปรากฏวาพื้นท่ีรับ นาํ้ หนักไดมากกวา 6 ตัน/ม.2 ผูรับจางจึงไมไดตอกเสาเข็มในการกอสราง คณะกรรมการตรวจการ จา งไดทําการตรวจรบั ไวเ รียบรอยแลว แตในการเบกิ จายเงินคา จา งคลังจังหวัดมกุ ดาหารไดทักทวง วา การกอ สรา งบานพักไมห ักเสาเขม็ ไว ผูรบั จางจึงอุทธรณขอใหพ ิจารณาทบทวนในเรือ่ งดงั กลาว กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาปรากฏตามขอความในรายละเอียดแนบทายสัญญาวา ในกรณีท่ีพ้ืนดินรับน้ําหนักไดมากกวา 6 ตัน/ม.2 ไมตองตอกเสาเข็ม จึงเห็นไดชัดวาในแบบ

กอสรางแนบทายสัญญานี้ไดกําหนดแบบกอสรางไว 2 อยาง คืออยางตอกเสาเข็ม และไมตอก เสาเข็ม การจะใชแ บบใดในการกอ สรางรายน้จี ะตองถือเอาผลการตรวจสอบรับนํ้าหนักของพื้นดิน เปน เกณฑ ดังนั้นไมวากรณีการกอสรางจะตองใชเสาเข็มหรือไมก็ตาม ผูรับจางมีหนาที่จะตองทํา การกอสรางใหแลวเสร็จในราคาตามสัญญา คือผูรับจางจะเรียกเงินคาเสาเข็มเพิ่มเติมอีกมิได การตอกเข็มหาใชกรณีแกไขเพิ่มเติมหรือลดงานจากแบบรูปและรายการเดิมท่ีคูสัญญาจะตองทํา ความตกลงคิดราคากันใหมไม กรณีเชนน้ี หากผูวาจางประสงคจะเรียกใหผูรับจางคืนเงินคางาน บางสวนก็จะตองระบุไวในสัญญาหรือตอทายไวเปนเงื่อนไขในแบบรูปและรายการแนบทาย สัญญาใหชัดเจนดวย กรมทางหลวงผูวาจางจึงไมมีสิทธิหักคาเสาเข็มคืนจากผูรับจางได (ขอหารือ ตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอยั การท่ี 53/2529) กรณตี วั อยาง รายละเอียดประกอบแบบกอสราง ไดกําหนดการหักเงินเสาเข็ม และคาเข็มท้ังหมดเฉพาะ ในกรณที ่ดี นิ แขง็ ทาํ ใหตอกเข็มไมลงเทาน้นั มิไดกําหนดใหหักเงิน กรณีตอกเขม็ ลงเพียงบางสวน เมื่อผูรับจางตอกเข็มไดความยาวเพียง 8 เมตร และนับจํานวน BLOW COUNT ไดตามรายการ ประกอบแบบแลว ผูวาจางไมมีสิทธิหักเงินคาเข็มในสวนที่ผูรับจางไมไดตอก(ขอหารือตามคํา วนิ ิจฉยั สํานักงานอยั การสูงสุด ที่ 73/2535) - 47 - กรณตี ัวอยา ง  สํานักงานอัยการสูงสุดมีความเห็นวา ตามรายการประกอบแบบซ่ึงเปนเอกสารแนบทาย สญั ญามไิ ดกาํ หนดความยาวของเข็มไว แตกําหนดวาเข็มตองมีคุณสมบัติตามรายละเอียดประกอบ แบบกอสรางของกองออกแบบและกอสราง กรมสามัญศึกษา ความยาวมากหรือนอยแลวแตสภา ชั้นดินซ่ึงรับน้ําหนักปลอดภัยไดไมนอยกวา 30 เมตริกตัน/ตน แตทั้งนี้ความยาวและลึกของเข็มใต ทองฐานรากตองไมนอยกวา 6 เมตร เม่ือรายการประกอบแบบมิไดกําหนดความยาวของเข็มเปน 21 เมตร แตตามรายละเอียดประกอบแบบกอสราง ขอ 4.5.3 ไดกําหนดฐานรากอาคารไวให

เลือกใชไดหลายแบบ โดยกอนเลือกใชฐานรากแบบใดแบบหนึ่งจากฐานรากที่กําหนดไวในแบบ รูปกอสรางใหปฏิบัติตามรายละเอียดประกอบแบบกอสราง เมื่อไดรับการพิจารณาจากผูวาจางให ใชฐานรากแบบใดแบบหน่ึงแลว ทางผูวาจางจะเปรียบเทียบราคาในเร่ืองของฐานรากและเสาเข็ม ทุกชนดิ ตามราคาทผ่ี ูวาจา งกําหนด เพ่ือใชใ นการประกวดราคา ถามกี ารลดราคาลงผรู ับจา งก็จะตอง คืนเงินใหกับทางราชการ กรณีตามท่ีหารือผูรับจางไมตอกเข็มเลย โดยใชฐานแผแทน ซ่ึงผูวาจาง ไดรบั รองการรบั นํ้าหนกั ปลอดภัยแลว กรมสามัญศกึ ษาชอบท่จี ะขอใหผรู บั จางตองคืนเงินในสวน ที่ไมไดตอกเข็มเลยน้ันใหแกกรมสามัญศึกษา ผูวาจาง โดยการคิดราคาตองพิจารณาจากใบเสนอ ราคาของผรู ับจา งในการเสนอราคาฐานรากแบบชนิดใชเขม็ คอนกรีตอดั แรงตามท่กี าํ หนดไว อนึ่งเพ่ือไมใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติตอไป กรณีท่ีมีการเสนอราคาของผูรับจางไดแสดง รายละเอียดของราคาส่งิ กอสรางในสวนของเสาเขม็ มีความยาว 21 เมตรหรือตางไปจากน้ี การเสนอ ร า ค า ดั ง ก ล า ว จ ะ เ ป น ข อ ผู ก พั น ใ น สั ญ ญ า ต อ เ ม่ื อ ไ ด นํ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด ดั ง ก ล า ว เ ข า ม า เ ป น เอกสารแนบทายสัญญา โดยใหถือเปนสวนหน่ึงของสัญญา(ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงาน อัยการสูงสุด ที่ 32 /2538) การนําช้ีสถานทกี่ อ สรางไมตรงกบั งบประมาณที่ไดร ับอนุมัติ    กรมอาชีวศึกษาไดรับจัดสรรเงินงบประมาณเปนคาใชจายในการปรับปรุงสถานท่ีของ สถานศึกษาที่จัดตั้งข้ึนใหมเปนจํานวนเงิน 1,000,000 บาท ซึ่งตามปกติในทางปฏิบัติผูรับจาง จะตองนําดินจากภายนอกบริเวณสถานที่กอสรางมาใชในการถมปรับปรุงพ้ืนที่ ดังนั้น งบประมาณ - 48 -  ในการปรับปรุงพื้นท่ีจึงรวมถึงคาใชจายในการซื้อดิน คาขนสงและคาแรงงานดวย แตปรากฏวา ในวันนําช้ีสถานท่ี เจาหนาท่ีผูนําชี้สถานท่ีกอสรางไดช้ีแจงดวยวาจาใหผูซื้อแบบรูปและรายการ กอ สรา งหรือ ผรู บั เหมาไดท ราบวา ใหใ ชดนิ ในพืน้ ทกี่ อสรา งซง่ึ วิทยาลยั และสถาปนกิ ไดกาํ หนดไว ในแผนหลักเปนดินท่ีใชถมปรับปรุงพื้นที่อาคารท้ังหมด แตการชี้แจงดังกลาวไมไดจดบันทึกไว ในใบรายการชี้แจงของเจาหนาท่ีท่ีนําชี้สถานท่ีกอสรางดวย ปรากฏวาหางหุนสวนจํากัด ก. ไดยื่น ซองเสนอราคากอสรางรวม 8 รายการ เปนเงิน 23,707,000 บาท และเสนอราคาประมาณการคา ปรบั ปรงุ พื้นทเ่ี ปนเงนิ 700,000 บาท ซ่ึงมิไดระบุแยกคาดินถมและคาแรงงานไว เม่ือทําสัญญาจาง

แลวผูรับจางไดปฏิบัติงานตามสัญญาจางโดยการนําดินในบริเวณสถานที่กอสรางไปถมปรับปรุง พื้นท่ตี ามตาํ แหนง ทีจ่ ะกอ สรางอาคารบางสวนแลว แตผูควบคุมงานกอสรางไดส่ังใหผูรับจางหยุด งานปรับปรุงพื้นท่ีไวเพ่ือพิจารณาปญหาการใชดินมาปรับปรุงพ้ืนท่ีวาควรจะใชดินจากท่ีใดจึงจะ เปนการปฏิบัติท่ีถูกตองตามขอสัญญา หากตองใชดินจากภายนอกสถานที่กอสรางมาใชในการ ปรับปรุงพ้ืนท่ีซง่ึ ถือวาผูรับจางไมปฏิบัติตามสัญญา กรมอาชีวศึกษาจะใชสิทธิคิดหักราคาดินออก จากจาํ นวนเงินคา จางทผี่ รู ับจางมีสทิ ธจิ ะไดร บั เปน คาจา งปรบั ปรงุ พ้นื ทห่ี รือจะบังคับใหผูรับจางนํา ดินตามปริมาตรที่ผูรับจางไดขุดจากภายในบริเวณสถานที่กอสรางมาสงคืนแกทางราชการได หรือไม เพราะเหตุใด สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวมีความเห็นวาตามประกาศกรมอาชีวศึกษาเรื่องการ เรียกประกวดราคากอสราง ไดกําหนดดูสถานที่กอสรางและฟงคําชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติม กอนยืน่ ซองประกวดราคาโดยมนี าย ม. ผปู ระสานการจัดต้งั วทิ ยาลยั เปนผูชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติม ใหผ ูท่ซี ื้อแบบ รูป และรายการกอสรางทุกรายทราบวา ใหใชดินในพื้นที่กอสราง ซึ่งวิทยาลัยและ สถาปนิกไดกําหนดไวในแผนหลักเปนดินที่ใชถมปรับปรุงพ้ืนท่ีอาคารทงั้ หมดตามแบบที่กําหนด ถึงแมจะมิไดจดบันทึกไวในเอกสารการนําช้ีสถานที่กอสราง รวมท้ังมิไดใหผูไปในวันนําช้ี สถานท่ีเซ็นรับทราบไวทุกราย อันเปนการไมปฏิบัติตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการ สอบราคาและประกวดราคาตามหนังสือกระทรวงศึกษาธิการท่ี ศธ 0203/31280 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2534 ก็ตาม แตหลักเกณฑดังกลาวเปนเพียงระเบียบปฏิบัติภายในกระทรวงศึกษาธิการ การช้ีแจงของนาย ม. ไดกระทําในฐานะผูแทนกรมอาชีวศึกษา จึงมีผลผูกพันกรมอาชีวศึกษาดวย เม่ือผูรับจางไดขุดดินในบริเวณสถานที่กอสรางไปปรับปรุงพ้ืนท่ีตามตําแหนงที่จะกอสรางตามผัง - 49 - ที่กําหนดแลว ผูรับจางจึงมิไดประพฤติผิดสัญญา กรมอาชีวศึกษาไมอาจหักราคาดินออกจาก จํานวนเงินคาจางที่ผูรับจางมีสิทธิจะไดรับเปนคาจางปรับปรุงพ้ืนท่ี หรือบังคับใหผูรับจางนําดิน ตามปริมาตรที่ผูรับจางขุดไปจากภายในบริเวณสถานท่ีกอสรางมาใชในการกอสรางสงคืนแกทาง ราชการแตอ ยางใด (ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ตามหนังสือท่ี อส 0017/3221 ลงวนั ที่ 22 มีนาคม 2527) การแตงต้งั คณะกรรมการตรวจการจางหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดเุ ปน อํานาจใคร 

  กรณีตัวอยาง สวนราชการจัดซื้อจัดจางพัสดุโดยผูมีอํานาจส่ังซื้อสั่งจางไดส่ังซ้ือส่ังจาง แลวคงมีปญหา ใครเปนผูมีอํานาจในการแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือคณะกรรมการ ตรวจการจางดังกลาว กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา หนาท่ีในการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจางน้ัน เปนอํานาจหนาที่ของผูซื้อหรือผูวาจางซึ่งเปนหัวหนาสวน ราชการโดยตรง หาใชอํานาจของผูมีอํานาจในการส่ังซื้อหรือสั่งจางไม (ขอหารือกรมอัยการท่ี 107/2522) หมายเหตุ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษามอบอํานาจใหผูอํานวยการวิทยาลัยมี อํานาจในการสั่งซื้อสั่งจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ เม่ือผูอํานวยการ วิทยาลัยไดอนุมัติสั่งซ้ือส่ังจางแลว จะมีอํานาจในการแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือ คณะกรรมการตรวจการจางหรือไม ใหพิจารณาวาคําสั่งมอบอํานาจดังกลาวรวมถึงอํานาจในการ แตง ตง้ั คณะกรรมการดังกลาวดวยหรือไม หากมีการมอบอํานาจไว ผูอํานวยการวิทยาลัยก็มีอํานาจ ในการแตงต้งั คณะกรรมการตรวจรับพัสดแุ ละคณะกรรมการตรวจการจา งได การแตง ตง้ั คณะกรรมการ    การแตงต้ังคณะกรรมการตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การพัสดุ เชน คณะกรรมการเปดสอบราคา คณะกรรมการรับและเปดซอง ประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัด จางโดยวิธีพเิ ศษ คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุและคณะกรรมการตรวจการจา ง มีวิธีการดงั นี้ - 50 - 1. คณะกรรมการแตละคณะประกอบดวยประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอยาง นอย 2 คน อาจแตงตง้ั มากกวา 3 คนก็ได 2. ประธานกรรมการใหแตงตั้งจากขาราชการตัง้ แตระดบั 3 หรือเทียบเทาข้นึ ไป 3. ในกรณีจําเปนหรือเพ่ือประโยชนของทางราชการ จะแตงตั้งบุคคลอื่นที่มิใชขาราชการ รวมเปนกรรมการดวยก็ได เชน ไมมีผูมีความรูดานเทคนิค ดานการกอสราง อาจแตงต้ังบุคคลอ่ืน ซ่ึงมคี วามรคู วามสามารถเฉพาะดา น รว มเปนคณะกรรมการดว ยก็ได

4. การแตง ต้ังคณะกรรมการใหแ ตงต้ังเปน คราว ๆ ไป เม่อื มีการจดั ซ้อื จัดจา งแตละครัง้ 5. การแตงตั้งคณะกรรมการตองไมซ ้ํากันในการจัดซือ้ หรอื จัดจางคร้งั เดยี วกนั ดังน้ี 5.1 หามแตงต้ังคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคาเปนกรรมการพิจารณาฯ ผลการประกวดราคา 5.2 หา มแตงตงั้ กรรมการเปดซองสอบราคาหรือกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา เปน กรรมการตรวจรับพัสดุ (แตไ มหา มแตง ต้งั เปนกรรมการตรวจการจา ง)  กรณีทไ่ี มตองแตงต้งั คณะกรรมการ   1. การจัดซื้อ จดั จา งทม่ี วี งเงนิ ไมเ กนิ 10,000 บาท ใหด ําเนินการดังน้ี 1.1 แตง ตงั้ ขาราชการหรอื ลูกจางประจาํ 1 คน เปน ผตู รวจรบั พัสดุ หรอื งานจางนั้น 1.2 ผูตรวจรับพสั ดุหรืองานจาง ตามขอ 1.1 ตองไมใชผจู ัดซ้อื หรอื จัดจา งครง้ั นน้ั 1.3 หนาท่ีของผูตรวจรับพัสดุใหปฏิบัติหนาที่เชนเดียวกับคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ขอ 71 1.4 หนาที่ของผูตรวจงานจางใหปฏิบัติหนาท่ีเชนเดียวกับคณะกรรมการตรวจการจาง ขอ 72 (ขอ 35) 2. การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคาในกรณีจําเปนเรงดวน เมื่อเจาหนาท่ีพัสดุหรือ เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบที่ดําเนินการไปกอน ขอความเห็นชอบจากหัวหนาสวนราชการและไดรับ ความเห็นชอบแลว ใหถือวารายงานดังกลาวเปนหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม (ขอ 39 วรรคสอง) - 51 - หนา ทข่ี องคณะกรรมการ   1. คณะกรรมการเปดซอง สอบราคามีหนาที่ ตามท่กี ําหนดไวในระเบยี บฯ พัสดุ ขอ 42 2. คณะกรรมการรับและเปดซองปะกวดราคา มหี นา ที่ตามทกี่ าํ หนดไวในระเบียบ ขอ 49 3. คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคามีหนาท่ีตามท่กี าํ หนดไวใ นระเบยี บ ขอ 50 4. คณะกรรมการจดั จา งโดยวธิ พี เิ ศษ มีหนา ที่ตามที่กําหนดไวใ นระเบยี บขอ 58  5. คณะกรรมการจัดซอ้ื โดยวิธีพิเศษ มหี นา ท่ตี ามทีก่ าํ หนดไวใ นระเบียบขอ 57

6. คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ มหี นาทต่ี ามทก่ี าํ หนดไวในระเบยี บขอ 71 7. คณะกรรมการตรวจการจาง มหี นาทตี่ ามท่กี าํ หนดไวใ นระเบียบขอ 72 การประชมุ ของคณะกรรมการ    1. การประชุมของคณะกรรมการทุกคณะตองมีกรรมการมาพรอมกันไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจํานวนกรรมการทง้ั หมด ตัวอยาง กรรมการตรวจการจาง 7 คน มาประชุม 3 คน ไมถึงกึ่งหน่ึง ไมครบองคประชุม ถา มาประชุม 4 คน ถอื วา ไมน อยกวากึง่ หนงึ่ ของจํานวนกรรมการทัง้ หมด 2. ประธานกรรมการและกรรมการ แตล ะคนมสี ิทธิออกเสยี งไดหนึ่งเสยี ง 3. มตขิ องคณะกรรมการใหถ ือเสยี งขา งมาก ตัวอยาง กรรมการคณะหน่ึงมีท้ังหมด 7 คน มาประชุม 5 คน ทําการลงมติฝายหน่ึง 3 คน อกี ฝา ยหน่งึ 2 คน ถือเอาเสยี งขางมาก ตามมติฝา ย 3 คน ของคณะกรรมการท่ีมาประชมุ 4. ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานกรรมการออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหน่ึงเปนเสียง ช้ีขาด ตัวอยาง กรรมการ 6 คนมีมติเปนสองฝายละ 3 คน ใหประธานกรรมการออกเสียง เพ่ิมข้นึ อีกหน่ึงเสยี งเปนเสียงช้ขี าด 5. มติของคณะกรรมการตรวจการจา งและคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ ใหถ อื มตเิ อกฉนั ท ตัวอยาง คณะกรรมการตรวจการจาง 7 คน มาประชุม 5 คน กรรมการ 4 คน เห็นควรให ตรวจรับงานจางได อีกหน่ึงเสียงเห็นวายังตรวจรับไมได ดังน้ีมติของ คณะกรรมการไมเปนเอก ฉนั ท ทําการตรวจรับไมไ ด (ขอ 36 วรรคสอง) - 52 -   6. กรรมการของคณะใดไมเห็นดวยกับมติคณะกรรมการใหทําบันทึกความเห็นแยง ไวดว ย การตรวจการจา งของคณะกรรมการที่ไมเ ปนเอกฉนั ท   

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 36 วรรคสอง กําหนดวามติ ของคณะกรรมการใชถ ือเสียงขา งมาก ถา คะแนนเสยี งเทากันใหประธานกรรมการออกเสียงเพิ่มขึ้น อกี เสยี งหนงึ่ เปน เสียงชข้ี าด เวนแตคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและคณะกรรมการตรวจการจางให ถือมติเอกฉันท คงมีปญหาวา ถาคณะกรรมการตรวจการจางทําการตรวจรับงานจางแลวมีมติไมเปน เอกฉันท เชน กรรมการ 3 คน เห็นวาควรตรวจรับได สวนกรรมการอีก 2 คน เห็นวายังทําการ ตรวจรับไมไ ด ดังน้คี วรปฏบิ ัติอยา งไร 1. กรรมการฝายท่ีมีความเห็นแยงไมตรวจรับ ใหทําความเห็นแยงเปนหนังสือ แสดงเหตุผลวาไมสมควรตรวจรับดวยเหตุใด ใหชัดเจน เสนอตอประธานคณะกรรมการตรวจ การจา ง 2. เมื่อประธานคณะกรรมการตรวจการจางไดรับเร่ืองแลว ใหเสนอความเห็นของ คณะกรรมการทั้งสองฝาย ท้ังฝายที่เห็นควรใหตรวจรับได และฝายท่ีเห็นควรไมตรวจรับ ตอผูมี อาํ นาจสง่ั ซื้อหรือสัง่ จางในคร้ังนั้นเพอ่ื พิจารณาสัง่ การ 3. ในกรณีที่หวั หนาสวนราชการ (ผูมอี ํานาจส่ังซ้ือสั่งจาง) พิจารณาส่ังการใหทําการตรวจ รับได คณะกรรมการตรวจการจางทุกคนมีหนาท่ีดําเนินการตามขอ 72(4) โดยทําใบรับรองผลการ ปฏบิ ตั ิงาน เพือ่ ทาํ การเบิกจายเงินตามระเบยี บตอ ไป หนา ที่ของคณะกรรมการตรวจการจางในกรณี น้ีคือ ทําใบรับรองผลการปฏิบัติงานเทานั้น คณะกรรมการไมตองทําการตรวจการจางอีก และไม ตองมคี วามเหน็ ใหมว างานจางถกู ตอ งตามระเบียบหรอื สญั ญาอีกหรอื ไม 4. กรณที ี่มตคิ ณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดทําการตรวจรับแลว มีมติไมเ ปน เอกฉนั ทกต็ อง ปฏิบัตทิ าํ นองเดยี วกันตามระเบียบขอ 71(7) - 53 - การตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ การจัดซื้อพัสดุ ครุภัณฑ ของหนวยงานและสถานศึกษาน้ัน ในทางปฏิบัติจะมีการแตงต้ัง คณะกรรมการข้ึนมาคณะหนึ่ง ทําหนาท่ีตรวจรับพัสดุครุภัณฑท่ีมีการสงมอบกรรมการคณะนี้ เรียกวา คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตามที่กําหนดไวในขอ 34(6) แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในขอ 71 แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 คือ ตรวจรับพัสดุ ณ ท่ีทําการของผูใช พัสดุ หรือสถานท่ีซ่ึงกําหนดไวในสัญญาหรือขอตกลงตรวจรับพัสดุใหถูกตองครบถวน ตามหลักฐานที่ตกลงกันไว โดยปกติใหตรวจรับพัสดุในวันที่ผูขายหรือผูรับจางนําพัสดุมาสง และ ใหดําเนินการใหเสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด เมื่อตรวจถูกตองครบถวนแลวใหรับพัสดุไว แลวสงมอบแก เจาหนาที่พัสดุ พรอมกับทําใบตรวจรับโดยลงลายมือไวเปนหลักฐานอยางนอยสองฉบับมอบผูขาย หรือผูรับจาง 1 ฉบับ และเจาหนาท่ีพัสดุ 1 ฉบับ เพื่อดําเนินการเบิกจายเงินตามระเบียบการเบิก จายเงิน คงมีปญหาวาคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะไมยอมทําการตรวจรับพัสดุ โดยอางวาการ ดําเนินการจัดหาหรือจัดซื้อไมชอบดวยระเบียบการเปดซองสองราคาประกวดราคาไมชอบดวย ระเบียบเอกสารเสนอราคาของผูขายตามสัญญาไมถูกตอง หรืออางเหตอุ ื่น ๆ ซึ่งไมใชเหตุท่ีกลาวไว ในระเบียบขอ 71 มา ปฏเิ สธไมท าํ การตรวจรับส่งิ ของตามสญั ญาไมไดเพราะเปน เรอ่ื งอยูนอกอํานาจ หนาท่ีของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ อยางไรก็ตามในการตรวจรับพัสดุน้ัน ระเบียบขอ 36 กําหนดวามติของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและคณะกรรมการตรวจการจางใหถือมติเอกฉันท กลาวคือตองถือตามเสียงท้ังหมดของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุและคณะกรรมการตรวจการจาง ปญหาที่มักจะปรากฏก็คือ กรณีท่ีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีความเห็นออกเปนสองฝาย คือ ฝายหนึ่งเห็นวา สามารถตรวจรับไดอีกฝายหนึ่งเห็นวาไมสามารถตรวจรับไดเพราะสิ่งของไม ถูกตองตามสัญญา ดังนี้จะดําเนินการอยางไร เรื่องน้ีกําหนดไวในระเบียบขอ 71(7) วา ถากรรมการ ตรวจรับพัสดุบางคนไมยอมรับพัสดุ โดยทําความเห็นแยงไวใหเสนอหัวหนาสวนราชการ เพ่ือ พิจารณาสั่งการถาหัวหนาสวนราชการสั่งการใหรับพัสดุน้ันไว จึงดําเนินการตามขอ 4 (ทําใบตรวจ รับ) หรอื ขอ 5 กรณีสงมอบไมครบจํานวนหรือสงมอบจํานวนแตไมถูกตองทั้งหมด ถาสัญญา หรือขอตกลงมิไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ใหตรวจรับไวเฉพาะจํานวนท่ีถูกตอง กรณีท่ี คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุบางคนไมยอมตรวจรับโดยทาํ ความเห็นแยงไวจึงตองนําเร่ืองเสนอตอผู มีอํานาจสัง่ ซือ้ ส่ังจา ง ในคร้ังนัน้ วา   - 54 -   จะพิจารณาสง่ั การใหท ําการตรวจรับหรอื ไมห ากส่งั การใหต รวจรับ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุจึงมี หนาท่ีออกใบตรวจรับใหแกผูขายหรือผูรับจางเพ่ือใชเปนหลักฐานในการดําเนินการเบิกจายราคา สิง่ ของหรอื คาจางตอไป มีขอสังเกตวา หนาที่ของคณะกรรมการตรวจรับตามขอ 71 เดิมมีหนาที่หลักอยู 2 เรือ่ ง คือ ตรวจรับพัสดุวาถูกตองตามสัญญาหรือขอตกลงหรือไม และหนาที่ในการออกไปตรวจรับพัสดุให

สําหรับกรณีที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุมีความเห็นแยง และหัวหนาสวนราชการหรือผูรับมอบ อาํ นาจสั่งซ้อื สัง่ จา งในครัง้ น้ันพิจารณาส่ังการใหตรวจรับได หนาท่ีของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ กรณีน้ีคงมีหนาท่ีในการออกไปตรวจรับใหเทาน้ัน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไมมีหนาที่ท่ีจะ พิจารณาวาส่ิงของดังกลาวถูกตองตามสัญญาหรือไมอีก เพราะหนาท่ีดังกลาวผูเปนหัวหนาสวน ราชการหรอื ผรู บั มอบอาํ นาจไดพ จิ ารณาสัง่ การใหตรวจรับเปนอันยุติแลว ความรับผิดชอบวาส่ิงของ ถกู ตอ งตามสัญญาหรอื ไมเ พยี งใด ตกอยแู กผ ูส ่ังการใหต รวจรับตอ งรับผิดชอบ งานพเิ ศษและการแกไขงานตามสญั ญาจา ง ในการปฏิบัติงานตามสัญญาจางผูวาจางมีสิทธิสั่งใหผูรับจางทํางานพิเศษซึ่งเปนงานท่ี ไมไดกําหนดไวในขอสัญญาเดิมได ซ่ึงหากไมมีการทํางานพิเศษน้ัน ผูรับจางไมสามารถทํางาน ตามทก่ี าํ หนดไวใ นขอ สญั ญาเดิมได ท้งั นต้ี ามท่กี าํ หนดไวใ นสัญญาจา งขอ 14 ดงั นี้ ขอ 14. งานพิเศษและการแกไ ขงาน ผูวาจางมีสิทธิที่จะสั่งใหผูรับจางทํางานพิเศษซ่ึงไมไดแสดงไว หรือรวมอยูใน เอกสารสัญญา หากงานพิเศษนั้น ๆ อยูในขอบขายท่ัวไปแหงวัตถุประสงคของสัญญานี้ นอกจากนี้ ผูว าจางยังมสี ิทธิสั่งใหเปลย่ี นแปลงหรือแกไขแบบรูป และขอกาํ หนดตาง ๆ ในเอกสารสัญญานี้ดวย โดยไมทาํ ใหสัญญาเปน โมฆะแตอยางใด อัตราคาจางหรือราคาที่กําหนดไวในสัญญาน้ีใหกําหนดใชสําหรับงานพิเศษหรือ งานที่เพิ่มเติมข้ึน หรือตัดทอนลงท้ังปวงตามคําส่ังของผูวาจาง หากในสัญญาไมไดกําหนดไวถึง อัตราคาจาง หรือราคาใด ๆ ที่จะนํามาใชสําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มข้ึนดังกลาว ผูวาจางและ - 55 - ผูรับจา งจะไดตกลงกนั ทกี่ าํ หนดอตั ราหรือราคา รวมทั้งการขยายระยะเวลา (ถามี) กันใหมเพื่อความ เหมาะสม ในกรณีที่ตกลงกันไมได ผูวาจางจะกําหนดอัตราจางหรือราคาตายตัวตามแตผูวาจางจะ เห็นวาเหมาะสมและถกู ตอง ซึ่งผูรับจางจะตองปฏิบัติงานตามคําส่ังของผูวาจาง แตอาจสงวนสิทธิ ทจ่ี ะดําเนินการตามขอ 21 ตอไปได

คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.16/2547 ผูฟองคดีรับจางกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเลียบคลองขององคการบริหารสวน ตาํ บล ฟอ งขอใหอ งคการบริหารสวนตําบลชําระคาจางกอสรางเข่ือนกันดินพัง อันเน่ืองมาจากการท่ี ประธานองคการบริหารสวนตําบล สั่งการดวยวาจาใหผูฟองคดีดําเนินการกอสรางเข่ือนกันดินพัง เพื่อใหการกอสรางถนนตามสัญญาสามารถดําเนินการตอไปได ดวยเหตุท่ีระหวางกอสรางถนน ไดเกดิ การทรุดตวั ของดนิ ดา นขางถนนไหลเลือ่ นลงคลองอนั ทาํ ใหถ นนชํารดุ เสยี หาย ศาลปกครองสูงสุดวินจิ ฉัยวา การสั่งการของประธานองคการบริหารสวนตําบล เปนการสั่งท่ีมีอํานาจกระทําได โดยถือวาเปนงานพิเศษซ่ึงอยูในขอบขายท่ัวไปแหงวัตถุประสงคของสัญญา เพื่อใหสามารถกอสราง ถนนตอ ไปได และถือวาการสรางเข่ือนเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสรางถนน แมเปนการตกลงดวย วาจา ก็ตาม ท้ังนี้เน่ืองจากตามบทบัญญัติมาตรา 587 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไมได บัญญัติใหสัญญาจางทําของตองทําเปนหนังสือ ดังนั้น เมื่อกรณีดังกลาวไมไดเกิดจากการสมยอม ระหวางผูแทนของหนวยงานของรัฐกับผูรับจาง หรือเกิดจากความผิดของผูรับจาง หรือผูรับจาง ตองการหลีกเลี่ยงการประกวดราคา แมจะเปนกรณีไมไดผานข้ันตอนการจัดซ้ือจัดจางตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุขององคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2538 แตโดยท่ีการ ดําเนินการตามระเบียบดังกลาว เปนขั้นตอนการปฏิบัติภายในของหนวยงาน องคการบริหารสวน ตําบลจึงไมอาจนําการไมปฏิบัติ ตามระเบียบฯ มาเปนเหตุผลปฏิเสธความรับผิดได เมื่อผูรับจาง กอสรางเข่ือนตามท่ีมีการสั่งใหทําเพิ่มเติมจนเสร็จเรียบรอยแลว ยอมมีสิทธิไดรับชําระคาจางเปน การตอบแทนตามทีต่ กลงกันไว - 56 - คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.๒๔๗/๒๕๕๑ กรณีที่แบบแสดงขอบเขตงานผังบริเวณกอสรางตามสัญญาจางกอสรางอาคารเรียน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีผูวาจาง ระบุวาอาคารที่จะกอสรางต้ังอยูบน สภาพดิน เดมิ และอยหู างจากสระนํ้า ซงึ่ แตกตา งจากสภาพจริงท่ีผูรับจางตองกอสรางอาคาร โดยมีสวนหนึ่งลํ้า

เขาไปในสระนํ้าประมาณ ๑๕ เมตร ทําใหตองมีการถมดินลงในสระน้ํานั้น ถือไมไดวาเปนกรณี ท่ีรูปแบบและรายละเอียดในการกอสรางผิดพลาดคลาดเคล่ือนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือ เทคนิค อันจะทําใหผูรับจางตองปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการตรวจการจางหรือผูควบคุม งานของผูวาจางเพื่อใหงานแลวเสร็จบริบูรณโดยไมอาจคิดคาใชจายใดๆ เพิ่มข้ึนจากผูวาจางตามที่ กําหนดไวในขอสัญญา ประกอบกับตามบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและแรงงานกอสรางของบริษัท ผูออกแบบ ไดกําหนดงานเตรียมการเบ้ืองตนท่ัวไปโดยไมไดมีการกําหนด งานถมดนิ สระนํ้าไวแต อยางใด งานดังกลาวจึงไมใชงานท่ีเปนไปตามรูปแบบของสัญญาจาง และเน่ืองจากการถมดนิ ลงใน สระนํ้าเพ่ือใหสามารถกอสรางอาคารตามสัญญาจางไดเปนวิธีการ ที่เสียคาใชจายและเวลานอยกวา วิธีอื่น หากไมทาํ การถมดนิ ก็ไมสามารถกอ สรางอาคารได ซ่ึงเปนงานที่อยูนอกขอบขายตามรูปแบบ และรายการกอสรางตามสัญญา งานถมดินดังกลาวจึงเปนงาน ที่เพิ่มขึ้นนอกเหนือจากสัญญาจาง และเปนงานพิเศษซ่ึงไมไดแสดงไวหรือรวมอยูในเอกสารสัญญา แตอยูในขอบขายท่ัวไปแหง วัตถุประสงคของสัญญา ดังนั้น เม่ือขอสัญญากําหนดใหกรณีดังกลาว ผูวาจางมีภาระหนาท่ีตอง กําหนดเงินคาจางและขยายระยะเวลาการกอสรางเพิ่มขึ้นใหกับผูรับจาง การท่ีผูวาจางไมกําหนดคา ถมดินในสระน้ําและไมขยายระยะเวลาการกอสรางตามความเหมาะสมใหกับผูรับจาง จึงเปนการ กระทาํ ทไ่ี มชอบ การแกไ ขเปล่ียนแปลงสญั ญาซ้ือขายและสัญญาจาง ในการทาํ สัญญาซอ้ื ขายวัสดุ ครุภัณฑ กับบริษทั หรือหางรานเอกชน บางคร้ังอาจมีปญหาวา ผูขายไมอาจจัดสงมอบวัสดุครุภัณฑใหถูกตองตามสัญญาได เชน บริษัทผูผลิตในตางประเทศเลิก กิจการ หรือยกเลิกการผลิตครุภัณฑรุนที่กําหนดไวในสัญญาซ้ือขาย หรือผูผลิตปรับปรุงสินคาโดย การผลติ เปนสินคารุนเดียวกัน แตมีรูปรางลักษณะไมเหมือนกับที่กําหนดไวในแคตตาล็อกแนบทาย - 57 - สัญญาซื้อขาย ซ่ึงฝายผูขายมีหนังสือแจงวา ไมสามารถจัดสงสิ่งของตามรูปแบบและแคตตาล็อกท่ี กําหนดไวในสัญญาซื้อขายได และเสนอจะสงสินคาย่ีหออ่ืนแทนหรือสินคารุนใหมที่ผลิตจาก บริษัทผูผลิตเดียวกัน จึงมีปญหาวาคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะดําเนินการตรวจรับส่งิ ของที่ผูขาย เสนอจะสงมอบแทนสิ่งของตามสัญญาเดิมไดหรือไม โดยหลักแลวคณะกรรมการตรวจรับพัสดุจะ

ทําการตรวจรับพัสดุน้ันไมไดเพราะถือวาผูขายสงมอบส่ิงของไมถูกตองตามสัญญาซื้อขายและอาจ เปนเหตุในการกลาวอางอิงท่ีจะบอกเลิกสัญญาซื้อขายตอไปได อยางไรก็ตามหากสวนราชการ มีความจําเปนที่จะตองจัดซ้ือวัสดุครุภัณฑน้ันไวใชในราชการก็อาจดําเนินการเพื่อแกไขสัญญา หรือขอตกลงจากส่ิงของตามสัญญาเดิมมาเปนส่ิงของตามที่ผูขายเสนอจะสงมอบใหมได เร่ืองน้ี กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 136 มีความวา “สัญญา หรือขอตกลงเปนหนังสือท่ีไดลงนามแลว จะแกไขเปล่ียนแปลงมิได เวนแตการแกไขน้ันจะเปน ความจําเปนโดยไมทําใหทางราชการตองเสียประโยชน หรือเปนการแกไขเพ่ือประโยชนแกทาง ราชการใหอยูใ นอํานาจของหวั หนา สว นราชการท่ีจะพิจารณาอนุมตั ิใหแ กไขเปลี่ยนแปลงได...” หลักเกณฑก ารแกไข เปล่ียนแปลงสัญญาจึงพิจารณาดังตอ ไปน้ี 1. มีความจาํ เปน ตอ งแกไ ข 2. ไมท ําใหท างราชการตองเสียประโยชนหรอื เปนการแกไขเพอ่ื ประโยชนแ กทางราชการ นอกจากจะตอ งอยูในหลกั เกณฑดงั กลา วขา งตนแลว หากวสั ดคุ รภุ ณั ฑน นั้ มีรายละเอียดทาง เทคนิคตองดําเนนิ การตามทกี่ ําหนดไวใ นระเบียบขอ 136 วรรคทาย ซ่ึงกาํ หนดวา สาํ หรบั การจัดหาท่ี เก่ียวกับความมั่นคงแข็งแรง หรืองานเทคนิคเฉพาะอยาง จะตองไดรับการรับรองจากวิศวกร สถาปนิก และวิศวกรผูชํานาญการ หรือผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงรับผิดชอบหรือสามารถรับรองคุณ ลักษณะเฉพาะ แบบและรายการของงานกอ สราง หรืองานเทคนิคเฉพาะอยา งน้นั แลว แตกรณดี วย การรบั รองเก่ียวกับเรื่องเทคนิคเฉพาะครุภัณฑ จึงตองแตงตั้งบุคคลดังกลาวขึ้นทําการตรวจ ทดลองส่ิงของท่ีผูขายเสนอเขามาใหมวามีรายละเอียดเทียบเทาหรือดีกวาสิ่งของตามสัญญาเดิม อยางไรก็ตามสิ่งของท่ีผูขายเสนอสงมอบใหมน้ันจะตองมีคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑตรงตาม ท่กี รมอาชีวศกึ ษากําหนดขณะสอบราคาหรือประกวดราคาดวย และบุคคลที่ทําการรับรองดังกลาวนี้ ตองไมใชผูแทนที่ฝายผูขายจัดหามา และไมควรแตงต้ังคณะกรรมการตรวจรับพัสดุใหทําหนาท่ี รบั รองเกี่ยวกับคุณสมบัติครุภณั ฑด งั กลา วดว ย - 58 - สําหรับอํานาจในการอนุมัติใหแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือขอตกลงนี้ หากอํานาจในการ ส่ังซ้ือสั่งจางตามสัญญาอยูในอํานาจของหัวหนา สถานศึกษา หัวหนาสถานศึกษาก็มีอํานาจในการ พิจารณาอนุมัติการแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือขอตกลงได ตามที่กรมอาชีวศึกษาไดมีคําส่ังมอบ อํานาจไว อน่ึงการแกไขเปล่ียนแปลงสัญญาหรือขอตกลงน้ี ไมหมายความรวมถึงการพิจารณา

อนุมัติแกไขเปล่ียนแปลงวันกําหนดสงมอบส่ิงของตามสัญญาใหขยายออกไป ซ่ึงเปนเรื่องการ พจิ ารณาอนุมัตขิ ยายเวลาสญั ญาซอื้ ขายตามขอ 139 แหงระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดว ยการพสั ดุ ซงึ่ กําหนดไวอกี สว นหนึง่ ตา งหาก 3. ตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 136 กําหนดหลักเกณฑ การแกไขสัญญาหรือขอตกลงไววา สัญญาหรือขอตกลงที่ไดลงนามจะแกไขเปลี่ยนแปลงมิได เวน แต 3.1 การแกไ ขน้นั มีความจําเปนตองแกไ ขโดยไมท ําใหท างราชการตองเสยี ประโยชนหรือ 3.2 เปน การแกไขเพื่อประโยชนแ กท างราชการ กรณีตัวอยาง ผูขายไมอาจจัดสงมอบสิ่งของตามสัญญาได เน่ืองจากบริษัทผูผลิตยกเลิก การผลิต สินคารุนท่ีกําหนดไวในสัญญาและไดทําการผลิตสินคารุนใหม ซึ่งมีคุณภาพดีกวานคารุน เดิมและบุคคลท่ีกําหนดไวใ นระเบียบขอ 136 วรรคทายไดทําการรับรองรายละเอียดทางเทคนิคแลว เห็นวา มีคุณลักษณะเฉพาะครุภัณฑถูกตองตามท่ีกรมกําหนด และมีคุณภาพเทาเทียมหรือดีกวา สนิ คาทก่ี ําหนดไวใ นสัญญาเดมิ ดังน้ี ทางราชการไมเสยี ประโยชนแกไขสญั ญาหรอื ขอตกลงได กรณีตัวอยาง สัญญาจางกอสรางอาคารตามวงเงินงบประมาณที่ไดรับแตยังไมเต็มตาม รูปแบบ ตอมาไดรับเงินงบประมาณเพ่ิมเติมเพื่อตอเติมอาคารตามสัญญาใหเต็มตามรูปแบบดังน้ีถือ วา มคี วามจําเปน ตอ งแกไขสัญญาเพ่ือประโยชนแ กท างราชการ กรณตี ัวอยาง ทําสญั ญาจา งผูรบั จา งแกไขซอมแซมเครื่องยนต ตามรายละเอียดท่ีกําหนดไว ในสัญญาขณะรื้อทําการตรวจซอมปรากฏวาเคร่ืองยนตยังมีรายการอ่ืนทําการแกไขซอมแซมอีก นอกเหนือจากรายการที่กําหนดไวใ นสัญญา หากไมแ กไ ขรายการดังกลาวไวในสัญญา หากไมแกไข รายการดังกลาวก็ไมอาจซอมแซมเครื่องยนต ตามรายการท่ีระบุไวในสัญญาได ถือวาตองแกไขเพ่ือ ประโยชนแกทางราชการให ผรู บั จางแกไขเครื่องยนตรายการอนื่ เพม่ิ เติมจากสญั ญาเดิมได - 59 - การแกไขเปลย่ี นแปลงสัญญาตอ งดําเนนิ การดงั น้ี 1. อํานาจในการแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาเปนอํานาจหัวหนาสวนราชการที่พิจารณาอนุมัติ แกไ ขได (ผอู ํานวยการวทิ ยาลยั มอี าํ นาจแกไ ขไดเฉพาะสัญญาที่อยใู นวงเงนิ สัง่ ซือ้ ส่งั จางเทานนั้ )

2. ในกรณีท่ีมีการเพ่ิมวงเงินทําใหวงเงินเกินอํานาจของหัวหนาสวนราชการใหปฏิบัติตาม กฎหมายวิธีการงบประมาณ และเงินอ่นื ๆ 3. ในกรณีทมี่ ีการเพม่ิ หรอื ลดวงเงนิ เพมิ่ หรอื ลดระยะเวลาการสงมอบของหรอื ระยะเวลาใน การทํางานตอ งตกลงพรอ มกันไป (จะมขี อภายหลงั ไมได) 4. การจดั หาทเี่ กี่ยวกบั ความมน่ั คงแข็งแรงหรืองานเทคนิคเฉพาะอยา งตอ งมีการรับรอง จากบุคคลตามขอ 136 วรรคทา ยดวย การกอ สรา งที่ทํากอ นจดั ทําสญั ญา หากถกู ตอ งตรวจรับได กรณตี วั อยาง กรมสามัญศึกษาไดทําสัญญาวาจางหางหุนสวนจํากัด บ. ทําการกอสรางอาคารเรียน ชั่วคราวของโรงเรียนแหงหนึ่ง โดยทําสัญญาเม่ือวันท่ี 10 สงิ หาคม 2522 แตปรากฏวาผูรับจางได เขาทําการกอสรางกอนวันทําสัญญาจาง ดังนี้กรมสามัญศึกษาจะตองจายคาจางใหแกผูรับจาง หรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาการกอสรางอาคารซึ่งหางหุนสวนจํากัด บ. ไดกอสรางกอน ตอมากรมสามัญศึกษาจึงไดทําสัญญากับหางหุนสวนจํากัด บ. น้ัน ตองถือวางาน กอ สรางที่ไดกระทําไปกอนแลวนั้นเปนงานกอสรางตามสัญญา หากแตวาไดทําลวงหนาไปกอน เทานั้น ดังนั้น เม่ืองานแลวเสร็จเรียบรอยถูกตองครบถวนตามงวดจายเงินคาจาง กรมสามัญศึกษาก็ มหี นาทต่ี อ งจา ยเงินคา จางตามผลงานทีไ่ ดท ําขน้ึ น้ัน (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉัยกรมอัยการที่ 23/2523) กรณีตัวอยา ง กรมโยธาธิการประกาศประกวดราคาจางกอสรางปรับปรุงไหลทางเสริมผิวถนนลาดยาง ระยะทาง 15,592 กิโลเมตร หางหุนสวนจํากัด น.เสนอราคาตํ่าสุด กรมโยธาธิการมีหนังสือสนอง รับ และแจงใหผูรับจางไปจัดทําสัญญาจาง ขณะยังไมไดลงนามในสัญญาจา ง ผูรับจางไดเขาทํางาน จางกอน โดยมิไดแจงใหกรมโยธาธิการทราบ และไมมีเจาหนาที่ไปควบคุมงานกอสราง ตอมาไดมี การ - 60 -

ลงนามในสญั ญาจางเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2539 ปรากฏวาผูรับจางไดทําการปรับปรุงไหลทาง และ เสริมผิวถนนลาดยางไปแลวระยะทาง 3,450 กิโลเมตร กรมโยธาธิการไมสามารถตรวจสอบความ ถกู ตองของการกอ สรา งไดวา ถกู ตองตามสัญญาหรอื ไม จงึ มขี อ พิจารณาวา การท่ีผูรับจางทํางานไปกอนการทําสัญญาจางจะเปนการทํางานตามสัญญาหรือสวนหน่ึง ของสัญญาอันจะมีผลผูกพันกรมโยธาธิการผูวาจางจะตองชําระหน้ีตามสัญญาหรือไม และการท่ี สัญญาจางระบุใหผูรับจางทํางานปรับปรุงถนนไหลทางพรอมเสริมผิวยางแบบแอสฟลติกต้ังแต กโิ ลเมตรที่ 0 ถึงกโิ ลเมตรที่ 15 -/- 592 ซึง่ รวมถงึ งานทผี่ ูรับจา งทาํ ไปแลวจะมผี ลอยางไร สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาจางที่รวมถึงงานที่ทํามาแลวเปนการแสดง เจตนาโดยสําคัญผิดในสาระสําคัญแหงนิติกรรม ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 156 เน่ืองจากขณะลงนามในสัญญาจางผูวาจางไมทราบวาเน้ืองานสวนดังกลาวผูรับจางไดทําเสร็จแลว การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิดจึงเปนโมฆะ แตโดยพฤติการณแหงกรณี เห็นไดวาคูสัญญามีเจตนาท่ี จะใหการปฏิบัติตามสัญญาเฉพาะสวนท่ีผูรับจางยังไมไดปฏิบัติตอไป ดังนั้นการกอสรางใดๆของผู รบั จางกอ นการทําสญั ญา จึงไมใชการกระทําตามสัญญาจางและไมผ กู พันผูวาจา งตอ งรับงานน้ี งาน ท่ีเก่ียวกับงานท่ีผูรับจางไดทํามาแลวนั้น จึงตกเปนโมฆะ อยางไรก็ดีการที่ผูรับจางไดทํางานโดย กรมโยธาธิการมิไดรับทราบ และมอบหมายดังกลาวถือไดวาเปนการเขาทํากิจกรรมแทนผูอ่ืน โดย เขามิไดขานวานใช ซ่ึงผูรับจางอาจมีสิทธิเรียกรองใหกรมโยธาธิการชดใชเงิน อนั ตนไดออกไปคืน ไดหากผลงานสวนนั้นสมประโยชน และตองความประสงคอันแทจริงของกรมโยธาธิการหรือตาม พึงสันนิษฐานไดตามนัยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 395 ประกอบมาตรา 401 (ขอ หารือตามคาํ วนิ จิ ฉยั สํานักงานอัยการสงู สุดท่ี 32/2538) ผขู ายสง มอบสิ่งของเกา แมย ังมไิ ดใ ชงานผูซื้อปฏิเสธการรบั มอบได ตกลงซื้อขายกระสุนปนโดยสัญญาระบุวาตองเปนของใหม ดังน้ี เม่ือผูขายจะสงมอบ กระสุนปนซ่ึงผลิตมาเมื่อ 5 ปท่ีแลว แมยังไมเคยใชมากอนก็ตาม ผูซ้ือก็มีสิทธิปฏิเสธไมรับมอบ กระสุนปน ได (ขอหารอื ตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอยั การท่ี 196/2524) - 61 -

หมายเหตุ สัญญาซ้ือขายขอ 1 วรรคสอง กําหนดวาผูขายรับรองวาของท่ีขายใหเปนของแท ของใหม ไมเคยใชงานมากอน ดังนั้นกรณีท่ีผูขายนําของเกามาสงมอบ แมยังไมเคยมีการใชงานมา กอน ก็ถอื วา เปนการผดิ สัญญา อันเปนเหตุในการบอกเลกิ สญั ญาซ้อื ขายได กรณีโตแ ยงการตรวจรับงานจางระหวางฟองคดี เขา ใชอ าคารที่กอ สรา งได สัญญาจางกอสราง ผูรับจางขอสงมอบงานจางแตคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจงาน กอสรางแลวเห็นวาการกอสรางยังไมถูกตองและไมเสร็จเรียบรอยตามสัญญาจึงยังไมรับงานและ แจงใหผูรับจางทํางานใหถูกตองกอน แตผูรับจางอางวาทํางานถูกตองแลวจึงไมทําการแกไขงาน ตามที่คณะกรรมการทักทวง สวนราชการจึงบอกเลิกสัญญา ตอมาผูรับจางไดยื่นฟองสวนราชการ ใหรับผิดชดใชคาเสียหายโดยอางวาไดทํางานจางถูกตองตามสัญญาแลวดังนี้ หากสวนราชการมี ความจําเปนตองใชอาคารตามสัญญาจางซ่ึงในขณะนั้นอยูระหวางการฟองรองดําเนินคดีสวน ราชการอยูจะไดห รอื ไมเ พียงใด กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาสัญญาจางระบุวาเมื่อมีการบอกเลิกสัญญาจางผูรับ จางยินยอมใหบรรดาส่ิงกอสรางท่ีผูรับจางไดทําข้ึนรวมทั้งสัมภาระ อุปกรณการกอสรางท่ีไดนํามา ไว ณ สถานท่ีกอสรา งโดยเฉพาะเพื่อทําการกอสราง ใหกรรมสิทธ์ิตกเปนของผูวาจางท้ังส้ิน ดังน้ัน บรรดาส่ิงกอสรางที่ผูรับจางไดทําขึ้น กรรมสิทธิ์จึงตกเปนของผูวาจางตามสัญญา ผูวาจางมีสิทธิเขา ไปในอาคารไดโดยชอบทันทีในฐานะเจาของ แตเน่ืองจากกําลังเปนคดีพิพาทกันอยูในศาลจึงยังไม ควรตอเติมเปลี่ยนแปลงหรือแกไขรายการใหผิดแผกไปจากที่ผูรับจางไดทําไวเดิม เพราะอาจมี ประเด็นนําสืบวาส่ิงปลูกสรางเรียบรอยถูกตองตามสัญญาหรือไม (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรม อยั การ ท่ี 66/2520) หมายเหตุ สัญญาจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ไมได กลาวถึง กรณีการบอกเลิกสัญญาจางใหบรรดาส่ิงกอสรางท่ีผูรับจางไดทําขึ้นรวมทั้งสัมภาระ อุปกรณก ารกอสราง ใหต กเปน กรรมสิทธ์ิของผูวาจางดวย อยางไรก็ตามเมื่อผูรับจางทํางานจางแลว เสร็จและสงมอบงานโดยคณะกรรมการตรวจการจางแตละงวดแลว งานจางดังกลาวยอมตกเปน กรรมสิทธ์ิของผูวา จา ง ผูวาจา งจึงมีสิทธเิ ขาใชอาคารสถานทก่ี อ สรางดงั กลา วได - 62 -

ปญ หา ผขู ายสง มอบส่ิงของไมถ ูกตอ ง ปรากฏหลงั จากตรวจรบั และชําระราคาแลว วา เ ป น ของปลอม สถานศกึ ษาควรจะดาํ เนนิ การอยางไร กรมสามัญศึกษาไดทําสัญญาซ้ือขายอุปกรณการสอนกับหางหุนสวนจํากัด ท. เงื่อนไข สัญญากําหนดใหเปนอุปกรณยี่หอ ทอปแมน ผลิตจากประเทศญี่ปุน ตอมาผูขายไดสงมอบส่ิงของ ตามสัญญาและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุท่ีกรมสามัญศึกษาแตงต้ังไดทําการตรวจรับและไดทํา การเบิกจายเงินชําระราคาสินคาแลว และสงอุปกรณจํานวนหนึ่งไปใหสถานศึกษาเพื่อใช ประกอบการสอน ตอมามีการรองเรียนวาสิ่งของที่ผูขายสงมอบเปนของปลอม กรมสามัญศึกษา ตรวจสอบแลวเช่ือวาอุปกรณชุดประกอบการสอนเปนของปลอม มิไดผลิตจากประเทศญ่ีปุนตาม เง่ือนไขของสัญญา จึงไดแจงความรองทุกขเปนคดีอาญา และหารือไปยังกรมอัยการวาควรจะ ดาํ เนินการอยา งไร กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญาซื้อขายกําหนดใหผูขายสงมอบส่ิงของตาม คุณลักษณะเฉพาะท่ีกําหนดไวในสัญญา โดยผูขายตองสงมอบสิ่งของท่ีผลิตโดยบริษัทในประเทศ ญี่ปุน การที่ผูขายสงมอบสง่ิ ของไมถูกตองตามสัญญา เปนการปฏิบัติผิดสัญญา ผูซื้อมีสิทธบิ อกเลิก สัญญาไดท ง้ั หมดและเรยี กใหผขู ายรับผดิ ชดใชคาเสียหาย นอกจากน้ียังเรียกใหธนาคารผูคํ้าประกัน ชาํ ระเงินตามหนงั สอื คํ้าประกนั ไดอ ีกสว นหนึ่งดวย (ขอหารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 132/2533) สง มอบไมถ ูกตอ ง ตกลงสงของไมตรงตามสญั ญาถือวายกเลกิ สญั ญาเดมิ ผูขายสงมอบของไมถูกตองตามสัญญา ผูซ้ือชอบที่จะไมรับของไว ผูขายจะตองทําการ แกไขใหถูกตองหรือผูซื้ออาจบอกเลิกสัญญา แตในกรณีท่ีผูซ้ือรับของไวโดยผูขายมอบสิ่งของ เพมิ่ เตมิ และลดราคาขายให กรณเี ปน เรอื่ งทีผ่ ูซ ื้อและผขู ายประสงคจะตกลงเกยี่ วกับส่ิงของที่ซ้ือขาย กนั ใหม (ขอหารอื ตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การที่ 100/2529) หมายเหตุ การที่หัวหนาสวนราชการพิจารณาอนุมัติใหมีการแกไขสัญญาซื้อขาย ซ่ึงเปน การตกลงเก่ียวกับสิ่งของท่ีซื้อขายกันใหม และยกเลิกสัญญาเดิม จึงไมอาจปรับผูขายตามสัญญาเดิม ได เวนแตจะไดมีการตกลงกันไวชัดแจงในสัญญาใหมหรือสัญญาเพ่ิมเติมวาใหมีผลผูกพันกันตาม สญั ญาเดิม - 63 -

กรณีตัวอยา ง กระทรวงสาธารณสุขทําสัญญาซ้ือขายแทงคออกซิเจนและรถ กับหางหุนสวนจํากัด อ. แตหางสงมอบสิ่งของไมถูกตองตามสัญญาทุกประการกลาวคือ มิใชผลิตภัณฑของประเทศ สหรัฐอเมริกา แตเปนผลิตภัณฑภายในประเทศ โดยปกติตองถือวาหางผิดสัญญา กระทรวง สาธารณสขุ ชอบทจ่ี ะไมรับของนัน้ และใหหา งสง มอบใหมใหถูกตองตามสัญญาหรือบอกเลิกสัญญา แตปรากฏวากระทรวงสาธารณสุขไดตกลงยอมใหหางสงมอบผลิตภัณฑภายในประเทศไวแลว โดยหางผูขายยอมคืนเงินใหแกกระทรวงสาธารณสุขบางสวนจํานวน 3,080 บาท การตกลงเชนน้ี ตอ งถอื วา คสู ญั ญาไดต กลงกนั ใหมและยกเลกิ สัญญาเดิม เมื่อขณะตกลงกันใหมไมไดสงวนสิทธิที่มี อยูตามสัญญาเดิม สิทธิเรียกรองตามสัญญาเดิมก็จะนํามาใชบังคับไมได เม่ือปรากฏวารถเข็นท่ีสง มอบยังไมพนกันสนิมเปนหนาท่ีของหางตองแกไขใหถูกตอง ตามประมวลกฎหมายแพงและ พาณิชยมาตรา 472 การจัดทําใหเรียบรอยดังกลาว มิไดตกลงกันวาจะใหแลวเสร็จเมื่อใด ถาพนกําหนดเวลาแลวเสร็จ ผูขายจะตองรับผิดอยางไร ยังไมถือวาหางผูขายผิดสัญญาหรือขอตกลง ที่ตกลงกันใหม จึงไมตองรับผิดชําระคาปรับหรือคาเสียหาย (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 59/2523) กรณีตวั อยา ง ผูขายสงมอบของไมถูกตองตามสัญญา ผูซ้ือแจงใหผูขายนําส่ิงของดังกลาวกลับคืน แตผูขายไมยอมรับคืน การที่ผูซ้ือครอบครองสิ่งของดังกลาวเปนเพียงการครอบครองแทนผูขาย เทา น้ัน (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉยั กรมอัยการท่ี 36/2531) หมายเหตุ การตรวจรับตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ หมายถึง การท่ีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ และคณะกรรมการตรวจการจางไดทําการตรวจรับเม่ือเห็นเปน การถูกตองจึงออกใบรับรองผลการปฏิบัติงานสําหรับงานจาง หรือใบตรวจรับพัสดุ สําหรับการ ตรวจรับพัสดุ การท่ีผูขายนําส่ิงของตามสัญญาโดยมีใบสงของกํากับ และใหเจาหนาที่ของผูซ้ือคน ใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อเปนผูรับของยังไมถอื วาเปนการตรวจรับของคณะกรรมการ แตเปนการฝาก สิง่ ของดงั กลา วไวเทานนั้ แมผขู ายไมยอมรับของคนื ก็ไมถ อื วา เปนการสงมอบแลว - 64 -

ตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาไดทําสัญญาซ้ือขายเคร่ืองมือแปรรูปผักผลไมของวิทยาลัย เกษตรกรรมลําพูน กําหนดสิ้นสุดสัญญาวันท่ี 9 ธันวาคม 2533 ตอมาผูขายไดรับการขยายเวลาตาม สัญญาออกไปมกี ําหนด 59 วัน เน่ืองจากผูซื้อไมสามารถจายเงินลวงหนาตามกําหนดเวลาในสัญญา ได และผูขายไดสงมอบเครื่องมือถึงวิทยาลัยเกษตรกรรมลําพูน ตั้งแตวันท่ี 22 เมษายน 2534 และ พรอมจะติดต้ัง แตผูซื้อไมสามารถสงมอบอาคารโรงงานใหผูขายเขาติดต้ังได จึงตออายุสัญญาให อีก 602 วัน จนถึงวันท่ี 30 กันยายน 2535 แตผูซ้ือไดปรับปรุงโรงงานแลวเสร็จ เม่ือวันท่ี 18 ตุลาคม 2535 และผูขายไดติดต้ังเคร่ืองมือพรอมอบรมเจาหนาที่ของผูซ้ือแลวเสรจ็ ในวันที่ 30 ตุลาคม 2535 โดยในวันท่ี 14 กันยายน 2535 บริษัทผูขายแจงเร่ืองขอเปล่ียนแปลงสิ่งของที่ตองสงมอบ คือ เคร่ือง บันทึกอุณหภูมิ เปนเคร่ืองแบบใหม เนื่องจากบริษัทผูผลิตไดเลิกผลิตแลว กรมอาชีวศึกษาจึงได อนุมัติใหมีการเปล่ียนแปลงเม่ือวันที่ 8 ธันวาคม 2535 และคณะกรรมการไดออกเอกสารการตรวจ รับส่ิงของตามสัญญารวมทั้งการติดตั้งแลวเสร็จ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2536 จึงมีปญหาวาบริษัท ผูข ายจะตองรบั ผดิ ชาํ ระคา ปรบั หรือไม กรมอยั การพิจารณาแลว เหน็ วา การท่กี รมอาชีวศกึ ษาอนุมตั ิใหมีการเปลยี่ นแปลงส่งิ ของตาม สัญญาบางรายการ ถือไดวาคูสัญญาไดตกลงเปล่ียนแปลงแกไขเฉพาะสวนของสิ่งของท่ี เปล่ียนแปลงใหม การอนุมัติใหเปลี่ยนแปลงรายการยอมมีผลยอนหลังถึงวันที่ผูขายไดสงมอบและ ติดต้ังเครื่องมือรวมท้ังอุปกรณที่เปล่ียนแปลงแลวเสร็จ คอื วันที่ 30 ตุลาคม 2535 เม่ือวันสงมอบอยู ในชวงเวลาท่ีผูขายไมตองรับผิด กรมอาชีวศึกษาจึงไมอาจปรับผูขายได (ขอหารือตามหนังสือกรม อัยการ ท่ี อส 0017/11176 ลงวนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2536) หมายเหตุ เร่ืองนี้สัญญาซื้อขายส่ิงของท้ังสัญญามีมูลคาหลายลานบาท แตสิ่งของ ที่เปลยี่ นแปลงมรี าคาไมกี่รอยบาท และผขู ายไดนําส่ิงของไปติดต้ังกอนครบกําหนดเวลาที่ไดรับการ อนุมัติใหขยายเวลาตามสัญญาแลว การท่ีมีการอนุมัติใหแกไขเปลี่ยนแปลงสิ่งของตามสัญญาใน ภายหลัง มผี ลยอนหลงั ไปถงึ วนั ทีผ่ ูขายไดนาํ ส่ิงของไปสง มอบ เม่อื ปรากฏวามีการสงมอบกอนครบ กําหนดเวลาตามสัญญาท่ีไดรับการพิจารณาอนุมัติใหขยายออกไป จึงไมถือวาผูขายสงมอบลาชา ไมอาจปรับผขู ายได กรณีตัวอยาง กรมอาชีวศึกษาไดทําสัญญาซื้อขายครุภัณฑชุดฝกการควบคุมตามลําดับ อัตโนมัติ จากบริษัท ว. ยี่หอฮันนี่เวล แบบไอพีซี 610 ผลิตจากประเทศสหรัฐอเมริกา กําหนดสง - 65 -

มอบส่ิงของ ณ วิทยาลัยชางกลปทุมวัน ภายในวันที่ 13 กุมภาพันธ 2534 ตอมาวันที่ 20 กันยายน 2533 บริษัทผูขายแจงวาบริษัทผูผลิตในตางประเทศไดยกเลิกการผลิตสินคาแบบ ไอพีซี 610 แลว โดยเปล่ียนแปลงสัญญา ซ่ึงกรมอาชีวศึกษาไดอนุมัติการแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในวันที่ 11 กุมภาพันธ 2534 บริษัทจึงไดดําเนินการขอยกเวนอากรนําเขาและไดสงมอบสินคา รุน ไอพีซี 620 เม่ือวันท่ี 31 พฤษภาคม 2534 ลาชากวากําหนดตามสัญญาจํานวน 107 วัน คิดเปนคาปรับจํานวน 40,660 บาท บริษัทจึงขออุทธรณเรื่องคาปรับโดยอางวาบริษัทตองเสียเวลาขออนุญาตเปลี่ยนรุน จงึ สามารถสง่ั ซ้ือสินคาจากตางประเทศและจดั สง เอกสารหลกั ฐานเพื่อพจิ ารณาขอยกเวนอากรนําเขา ตอ ไปได กรมอาชวี ศึกษาจึงมีหนังสอื หารอื ไปยังกรมอัยการดงั น้ี 1. การทบ่ี ริษัทผูผลิตในตางประเทศเลิกผลิตสินคาแบบ ไอพีซี 610 จะถือวาเปนเหตุในการ ขอตออายุสัญญาหรือเปนพฤติการณท่ีลูกหน้ีไมตองรับผิดชอบชําระคาปรับตามนัยมาตรา 205 แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหรอื ไม 2. การท่ีบริษัทผูขายไดจัดสงเอกสารหลักฐานเพ่ือพิจารณาแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาและ ไดรับการพิจารณาอนุมัติใหแกไขเปล่ียนแปลงสัญญา เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2534 กอนครบ กําหนดสงมอบส่ิงของตามสัญญา แตผูขายไดสงมอบลาชากวากําหนดตามสัญญา จะถือวาผูขายผิด สญั ญาตอ งรับผิดชําระคา ปรบั หรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา ปญหาเรื่องการตออายุสัญญาจะกระทําไดเม่ือผูขายยังไมสง มอบส่ิงของตามสัญญา แตเร่ืองน้ีผูขายไดสงมอบส่ิงของและผูซ้ือไดตรวจรับแลว จึงไมอาจ พจิ ารณาวา สมควรตอ อายุสัญญาใหแกผ ูขายหรอื ไม เพราะไดลวงเลยเวลาไปแลว สวนการท่ีผูขายจะตองรับผิดชําระคาปรับหรือไมนั้น ถาเหตุแหงความลาชาน้ันเปน พฤติการณที่ผูขายไมตอ งรับผดิ ชอบแลว ก็จะถือวาผูขายผิดนัดและจะปรับผูขายไมไดตามนัยมาตรา 205 แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย การท่ีผูผลิตในตางประเทศยกเลิกการผลิตแบบเดิมและพัฒนาการผลิตแบบใหม ภายหลัง จากท่ีไดทําสัญญากับกรมอาชีวศึกษาไปแลว ยอมถือวาความลาชาในการสงมอบของตามสัญญา เนื่องจากเหตุดงั กลา วเปน พฤตกิ ารณท ผ่ี ขู ายไมต อ งรับผดิ ชอบ จึงไมถือวาผูขายผิดนดั ตามมาตรา 205 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย นอกจากน้ัน การที่กรมอาชีวศึกษาไดตกลงยินยอมใหมีการเปล่ียนแปลงแบบการผลิตตาม คํารองของผูขายและแจงใหผูขายทราบขณะลวงเลยกําหนดเวลาสงมอบตามสัญญาไปแลว - 66 -

ชอบที่คูสัญญาจะตองตกลงกันทําสัญญาแกไขเพ่ิมเติม ระบุกําหนดวันสงมอบใหมใหชัดเจน มิฉะน้ัน ยอมถือวาการตกลงเปลี่ยนแปลงสิ่งของดังกลาว กรมอาชีวศึกษามิไดกําหนดวันสงมอบ ของ ผูขายจึงยังมิตองรับผิดในเร่ืองคาปรับและคาเสียหาย (ขอหารือกรมอัยการตามหนังสือ ท่ี อส 0002/4756 ลงวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2535) สงมอบไมถ กู ตองตามสัญญา แตน าํ มาใชง านแลว ถอื วารบั โดยปรยิ าย กรณีตวั อยาง องคการแกว ทาํ สญั ญาวาจาง บริษัท ย. ใหสรางเครื่องกําจัดนํ้าเสีย 1 รายการ กําหนดสงมอบงานในวันที่ 17 มิถุนายน 2523 โดยปรากฏตามใบเสนอราคาของบริษัทวาบริษัท ขอรับรองวาคุณภาพของนํ้าซึ่งผานการกําจัดจะอยูในมาตรฐานนํ้าท้ิงของกระทรวงอุตสาหกรรม ตอมาบริษัทมีหนังสือลงวันท่ี 12 มิถุนายน 2523 สงมอบเคร่ืองกําจัดนํ้าเสียใหแก องคการแกว และ องคการแกวไดใชเครื่องกําจัดนํ้าเสียที่บริษัทติดต้ังและสงมอบเพ่ือปฏิบัติงานตลอดมา ตอมาเจาหนาที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมตรวจพบวาเคร่ืองมือดังกลาวทํางานไมไดครบถวนตาม คุณลักษณะเฉพาะท่ีกําหนดในสัญญา จึงแจงใหบริษัทแกไขปรับปรุงตอมาวันท่ี 21 มีนาคม 2529 กรมโรงงานอุตสาหกรรมแจงวา น้ําทิ้งมีลักษณะเปนไปตามมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรม องคการแกว เห็นวาสามารถรับมอบงานไดโดยไมตองคิดคาปรับ แตสํานักงานตรวจเงินแผนดิน ทักทว งวาควรจะปรับเพราะผูรบั จา งสงมอบงานลาชา จงึ มีปญ หาวาจะปรบั ผูร บั จางไดหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาผูรับจางสงมอบงานจางกอนครบกําหนดตามสัญญาและ องคการแกว ไดใชเครื่องอุปกรณกําจัดนํ้าเสียท่ีผูรับจางสงมอบตลอดมา ยอมถือไดวาองคการ ยอมรับมอบงานไวโดยปริยาย ต้ังแตวันที่ผูรับจางไดสงมอบแลว ผูรับจางมิไดสงมอบงานลาชา องคการแกวจึงไมอาจปรับผูรับจางกรณีสงมอบงานลาชาได ((ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 114/2529) การที่สวนราชการนําสิ่งของตามสัญญาซ้ือขายไปใชกอนตรวจรับ ถือไดวาสวนราชการ ยอมรับมอบสิ่งของที่ซ้ือขายไวโดยปริยาย การซ้ือขายสมบูรณแลว ไมอาจบอกเลิกสัญญาซื้อขาย ภายหลงั ได (ขอ หารือตามคําวนิ ิจฉัยกรมอยั การท่ี 93/2525) ผูวาจางรับมอบงานและไดใชงานระบบโทรศัพทตามสัญญามาตลอดโดยไมมีเหตุขัดของ หรือเสียหาย จึงตองถือวาผูวาจางไดรับมอบหมายงานจางไวโดยปริยายแลว (ขอหารือตามคํา วนิ จิ ฉัยกรมอัยการท่ี 231/2525) - 67 -

ผูวาจางไดเขาครอบครองและใชป ระโยชนงานกอสรางตลอดมา ถือไดวาผูวาจางไดรับรอง ความถูกตอง และรับมอบงานสวนท่ีแยกกันไดจากงานสวนอื่นไวแลว (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรม อัยการท่ี 21/2521) เคร่ืองโทรภาพย่ีหอมูราเทค (MURATEC )รุนเอฟ 40 ท่ีบริษัทผูขายสงมอบใหแกกรมทาง หลวงผูซ้ือ ไมถูกตองตามรายละเอียดในสัญญาซ้ือขาย ท่ีระบุเปนเครื่องโทรภาพย่ีหอ มูราตะ (MURATA )รุน เอฟ 40 เอ็ม ตองถือวาผูขายสงมอบส่ิงของไมถูกตองตามสัญญา การท่ี คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดตรวจรับส่ิงของดังกลาวน้ันวา เปนเคร่ืองโทรภาพที่มีคุณสมบัติ ถูกตอ งครบถวนเชน เดียวกับเคร่อื งโทรภาพย่หี อและรุนทไี่ ดก ําหนดในสัญญาภายในกําหนดเวลาสง มอบโดยมิไดสวนสิทธ์ิใดๆ และไดทําการเบิกจายเงินคาพัสดุใหแกผูขาย กรณีจึงยอมมีผลผูกพัน กรมทางหลวงวาผูขายไดปฏิบัติถูกตองตามสัญญาแลว (ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการ สงู สุดท่ี 99/2536) กรณตี วั อยา ง คณะกรรมการตรวจการจางและโครงการกอสรางชลประทานไดปฏิบัตินอกเหนืออํานาจ หนาที่ โดยมีพฤติการณยินยอมใหผูรับจางทําการกอสรางตามแบบที่แกไขใหมจนเสร็จโดยท่ีกรม ชลประทานผูวาจางยังไมไดอนุมัติใหใชแบบที่แกไขใหม อีกทั้งยังไมมีการทําสัญญาแกไขเพิ่มเติม แตอยางใด แตกรมชลประทาน ผูวาจางในฐานะตัวการก็ตองผูกพันในการท่ีคณะกรรมการตรวจ การจางและโครงการฯ ไดกระทําไปดังกลาวดวย เพราะกรมชลประทานผูวาจางไดส่ังให คณะกรรมการตรวจการจางและโครงการฯ มีหนังสือแจงใหผูรับจางขอใหยืนยันยอกเงินท่ีเพ่ิมจาก สัญญา และผูรับจางก็ไดแจงตอบยืนยันแลว กรณีเชนนี้ถือไดวากรมชลประทาน ผูวาจางในฐานะ ตัวการไดใหสัตยาบันแกการกระทําของคณะกรรมการตรวจการจางและโครงการฯที่ไดทํา นอกเหนอื ขอบอํานาจของตนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 823 สวนที่มิไดมีการทํา หนังสือสัญญาแกไขเพ่ิมเติมตอกันนั้น ก็หามีผลในทางกฎหมายแตประการใดไม เพราะสัญญาจาง ทําของน้ันกฎหมายไมไดบังคับวาตองทําเปนหนังสือ สวนที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การพัสดุ พ.ศ.2535 ไดกําหนดใหตองทําเปนสัญญาหรือขอตกลงไวเปนหนังสือก็เปนระเบียบ ปฏิบัติภายในเพอ่ื เปน หลกั ฐานของทางราชการเทานน้ั - 68 -

สําหรับกรณีที่คณะกรรมการตรวจการจางและโครงการฯไดปฏิบัตินอกเหนืออํานาจหนาที่ น้ัน ก็เปนเรื่องที่กรมชลประทาน ผูวาจางจะตองกวากลาวกันอีกสวนหน่ึง(ขอหารือตามคําวินิจฉัย สํานักงานอยั การสงู สุดท่ี 30 /2538) ผขู ายขอรอ งใหน ําไปใชงานกอนไมถ ือวา ยอมรับโดยปรยิ าย สัญญาซื้อขายเคร่ืองสูบนํ้า กําหนดใหผูขายสงมอบและติดต้ังเครื่องสูบนํ้าซึ่งขับดวย มอเตอรไฟฟาย่ีหอยูเอส แบบทียู แตผูขายสงมอบมอเตอรไฟฟาเปนแบบอารยู ผูซื้อจึงมีหนังสือ แจงใหผูขายสงมอบส่ิงของใหถูกตองตามสัญญาภายในกําหนดเวลา มิฉะนั้นใหถือวาเปนการบอก เลิกสัญญา ซึ่งผูขายไดมีหนังสือแจงวาไมสามารถสงมอบมอเตอรไฟฟาย่ีหอยูเอส แบบทียู ไดขอ เปล่ียนเปนแบบอารยู แทน และเจาหนาที่ของผูขายไดขอรองใหฝายผูซ้ือนําเคร่ืองสูบนํ้าไปใชงาน กอนได ดังนี้การนําเคร่ืองสูบน้ําไปใชงานในกรณีเชนน้ี ถือไมไดวาผูซ้ือไดตรวจรับส่ิงของที่ซ้ือไว โดยปรยิ าย ไมมีผลใหก ารซอ้ื ขายเปน อันบริบรู ณ (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 120/2533) เกดิ ความชาํ รุดบกพรอ งกอ นสงงานจา งงวดสดุ ทาย ปญหา ผูรับจางสงมอบงานตามสัญญาจางบางงวดแลว โดยไดรับคาจางสําหรับงานจาง น้ันแลวตอมางานจางดังกลาวเกิดความชํารุดบกพรอง กอนสงมอบงานงวดสุดทาย ผูรับจางตองรับ ผดิ หรือไม หมายเหตุ สัญญาจางขอ 9 มีขอความวา” ผูรับจางจะตองรับผิดตออุบัติเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใด อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผูรับจาง และจะตองรับผิดตอความเสียหายจากการ กระทําของลูกจา งของผูรับจาง ความเสียหายใด อนั เกิดแกง านทีผ่ รู ับจางไดทําข้ึน แมจะเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย นอกจาก กรณีอันเกิดจากความผิดของผูวาจาง ผูรับจางจะตองรับผิดชอบโดยซอมแซมใหคืนดี หรือเปล่ียน ใหมโดยใชค าใชจายของผูรับจาง ความรับผิดของผูรับจางดังกลาวในขอน้ี จะสิ้นสุดลงเมื่อผูวาจาง ไดรับมอบงานครั้งสุดทาย ซ่ึงหลังจากนั้นผูรับจางคงตองรับผิดเพียงในกรณีชํารุดบกพรองหรือ ความเสยี หายดงั กลา วในขอ 6 เทาน้นั - 69 -

ผรู ับจา งสงมอบงานบางงวดแลวเกดิ เหตุเสียหาย ผรู ับจางตองรบั ผดิ แกไข   กรณีตัวอยาง กรมการปกครองทําสัญญาจาง หางหุนสวนจํากัด อ.ทําการกอสรางอาคาร ในระหวางกอสรางภายหลังจากท่ีผูรับจางสงมอบงานงวดที่ 1 แลว ไดเกิดพายุหมุนเปนเหตุให อาคารท่ีกาํ ลังกอสรา งพงั เสยี หาย ดงั นี้ผูรบั จา งมีหนา ท่รี ับผดิ ชอบในความเสียหาย โดยจัดหามาใหม หรอื แกไ ขใหคืนดี(ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอยั การท่ี 63/2524) กรณีตวั อยาง กรมชลประทานทําสัญญาจาง หางหุนสวนจํากัด ส. ทําการกอสรางคลองสง นาํ้ และอาคารประกอบในเขตโครงการชลประทาน ผูรับจางสงมอบงานแลว 5 ครั้ง กอนทํางานแลว เสร็จตามสัญญาจาง มีฝนตกนํ้าทวมพ้ืนที่บริเวณโครงการ ทําใหคันคลอง คอนกรีตดาดคลอง งานปลูกหญา และอาคารคลองสงนํ้าชํารุดเสียหายหลายแหง งานที่ชํารุดเปนงานที่ไดสงมอบไว แลวในครั้งที่ 1-4 กรมชลประทานจึงมีหนังสือแจงใหหางมาทําการซอมแซม ผูรับจางไมยอมซอม อางวาเกิดจากอุทกภัยเปนเหตุสุดวิสัย ไมใชความบกพรองของหาง ปญหาจึงมีวาผูรับจางยังตอง รับผิดชอบในความเสียหายดังกลาวหรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นเปนความเสียหายที่เกิดระหวางอายุ สัญญายังไมสิ้นสุด ผูรับจางยังทํางานไมเสร็จเรียบรอยท้ังสัญญา งานสวนที่เสียหายเปนงานที่ คณะกรรมการตรวจการจางไดรับมอบเพ่ือการจายเงินเทาน้ัน การสงมอบงานจะถือวาแลวเสร็จ ถูกตองครบถวนตามสัญญาก็ตอเม่ือผูวาจางไดรับมอบงานครบถวนถูกตองทุกรายการจากผูรับจาง และสามารถใชงานไดสมตามเจตนารมณของผูวาจางทุกประการ ผูรับจางยังคงตองรับผิดชอบใน ความเสียหายดังกลาวอยู ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 603 แมผูรับจางจะอาง ความเสียหายเน่ืองจากอุทกภัยอันเปนเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผูรับจางจะตองเปนผูรับผิดชอบในความ เสียหายเหลานั้น และจัดหามาใหมหรือแกไขใหคืนดี ท้ังนี้ภายใตพันธะกรณีท่ีมีอยูในสัญญาอันยัง ไมถึงที่สุด จึงถือวาผูรับจางยังไมไดสงมอบงานใหครบถวนถูกตองตามเง่ือนไขสัญญา (ขอหารือ ตามคําวินจิ ฉัยกรมอัยการท่ี 148/2533) ขอสังเกต มาตรา 603 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติวา “ถาผูรับจา งเปนผู จัดหาสัมภาระและการท่ีจางทําน้ันพังทลายหรือบุบสลายลงกอนไดสงมอบกันถูกตองไซร ทานวา ความวินาศอันนั้นตกเปนพับแกผูรับจาง หากความวินาศนั้นมิไดเปนเพราะการกระทําของผูวาจาง ในกรณีเชน วา น้ีสนิ จา งกเ็ ปน อันไมต อ งใช - 70 -

กรณีตวั อยา ง ความเสียหายที่เกิดขึ้นกอนผูวาจางไดรับมอบงานตามสัญญา ไมวาความเสียหายดังกลาว จะเปนผลโดยตรงจากภัยธรรมชาติหรือเกิดเหตุใดๆ เวนแตการกระทําของผูวาจางเอง ความเสียหาย ยอมตกเปนพับแกผูรับจางตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 603 ผูรับจางมีหนาท่ีตอง ซอมแซมความเสียหายเพ่ือดําเนินงานจางใหแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญา หากผูรับจางไมซอมแซม หรือไมดําเนินการใหแลวเสร็จ ผูคํ้าประกันจะตองรับผิดชอบตามขอกําหนดในสัญญาค้ําประกัน ความเสียหายเปนผลโดยตรงจากภัยธรรมชาติ มิไดเกิดจากความบกพรองในการใชวัสดุหรือฝมือ แรงงานกอสราง โดยผูรับจางไดดําเนินการกอสรางถูกตองตามสัญญากรณีเชนน้ี ผูรับจางและผูค้ํา ประกนั กไ็ มต อ งรับผดิ ชอบแตอ ยา งใด แตถ าภัยธรรมชาตินนั้ เพยี งแตเ ปนเหตุใหความชํารุดบกพรอง ของงานท่ีผูรับจางทําไวไมถูกตองตามสัญญาไดเกิดขึ้น ผูรับจางยอมไมอาจอางเปนเหตุใหไมตอง รบั ผิดชอบได (ขอหารอื ตามคาํ วนิ ิจฉยั สาํ นักงานอัยการสงู สดุ ท่ี 38/2539) ปญหา ผูวาจางจายคาจางแกผูรับจางบางงวดแลว งานจางเกิดอุบัติเหตุเสียหาย จะเรียก คาจา งคืนไดหรือไม กรณีตัวอยาง กรมเจาทาทําสัญญาจาง บริษัท ช. กอสรางหลักไฟน้ําพรอมอุปกรณและ หลักกิโลเมตรท่ีรองนํ้าสตูล และรองนํ้าสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผูรับจางไดปฏิบัติงานตาม สัญญา และสงมอบงานงวดที่ 1 และงวดท่ี 2 ไปแลว ระหวางการกอสรางงานงวดที่ 3 ปรากฏวามี เรอื ทเ่ี ดนิ อยูในรอ งนํา้ ชนหลกั กโิ ลเมตรท่ยี ังไมไดสงมอบเสยี หาย และหลักกโิ ลเมตรที่ผูรับจางไดสง มอบงานแลว บางสวน ดงั น้ีกรมเจาทา จะเรียกใหผูร ับจางคืนเงินคาจางที่ไดจายไปแลวคืนไดหรือไม เพียงใด กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา ตามสัญญาจาง ผูวาจางตกลงจายคาจางเปนงวด ๆ ตามผลงานและขั้นตอนของการทํางานจาง สิทธิในการรับเงินคาจางของผูรับจางไดทํางานแลว เสร็จ ตามงวดที่ไดตกลงกันไว เม่ือผูรับจางไดรับเงนิ คาจางงวดที่ 1 และงวดท่ี 2 ไปแลว ท้ังสัญญาจางก็ ไมไดมีขอตกลงวาผูรับจางจะตองคืนเงินใหแกผูวาจาง กรมเจาทา จึงไมอาจเรียกรองใหผูรับจางคืน เงนิ คาจางท่รี บั ไปแลว ได (ขอหารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอัยการที่ 133/2526) - 71 -

สญั ญาจา งบางสวนถูกพายุพัดพังลงอยใู นความรบั ผิดชอบของใคร กรมการปกครองไดตกลงวาจาง อ. ทําการกอสรางอาคารเรียน แบงงานจางออกเปนสอง งวด ตอมาผูรับจางไดสงมอบงานจางงวดที่ 1 ซึ่งคณะกรรมการตรวจการจางไดทําการตรวจรับงาน จางและไดมีการจายเงินคาจางงวดท่ี 1 แลว ขณะที่ผูรับจางทํางานจางงวดท่ีสอง เกิดวาตภัย พายุพัด อาคารเรียนที่กําลังกอสรางพังลงทั้งหลัง ผูรับจางจึงไดทําการกอสรางอาคารเรียนขึ้นใหมจนเสร็จ งานจา งงวดท่สี องคงมปี ญหาวา คสู ญั ญามีความรับผดิ กนั เพียงใด กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาสัญญาจางมีการแบงจายคาจางออกเปนสองงวด สําหรับงานงวดท่ี 1 ไดมีการรับมอบงานและจายเงินคาจางใหแกผูรับจางเรียบรอยแลวกอนเกิด วาตภัย ทรัพยสินท่ีรับมอบไวจึงตกเปนกรรมสิทธ์ิของผูวาจาง เมื่อพายุพัดทรัพยสินที่รับมอบพังลง ไป เปนความรับผิดชอบของผูรับจางเพราะเปนเหตุสุดวิสัย สวนงานงวดที่สองผูรับจางยังไมไดสง มอบเม่ือถูกพายุพัดลงไปผูรับจางตองเปนผูรับผิดชอบเองตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยม าตรา 603 เมือ่ มีการกอ สรา งอาคารงวดที่ 1 ขึ้นใหมผูวาจางจึงตองจัดหาเงินมากอสราง งานจางงวดที่ 1 เอง เพราะไมมีขอสัญญาหรือบทบัญญัติกฎหมายใหผูรับจางตองรับผิดดวย (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 71/2520) หมายเหตุ ใหพ ิจารณาเปรยี บเทยี บคําวินจิ ฉยั ตามขอ หารอื กรมอัยการที่ 148/2533 ดว ย การชําระหนเี้ ปนพนวิสัย ผขู ายหรือผรู ับจางหลดุ พนความรับผดิ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยม าตรา 219 บัญญัตวิ า “ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซ่ึงเกิดข้ึนภายหลังท่ีไดกอหนี้ และซึ่งลูกหน้ีไมตองรับผิดชอบ ทา นวาลกู หนเี้ ปนอนั หลดุ พนจากการชําระหนนี้ ั้น” ลูกหนหี้ ลุดพน จากการชาํ ระหน้เี มอ่ื 1. การชําระหนี้เปนพนวิสัย คือไมสามารถชําระหน้ีตามสัญญาได ไมวาดวยเหตุใด ๆ และ 2. การท่ไี มส ามารถชาํ ระหน้ีไดน ั้น ไมอ ยูใ นความรบั ผิดชอบของลูกหน้ี - 72 -

การชําระหนี้เปนการพน วิสยั ผขู ายหลดุ พน ความรับผดิ กรณีตัวอยาง การชําระหนี้เปนพนวิสัยเพราะผูผลิตเลิกผลิตสินคาแลว ผูขายยอมไมตอง รับผิดและหลุดพนจากการชําระหน้ีตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 219 ผูซื้อจะริบ หลกั ประกันไมไ ด (ขอหารือตามคําวินจิ ฉัยกรมอยั การที่ 154/2523) กรณีตัวอยาง กองบัญชาการทหารสูงสุดทําสัญญาซื้อขายเครื่องรับสงวิทยุ กับบริษัท ท. เมื่อครบกําหนดสัญญาบริษัท ไมอาจปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญา เพราะบริษัทผูผลิตเคร่ืองรับ สงวิทยุในประเทศสหรัฐอเมริกาถูกศาลส่ังหามเคล่ือนยายทรัพยสิน เปนการพนวิสัยท่ีบริษัทจะสง มอบส่ิงของตามสัญญาได ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 219 บริษัทจึงไมตองรับ ผดิ ชําระเงินประกนั สญั ญา (ขอ หารือตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การท่ี 48/2523) กรณีตัวอยาง กรมทางหลวงทําสัญญาซ้ือขายรถซอมบํารุงยี่หอฟูจิ ผลิตจากโรงงานฟูจิ มอเตอร ประเทศญ่ีปุน กับบริษัท อ. ตอมาบริษัทผูขายแจงวา บริษัทฟูจิไดขายกิจการผลิตและ จําหนายรถใหบริษัทอื่นไปแลว โดยบริษัทฟูจิมอเตอร ไดแจงยกเลิกใบสั่งซ้ือรถดังกลาวแลว ยอม ถือไดวาการชําระหน้ีของบริษัท อ.กลายเปนพนวิสัย ซึ่งผูขายไมตองรับผิดชอบและผูขายยอมหลุด พนการชําระหน้ีไมตองสงมอบรถซอมบํารุงใหแกกรมทางหลวงตามสัญญา ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยมาตรา 219 กรณีหาใชเหตุสุดวิสัยไม (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 105/2516) กรณีตัวอยาง การท่ีผูขายไมทราบขอเท็จจริงมากอนลงนามในสัญญาซ้ือขายวา บริษัทผูผลิตสินคาในตางประเทศไดเลิกผลิตสินคาน้ัน ๆ แลว ตอมาภายหลังลงนามในสัญญาซ้ือ ขายแลว ปรากฏวาผูขายไมสงมอบสินคานั้น ๆ ใหแกผูซื้อได ถือไดวาเปนการพนวิสัยซ่ึงผูขายไม ตองรับผิดชอบตามสัญญาจึงไมอาจริบหลักประกัน เรียกคาปรับและคาเสียหายจากผูขายได (ขอหารอื ตามคําวินจิ ฉยั กรมอัยการท่ี 227/2528) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของไววาจะตองผลิตโดย บรษิ ัท ซ. เม่ือบริษัท ซ. ไดเลิกผลิตสินคาดังกลาวภายหลังทําสัญญากันไมกี่วัน ยอมถือวาการชําระ หนี้ของผูขายเปนพนวิสัย เพราะพฤติการณซึ่งเกิดขึ้นภายหลังทําสัญญา ผูขายจึงไมตองรับผิดชอบ และหลุดพนจากการชําระหน้ีเฉพาะสิ่งของท่ีบริษัทผูผลิตไดเลิกผลิตแลว จึงไมถือวาผูขายผิด สัญญาท่จี ะรบิ หลักประกันได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการท่ี 133/2522)

- 73 - กองทัพอากาศทําสัญญาซื้อขายกระสุนปนผลิตภัณฑของบริษัท ป. ผลิตจากประเทศ สาธารณรัฐเกาหลีจากบริษัท ส. ตอมาผูขายขอบอกเลิกสัญญาโดยอางวารัฐบาลประเทศ สหรัฐอเมริกาไมอนุญาตใหบริษัทผูผลิตกระสุนปน สงกระสุนปนออกนอกประเทศสาธารณรัฐ เกาหลี ทําใหผูขายไมอาจสงมอบกระสุนปนได กองทัพอากาศจึงไดบอกเลิกสัญญาซื้อขาย คงมี ปญ หาวา จะรบิ หลกั ประกันสญั ญาและเรยี กคา เสียหายจากผขู ายไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาซื้อขายรายนี้ระบุเจาะจงไวชัดแจงวาตองเปน ผลิตภัณฑของบริษัท ป. ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี หากขอเท็จจริงฟงไดวาบริษัทผูผลิตไมไดรับ อนุญาตจากรัฐบาลอเมริกาใหสงสิ่งของท่ีตกลงซื้อขายตามสัญญาออกนอกประเทศสาธารณรัฐ เกาหลีจริง ท้ังกอนหนานี้ก็ไมเคยมีอุปสรรคมากอนเปนเรื่องที่ผูขายไมอาจคาดหมายไดลวงหนา ทาํ ใหการชําระหนขี้ องผูข ายกลายเปนพน วสิ ยั ผูขายหลุดพนจากการชําระหน้ี กองทัพอากาศไมอาจ ริบหลักประกันหรือเรียกคาเสียหายอื่น ๆ ตามสัญญาได (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่17/2526) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาทําสญั ญาซ้อื ขายครภุ ัณฑการศึกษา คูหาเช่ือมไฟฟา กับบริษัทเลิศวิลัยแอนดซันส จํากัด จํานวน 10 คูหา และเครื่องเช่ือมไฟฟา ย่ีหอ HOBART MODEL TR - 250 AC / DC ผลิตโดยบริษัท ITW HOBART BRATHERS COMPANY ประเทศสหรัฐอเมริกา กําหนดสงมอบสิ่งของภายในวันท่ี 30 กันยายน 2546 กอนครบกําหนดสง มอบผูขายขอเปล่ียนแปลงยี่หอส่ิงของตามสัญญา โดยแจงวาผูผลิตสินคาภายใตชื่อ HOBART ไดปดกิจการโดยรวมเขากับบริษัท THERMADYNE ผลิตสินคาภายใตชื่อTHERMAL ARC และ ไมไดผลิตสินคาภายใตชื่อ HOBART อีกตอไป ทําใหผูขายไมอาจจัดสงส่ิงของตอไปได วิทยาลัย จึงขอให สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีหนังสือบอกเลิกสัญญา โดยริบหลักประกัน สญั ญา ภายหลังบอกเลิกสัญญาวิทยาลัยไดทําสัญญาซื้อขายกับบริษัทเลิศวิลัยแอนดซันส จํากัด ซ้ือขายครุภัณฑดังกลาวย่ีหอ THERMAL ARC ที่ผูขายขอเปล่ียนแปลง แตไมมีการตรวจรับ คร้ังแรก และบอกเลิกสัญญา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงมีหนังสือหารือไปยัง สํานักงานอัยการสูงสุดวา กรณีดังกลาวจะถือวาเปนเหตุท่ีผูขายไมตองรับผิด เพราะการชําระหนี้ กลายเปนพนวสิ ัยตามนยั มาตรา 219 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ยหรอื ไม สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาซ้ือขายดังกลาว ตกลงซื้อเครื่องเชื่อม ไฟฟา โดยระบุเจาะจงเคร่ืองหมายการคาย่ีหอ HOBART แตบริษัทผูผลิตดังกลาวไดโอนสิทธิบัตร

- 74 - การผลติ ในผลิตภัณฑ รนุ HOBART MODEL TR - 250 AC / DC ใหแกบริษัท THERMADYNE ไป และตอมาไดผลิตสินคาภายใตเครื่องหมาย THERMAL ARC อันจะมีผลใหตองเปลี่ยน เคร่ืองหมายการคาเดิม ประกอบกับผลิตภัณฑรุน HOBART MODEL TR - 250 AC / DC ท่ีมี เหลืออยูหมดไปจากทองตลาดแลว ผูขายจึงไมสามารถสงมอบส่ิงของท่ีมีเครื่องหมายการคาตามท่ี ระบุไวในสัญญาได ถือไดวาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซ่ึง เกิดขึ้นภายหลังที่ไดกอหน้ีซ่ึงผูขายไมตองรับผิดชอบ ผูขายยอมหลุดพนจากการชําระหน้ีตามนัย มาตรา 219 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ถือไมไดวาผูขายผิดสัญญา สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไมอาจริบประกันสัญญาได (ขอหารือตามหนังสือสํานักงานอัยการ สงู สุด ท่ี อส 0017/5842 ลงวนั ที่ 4 เมษายน 2548) กรณีตัวอยา ง บริษัทผลิตกระสุนปนเล็กที่ระบุไวในสัญญา หยุดผลิตกระสุนปนทุกชนิดภายหลังจากท่ี ไดทําสัญญา ยอมถือวาการชําระหน้ีของผูขายกลายเปนพนวิสัย ผูขายยอมหลุดพนจากการชําระหน้ี ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 219 กรณีถือไมไดวาผิดสัญญา (ขอหารือตามคํา วินิจฉัยสาํ นักงานอยั การสงู สุดท่ี 5/2539) กรณีตัวอยาง สัญญาซื้อขายตกลงซ้ือขายโดยเจาะจงเครื่องหมายการคา เม่ือบริษัทผูผลิตของดังกลาวได ขายกิจการใหบริษัทอ่ืน อันมีผลตองเปล่ียนเคร่ืองหมายการคา ผูขายไมสามารถสงมอบส่ิงของที่มี เครอ่ื งหมายการคา ตามท่รี ะบใุ นสญั ญา ถอื วาการชําระหนข้ี องผูข ายกลายเปนพนวิสัย (ขอหารือตาม คาํ วนิ จิ ฉัยสาํ นกั งานอัยการสงู สดุ ที่ 14/2536) กรณีตวั อยาง สัญญาซ้ือขายกําหนดรายละเอียดสิ่งของ ระบุเครื่องหมายการคาและผูผลิต ตอมาผูผลิตใน ตา งประเทศถูกศาลส่งั ใหล ม ละลาย ผูขายไมสามารถสงสิ่งของตามสัญญาได ถอื วา การชําระหนี้ของ ผูขายพนวิสัย ผูขายหลุดพนจากการชําระหนี้(ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ 15/2536)

- 75 - กรณีตัวอยาง คําพิพากษาฎีกาที่ 2046/2531(กรมโรงงานอุตสาหกรรม โจทก บ.สยามเคลย จํากัด จําเลย) จําเลยอางเหตุสงมอบดินขาวใหโจทกตามสัญญาไมไดเพราะมีโจรแบงแยกดินแดนขมขู เรยี กคาคมุ ครองจากโรงงานที่ผลิตดินขาวของจําเลยจนคนงานไมกลาเขาทํางาน ดังน้ีเม่ือตามสัญญา มิไดเจาะจงใหสงมอบดินขาวจากแหลงผลิตของโรงงานจําเลย จําเลยจึงยอมจัดหาดินขาวจากแหลง อื่นได ดินขาวมิใชเปนทรัพยเฉพาะส่ิง จําเลยจะอางวาการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยและปฏิเสธความ รับผิดไมไ ด กรณตี วั อยาง ผูผลิตสินคาตามสัญญาซื้อขายเลิกผลิตกอนมีการลงนามในสัญญา 7 วัน มิใชก รณีการชําระ หน้ตี ามสัญญาเปนอันพนวิสยั แตเปน กรณที ่ีคสู ญั ญาเขาใจวาสินคาดังกลาวยังผลิตอยู เปน การแสดง เจตนาโดยสําคัญผิดในสาระสําคัญแหงนิติกรรม การแสดงเจตนาซื้อขายเปนโมฆะ ตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 156 คูสัญญากลับสูฐานะเดิม ไมมีขอผูกพันกันแตอยางใด (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉยั สาํ นกั งานอยั การสงู สุดที่ 26/2537 และท่ี 93/2538) ซือ้ รถยนตแ ตผขู ายขาดสงเอกสารท่ีใชในการจดทะเบยี น ถือวา ผขู ายผดิ สญั ญาหรอื ไม กรณีตัวอยาง กรมทางหลวงไดทําสัญญากับ หางหุนสวนจํากัด น. ซ้ือรถบดลอยาง จํานวน 118 คนั โดยมีธนาคาร ท. เปน ผูค้ําประกัน หา งไดสงมอบรถบดจํานวน 118 คันใหก รมทาง หลวงเรียบรอยแลว โดยคณะกรรมการตรวจรับไดตรวจรับงวดสุดทายเม่ือวันท่ี 28 กรกฎาคม 2525 กรมทางหลวงไดติดตอกับนายทะเบียนยานพาหนะกรุงเทพมหานคร เพื่อขอจดทะเบียนรถให ถูกตองตามกฎหมาย แตย งั จดทะเบียนไมไดเน่ืองจากหางผูขายยังขาดสงเอกสารหลักฐานตาง ๆ อีก 3 รายการ กรมทางหลวงไดมหี นงั สือแจง ใหหา งจดั สงหลกั ฐานดงั กลา วแตห า งเพิกเฉย ตอมาหางขอ ถอนหนังสือคํ้าประกันคืน อางวาครบ 1 ปแลว คงมีปญหาวาการท่ีผูขายไมสงมอบเอกสารเพื่อ ประกอบการจดทะเบียนรถบดลอ ยางจํานวนดังกลาวใหแกกรมทางหลวง กรมทางหลวงมีสิทธิตาม กฎหมายที่จะยึดหลักประกันสัญญาไวกอน จนกวาหางจะจัดการใหเรียบรอยแลวไดหรือไม หรือ การที่หางผูขายเพิกเฉยไมจัดการเรื่องเอกสารประกอบการจดทะเบียนรถใหแกกรมทางหลวง ดงั กลา ว กรมทางหลวงมสี ิทธิฟอ งคดีแพงใหห างดําเนินการเรอื่ งนี้อยางไรหรอื ไม

- 76 - กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา ตามสัญญาซ้ือขายระหวางกรมทางหลวง กับหางหุนสวน จํากัด น. มิไดกําหนดหนาที่ของผูขายเก่ียวกับการสงมอบเอกสารหลักฐานเพื่อใชประกอบการจด ทะเบียนรถบดลอยางท่ีซ้ือขายไว และหนังสือคํ้าประกันของธนาคาร ท. กําหนดไววาธนาคารจะรับ ผิดชดใชคาเสียหายแกกรมทางหลวงในกรณีที่หางผูขายไมปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาซ้ือขาย เม่ือปรากฏวาหางไดปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาซ้ือขายครบถวนแลว และพนกําหนดเวลาคํ้า ประกันตามสัญญาแลว ธนาคารจึงหลุดพนความรับผิดตามสัญญาค้ําประกัน ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยมาตรา 698 กรมทางหลวงไมมีสิทธิตามกฎหมายท่ีจะยึดหนังสือคํ้าประกนั ดังกลาว ไวตอไปได สวนการที่หางไมสงเอกสารประกอบการจดทะเบียนรถใหครบถวนเปนเหตุใหกรมทาง หลวงไมอาจจดทะเบียนรถ ใชรถไดโดยถูกตองตามกฎหมาย ถือวากรมทางหลวงถูกโตแยงสิทธิ แมจ ะมไิ ดกาํ หนดหนาที่ของผูขายเก่ียวกับการสงมอบเอกสารหลักฐานใหแนชัด แตโดยธรรมเนียม ประเพณี ผูขายยอมมีหนาท่ีสงมอบเอกสารหลักฐานประกอบการขายใหครบถวน เพื่อใหผูซื้อ ดาํ เนินการใหไ ดใชรถท่ซี ื้อโดยถูกตองตามกฎหมายกรมทางหลวงจึงชอบท่ีจะดําเนินคดีทางแพงกบั หา งผูข ายได (ขอหารอื ตามคาํ วินิจฉยั กรมอัยการท่ี 157/2527) หมายเหตุ ในกรณีทผี่ ูขายรถไมส งเอกสารเมอื่ ฟองศาลบงั คบั แลว ผูขายกย็ ังไมสง เอกสารอีก คงจะตอง ถอื เอาคําพพิ ากษาของศาลไปแสดงตอ นายทะเบยี นเพือ่ จดทะเบียนได

- 77 - กําหนดสงมอบสงิ่ ของและงานตามสญั ญาจา ง สัญญาซอ้ื ขาย ขอ 3. การสง มอบ ผขู ายจะสงมอบสง่ิ ของที่ซอ้ื ขายตามสัญญาใหแ กผซู ือ้ ณ....................................... ........................................................ภายในวันท.ี่ ........เดอื น..................................พ.ศ................ ใหถูกตองและครบถวนตามที่กําหนดไวในขอ 1 แหงสัญญานี้ พรอมท้ังหีบหอหรือเครื่องรัดพันผูก โดยเรียบรอย การสงมอบสิ่งของตามสัญญานี้ ไมวาจะเปนการสงมอบเพียงคร้ังเดียวหรือสง มอบหลายครง้ั ผขู ายจะตอ งแจง กําหนดเวลาสงมอบแตล ะครั้งโดยทําเปน หนงั สือนาํ ไปยืน่ ตอ ผซู ือ้ ณ.........................................ในเวลาราชการ กอนวันสง มอบไมน อยกวา.......................วนั ทําการ สญั ญาจาง ขอ 5 ข. กาํ หนดเวลาแลว เสร็จ และสิทธขิ องผูวา จางในการบอกเลิกสญั ญา ผูร บั จา งตอ งเร่ิมทํางานทร่ี ับจางภายในวนั ท่ี...........................เดือน................................... พ.ศ.......... และจะตอ งทํางานใหแลว เสร็จบริบรู ณภ ายในวันที.่ ...........เดอื น................................. พ.ศ.......... ถาผูร บั จางมิไดลงมือทํางานภายในกําหนดเวลา หรือไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตาม กําหนดเวลา หรือมีเหตุใหเช่ือไดวาผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลา หรือจะแลวเสร็จลาชาเกินกวากําหนด หรือผูรับจางทําผิดสัญญาขอใดขอหน่ึง หรือตกเปนผู ลมละลาย หรือเพิกเฉยไมปฏิบัติตามคําส่ังของคณะกรรมการตรวจการจาง หรือผูควบคุมงานหรือ บริษัทท่ีปรึกษา ซ่ึงไดรับมอบอํานาจจากผูวาจาง ผูวาจางมีสิทธิท่ีจะบอกเลิกสัญญานี้ได และ มีสิทธจิ า งผรู ับจา งรายใหมเขาทาํ งานของผูรับจา งใหล ุลว งไปไดดวย การท่ีผูวาจางไมใชสิทธิเลิกสัญญาดังกลาวขางตน ไมเปนเหตุใหผูรับจางพนจากความรับ ผิดตามสัญญา 1. การแบงงวดงานตามสัญญาจางขอ 4 หากสงชางวดใดงวดหน่ึงลาชากวาวันแลวเสร็จ แตละงวดตามที่กําหนดไวในสัญญาจะใชสิทธิปรับไมได(เวนแตการสงมอบงานน้ันลวงเลยกําหนด วัน แลวเสร็จบรบิ ูรณต ามสญั ญาไปแลวจงึ ปรับได) (ขอ หารอื กรมอัยการที่ 82/2522)

- 78 - 2. ในกรณีท่ีสัญญาจางขอ 5 กําหนดเวลาเร่ิมทํางานและกําหนดเวลาแลวเสร็จบริบูรณ ไมต รงกบั งานงวดสดุ ทายในขอ 4 ใหถ ือเอาระยะเวลาตามทีก่ าํ หนดไวใ นสัญญาจา งขอ 5 3. สัญญาซ้ือขายและสัญญาจางท่ีไมกําหนดเวลาสงมอบสิ่งของหรืองานจางที่แลวเสร็จ บรบิ ูรณไว จะใชสทิ ธปิ รบั กรณีสงมอบลา ชาไมได (หนังสอื กรมอยั การท่ี มท 1003/28549 ลงวันท่ี 3 ธันวาคม 2523) 4. การนบั ระยะเวลาตามสัญญาซอื้ ขาย สัญญาจาง สัญญาซื้อขายกําหนดใหผูขายตองสง มอบสิ่งของใหครบถวนถูกตอ งภายในกาํ หนด 150 วัน นับแตวันท่ีลงนามในสัญญา (สัญญาลงนามวันท่ี 28 กันยายน 2522) การนับระยะเวลาไมนับวันลง นามในสัญญาวันแรกรวมเขาดวย โดยเร่ิมนับ 1 วันรุงข้ึน (วันท่ี 29 กันยายน 2522) ซ่ึงจะครบ กําหนดเวลาสงมอบส่ิงของภายใน 150 วัน ในวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2523) ตามนัยประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยมาตรา 193/3 การคํานวณวันปรับผูขาย ควรนับแตวันท่ีผูขายผิดนัดไมสงมอบของ ภายในวันครบกําหนดตามสัญญา ถึงวันบอกเลิกสัญญา (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการที่ 133/2523) หมายเหตุ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 193/3 บัญญัติวา “ถา กําหนดระยะเวลา เปนวัน สัปดาห เดือน หรือป มิใหนับวันแรกแหงระยะเวลานั้นรวมเขาดวยกัน เวนแตจะเริ่มการ ในวันนนั้ เอง ต้งั แตเ วลาท่ีถือวา เปนเวลาเรมิ่ ตน ทําการงานกันตามประเพณ”ี วนั ครบกาํ หนดสงมอบตรงกบั วันหยดุ ราชการ สงวนั ซ่ึงเปนวนั เร่ิมทาํ งานใหมได กรณีตัวอยาง กองทัพบกทําสัญญาจางหางหุนสวนจํากัด ท. ทําการผลิตกางเกงและเสื้อ กําหนดสงมอบของในวันที่ 23 ตุลาคม 2526 ซึ่งเปนวันหยุดราชการ ปรากฏวาผูรับจางไดสงมอบ ของในวนั จันทรที่ 24 ตุลาคม 2526 ซึ่งเปน วันเปดทาํ การ ดังน้จี ะปรบั ผขู ายไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2526 ซ่ึงเปนวันสุดทายแหงระยะเวลา ตรงกับวันอาทิตยซ่ึงเปนวันหยุดราชการประจําสัปดาห ยอมเปนวันงดเวนตามประเพณีจึงตองนับ วันท่ี 24 ตุลาคม 2526 ซึ่งเปนวันเร่ิมทํางานใหมเขาดวย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 161 จึงถือวาผูรับจางไดสงมอบงานทันกําหนดเวลาตามสัญญาแลว (ขอหารือตามคําวินิจฉัย กรมอัยการท่ี 81/2528)

- 79 - หมายเหตุ ปจจุบันประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไดแกไขใหมบัญญัติไวในมาตรา 193/8 บัญญัติวา “ถาวันสุดทายแหงระยะเวลาเปนวันหยุดทํางานตามประกาศเปนทางการหรือตาม ประเพณี ใหน บั วันที่ทาํ การใหมต อ จากวันทหี่ ยุดทําการน้นั เปนวนั สุดทายแหง ระยะเวลา” วันครบกําหนดสงมอบตรงกับวันหยุดราชการ หากมีการขยายเวลาสัญญาออกไปใหนับ ตอ เนื่องจากวันครบกําหนดสงมอบเดิม (ขอ หารอื สํานกั งานอยั การสงู สุดท่ี 19/2537) คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 355/2520 แมวันสุดทายที่จําเลยมีสิทธิยื่นคําใหการตรงกับ วันหยุดราชการ แตเมื่อศาลช้ันตนอนุญาตใหขยายระยะเวลายื่นคําใหการได 5 วัน โดยมิไดระบุนับ แตวันใด ดังนี้ตองบังคับตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 160 ระยะเวลาเดิมกับ ระยะเวลาท่ีขยายออกไปนั้น ตองนับติดตอกันไปโดยไมคํานึงถึงวันสุดทายแหงกําหนดเวลาเดิม จะเปน วันหยดุ ราชการหรอื ไม เม่อื ผูขายหรอื ผูรบั จางไมปฏิบัติตามสญั ญาซือ้ ขายหรอื สัญญาจาง ในกรณีที่สวนราชการ ไดดําเนินการจัดซื้อจัดจาง แตผูขายหรือผูรับจางไมสงมอบส่ิงของ ใหถูกตองตามสัญญาซื้อขายหรือไมทํางานจางใหแลวเสร็จบริบูรณตามสัญญาจางหรือทิ้งงานขาย หรอื งานจา งไป สว นราชการควรปฏิบัตอิ ยางไร ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 ขอ 134 วรรคทายกําหนดวา “เม่ือครบกําหนดสงมอบพัสดุตามสัญญาหรือขอตกลง ใหสวนราชการรีบแจงการเรียกคาปรับตาม สัญญาหรือขอตกลงจากคูสัญญา และเม่ือคูสัญญาไดสงมอบพัสดุ ใหสวนราชการบอกสงวนสิทธิ การเรียกคา ปรบั ในขณะท่รี ับมอบพสั ดุนั้นดวย” ระเบียบดังกลาวกําหนดข้ันตอนที่สวนราชการตอง ปฏบิ ัตไิ ว 2 ข้นั ตอนดังนี้ 1. การเรียกคาปรับเมื่อครบกําหนดสงมอบพัสดุตามสัญญาหรือขอตกลง ใหสวนราชการ รีบแจงการเรียกคาปรับตามสัญญาหรือขอตกลง เนื่องจากสัญญาซื้อขายและสัญญาจางไดกําหนด ขอ สัญญาไวว า ผูขายหรือผูรับจางตองสงมอบส่ิงของภายในวันที่ เดือน ป ที่กําหนด มิฉะน้ันตองรับ ผดิ ชําระเงินคาปรับเปนรายวันในอัตราท่ีกําหนดไวใ นขอสัญญา ดังนั้น เมื่อพนกําหนดเวลาสงมอบ

- 80 - ส่ิงของตามสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางแลว หากผูขายหรือผูรับจางยังไมปฏิบัติตามสัญญา สวนราชการมีสทิ ธิไดรับคา ปรับเปนรายวันนบั แตว ันถัดจากวันครบกาํ หนดสง มอบตามสัญญาจนถึง วันท่ีผูขายหรือผูรับจางไดสงมอบครบถวนถูกตองตามสัญญา อยางไรก็ตามสัญญาดังกลาวกําหนด ไววาเม่ือครบกําหนดสงมอบแลว แตผูซื้อหรือผูวาจางยังไมบอกเลิกสัญญา ผูขายหรือผูรับจางตอง รบั ผิดชําระเงินคา ปรบั เปนรายวนั จนถึงวนั ท่ีไดส ง มอบพสั ดหุ รอื งานจา งตามสัญญาครบถวนถูกตอ ง ซึ่งหมายถึงทางราชการผูซ้ือหรือผูวาจางยังไมประสงคจะบอกเลิกสัญญาดวย เมื่อครบกําหนดสง มอบสิ่งของหรืองานจางตามสัญญาแลว สวนราชการ จึงตองมีหนังสือบอกกลาวใหผูขายหรือ ผูรับ จางสงมอบสิ่งของตามสัญญาหรือทํางานจางใหครบถวนถูกตองตามขอสัญญา พรอมท้ังแจงบอก กลาวใหผูขายหรือผูรับจางนําเงินคาปรับตามอัตราท่ีกําหนดในขอสัญญาเปนรายวัน มาชําระโดย นับต้ังแตวันถัดจากวันครบกําหนดสงมอบตามสัญญาจนถึงวันท่ีผูขายหรือผูรับจางไดสงมอบ สิ่งของหรืองานจางครบถวนถกู ตอ ง โดยทางไปรษณียลงทะเบยี นตอบรบั 2. การสงวนสิทธิการเรียกคาปรับขณะท่ีรับมอบพัสดุ เม่ือคูสัญญาไดสงมอบพัสดุหรืองาน จาง ใหสวนราชการบอกสงวนสิทธิการเรียกคาปรับในขณะรับมอบพัสดุหรืองานจางนั้นดวย หมายถึง กรณีท่ีผูขายหรือผูรับจางไดสงมอบงานจางหรือส่ิงของลาชากวากําหนดตามสัญญา สวนราชการมีสิทธิไดรับเงินคาปรับกรณีสงมอบลาชาเปนรายวัน เน่ืองจากประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 381 วรรคทายบัญญัติวา ถาเจาหนี้ยอมรับชําระหน้ีแลว จะเรียกเอาเบ้ียปรับได ตอเม่ือไดบอกสงวนสิทธิไวเชนน้ันในเวลารับชําระหน้ี ดังนั้นกรณีที่ผูขายหรือผูรับจางไดสงมอบ สิ่งของหรืองานจางลาชากวากําหนดตามขอสัญญา หากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุหรือ คณะกรรมการตรวจการจางทาํ การตรวจรับตามปกติ มิไดแจงสงวนสิทธิไวขณะทําการตรวจรับและ ผูขายหรือผูรับจางไดรับเงินตามสัญญาไปแลว ผูขายหรือผูรับจางมีสิทธิยกข้ึนปฏิเสธไมยอมรับผิด เร่ืองคาปรับกรณีสง มอบลา ชาได การแจงสงวนสิทธิจึงจําเปนตองทําขณะตรวจรับพัสดุ โดยหมายเหตุไวในเอกสารการ ตรวจรับวา “ขอสงวนสิทธิการเรียกคาปรับ กรณีผูขาย(หรือผูรับจาง)สงมอบงานลาชาตามขอ สัญญาเปนรายวันในอัตรา วันละ.............บาท นับแตวัน.......เดือน..............พ.ศ.........ซึ่งเปนวันถัด จากวันครบกําหนดสงมอบตามสัญญาจนถึงวันที่ผูขาย(หรือผูรับจาง)ปฏิบัติตามสัญญาจาง ครบถว นถกู ตอ งรวมเวลา.......วนั ใหฝา ยผูข ายหรอื ผูร ับจางลงลายมือชอ่ื รบั ทราบไวเปน หลกั ฐาน

- 81 - กรณตี ัวอยาง หนงั สือท่ีไดทําขึ้นกอนครบสงมอบส่ิงของถึง 86 วัน มีฐานะเปนการแจงวาจะใชสทิ ธิปรบั มิใชสงวนสิทธิ์การเรียกคาปรับในขณะสงมอบส่ิงของ (ขอหารือตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการ สงู สดุ ท่ี 23/2534) ดังนั้นการสงวนสทิ ธิ์ปรับตองทาํ ขณะสง มอบและตรวจรบั พสั ดุ 3. กรณีทผ่ี ูขายหรือผูรบั จา งไมไ ดป ฏบิ ตั ิตามสญั ญาซ้ือขายหรือสญั ญาจาง ซงึ่ ตามพฤตกิ ารณ เห็นไดวาผูขายหรือผูรับจางไมอาจปฏิบัติตามสัญญาตอไปได สวนราชการตองมหี นังสือบอกกลาว ใหผูขายหรือผูรับจางปฏิบัติตามสัญญาและชําระคาปรับภายในกําหนดระยะเวลาอันสมควรนับแต วันไดรับหนังสือบอกกลาว หากผูขายหรือผูรับจางยังคงเพิกเฉยไมยอมปฏิบัติตามสัญญา ใหด ําเนินการเพ่ือบอกเลิกสัญญาตอไป โดยไมจําตองรอใหครบกําหนดสง มอบส่ิงของหรืองานจาง ตามสัญญากอ น 4. การบอกกลา วใหผูขายหรือผรู ับจา งปฏบิ ตั ติ ามสัญญาและชําระคาปรับใหสงทางจดหมาย ลงทะเบียนไปรษณียตอบรับ หลักฐานการตอบรับดังกลาวเปนหลักฐานสําคัญเพื่อดําเนินการบอก เลกิ สัญญาตอ ไป 5. โดยท่ีขอสัญญาซื้อขายและสัญญาจาง กําหนดใหเรียกคาปรับกอนบอกเลิกสัญญา หาก ไมเรียกคาปรับกอ นบอกเลกิ สญั ญา จะฟองเรยี กคา ปรับจากผจู า ยหรือผูร ับจางในภายหลังไมไ ดด งั น้ี สัญญาซือ้ ขาย ขอ 10. คาปรบั ในกรณีท่ีผูซ้ือมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาขอ 9 ผูขายจะตองชําระคาปรับใหผู ซือ้ เปน รายวนั ในอัตรารอยละ.............(..........%) ของราคาส่ิงของท่ียังไมไดรับมอบนับแตวันถัดจาก วนั ครบกาํ หนดตามสญั ญา จนถึงวนั ท่ีผูขายไดนําสิ่งของมาสงมอบใหแกผ ูซ้ือจนถกู ตองครบถวน การคิดคาปรับในกรณีส่ิงของที่ตกลงซื้อขายประกอบกันเปนชุด แตผูขายสงมอบเพียง บางสวนหรอื ขาดสวนประกอบสวนหน่งึ สวนใดไป ทําใหไมสามารถใชก ารไดโดยสมบูรณใหถือวา ยงั ไมไ ดส งมอบสิง่ ของนัน้ เลย และใหคดิ คา ปรบั จากราคาสิง่ ของเตม็ ทั้งชุด ในระหวางที่ผูซื้อยังมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญานั้น หากผูซ้ือเห็นวาผูขายไมอาจปฏิบัติตาม สญั ญาตอไปได ผูซื้อจะใชส ิทธบิ อกเลิกสัญญา และรบิ หลักประกนั หรอื เรยี กรองจากธนาคารผูออก หนังสือคํ้าประกันตามสัญญา (ขอ 6 และ) ขอ 8 กับเรียกรองใหชดใชราคาที่เพิ่มข้ึนตามท่ีกําหนดไว

- 82 - ในสัญญาขอ 9 วรรคสองก็ได และถาผูซื้อไดแจงขอเรียกรองใหชําระคาปรับไปยงั ผูขาย เม่ือครบ กาํ หนดสง มอบแลว ผูซ ื้อมสี ทิ ธิที่จะปรบั ผขู ายจนถงึ วนั บอกเลิกสัญญาไดอีกดว ย สญั ญาจาง ขอ 15. คาปรบั หากผูรับจางไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามเวลาที่กําหนดไวในสัญญา และผูวาจางยัง มไิ ดบอกเลกิ สญั ญา ผรู ับจางจะตองชําระคาปรับใหแกผูวาจาง เปนจํานวนเงินวันละ.................บาท (......................................................................) และจะตองชําระคาใชจายในการควบคุมงานในเม่ือผู วาจางตองจางผูควบคุมงานอีกตอหน่ึงเปนจํานวนเงินวันละ........................บาท นับถัดจากวันท่ี กําหนดแลว เสร็จตามสัญญาหรือวันท่ีผูวาจางไดขยายใหจนถึงวันที่ทํางานแลวเสร็จจริง นอกจากนี้ ผูรับจางยอมใหผวู าจางเรยี กคา เสียหายอนั เกิดขนึ้ จากการทผ่ี ูรับจางทํางานลาชาเฉพาะสวนที่เกินกวา จาํ นวนคา ปรับ และคา ใชจา ยดงั กลา วไดอีกดว ย ในระหวางท่ีผูวาจางยังมิไดบอกเลิกสัญญานั้น หากผูวาจางเห็นวาผูรับจางจะไมสามารถ ปฏิบัติตามสัญญาตอไปได ผูวาจางจะใชสิทธิบอกเลิกสญั ญาและใชสิทธิตามขอ 16 ก็ไดและถาผู วาจางไดแจงขอเรียกรองไปยังผูรับจาง เม่ือครบกําหนดแลวเสร็จของงานขอใหชําระคาปรับแลว ผวู าจางมสี ิทธทิ ีจ่ ะปรับผรู ับจางจนถึงวันบอกเลกิ สัญญาไดอีกดวย

- 83 - ตวั อยางหนังสอื เรียกคาปรับ ที่ ................................................................................. ตาํ บล........................อําเภอ............................ จังหวัด......................รหัสไปรษณยี ................ วนั ท่.ี ......เดอื น.....................พ.ศ......... เร่อื ง ใหป ฏิบตั ิตามสญั ญาซือ้ ขายและชาํ ระคาปรับ เรียน (1)................................................................. อางถงึ สัญญาซือ้ ขายเลขท.ี่ .................... ลงวันที่........................................................ ตามสัญญาที่อางถึง(ชื่อสวนราชการผูซ้ือ)ไดทําสัญญาซ้ือขายกับ (2)................................. ตกลงซื้อขาย...............................................................................................................................ราคา รวมเปนเงินท้ังส้ินจํานวน............................บาท กําหนดใหผูขายสงมอบสิ่งของตามสัญญาภายใน วันท่ี(3)........................................................... รายละเอยี ดดังแจง แลวน้นั บั ด น้ี ไ ด ล ว ง เ ล ย กํ า ห น ด เ ว ล า ส ง ม อ บ สิ่ ง ข อ ง ต า ม สั ญ ญ า แ ล ว แ ต (2).......................................... ยังไมไดสงมอบส่ิงของใหครบถวนถูกตองแตอยางใด โดยหนังสือฉบับนี้ (ช่ือสวนราชการผูซ้ือ) ขอแจงให(2)........................................นําสิ่งของไปสงมอบใหครบถวนถูกตองตามสัญญา ใหแลว เสร็จภายใน.......วัน นับแตวันท่ีไดรับหนังสือฉบับนี้ และเรียกให(2)..............................นําเงิน คาปรับ กรณีสงมอบสิ่งของตามสัญญาซื้อขายลาชาเปนรายวัน ในอัตราวันละ................................. บาท ตามสัญญาขอ......... นับแตวันท่ี(4)............................ ซ่ึงเปนวันถดั จากวันครบกําหนดสงมอบ สิ่งของตามสญั ญา จนถึงวันท่ี(2)...........................นําสิ่งของไปสงมอบครบถวนถูกตองบริบูรณตาม ขอสัญญา ไปชําระใหแก(ช่ือสวนราชการผูซื้อ)ภายในกําหนดเวลาดังกลาวดวย หากพนกําหนดนี้

แลวจะถือวา(2)......................................ไมอาจปฏิบัติตามสัญญาซื้อขายตอไปได(ชื่อสวนราชการ - 84 - ผูซื้อ) มีความจําเปนตองบอกเลิกสัญญา และเรียกให(2)............................... รับผิดชดใชคาเสียหาย ตามขอสัญญาตอไป จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ และโปรดพิจารณาดําเนนิ การโดยดวนดวย ขอแสดงความนับถือ .......................................... หมายเหตุ 1. กรรมการบริษทั หรอื หุนสว นผจู ัดการ 2. ระบชุ ื่อบรษิ ัทหรอื ชือ่ หางหนุ สวนผูข าย 3. กาํ หนดวันสง มอบตามสญั ญาซ้อื ขาย หรือวันท่ไี ดร บั การขยายเวลาวันสุดทา ย 4. ระบุวนั ท่ีซง่ึ เปนวนั ถดั จากวันสงมอบตามขอ 3.

- 85 - การบอกเลิกสัญญาซอ้ื ขายและสัญญาจา ง 1. ปกติผูขายหรือผูรับจางบอกเลิกสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาจางไมได ดังนั้นการท่ีบริษัท หา งรา นผขู ายมหี นงั สอื แจง วา ไมส ามารถสงมอบสิ่งของตามสัญญาซ้ือขายหรืองานจางไดจึงขอบอก เลิกสัญญามายังสวนราชการ หนังสือดังกลาวไมถือวาเปนการบอกเลิกสัญญา สัญญาซ้ือขายหรือ สญั ญาจา งยังมผี ลบังคบั อยู 2. การบอกเลิกสัญญาซื้อขายและสัญญาจาง หากผูขายหรือผูรับจางผิดสัญญาไมสามารถ สงมอบส่งิ ของหรอื ทํางานตอไปได สวนราชการมสี ทิ ธบิ อกเลิกสญั ญาไดท ันทโี ดยไมต อ งรอใหครบ กําหนดสงมอบตามกาํ หนดเวลาทีร่ ะบไุ วในสญั ญากอน (สญั ญาจางขอ 5 ข. วรรค 3) 3. การบอกเลิกสัญญาเปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ เวนแตจะมีการมอบอํานาจให หวั หนา หนว ยงานมีอาํ นาจในการบอกเลกิ สัญญา 4. เม่ือครบกําหนดสงมอบตามสัญญาหรือขอตกลง และจะตองมีการปรับกรณีสงมอบลาชา หากจํานวนคาปรับจะเกินรอยละ 10 ของวงเงินคาพัสดุหรือคาจางตามสัญญา สวนราชการควรรีบ ดําเนินการเพื่อดําเนินการบอกเลิกสัญญาหรือขอตกลงทันทีตามท่ีกําหนดไวในระเบียบสํานัก นายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 138 เวนแตในกรณีท่ีคูสัญญาขอผอนผันโดยยินยอม เสียคาปรับใหแกสวนราชการ โดยไมมีเง่ือนไขใด ๆ ท้ังสิ้น โดยมีหนังสือแสดงความยินยอมเปน ลายลักษณอักษร และกําหนดระยะเวลาการขอผอนผันการปฏิบัติตามสัญญาซ้ือขายและสัญญาจาง ชัดเจนแนน อน ใหเ สนอเรือ่ งไปยงั สว นราชการ เพือ่ พจิ ารณาผอนผันการบอกเลกิ สัญญาเปนกรณีไป ตัวอยาง สญั ญาซือ้ ขายครุภณั ฑ ราคา 100,000 บาท คาปรบั รอยละ 0.2 ของราคาสงิ่ ของปรบั เปนรายวันวันละ 200 บาท คาปรับรอยละ 10 ของราคาเทากับ 10,000 บาท ดังน้ันหากคาปรับตาม สัญญาจะเกิน 10,000 บาท ตองรีบสงเร่ืองไปบอกเลิกสัญญาทันทีประมาณ 50 วัน นับแตวันครบ กําหนดสงมอบตามสญั ญา 10,000 = 50 วัน วนั ละ 200 ตัวอยาง สัญญาจางกอสราง ราคางานจาง 2,000,000 บาท คาปรับตามสัญญาจางกําหนดไว เปน รายวนั ในอัตรารอยละ 0.10 ของราคางานจางคิดเปนคาปรับวันละ 2,000 บาท คาปรับรอยละ 10

ของราคางานจา งเทา กบั 200,000 บาท ดังน้ันหากคาปรับจะเกนิ จาํ นวน 200,000 บาท ตองรับสงเรื่อง - 86 - ไปบอกเลิกสัญญาจางทันที (ประมาณ 100 วัน นับแตวันครบกําหนดสงมอบงานจางตามสัญญา 200,000 = 100 วัน วันละ 2,000 คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๓๙๕/๒๕๕๑ ขอ ๑๓๘ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ มีเจตนารมณ ท่ีจะปรับผูผิดสัญญากับทางราชการไมเกินรอยละ ๑๐ ของวงเงินคาวัสดุหรือคาจางตามสัญญาหรือ ขอ ตกลงจัดหาพสั ดุน้นั โดยสว นราชการตองดาํ เนินการบอกเลิกสัญญาเมื่อเห็นวาจํานวนเงินคาปรับ จะเกินกําหนดดังกลาว เพ่ือไมใหคูสัญญาทั้งสองฝายตองเสียหายมากยิ่งข้ึน เวนแตคูสัญญาจะ ยนิ ยอมเสียคาปรบั ใหแ กท างราชการโดยไมมเี ง่อื นไขใดๆ สวนราชการจึงจะมีอํานาจใชดุลพินิจผอน ปรนการบอกเลิกสัญญาตามท่ีเห็นสมควรได อยางไรก็ดี แมวาคูสัญญาจะยินยอมใหสวนราชการ ปรับตามสัญญาโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ก็ตาม แตเม่ือสว นราชการไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยมิได ผอนปรนใหคูสัญญาทํางานตอ สวนราชการยอมไมสามารถปรับคูสัญญาไดเกินสวนรอยละสิบของ วงเงนิ ดงั กลาว คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.๓๙๕/๒๕๕๑ ขอ ๑๓๘ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ มีเจตนารมณ ที่จะปรับผูผิดสัญญากับทางราชการไมเกินรอยละ ๑๐ ของวงเงินคาวัสดุหรือคาจางตามสัญญาหรือ ขอตกลงจัดหาพสั ดนุ นั้ โดยสวนราชการตองดาํ เนินการบอกเลิกสัญญาเม่ือเห็นวาจํานวนเงินคาปรับ จะเกินกําหนดดังกลาว เพื่อไมใหคูสัญญาทั้งสองฝายตองเสียหายมากย่ิงข้ึน เวนแตคูสัญญาจะ ยนิ ยอมเสียคา ปรับใหแกทางราชการโดยไมม เี งื่อนไขใดๆ สวนราชการจึงจะมีอาํ นาจใชดุลพินิจผอน ปรนการบอกเลิกสัญญาตามท่ีเห็นสมควรได อยางไรก็ดี แมวาคูสัญญาจะยินยอมใหสวนราชการ ปรับตามสัญญาโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ก็ตาม แตเมื่อสวนราชการไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยมิได

ผอนปรนใหคูสัญญาทํางานตอ สวนราชการยอมไมสามารถปรับคูสัญญาไดเกินสวนรอยละสิบของ วงเงนิ ดงั กลาว - 87 - คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๔๓๒/๒๕๕๑ ขอ ๑๓๘ ของระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ กําหนดวา ใน กรณีท่ีคูสัญญาไมสามารถปฏิบัติตามสัญญาหรือขอตกลงได และจะตองมีการปรับตามสัญญาหรือ ขอตกลงนั้น หากจํานวนเงินคาปรับจะเกินรอยละสิบของวงเงินคาพัสดุ หรือคาจาง ใหสวนราชการ พิจารณาดําเนินการบอกเลิกสัญญาหรือขอตกลง เวนแตคูสัญญาจะไดยินยอมเสียคาปรับใหแกทาง ราชการ โดยไมมีเงื่อนไขใดๆ ทั้งส้ิน ใหหัวหนาสวนราชการพิจารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญา ไดเทาที่จําเปน เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา หางหุนสวนจํากัด ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถกอสราง อาคารใหแลวเสรจ็ ตามท่ีสญั ญากาํ หนด( วันท่ี ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๔๔ )และมหาวิทยาลัย ฯผูฟองคดี ยัง ไมป ระสงคจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา โดยมีหนังสือ ลงวันท่ี ๑๔ มกราคม ๒๕๔๕ ถึงผูถูกฟองคดีท่ี ๑ หุนสวนผูจัดการ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ และ(ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ เพอื่ เรยี กคาปรบั และเรงรัดใหผ ถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ รีบดาํ เนนิ การกอสราง และเม่ือผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมเขา ดําเนินการ แทนที่ผฟู องคดจี ะมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีทั้งสามเพื่อบอกเลิกสัญญาเนื่องจากปรากฏวา คา ปรบั เกนิ รอยละสบิ ของวงเงนิ คาจางแลว ผฟู อ งคดี กลบั มหี นังสือ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ถงึ ผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๑ ผูถูกฟอ งคดที ่ี ๒ และผูถ ูกฟอ งคดที ี่ ๓ เพอื่ เรียกคา ปรบั และเรงรดั ใหผ ูถูกฟอ งคดี ที่ ๑ เขาดําเนินการโดยเร็ว พรอมกับใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ทําหนังสือยินยอมเสียคาปรับอีก ครั้นผูถูก ฟองคดีท่ี ๑ มีหนังสือ ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๕ ยืนยันกลับเขาทํางานและยินยอมเสียคาปรับ แลว แต ก็ไมยอมเขาทํางานอีกเชนเคย ผูฟองคดี จึงไดมีหนังสือ ลงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๖ ถึงผู ถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ บอกเลิกสัญญา พรอมกับริบหลักประกันตามสัญญา ทั้งขอใช สิทธิตามสัญญาและขอสงวนสิทธิเรียกรองตาง ๆ ตามขอกําหนดของสัญญา หลังจากท่ีสัญญาครบ กําหนดไปแลว เปนเวลาถึง ๔๕๕ วัน จึงเห็นวา มิใชเปนการพิจารณาผอนปรนการบอกเลิกสัญญา เทาที่จําเปนแตเปนกรณีท่ีผูฟองคดีละเลยมีสวนทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ถูกผูฟองคดีปรับเปนเงิน จํานวนมากถึง ๑๒,๓๐๐,๐๑๕ บาทซ่ึงเทากับรอยละ ๔๕ ของวงเงินคาจาง จึงเปนคาปรับท่ีสูงเกิน สวน ศาลมีอํานาจ ลดคาปรับลงเปนจํานวนพอสมควรได ตามมาตรา ๓๘๓ วรรคหนึ่งแหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย จึงเห็นควรกําหนดคาปรับใหแกผูฟองคดีต้ังแตวันท่ี ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๔

ถึงวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๕ ซึ่งเปนวันท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ยืนยันวาจะกลับเขาทํางานใหแลวเสร็จ และยินยอมเสียคาปรับ รวม ๒๔๘ วันๆ ละ ๒๗,๐๓๓บาท เปนเงินจํานวน ๖,๗๐๔,๑๘๔ บาท - 88 - แตเน่ืองจากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ นําเงินคํ้าประกันตามสัญญาไปชําระใหแกผูฟองคดี แลวจํานวน ๑,๓๕๑,๖๕๐ บาท คงเหลือคา ปรับท่ีผูถกู ฟองคดีท่ี ๑ จะตองชําระใหแกผูฟ องคดีอีก ๕,๓๕๒,๕๓๔ บาท เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมชําระหน้ี ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงตองรวมรับผิดในฐานะเปนหุนสวน ผูจัดการของ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามมาตรา ๑๐๗๗ (๒) แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดวย ซ่ึงผูฟอ งคดีไดมีหนังสือ ลงวันท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ ถึงผูถูกฟองคดที ี่ ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ใหน ําเงนิ คา ปรับไปชาํ ระใหแ กผ ฟู องคดภี ายใน๓๐ วนั นบั แตว ันทีไ่ ดร บั หนงั สือ ผูถกู ฟอ งคดีท่ี๑ และ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดรับหนังสือดังกลาวแลวเม่ือวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๖ แตเพิกเฉยจึงตกเปนผูผิด นัด ตองเสียดอกเบ้ียระหวางผิดนัดในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงิน ๕,๓๕๒,๕๓๔ บาท ตาม มาตรา ๒๐๔ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๒๔ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ต้ังแต วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๔๖ ซ่ึงเปนวันผิดนัดเปนตนไปจนถึงวันฟอ งรวม ๑๙๙ วัน คิดเปนดอกเบ้ีย ๒๑๘,๘๖๗.๓๑ บาท และตองชําระดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินจํานวน ๕,๓๕๒,๕๓๔ บาท นับแตวันฟองจนกวาจะชําระเสร็จใหแกผูฟองคดี สวนคําขอใหศาลมีคําสั่งให ผถู ูกฟอ งคดีที่ ๑ และ ผถู กู ฟองคดีที่ ๒ รวมกนั หรือแทนกนั ชําระคา ธรรมเนียมศาลแทนผูฟองคดีน้ัน ไมมีบทบัญญัติของ พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครอง ใหศาลสั่งใหผูถูกฟองคดีรวมกันชําระคาธรรมเนียม ศาลแทนผฟู องคดไี ด 5. การบอกเลิกสัญญามีผลต้ังแตคูสัญญาแจงยกเลิกไปยังคูสัญญาอีกฝายหน่ึงเปนตนไป ฉะน้ันการคิดคํานวณคาปรับจึงตองคิดถึงวันที่บอกเลิกสัญญา (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 225/2523) 6. กรณีท่ีสวนราชการมีหนังสือแจงใหผูขายหรือผูรับจางปฏิบัติตามสัญญา แตปรากฏวา ผูข ายหรอื ผรู บั จา งยา ยสถานท่ีทําการ กรณตี วั อยา ง กรมทางหลวงไดสงหนังสือบอกเลิกสัญญาทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ไปยังบริษัทผูขาย ตามท่ีปรากฏทางทะเบียนท่ีต้ังสํานักงานแหงใหญ แตไมสามารถสงได โดยเจา พนักงานไปรษณียบันทึกวาบริษัทผูขายไดยายจากท่ีอยูเดิมไปอยูที่อื่นแลว และไมปรากฏวาบริษัท