Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Description: การบริหารสัญญาตามระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการพัสดุ

Search

Read the Text Version

1. แจงใชสิทธิปรับตามขอ 134 วรรคทายแหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 - 139 - 2. สงวนสิทธิการเรียกคาปรับ ไวขณะมีการสงมอบตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 381 วรรคสาม “ถาเจาหน้ียอมรับชําระหน้ี จะเรียกเบี้ยปรับไดตอเมื่อไดบอกสงวนสิทธิไว เชนนั้นในเวลาชําระหน”้ี โดยการหมายเหตุไวใ นเอกสารการตรวจรบั และใหผสู ง มอบลงลายมอื ชอ่ื ไว หมายเหตุ ควรระบุไวในเอกสารการตรวจรับพัสดุหรืองานจางดวยวาผูขายหรือผูรับจางสง มอบลาชาจํานวนก่ีวัน ตองรับผิดชําระคาปรับวันละเทาใด เปนเงินคาปรับท้ังสิ้นจํานวนเทาใด หากไม ระบไุ วอาจถือวา ไมไ ดสงวนสทิ ธเิ รือ่ งคา ปรับขณะสงมอบตามนัยมาตรา 381 เงอ่ื นไขประกวดราคา กาํ หนดอตั ราคา ปรับไวแตกตา งจากอัตราคา ปรับตามสัญญาจะปรบั อยา งไร กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัยรามคําแหงไดทําสัญญาจางหางหุนสวนจํากัด ก. พิมพวารสาร รามคําแหง โดยกําหนดเง่ือนไขการประกวดราคาไววา อัตราคาปรับรอยละ 0.1 ตอวัน ของราคารับจาง แตละงวด แตในสัญญาจางกลับระบุวาคาปรับเปนรายวัน วันละ 596 บาท คูสัญญามิไดแกไขเพิ่มเติม สญั ญาใหค วามในเงอ่ื นไขประกาศประกวดราคากบั สญั ญาถูกตองตรงกนั จงึ มปี ญหาวาจะคิดคาปรับใน อัตราใด กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา คูสัญญามิไดกําหนดเง่ือนไขประกาศประกวดราคาถือเปน สวนหนึ่งของสัญญาดวย จึงไมอาจนําความในประกาศประกวดราคาซ่ึงเปนเพียงคําเชิญชวนใหเขา ประกวดราคามาบังคับแกคูกรณีได ผูวาจางจึงมีสิทธิปรับตามสัญญาจางในอัตราวันละ596 บาท (ขอ หารือตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอัยการท่ี 32/2528) หมายเหตุ การปรับตองปรับตามขอสัญญา ไมใชตามประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา เพราะการปรับเปนการปรับกรณีผิดสัญญาซ้ือขายหรือสัญญาจาง ไมใชผิดสัญญาสอบราคา หรือสัญญา ประกวดราคา กรณีตัวอยาง เดิมสัญญาจางมิไดกําหนดคาปรับกันไวในกรณีท่ีผูรับจางทํางานไมแลวเสร็จ ภายในกําหนดตามสัญญา ตอมาผูรับจางไดมีหนังสือถึงผูวาจางแจงยินยอมใหปรับวันละ 100 บาท

หากผูรับจางทํางานไมแลวเสร็จภายในวันท่ี 30 กันยายน 2530 เม่ือปรากฏวาผูรับจางทํางานแลวเสร็จ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2530 ผูรับจางจึงตองรับผิดชําระเบ้ียปรับในอัตราวันละ 100 บาท นับแตวันท่ี 1 ตลุ าคม 2530 ถึงวันที่ 25 ตุลาคม 2530 (ขอหารอื ตามคาํ วนิ ิจฉัยกรมอยั การที่ 74/2533) - 140 - หมายเหตุ สัญญาที่ไมไดกําหนดเร่ืองคาปรับไว ปกติจะปรับกรณีสงมอบลาชาไมได แตเม่ือผูรับจางไดมีหนังสือยินยอมใหปรับ เอกสารดังกลาวถือไดวาเปนสวนหน่ึงของสัญญาจึงปรับ ผรู ับจา งได ผรู ับจา งสง งานจางลา ชากวา งวดงานทก่ี าํ หนดยังปรบั ไมได กรณีตัวอยาง กรมทรัพยากรธรณีไดทําสัญญาวาจางผูรับเหมากอสรางหลายรายการ กําหนดใหผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณภายในวันที่ 31 มีนาคม 2527 แตปรากฏวาผูรบั จางทํางาน แตล ะงวดตามทกี่ าํ หนดไวในสัญญาลาชา ดงั นีจ้ ะปรบั ผูร ับจา งไดหรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา สัญญาจางกําหนดใหผูรับจางทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2527 ผูรับจางจะรับผิดตามสัญญาตอเมื่อกอสรางตามงานไมแลวเสร็จบริบูรณ ภายในวันท่ี 31 มนี าคม 2527 วันผิดสญั ญาอันเปนฐานท่ีจะใชคํานวณคาปรับตามสัญญาจึงเร่ิมนับต้ังแต วันที่ 1 เมษายน 2527 เปนตนไป สวนวันแลวเสร็จของงานแตละงวดตามสัญญานั้น เปนวันที่กําหนด ไวเพ่ือการแบงงวดการจายเงินคาจางเทาน้ัน หาใชกําหนดแลวเสรจ็ ตามสัญญาจางอันถือวาผูรับจางผิด สญั ญาไม เม่ือผรู บั จางทํางานจางแลว เสร็จบริบรู ณภายในกําหนด(วันท่ี 31 มีนาคม 2527) จึงถือไมไดวา ผรู บั จางผิดสัญญาอันผูวาจางจะใชสิทธิปรับผูรับจางตามสัญญาจาง (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 89/2527) กรณีตัวอยาง กรมการปกครองทําสัญญาจาง หางหุนสวนจํากัด พ. ทํางานจางกําหนดใหผูรับ จางเริ่มลงมือทํางานภายในวันท่ี 2 ธันวาคม 2522 และใหผูรับจางทํางานแลวเสร็จบริบูรณภายในวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2523 ผูรับจางไดสงมอบงานจางงวดที่ 1 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2523 ลวงเลยกําหนดแลว เสร็จตามสัญญางวดท่ี 1 ออกไปรวม 6 วนั ดังนี้จะพจิ ารณาปรับผูรบั จางไดห รือไม กรมอยั การพิจารณาแลวเห็นวาวันแลวเสร็จตามสัญญาอันจะเปนมูลใหผูวาจางมีสิทธิปรับผูรับ จางเปนรายวันน้ัน หมายถึง วันแลวเสร็จบริบูรณตามขอสัญญา (วันท่ี 28 กุมภาพันธ 2523) ซ่ึงถาผู รับจางทํางานไมแลวเสร็จภายในกําหนด สัญญากําหนดใหผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจางได และถา

ผูว าจางยังไมบอกเลิกสญั ญากม็ สี ทิ ธิปรับผรู ับจางไดเ ปน รายวนั สว นวนั แลวเสร็จแตละงวดงานกําหนด ขน้ึ เพ่ือเปนหลักในการจายเงนิ ตามงวด เมือ่ ไมมบี ทใหเลิกสัญญาหรือปรับไดเปนกรณีพิเศษเฉพาะก็จะ ปรบั ผูรบั จา งไมได (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอัยการที่ 53/2523) - 141 - กรณีตัวอยาง ผูรับจางจะรับผิดชําระคาปรับตามสัญญากรณีสงมอบงานจางลาชา เมื่อทําการ กอสรางไมแลวเสร็จภายในวันครบกําหนดกอสราง ซ่ึงหมายถึงวันครบกําหนดแลวเสร็จบริบูรณ โดยตองเสียคาปรบั นับแตวันท่ีเลยกําหนดดังกลาวจนถึงวันบอกเลิกสัญญา สวนวันแลวเสร็จแตละงวด เปนวันทกี่ าํ หนดไวเพ่ือการกําหนดแบงงานจายเงินคาจาง หาใชวันผิดสัญญาโดยตรงไม (ขอหารือตาม คาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 82/2522) คําส่งั ศาลปกครองสงู สุดที่ 433/2547 สัญญาจางกําหนดใหผูฟองคดีตองเร่ิมทํางานในวันท่ี 5 ตุลาคม2544 และตองสงมอบงานจาง แลวเสร็จบริบูรณภายในวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2546 และกําหนดคาจางและการจายเงินไววาผูวาจางตกลงจาย และผูรับจางตกลงรับเงินคาจางโดยถือราคาเหมารวมเปนเกณฑและกําหนดจายเงินเปนงวด ๆ แตผูรับจาง ทํางานและงวดไมแลวเสร็จภายในระยะเวลาท่ีกําหนดในแตละงวด ดังนี้จะหักเงินคาจางแตละงวดไว เปน คา ปรับไดหรอื ไม ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวาการกําหนดจายเงินคาจางเปนงวด ๆ เปนเพียงขอตกลงใน การจายเงินคาจาง สวนกรณีท่ีผูฟองคดีตองชําระคาปรับใหแกผูฟองคดีหรือไมน้ันสัญญาจาง ขอ 15 กําหนดใหจะตองเปนกรณีท่ีผูฟอ งคดีไมสามารถทํางานใหแลวเสร็จตามเวลาท่ีกําหนดในสัญญา และผู ฟองคดียังไมบอกเลิกสัญญา ดังน้ัน ตราบใดท่ีผูฟองคดียังทํางานตอไป และยังมิไดตรวจรับงานงวด สุดทายถือวาการทํางานยังไมแลวเสร็จ อีกท้ังผูถูกฟองคดียังไมบอกเลิกสัญญา การคํานวณคาปรับที่จะ ใหผูฟองคดีชําระแกผูฟองคดีนับแตวันท่ีกําหนดแลวเสร็จตามสัญญาคือวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2546 จนถึง วันท่ีทํางานแลวเสร็จจริง การที่ศาลปกครองช้ันตนมีคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการ เพ่ือบรรเทา ทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษา โดยหามมิใหผูฟองคดี หักเงินคาปรับกรณีทํางานลาชา จากเงินคาจาง งวดที่ 8 ถงึ งวดที่ 12 จนกวาศาลจะมีคาํ พพิ ากษาในคดีนศี้ าลปกครองสูงสดุ เห็นพองดวย

กรรมการตรวจงานจา งลาชา จะคิดหักคาปรับจากผรู ับจา งไมได กรณีตัวอยาง สํานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหงชาติไดทําสัญญาวาจางหาง หุนสวนจํากดั ป. ทาํ การสรา งครภุ ัณฑก ระดานดําฝาผนงั กําหนดใหผ รู ับจางทํางานใหแลวเสร็จบริบูรณ - 142 - ภายในวันท่ี 1 ธันวาคม 2525 ตอมาผูรับจางขอสงมอบงานจาง ซึ่งคณะกรรมการตรวจการจางไดใช เวลาเพื่อการตรวจรับต้ังแตวันท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2525 (ถัดจากวันสงงาน) ถงึ วันที่ 14 ธันวาคม 2525 ปรากฏวามีผลงานถูกตองตามสัญญาเพียง 415 ชุด และไมถูกตองตามสัญญา 445 ชุด ผูวาจางจึงไดมี หนังสือฉบบั ลงวนั ท่ี 14 ธันวาคม 2525 แจง ใหผ ูรบั จา ง แกไขผลงานใหถูกตองตามสัญญา ซ่ึงผูรับจาง ไดสงมอบงานที่ทําการแกไขแลว เม่ือวันที่ 1 มีนาคม 2526 และคณะกรรมการตรวจการจางไดทาํ การ ตรวจรับถูกตองเม่ือวันที่ 3 มีนาคม 2526 สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติพิจารณา เห็นควรใหคิดคาปรับตั้งแตวันท่ี 14 ธันวาคม 2525 ถึงวันที่ 1 มีนาคม 2526 รวมเวลา 77 วัน ดังน้ีจะ เปนการถกู ตอ งหรือไม กรมอยั การพจิ ารณาแลวเหน็ วา การตรวจรับงานของคณะกรรมการตรวจรับงานจางของผูวาจาง รายน้ีใชเวลาเพื่อการตรวจรับต้ังแตวันท่ี 27 พฤศจิกายน 2525 ถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2525 (ผูวาจางแจง ใหผูรับจางแกไขงาน) รวมเปนเวลาถึง 18 วัน ชวงเวลาดังกลาว ถือวาเปนชวงเวลาที่ตองเสียไปอัน เนื่องมาจากความลาชาของเจาหนาที่ของผูวาจาง และมิใชความผิดของผูรับจาง ผูรับจางไมตองรับผิด ในชวงเวลาดังกลา ว (ขอหารือตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอัยการท่ี 96/2526) กรณีตัวอยาง สญั ญาจา งกาํ หนดใหผ ูร ับจา งสง มอบงานวนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2521 บริษัทผูรับจาง ไดสงมอบงานจางเมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2521 แตคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจรับงานเมื่อวันท่ี 25 ธันวาคม 2521 ปรากฏวางานไมเรียบรอยมีขอบกพรองจึงแจงใหผูรับจางแกไขเม่ือบริษัทผูรับจาง แกไขแลวคณะกรรมการจึงไดตรวจรับงานจางเม่ือวันที่ 9 มกราคม 2522 คงมีปญหาวาผูรับจางจะตอง รับผิดกรณสี งมอบลา ชาต้งั แตว นั ที่ 16 ธันวาคม 2521 ถึงวันที่ 25 ธันวาคม 2521 ดวยหรือไม กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวาระยะเวลาระหวางวันท่ี 16 ธันวาคม 2521 ถึงวันท่ี 25 ธันวาคม 2521 เปนเวลาท่ีคณะกรรมการตรวจการจางตรวจเพ่ือรับงาน หาใชความผิดอันเกิดจากผู รับจางลาชาไมทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาไม จึงเรียกใหผูรับจางชําระคาปรับในชวง ระยะเวลาดังกลา วไมไ ด (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 89/2522)

กรณตี ัวอยาง มหาวิทยาลัยรามคาํ แหงทําสัญญาจาง หา งหุน สวนจาํ กัด ซ. ทาํ การปรบั ปรุงหอง ทํางานของฝายทะเบียนฯ กําหนดใหผูรับจางสงมอบงานแลวเสร็จภายในวันท่ี 17 ธันวาคม 2526 ผูรับ จางไดสงมอบงานจางเม่ือวันที่ 15 ธันวาคม 2526 กรรมการตรวจการจาง ไดทําการตรวจงานเมื่อวนั ท่ี 19 ธันวาคม 2526 พบขอบกพรองงานไมเรียบรอยผูรับจางจึงทําการแกไขและสงมอบงานเม่ือวันที่ 21 - 143 - ธันวาคม 2526 และกรรมการตรวจการจางไดตรวจรับงานไวเรียบรอยแลว คงมีปญหาวาจะปรับผู รับจางไดเ พียงใด กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา กรรมการตรวจการจางไดตรวจรับงานไวเม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2526 จึงถือวาผูรับจางทํางานจางลาชาลวงเลยกําหนดเวลาตามสัญญา 4 วัน แตโดยเหตุท่ี คณะกรรมการตรวจการจา งไดเสยี เวลาเพือ่ การตรวจรับ 4 วัน ระหวา งวนั ที่ 16 ธันวาคม 2526 (ถัดจาก วันสง มอบงาน) ถึงวันที่ 19 ธันวาคม 2526 ซ่ึงในชวงเวลาดังกลาว ถือไมไดวาเปนชวงเวลาที่ตองเสีย ไป อันเน่ืองมาจากความผิดของผูรับจาง ผูรับจางจึงไมตองรับผิดชําระคาปรับสําหรับ ชว งเวลาดังกลาว เม่ือคิดหักกลบลบกันระหวางจํานวนวันที่ผูรับจางไมตองรับผิดชําระคาปรับ 4 วนั กบั จาํ นวนวันที่ผูร ับจางทาํ งานเสรจ็ ลาชากวา กําหนด 4 วนั เปนอันพอดีกัน ผูวาจาง จึงไมอาจปรับ ผูรบั จางในกรณีลาชา ดังกลา วได (ขอหารอื ตามคําวินิจฉัยกรมอัยการท่ี 36/2527) กรณีตัวอยาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรจางนาย พ. ทําการซอมเครื่องปรับอากาศ โดยกําหนดใหงานแลวเสร็จภายในวันท่ี 17 ตุลาคม 2526 ปรากฏวาผูรับจางไดสงงานเมื่อวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2526 คณะกรรมการตรวจการจางไดทําการตรวจการจางเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2526 แลว ไมรับงานโดยใหทําการแกไขจํานวน 6 รายการ ดังนี้คงมีปญหาวาจะปรับผูรับจางไดตงั้ แตวันใดถึงวัน ใด กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาการคิดคํานวณคาปรับตามสัญญา ผูวาจางสามารถใชสิทธิปรับ ผูรับจางไดถึงวันท่ีคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจรับงานไวถูกตองครบถวนตามสัญญา แตกําหนดระยะเวลาปรับดังกลาวจะตองไมรวมชวงเวลาท่ีเกิดจากความลาชาใด ๆ ท่ีทางฝายผูวาจางมี สวนกอใหเกิดข้ึนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 223 กับตองไมรวมถึงระยะเวลาที่เสีย ไปเนื่องจากความลาชาของคณะกรรมการตรวจการจาง ในการตรวจรับงานน้ันดวย (ขอหารือตามคํา วินิจฉยั กรมอยั การท่ี 48/2527)

หมายเหตุ 1. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 223 บัญญัติวา “ถาฝายผูเสียหายไดมีสวนทํา ความผิดอยางใดอยางหนึ่ง กอใหเกิดความเสียหายดวยไซร ทานวาหนี้อันจะตองใชคาสินไหมทดแทน แกฝายผูเสียหายมากนอยเพียงใดนั้น ตองอาศัยพฤติการณเปนประมาณ ขอสําคัญก็คือวาความเสียหาย นั้นไดเกิดขึ้นเพราะฝายไหนเปนผูกอยิ่งหยอนกวากันเพียงไร ปกติการปรับกรณีสงมอบลาชาน้ัน - 144 - ผรู ับจางหรอื ผขู ายจะตองรับผิดชําระคาปรบั อันเน่ืองจากความลาชานั้น เกิดจากความผิดของผูขายหรือ ผูร บั จา งซง่ึ เปนพฤติการณทต่ี อ งรับผดิ ชอบ หากความลา ชา เกดิ จากความผิดของฝายผูซ้ือหรือผวู าจา งก็ไมอาจคิดคา ปรบั ในชว งเวลาดงั กลา วได 2. เรือ่ งน้ีผูร บั จางสงมอบงานเมอ่ื วันที่ 30 พฤศจิกายน 2526 แตคณะกรมการตรวจการจางของ ฝายผูวาจางไดทําการตรวจรับเม่ือวันที่ 9 ธันวาคม 2526 ซึ่งเกิดจากความผิดของฝายผูวาจาง ดังนั้น ระยะเวลาจากวันที่ 30 พฤศจิกายน 2526 ถึงวันที่ 9 ธันวาคม 2526 จึงไมอาจนํามาคิดรวมใหผูรับจาง ชําระคาปรบั ได กรณีตัวอยาง กรมศุลกากรทําสัญญาซ้ือขายเครื่องช่ังไฟฟาจากบริษัท อ. ผูขาย กําหนดสง มอบสิ่งของภายในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2523 ตอมาวันที่ 4 พฤศจิกายน 2523 ผูขายไดนําสิ่งของไปสง มอบ แตคณะกรรมการยังไมตรวจรับโดยไดทําการตรวจรับในวันที่ 8 กันยายน 2524 แตสินคา ไมถูกตองตามสัญญา บริษัทจึงรับสินคากลับไปในวันเดียวกันและทําการแกไขสงมอบโดยผานการ ตรวจรับของคณะกรรมการเม่ือวันท่ี 2 พฤศจิกายน 2524 ดังนี้จะปรับผูขายในชวงเวลานับแตวันถัด จากวันท่ีผูขายสงมอบ (วันท่ี 5 พฤศจิกายน 2523) ถึงวันที่ 8 กันยายน 2524 รวมเวลา 308 วันไมได เพราะเปนชวงเวลาความลาชาในการตรวจรับส่ิงของของคณะกรรมการ ซ่ึงเปนพฤติการณที่ผูขายไม ตอ งรบั ผดิ ชอบ (ขอ หารือตามคาํ วนิ ิจฉัยกรมอัยการท่ี 100/2528) ผขู ายสงมอบส่งิ ของในลักษณะเปน หบี หอ ยังไมเปด ทําการตรวจทดลองไมถ อื วาสง มอบ กรมอาชีวศึกษาไดทําสัญญาซื้อขายครุภัณฑเคร่ืองไส ขนาดระยะชัก 450 ม.ม. กับบริษัท ด. กําหนดใหผูขายสงมอบส่งิ ของภายในวนั ที่ 22 กุมภาพันธ 2529 แตผขู ายไดนาํ สงิ่ ของไปสงเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2529 ในลักษณะเปนหีบหอ วิทยาลัยจึงไดมีหนังสือแจงใหบริษัทสงเจาหนาท่ไี ปดําเนินการ เปด หบี หอ เพอ่ื จะไดท ดลองและตรวจรับใหถกู ตอ ง แตผขู ายเพิกเฉยจนถึงวันท่ี 1 สงิ หาคม 2529 ผูขาย

จึงไดสงตัวแทนไปเปดหีบหอ และคณะกรรมการไดทําการตรวจรับถูกตอง ปญหาจึงมีวาจะปรับผูขาย ไดถึงวนั ใด คณะกรรมการวาดวยการพัสดุ พิจารณาแลวเห็นวาปกติผูขายมีหนาท่ีตองสงมอบของให ถูกตองครบถวนตามสัญญา และของที่สงมอบตองอยูในลักษณะท่ีจะใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ดําเนินการตรวจรับได เมื่อพิจารณาถึงสภาพการใชงานของเครื่องไส ซ่ึงเปนเคร่ืองมือที่จะตอง - 145 - ทดลองและสาธิตการใชเพื่อใหผูซื้อทราบวาเครื่องไสมีคุณภาพตามท่ีกําหนดไวในสัญญาหรือไม แมวาสัญญาซื้อขายเคร่ืองไส จะมิไดมีขอกําหนดใหผูขายมีหนาท่ีตองติดตั้งทดลองส่ิงของตามสัญญา และสงผแู ทนไปรว มการตรวจรับของกับผซู ื้อกต็ าม แตเ รอื่ งนป้ี รากฏวา หลังจากครบกาํ หนดอายุสัญญา แลว ผูขายไดนําเครื่องไสไปสงมอบไวกับแผนกพัสดุของผูซื้อในลักษณะท่ีเปนหีบหอ และเจาหนาท่ี ของผูขายไดแจงดวยวาจากับเจาหนาท่ีของวิทยาลัยวา ใหรอผูจัดการบริษัทจะเดินทางมาเปดหีบหอ เพื่อใหคณะกรรมการตรวจรับดวยตนเอง อีกท้ังวิทยาลัยไดมีหนังสือแจงใหผูขายมาทําการเปดหีบหอ และสงมอบของแลว แตผขู ายเพิกเฉย จงึ ถือวาผูขายสง มอบเครอ่ื งไสถูกตอ งครบถว นในวันที่เจาหนาท่ี ของผขู ายไดทาํ การเปดหีบหอและสาธิตเครื่องไส เพื่อใหคณะกรรมการตรวจรับพัสดุดําเนินการตรวจ รับตามหนาท่ี (ขอหารือตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1002/1151 ลงวันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ 2530) กรณีตัวอยาง กรมพัฒนาที่ดิน ไดทําสัญญาซื้อขายเครื่องวิเคราะหแรธาตุตาง ๆ ในดินกับ บรษิ ัท ฟ. โดยบริษทั ตองทําการติดตั้งเครื่องมือพรอมทั้งทดลองเคร่ืองใหทํางานไดเรียบรอยสมบูรณใช การไดทันที พรอมทั้งชี้แจงแนะนําและชวยเหลือใหเจาหนาท่ีของทางราชการสามารถทําการใช เครื่องมือไดดวยตนเอง โดยสาธิตและแสดงการปฏิบัติงานใหดูเปนตัวอยาง และตองสงมอบเครื่อง วิเคราะหแ รธาตภุ ายในวันที่ 23 พฤษภาคม 2521 ครน้ั ถึงกําหนดสง มอบ บรษิ ทั ยงั ทําการทดลองไมครบ ตามขอสัญญาและยังไมไดช้ีแจงเจาหนาที่ใหสามารถทําการใชเครื่องมือไดตอมาบริษัทไดทําการ ทดลองไดครบถวนตามสัญญา เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2522 และคณะกรรมการไดตรวจรับในวัน เดียวกัน คงมีปญหาวาผูขายไดสงมอบส่ิงของถูกตองตามสัญญาเม่ือวันเดือนปใด และผูขายจะตองรับ ผิดชําระคาปรบั ถึงวนั ใด กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา แมบริษัทจะไดสงมอบสิ่งของ เม่ือวันท่ี 23 พฤษภาคม 2521 ซึ่งเปนวันครบกําหนดสงมอบก็ตาม ก็ยังไมถือวาเปนการสงมอบส่ิงของท่ีถูกตองครบถวนตาม

ขอสัญญา เพราะยังมิไดมีการทดลองเครื่องและกระทําการอ่ืน ๆ ตามใบเสนอราคา กรณีถือไดวา บริษัทผูขายไดสงมอบส่ิงของในวันที่บริษัทไดปฏิบัติการถูกตองครบถวนและคณะกรรมการตรวจรับ ไดทําการตรวจรับไวแลวในวันท่ี 5 กุมภาพันธ 2522 บริษัทจึงตองรับผิดชําระคาปรับนับแตว ันท่ี 24 พฤษภาคม 2521 ถึงวันที่ 5 กุมภาพันธ 2522 (ขอหารอื ตามคําวินิจฉยั กรมอยั การที่ 76/2522) - 146 - ผขู ายสง สงิ่ ของตามสัญญาแลว ขาดแตหนงั สอื รบั รองของบรษิ ัทผูผ ลติ ถือวาสง ลาชาหรือไม กรมชลประทานทําสัญญาซื้อขายอุปกรณและอะไหลเคร่ืองบิน กับบริษัท พี สําหรับการสง มอบของไดมขี อกําหนดเง่ือนไขการรบั ของไวใ หผูขายทําหนังสือรับรองมามอบในวันท่ีสงมอบอะไหล ดวย ปรากฏวาผูขายไดนําอะไหลตามสัญญามาสงมอบกอนครบกําหนดเวลาตามสัญญา แตไดนํา หนังสือรับรองมามอบใหภายหลังครบกําหนดอายุสัญญาแลว กรมชลประทานจึงรับของไวตามธรรม เนียม แตมิไดรับไวเปนทางการเพราะยังไมไดหนังสือรับรองดังน้ีผูขายตองรับผิดกรณีสงมอบลาชา หรอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาซื้อขายกําหนดวาในวันสงมอบอะไหลผูขายตองนํา หนังสือรับรองจากบริษัทผูผลิต มามอบใหแกผูซื้อ เปนเพียงเง่ือนไขอยางหน่ึงในการสงมอบ และ สัญญาขอหนึ่งกําหนดวาคณะกรรมการตรวจรับทรงไวซ่ึงสิทธิท่ีจะไมเชื่อหลักฐานหรือความเห็นใด ๆ ที่ผูขายนํามาแสดงประกอบก็ได ดังนั้นหนังสือรับรองจึงมิใชสาระสําคัญของสัญญาน้ี หากผูขายไม นาํ มามอบใหผ ซู อ้ื ในวนั สง มอบอะไหล ก็เปนเพียงผิดเงื่อนไขการสงมอบซ่ึงผูซื้ออาจปฎิเสธไมรับมอบ ได เมื่อปรากฏวากรมชลประทานไดลงช่ือรับของไวแลว จนบัดนี้ไมมีขอบกพรองของอะไหลท่ีรับไว จึงตองฟงวาอะไหลเปนของแทและผลิตข้ึนใหมตามสัญญาผูขายไมตองรับผิดกรณีสงมอบลาชา (ขอ หารือตามคําวินิจฉัยกรมอยั การที่ 5/2520) สัญญาจางกอสรางหลายรายการ ผูรับจา งสง ลา ชาบางรายการ ปรบั จากราคางานจา งทงั้ สัญญา กรณีตวั อยา ง กรมอาชีวศกึ ษาไดท าํ สญั ญาจา ง หางหุนสว นจาํ กดั ว. ทําการกอ สรา งอาคารของ สถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา จํานวน 11 รายการ หากผูรับจางทํางานจางลาชาจะถูกปรับวันละ 5,900 บาท การที่ผูรับจางไมสามารถทํางานจางรายน้ีใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาตามสัญญา ไม

วาจะเปนการกอสรางรายการหนึ่งรายการใดใน 11 รายการ หรือรายการกอสรางทั้ง 11 รายการ ผูรับ จา งตองรับผดิ ชําระคาปรบั วนั ละ 5,900 บาท (ขอ หารือตามคาํ วินิจฉัยกรมอัยการท่ี 105/2525) การปรับกรณสี ง มอบสงิ่ ของตามสญั ญาหลายคร้งั กรณตี วั อยา ง คาปรับการสงมอบส่ิงของตามสัญญาซ้ือขายไมไดระบุใหตองสงมอบพรอมกัน ในคร้ังเดียว จึงสงมอบไดหลายคร้ัง การคิดคาปรับจึงตองคิดจากราคาสิ่งของเฉพาะท่ีผูขายยังไมได สง มอบ (ขอหารอื ตามคาํ วนิ จิ ฉัยกรมอัยการที่ 78/2525) - 147 - การปรับกรณีตกลงซอื้ ขายสิง่ ของเปนชุด 1. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ขอ 71 (6) กําหนดวาการตรวจรับ พสั ดุทป่ี ระกอบกันเปนชุดหรือเปนหนวย ถาขาดสวนประกอบอยางใดอยางหน่ึงไปแลวจะไมสามารถ ใชการไดโ ดยสมบูรณ ใหถือวา ผูขายหรือผูรบั จา งยงั มิไดส งมอบพสั ดนุ ้ัน 2. สัญญาซ้ือขายขอ 10 กําหนดวา การคิดคาปรับในกรณีที่ส่ิงของที่ตกลงซื้อขายประกอบกัน เปนชุด แตผูขายสงมอบเพียงบางสวนหรือขาดสวนประกอบสวนหนึ่งสวนใดไปทําใหไมสามารถใช การไดโดยสมบรู ณ ใหถ ือวายังไมไดส ง มอบสงิ่ ของนน้ั เลย และใหคิดคา ปรับจากราคาสิง่ ของเต็มทัง้ ชุด กรณีตัวอยาง ส่ิงของท่ีซื้อขายประกอบกันเปนชุด และถาขาดสวนหน่ึงสวนใดจะทําใหไม สามารถใชการไดโดยสมบูรณ ดังนั้นในระหวางท่ีผูขายยังตองแกไขอุปกรณบางสวนใหถูกตองตาม สัญญา ยอมถือวาผูขายสงมอบไมถูกตอง ผูขายตองถูกปรับตามสัญญาจนถึงวันท่ีผูขายสงมอบถูกตอง ครบถวน (ขอ หารือตามคําวนิ ิจฉยั กรมอยั การท่ี 136/2525) กรณีตัวอยาง ตกลงซื้อขายเคร่ืองคอมพิวเตอรตามสัญญา 4 รายการ แตสินคา 3 รายการ ซ่ึงสงมาถูกตองน้ัน ตองใชประกอบกันกับสินคารายการที่สงมาไมถูกตองแยกกันไมไดดังน้ีตองคิด คาปรับสนิ คาเปน ชดุ ทัง้ 4 รายการ (ขอหารือตามคําวนิ จิ ฉยั กรมอยั การที่ 152/2524) กรณีตัวอยาง จุฬาลงกรณไดทําสัญญาซ้ือขายเคร่ืองเทปบันทึกเสียงกับหางหุนสวนจํากัด ท. ผูข ายสง มอบเครอ่ื งเทปบันทึกเสยี งเม่อื ลวงเลยกาํ หนดเวลาตามสัญญา จุฬาลงกรณจึงคิดคาปรับจากหาง ผูข ายจํานวน 81 วนั อัตราคาปรบั รอยละ 0.2 ตอวันของราคาสิ่งของท้ังชุด ราคา 53,500 บาท ขอเท็จจริง ปรากฏวา ผขู ายสง มอบรโี มทคอนโทรล ลา ชากวากําหนดเทาน้ันดงั น้ีจะปรับผูขายไดอ ยา งไร กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา การซ้ือส่ิงของที่ประกอบกันเปนชุด ถาขาด สวนประกอบสว นใดสว นหน่ึงไปแลว ไมสามารถใชการไดทั้งชุด ถึงแมผูขายจะสงมอบส่ิงของภายใน

กําหนดตามสัญญา แตยังขาดสวนประกอบบางสวน ตอมาไดสงมอบสวนประกอบท่ียังขาดนั้นเกิน กําหนดตามสญั ญาใหถือวา ไมไดสงมอบส่ิงของนน้ั เลย ใหป รบั เตม็ ราคาท้งั ชุด เคร่ืองเทปบันทึกเสียงพิพาท แมจะไมมีรีโมทคอนโทรล เครื่องเทปก็สามารถทํางานไดถือวา สามารถแยกใชงานไดตางหากจากกัน จึงตองคิดคาปรับเฉพาะราคาของรีโมท ไมใชคิดท้ังชุด (ขอ หารือตามคาํ วินจิ ฉยั กรมอยั การที่ 186/2522) - 148 - กรณีตัวอยาง กรมการบินพาณิชย กระทรวงคมนาคมไดทําสัญญาซื้อขายเครื่องผลิตสัญญาณ จาํ นวน 7 เครื่อง แตล ะเคร่อื งประกอบดวยคมู อื จาํ นวน 2 เลม ซงึ่ มิไดคิดราคาแยกกนั ไว บรษิ ทั ผูขายได นําสิ่งของไปสงมอบภายในกําหนดเวลาตามสัญญา แตไมไดสงมอบหนังสือคูมือจํานวน 1 เลม ตอมา ไดน าํ หนงั สือคมู อื มาสง ภายหลงั จากครบกําหนดเวลาตามสัญญาแลว คงมีปญหาวาจะปรับผูขายโดยคิด จากราคาสงิ่ ของทง้ั หมดตามสญั ญาหรือคิดจากราคาเฉพาะหนังสือคมู ือ 1 เลม เลมละ 40 บาท กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา หนังสือคูมือ 1 เลม ที่บริษัทสงมอบลาชาเกินกําหนด สัญญา มิใชสิ่งของท่ีประกอบกันเปนชุด การคิดคาปรับจึงตองคิดจากราคาหนังสือท่ียังไมไดสงมอบ (คิดคาปรับจากราคาหนังสือ 40 บาท ไมใชคิดจากราคาส่ิงของท้ังหมดตามสัญญาขอหารือตามคํา วนิ จิ ฉัยกรมอัยการที่ 114/2522) การปรับกรณผี ูขายสง มอบสง่ิ ของตามสัญญาซอื้ ขายไดเ พยี งบางสวน กรณีตัวอยาง สัญญาซื้อขายซ่ึงกําหนดใหผูขายสงมอบส่ิงของหลายชิ้น และผูขายสงมอบ สิ่งของบางสวน ถาส่ิงของที่สงมอบน้ันผูซ้ือ (สวนราชการ) สามารถนําไปใชประโยชนได ผูซื้อก็ สามารถพิจารณาลดคาปรับใหผูขายได แตถาสิ่งของสวนที่สงมอบไมสามารถใชประโยชนไดจนกวา จะไดข องครบถวน ผูซ ื้อจะตองปรับผูขายเตม็ จํานวน (ขอหารอื ตามคําวนิ จิ ฉยั กรมอยั การท่ี 94/2520) กรณีตัวอยาง กองทัพอากาศทําสัญญาซ้ือขายรถสงครามชวยรบ จากบริษัทผูขายผูขาย นํารถยนตไปสงมอบแลว แตขาดชุดพรางไฟ ดังนี้จะคิดคาปรับจากราคาท้ังคันหรือเฉพาะราคาชุด พรางไฟ

กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา ชุดโคมพรางไฟเปนคุณลักษณะของรถยนตสงคราม ชว ยรบโดยเฉพาะ จึงตองประกอบและนําสง มอบเปนชุดกับรถยนต มิฉะนั้นจะทําใหขาดสวนประกอบ อันเปนคุณลักษณะของรถยนต และทําใหไมสามารถใชรถยนตน้ันไดครบถวน เมื่อผูขายสงมอบ รถยนตไมมีชุดโคมไฟพรางตามสัญญา จึงถือวาไมไดสงมอบรถยนตนั้น การคิดคาปรับจึงตองคิดเปน รายวันในอัตรารอยละ 0.2 ของราคารถยนตท้ังคัน ไมใชคิดจากราคาชุดโคมพรางไฟ (ขอหารือตามคํา วินิจฉัยกรมอัยการที่ 34/2523) - 149 - กรณีตัวอยาง สัญญาซื้อขายรถขุดระบบไฮโดรลิค 5 คัน ผูขายสงมอบไมถูกตองตามสัญญา โดยสงมอบยางรถเปนยาง 12 ช้ัน ท้ังหมดไมใช 16 ช้ันตามสัญญา คณะกรรมการตรวจรับจึงยังไมทํา การตรวจรับ คงมีปญหาวาจะคิดคาปรับโดยคํานวณจากราคารถขุดท้ังคันหรือคํานวณจากเฉพาะราคา ยางรถทั้ง 5 คัน กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาซื้อขายกําหนดวาถาผูขายไมสงมอบรถขุด หรือสงมอบ ไมครบจํานวนภายในกําหนด ผูขายยอมใหผูซื้อปรับเปนรายวันจํานวนเงินรอยละ 5 ของราคารถขุด ดังน้ันการคิดคาปรับ จึงตองคิดคํานวณจากราคารถขุดท้ังคัน (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 6/2518) กรณีตัวอยาง สัญญาซ้ือขายรถยนตบรรทุกน้ําซึ่งมีรายละเอียดของรถรวมท้ังเครื่องสูบน้ํา ซ่ึงตองติดต้ังประจํารถไวชัดเจน โดยกําหนดราคาไวเปนราคารวมทั้งคัน มิไดแยกเปนราคาตัวรถ สวนหนึง่ และเครอื่ งสบู น้ําอกี สวนหน่งึ ยอ มเหน็ เจตนารมณไ ดว าเปนการซื้อขายสิ่งของท่ีตองประกอบ กันเปนชุด เม่ือผูขายสงมอบรถที่มีเคร่ืองสูบนํ้าไมถูกตองยอมมีสิทธิไมรับรถและปรับผูขายจากราคา รวมรถท้ังคนั (ขอหารือตามคําวนิ ิจฉัยกรมอัยการที่ 37/2517) การรบั ประกันความชํารุดบกพรอง สัญญาจางขอ 6 ขอ 6. ความรบั ผิดในความชํารุดบกพรองของงานจา ง

เม่ืองานแลวเสร็จสมบูรณ และผูวาจางไดรับมอบงานจากผูรับจาง หรือจากผูรับจาง รายใหมในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญาตามขอ 5 หากมีเหตุชํารุดบกพรองหรือเสียหายเกิดขึ้นจากงาน จางนี้ ภายในกําหนด.........ป.........เดือน นับถัดจากวันท่ีไดรับมอบงานดังกลาวซ่ึงความชํารุดบกพรอง หรือเสียหายน้ันเกิดจากความบกพรองของผูรับจาง อันเกิดจากการใชวัสดุท่ีไมถูกตอง หรือทําไวไม เรียบรอย หรือทําไมถูกตองตามมาตรฐานแหงหลักวิชา ผูรับจางจะตองรีบทําการแกไขใหเปนที่ เรียบรอย โดยไมช กั ชา โดยผูวาจางไมต องออกเงินใด ๆ ในการนี้ทงั้ สนิ้ หากผูรับจางบิดพร้ิวไมกระทํา การดังกลาวภายในกําหนด........วนั นับตัง้ แตไ ดร ับแจง เปน หนงั สอื จากผูรบั จา ง หรือไมทําการแกไ ขให ถูกตองเรียบรอยภายในเวลาที่ผูรับจางกําหนดใหผูวาจางมีสิทธิท่ีจะทําการน้ันเองหรือจางผูอ่ืนให ทาํ งานนั้น โดยผูรบั จางตองเปนผูออกคา ใชจ าย - 150 - สญั ญาซื้อขายขอ 7 ขอ 7. การรบั ประกันความชํารดุ บกพรอง ผูขายยอมรับประกันความชํารุดบกพรอง หรือขัดของของส่ิงของตามสัญญาน้ี เปนเวลา...........ป ...............เดือน นับแตวันท่ีผูซ้ือไดรับมอบ โดยภายในกําหนดเวลาดังกลาว หากสิ่งของตามสัญญาน้ีเกิดชํารุดบกพรองหรือขัดของอันเนื่องจากการใชงานตามปกติ ผูขายจะตอง จัดการซอมแซม หรือแกไขใหอยูในสภาพท่ีใชการไดดีดังเดิม ภายใน...........วัน นับแตวันที่ไดรับแจง จากผูซ้อื โดยไมค ดิ คาใชจ า ยใด ๆ ท้งั สนิ้ สัญญาจางขอ 6 ความรับผิดชอบในความชํารุดบกพรอง ภายในกําหนดเวลาตามสัญญาขอ 6 อาคาร ส่ิงปลูกสรางเกดิ การชํารุดบกพรอง เน่อื งจากความบกพรองของผรู ับจา งจาก (1) เกิดจากการใชวัสดกุ อสรางไมถูกตอ ง (2) ทาํ ไวไมเ รียบรอ ย (3) ทาํ ไมถ กู ตอ งตามมาตรฐานแหง หลกั วชิ าการ ความรับผดิ ชอบในความชาํ รุดบกพรอง 1. หากอยรู ะยะเวลาประกนั ความชํารดุ บกพรอ งตามสญั ญาจางขอ 6 2. เรียกใหผ ูรบั จางทําการซอ มแซมความชาํ รุดบกพรองไดต ามสัญญาจา ง ขอ 6 3. หากผรู ับจา งไมซ อมแซมผรู ับจางตองรบั ผดิ ชดใชค า ใชจา ยทีบ่ ุคคลอนื่ ซอ มแซม สญั ญาขอ 6 4. หากผรู ับจางไมใ ชค า ซอมแซมตองรีบฟองคดีภายในอายุความท่กี ฎหมายกําหนดนบั แต

ความชํารุดปรากฏข้นึ 5. การแจงใหผรู ับจางมาทําการซอ มแซมตอ งสง จดหมายลงทะเบียนไปรษณียตอบรบั (ไมควรแจงทางโทรศพั ทห รอื ดวยวาจา) 6. จะแจง ใหธนาคารผคู ้าํ ประกันมาทําการซอมแซมไมไ ด คงเรียกใหชาํ ระเงินตาม สัญญาคา้ํ ประกันเทาน้ัน 7. เรยี กไดเทา จาํ นวนคา ความเสยี หายจากการชํารุดบกพรอ ง แตไมเกินวงเงนิ คาํ้ ประกัน - 151 - ส่งิ ของตามสัญญาและงานจางชาํ รดุ บกพรอ ง ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ยมาตรา 472 บญั ญัติใหผูขายรับผิดในกรณีท่ีทรัพยสินซ่ึงขาย น้ันชํารุดบกพรอง เชน ซ้ือครุภัณฑ เคร่ืองจักรกล เพ่ือใชในการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษา แตสิ่งของดงั กลา วเกดิ การชํารุดใชงานไมได ผูขายตองรับผิดในความชํารุดบกพรองน้ัน สําหรับสัญญา จางขอสัญญาจะกําหนดใหผูรับจางรับผิดชอบในความชํารุดบกพรอง เชน อาคารทรุด เปนตน ภายใน ระยะเวลาประกันความชํารุดบกพรองตามท่ีกําหนดไวในขอสัญญาอาจมีระยะเวลาประกันความชํารุด บกพรอ งเปนเวลา 1 ปหรือ2 ป นบั แตวนั สง มอบงานจา งเปน ตน ดังน้นั เม่อื ปรากฏความชํารดุ บกพรอง แกสิ่งของท่ีซื้อขายหรืองานจาง ผูขายหรือผูรับจางมักขอผลัดผอนจนลวงเลยกําหนดอายุความฟองคดี ซง่ึ ผูขายหรอื ผูรับจางจะยกขน้ึ ปฎเิ สธความรบั ผิดชอบดงั กลาวไดสวนราชการจึงควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. เมื่อความชํารุดบกพรองปรากฎข้ึน สวนราชการควรมีหนังสือแจงใหผูขายหรือผูรับจางมา ดําเนินการแกไขซอมแซมโดยเร็วโดยกําหนดระยะเวลาตามสมควรไวในหนังสือบอกกลาว สงทาง ไปรษณียลงทะเบียนตอบรบั แลว เก็บหลักฐานการตอบรบั ไวเ ปน หลกั ฐาน 2. กรณีผูขายหรือผูรับจางเพิกเฉย ใหสงตนฉบับเอกสารการสอบราคา ประกวดราคาใบเสนอ ราคา สญั ญาซื้อขายหรือสัญญาจาง สัญญาคํ้าประกัน หลักฐานการสงมอบสิ่งของหรือเอกสารการสง มอบงานจางและเอกสารการตรวจรับงานจางเอกสาร การตรวจพบความชํารุดบกพรองครั้งแรก และหนังสือบอกกลาวตามขอ 1 ไปยังพนักงานอัยการเพ่ือดําเนินคดีเรียกใหผูขายหรือผูรับจางรับผิด เปนคดีแพงใหทันภายในกําหนดอายุความตามที่กฎหมายกําหนด นับแตวันท่ีความชํารุดบกพรองได ปรากฏข้นึ

3. กรณีไมอาจดําเนินคดีแพงไดทันภายในกําหนดอายุความ และทางราชการไดรับความ เสียหาย เนื่องจากผูขายหรือผูรับจางยกอายุความตอสูปฏิเสธความรับผิด ทางราชการตองแตงต้ัง คณะกรรมการข้ึนทาํ การสอบสวนหาผรู บั ผิดชดใชความเสียหายแกทางราชการดังกลา ว การฟองธนาคารใหรับผิดกรณีมีความชํารุดบกพรองเกิดขึ้น ก็ตองฟองภายในอายุความ เชนเดียวกับผูรับจาง เพราะหากฟองผูค้ําประกัน เมื่อขาดอายุความท่ีจะฟองผูรับจางแลว ผูคํ้าประกัน ยอมยกเหตขุ าดอายคุ วามข้ึนตอ สูเ พอ่ื ไมต อ งรบั ผิดได (ขอ หารอื ตามคําวนิ จิ ฉัยกรมอยั การที่ 3/2531) ผูวาจางตรวจพบความชํารุดบกพรองภายในเวลาท่ีผูรับจางตองรับผิดตามสัญญาหลายครั้ง และรายการความชํารดุ บกพรองทพ่ี บแตล ะคร้งั แตกตางกัน ผูว าจางอาจแยกนบั อายคุ วามตามแตละวันท่ี ความชาํ รุดบกพรอ งไดป รากฏขึน้ นัน้ ได (ขอ หารอื ตามคาํ วนิ จิ ฉยั กรมอยั การท่ี 83/2529) - 152 - กรณีตัวอยาง ความรับผิดเพื่อความชํารุดบกพรองของผูรับจางตามสัญญาจาง กําหนดใหมี ระยะเวลา 1 ป นับแตวันท่ีไดรับมอบงานที่ผูรับจางไดทําการแลวเสร็จเรียบรอย ฉะน้ัน กําหนดวันเริ่ม นับเวลาดังกลาวไมใชวันที่ผูวาจางไดออกใบตรวจรับงานแตละงวด โดยระยะเวลารับประกันความ เสียหายตองเร่ิมนับต้ังแตวันท่ีงานจางแลวเสร็จบริบูรณ และผูรับจางไดรับมอบงานจากผูรับจางแลว (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการท่ี 117/2525) กรณีตัวอยาง กรมการปกครองทําสัญญาจางผูรับจางกอสรางสะพานไม โดยผูรับจางได วางเงินประกันสัญญา จํานวน 6,000 บาท ตามสัญญาจางกําหนดใหผูรับจางรับผิดในความชํารุด บกพรองของสะพานมีกําหนดเวลา 1 ป นับแตวันท่ีผูวาจางไดรับมอบงาน เม่ือปรากฏวาสะพานไมท่ี กอสรางไดถูกนํ้าพัดพาเสียหายหมดท้ังสะพานกอนครบกําหนดเวลา 1 ป เพราะอุทกภัยธรรมชาติ เปน เหตกุ ารณที่ผูรบั จา งไมตองรบั ผิดชอบ กรณีจึงไมมีตวั สะพานท่ีผรู ับจางตองรับผิดชอบตอไป ผรู ับ จางจึงหลุดพนขอผูกพันจากความรับผิดในความชํารุดบกพรองของสะพาน ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 219 จึงตองคืนเงินประกันสัญญาใหแกผูรับจาง (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ท่ี 119/2525) เกิดความชํารุดบกพรอ งหลายครงั้ อายุความนบั แยกแตล ะครงั้ ทีเ่ กดิ การชํารดุ บกพรอ ง กรณีตวั อยาง กองทัพอากาศไดท ําสัญญาจางกอสรางอาคาร กับหางหุนสวนจํากัด พ. ผูรับจาง สง มอบงานแลวเสร็จเม่อื วนั ท่ี 29 มิถุนายน 2527 ไดตรวจพบความชํารุดบกพรองของงานจางเมื่อเดือน

ตุลาคม 2527 วันที่ 28 ธันวาคม 2527 และวันท่ี 28 มีนาคม 2528 ตามลาํ ดับดังนี้อายุความฟองรองให ผรู บั จางรับผิดในความชํารุดบกพรอ งจะเรม่ิ นบั เม่ือใด กรมอัยการพิจารณาแลวเหน็ วา 1. การฟองผูรับจางใหรับผิดในความชํารุดบกพรองจะตองดําเนินการภายในกําหนด 1 ปนับ แตวันท่ีการชํารุดบกพรองไดปรากฏข้ึน หากมีการตรวจพบความชํารุดบกพรองหลายครั้ง และรายการ ความชํารุดบกพรองนั้นแตละครั้งแตกตางกัน ยอมนับอายุความตามแตละวันท่ีความชํารุดบกพรองได ปรากฏขน้ึ แตละครง้ั 2. ความชํารุดบกพรองท่ีปรากฏ สวนใหญเปนการปฏิบัติไมถูกตองตามรูปแบบที่กําหนดใน สัญญา ซึ่งแตละรายการท่ีผิดไปจากรูปแบบน้ัน อาจเพิ่งพบไดขณะเม่ือกองทัพอากาศรับมอบงาน - 153 - ตามสัญญา แตกองทัพอากาศไดรับงานทั้งหมดตามสัญญา โดยมิไดแจงใหผูรับจางทําการแกไขผูรับ จา งจงึ ไมตอ งรับผิดในความชาํ รดุ บกพรอ งนั้น ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยมาตรา 598 หมายเหตุ 1. ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 598 บญั ญัติวา “ถา ผวู า จา งยอมรบั การ ท่ีทํานั้นแลว ท้ังชํารุดบกพรองมิไดอิดเอื้อนโดยแสดงออกชัดหรือโดยปริยาย ผูรับจางไมตองรับผิด เวนแตความชํารุดบกพรองน้ัน เปนเชนจะไมพึงพบไดในขณะเม่ือรับมอบ หรือผูรับจางไดปดบังความ น้ันเสีย” บทบญั ญตั ิมาตรา 598 ใชบงั คบั กับการจา งทําของ ไมวาจะเปนการกอสรางอาคารและสิ่งปลูก สรา งอยา งอ่นื เชน สะพาน หรือถนน เปนตน สําหรับสัญญาซื้อขายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 473 บัญญัติวา “ผูขายไมตอง รบั ผดิ ในกรณีดงั กลาวตอ ไปนี้ (1) ถาผูซ้ือไดรูอยูแลวแตในเวลาซ้ือขายวามีความชํารุดบกพรอง หรือควรจะไดรูเชนน้ัน หากไดใชความระมดั ระวงั อนั จะพงึ คาดหมายไดแ ตวญิ ูชน (2) ถาความชํารุดนั้น เปนอันเห็นประจักษแลวในเวลาสงมอบ และผูซ้ือรับเอาทรัพยสินน้ันไว โดยมไิ ดอ ดิ เออื้ น (3) ถา ทรัพยส ินนนั้ ไดข ายทอดตลาด สรุปไดวาขณะรับมอบงานตามสัญญาจางหรือตรวจรับพัสดุ หากพบความชํารุดบกพรอง คณะกรรมการตรวจการจางหรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ จะตองโตแยงและแจงใหผูรับจาง หรือ ผูขายทําการแกไขความชํารุดบกพรองเสียกอนทําการตรวจรับงานจางหรือสิ่งของ หากไมโตแยงถือวา

ส่ิงของหรืองานจางน้ันไมชํารุดบกพรอง และถูกตองตามสัญญาแลว ไมอาจนํามากลาวอางใหรับผิด ภายหลังได อน่ึงกระทรวงการคลัง ไดมีหนังสือ ที่ กค 0409.3 / ว 503 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2548 เร่ืองการ อนุญาตใหสวนราชการเก็บเงินไวใชจายเพื่อบูรณะทรัพยสิน แจงวารัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ไดพิจารณาอนุญาตเปนหลักการใหสวนราชการท่ีไดรับเงินในลักษณะคาชดใชความเสียหายหรือ สิ้นเปลืองแหงทรัพยสิน และจําเปนตองจายเพื่อบูรณะทรัพยสิน หรือจัดใหไดทรัพยสินคืนมา นําเงิน ท่ีไดร บั ดังกลาวไปใชจายเพ่ือบูรณะทรัพยสินหรือจัดใหไดทรัพยสินคืนมาไดโดยไมตองนําสงคลังเปน รายไดแ ผน ดิน ดังนี้ 1. เปนเงินคาทดแทนที่ไดรับตามกฎหมายวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย ภายใน วงเงินครงั้ ละไมเกิน 10 ลานบาท - 154 - 2. เปนเงินที่ไดจากการไดจากการริบหลักประกันสัญญา กรณีที่คูสัญญาปฏิบัติผิด สญั ญา หรอื ไมปฏิบตั ิตามสญั ญาภายในวงเงนิ ครง้ั ละไมเ กิน 1,000,000 บาท 3. เปนเงินที่ไดรับชดใชความเสียหาย หรือส้ินเปลืองแหงทรัพยสินท่ีเกิดจากการ กระทําละเมดิ ภายในวงเงนิ ครัง้ ละไมเ กิน 1,000,000 บาท 4. เปนเงินบํารุง หรือเงินสมทบคานํ้าและคาไฟฟา ในอัตรารอยละ 50 ของเงินท่ีไดรับ จากการใหหนว ยงานภาครัฐใชสถานท่ี เอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณากรณีเกดิ ความชํารดุ บกพรอ ง 1. ตนฉบับสัญญาซอื้ ขายหรือตนฉบบั สญั ญาจา ง 2. ตนฉบับหนังสือสัญญาคํ้าประกันของผูค้ําประกัน เชน หนังสือสัญญาคํ้าประกันของ ธนาคาร 3. ตนฉบับเอกสารการตรวจรับพัสดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตามสัญญาซ้ือขายที่เกิด การชํารุดบกพรอ ง 4. ตนฉบับเอกสารการตรวจรับของคณะกรรมการตรวจการจางตามสัญญาจาง กรณีอาคาร ส่งิ ปลูกสราง ตามสญั ญาจา งเกิดการชํารุดบกพรอง เฉพาะงวดงานกอสรา งที่เกดิ การชาํ รดุ บกพรอ ง 5. ตน ฉบับเอกสารการตรวจรบั ของคณะกรรมการตรวจการจา งตามสัญญาจางงวดสดุ ทา ย 6. ตนฉบบั บนั ทึกหรือเอกสารของผพู บเหน็ วา ความชํารดุ บกพรองไดปรากฏขนึ้ เม่อื วนั ใด

7. รายละเอยี ดความชํารุดบกพรองแตล ะรายการ 8. หลักฐานการประมาณราคาของผูมีอาชีพขายหรือรับจางในการแกไขความชํารุดบกพรอง วา ตอ งเสียคาใชจ า ยเปนเงนิ จาํ นวนเทาใด 9. คูฉบับหนังสือซึง่ สว นราชการแจง ใหผ ูขายรับจางดาํ เนนิ การแกไขความชํารดุ บกพรอง 10. หลักฐานท่ีผูขายหรอื ผูรับจา งไดร บั ทราบหนังสือบอกกลาวตามขอ 9 11. กรณีท่ีสวนราชการไดทําสัญญาจางผูรับจางรายอ่ืนใหแกไขความชํารุดบกพรองแทนผูขาย หรือผูรับจางตามสัญญาจางแลว สําเนาสัญญาจางของผูรับจางรายใหม และหลักฐานการอนุมัติการ เบิกจา ยคา จางดงั กลา ว - 155 - ท่ี นร 0202/ว 1 สํานักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ทาํ เนยี บรฐั บาล กทม. 10300 3 มกราคม 2537 เร่ือง มาตรการปอ งกนั หรอื ลดโอกาสในการสมยอมกันในการเสนอราคา เรยี น ปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี สิ่งทีส่ งมาดวย สําเนาหนังสือสาํ นักนายกรฐั มนตรี ดวนมาก ที่ นร 1204/11843 ลงวันท่ี 20 ธันวาคม 2536 ดว ยสาํ นักงานปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรีไดเสนอเร่ือง มาตรการปองกันหรือลดโอกาสใน การสมยอมกันในการเสนอราคา มาเพ่ือคณะรัฐมนตรีพิจารณา ความละเอียดปรากฏตามสําเนาหนังสือ ทไ่ี ดสงมาพรอ มน้ี คณะรฐั มนตรไี ดประชมุ ปรึกษาเม่อื วันที่ 28 ธนั วาคม 2536 ลงมติวา

1. เห็นชอบหลักเกณฑการคํานวณราคากลางในงานกอสรางของทางราชการตาม ที่คณะกรรมการควบคุมราคากลางเสนอ โดยใหใชหลักเกณฑนี้ตั้งแตวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2537 เปน ตน ไป 2. เห็นชอบในหลักการของมาตรการปองกนั หรอื ลดโอกาสการสมยอมกันในการเสนอ ราคาที่สํานักงานตรวจเงินแผนดินเสนอ ท้ัง 8 มาตรการ โดยใหแกไขเพ่ิมเติมตามความเห็นของ คณะกรรมการกําหนดราคากลาง ทั้งน้ี ใหเริ่มปฏิบัติตั้งแตวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2537 เปนตนไป สวนการ ประกวดราคา การสอบราคา หรือการจัดหาที่ไดดําเนินการไปกอนวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2537 ก็ให ดําเนินการตอ ไปได /3. เพอื่ ใหเจตนารมณ… - 156 - 3. เพ่ือใหเจตนารมณท่ีตองการใหผูรับจางใชวัสดุท่ีมีคุณภาพ และใชแรงงานท่ีมีฝมือ โดยการกําหนดระยะเวลาที่ผูรับจางตองรับผิดชอบตอความชํารุดบกพรองเปนเวลา 2 ป ตามมาตรการ ที่ 3 บรรลุผล ใหสํานักงบประมาณและสวนราชการที่เก่ียวของรวมมือกันกํากับดูแล ติดตาม ใหมีการ ดําเนนิ การตามมาตรการดังกลา วอยางเครงครัด หากกรณมี ีการชํารดุ บกพรอ งเกิดขึ้นกอนครบระยะเวลา 2 ป ควรมกี ารพิจารณาหาตวั ผตู อ งรบั ผดิ ดว ย อนึ่ง หนวยงานผูมีหนาที่ตรวจสอบและผูมีอํานาจในการอนุมัติควรพิจารณาดวยวา งานกอ สรา งของทางราชการใด ซ่ึงโดยสภาพและวัตถุประสงคควรมีความคงทนเกินกวา 2 ป อันจะทํา ใหสามารถปฏิบัติตามมาตรการดังกลาวขางตนได แตผูออกแบบหลีกเล่ียง โดยออกแบบในลักษณะท่ี ทําใหสภาพหรืองานกอสรางน้ันเปล่ียนเปนงานกอสรางท่ีโดยสภาพไมสามารถประกันความชํารุด บกพรองได 2 ป ก็ไมควรอนุมัติแบบหรืออนุมัติใหดําเนินการกอสราง ทั้งน้ี เพ่ือเปนการประหยัด งบประมาณท่ีจะตอ งใชในการกอสรางกอนเวลาอนั สมควร 4. เห็นชอบมาตรการเพื่อปองกันสาเหตุตาง ๆ ท่ีจะทําใหอาคารของทางราชการ ไมม่นั คงแข็งแรงตามหลกั วิชาการ ทัง้ 3 ประการ ที่คณะกรรมการควบคุมราคากลางเสนอ จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ

ขอแสดงความนับถอื (นายวิษณุ เครืองาม) เลขาธิการคณะรฐั มนตรี กองการประชมุ คณะรฐั มนตรี โทร. 2800391 โทรสาร 2826355 - 157 - การคืนหลักประกันสญั ญาซื้อขายและสญั ญาจาง หลักประกนั สัญญาซอื้ ขาย สญั ญาจา ง สัญญาจางขอ 3 ขอ 3. หลกั ประกนั การปฏิบัติตามสัญญา ในขณะทําสญั ญานี้ ผรู ับจางไดนาํ หลกั ประกนั เปน ................................................. ............................................................................................................................................... เปนจาํ นวนเงนิ ......................................บาท (........................................................................) มามอบใหแ กผวู า จาง เพ่อื เปน หลักประกันการปฏิบัติตามสญั ญาน้ี หลักประกันท่ีผูรับจางนํามอบไวตามวรรคหนึ่ง ผูวาจางจะคืนใหเม่ือผูรับจางพนจาก ขอผูกพนั ตามสญั ญาน้แี ลว สัญญาซ้ือขายขอ 5 ขอ 8. หลกั ประกนั การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญา ในขณะทําสัญญานี้ ผขู ายไดนาํ หลักประกันเปน....................................................... เปน จํานวนเงนิ .................................บาท (...............................................................................)

ซ่ึงเทากับรอยละ...................(...........%) ของราคาทั้งหมดตามสัญญา มามอบใหแกผูซื้อเพ่ือเปน หลกั ประกนั การปฏบิ ตั ิตามสญั ญานี้ หลักประกันท่ีผูขายนํามามอบไวตามวรรคหน่ึง ผูซื้อจะคืนใหเม่ือผูขายพนจาก ขอผูกพันตามสัญญาน้ีแลว (สวนหลักประกันตามขอ 6.1 ผูซื้อจะคืนใหพรอมกับการจายเงินงวด สุดทายตามขอ 6.2) เม่ือผูขายสงมอบสิ่งของตามสัญญาซื้อขาย หรือสงมอบอาคารสิ่งปลูกสรางตามสัญญาจางแลว หนึ่งป ผูขายหรือผูรับเหมากอสรางจะขอรับเงินประกันสัญญาหรือตนฉบับหนังสือสัญญาคํ้าประกัน คืนไดหรอื ไม เม่อื ไร 1. สญั ญาซอ้ื ขาย สว นราชการจะคนื หลักประกันใหแ กผขู ายไดเมือ่ 1.1 ผูขายไดสงมอบสิ่งของตามสัญญาซื้อขายและไมปรากฏวาส่ิงของที่จัดซื้อเกิดการ ชาํ รุดบกพรองเพราะการใชง านตามปกติภายในกาํ หนดเวลาตามสัญญาซ้อื ขาย หรือ - 158 - 1.2 เกิดการชํารุดบกพรองภายในกําหนดเวลาตามสัญญาซ้ือขาย แตผูขายขายได จดั การแกไขส่ิงของทส่ี ง มอบใหอยูในสภาพใชงานไดต ามปกติ หรืออยใู นสภาพเรยี บรอยดีแลว หากผูขายไมจัดการแกไขส่ิงของตามสัญญาซ้ือขายใหอยูในสภาพใชงานไดดี ตามขอสัญญา ผูขายยอมตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามขอสัญญา จึงยังไมอาจคืนหลักประกันใหแกผูขายได สวน ราชการยอมมีสิทธินําเงินประกันมาหักออกจากคาเสียหายสวนหนึ่งไดหรือมีสิทธิฟองผูขายและ ธนาคารผคู าํ้ ประกนั ใหร ับผดิ ชดใชคาเสยี หายตามหนงั สอื สัญญาคํา้ ประกันได 2. สัญญาจา ง หลักประกนั คนื ไดเมือ่ 1. ผูขายหรือผูรับจางผิดสัญญา และมีการชําระเงินที่ตองรับผิดตามสัญญาคํ้าประกัน เรียบรอ ยแลว 2. ผูขายหรือผูรับจางพนขอผกู พันตามสัญญาแลว (สัญญาจางขอ 3 ขอ 4 และขอ 6) (สญั ญาซอื้ ขายขอ 9 ขอ 10 และขอ 11)

- 159 - (สําเนา) ที่ นร (กวพ) 1002/ว 42 สํานักนายกรฐั มนตรี ทําเนยี บรัฐบาล กทม.10300 15 กนั ยายน 2532 เรอ่ื ง วธิ ีปฏบิ ัตเิ พมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั การตรวจสอบความชาํ รุดบกพรองกอนการคนื หลกั ประกนั สญั ญา เรียน ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เน่ืองจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2521 และที่แกไขเพิ่มเติม มไิ ดกาํ หนดวิธีการดําเนินการกอนการคืนหลักประกันสัญญาใหแกผูขายหรือผูรับจาง ทําใหเกิดปญหา ในทางปฏบิ ัติ คณะกรรมการวาดวยการพัสดุอาศัยอํานาจตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย การพัสดุ พ.ศ. 2521 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม ขอ 8 ตรี (5) จึงกําหนดแนวทางปฏิบัติ เรื่อง การดูแล

บํารุงรักษา และตรวจสอบความชํารุดบกพรองของพัสดุที่อยูในระหวางการรับประกันกอนการคืน หลักประกันสญั ญา ดังน้ี 1. ใหหัวหนาหนวยงานผูครอบครองพัสดุ หรือผูท่ีไดรับมอบหมายมีหนาที่ รับผิดชอบดแู ลบาํ รุงรกั ษาและตรวจสอบความชํารุดบกพรองของพัสดุ เวนแตกรณีท่ีไมมีผูครอบครอง หรือมีหลายหนวยงานครอบครอง ใหหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุมีหนาท่ีรับผิดชอบดูแลบํารุงรักษา และ ตรวจสอบความชํารดุ บกพรองของพัสดนุ ้ัน 2. ในกรณีท่ีปรากฏความชํารุดบกพรองของส่ิงของหรืองานจางภายในระยะเวลาของ การประกันความชํารุดบกพรองตามสัญญา ใหผูมีหนาท่ีรับผิดชอบตามขอ 1 รีบรายงานหัวหนาสวน ราชการเพื่อแจงใหผูขายหรือผูรับจางดําเนินการแกไขซอมแซมทันที พรอมกับแจงใหผูค้ําประกัน (ถา มี) ทราบดว ย /. กอนสน้ิ สุดระยะเวลา… - 160 - 3. กอนสิ้นสุดระยะเวลาของการประกันความชํารุดบกพรองภายใน 15 วัน สําหรับ หลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันไมเกิน 6 เดือน หรือภายใน 30 วัน สําหรับ หลกั ประกันสัญญาท่มี รี ะยะเวลาของการประกันต้ังแต 6 เดือนขึ้นไป ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบตรวจสอบ ความชํารุดบกพรองของพัสดุ และรายงานใหหัวหนาสวนราชการทราบอีกครั้งหนึ่งหากปรากฏวามี ความชํารุดบกพรอง ใหหัวหนาสวนราชการรีบแจงใหผูขายหรือผูรับจางมาดําเนินการแกไข หรือ ซอมแซมกอนส้ินสุดระยะเวลาของการประกันความชํารุดบกพรอง ตามหลักประกันสัญญา พรอมกับ แจง ใหผ ูคา้ํ ประกัน (ถาม)ี ทราบดวย ท้ังน้ี ใหเจาหนาที่พัสดุแจงกําหนดระยะเวลาการประกันความชํารุดบกพรอง ตามหลักประกันสัญญา ใหหัวหนาหนวยงานหรือหัวหนาเจาหนาท่ีพัสดุทราบพรอมกับการสงมอบ พสั ดทุ กุ ครัง้ จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ และแจงใหสวนราชการในสังกัดทราบและถือปฏิบัติ ตอไปดวย ขอแสดงความนับถอื

(ลงนาม) กมล สนธิเกษตรนิ (นายกมล สนธเิ กษตรนิ ) รองปลดั สาํ นักนายกรฐั มนตรี ปฏิบัตริ าชการแทน ปลดั สํานกั นายกรฐั มนตรี คณะกรรมการวาดว ยการพัสดุ ฝายเลขานุการ โทร. 2829412 - 161 - การเบิกจา ยเงนิ คา จางกอสรางและคา พสั ดุตามสัญญาจา ง กรณีตวั อยา ง สญั ญาจางปรับปรุงบทางระบายนํ้าระบุคางาน และการจายเงินโดยถือราคาเหมา รวมชนิดไมปรับราคาเปนเกณฑ เมื่อผูรับจางไดทําการกอสรางงานจางตามท่ีกําหนดไวในแบบแปลน แลว ผวู าจา งกต็ อ งจายเงนิ เตม็ จํานวนตามสัญญา แมจะปรากฏวาการกอสรางตามสภาพพื้นท่ีจริงความ ยาวของทอระบายน้ําจะสั้นกวาแบบแปลนก็ตาม ผูวาจางก็ไมอาจหักเงินคาจางสวนเนื้องานที่ลดลงได (ขอ หารือตามคาํ วนิ จิ ฉัยสํานักงานอยั การสูงสดุ ท่ี 44/2535) กรณีตัวอยาง การจางรายน้ีเปนการจางเหมา เม่ือผูรับจางสรางรั้วตามแนวเขตที่ระบุไวในผัง บริเวณแนบทายสัญญาถูกตองทุกประการแลว แมจะวัดความยาวของรั้วไดมากกวาหรือนอยกวา 885 เมตร ดังระบุไวในสัญญาจางก็ตาม ถือวาผูรับจางไดทํางานเสร็จตามสัญญา ผูวาจางตองจายเงินคาจาง เต็มตามสัญญา(ขอหารือตามคาํ วินจิ ฉยั สาํ นกั งานอยั การสงู สุด ที่ 119/2534) กรณตี ัวอยา ง สาํ นักนายกรัฐมนตรีทําสัญญาจาง หจก. ถ.ทําการกอสรางอาคารกําหนดการแบง การจายคาจางออกเปน 10 งวด งวดที่ 1 กําหนดวา ”งวดที่ 1 เปนจํานวนเงิน 800,000 บาทเม่ือผูรับจาง ไดปฏิบัติงานทําการถมดินปรับระดับแลวเสร็จ” ตอมาผูรับจางไดสงมอบงาน งวดท่ี 1 คณะกรรมการ

ตรวจการจางไดทําการตรวจรับงานแลวเห็นวางานงวดที่ 1 เสร็จเรียบรอยตามสัญญา แตเม่ือพิจารณา ปริมาณงานถมดินปรบั ระดับคิดเปนเงินไดเพียง 286,239 บาท ดังน้ีจะเบิกจายเงินคาจางใหแกผูรับจาง อยางไร สํานักงานอัยการสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวาสัญญาจางดังกลาวเปนการจางเหมาท้ังคาจาง คา แรงงาน คาวัสดุ เคร่ืองมือ เครื่องใชอุปกรณตางๆและกําหนดจายเงินเปนงวดๆ ตามสัญญาขอ 4 และ ขอ 1 ซึง่ กําหนดอัตราท่แี นน อนถือราคาเหมารวม โดยมไิ ดกําหนดการจา ยคาจางตามปรมิ าณงานที่ตรวจ รับไดจริง ดังน้ี ผูวาจางตองจายคาจา งงวดท่ี 1 ใหแกผูรับจางเปนเงินจํานวน 800,000 บาท ตามสัญญา ขอ 4 (ขอ หารอื ตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสดุ ท่ี 37/2538 และที่ 10/2538) การโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญา การทาํ สัญญาซ้ือขายพสั ดุ ครภุ ณั ฑ หรอื สญั ญาจาง กอ สรา งอาคารสิ่งปลูกสราง โดยหลักสวน ราชการ มีหนาท่ีชําระราคาสิ่งของที่จัดซ้ือ หรือชําระเงินคาจางกอสรางใหแกบริษัทหางราน ซ่ึงเปน - 162 - ผูขายหรือผูรับจางโดยตรง แตบางกรณีผูขายหรือผูรับจางอาจโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินราคาสินคา หรือคาจางกอสรางใหแกบุคคลนอกสัญญาเชน ธนาคาร นิติบคุ คลหรือบุคคลอ่ืนได ตามนัยมาตรา 306 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หากมีการโอนสิทธิเรียกรองเงินคา จางกอสรางหรือราคาสินคา ใหแกบุคคลภายนอกแลว สวนราชการมีหนาที่ชําระหนี้แกผูรับโอนสิทธิเรียกรองโดยตรง เชน กรมอาชีวศึกษา โดยนายเอก ผูอํานวยการวิทยาลัย ไดทําสัญญาจางหางหุนสวน จํากัด โท ทําการ กอสรางอาคาร 1 หลัง ราคางานจาง 2 ลานบาท ตอมาหางผูรับจางไดโอนสิทธิเรียกรองการรับเงิน คาจางกอสรางท้ังหมดใหแกธนาคารตรี เม่ือผูรับจางทํางานจางตามสัญญาแลว สถานศึกษามีหนาที่ ตองชําระเงินคาจางกอสรางที่ผูรับจางมีสิทธิไดรับจากทางราชการใหแกธนาคารตรี ผูรับโอนสิทธิ เรียกรอง เทา น้ันหากมีการชําระหน้ีใหแกผูรับจาง เปนการชําระหนี้แกบุคคลซ่ึงไมมีอํานาจรับชําระหน้ี ธนาคารตรยี งั มสี ิทธิเรยี กรองใหกรมอาชีวศึกษาชําระหน้ีแกธนาคารไดอีกครั้งหนึ่ง กรมไมอาจยกเรื่อง การชําระหน้ีใหแกหางผูรับจางมาปฏิเสธธนาคารตรีได เคยมีตัวอยางในสถานศึกษาบางแหง ไดชําระ เงินคาสินคาหรือคาจางใหแกผูขายหรือผูรับจางภายหลังการโอนสิทธิเรียกรองใหแกธนาคารหรือผูรับ โอนไปแลว ผูรับเงินไมนําเงินไปชําระแกธนาคารผูรับโอน สิทธิเรียกรองหรือรับเงินคาจางกอสราง งวดใดงวดหนงึ่ แลว หา งผูรับจางละท้งิ งานจา งโดยนาํ เงนิ คาจา งทรี่ ับแทนธนาคารหลบหนไี ป กอใหเกิด

ความเสียหายแกทางราชการ เปนเงินจํานวนมาก ซึ่งบุคคลผูมีหนา ท่ีเก่ียวของในการอนุมัติจายเงินแกผู ไมมีสิทธิรับเงิน อาจจะตองรับผิดชดใชคาเสียหายแกทางราชการ ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบความ รับผิดชอบทางละเมิดของเจาหนาที่ อนึ่งการโอนสิทธิเรียกรอง จะมีผลสมบูรณซง่ึ สถานศึกษามีหนาท่ี ตองชําระเงินราคาสินคาหรือคาจางกอสรางใหแกธนาคารผูรับโอนไดตองประกอบดวยเอกสารท้ังสอง รายการดงั ตอ ไปนี้ 1. หนังสือสัญญาโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินระหวางบริษัทหางราน ผูขายหรือผูรับจาง กบั ธนาคาร (ผรู ับโอนสิทธิเรียกรอ ง) 2. หนังสือที่หางรานผูขายหรือผูรับจาง บอกกลาวมายังสวนราชการวาไดโอนสิทธิเรียกรอง ตามสัญญาใหแกผูรับโอนแลว ควรตรวจสอบวาการโอนสิทธิเรียกรองวามีผลสมบูรณตามกฎหมาย หรือไมจากหลักฐานดงั น้ี - 163 - 1. หนังสอื สญั ญาโอนสิทธเิ รียกรอง 1.1 ผูมีอํานาจลงนามในสัญญาฝายผูโอนสิทธิเรียกรอง (ผูขาย, ผูรับจาง) และฝายผูรับ โอนสิทธิเรียกรอง เปนผูมีอํานาจลงนามในสัญญาโอนสิทธิเรียกรองแทนคูสัญญาหรือไม โดยตรวจสอบจากหลักฐานหนงั สือรบั รองการจดทะเบยี นเปนนติ บิ ุคคลของคูส ัญญาทง้ั สองฝาย 1.2 กรณีการมอบอํานาจใหลงนามในสัญญาโอนสิทธิเรียกรอง ผูมอบอํานาจจะตอง เปน ผูมีอาํ นาจลงนามในสัญญาโอนสิทธิเรยี กรอ งดว ยจงึ มอบอํานาจใหบ ุคคลอืน่ ลงนามแทนได 1.3 คูสัญญามีขอจํากัดอํานาจของบุคคลผูเปนกรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือผูมี อํานาจกระทําการแทนไวเปนพิเศษอยางอ่ืนดวยหรือไม เชน ตองมีกรรมการลงลายมือชื่อสองคนจึงมี ผลผูกพัน บางกรณีกําหนดไววาใหประทับตราของบริษัท หางราน นิติบุคคล กํากัดลายมือช่ือของ บุคคลผูเปนกรรมการผูจัดการ ผูจัดการดวยจึงมีผลสมบูรณ โดยตรวจสอบอํานาจดังกลาวจาก หลักฐานการจดทะเบยี นเปน นิติบุคคล 1.4 สัญญาโอนสิทธิเรียกรองไดโอนเงินราคาสินคาหรือคาจางกอสรางทั้งหมด หรือ เพียงบางสวน งวดใดงวดหนึ่งหรือคาจางทุกงวด เงินที่มีการโอนสิทธิเรียกรองจํานวนเทาใดตอง กําหนดไวใ หช ดั เจน

1.5 การโอนสิทธิเรียกรองกรณีมีการแบงชําระหน้ีหลายงวด คงมีผลผูกพันเฉพาะงวด ท่ีสวนราชการ มีหนาท่ีตองชําระแกผูขายหรือผูรับจาง ภายหลังท่ีไดรับหนังสือบอกกลาวจากผูโอนวา ไดโ อนสทิ ธเิ รียกรอ งใหแ กผูรบั โอนสทิ ธิเรียกรองแลว เทานั้น 2. หนงั สอื บอกกลา วการโอนสทิ ธเิ รยี กรอ ง 2.1 หนังสือท่ีบริษัท หาง ราน (ผูขายหรือผูรับจาง) บอกกลาวมายังสถานศึกษาผูมี อํานาจลงนามในหนังสือดังกลาวตองเปนบุคคลท่ีมีอํานาจลงนามแทนบริษัท หางราน ตามที่กําหนด ไวใ นขอ 1.1 - 1.3 ดวย 2.2 แมหนังสอื บอกกลา วเรอ่ื งการโอนสทิ ธิจะกําหนดไววาใหกรมตอบแจง ไมขัดของ เร่ืองการโอนสิทธิเรียกรองก็ตาม แตสถานศึกษาไมตองดําเนินการตอบรับทราบเร่ืองการโอนสิทธิไป ยังผูโอนหรือผูรับโอนอีก ทั้งนี้กระทรวงการคลัง ไดมีหนังสือที่ กค 0502/47729 ลงวันที่ 20 พฤศจิกายน 2524 แจงเรื่อง วิธีปฏิบัติเก่ียวกับการโอนสิทธิเรียกรองในเงินคาซ้ือทรัพยสินและจางทํา ของวา ขอ 1 เมือ่ สวนราชการไดร ับหนงั สือบอกกลาวการโอนสิทธิเรียกรองในเงินคาซ้ือทรัพยสินหรือ - 164 - คาจางทําของ ใหสวนราชการสงสําเนาหนังสือบอกกลาวการโอนสิทธิการรับเงินคาซื้อทรัพยสินหรือ คาจางทําของดังกลาวใหกรมสรรพากรหรือสํานักงานสรรพากรจังหวัด แลวแตกรณีเพ่ือทราบ (สว นราชการไมตองแจง ความยินยอมในการโอนสทิ ธเิ รียกรอ งใหผ ูรับโอนทราบ) การโอนสทิ ธิเรียกรอง ผูโอนหรือผรู บั โอนคนใดคนหนึ่งจะเปนผูทาํ หนงั สือบอกกลาว แจงการ โอนสิทธไิ ปยังลกู หนี้ได (ขอ หารือตามคาํ วนิ ิจฉยั กรมอยั การที่ 17/2530) การโอนสิทธเิ รยี กรอ งตามสัญญาจา งและสัญญาซื้อขาย ตอ งมหี ลักฐาน 1. สญั ญาโอนสทิ ธิเรียกรอ งระหวา งผโู อน (ผขู ายหรือผรู บั จาง) และผรู ับโอนสิทธเิ รียกรอ ง 2. มหี นังสือบอกกลา วการโอนมายังหนวยงาน หรอื สวนราชการแลว การปฏิบัติ 1. ไมต องมีหนงั สอื ตอบรบั ทราบเร่อื งการโอนสทิ ธิเรียกรอ ง 2. ชําระราคาหรอื คา จางแกผ รู ับโอนสทิ ธหิ รือผูร บั มอบอาํ นาจ 3. ผูร บั โอนสทิ ธิตามสัญญาออกใบเสร็จรบั เงนิ

- กรณีผูโอนมีหนังสือบอกกลาวการโอนมายังสถานศึกษาวาไดโอนสิทธิเรียกรองแลว และ ผูรับโอนไดมีหนังสือแจงวาไดโอนสิทธิแลว การโอนสิทธิไมสมบูรณเพราะไมมีสัญญาการโอนสิทธิ (ตามขอ 1) กรณีตัวอยาง ธนาคารทหารไทย จํากัด ขอใหกรมอาชีวศึกษาจายเงินจํานวน 250,000 บาท ใหแกธนาคาร เน่ืองจากหางหุนสวนจํากัด บ. ไดโอนสิทธิเรียกรองจํานวนเงินนี้ใหแกธนาคารแลว แตธนาคารไมสามารถติดตามหางหุนสวนจํากัด บ. มารับเงินและออกใบเสร็จรับเงินใหแกกรม อาชวี ศึกษาได ธนาคารจะขอรับเงินและออกใบเสร็จรบั เงนิ ใหแกทางราชการไวแทนหางหุนสวนจํากัด บ. ไดหรือไม ในเมื่อปรากฏตามหนังสือของหางหุนสวนจํากัด บ. เร่ืองการโอนสิทธิเรียกรองระบวุ า “ในการนี้หางหุนสวนจํากัด บ. จะเปนผูออกใบเสร็จรับเงินจํานวนดังกลาวตามระเบียบปฏิบัติของทาง ราชการทกุ ประการ กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา สิทธิเรียกรองของหางหุนสวนจํากัด บ. ไดโอนไปยังธนาคาร ทหารไทย จํากัด เม่ือธนาคารไดรับจํานวนเงินตามสิทธิเรียกรองท่ีไดรับโอนมา ก็ชอบที่ธนาคารจะได ออกใบเสร็จรับเงินใหกรมอาชีวศึกษาไวเปนหลักฐานตามประมวลรัษฎากรมาตรา 105 พ.ร.บ. แกไข - 165 - เพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2504 มาตรา 10 แตขอความในใบเสร็จรับเงินนั้นจะตอง ปรากฏเรื่องการรับโอนสิทธิเรียกรองรายนี้ไว โดยระบุเลขท่ี วัน เดือน ป ของหนังสือเก่ียวกับการโอน และยนิ ยอมการโอนใหปรากฏไวด ว ย (ขอหารอื ตามคาํ วินจิ ฉัยกรมอยั การท่ี 44/2518) โอนสทิ ธิเรียกรอ งแลว แตจ า ยเงนิ แกผูโอนสทิ ธิเรียกรอ งจะมีผลอยา งไร กรณีตัวอยาง กระทรวงสาธารณสุข ทําสัญญาซื้อขายครุภัณฑกับบริษัท ท. ตอมาธนาคาร ก. ไดมีหนังสือแจงวาบริษัท ท. ไดโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินตามสัญญาท้ังหมดใหแกธนาคาร ก. แลว กระทรวงสาธารณสุขไดมีหนังสือแจงไมขัดของใหธนาคาร ก. ทราบแลวตอมากระทรวงสาธารณสุข ไดรับมอบส่ิงของตามสัญญาแลว แตไมไดจายเงินใหกับธนาคาร ก. ตามท่ีมีการแจงโอนสิทธิไว โดย จา ยเงนิ ใหก ับบริษทั ท. ดังน้ีธนาคาร ก. จะเรยี กใหกระทรวงสาธารณสขุ ชาํ ระหนีต้ ามสญั ญาไดห รอื ไม กรมอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นวา เม่ือการโอนหน้ีสมบูรณแลว ธนาคารผูรับโอนยอมเขา มาเปนเจาหนี้แทนผูโอน (บริษัท ท.) การที่ลูกหนี้ (กระทรวงสาธารณสุข) ชําระหนี้ใหแกผูโอน ซึ่ง หมดอํานาจรบั ชาํ ระหนไ้ี ปโดยธนาคารมไิ ดใหส ัตยาบัน การชาํ ระหน้ีน้ัน ยอมไมสมบูรณ ลูกหนี้ยังตอง

รับผิดชําระหนี้ใหแกธนาคารผูรับโอน แตกระทรวงสาธารณสุขอาจเรียกเงินคืนจากผูโอนในฐานเปน ลาภมิควรไดภายในกําหนดอายุความ ธนาคารผูรับโอนมีสิทธิเรียกใหกระทรวงสาธารณสุขชําระหนี้ ตามสัญญาซ้ือขายได (ขอ หารอื ตามคําวนิ จิ ฉัยกรมอยั การท่ี 104/2522) กรณีตัวอยาง หางผูรับจางไดแจงการโอนสิทธิเรียกรองในการรับเงินคาจางกอสราง ตามสัญญาใหกับธนาคาร ก. เมื่อกระทรวงสาธารณสุข ลูกหน้ีไดรับทราบการโอนหนี้และคําบอก กลาวการโอนหน้ี ซึ่งไดทําเปนหนังสือแลว ผูรับโอนยอมเปนเจาหน้ีโดยสมบูรณ แมกระทรวง สาธารณสุขจะไมไดยินยอมในการโอนหนี้ดวยก็ตาม ก็ไมทําใหการโอนหนี้น้ันไมสมบูรณอยางใด กระทรวงสาธารณสุข ตองชําระคาจางแกธนาคาร ก. ผูรับโอนหนี้โดยตรงตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยมาตรา 315 จะชําระหน้ีใหแกหางผูรับจางหาไดไม (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรมอัยการ ที่ 142/2522) - 166 - ปญ หาโอนสทิ ธเิ รยี กรองกันแลว ตอมาผโู อน และผูรบั โอนไดม หี นงั สอื แจงยกเลกิ การโอนสิทธิดังนี้ จะมี ผลอยางไร กรณตี วั อยาง กรมทางหลวงไดทําสัญญาจางบริษทั ห. ทําการปรับปรุงทางหลวงราคางานจาง 5 ลา นบาท ตอมาบริษัทผูรับจางไดมีหนงั สอื แจง วา ไดโ อนสทิ ธิคา งานตามสัญญาใหแกธนาคาร ก. แลว โดยสงสําเนาสัญญาโอนสิทธมิ าให ตอมาภายหลังผูรับจางและธนาคาร ก. ตางมีหนังสือขอยกเลิกการ โอนสิทธิเรียกรองมายังกรมทางหลวง จึงมีปญหาวาการแจงยกเลิกการโอนสิทธิเรียกรองของบริษัท ห. และธนาคาร ก. จะมีผลตามกฎหมายอยา งไร กรมอัยการพิจารณาแลวเห็นวา หนังสือแจงการยกเลิกการโอนสิทธิเรียกรองของบริษัท ห. และธนาคาร ก. ไมมีผลตามกฎหมายในอันที่จะทําใหสิทธิเรียกรองท่ีไดโอนกันไปโดยสมบูรณแลว กลับไปเปนของบริษัท ห. อีก เพราะการท่ีจะโอนสิทธิเรยี กรองดังกลาวโอนกลับไปเปนของบริษัท ห. อีกนัน้ จะตองทําเปนหนังสือกนั ใหม จึงจะมีผลสมบรู ณและตอ งแจงการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวให ลูกหนี้ทราบ จึงจะใชยันลูกหน้ีหรือบุคคลภายนอกได ตามนัยมาตรา 306 แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย

หมายเหตุ การโอนสิทธิเรียกรองจะมีผลสมบูรณเม่ือไดทําเปนสัญญาโอนสิทธิเรียกรอง ระหวางผูโอนสิทธิและผูรับโอนสิทธิ เม่ือผูรับจางไดทําสัญญาโอนสิทธิเรียกรองใหธนาคารแลว หากธนาคารจะยกเลิกการโอนสทิ ธิรบั เงนิ ใหแกผ รู บั จางตามเดมิ ก็ตอ งทําเปนสัญญาโอนสิทธิเรียกรอง ระหวา งธนาคาร ผูโอนสิทธิ กับบริษัทผูรับโอนสิทธิอีกคร้ังหนึ่ง การมีหนังสือยกเลิกการโอนสิทธิไม มีผลสมบูรณตามกฎหมาย กรณีตัวอยา ง ธนาคาร ก. ไดมีหนังสอื แจง กรมทางหลวงวา หางหุนสวนจํากัด อ. ไดโอนสิทธิ เรียกรองการรับเงนิ คาสินคาจากกรมทางหลวงตามสัญญาซ้ือขายใหธนาคาร ก. แลว ขอใหกรมทาง หลวงตอบยืนยันการรับโอนสิทธิเรียกรองดังกลาว แตปรากฏตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองวา หางฯ มีหนาท่ีแจงใหกรมทางหลวงรับทราบและยินยอมดวยเปนลายลักษณอักษร แตหางยังมิไดมีหนังสือ บอกกลาวมายงั กรมทางหลวง คงมีแตธ นาคาร ก. เปน ผูบอกกลาวเทานั้น คงมีปญหาวาการที่ธนาคาร ก. บอกกลาวการโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาซื้อขายมายังกรมทางหลวงจะมีผลสมบูรณตามกฎหมาย หรอื ไม - 167 - กรมอยั การพิจารณาแลว มีความเหน็ วา 1. ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 306 มิไดบัญญัติวาใครมีหนาที่ตองบอกกลาว การโอนสิทธิเรียกรอง ดังน้ันท้ังผูโอน ผูรับโอน ซ่ึงเปนคูกรณีในการโอน จึงยอมมีสิทธิบอกกลาว การโอนสิทธิเรียกรองไดตามนัยคําพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5/2479 แมหนังสือโอนสิทธิเรียกรองระหวาง หางกับธนาคาร จะกําหนดใหหางผูโอนมีหนาท่ีแจงใหกรมทางหลวงรับทราบก็หาตัดสิทธิธนาคารฯ ผรู บั โอนท่ีจะบอกกลา วการโอนมายงั กรมทางหลวงไม เพราะธนาคารผูรบั โอนมไิ ดสละสทิ ธิน้นั 2. การบอกกลาวการโอน แมสาขาธนาคารจะเปนผูบอกกลาวก็ถือไดแลววา เปนการบอก กลาวโดยธนาคาร ผูรับโอน เพราะสาขาก็เปนสวนหน่ึงของธนาคารน้ัน (ขอหารือตามคําวินิจฉัยกรม อยั การ ท่ี 20/2521) คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ. ๔๒๑/๒๕๒

ผฟู อ งคดี ไดท าํ สญั ญาเลขที่ ๑๗/๒๕๔๕ จา งหา งหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ทํางาน กอสรางอาคารสํานักงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๔ จํานวน๔ช้ันเปนเงินท้ังสิ้นจํานวน ๕๖,๐๓๐,๐๐๐ บาท และ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดทําสัญญาเลขที่ ๙/๒๕๔๗ จางหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ทํางาน ตกแตงภายในอาคารดังกลา วพรอ มจัดหาครภุ ณั ฑป ระจําหองตางๆ เปนเงิน ๑๓,๔๔๗,๙๐๙ บาท ตอมา หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดทําสัญญาฉบับลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ โอนสิทธิ เรียกรองในการรับชําระหน้ีคาจางกอสรางอาคาร จํานวน ๕๖,๐๓๐,๐๐๐ บาท ใหแกผูฟองคดี และทํา สัญญาฉบับลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ โอนสิทธิเรียกรองในการรับชําระหนี้คาจางตกแตงอาคาร จํานวน ๑๓,๔๔๗,๙๐๙ บาท ใหแกผูฟองคดี ตอมา ผูฟองคดีไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ และลงวันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ แจงการโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาท้ังสองฉบับดังกลาวใหผูถูก ฟองคดีท่ี ๔ ทราบ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดมีหนังสือแจงผูฟองคดีวาไดรับทราบการโอนสิทธิเรียกรอง การรับเงินดังกลาวแลว หลังจากน้ัน หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดดําเนินการกอสราง และตกแตงอาคารตามสัญญาท้ังสองฉบับ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดชําระเงินคาจางตามสัญญาใหแกผู ฟองคดีตลอดมา ตอมาหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดมีหนังสือลงวันท่ี ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๗ แจงไปยังผูถูกฟองคดีท่ี ๔ วาขอยกเลิกสัญญาโอนสิทธิเรียกรองการชําระหนี้คาจางกอสราง อาคารตาม - 168 - สัญญาโอนสิทธิเรียกรองฉบับลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๕ โดยขอใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ชําระหนี้ คาจางกอสรางอาคารสวนท่ีเหลือใหแกหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ไดชําระเงินคาจางกอสรางอาคารต้ังแตงวดท่ี ๑๔ ถึงงวดที่ ๑๖ ใหแกหางหุนสวนจํากัด หาดใหญ ประมวลกิจ เปนเงินรวม ๑๖,๔๐๗,๕๙๙.๕๕ บาท นอกจากนั้น หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวล กิจ ไดมีหนังสอื ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๗ แจง ผูถ ูกฟองคดีที่ ๔ วาขอยกเลิกสัญญาโอนสิทธิเรียกรอง การชําระหน้คี าจา งตกแตง อาคารตามสญั ญาโอนสิทธิเรียกรองฉบับลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ ที่มีอยู กับผูฟองคดี โดยขอใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ ชําระหนี้คาจางตกแตงอาคารสวนที่เหลือใหแกหางหุนสวน จํากัด หาดใหญประมวลกิจ หลังจากนั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดชําระหนี้คาจางตกแตงอาคารสวนที่เหลือ ใหแกห างหุน สว นจํากัด หาดใหญป ระมวลกิจ เม่ือวนั ที่ ๕ เมษายน ๒๕๔๗ เปนเงิน ๒,๒๔๘,๓๒๖.๐๖ บาท และเม่ือวันท่ี ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๗ เปนเงิน ๓,๗๓๐,๒๒๓.๗๓ บาท รวมเปนเงิน

๕,๙๗๘,๕๔๙.๗๙ บาท ผูฟองคดีเห็นวาการกระทําของผูถูกฟองคดีท้ังเจ็ดทําใหผูฟองคดีไดรับความ เดอื ดรอ นเสียหาย จงึ นําคดีมาฟองตอ ศาล ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวา แบบพิธีการโอนหนี้อันจะพึงตองชําระแก เจาหน้ีคนหน่ึงโดยเฉพาะเจาะจงตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญัติวา การโอนหนี้อันจะพึงตองชําระแกเจาหนี้คนหน่ึงโดยเฉพาะเจาะจงนั้น ถาไมทําเปนหนังสือ ท า น ว า ไ ม ส ม บู ร ณ อ นึ่ ง ก า ร โ อ น ห น้ี น้ั น ท า น ว า จ ะ ย ก ข้ึ น เ ป น ข อ ต อ สู ลู ก ห น้ี หรือบุคคลภายนอกได แตเมื่อไดบอกกลาวการโอนไปยังลูกหนี้หรือลูกหนี้จะไดยินยอมดวย ใ น ก า ร โ อ น น้ั น คํ า บ อ ก ก ล า ว ห รื อ ค ว า ม ยิ น ย อ ม เ ช น ว า นี้ ท า น ว า ต อ ง ทํ า เ ป น ห นั ง สื อ จากบทบัญญัติดังกลาวเห็นไดวา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๐๖ บัญญัติ แตเพียงวา การโอนสิทธิเรียกรองตองทําเปนหนังสือจึงจะสมบูรณ และการโอนนั้นจะยกข้ึน เปนขอตอสูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได แตเม่ือไดบอกกลาวการโอนไปยังลูกหน้ีหรือ ลู ก ห นี้ ยิ น ย อ ม ด ว ย ใ น ก า ร โ อ น น้ั น โ ด ย ไ ด ทํ า คํ า บ อ ก ก ล า ว ห รื อ ค ว า ม ยิ น ย อ ม เ ป น ห นั ง สื อ มไิ ดบญั ญัติวาหนังสือโอนสิทธิเรียกรองน้ันจะตองลงลายมือช่ือของผูโอนกับผูรับโอน ดังนั้น การโอน สิ ท ธิ เ รี ย ก ร อ ง ที่ ไ ด ทํ า เ ป น ห นั ง สื อ ล ง ล า ย มื อ ช่ื อ ผู โ อ น ฝ า ย เ ดี ย ว จึ ง เ ป น ก า ร ส ม บู ร ณ หาจําตองลงลายมือช่ือผูรับโอนดวยไม เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวล - 169 - กจิ ไดทาํ สญั ญาโอนสิทธเิ รียกรองในการรบั เงินตาม สัญญาเลขท่ี ๙/๒๕๔๗ แกผ ูฟ อ งคดี โดยมีหุนสวน ผจู ดั การของหางหุนสวนจาํ กดั เปน ผลู งลายมือชื่อและประทับตราของหางในฐานะผูโอน และผูฟองคดี ไดมหี นังสือลงวันเดียวกันแจงการโอนสิทธิเรียกรองในการรับเงินดังกลาวตอผูถูกฟองคดีท่ี ๕ เพื่อทราบ และขอใหมีหนังสือยืนยันรับทราบการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาว ซ่ึงตอมาวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ ผู ถูกฟองคดีที่ ๔ ไดมีหนังสือถึงผูฟองคดีแจงวาไดรับทราบการโอนสิทธิเรียกรองการรับเงินดังกลา ว ดังน้ัน การโอนสิทธิเรียกรองตามหนังสือสัญญาลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ ใหแกผูฟองคดีจึงมีผลสมบูรณ และมีผลผูกพันหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ผูถูกฟองคดีที่ ๔ และผูฟองคดี ตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แลว กรณีไมจําตองพิจารณาวาผูฟองคดีใน ฐานะผูรับโอนจะลงลายมือช่ือครบถวนถูกตองตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัทหรือไม และเมื่อ สิทธิเรียกรองของหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ในการรับเงินคาจางจากผูถูกฟองคดีท่ี ๔ ตก

เปนของผูฟองคดีตั้งแตน้ันแลว หางดังกลาวยอมหมดสิทธิที่จะรับเงินคาจางดังกลาวอีกตอไป ท้ัง ภายหลงั จากนัน้ หางดังกลาวหามสี ิทธิท่ีจะเพิกถอนการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวไดไม ดังน้ัน หนังสือขอ ยกเลิกการโอนสิทธิเรียกรอง ลงวันท่ี ๑๖ มีนาคม ๒๕๔๗ ที่หางดังกลาวแจงใหผูถูกฟองคดีที่ ๔ จายเงิน คาจางในนามหางดังกลาวโดยมิไดรับความยินยอมจากผูฟองคดีนั้นจึงหามีผลแตอยางใดไม ท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๔ อุทธรณวา หนังสือสัญญาโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวผูฟองคดีลงลายมือชื่อไมครบ ตามหนังสือรับรองบริษัททําใหสัญญาดังกลาวไมสมบูรณและไมมีผลผูกพันผูถูกฟองคดีท่ี ๔ น้ัน จึงฟง ไมขึ้น เม่ือ การโอนสิทธิเรียกรองในการรับเงินคาจางระหวางหางหุนสวนจํากัด หาดใหญ ประมวลกิจ กับผูฟองคดี ไดมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑในการโอนสิทธิเรียกรองตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย โดยไดมีการทําหนังสือสัญญาโอนสิทธิเรียกรอง รวมท้ังไดบอกกลาวการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวเปนหนังสือไปยังผูถูกฟองคดีท่ี ๔ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดร ับทราบการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวแลว การโอนสิทธิเรียกรองจึงมีผลสมบูรณตามกฎหมาย การที่ผูถูก ฟองคดที ่ี ๔ ชาํ ระเงินคา จา งบางสวนใหแกหา งดังกลาวจงึ เปนการกระทาํ ผิดสัญญาโอนสิทธิเรียกรองจึง ตองรบั ผิดชดใชคาเสียหายใหแกผ ูฟ องคดี - 170 - คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๔๒๐/๒๕๕๒ หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดทําสัญญารับจางทํางานกอสรางลานคา ชุมชนเพ่ือการเกษตรและการประมง กับผูถูกฟองคดีที่ ๖ ตามสัญญาเลขท่ี ๑/๒๕๔๖ ลงวันท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ เปนเงินท้ังสิ้นจํานวน ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท กําหนดการจายเงินเปนงวดๆ จํานวน ๖ งวด และในวันเดียวกัน หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดทําสัญญาโอนสิทธิเรียกรองในเงินคาจาง กอสรางตามสัญญาดังกลาวใหแกผูฟองคดี และผูฟองคดีไดแจงใหผูถูกฟองคดีท่ี ๖ ทราบตามหนังสือลง วันท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ ตอ มา เม่อื หา งหุนสวนจาํ กัด หาดใหญป ระมวลกิจ ไดส งมอบงานงวดท่ี ๑ -๔ ใหแ กผถู กู ฟองคดีท่ี ๖ แลว ผูถูกฟองคดีที่ ๖ ไดชําระเงินใหแกผูฟองคดีโดย ผูฟองคดีไดมอบอํานาจให นางวันดี พูลศิริ ซ่ึงเปนหุนสวนผูจัดการของหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ เปนผูรับเงิน ทุก

ครั้ง ตอมา หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดมีหนังสือ ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๗ ถึงผูถูก ฟองคดีที่ ๖ ในนามผูถูกฟองคดีท่ี ๗ ขอยกเลิกการโอนสิทธิเรียกรองที่มีกับผูฟองคดี และใหผูถูกฟอง คดีท่ี ๖ จายเงินในนามหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ เนื่องจากผูฟองคดีซ่ึงเปนผูรับโอนสิทธิ เรียกรองไดผิดสัญญากับหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ผูโอนสิทธิเรียกรอง ตอมา เมื่อหาง หุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดสงมอบงานงวดที่ ๕ และงวดท่ี ๖ แลว ผูถูกฟองคดีที่ ๖ ไดชําระ เงินงวดที่ ๕ จํานวน ๒,๔๕๐,๐๐๐ บาท เม่ือวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๗ และชําระเงินงวดสุดทาย จํานวน ๔,๙๐๐,๐๐๐ บาท เม่ือวันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๗ใหแกหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ผูฟอง คดีเห็นวา การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๖ ชําระเงินงวดที่ ๕ และงวดสุดทายใหแกหางหุนสวนจํากัด หาดใหญ ประมวลกิจ โดยมไิ ดส อบถามขอ เทจ็ จริงจากผฟู อ งคดีในฐานะผรู ับโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวกอน เปน การฝาฝนระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ และหนังสือกระทรวงมหาดไทย เร่ือง วธิ ปี ฏบิ ัตใิ นการจายเงนิ กรณีโอนสิทธิเรียกรองทําใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย จึงนําคดีมา ฟอ งตอ ศาล ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแลวเห็นวา แบบพิธีการโอนหน้ีอันจะพึงตองชําระแก เจาหน้ีคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญตั ิแตเ พียงวา การโอนสทิ ธิเรยี กรองตอ งทาํ เปนหนังสอื จงึ จะสมบรู ณ และการโอนน้ันจะยกข้ึนเปน ขอตอสูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได แตเม่ือไดบอกกลาวการโอนไปยังลูกหน้ีหรือลูกหน้ียินยอมดวย - 171 - ในการโอนน้ัน โดยไดทําคําบอกกลาวหรือความยินยอมเปนหนังสือ มิไดบัญญัติวาหนังสือโอนสิทธิ เรียกรองน้ันจะตองลงลายมือชื่อของผูโอนกับผูรับโอน ดังน้ัน การโอนสิทธิเรียกรองท่ีไดทําเปน หนังสือลงลายมือช่ือผูโอนฝายเดียวจึงเปนการสมบูรณหาจําตองลงลายมือชื่อผูรับโอนดวยไม เมื่อ ขอเท็จจริงปรากฏวา หางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจไดทําสัญญาโอนสิทธิเรียกรองในการรับ เงินเปน หนังสือลงวันท่ี ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ โอนสิทธเิ รยี กรอ งในเงนิ คาจา งตามสัญญาเลขที่ ๑/๒๕๔๖ ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ แกผูฟองคดี เปนจํานวนเงิน ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีนางวันดี พูลศิริ ซงึ่ เปนหนุ สวนผจู ดั การของหา งหุน สวนจาํ กัด หาดใหญป ระมวลกิจ เปนผูลงลายมือช่ือและประทับตรา ของหางในฐานะผูโอน ฝายผูฟองคดีมีนายพิชัย บุญสม ซ่ึงเปนกรรมการมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนผูฟองคดี เปนผูลงลายมือชื่อเพียงคนเดียวและประทับตราของผูฟองคดีในฐานะผูรับโอนและผูฟองคดีไดมีหนังสือแจง การโอนสิทธิเรียกรองในการรับเงินดังกลาวตอผูถูกฟองคดีที่ ๖ เพื่อทราบและขอใหมีหนังสือยืนยันใน

การโอนสิทธเิ รียกรองดงั กลา ว ซึ่งเมือ่ ผูถกู ฟองคดีที่ ๖ ไดรบั หนังสือดังกลา วแลวในเวลาตอมาผูถูกฟอง คดที ่ี ๖ ก็ไดชาํ ระเงนิ ตามสัญญาในงวดที่ ๑ ถงึ งวดท่ี ๔ ใหแ กผูฟอ งคดตี ลอดมานั้น เห็นวา เมื่อการโอน สิทธิเรียกรองระหวางผูฟองคดีกับหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ไดทําเปนหนังสือลงลายมือ ชื่อนางวนั ดี หนุ สว นผูจ ัดการของหา งดงั กลาวในฐานะผูโอนโดยถูกตองแลว ดังน้ัน การโอนสิทธิเรียกรอง ตามหนังสือสัญญา ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๔๖ ใหแกผูฟองคดีจึงมีผลสมบูรณและมีผลผูกพันหาง หุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ผูถูกฟองคดีที่ ๖ และผูฟองคดีตามมาตรา ๓๐๖ วรรคหน่ึง แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแลว กรณีไมจําตองพิจารณาวาผูฟองคดีในฐานะผูรับโอนจะลง ลายมือช่ือครบถวนถูกตองหรือไม และเมื่อสิทธิเรียกรองของหางหุนสวนจํากัด หาดใหญประมวลกิจ ในการรับเงินคาจางกอสรางจากผูถูกฟองคดีที่ ๖ ตกเปนของผูฟองคดีต้ังแตน้ันแลว ห า ง ดั ง ก ล า ว ย อ ม ห ม ด สิ ท ธิ ท่ี จ ะ รั บ เ งิ น ค า จ า ง ดั ง ก ล า ว อี ก ต อ ไ ป ทั้ ง ภ า ย ห ลั ง จ า ก นั้ น หางดังกลาวหามีสิทธิท่ีจะเพิกถอนการโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวไดไม ดังนั้น หนังสือขอยกเลิก การโอนสทิ ธเิ รียกรอง ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๔๗ ที่หางดังกลาวแจงใหผูถูกฟองคดีที่ ๖ จายเงินคาจาง ในนามหางดังกลาวโดยมิไดรับความยินยอมจากผูฟองคดีน้ันจึงหามีผลแตอยางใดไม ท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๖ อุทธรณวา สัญญาโอนสิทธิเรียกรองดังกลาวผูฟองคดีลงลายมือชื่อไมครบตามหนังสือรับรองบริษัททํา ใหส ัญญาดังกลาวไมส มบูรณแ ละไมม ผี ลบังคบั นั้นจึงฟงไมข้นึ ดังนั้น เมื่อผูฟองคดีเปนผูมีสิทธิไดรับเงินคาจางกอสรางตามสัญญาโอนสิทธิเรียกรองทั้งหมด การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๖ ชําระเงินคาจางกอสรางงวดที่ ๕ และงวดสุดทายใหแกหางดังกลาวจึงเปนการ - 172 - กระทําผิดสัญญาโอนสิทธิเรียกรองจึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี การที่ศาลปกครองช้ันตน พิพากษาใหผูถูกฟองคดีท่ี ๖ ชําระเงินจํานวน ๗,๗๔๒,๖๗๑.๒๓ บาท และชําระดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจํานวน ๗,๓๕๐,๐๐๐ บาท นับตั้งแตวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ ซ่ึงเปนวันถัดจาก วันฟอ งเปนตนไปจนกวา จะชาํ ระเสรจ็ แกผ ฟู อ งคดี การฟองคดีตามสัญญาซื้อขายและสัญญาจา ง การฟองคดีตามสัญญาซ้ือขายและสัญญาจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 และท่ีแกไขเพิ่มเติม เดิม การฟองคดีบังคับตามสัญญาเปนเร่ืองทางแพง ซ่ึงตองบังคับตาม ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ตอ มาไดม กี ารประกาศใชพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธี

พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 กฎหมายดังกลาวได บัญญัติคํานิยามคําวา สัญญาทางปกครอง ไววา หมายความรวมถึงสญั ญาทคี่ ูส ญั ญาอยา งนอ ยฝายใดฝายหนง่ึ เปน หนวยงานทางปกครอง หรือเปนบุคคล ซ่งึ กระทําการแทนรฐั และมลี กั ษณะเปนสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ใหจ ดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะ หรือจดั ให มสี ิง่ สาธารณปู โภค หรอื แสวงหาทรพั ยากรธรรมชาติ ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด คร้ังท่ี 6/2544 เม่ือวันพุธท่ี 10 ตุลาคม 2544 ไดกําหนดคําอธิบายเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองไววา “สัญญาใดจะเปนสัญญาทางปกครองตามท่ี บัญญัติไวในมาตรา 3 แหง พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 ไดนน้ั ประการแรกคูสัญญาอยางนอยฝายใดฝายหนึ่งตองเปนหนวยงานทางปกครอง หรือเปนบุคคล ซ่งึ ไดรบั มอบหมายใหก ระทาํ การแทนรัฐ ประการที่สอง สัญญาน้ันมีลักษณะเปนสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะ หรือจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค หรือแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ หรือเปนสัญญาที่หนวยงานทาง ปกครอง หรือบุคคลซึ่งกระทําการแทนรัฐตกลงใหคูสัญญาอีกฝายหนึ่งเขาดําเนินการหรือเขารวม ดําเนินการบริการสาธารณะโดยตรงหรือเปนสัญญาที่มีขอกําหนดในสัญญาซ่ึงมีลักษณะพิเศษที่แสดง ถึงเอกสิทธ์ขิ องรฐั ทงั้ น้เี พื่อใหก ารใชอ ํานาจปกครองหรือการดาํ เนินการกิจการทางปกครองซึ่งก็คือการ บริการสาธารณะบรรลุผล ดังน้ันหากสัญญาใดเปนสัญญาที่หนวยงานทางปกครอง หรือบุคคลซึ่ง กระทําการแทนรัฐมุงผูกพันตนกับคูสัญญาอีกฝายหนึ่งดวยใจสมัครบนพ้ืนฐานแหงความเสมอภาค และมไิ ดม ลี ักษณะเชน ทีก่ ลาวมาแลวขางตน สญั ญานัน้ ยอ มเปน สัญญาทางแพง ” - 173 - คงมีปญหาวาสัญญาใดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุฯท่ีจัดเปนสัญญาทาง ปกครองตามกฎหมายดังกลาว และอยูในอํานาจการพิจารณาคดีของศาลปกครอง มีแนวคําวินิจฉัยของ ศาลปกครองไวดังน้ี 1. สัญญาซอื้ ขายทีเ่ ปน สญั ญาทางปกครอง สัญญาซ้ือขายและติดตั้งระบบคอมพิวเตอรและประมวลผลระหวางกระทรวงสาธารณสุขกับ เอกชน เปนการซื้อเครือ่ งมือสาํ คัญท่ีจาํ เปนตอ การจัดทําบรกิ ารสาธารณะดา นการแพทยใหบรรลุผลและ เปนประโยชนโดยตรงตอประชาชนท่ีมาขอใชบริการดานการแพทย (คําส่ังศาลปกครองสูงสุดท่ี 726/2547)

สัญญาซ้ือขายที่ดินเพื่อสรางถนนตามพระราชกฤษฎีกาเวนคืนเปนการใชอํานาจทางปกครอง บังคับซ้ือท่ีดินเพื่อใชในการกอสรางถนนเปนการจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค (คําวินิจฉัยของ คณะกรรมการวินิจฉยั ช้ีขาดอํานาจหนาทรี่ ะหวา งศาลที่ 20/2547) สัญญาซ้ือขายเคร่ืองควบคุมความเร็วรอบและกําลังเคร่ืองยนตของรถจักรดีเซลไฟฟาของการ รถไฟแหงประเทศไทยเปนเคร่ืองมือหรืออุปกรณสําคัญท่ีจําเปนตอการจัดบริการสาธารณะดาน คมนาคมใหบรรลผุ ล (คาํ ส่ังศาลปกครองสงู สุดที่ 451/2550) สัญญาซื้อขายทไ่ี มเปน สัญญาทางปกครอง สัญญาซ้ือขายเคร่ืองคอมพิวเตอร และอุปกรณประมวลผล (คําสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ 132/2544) สัญญาซื้อขายผลิตภัณฑนมใหแกเด็กนักเรียน(คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด อาํ นาจหนา ท่ีระหวา งศาลที่ 27/2549) สัญญาการจําหนายอาหาร และเคร่ืองด่ืมในสถานศึกษาของรัฐ(คําวินิจฉัยของ คณะกรรมการวนิ ิจฉัยชี้ขาดอาํ นาจหนาทรี่ ะหวา งศาลที่ 20/2546) สัญญาซ้ือขายเครื่องกําเนิดไฟฟาของโรงพยาบาล (คําสั่งศาลปกครองสูงสุด ท่ี 61/2545,94/2545 และ 101/2545) สญั ญาซ้ือขายเครอ่ื งบนั ทึกขอมลู ตรวจสวนหัวใจ (คาํ สัง่ ศาลปกครองสูงสดุ ที่ 82/2545) สัญญาซ้ือขายเครื่องสงวิทยุแฝงในแบตเตอร่ีโทรศัพทมือถือ (คําสั่งศาลปกครองสูงสุดท่ี 536/2545) สญั ญาซื้อขายนํา้ มันเชอื้ เพลิง (คาํ สงั่ ศาลปกครองสูงสุดที่ 67/2547) - 174 - สัญญาซื้อปุยของกองทนุ สงเคราะหก ารทําสวนยางเพือ่ นาํ ไปจา ยสงเคราะหใหแ กเ กษตร (คําวินจิ ฉยั ของคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยชขี้ าดอาํ นาจหนา ทีร่ ะหวา งศาลที่ 17/2550) 2. สญั ญาจางทเ่ี ปนสญั ญาทางปกครอง สญั ญาจางใหวางทอประปา เปลี่ยนมาตรวัดน้ําใหราษฎรผูใชน้ําเปนสัญญาใหจัดทําบริการ สาธารณะ (คาํ ส่ังศาลปกครองสูงสดุ ที่ 199/2545) สัญญาจา งกอ สรางวางทอประธาน ทอจายน้ํา และงานที่เกี่ยวของในโครงการปรับปรุงถนน สรงประภา เปนสัญญาจัดใหม ีสงิ่ สาธารณปู โภค (คาํ ส่ังศาลปกครองสูงสดุ ท่ี 402/2546)

สัญญาจางเหมากอสรางปรับปรุงระบบประปาภายในและถนนลาดยาง มีลักษณะเปนการ จัดใหม สี ิ่งสาธารณูปโภค (คาํ สงั่ ศาลปกครองสูงสดุ ที่ 236/2547) สญั ญาจา งสรางเรือตรวจการณของกองทัพเรอื (คาํ สง่ั ศาลปกครองสงู สุดที่ 692/2546) สัญญาจางท่ีปรึกษาออกแบบและควบคุมงานกอสรางสาธารณูปโภค (คําวินิจฉัยของ คณะกรรมการวินิจฉัยชข้ี าดอํานาจหนาท่ีระหวา งศาลท่ี 47/2547) สัญญาจางกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเปนสัญญาใหมีส่ิงสาธารณูปโภค (คําส่ังศาล ปกครองสงู สุดที่ 697/2546) สัญญาจางปรับปรุงถนนเปนสัญญาใหมีส่ิงสาธารณูปโภค (คําสั่งศาลปกครองสูงสุด ท่ี 425/2546) สัญญาจางวาจางกอสรางผิวจราจร คันหินทางเทา วางทอระบายน้ํา บอพัก สะพานขาม คลอง (คาํ วินิจฉยั ของคณะกรรมการวนิ ิจฉยั ชี้ขาดอํานาจหนาท่ีระหวา งศาลที่ 13/2549) สัญญาจางกอสรางอาคารอนุรักษพลังงานตัวอยาง ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนรุ กั ษพ ลังงาน(คาํ วินิจฉยั ของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยช้ีขาดอาํ นาจหนา ท่รี ะหวา งศาลที่ 15/2550) สัญญาจางกอสรางอาคารอํานวยการ และอาคารฝกงาน ณ ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน เปนสัญญาที่มีวัตถุประสงคเพ่ือการจัดทําบริการสาธารณะ (คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยช้ีขาด อํานาจหนา ทีร่ ะหวางศาลที่ 45/2547) สัญญาจางกอสรางอาคารเรียนและปฏิบัติการ และอาคารโรงฝกงานของวิทยาลัยการ อาชีพสอยดาวอันเปนสถานศึกษาของรัฐ เพ่ือใชในการศึกษาและฝกปฏิบัติในภาคการศึกษาของรัฐ - 175 - ซ่ึงการศึกษาเปนบริการสาธารณะของรัฐอยางหนึ่งของรัฐ อาคารสถานศึกษาของรัฐซึ่งเปนถาวรวัตถุ เปน องคป ระกอบและเครอ่ื งมอื สําคัญในการดาํ เนินบรกิ ารสาธารณะดงั กลา ว จึงเปนสิ่งสาธารณูปโภคท่ี ประชาชนเขา ใชประโยชนไ ดโ ดยตรง (คาํ สั่งศาลปกครองสงู สุดท่ี 62/2547) สัญญาจางกอสรางอาคารเรียนและปฏิบัติการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (คําสง่ั ศาลปกครองสงู สดุ ที่ 264/2547) สัญญาจางกอสรางตอเติมช้ันดาดฟาของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (คําส่ัง ศาลปกครองสูงสุดท่ี 335/2547)

สัญญาจางกอสรางอาคารเรียนและส่ิงกอสรางตางๆ จํานวน 12 รายการของวิทยาลัยการ อาชีพหนองแค จังหวัดสระบุรี เปนสัญญาท่ีมอบหมายใหเอกชนเขาจัดทําบริการสาธารณะ เปนสญั ญาทางปกครอง (คาํ สัง่ ศาลปกครองสูงสุดที่ 493 /2551 ) สัญญาวาจางหางหุนสวนจํากัด เรือนทรัพย) กอสรางปรับปรุงอาคารโรงแรมเทศบาล (คลิฟโฮเต็ล) ที่ผูฟองคดี (เทศบาลตําบลนาสาร) เปนเจาของและเปนหนวยงานทางปกครองโดยสัญญา ดังกลาววาจางใหกอสรางปรับปรุงช้ันที่ ๒ ของอาคาร เพ่ือเปดเปนศูนยการเรียนรู(หองสมุดและศูนย คอมพิวเตอร) และศูนยฟตเนส (สถานที่ออกกําลังกาย) เพ่ือใหประชาชนท่ัวไปเขาใชบริการโดยไมเสีย คาใชจายใด ๆ อันเปนการจัดทําบริการสาธารณะตามอํานาจหนาท่ีของผูฟองคดีตาม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แมขอ เท็จจริงจะปรากฏวา ช้ัน ๓ ของอาคารผูฟองคดียังคงใชในเชิงพาณิชย คือ เปด บริการใหเชาเปนหองพักอยูจํานวน ๑๘ หอง แตเมื่อสัญญาจางกอสรางปรับปรุงอาคารเปนสัญญาจาง เหมารวมในสัญญาฉบับเดียวกันท่ีไมอาจแบงออกเปนแตละสวนได จึงตองถือวาสัญญาจางกอสราง ปรับปรุงอาคารท้ังหมดเปนการจางเพ่ือจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค อันเปนเคร่ืองมือในการจัดทําบริการ สาธารณะของผฟู อ งคดี และเปนสญั ญาทางปกครอง (คําสงั่ ศาลปกครองสูงสดุ ที่ ๔๙๔/๒๕๕๒) สัญญาจา งทีไ่ มเ ปนสัญญาทางปกครอง สัญญาจางท่ีปรึกษาออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารเรียนภายในสนามกีฬาเฉลิม พระเกียรติฯ (คําสง่ั ศาลปกครองสงู สุดที่ 5/2545 และ 87/2545) สญั ญาจา งตดิ ต้ังปา ยโฆษณา (คาํ สง่ั ศาลปกครองสูงสดุ ที่ 11/2545) สัญญาจางตดิ ต้งั ปมุ สะทอนพืน้ ผวิ จราจร (คําสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี 252/2545) - 176 - สัญญาจางรักษาความปลอดภัยแกสถานที่และทรัพยสินของสวนราชการ (คําส่ังศาล ปกครองสูงสดุ ที่ 280/2550) สัญญาจางเหมาดูแลรักษาความปลอดภัยทรัพยสินของกรุงเทพมหานคร(คําวินิจฉัยของ คณะกรรมการวนิ ิจฉยั ชขี้ าดอํานาจหนาที่ระหวา งศาลท่ี 9/2550) สัญญาซื้อขายครุภัณฑ จํานวน ๖ รายการ ประกอบดวย ตูอเนกประสงคปรับเปนฉาก หนาเวทีได ตูเหล็กสองตอน แผงพารทิช่ัน ผามา นปรับแสง กระดานไวทบอรดพรอมรางดวงโคม และ

แผงติดแมเหล็ก ระหวางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับผูฟองคดี สัญญาซ้ือขายครุภัณฑ ดงั กลาว จึงมิใชสัญญาทางปกครอง (คําสั่งศาลปกครองสงู สุดท่ี ๔๖๖/๒๕๕๒) สัญญาที่เทศบาลเมืองวาจางเอกชนใหกอสรางซุมเรือนไทยเพ่ือติดตั้งตามโรงเรียนในสังกัด การกอสรางซุมเรือนไทยเพ่ือติดต้ังตามโรงเรียนถือเปนหนาท่ีสวนหน่ึงของเทศบาลในการสงเสริม การศึกษาและสงเสริมการพัฒนาเด็กตามบทบัญญัติขางตนก็ตาม แตซุมเรือนไทยท่ีกอสรางเพื่อติดตั้ง ตามโรงเรียนนัน้ มใิ ชเปนอุปกรณสําคัญที่เทศบาลใชในการบริการสาธารณะ คงเปนเพียงเคร่ืองมือสวน หนึ่งในการใหบริการสาธารณะของเทศบาล สัญญาจางกอสรางซุมเรือนไทยขางตนจึงเปนเพียงสัญญา จัดหาพัสดุธรรมดาท่ีสนับสนุนการจัดทําบริการสาธารณะเทาน้ัน จึงเปนสัญญาทางแพง ไมใชสัญญา ทางปกครอง (คาํ สั่งศาลปกครองสูงสดุ ท่ี ๘๒/๒๕๕๑) 3.สญั ญาอื่นๆ สัญญาโอนสิทธิเรียกรองตามสัญญาทางปกครอง(คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัย ชข้ี าดอํานาจหนาท่รี ะหวางศาลที่ 8/2548) คดีอนญุ าโตตุลาการสญั ญาทางปกครองอยใู นอาํ นาจศาลปกครอง อายคุ วามฟองคดตี ามสญั ญาซอื้ ขายและสญั ญาจาง 1. คดีพิพาทท่ีเก่ียวกับสัญญาทางปกครอง อยูในอํานาจการพิจารณาคดีของศาลปกครอง ตาม มาตรา 9(4) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.2542 เดิมตองยื่น ฟองคดีภายในระยะเวลาหน่ึงป นับแตวันท่ีรูหรือควรรูเหตุแหงการฟองคดี ตามมาตรา 51 แหง พระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมี การ - 177 - ประกาศใชพระราชจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2551 มีผลใชบังคับ ตั้งแตวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2551 ใหยกเลิกความในมาตรา 51 เดิม และบัญญัติใหการฟองคดีพิพาท เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ตองย่ืนฟองคดีภายในหาป นับแตวันท่ีรูหรือควรรูเหตุแหงการฟองคดี ดังน้ันการฟองใหรับผิดตามสัญญาซื้อขายหรือสัญญาจางท่ีเปนสัญญาทางปกครอง ตองยื่นฟองคดีตอ

ศาลปกครองบังคับใหรับผิดตามสัญญาภายในอายุความหาป นับแตวันที่รูหรือควรรูเหตุแหงการฟอง คดี คาํ ส่ังศาลปกครองสงู สดุ ท่ี ๘๓๔/๒๕๕๑ สัญญาจางกอ สรางอาคารเรียนระหวางสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กับผู ถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคูสัญญาฝายผูฟองคดีเปนหนวยงานทางปกครองและมีวัตถุประสงคแหงสัญญาเพ่ือ กอสรางอาคารเรียนอันเปนการจัดใหมีขึ้นซึ่งส่ิงสาธารณูปโภคที่รัฐใชเปนเคร่ืองมือในการบริการ สาธารณะทางดานการศึกษาเพื่อประโยชนแกประชาชน สัญญาดังกลาวจึงมีลักษณะเปนสัญญาทาง ปกครอง เม่ือมีขอพิพาทเก่ียวกับสัญญาดังกลาวจึงเปนคดีพิพาทเก่ียวกับสัญญาทางปกครองซึ่งอยูใน อํานาจพจิ ารณาพิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๔) แหง พระราชบัญญัตดิ ังกลา ว ระหวางท่ีศาลปกครองสูงสุดพิจารณาคดีนีไ้ ดมีการตรา พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลใชบังคับต้ังแตวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ บัญญัติใหการฟองคดีพิพาท เกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๔) แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ ตองยื่นฟอง ภายในหาปนับแตวันท่ีรูหรือควรรูถึงเหตแุ หงการฟองคดี แตไมเกินสิบปนับแตวันที่มีเหตุแหงการฟอง คดี เม่ือผูฟองคดีมีหนังสือลงวันท่ี ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๐ บอกเลิกสัญญาจางกับผูถูกฟองคดี จึงถือวา วันที่ผูฟองคดีมีหนังสือบอกเลิกสัญญาเปนวันท่ีผูฟองคดีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี เม่ือผูฟอง คดีนําคดีน้ีมาฟองตอศาลปกครองเมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ จึงเปนการย่ืนฟองคดีที่พน กําหนดเวลาหา ปนับแตวันท่ีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีตามมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาล ปกครองฯ ซงึ่ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดย พ.ร.บ. จดั ต้ังศาลปกครองฯ (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๑ สวนท่ีผูฟองคดีอางอายุความสิบปตามมาตรา ๑๙๓/๓๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและ พาณชิ ย และอา งเหตหุ ากผูฟ องคดชี นะคดี เงินทไี่ ดรับชาํ ระหนจ้ี ากผถู กู ฟองคดีจะตกเปนรายไดแผนดิน คดีน้ีจึงเปนการฟองคดีเพ่ือประโยชนแกสวนรวมตามมาตรา ๕๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาล ปกครองฯ นั้น มาตรา ๑๙๓/๓๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเปนบทบัญญัติที่ใชบังคับกับคดี - 178 - แพง ในศาลยตุ ธิ รรม คดนี ้เี ปนคดพี พิ าทเกี่ยวกบั สัญญาทางปกครองท่ีอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของ ศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๔) แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ การฟองคดีนี้จึงถูกบังคับ ดวยกําหนดระยะเวลาการฟองคดีตามมาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ซึ่งเปนบทบัญญัติแหง

กฎหมายเฉพาะที่ใชบังคบั แกกรณี และการท่ีผูฟองคดีจะนําเงินที่ไดร ับชําระหนี้จากผูถูกฟองคดีไปสง เปนรายไดของแผนดิน มิไดอยูในความหมายของคําวา “ประโยชนแกส วนรวม” ตามมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. จดั ตัง้ ศาลปกครองฯ ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๕๑ การฟองคดีนี้จึงไมเปนการฟองคดีเพ่ือประโยชนแกสวนรวม ตามมาตรา ๕๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. จัดตง้ั ศาลปกครองฯ คําส่ังศาลปกครองสูงสุดที่ ๕๘/๒๕๕๒ ผูฟองคดีมีหนังสือเม่ือวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ แจงบอกเลิกสัญญาตอ ผูถูกฟองคดี ท่ี ๑ ดงั น้ัน วันดังกลาวจึงเปนวันท่ีผูฟองคดีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีในการเรียกเงินคาจาง ลว งหนา ทต่ี อ งชดใชคืนจากผูถ กู ฟอ งคดีท่ี ๑ ผฟู องคดี จึงชอบที่จะใชสิทธิฟองคดีตอศาลใหผูถูกฟองคดี ท่ี ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ในฐานะ ผูค้ําประกันการรับเงินคาจางลวงหนาใหรับผิดไดภายในหาปนับแต วันที่ผูฟองคดีบอกเลิกสัญญา การที่ผูฟองคดีนําคดีน้ีมาฟอ งตอศาลในวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ จึง เปนการฟองคดีเมื่อพนกาํ หนดเวลาหาปนับแตวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี ตามมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ.จัดต้ังศาลปกครองฯ ศาลจึงไมอาจรบั คาํ ฟอ งในสว นน้ีไวพิจารณาพิพากษาตอไปได สําหรับกรณีท่ีผูฟองคดีฟองเรียกรองคาใชจายที่เพิ่มข้ึนในการจางผูรับจางรายใหม นั้น เมื่อปรากฏวาผูฟองคดีไดทําสัญญาวาจางผูรับจางรายใหมใหทํางานแทนผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เมื่อวันท่ี ๑๗ กันยายน ๒๕๔๖ ดังน้ัน วันดังกลาวจึงเปนวนั ท่ีผูฟองคดีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี การที่ผู ฟองคดียื่นฟองคดีนี้เมื่อวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ จึงเปนการฟองคดีภายในกําหนดเวลาหาปนับแต วนั ทรี่ หู รอื ควรรถู ึงเหตุแหง การฟองคดตี ามมาตรา ๕๑ แหงพระราชบญั ญัติดังกลา ว ศาลจึงรับคาํ ฟองใน สวนน้ีไวพ จิ ารณา คําสัง่ ศาลปกครองสูงสุดท่ี ๔๕๐/๒๕๕๑ บริษัท ไปรษณยี ไ ทย จํากดั (ผูฟ อ งคด)ี ในขณะทมี่ ีสถานะเปนการสื่อสาร แหงประเทศไทยได ตรวจพบความชํารุดบกพรองของอาคารท่ีทําการไปรษณียซึ่งเปนอาคาร ที่ผูถูกฟองคดีเปนผูรับจางทํา - 179 - การกอสราง แตภายหลังจากท่ีผูฟองคดีมีหนังสือแจงใหผูถูกฟองคดีเขาดําเนินการแกไขความชํารุด บกพรองของอาคารดังกลาวแลว ผูถูกฟองคดีไมไดดําเนินการแกไขและไมยอมชําระคาใชจายท่ีผูฟอง คดีเสียไปในการวาจางบุคคลอื่นใหทําการซอมแซมอาคารแทน ผูถูกฟองคดีตามที่กําหนดไวในสัญญา

ผูฟองคดีจึงยื่นฟองคดีตอศาลจังหวัดเพื่อเรยี กใหผูถูกฟองคดีชําระเงินดังกลาว วันที่ผูฟองคดีรูหรือควร รูถึงเหตุแหงการฟองคดีในคดีพิพาทเกี่ยวกับการเรียกใหชดใชคาเสียหายอันเน่ืองมาจากการชํารุด บกพรองในงานท่ีจางตามสัญญาทางปกครอง ตองเร่ิมนับต้ังแตวันท่ีผูฟองคดีรูหรือควรรูถึงความชํารุด บกพรองหรืออยางชาในวันท่ีผูฟองคดีไดมีหนังสือแจงใหผูถูกฟองคดีดําเนินการซอมแซมอาคารท่ี ชาํ รุด ไมใ ชเ รมิ่ นบั ตง้ั แตวันทีผ่ ฟู อ งคดีลงนามในสัญญาจางผูรับจางรายอน่ื ใหซ อมแซมอาคารแทนผูถูก ฟอ งคดี หรือตง้ั แตว นั ทีศ่ าลจงั หวัดไดป ระทบั รบั ฟอง คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๙๒/๒๕๕๒ กรมชลประทาน ไดทําสัญญาจางผูถูกฟองคดีที่ ๑ (บริษัท ต.) กอสรางงานขุดลอกหนองเชิง อวน ซ่ึงเปนหนองน้ําสาธารณะ สัญญาดังกลาวมีลักษณะเปนสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ภายหลังจากที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดสงมอบงานงวดสุดทายให ผูฟองคดี เจาหนาท่ีผูควบคุมงานของผูฟองคดีตรวจพบความชํารุดบกพรอง การทรุดตัวของคนั ดินของหนองน้ํา ในวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ผูฟองคดีจึงมีหนังสือลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๕ แจงใหผูถูกฟองคดี ที่ ๑ ทําการแกไขซอมแซมคันดินใหอยูในสภาพเรียบรอย แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ เพิกเฉย ตอมาผูฟองคดี ไดมีหนังสือแจงใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดําเนินการแกไขอีกสามคร้ัง แตผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ก็ไมไดดําเนินการ เจาหนาท่ีของผูฟองคดีจึงไดคํานวณคาเสียหายที่จะตองซอมแซมเอง และรายงานความเสียหาย ตามลาํ ดับช้ัน โดยผฟู อ งคดไี ดรับทราบรายงานเม่ือวันท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๔๖ และสั่งริบหลักประกัน แตย ังคงเหลือเงนิ ทผ่ี ูถกู ฟอ งคดีที่ ๑ ตองชาํ ระ จึงนําคดมี ายื่นฟองตอศาล กรณีเชนนี้วันที่ผูฟองคดีรูหรือ ควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีในคดีพิพาทเก่ียวกับความรับผิดในความชํารุดบกพรองในงานท่ีจาง ตาม สัญญาทางปกครองนั้น จะตองเริ่มนับแตวันที่เจาหนาท่ีผูมีอํานาจของผูฟองคดี รูถึงความชํารุด บกพรอ ง คือ วนั ท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ซ่งึ เปนวนั ทผี่ ูฟ องคดี มีหนังสือแจงใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ทําการ ซอมแซมคันดินที่ชํารุด ดังนั้น การที่ ผูฟองคดีนําคดีมาฟองในวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๔๗ จึงเปนการ ฟองคดีเม่ือพนกําหนดระยะเวลา ตามมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ อยางไรก็ตาม - 180 - ขณะคดีอยูในระหวางการพิจารณาพิพากษาของ ศาลปกครองสูงสุด ไดมีการตรา พ.ร.บ. จัดต้ังศาล ปกครองและวธิ ีพจิ ารณา คดปี กครอง (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑ ขึ้นใชบ ังคบั ทําใหก ําหนดระยะเวลาการ ฟอ งคดพี ิพาทเกยี่ วกบั สัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ

ตองย่ืนฟองภายในหาปนับแตวันท่ีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดี แตไมเกินสิบปนับแตวันท่ีมีเหตุ แหงการฟองคดี เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวาผูฟองคดี รูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีพิพาทเกี่ยวกับ ความรับผิดในความชํารุดบกพรองในงานท่ีจางตามสัญญาเมื่อวันท่ี ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๕ การท่ีผูฟอง คดีนําคดีมาฟองตอศาลเม่ือวันท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๔๗ จึงเปนการย่ืนฟองภายในกําหนดระยะเวลาการ ฟองคดีตามมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองฯ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม โดย พ.ร.บ. จัดตั้งศาล ปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๕๑ คําพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๑๘๕/๒๕๕๒ สัญญาจาง ขอ ๔ กําหนดเรื่องคาจางและการจายเงินแบงออกเปน ๔ งวดงาน โดยงวดสุดทายผู ฟองคดี ตองทํางานใหแ ลว เสร็จภายในวันท่ี ๘ ตลุ าคม ๒๕๔๔ เมื่อผูฟอ งคดีไดท าํ การกอสรา งแลวเสร็จ จึงไดมีหนังสือลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ถึงประธานกรรมการตรวจการจาง ขอสงมอบงานงวด ที่หนึ่งถึงงวดสุดทายพรอมกัน ซ่ึงผูถูกฟองคดีไดรับหนังสือฉบับดังกลาวในวันเดียวกัน หลังจากนั้น ประธานกรรมการตรวจการจางมีคําส่งั ลงวนั ท่ี ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ใหแจงคณะกรรมการตรวจการ จางและชางควบคุมงานตรวจรับในวันท่ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา และตอมา คณะกรรมการตรวจการจางไดทําการตรวจรับงานพรอมท้ังเห็นสมควรจายเงินคาจางเปนจํานวนเงิน ๒,๔๙๘,๗๓๙.๑๐ บาท ใหแกผูฟองคดี ตามใบตรวจรับการจางลงวันท่ี ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ เห็นวา แมคณะกรรมการตรวจการจางจะมิไดทาํ การตรวจรับงานท่ผี ูฟอ งคดสี งมอบภายใน ๓ วันทําการ นับแต วันที่ประธานกรรมการไดรับทราบการสงมอบงานก็ตาม แตเม่ือคณะกรรมการตรวจการจางไดทําการ ตรวจรับงานเปนที่ถูกตองตามหลักฐานใบตรวจรับการจางของผูถูกฟองคดีลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ จึงตองถือวาผูฟองคดีสงมอบงานครบถวนตั้งแตวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ซ่ึงเปนวันท่ีผู ฟองคดีมีหนังสือสงมอบงานจางและผูถูกฟองคดีไดรับหนังสือดังกลาวในวันเดียวกันแลว กําหนด ระยะเวลา ๒ ป ที่ผูฟองคดีตองผูกพันรับผิดชอบในความชํารุดบกพรองของงานจางตามขอ ๖ ของ สัญญาจางดังกลาว จึงเร่ิมต้ังแตวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ และครบกําหนดส้ินสุดในวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ - 181 - 2. คดพี ิพาททเี่ กี่ยวกับสัญญาทางแพง สําหรับคดีพพิ าทเกย่ี วกับสญั ญาซอื้ ขายหรือสัญญาจาง ทไี่ มเ ปนสัญญาทางปกครอง และเปนสัญญาทางแพง ตองย่นื ฟอ งคดตี อศาลยุติธรรมใหร บั ผดิ ตามสัญญา ภายในอายคุ วามตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ยด ังน้ี

(1.)การฟองผูขายใหรับผิดชําระคาปรับและคาเสียหายตามขอสัญญามีอายุความ 10 ป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 193/30 ั อายุความน้ัน ถาประมวลกฎหมายนี้หรือ กฎหมายอื่นมไิ ดบ ัญญัตไิ วโดยเฉพาะใหม กี าํ หนดสิบป (2.) ผูขาย ฟองใหชําระราคาสินคามีกําหนดอายุความสองป ตามมาตรา 193/34 สิทธิเรียกรอง ดังตอไปนี้ใหมีกําหนดอายุความสองป(1) ผูประกอบการคาหรืออุตสาหกรรม ผูประกอบหัตถกรรม ผูประกอบศิลปอุตสาหกรรมหรือชางฝมือ เรียกเอาคาของที่ไดสงมอบ คาการงานท่ีไดทํา หรือคาดูแล กิจการของผอู นื่ รวมทัง้ เงนิ ท่ีไดออก ทดรองไป เวนแตเปนการทีไ่ ดท าํ เพือ่ กิจการของฝายลูกหน้ีน้ันเอง (3.) ผูซ้ือฟองผูขายใหรับผิดในความชํารุดบกพรองมีอายุความหน่ึงป ตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชย ตามมาตรา 474 ในขอรับผิดเร่ืองความชาํ รุดบกพรองน้ัน ทานหามมิใหฟองคดีเม่ือ พนเวลาหน่ึงป นบั แตเวลาท่ไี ดพ บเหน็ ความชํารุดบกพรอ ง (4.) ผูวาจางฟองผูรับจางใหรับผิดในความชํารุดบกพรองมีอายุความหนึ่งป นับแตวันที่ความ ชาํ รดุ บกพรอ งไดป รากฏขน้ึ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตามมาตรา 601

ภาคผนวก

- 183 - แบบสญั ญาซื้อขาย สญั ญาเลขท่ี............................................ สัญญาฉบับนที้ ําขน้ึ ณ .................................................................................................... ตาํ บล/แขวง......................................อําเภอ/เขต.............................จังหวัด.................................... เมอ่ื วนั ที่........เดอื น...........................พ.ศ..........ระหวา ง................................................................ โดย.............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... ซงึ่ ตอไปน้ีในสัญญาน้เี รียกวา “ผซู อ้ื ” ฝา ยหนึ่ง กบั ....................................................................... ซงึ่ จดทะเบยี นเปนนิติบคุ คล ณ .................................................................................................... มีสาํ นักงานใหญอ ยเู ลขท.่ี ..................ถนน..............................ตาํ บล/แขวง................................... อาํ เภอ/เขต............................................................จังหวดั ............................................................ โดย............................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ผูมอี าํ นาจลงนามผกู พนั นติ ิบุคคลปรากฏตามหนงั สือรบั รองของสํานกั งานทะเบียนหนุ สวนบริษทั .............................................................................................ลงวนั ท.ี่ ........................................... (และหนังสอื มอบอาํ นาจลงวนั ท่.ี .......................................) แนบทา ยสัญญาน้ี (ในกรณที ี่ผูขายเปน บคุ คลธรรมดาใหใ ชขอความวากับ.......................................................อยบู านเลขท่ี...................... ถนน..................................ตาํ บล/แขวง..........................................อําเภอ/เขต.............................. จงั หวัด...........................................................) ซึง่ ตอ ไปน้ีในสัญญาเรียกวา “ผขู าย” อีกฝา ยหน่ึง คสู ัญญาไดต กลงกันมขี อ ความดงั ตอ ไปน้ี ขอ 1. ขอตกลงซอ้ื ขาย ผซู อ้ื ตกลงซ้ือและผูขายตกลงขาย........................................................................ ................................................................................................................................................... จาํ นวน....................เปน ราคาทง้ั สน้ิ .......................บาท (...........................................................) ซ่งึ ไดรวมภาษมี ลู คาเพมิ่ จํานวน...............................................บาท ตลอดจนภาษอี ากรอ่นื ๆ และ คาใชจา ยท้ังปวงดว ยแลว

- 184 - ผูขายรับรองวาส่ิงของท่ีขายใหตามสัญญาน้ีเปนของแท ของใหม ไมเคยใชงาน มากอน ไมเปนของเกาเก็บ และมีคุณภาพและคุณสมบัติไมต่ํากวาท่ีกําหนดไวในเอกสารแนบทาย สัญญา ในกรณีท่ีเปนการซ้ือส่ิงของซึ่งจะตองมีการตรวจทดลอง ผูขายรับรองวา เมอ่ื ตรวจทดลองแลวตอ งมีคณุ ภาพและคุณสมบตั ไิ มตํ่ากวา ท่กี ําหนดไวด ว ย ขอ 2. เอกสารอันเปนสว นหนึง่ ของสญั ญา เอกสารแนบทายสญั ญาดังตอ ไปนีใ้ หถ อื เปน สวนหน่งึ ของสัญญาน้ี 2.1 ผนวก 1.............(รายการคณุ ลกั ษณะเฉพาะ) ............ จํานวน.............หนา 2.2 ผนวก 2.............(แคตตาล็อก) .................................. จาํ นวน.............หนา 2.3 ผนวก 3.............(รูปแบบ) ........................................ จํานวน.............หนา 2.4 ผนวก 4.............(ใบเสนอราคา) ................................ จํานวน.............หนา 2.5 ................................................................................................................ ความใดในเอกสารแนบทายสัญญา ท่ีขัดแยงกับขอความในสัญญาน้ีใหใช ขอ ความในสัญญานบี้ งั คบั และในกรณที เี่ อกสารแนบทา ยสัญญาขัดแยง กันเอง ผูขายจะตองปฏบิ ัติ ตามคําวินจิ ฉยั ของผูซ อื้ ขอ 3. การสงมอบ ผขู ายจะสงมอบสิ่งของทีซ่ ้ือขายตามสัญญาใหแ กผซู ้อื ณ ................................. .................................................... ภายในวันท่ี ........... เดอื น.............................. พ.ศ. ............ ใหถ ูกตองและครบถวนตามที่กําหนดไวใ นขอ 1 แหงสญั ญาน้ี พรอมทั้งหบี หอ หรือเครื่องรัด พนั ผกู โดยเรียบรอ ย การสงมอบสิง่ ของตามสัญญาน้ี ไมว า จะเปนการสง มอบเพยี งคร้ังเดียวหรอื สง มอบหลายคร้งั ผขู ายจะตองแจง กาํ หนดเวลาสงมอบแตล ะครัง้ โดยทาํ เปนหนงั สือนาํ ไปย่ืนตอ ผซู ือ้ ณ ................................................................................................................................... ในเวลาราชการ กอ นวันสง มอบไมน อ ยกวา .................................... วันทาํ การ ขอ 4. การใชเ รือไทย ถาสิ่งของที่จะตองสงมอบใหแกผูซื้อตามสัญญานี้ เปนส่ิงของท่ีผูขายจะตองสง หรือนําเขามาจากตางประเทศ และสิ่งของน้ันตองนําเขามาโดยทางเรือในเสนทางเดินเรือท่ีมีเรือ ไทยเดินอยู และสามารถใหบริการรับขนไดตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมประกาศ

- 185 - กําหนด ผูขายตองจัดการใหสิ่งของดังกลาว บรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเชนเดียวกับเรือ ไทยจากตางประเทศมายังประเทศไทย เวนแตจะไดรับอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการ สงเสริมการพาณิชยนาวีกอนบรรทุกของน้ันลงเรืออ่ืนที่มิใชเรือไทย หรือเปนของที่ รฐั มนตรวี า การกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเวนใหบรรทุกโดยเรืออื่นได ทั้งน้ีไมวาการสงหรือ ส่งั ซอ้ื ของดงั กลา วจากตา งประเทศจะเปน แบบ เอฟโอบี, ซีเอฟอาร, ซไี อเอฟ หรอื แบบอน่ื ใด ในการสงมอบส่ิงของตามสัญญาใหแกผูซ้ือ ถาสิ่งของนั้นเปนส่ิงของตาม วรรคหน่ึง ผูขายจะตองสงมอบใบตราสง (BILL OF LADING) หรือสําเนาใบตราสงสําหรับ ของนน้ั ซึ่งแสดงวาไดบ รรทกุ มาโดยเรอื ไทยหรือเรือทม่ี สี ิทธเิ ชน เดียวกบั เรือไทยใหแกผูซ้อื พรอม กบั การสง มอบส่งิ ของดว ย ในกรณีท่ีสิ่งของดังกลาว ไมไดบรรทุกจากตางประเทศมายังประเทศไทย โดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเชนเดียวกับเรือไทย ผูขายตองสงมอบหลักฐาน ซ่ึงแสดงวาไดรับ อนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการพาณิชยนาวี ใหบรรทุกของโดยเรืออ่ืนได หรือ หลักฐานซึ่งแสดงวาไดชําระคาธรรมเนียมพิเศษ เน่ืองจากการไมบรรทุกของโดยเรือไทย ตามกฎหมายวาดวยการสง เสริมการพาณิชยนาวีแลวอยางใดอยา งหนง่ึ แกผซู ้อื ดวย ในกรณีที่ผูขายไมสงมอบหลักฐานอยางหนึ่งอยางใดดังกลาว ในสองวรรค ขางตนใหแกผูซื้อ แตจะขอสงมอบส่ิงของดังกลาวใหผูซื้อกอน โดยยังไมรับชําระเงินคาส่ิงของผู ซ้ือมีสิทธิรับสิ่งของดังกลาวไวกอนและชําระเงินคาส่ิงของ เมื่อผูขายไดปฏิบัติถูกตองครบถวน ดังกลาวแลวได ขอ 5. การตรวจรบั เมอ่ื ผซู ้อื ไดตรวจรบั สิง่ ของท่สี ง มอบ และเหน็ วา ถูกตอ งครบถว นตามสัญญาแลว ผูซ้ือจะออกหลักฐานการรับมอบไวให เพ่ือผูขายนํามาเปนหลักฐานประกอบการขอรับเงินคา ส่ิงของนน้ั ถาผลของการตรวจรับปรากฏวาสิ่งของที่ผูขายสงมอบไมตรงตามสัญญา ขอ 1 ผูซื้อทรงไวซ่ึงสิทธิท่ีจะไมรับสิ่งของน้ัน ในกรณีเชนวานั้น ผูขายตองรีบนําสงของน้ันกลับคืน โดยเร็วที่สุดเทาท่ีจะทําไดและนําสิ่งของมาสงมอบใหใหม หรือตองทําการแกไขใหถูกตอง ตามสัญญาดวยคาใชจายของผูขายเอง และระยะเวลาที่เสียไปเพราะเหตุดังกลาว ผูขายจะนํามาอาง เปนเหตขุ อขยายเวลาทําการตามสญั ญาหรือของดหรือลดคาปรบั ไมได

- 186 - ในกรณีท่ีผูขายสงมอบสิ่งของถูกตองแตไมครบจํานวนหรือสงมอบครบจํานวน แตไมถูกตองท้ังหมด ผูซ้ือจะตรวจรับเฉพาะสวนท่ีถูกตอง โดยออกหลักฐานการตรวจรับเฉพาะ สวนน้ันก็ได (ความในวรรคสามนี้ จะไมกําหนดไวในกรณีท่ีผูซื้อตองการส่ิงของท้ังหมดในคราว เดียวกันหรือการซ้ือสิ่งของท่ีประกอบเปนชุดหรือหนวย ถาขาดสวนประกอบอยางหนึ่งอยางใด ไปแลว จะไมสามารถใชงานไดโ ดยสมบรู ณ) ขอ 6. การชาํ ระเงิน (ผูซื้อตกลงชําระเงินคาส่ิงของตามขอ 1 ใหแกผูขาย ผูซ้ือไดรับมอบส่ิงของตาม ขอ 5 ไวไดค รบถวนแลว) (ผูซ้อื ตกลงชาํ ระเงินคา สง่ิ ของตามขอ 1 ใหแ กผขู ายดังน้ี) 6.1 เงนิ ลวงหนา จาํ นวน................................บาท (......................................... ..............................................) จะจายใหภ ายใน............วนั นบั แตว ันทาํ สัญญาน้ี ท้งั นี้โดยผูขาย จะตองนาํ หลกั ฐานประกันเงนิ ลว งหนาเปน .............(หนงั สือค้าํ ประกนั ของธนาคารภายในประเทศ หรอื พนั ธบตั รรัฐบาลไทย)..........เต็มตามจํานวนเงนิ ลวงหนา ท่ีจะไดรับมามอบใหแกผซู ื้อเปน หลกั ประกนั การชาํ ระคนื เงินลว งหนา กอนการชําระเงนิ ลวงหนานน้ั 6.2 เงนิ ที่เหลอื จํานวน.............................บาท (............................................. ............................................) จะจา ยใหเ ม่ือผซู ้ือไดร ับมอบสิง่ ของตามขอ 5 ไวโ ดยครบถวนแลว ขอ 7. การรบั ประกันความชาํ รดุ บกพรอ ง ผูขายยอมรับประกันความชํารุดบกพรอง หรือขัดของของส่ิงของตามสัญญาน้ี เปนเวลา.........ป ...........เดือน นับแตวันท่ีผูซ้ือไดรับมอบ โดยภายในกําหนดเวลาดังกลาว หากส่ิงของตามสัญญานี้เกิดชํารุดบกพรองหรือขัดของอันเน่ืองจากการใชงานตามปกติ ผูขาย จะตองจัดการซอมแซม หรือแกไขใหอยูในสภาพท่ีใชการไดดีดังเดิม ภายใน.............วัน นับแต วันทไี่ ดร บั แจง จากผูซ ื้อโดยไมค ิดคาใชจ า ยใด ๆ ทัง้ สิ้น ขอ 8. หลกั ประกันการปฏบิ ตั ิตามสัญญา ในขณะทาํ สญั ญาน้ี ผขู ายไดนําหลักประกนั เปน ................................................ เปนจํานวนเงิน.........................บาท (.......................................................................................) ซง่ึ เทา กับรอ ยละ.......................(.......%) ของราคาท้งั หมดตามสัญญา มามอบใหแกผซู ือ้ เพื่อเปน หลกั ประกนั การปฏบิ ตั ิตามสญั ญานี้

- 187 - หลักประกันท่ีผูขายนํามามอบไวตามวรรคหน่ึง ผูซื้อจะคืนใหเม่ือผูขายพนจาก ขอผูกพันตามสัญญานี้แลว (สวนหลักประกันตามขอ 6.1 ผูซื้อจะคืนใหพรอมกับการจายเงินงวด สุดทา ยตามขอ 6.2) ขอ 9. การบอกเลิกสญั ญา เมื่อครบกําหนดสงมอบสิ่งของตามสัญญาน้ีแลว ถาผูขายไมสงมอบสิ่งของ ที่ตกลงขายใหแกผูซ้ือ หรือสงมอบไมถูกตอง หรือไมครบจํานวน ผูซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญา ทั้งหมดหรอื บางสว นได ในกรณีที่ผูซ้ือใชสิทธิบอกเลิกสัญญา ผูมีสิทธิริบหลักประกันหรือเรียกรองจาก ธนาคารผูออกหนังสือคํ้าประกันตามสัญญา (ขอ 6 และ) ขอ 8 เปนจํานวนเงินทั้งหมดหรือแค บางสวนก็ได แลวแตผูซ้ือจะเห็นสมควร และถาผูซื้อจัดซื้อสิ่งของจากบุคคลอ่ืน เต็มจํานวนหรือ เฉพาะจํานวนท่ีขาดสง แลวแตกรณี ภายในกําหนด............เดือน นับแตวันบอกเลิกสัญญา ผูขาย จะตองชดใชราคาทีเ่ พิม่ ข้ึนจากราคาทกี่ ําหนดไวใ นสญั ญานดี้ ว ย ขอ 10. คา ปรบั ในกรณีที่ผูซ้ือมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาตามสัญญาขอ 9 ผูขายจะตองชําระ คาปรับใหผูซ้ือเปนรายวันในอัตรารอยละ.............(..........%) ของราคาส่ิงของท่ียังไมไดรับมอบ นับแตวันถัดจากวันครบกําหนดตามสัญญา จนถึงวันที่ผูขายไดนําส่ิงของมาสงมอบใหแกผูซื้อ จนถกู ตองครบถว น การคิดคาปรับในกรณีสิ่งของที่ตกลงซื้อขายประกอบกันเปนชุด แตผูขายสงมอบ เพียงบางสวนหรือขาดสวนประกอบสวนหน่ึงสวนใดไป ทําใหไมสามารถใชการไดโดยสมบูรณ ใหถอื วายงั ไมไ ดส ง มอบสงิ่ ของนั้นเลย และใหคดิ คาปรบั จากราคาสิง่ ของเตม็ ทงั้ ชุด ในระหวางท่ีผูซ้ือยังมิไดใชสิทธิบอกเลิกสัญญาน้ัน หากผูซ้ือเห็นวาผูขายไมอาจ ปฏิบัติตามสัญญาตอไปได ผูซ้ือจะใชสิทธิบอกเลิกสัญญา และริบหลักประกันหรือเรียกรองจาก ธนาคารผูออกหนังสือค้ําประกันตามสัญญา (ขอ 6 และ)ขอ 8 กับเรียกรองใหชดใชราคาที่เพ่ิมขึ้น ตามทก่ี าํ หนดไวในสญั ญาขอ 9 วรรคสองกไ็ ด และถาผซู ้อื ไดแ จง ขอเรียกรองใหชําระคาปรับไป ยังผูขาย เม่ือครบกําหนดสงมอบแลว ผูซ้ือมีสิทธิท่ีจะปรับผูขายจนถึงวันบอกเลิกสัญญา ไดอีกดวย