Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูมิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบ้านอีสาน

ภูมิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบ้านอีสาน

Description: ภูมิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบ้านอีสาน

Search

Read the Text Version

ภูมปิ ญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพืน้ บา้ นอีสาน (Wisdom of Isan Indigenous Thai Silk Yarn) กรมหมอ่ นไหมเรียบเรียงโดย นางสาวศิริพร บุญชู นางสาวนันทวรรณ รกั พงษ์ กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

คำ�น�ำ ผา้ ไหมไทย ถอื เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมทม่ี ปี ระวตั ศิ าสตรอ์ นั ยาวนาน โดยเฉพาะลวดลาย ผ้าไหมในแต่ละท้องถ่ิน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะมากมาย จนสามารถสร้างชื่อเสียงและความมี เอกลักษณ์ให้กับประเทศไทย เน่ืองจากมีการประยุกต์ใช้วัสดุท้องถิ่น ผสมผสานกับภูมิปัญญา ด้ังเดิมท่ีได้รับการปรับปรุง และพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีของแต่ละท้องถ่ิน ซึ่งได้รับ การถา่ ยทอดจากรุน่ ส่รู นุ่ ภมู ปิ ญั ญาดา้ นไหมไทย ถอื เปน็ องคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ จากภมู ปิ ญั ญาทผ่ี สมผสานกบั วฒั นธรรม กรมหมอ่ นไหมและขนบธรรมเนียมประเพณีจนกลายเป็นวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นน้ันๆ เส้นไหมที่จะน�ำ มาทอเป็นผืนผ้า เกิดจากการผสมผสานภูมิปัญญาด้ังเดิมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย ทำ� ใหไ้ ดผ้ ้าไหมทีม่ ีความเปน็ เอกลกั ษณ์และสร้างความแตกตา่ ง การจดั ทำ� หนงั สอื ภมู ิปญั ญาการ ผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้านอีสาน เป็นการรวบรวมภูมิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้านที่เป็น เอกลกั ษณใ์ นพน้ื ท่ีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (อสี าน) โดยนำ� ข้อมูลจากการจดั ท�ำประชาพิจารณ์ จากเกษตรกรผผู้ ลติ เสน้ ไหมไทยพน้ื บา้ นในพนื้ ทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นำ� มาเรยี บเรยี งจดั ทำ� เป็นเอกสารและหลักฐานส�ำหรับการปกป้องคุ้มครอง และอนุรักษ์ภูมิปัญญาเหล่านี้ ภายใต้ พระราชบญั ญตั สิ ง่ิ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์ ปี ๒๕๔๖ เพอื่ การอนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ดา้ นหมอ่ นไหม และสามารถใชเ้ ปน็ หลกั ฐานทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมายไวใ้ หค้ นรนุ่ หลงั ใช้เป็นฐานข้อมูลในการศึกษา วิจยั พัฒนาต่อยอดภูมปิ ญั ญาใหด้ ยี ่งิ ข้ึนตอ่ ไป กรมหมอ่ นไหมหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สอื ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพนื้ บา้ นอสี าน เล่มน้ีจะใช้เป็นมาตรฐานเบื้องต้นในการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้าน ส�ำหรับเกษตรกรทุกคนใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและผู้สนใจทุกคน เพ่ือสืบสานการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้านให้อยู่คู่ ประเทศไทยตอ่ ไป กรมหมอ่ นไหม กนั ยายน ๒๕๕๕

สารบญั ๑. ประวัตคิ วามเปน็ มา ๕ ๒. คณุ ลกั ษณะเส้นไหมไทยพ้นื บ้านอสี าน ๑๔ ๒.๑ เสน้ ไหมหลืบ ๑๕ ๒.๒ เส้นไหมสาวเลย ๑๖ ๒.๓ เส้นไหมน้อย ๑๗ ๓. ภูมปิ ญั ญากระบวนการผลติ ๑๘ ๓.๑ การปลูกหม่อน ๑๘ ๒๔ กรมหม่อนไหม ๓.๒ การเล้ียงไหม ๒๗ ๓.๓ ภูมปิ ญั ญาการสาวไหม ๒๘ ๔. อปุ กรณ์การสาวไหม ๒๘ ๔.๑ พวงสาวไหมแบบพน้ื บา้ น ๓๐ ๔.๒ พวงสาวไหมแบบปรับปรุง (เดน่ ชยั ๑) ๓๑ ๔.๓ หม้อตม้ สาวไหม ๓๒ ๔.๔ ไมค้ บื เกลีย่ รังไหม ๓๒ ๔.๕ นำ้� ตม้ รังไหม ๓๓ ๕. การเตรียมรังไหม ๓๘ ๖. การสาวไหม ๔๐ ๖.๑ การสาวไหมหลบื - พวงสาวไหมแบบพนื้ บา้ น - พวงสาวไหมแบบปรับปรงุ (เด่นชัย ๑) ๔๒ ๖.๒ การสาวไหมนอ้ ย - พวงสาวไหมแบบพ้ืนบา้ น - พวงสาวไหมแบบปรบั ปรุง (เดน่ ชยั ๑) ๖.๓ การสาวไหมสาวเลย ๔๘ - พวงสาวไหมแบบพน้ื บ้าน - พวงสาวไหมแบบปรับปรุง (เดน่ ชยั ๑) ๗. การทำ� มาตรฐานเสน้ ไหม ๕๒ ๗.๑ การกรอไหม ๕๓ ๗.๒ การเก็บรกั ษาเสน้ ไหม ๕๕

กรมหม่อนไหม

๑. ประวตั คิ วามเป็นมา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ประกอบด้วย ๒๐ จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวล�ำภู อ�ำนาจเจริญ อดุ รธานี อุบลราชธานี และบึงกาฬ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีพ้นื ทป่ี ระมาณ ๑๗๐,๒๒๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ๑ ใน ๓ ของพืน้ ทที่ ั้งประเทศ ตั้งอยบู่ นท่ีราบสูงโคราช ภูมิประเทศทงั้ ภาคยกตัวสงู เป็นขอบแยกตัวออกจากภาคกลางอย่างชัดเจน ทางด้านทิศใต้มีเทือกเขาสันก�ำแพง และเทือกเขาพนมดงรักก้ัน ระหวา่ งภาคอสี านของไทย กบั กัมพูชา และลาว มคี วามสูงเฉล่ยี ๔๐๐-๗๐๐ เมตร ยอดเขาเขียวเป็นยอดเขาทส่ี งู ทสี่ ุดอยู่ทางตอนใต้ สูงประมาณ ๑,๒๙๒ เมตรสว่ นตอนกลางของภาคมเี ทือกเขาภูพานทอดตัวจากเหนือลงส่ทู ศิ ใต้ แบ่งภาคอีสานออกเป็น ๒ ส่วน คือ แอ่งโคราช คือ บริเวณแถบลุ่มแม่น�้ำชี และแม่น้�ำมูล มีพื้นที่ ๓ ใน ๔ ของ กรมหมอ่ นไหมภาคอสี านทั้งหมด และแอง่ สกลนคร คือบริเวณตอนเหนือของเทือกเขาภูพานและบริเวณทรี่ าบล่มุ น้�ำโขง การคน้ พบโครงกระดกู และรอยเทา้ ไดโนเสารบ์ นแผน่ หนิ ทรายทอ่ี ำ� เภอภเู วยี ง จงั หวดั ขอนแกน่ อำ� เภอภหู ลวง จงั หวดั เลย และอำ� เภอสหสั ขนั ธ์ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ หรอื แมแ้ ตภ่ าพเขยี นของมนษุ ยโ์ บราณตามผนงั ถำ�้ รวมทง้ั วฒั นธรรม บ้านเชียง และซากโบราณวัตถุมากมาย  ท�ำให้การขุดค้นหาร่องรอยอารยธรรมในอดีตของดินแดนอันมั่งคั่งแห่งน้ี เกิดข้นึ อยา่ งต่อเนือ่ งไม่รู้จบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เป็นภูมิภาคท่ีมีความโดดเด่น มีความหลากหลายท้ังทางด้าน ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ทเ่ี รียบง่าย ด้วยขนาดของภูมภิ าคที่กินพ้นื ที่กวา่ ๑ ใน ๓ ของพนื้ แผน่ ดนิ ไทย จึงท�ำให้ภูมิภาคแห่งน้ีมีจ�ำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศ และมีความหลากหลายของเชื้อชาติประชากร อย่างเห็นได้ชัด ชาวอีสาน จะประกอบด้วยกลุ่มชนหลายเผ่า เช่น เขมร ส่วย (กุย) แสก ย้อ ผู้ไทย กะโส้ (โซ่) รวมท้ังไทยโคราช ซ่ึงแต่ละเผ่าย่อมมีความแตกต่างกัน ส่วนใหญ่พูดภาษาไทยส�ำเนียงอีสานซึ่งมีความแตกต่าง ภูมปิ ญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบา้ นอสี าน ๕

กันด้านส�ำเนียงในแต่ละท้องท่ี หรือพูดภาษาท้องถ่ินของตนเองที่มีมากมายหลายภาษา มีการแต่งกายท่ีเป็น เอกลักษณ์ของตนคือหญิงมักจะนุ่งผ้าซิ่นทอ ด้วยฝ้ายมีเชิงคลุมเลยเข่าไปเล็กน้อย สวมเสื้อแขนสั้น ผู้สูงอายุมัก ตัดผมส้ันไว้จอน ส่วนผู้ชายไม่ค่อยมีรูปแบบท่ีแน่นอนนัก แต่มักนุ่งกางเกงมีขาคร่ึงน่องหรือนุ่งโสร่งผ้าไหม แต่วิถีชีวิตความเป็นอยู่ท่ียึดมั่นอยู่ในจารีตประเพณี ช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกัน ร่วมกิจกรรมสังคมและ งานบุญงานกุศลเป็นประจ�ำ ท�ำให้การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันของกลุ่มชนเหล่านี้มีความสงบสุขตลอดมา ด้วยอุปนิสัย ขยันขันแข็ง และสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ จิตใจผ่องใสอ่อนโยน อาชีพในภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือการ เพาะปลูกพืชท่ีส�ำคัญคือ ข้าว มันส�ำปะหลัง ปอ ข้าวโพด ภาคน้ีมีพื้นที่ท�ำนามากกว่าภาคอ่ืนๆ แต่ผลิตผล ที่ไดต้ ่�ำ เพราะดินของภาคอีสานเป็นดนิ ปนทรายไมอ่ ้มุ นำ้� และการท�ำนาส่วนใหญอ่ าศยั นำ้� ฝน แต่เหมาะส�ำหรับ เลยี้ งสตั วโ์ ดยเฉพาะการเลยี้ งววั เวลาวา่ งจากฤดทู ำ� นา จงึ คดิ สรา้ ง สรรคง์ านศลิ ปเ์ กยี่ วกบั การปลกู หมอ่ นเลยี้ งไหม และทอผา้ ไหม การปลูกหมอ่ นและการเล้ียงไหมของไทย คาดว่าไดร้ บั การถา่ ยทอดจากผ้อู พยพย้ายถ่ินฐาน ซ่ึงมาจาก ตอนใตข้ องประเทศจนี โดยเดินทางผ่านมาทางพมา่ ลาว และเขมร จากหลกั ฐานสันนษิ ฐานวา่ มกี ารปลกู หม่อน กรมหม่อนไหมเล้ียงไหมมานานกว่า ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว โดยการพบหลักฐานเศษผ้าที่ติดอยู่กับก�ำไลส�ำริดของมนุษย์ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียง และบ้านนาดี อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตปัจจุบัน กล่าวคือพื้นที่ภาคอีสานมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมมากท่ีสุด ผ้าไหมเป็นศิลปกรรมสิ่งทอท่ีมีเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น โดยเฉพาะในด้านความประณีตในกรรมวิธีการผลิต ท่ีท�ำให้เน้ือผ้าไหมมีความเรียบสม�่ำเสมอ สวยงาม นุ่ม น่าสัมผัส เป็นเงา เมื่อสวมใส่ ปัจจัยส่วนใหญ่มาจากภูมิปัญญาในด้านกระบวนการสาวไหมน้อยท่ีแยกเส้นไหม ชนั้ นอก(ไหมหวั ) ท่ีมีขนาดใหญ่ เน้ือหยาบออกจากเสน้ ไหมชน้ั ใน (ไหมน้อย) ที่มีลกั ษณะเสน้ เล็ก สมำ�่ เสมอ เส้น เรียบเม่ือทอเป็นผืนผ้าแล้วเน้ือผ้านุ่ม สวมใส่เย็นสบาย การสาวไหมหัตถกรรมของชาวอีสานเป็นภูมิปัญญา ที่มีสืบทอดกันมาจากรุ่นหน่ึงสู่อีกรุ่นหนึ่งของบรรพบุรุษแต่โบราณและเป็นภูมิปัญญาในท้องถิ่นที่มีความ สำ� คญั ยง่ิ ในปจั จบุ นั และผา้ ไหมทม่ี ชี อื่ เสยี งสว่ นใหญอ่ ยทู่ ภี่ าคอสี าน คนอสี านไมว่ า่ จะอพยพไปทำ� มาหากนิ ในพน้ื ท่ี แหง่ ใด จะน�ำการเล้ยี งไหมทอผา้ ไปเผยแพรต่ ลอด ผา้ ไหมเปน็ สว่ นหน่ึงของชวี ิตชาวอีสาน มกี ารนุ่งผา้ ไหมในชวี ิต ประจ�ำวัน สาวชาวอีสานต้องเล้ียงไหม ทอผ้าไหมและเก็บไว้จ�ำนวนหลายร้อยผืนเพื่อใช้ในพิธีการต่างฯ เช่น งานแตง่ งาน งานบวช งานศพ และงานพิธกี รรมตามความเชอ่ื ในแตล่ ะท้องถ่ิน ชาวอีสานมีหลายเผ่าพนั ธุ์ ท�ำให้ ลักษณะการทอ ลวดลายผ้าไหม และการสวมใส่ผ้าไหมแตกต่างกัน มีเพียงการสาวไหมที่ทุกเผ่าพันธุ์ ชาวอีสานมีลกั ษณะเหมอื นกนั เส้นไหมหัตถกรรมของชาวอีสาน มีความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์ จากการสาวมือด้วยพวงสาว พื้นบา้ น ท�ำใหเ้ ส้นไหมทไ่ี ด้มีความน่มุ นวลและมีความยืดหย่นุ เม่อื น�ำมาทักทอเป็นผนื ผ้าจะท้งิ ตัวอยา่ งมนี ำ้� หนัก ภูมิปัญญาการสาวไหมเป็นกระบวนการผลิตเส้นไหมของผู้เลี้ยงไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม วิถีชีวิต ทส่ี ืบทอดกันมาของสตรีภายในครอบครวั คือ แมถ่ ่ายทอดวิธกี ารสาวไหมโดยการทำ� ให้ดู แนะนำ� วธิ ีการสาวไหม ให้บุตรรู้ แล้วบุตรสาวน�ำไปปฏิบัติตาม ซึ่งเป็นการเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง ซ้�ำแล้วซ้�ำอีกจนเกิดความช�ำนาญ เปน็ การเรยี นร้ใู นครอบครัว แล้วขยายไปในชมุ ชนนน้ั ๆ และนอกชมุ ชน โดยมกี ารปฏบิ ัตสิ ืบต่อกนั มาจากรนุ่ หนึง่ สู่อีกรุ่นหนึ่งเป็นเวลาหลายร้อยปีมาแล้ว จะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีการบางส่วน เพื่อให้เหมาะสม กับสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถ่ิน รังไหมที่ใช้สาวเป็นรังไหมไทยพ้ืนบ้านท่ีเลี้ยงเองใน ๖ ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้นื บา้ นอสี าน

ครอบครัวและที่ราชการสนับสนุน เช่น ไหมพันธุ์นางน้อย พันธุ์ส�ำโรง และพันธุ์พื้นบ้านที่ชาวอีสานเล้ียง และ ตอ่ พนั ธ์ุมาเป็นเวลาช้านาน ผ้าไหมมีความส�ำคัญกับขนบธรรมเนียมประเพณี ของชาวอีสาน ทั้งชาวเขมร ลาว ส่วย เช่น มีการ สวมใสผ่ า้ ไหมในงานพธิ เี ทศกาล หรือติดตอ่ งานส�ำคัญต่างๆ เป็นต้น ชาวอสี านจึงปลูกหมอ่ นเลีย้ งไหม สาวไหม และทอผ้าไหมเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ ซึ่งการทอผ้าไหมของชาวอีสานแต่ละจังหวัดจะได้ผ้าไหมท่ีเป็น เอกลักษณ์เฉพาะประจ�ำจังหวัดแตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละจังหวัดก็มีประวัติความเป็นมาของผ้าไหมที่ต่างกัน เช่น ผ้าไหมกาบบัวจังหวัดอุบลราชธานี มีการกล่าวในต�ำนานเมืองอุบลถึงการสืบเช้ือสายจากเจ้านครเชียงรุ้ง แสนหวีฟ้าของเจ้าปางค�ำ พระบิดา ของเจ้าพระตา เจ้าพระวอ โดยกล่าวถึง ปีพ.ศ.๒๒๒๘ เกิดวิกฤตทาง การเมือง ในนครเชียงรุ้ง เน่ืองจากจีนฮ่อหัวขาว หรือฮ่อธงขาว ยกก�ำลังเข้าปล้นเมืองเชียงรุ้ง เจ้านครเชียงรุ้ง ได้แก่ เจ้าอินทกุมารเจ้านางจันทกุมารี เจ้าปางค�ำ อพยพไพร่พล จากเมืองเชียงรุ้ง มาขอพ่ึงพระเจ้าสุริยวงศา ธรรมิกราช แหง่ เวยี งจันทน์ ซ่งึ เปน็ พระประยรู ญาตทิ างฝา่ ยมารดา พระเจ้าสรุ ยิ วงศาธรรมิกราช ใหก้ ารต้อนรบั เปน็ อยา่ งดี โปรดใหน้ ำ� ไพรพ่ ลไปต้ังที่เมอื งหนองบวั ลุ่มภู มีชื่อว่า “นครเขอ่ื นขนั ธก์ าบแกว้ บัวบาน” จะเหน็ ได้ กรมหม่อนไหมวา่ จงั หวดั อุบลราชธานี ได้รับอทิ ธพิ ลทางด้านศลิ ปวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมถงึ วิถชี ีวิตมาจาก เวยี งจนั ทรต์ งั้ แตส่ มยั โบราณกาล จนกระทง่ั ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ แหง่ ราชวงศ์จักรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ข้าหลวงต่างพระองค์ส�ำเร็จราชการมณฑล ลาวกาว ได้น�ำผ้าทอเมืองอุบลฯทูลเกล้าถวาย ซ่ึงปรากฏในพระราชหัตถเลขาตอบเม่ือวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ร.ศ.๑๑๔ ทห่ี อจดหมายเหตแุ หง่ ชาตคิ วามว่า   “ถงึ สรรพสทิ ธิ ดว้ ยไดร้ บั หนงั สอื ลงวนั ที่ ๑๓ มกราคม สง่ ผา้ เยยี รบบั ลาวมาใหน้ นั้ ไดร้ บั แลว้ ผา้ นท้ี อ ดมี าก เชยี งใหมส่ ู้ไม่ได้เลย ถ้าจะยใุ ห้ทำ� มาขายคงจะมีผู้ซ้อื ฉันจะรับเป็นนายหนา้ ส่วนท่สี ่งมาจะใหต้ ดั เสือ้ ถ้ามีเวลาจะถ่ายรูปให้ดู แต่อยา่ ตัง้ ใจคอยเพราะจะถ่ายเมอ่ื ใดบอกไมไ่ ด้” จฬุ าลงกรณ์ ปร. ภูมิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพนื้ บา้ นอีสาน ๗

จากการคน้ ควา้ ถงึ ตำ� นานผา้ เยยี รบบั นพี้ บ ว่า เป็นผ้าลายกาบบวั คำ� ทอดว้ ยเทคนิคขิดหรอื ยก ดว้ ยไหมคำ� (ดน้ิ ทอง) แทรกดว้ ยไหมมดั หมใ่ี ชเ้ ทคนคิ การจกหรือเกาะด้วยไหมสตี ่างๆ ลงบนผนื ผ้า ผ้าไหมมัดหม่ีอ�ำเภอชนบท จังหวัด ผ้าหน้านาง หรือผ้าปูม ซ่ึงเป็นของเจ้าเมืองชนบท ขอนแก่น มคี �ำพูดที่ว่า “คนรจู้ ักเมอื งขอนแก่น ก็ อายกุ ว่า ๒๒๐ ปี ต้องรู้จักผ้าไหมขอนแก่น” และ “ผ้าไหมเมือง การแต่งกายของสตรีชาวอีสาน นิยมนำ�ผ้าไหมมาเย็บ ขอนแกน่ กต็ อ้ งผา้ ไหมของอำ� เภอชนบท” คำ� กลา่ ว เปน็ ผา้ นงุ่ ใช้สวมใสใ่ นงานพธิ ีสำ�คัญ น้ีแสดงให้เห็นถึงช่ือเสียงของผ้าไหมเมืองขอนแก่น ซง่ึ มคี วามวจิ ติ รงดงาม ประณตี ความคดิ สรา้ งสรรค์ ในการออกแบบลวดลายและสีสันของ ผ้าไหมให้มี ความโดดเด่นแตกต่างจากผ้าไหมที่อื่นๆ นับเป็น กรมหมอ่ นไหมเอกลกั ษณข์ องผา้ ไหมเมอื งขอนแกน่ เปน็ มรดกทาง วัฒนธรรมท่ีได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษจาก รุน่ สรู่ ุ่นท่ีชาวขอนแก่นภูมิใจทีส่ ุด ไม่มีใครทราบได้ว่าคนทอผ้าคนแรกของ เมืองขอนแก่นคือใคร แต่คนขอนแก่นโดยเฉพาะ คนเมืองชนบทจะตอบได้ทันทีว่า พอเกิดมาลืมตา ดูโลกก็รู้เรื่องการทอผ้าไหมแล้ว น่ันแสดงว่าการ ทอผ้าไหมของเมืองขอนแก่นมีมาช้านานแล้ว โดย คนขอนแกน่ ในอดตี มกี ารเคลอื่ นยา้ ยไพรพ่ ลมาจาก ประเทศลาว หรือ อาณาจกั รลา้ นชา้ ง ซงึ่ ประกอบ ด้วยอาณาจักรย่อยๆ คือ อาณาจกั รหลวงพระบาง อาณาจักรเวียงจันทน์ และอาณาจักรจ�ำปาสัก มี การน�ำเอาศิลปหัตถกรรมทอผ้าไหมติดตัวมาด้วย และมีการถ่ายทอดสู่ชนรุ่นหลังสืบต่อกันมาจนถึง ปจั จบุ นั ในอดีตท่ีผ่านมา การทอผ้าถือเป็นหน้าท่ี สำ� คญั ของผหู้ ญงิ ชาวอสี าน เพราะจะตอ้ งทอผา้ เพอื่ ใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มในชีวิตประจ�ำวัน ผู้หญิงอีสาน ต้องเรียนรู้และฝึกหัดการทอผ้ามาต้ังแต่เด็ก จน กลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวถิ ชี วี ติ ดงั คำ� ผญาทส่ี อนสตรี ชาวอสี านวา่ “ทอหกู บเ่ ปน็ แจ ทอแพรบเ่ ปน็ ฝาตอ้ น เล้ียงม่อนบ่ฮู้โตลุกโตนอน อย่าฟ้าววอนเอาผัว” ๘ ภูมปิ ญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบา้ นอีสาน

กรมหม่อนไหมประเพณีการลงช่วงของคนอีสาน ผู้หญิงในหมู่บ้านจะมารวมกัน เข็นไหมตอนเยน็ การทอผ้าเพ่ือใช้ในครอบครัวจึงเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีผู้หญิงอีสานจะต้องเรียนรู้และฝึกหัด โดยเร่ิมจากผู้เป็นแม่ ได้ถ่ายทอดความรู้และเทคนิควิธีการทอผ้าให้ลูกหลาน สืบทอดกันมาไม่ขาดสาย ผ้าไหมท่ีทอได้นิยมสวมใส่ไป ทำ� บุญท่ีวัด หรอื ในงานพธิ ีและงานมงคลตา่ งๆ รวมทัง้ เกบ็ ไว้เปน็ มรดกใหล้ ูกหลาน อำ� เภอชนบท เปน็ อำ� เภอท่ีมกี ารทอผ้าไหมท่มี ชี ่อื เสียงมากทีส่ ุดในจงั หวัดขอนแกน่ เร่มิ มีการทอผา้ มา ต้งั แตเ่ มอื่ ไร ไม่สามารถสืบประวัตไิ ด้ แตจ่ ากการสอบถามผรู้ ้ดู า้ นการทอผ้าไหมคอื คุณประนอม ทองประศาสน์ ประธานกล่มุ ทอผ้าไหมบ้านหนองกองแกว้ อายุ ๕๖ ปี อยบู่ ้านเลขท่ี ๑๙๙ ม.๑๑ ต.ชนบท อ.ชนบท จ.ขอนแกน่ ได้เล่าว่า ต้ังแต่จ�ำความได้ก็เห็นพ่อแม่ทอผ้าอยู่แล้ว และคุณยายของคุณประนอมก็มีการทอผ้ามาตั้งแต่เด็กๆ แสดงว่า การทอผ้าของอ�ำเภอชนบท น่าจะมีมาไม่ต่�ำกว่า ๑๐๐ ปี หรืออาจจะมีมาต้ังแต่เริ่มตั้งเมืองชนบท คือ ประมาณ ๒๐๐ กว่าปีท่ีแล้ว เน่ืองจากมีหลักฐานส�ำคัญคือ ผ้าไหมมัดหม่ีหน้านาง หรือผ้าปูม อายุกว่า ๒๒๐ ปี ท่ีเจ้าเมืองชนบทคนแรกได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ โดยทายาทของเจา้ เมอื งเปน็ ผเู้ กบ็ รกั ษาไว้ ซงึ่ ตอ่ มาคนชนบทไดน้ ำ� มาเปน็ ตน้ แบบในการทอผา้ ไหมมดั หมหี่ นา้ นาง ท่มี ชี ่อื เสยี งและเปน็ เอกลกั ษณอ์ ย่างหนึ่งของผา้ ไหมชนบทในปัจจุบัน ผ้าไหมมัดหมี่ของจังหวัดขอนแก่น มีชื่อเสียงมานานจนเป็นที่รู้จักของคนท่ัวไปท้ังในและต่างประเทศ ท�ำให้เกิดเป็นงานประเพณีของจังหวัดขอนแก่น คือ “งานไหม ประเพณีผูกเสี่ยว และงานกาชาด” มาต้ังแต่ ปีพ.ศ.๒๕๒๐ ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน โดยอ�ำเภอชนบทเป็นศูนย์รวมผ้าไหมที่ใหญ่ท่ีสุดในจังหวัดขอนแก่น มีร้านคา้ ผา้ ไหมกวา่ ๕๐ รา้ นโรงงานทอผ้าขนาดใหญ่กว่า ๑๐ โรงงาน ผ้าไหมเมืองขอนแก่นมีจุดเด่นคือ มีความสวยงาม ลวดลายละเอียดแตกต่างจากท่ีอื่น ลายเก่าแก่ท่ี สืบทอดกันมา คือ ลายหมีก่ ง ลายขนั หมากเบ็ง ลายขอพระเทพหรอื ลายเชงิ เทยี น และ “เทคนิค” คือการทอผา้ ๓ ตะกอ ซ่ึงเลียนแบบได้ยาก ท�ำให้ผ้าไหมเมืองขอนแก่นเป็นที่ต้องการของตลาด และได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดในเวทีตา่ งๆ เปน็ ประจ�ำ ทั้งในเวทีระดับชาติหรอื ระดบั นานาชาติ ภูมปิ ญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้ืนบ้านอีสาน ๙

เนื่องจากความมีชื่อเสียงทางด้าน ผา้ ไหม ทำ� ใหจ้ งั หวดั ขอนแกน่ มโี อกาสไดต้ อ้ นรบั นกั ทอ่ งเทย่ี วทงั้ ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศอยู่ เปน็ ประจำ� อาทเิ ชน่ ไดต้ อ้ นรบั เจา้ หนา้ ทอี่ าวโุ ส และรัฐมนตรีการค้า APEC และคู่สมรสจาก หลายประเทศท่ีเข้าร่วมประชุม APEC ๒๐๐๓ ท่ีประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ระหว่างวันที่ ๒๑ พฤษภาคม – ๓ มิถนุ ายน ๒๕๔๖ กรมหมอ่ นไหมนภาลยั (ร.๒)แหง่ราชวงศจ์ กั รี“นายแล”และ ผา้ ไหมบา้ นเขวา้ จงั หวดั ชยั ภมู ติ ามหลกั ฐานท่ีปรากฏในท�ำเนียบแผ่นดินพระนารายณ์ มหาราชและพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ ตรง กบั สมยั แผน่ ดนิ พระบาสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ “นางบญุ ม”ี ภรรยา ทา่ นมถี น่ิ กำ� เนดิ ทน่ี ครเวยี ง จันทร์ (ปัจจุบันอยู่ในอาณาเขตสาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว) ทา่ นเปน็ ขา้ ราชการ ในสำ� นกั ของเจา้ อนุวงศ์แหง่ นครเวียงจันทร์ ตอ่ ชุดเจ้าเมอื งขอนแกน่ ทำ�ดว้ ยผา้ ไหมมดั หม่ี มานายแลไดข้ ออนญุ าตลาออกจากราชการและ อพยพครอบครัวมาตง้ั ถ่ินฐานในเขตประเทศไทย เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ ณ โนนนำ�้ อ้อมชีลอง ซ่งึ อยู่ในเขตอ�ำเภอ เมอื งชยั ภมู ใิ นปจั จบุ นั นางบญุ มภี รรยานายแลเปน็ ผมู้ คี วามรสู้ ามารถและชำ� นาญในการถกั ทอผา้ ออกแบบลวดลาย ผ้ามัดหมี่ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท่ีได้ติดตัวมาจากบรรพบุรุษ ท่านได้น�ำ ภูมิปัญญาที่มีดังกล่าวมาฝึกสอนให้แก่ชาว บ้านทอ่ี พยพมาต้งั ถนิ่ ฐานด้วยกัน ให้รู้จักวธิ ีป่นั ดา้ ย มัดหม่ี เล้ียงไหม ปลกู ผ้าย ทอผ้าขาว ผ้าด�ำ ผ้าซิ่นหม่ี ผ้าขิด เพ่ือเป็นเครื่องนุ่งห่มจนเป็นท่ีขึ้นช่ือในความสวยงามและประณีตของผืนผ้า ช่างทอที่ทอผ้าฝีมือดี และ นางบญุ มที อผา้ เพอื่ นำ� ไปเปน็ เครอ่ื งราชบรรณาการใหแ้ กเ่ จา้ อนวุ งศ์ ซง่ึ เปน็ ทพ่ี อพระราชหฤทยั เปน็ อยา่ งยง่ิ เมอื่ พ.ศ. ๒๓๖๗ ขุนภักดีชุมพล (แล) ซ่ึงเป็นยศเดิมที่ท่านมี และนางบุญมีภรรยาท่านได้เก็บเก่ียวอากรจาก ชายฉกรรจ์ ผ้าขาวด�ำ ผ้าซ่ินหมี่ ผ้าขิด พร้อมด้วยทองค�ำก้อนใหญ่ไปบรรณาการแด่เจ้าอนุวงศ์อีกเช่นเคย เจ้าอนุวงศ์เห็นในความกตัญญูรู้คุณแผ่นดินเกิดของขุนภักดีชุมชล (แล) และนางบุญมีได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ทา้ วบญุ มี พรอ้ มยกหมบู่ า้ นหลวงใหเ้ ปน็ เมอื ง ชอ่ื เมอื งชยั ภมู ิ โดยพระภกั ดชี มุ พล (แล) ครองตำ� แหนง่ เปน็ เจา้ เมอื ง คนแรก และภรรยาเจ้าเมืองคนแรกคือท้าวบุญมี ซ่ึงได้รับบรรดาศักด์ิในคราวเดียวกัน จากคุณงามความดีของ สองท่านที่ได้ปกครองเมืองชัยภูมิ โดยยึดม่ันในขันติธรรมท่านบ�ำรุงบ้านเมืองจนเกิดความเจริญรุ่งเรืองทุกด้าน จนชาวเมืองชัยภูมิมีความเป็นอยู่ที่ดีมีความกตัญญูรู้คุณต่อแผ่นดินที่ท่านได้อาศัยมา คือแผ่นดินไทยสู้ศึกกู้ บ้านเมืองคราวเจ้าอนุวงศ์คิดกบฏต่อประเทศไทย (ณ เวลานั้นนครเวียงจันทร์อยู่ในอาณาเขตประเทศไทย) พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยจงึ ไดพ้ ระราชทานบรรดาศกั ดใ์ิ ห้ จากพระภกั ดชี มุ พล (แล) เป็น พระยาภักดชี มุ พล (แล) ๑๐ ภูมปิ ญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพื้นบ้านอีสาน

ในอดตี การผลติ ผา้ ไหมของอำ� เภอบ้านเขว้า เปน็ การผลิตโดยอาศยั ภมู ิปัญญาจากชาวบา้ น ผลิตขึ้นไวใ้ ช้ ในครัวเรือน ต่อมาเร่ิมมีการผลิตข้ึนมาอย่างแพร่หลาย ท�ำให้เกิดแนวความคิดท่ีจะน�ำผลิตภัณฑ์ผ้าไหมออก จ�ำหน่ายตามท้องตลาด ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากส่วนราชการในการหาตลาดเพื่อน�ำผลิตภัณฑ์ออกจ�ำหน่าย ตามสถานที่ต่างๆ ในปี ๒๕๑๖ นายอำ� เภอบ้านเขว้า (น.อ.สมคิด จาปะเกษตร) ในสมัยน้ันพร้อมดว้ ย นายทองคำ� อยู่วเิ ศษ ผู้ช่วยศึกษาธิการอ�ำเภอบ้านเขว้าและคุณนายนายอ�ำเภอบ้านเขว้าได้ประสานไปยัง คุณหญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ (ปัจจุบันท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ) ซ่ึงเป็นผู้ใกล้ชิดสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ และ ม.ร.ว.สปุ ะภาดา เกษมสนั ต์ ราชเลขานกุ ารในพระองคเ์ พอ่ื ตดิ ตอ่ ขอนำ� ผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไหมของเกษตรกรไปจำ� หนา่ ย ยังส�ำนักพระราชวัง และได้รับการสนับสนุนให้น�ำผลิตภัณฑ์ผ้าไหมเข้าไปจ�ำหน่าย จึงได้มีการรวมกลุ่มกันเพ่ือ ผลติ สินคา้ ออกจำ� หน่าย โดยการน�ำของทา่ นนายอำ� เภอบ้านเขวา้ และได้จัดตั้งกลมุ่ ทอผา้ ไหมอ�ำเภอบา้ นเขว้า ขน้ึ ในสมัยนนั้ เอง มีสมาชกิ ท้ังส้ิน ๖๐๐ คน โดยมีนางแซว อยวู่ เิ ศษ เป็นหัวหน้ากลมุ่ สามารถจำ� หน่ายผ้าไหมให้ กบั สำ� นักพระราชวังได้ราคาผืนละ ๔๐๐ บาท (ถา้ ผืนไหมสวยจะได้ราคาเพม่ิ อกี ผืนละ ๓๐๐ บาท และไดส้ ่งผา้ ที่ กรมหมอ่ นไหมเหมือนกนัอกี ๖ผืน) ต่อมาได้มีการผลิตผ้าไหมกันอย่างแพร่หลายและได้เกิดกลุ่มผู้ประกอบการผลิตและจ�ำหน่ายผ้าไหมขึ้น อกี เปน็ จำ� นวนมากในอำ� เภอบา้ นเขวา้ เทศบาลตำ� บลบา้ นเขวา้ จงึ ไดม้ นี โยบายทจี่ ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ผลติ ภณั ฑ์ ผ้าไหมของอ�ำเภอบ้านเขว้า ให้เป็นศูนย์กลางแหล่งผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของภาคอีสานโดยการ สนับสนุนของอ�ำเภอบ้านเขว้า และผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิจัดสรรงบประมาณก่อสร้างศูนย์ส่งเสริมผ้าไหม จังหวัดชัยภูมิ เพื่อเป็นศูนย์กลางข้อมูลข่าวสาร จัดแสดงสินค้า และถ่ายทอดความรู้ในการผลิตและจ�ำหน่าย ผลิตภณั ฑ์ผา้ ไหมของอำ� เภอบ้านเขวา้ ผ้าไหมจังหวดั บุรรี ัมย์ บรุ ีรัมยห์ รือเมอื งแปะในตอนปลายสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา โดยปรากฏเป็นเมืองข้ึน ของเมืองนครราชสีมา (พ.ศ.๒๓๑๙) ได้กล่าวถึงการรวมตั้งเมืองต่างๆ ในแถบบริเวณนี้ ซ่ึงตามบันทึกได้กล่าว ถึงเมืองนางรอง เมืองพุทไธสง และเมืองประโคนชัย ซ่ึงเมืองเหล่านี้อยู่ในพื้นท่ีจังหวัดบุรีรัมย์ในปัจจุบัน ได้ถูกเกณฑ์ชายฉกรรจ์ฝึกเป็นนักรบและได้น�ำผู้น�ำทัพ คือ เจ้าพระยาจักรี และเจ้าพระยาสุรสีห์คุมทัพหัวเมือง ภูมิปัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้ืนบ้านอสี าน ๑๑

ฝ่ายเหนือไปปราบเมืองโขง เมืองจำ� ปาสัก และเมอื ง อตั ปอื กวาดตอ้ นเจา้ นายและประชาชนจากเมอื งโขง เร่ือยมาตามล�ำมูลฝั่งทุ่งกว้างและพักทัพในเขต เมอื งไผทสมนั (พุทไธสง) ประชาชนที่ถูกกวาดตอ้ น ได้น�ำวิชาแขนงต่างๆ เข้ามาด้วย โดยเฉพาะการ ทอผา้ และเลย้ี งไหมทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องชาวลาวโขง (ลาวพรวน) ในกล่มุ วชิ าแขนงต่างๆ เข้ามาด้วย โดย เฉพาะการทอผ้าและเลี้ยงไหมท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ ชาวลาวโขง (ลาวพรวน) ในกลมุ่ ชนชนั้ สงู ทม่ี วี ตั ถดุ บิ เป็นเส้นไหมมากกว่าเส้นฝ้ายท่ีใช้กันในชนช้ันล่าง ลงไป กาลเวลาล่วงเลยไปนับร้อยปี พระชายาเจ้า ผู้ครองนครเมืองไผทสมันท่ีกวาดต้อนมาจากกลุ่ม กรมหมอ่ นไหมลาวโขง ได้ทรงฟื้นฟูการเลี้ยงไหมและทอผ้าไหม มัดหมี่ท่ีเคยทอสวมใส่และมีจ�ำนวนน้อยลงขึ้นมา อีกครั้งเพ่ือผลิตใช้ให้เพียงพอและเหมาะสมกับ กลุ่มชนสตรีช้ันสูง ภายหลังน�ำมาใช้กันแพร่หลาย ของชาวลาวโขง ท่ีมีเอกลักษณ์ความสวยงามแปลก ตา และวิจิตรบรรจงและถ่ายทอดให้แก่ผู้ใกล้ชิดที่ เปน็ ธดิ าและญาตๆิ ของเจา้ เมอื งไผทสมนั และชนพน้ื เมอื งเดิม (ขอมร้า) สืบทอดเปน็ มรดกทางหัตถกรรม ต่อกนั เรอ่ื ยมา ผา้ ไหมจงั หวัดสรุ นิ ทร์ ผ้าไหมสุรนิ ทร์เปน็ ศิลปกรรมส่ิงทอที่มีเอกลักษณท์ ีโ่ ดดเด่น โดยเฉพาะ ในด้านความประณีตในกรรมวิธีการผลิต ท่ีท�ำให้ เนื้อผ้าไหมมีความเรียบสม่�ำเสมอ สวยงาม นุ่ม น่าสัมผัส เป็นเงาและสวมใส่ ปัจจัยส่วนใหญ่มา จากภูมิปัญญาของชาวสุรินทร์ในด้านกระบวนการ สาวไหมน้อยท่ีแยกเส้นไหมช้ันนอก (ไหมหัว) ที่มีขนาดใหญ่ เน้ือหยาบออกจากเส้นไหมชั้นใน (ไหมน้อย) ที่มลี ักษณะเสน้ เลก็ สม�่ำเสมอ เสน้ เรยี บ เมื่อทอเป็นผืนผ้าแล้วเน้ือผ้านุ่ม สวมใส่เย็นสบาย การสาวไหมหตั ถกรรมของชาวสรุ นิ ทร์ เปน็ ภมู ปิ ญั ญา ท่ีมีสืบทอดกันมา จากรุ่นหน่ึงสู่อีกรุ่นหน่ึงของ ๑๒ ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพน้ื บ้านอีสาน

บรรพบุรุษแต่โบราณ และเป็นภูมิปัญญาใน ทอ้ งถนิ่ ทม่ี ีความส�ำคญั ยง่ิ ในปัจจบุ นั ภู มิปัญญาการสาวไหมหัตถกรรมของ เกษตรกรในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เปน็ กระบวนการผลติ เส้นไหมของเกษตรกรผู้เล้ียงไหม ซ่ึงเป็นส่วน หน่ึงของวัฒนธรรม วิถีชีวิตท่ีสืบทอดกันมาของ สตรีภายในครอบครัว คือ แม่ถ่ายทอดวิธีการ สาวไหมโดยการท�ำให้ดู แนะน�ำวิธีการสาวไหม ให้บุตรรู้ แล้วบุตรสาวน�ำไปปฏิบัติตาม ซึ่งเป็น การเรียนรู้ด้วยการปฏิบัติจริง ซ้�ำแล้วซ้�ำอีกจน เกิดความช�ำนาญ เป็นการเรียนรู้ในครอบครัว แล้วขยายไปในชมุ ชนน้นั ๆ และนอกชมุ ชน โดย กรมหมอ่ นไหมมีการปฏิบัติสบื ต่อกนั มาจากรุน่ หนงึ่ ส่อู ีกรุน่ หน่ึง เป็นเวลาหลายร้อยปีมาแล้ว จะมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงวิธีการบางส่วน เพ่ือให้เหมาะสม กับสถานการณ์ และสภาพแวดล้อมในแต่ละ ท้องถ่ินรังไหมที่ใช้สาวเป็นรังไหมพื้นบ้านที่ เล้ียงเองในครอบครัวท่ีราชการสนับสนุน เช่น ไหมพนั ธุ์นางนอ้ ย พนั ธุ์สำ� โรง และพันธุพ์ ้ืนบา้ น ที่เกษตรกรเลีย้ งประจ�ำในแตล่ ะท้องถิ่น ยังมีผ้าไหมอีกหลายๆ จังหวัดในอีสาน ท่ีมีชื่อเสียง เช่น ผ้าไหมขิดของจังหวัดอุดรธานีผ้าไหมแพรวากาฬสินธุ์ ต่างก็เป็นที่รู้จักดี ซึ่งผ้าไหมในพ้ืนท่ี ภาคอสี านมวี ฒั นธรรมทยี่ าวนาน และเปน็ ทตี่ ง้ั ของชมุ ชนคนสมยั โบราณมคี วามหลากหลายทางเผา่ พนั ธ์ุ และเปน็ แหล่งต้นก�ำเนิดของผ้าไหมของไทย ท�ำให้วิถีชีวิตกับผ้าไหมผูกพันกันจนดูเหมือนเป็นสิ่งตกทอดจากบรรพบุรุษ ลูกหลานทุกคนต้องด�ำรงรักษาองค์ความรู้เส้นไหมไว้ หลักฐานที่ปรากฏในปัจจุบัน คือลายผ้าท่ีมีหลากหลาย การใชผ้ า้ ไหมในพิธกี ารต่างๆ การสวมใส่ผา้ ไหมทกุ เพศทกุ วยั มีพื้นที่ปลูกหมอ่ นทีม่ ากท่สี ดุ ในประเทศ พนั ธไุ์ หม ที่มีมากมายหลายชนิด ซึ่งไหมบางสายพันธุ์มีการเลี้ยงต่อกันมาหลายร้อยปี ท�ำให้หญิงชาวอีสานมีการสาวไหม มาตั้งแต่เด็ก สาวเรื่อยมาจนพัฒนาฝีมือจากประสบการณ์ที่ท�ำบ่อยๆ และสืบทอดกรรมวิธีการสาวสู่ลูกหลาน มาหลายช่ัวอายุคน เกดิ การพัฒนาการสาวเรอ่ื ยมา จะกล่าวไดว้ า่ ชาวอสี านมีการสาวไหมและพฒั นาการสาวไหม มากที่สุดในประเทศ จนมีค�ำกล่าวว่า ถ้าจะซ้ือเส้นไหมต้องไปอีสาน ปริมาณเส้นไหมไทยพื้นบ้านท่ีมีการผลิต ในแต่ละปี ประมาณ ๘๐๐-๑,๐๐๐ ตนั โดยรอ้ ยละ ๙๘ มาจากภาคอสี าน ภมู ปิ ญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบา้ นอีสาน ๑๓

๒. คณุ ลกั ษณะเส้นไหมไทยพนื้ บา้ นอีสาน เส้นไหมไทยเป็นวัตถุดิบท่ีเป็นเอกลักษณ์ และถือเป็นวัตถุดิบที่ส�ำคัญในการทอผ้าไหมของไทย ซ่ึง สร้างความแตกตา่ งจากผา้ ไหมทง้ั โลก เส้นไหมไทย ไดจ้ ากการน�ำรังไหมพันธุ์ไทยมาสาวดว้ ยพวงสาวไหมพน้ื บา้ น โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น การเล้ียงไหมพันธุ์ไทยพ้ืนบ้านได้แก่ พันธุ์นางน้อย นางลาย นางหงอก นางส่ิว นางเขียว นางตุ่ย ส�ำโรง นางเหลือง นางไหม แพงพวย และกากี วนาสวรรค์ ทับทิมสยาม ไขง่ ู คอตงั้ สองพ่ีนอ้ ง ลำ� ปอ ฯลฯ ถือเป็นอาชีพท่ีเป็นประเพณี วัฒนธรรม และวิธีชีวิตของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสาน ของไทย ซ่ึงเกษตรกรโดยเฉพาะจะต้องปลูกหม่อน เล้ียงไหม สาวไหมและทอผ้าเป็น ถือเป็น ค่านิยมของสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังเช่น สุภาษิตโบราณท่ีกล่าวว่า “ทอหูกบ่เป็นแจ ทอแพร กรมหมอ่ นไหมบเ่ปน็ ฝาตอ้ นเลยี้ งม่อนบ่ฮูโ้ตลกุ โตนอนอย่าฟา้ ววอนเอาผัว” การปลูกหมอ่ น ๑๔ ภูมิปัญญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน

การเล้ียงไหม รงั ไหมพนั ธไ์ุ ทยพืน้ บ้านทไ่ี ดจ้ ากการเลี้ยงไหม เกษตรกรจะน�ำมาสาวมอื เพื่อผลติ เสน้ ไหม โดยอุปกรณ์ การสาวแบบด้ังเดิม ปกติในการสาวไหมของเกษตรกรจะได้เส้นไหม เป็น ๓ ประเภท แตกต่างกันตามช้ันของ กรมหมอ่ นไหมรังไหมทีใ่ชส้าวดงันี้ ๒. เส้นไหมหลืบ (ลืบ) หรือไหมเปลือก หรือ ไหม ๓ (เป็นเส้นไหมท่ีได้จากเปลือกรังไหม ชั้นนอก รวมทงั้ ปยุ ไหม) ๒. เส้นไหมสาวเลย หรือเส้นไหมรวด หรือ ไหม ๒ (เป็นเส้นไหมที่ได้จากเปลือกรังไหม ชัน้ นอกและชั้นในรวมกนั ) ๓. ไหมนอ้ ย หรอื ไหมเครอื หรอื ไหมยอด หรอื ไหม ๑ (เปน็ เสน้ ไหมทไี่ ดจ้ ากเปลอื กรงั ไหมชนั้ ใน) ๒.๑ เส้นไหมหลืบ หรอื ไหมเปลอื ก หรอื เสน้ ไหม ๓ ลกั ษณะทางกายภาพ เป็นเส้นไหมท่ีได้จากรังไหมช้ัน นอก รวมทั้งปุยไหม นิยมใช้เป็นเส้นพุ่งในการทอผ้าและ ใช้ในพธิ ีกรรมตา่ งๆ ลกั ษณะเสน้ ไหมจะใหญม่ ากและเนอ้ื หยาบ มปี ่มุ ปม ขนาดสมำ่� เสมอ รวมตัวกลม สะอาดไมม่ ี สิ่งปลอมปน มีสีเข้มและสม�่ำเสมอ ขนาดของเส้นไหม ขน้ึ อยกู่ บั ความตอ้ งการของผทู้ สี่ าวไหม ทมี่ กั พบจะมขี นาด ต้งั แต่ ๓๐๐ ดีเนียร์ ขึ้นไป แต่ตามมาตรฐานเส้นไหมไทย ของ มกษ.๘๐๐๐-๒๕๔๘ แบ่งขนาดเส้นไหมเป็น ๕ กลุ่ม ดังน้ี กลุ่ม ๑ ขนาดน้อยกว่า ๒๕๐ ดีเนียร์ กลุ่ม ๒ ขนาด ๑๕๑-๓๕๐ ดีเนยี ร์ กลมุ่ ๓ ขนาด ๓๕๑-๓๕๐ เสน้ ไหมหลืบ ดเี นียร์ กลุ่ม ๔ ขนาด ๓๕๑-๔๕๐ ดเี นยี ร์ และกลุ่ม ๕ ขนาดมากว่า ๔๕๑ ดเี นยี ร์ ภูมปิ ญั ญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพนื้ บ้านอีสาน ๑๕

ลักษณะทางคณุ ภาพเสน้ ไหม ๓ - ขนาดเสน้ ไหม ๖๗๖ + ๑๗๑ ดีเนยี ร์ - ความเหนยี ว ๒.๐ + ๐.๓ กรมั /ดีเนยี ร์ - การยดื ตัว ๑๗ + ๓.๖ % คณุ ภาพตามมาตรฐาน มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ กรมหมอ่ นไหมเสน้ไหมสาวเลย - ความสมำ่� เสมอ ๒๔.๓ + ๗.๐ คะแนน (เตม็ ๕๐) ลกั ษณะทางคณุ ภาพเสน้ ไหม ๒ - สี ๘.๙ + ๑๒.๔ คะแนน (เต็ม ๑๐) - ขนาดเส้นไหม ๓๓๓ + ๘๔ ดีเนยี ร์ - การรวมตวั ๑๓.๓ + ๖.๓ คะแนน (เต็ม ๒๐) - ความเหนยี ว ๒.๗ + ๐.๒ กรัม/ดีเนียร์ - ความสะอาด ๑๑.๔ + ๒.๙ คะแนน (เตม็ ๒๐)ลกั ษณะเส้นไหมหลบื - การยืดตวั ๑๙ + ๔.๐ % ๒.๒ เส้นไหมสาวเลย หรือเส้นไหมรวด หรอื เสน้ ไหม ๒ ลกั ษณะทางกายภาพ เสน้ ไหมทไี่ ดจ้ ากการสาวควบกนั ทงั้ ปยุ และเส้นใยส่วนนอกของรังไหมไปจนถึงเส้นใยส่วนใน ของรงั ไหมใหเ้ สรจ็ คราวเดยี วกนั เสน้ ไหมไมเ่ รยี บ ขนาด สม�่ำเสมอ รวมตัวกลม สะอาดไม่มีส่ิงปลอมปน สี สม�่ำเสมอ ลักษณะเสน้ ไหมที่สาวได้หยาบและเสน้ ใหญ่ กว่าไหมหน่ึง ใช้เป็นเส้นไหมพุ่งได้เพียงอย่างเดียว มี ขนาดเส้นทัว่ ไป ๑๕๐-๒๐๐ ดีเนียร์ แต่ตามมาตรฐาน เสน้ ไหมไทยของ มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ แบง่ ขนาดเส้น ไหมเป็น ๕ กลมุ่ ดังนี้ กลุ่ม ๒ ขนาดนอ้ ยกวา่ ๑๕๐ ดีเนียร์ กลุ่ม ๒ ขนาด ๑๕๑-๒๐๐ ดีเนียร์ กลุ่ม ๓ ขนาด ๒๐๑-๒๕๐ ดเี นยี ร์ กลุม่ ๔ ขนาด ๒๕๑-๓๐๐ ดเี นียร์ และกลุ่ม ๕ ขนาดมากว่า ๓๐๑ ดเี นียร์ คณุ ภาพตามมาตรฐาน มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ - ความสมำ่� เสมอ ๓๖.๒ + ๘.๐ คะแนน (เตม็ ๕๐) - สี ๘.๙ + ๐.๙ คะแนน (เตม็ ๑๐) - การรวมตวั ๑๒.๕ + ๔.๔ คะแนน (เตม็ ๒๐) - ความสะอาด ๑๕.๔ + ๓.๑ คะแนน (เตม็ ๒๐) ลักษณะเส้นไหสาวเลย ๑๖ ภมู ิปญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพน้ื บ้านอสี าน

๒.๓. เสน้ ไหมนอ้ ย หรือไหมเครอื หรอื ไหมยอด หรอื ไหม ๑ ลกั ษณะทางกายภาพ เปน็ เสน้ ไหมทไ่ี ดจ้ ากเปลอื กรงั ไหมเส้นไหมนอ้ ย ชั้นใน เส้นไหมที่ได้จะมีลักษณะเส้นเรียบ ขนาด สม�่ำเสมอสีสม�่ำเสมอ รวมตัวกลม สะอาดไม่มีส่ิง ปลอมปน นุ่มมือเม่ือสัมผัส นิยมใช้เป็นเส้นยืนใน การทอผ้า เมอ่ื ทอเป็นผนื ผา้ แล้วเนอื้ ผา้ จะนมุ่ เรียบ มคี วามเลื่อมมันของเสน้ ไหมในระดับดีมาก มีความ นุ่มนวลดี เส้นไหมมีความเหนียวสามารถน�ำมาท�ำ เป็นเส้นยืนและเสน้ พุ่งได้ ระดับความสม่�ำเสมอของ กรมหม่อนไหมสีเส้นไหมดี สีเส้นไหมเป็นสีเหลืองทอง โดยท่ัวไป มีขนาด ๑๐๐-๑๒๐ ดีเนียร์ แต่ตามมาตรฐาน เส้นไหมไทยของ มกษ.๘๐๐๐-๒๕๔๘ แบ่งขนาด เสน้ ไหม เป็น ๕ กล่มุ ดงั นี้ กลุ่ม ๑ ขนาดนอ้ ยกว่า ๑๒๐ ดีเนียร์ กลุ่ม ๒ ขนาด ๑๒๑-๑๕๐ ดีเนียร์ กลมุ่ ๓ ขนาด ๑๕๑-๒๐๐ ดเี นียร์ กลุ่ม ๔ ขนาด ๒๐๑-๒๕๐ ดีเนียร์ และกลุ่ม ๕ ขนาดมากว่า ๒๕๑ ดเี นยี ร์ ลกั ษณะทางคุณภาพเส้นไหม ๑ - ขนาดเสน้ ไหม ๒๐๕.๐๔ + ๑๐๖ ดีเนยี ร์ - ความเหนียว ๓.๓๐ + ๐.๓ กรัม/ดีเนยี ร์ - การยืดตัว ๒๓ + ๔.๐ % คุณภาพตามมาตรฐาน มกษ. ๘๐๐๐-๒๕๔๘ - ความสม�ำ่ เสมอ ๒๖.๙ + ๔.๘ คะแนน (เต็ม ๓๐) - ปุ่มปม ๒๙.๕ + ๑.๑ คะแนน (เตม็ ๓๐) - สี ๑๔.๖ + ๑.๔ คะแนนเตม็ (เต็ม ๑๕) - การรวมตวั ๙.๕ + ๕.๔ คะแนน (เตม็ ๑๐) ลกั ษณะเสน้ ไหมนอ้ ย - ความสะอาด ๙.๘ + ๑.๖ คะแนน (เต็ม ๑๕) ภมู ิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพื้นบ้านอสี าน ๑๗

๓. กระบวนการผลิต ๓.๑ การปลูกหมอ่ นเพ่อื เลีย้ งไหม ๓.๑.๑ พ้นื ที่ปลกู หมอ่ นตอ้ งอยู่ในเขตพน้ื ทีภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (อสี าน) ๓.๑.๒ กรรมวธิ ีในการดูแลรกั ษาแปลงหมอ่ นตอ้ งปลอดภยั จากสารพษิ ๓.๑.๓ สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมต่อการปลกู หมอ่ น ๓.๑.๔ พันธหุ์ มอ่ นเป็นพันธ์พุ น้ื บา้ นและพนั ธ์สุ ง่ เสริม ๓.๑.๕ คณุ ภาพใบหม่อนตอ้ งดีเหมาะสมในการเลยี้ งไหมในแตล่ ะวัย ๓.๑.๖ มกี ารดูแลรกั ษาตน้ หมอ่ นอย่างสมำ�่ เสมอ กรมหมอ่ นไหมรปู พนั ธหุ์ มอ่ นพันธุส์ ง่เสริมของราชการ พนั ธ์นุ ครราชสีมา ๖๐ พนั ธุ์บุรรี ัมย์ ๖๐ ๑๘ ภมู ิปญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพ้นื บ้านอสี าน

กรมหม่อนไหมพนั ธุ์ศรสี ะเกษ ๓๓ พนั ธส์ุ กลนคร ภมู ิปญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้านอสี าน ๑๙

พนั ธ์หุ มอ่ นนอ้ ย กรมหมอ่ นไหมพนัธ์คุุณไพ ๒๐ ภมู ปิ ัญญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพน้ื บ้านอีสาน

กรมหมอ่ นไหมการใส่ปยุ๋คอก การใส่ป๋ยุ เคมี ภูมิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน ๒๑

การหวา่ นยปิ ซัม่ เพื่อปรบั สภาพความเป็นกรดเปน็ ดา่ ง (pH) ของดนิ กรมหม่อนไหม -ใสป่ ยุ๋ หลงั การตดั แตง่ ทกุ ครง้ั ในปรมิ าณทเ่ีหมาะสมในแตล่ ะพน้ื ทอ่ี ยา่ งนอ้ ย๑ครง้ั /ปี - มีการก�ำจัดวัชพืชและทำ� ความสะอาดแปลงหมอ่ นอย่างสม่�ำเสมอ ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ครัง้ / ปี การทำ� ความสะอาดแปลงหมอ่ น ๒๒ ภูมปิ ญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพื้นบา้ นอสี าน

กรมหมอ่ นไหม - มีการตัดแต่งก่ิงหม่อนทุกปี อย่างน้อยปีละ ๑ คร้ัง เพ่ือป้องกันก�ำจัดโรคและแมลง เพ่ิม ผลผลิตและคณุ ภาพใบหม่อน การตดั แต่งก่ิง การตัดตำ่� การตัดกลาง ภมู ิปญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้นื บา้ นอีสาน ๒๓

- เก็บเกย่ี วใบหมอ่ นในช่วงเวลาและต�ำแหนง่ ใบทเ่ี หมาะสมในการเล้ยี งไหมแตล่ ะวยั - เกบ็ รกั ษาใบหมอ่ นในที่ทมี่ ีการระบายอากาศดีและมีความชืน้ ทเ่ี หมาะสม กรมหมอ่ นไหม๓.๒การเลี้ยงไหม (๑) กระบวนการเลย้ี งไหมจนไดร้ งั ไหม โรงเลย้ี งไหม และวสั ดอุ ปุ กรณ์ ตอ้ งสะอาดและปลอดภยั (๒) พนั ธุไ์ หมที่เกษตรกรเลี้ยงเปน็ พันธุ์ไหมพ้ืนบา้ นทใ่ี ช้เลย้ี งกนั มาตง้ั แตบ่ รรพบรุ ษุ ๒๔ ภูมิปญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพนื้ บา้ นอสี าน

พันธุ์นางเหลือง (๓) พันธ์ุไหมพนั ธุแ์ พงพวย พันธน์ุ างตุ่ย พนั ธ์ุไหมทีเ่ ลย้ี งในภาคอีสานเปน็ พนั ธไุ์ ทยพืน้ บา้ นท่ี พันธน์ุ างส่วิ มีความแข็งแรง เล้ียงง่าย ปรับตัวเข้ากับสภาพภูมิอากาศของภาคตะวัน พนั ธุส์ ำ� โรง ออกเฉียงเหนอื ไดด้ ี ซึ่งมลี กั ษณะเฉพาะ คือฟกั ออกตลอดปีตามธรรมชาติ กรมหมอ่ นไหม(polyvoltine) ไข่ไหมเม่ือมีอายุ ๒๐ วัน ในอุณหภูมิห้องปกติจะฟัก ออกเป็นตวั ไดเ้ อง จำ� นวนไขไ่ หมต่อแม่ ๒๕๐-๓๖๐ ฟอง อายุหนอนไหม ๑๘-๒๒ วัน น�้ำหนักรังสด ๐.๘-๑.๐ กรัมต่อรัง น้�ำหนักเปลือกรัง ๑๐-๑๒ เซนตกิ รัมตอ่ รัง เปอร์เซ็นต์เปลือกรงั ๑๑-๑๓ เปอร์เซน็ ต์ รปู รา่ ง รังไหมมีลักษณะหัวป้านท้ายแหลม หรือคล้ายกระสวยรังไหมสีเหลือง เส้นใยมีขนาด ๑๒.๗-๒.๑ ดีเนยี ร์ (denier) ความยาวเส้นใย ๒๐๐-๔๐๐ เมตรต่อรัง เส้นไหมมีความยืดหยุ่นดี มีความเงางาม รังบาง มีปุยหรือ ขีไ้ หม (floss) คอ่ นขา้ งมากมอี ัตราการสาวออกงา่ ย ได้แก่ พนั ธ์นุ างนอ้ ย นางลาย นางหงอก นางส่วิ นางเขียว นางตยุ่ สำ� โรง นางเหลือง นางไหม แพงพวย และกากี วนาสวรรค์ ทับทิมสยาม ไข่งู คอต้ัง สองพี่น้อง ล�ำปอ ฯลฯ พันธ์ุนางนอ้ ย พันธ์ุกากี พันธ์นุ างลาย ภูมปิ ัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้นื บ้านอสี าน ๒๕

(๔) การเลย้ี งไหม ไหมวยั ออ่ น : ใหใ้ บ หมอ่ นทม่ี ขี นาด เหมาะสมแก่ วัยไหม และมีการเล้ยี งอย่าง ถูกต้อง และเหมาะสมกับ สภาพพน้ื ที่ กรมหมอ่ นไหมไหมวัยแก่:ใหใ้บ หม่อนท่ีมีขนาด เหมาะสม แก่วัยไหม และมีการเล้ียง อย่างถูกต้องและเหมาะสม กบั สภาพพน้ื ท่ี ๒๖ ภมู ปิ ัญญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพืน้ บา้ นอีสาน

(๕) การเกบ็ รงั ไหม เมอื่ ไหมสกุ เขา้ ทำ� รงั แลว้ ตอ้ งเกบ็ รงั ไหมออกจากจอ่ ๓-๕ วนั หากอากาศ รอ้ นก็เก็บไดเ้ ร็วขึ้น อากาศหนาวเก็บรังชา้ ลงเพราะการพ่นเส้นใยของหนอนไหมจะช้าลงในชว่ งอากาศหนาว (๖) การคัดเลือกรังไหม โดยคัดเลอื กแยกรงั ดีออกจากรังเสีย เพือ่ ใหไ้ ดเ้ สน้ ไหมท่มี ีคุณลักษณะ เส้นกลมขนาดสมำ�่ เสมอ ๓.๓ ภมู ปิ ัญญาการสาวไหม การสาวไหมหัตถกรรม เป็นกระบวนการดึงเส้นไหมออกจากรังไหม ผ่านพวงสาวแบบพ้ืนบ้าน พันเกลียวเส้นไหม แล้วดึงเส้นไหมลงในภาชนะ ซ่งึ มีกระบวนการปฏิบัติ คือ ท�ำการต้มรังไหม ดึงเส้นไหมออก จากรังไหมผ่านพวงสาวแบบพื้นบา้ น พนั เกลียวเส้นไหม ๑๐-๑๑ รอบแล้วดึงเส้นไหมลงภาชนะทีเ่ ตรยี มไว้ เป็น การสาวไหมด้วยมือหลังจากสาวไหมเสร็จแล้ว น�ำเส้นไหมไปกรอใส่อัก และพันเกลียวประมาณ ๘๐ รอบ ส�ำหรับเคร่ืองสาวไหมเด่นชัย ๑ ท�ำความสะอาดเส้นไหม ปั่นตีเกลียวเส้นไหม น�ำไปข้ึนเหล่งเพื่อมัดท�ำ กรมหมอ่ นไหมใจไหมเสร็จแล้วจงึ น�ำไปฟอกย้อมเพ่ือทอผา้ การสาวไหมหัตถกรรม สามารถสาวแยกชนิดเสน้ ไหมได้ ๓ ประเภท คือเสน้ ไหม ๓ หรือไหมลืบ เสน้ ไหม ๑ หรือไหมนอ้ ย และเสน้ ไหม ๒ หรือไหมสาวเลย ภูมิปญั ญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพืน้ บ้านอีสาน ๒๗

๔. อปุ กรณท์ ใ่ี ชส้ าวไหม อุปกรณ์การสาวไหมถือเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากภูมิปัญญา ที่ผสมผสานกับประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถ่ิน ในการสาวไหมไทยพื้นบ้านเคร่ืองสาวไหมท่ีใช้ในการสาว เพื่อให้ได้เส้นไหมที่มีเอกลักษณ์คุณภาพ ใกล้เคียงกนั มีดังน้ี ๔.๑ พวงสาวไหมแบบพน้ื บ้าน พวงสาวไหมแบบพื้นบา้ น เปน็ อุปกรณ์ทที่ ำ� จากไม้เนือ้ ออ่ นที่ไมม่ ีเสย้ี นขุยขน เชน่ ไมต้ ะแบก ไม้โมก มกี ารแกะสลกั ลวดลายสวยงาม รปู ทรงแลว้ แต่ละท้องถิน่ และเปน็ งานฝีมือ มีขา ๒ ข้างสำ� หรับยึดกับปาก หม้อสาวไหมไม่ให้ลม้ ขาพวงสาวไหมสามารถขยบั ใหก้ วา้ งและแคบได้ มีความสงู ประมาณ ๓๕-๔๐ เซนติเมตร กรมหม่อนไหมกวา้ งประมาณ ๒๕ เซนตเิมตร มลี กู รอก ๑ อัน อยตู่ รงกลางพวงสาวตงั้ อยู่สงู จากปากหมอ้ ต้มสาวไหมประมาณ ๒๕ เซนติเมตร มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ ๖-๘ เซนติเมตรเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๕-๖ เซนตเิ มตร มซี กี ไมไ้ ผล่ อ้ มรอบประมาณ ๑๕-๒๐ ซกี ขนาดขนึ้ อยกู่ บั ชา่ งผทู้ ำ� พวงสาวไหมใชส้ ำ� หรบั พนั เกลยี ว เส้นไหมท�ำใหเ้ สน้ ไหมรวมตวั กนั ขณะสาวไหม พวงสาวไหมแบบพ้นื บา้ น ๒๘ ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้นื บา้ นอสี าน

กรมหมอ่ นไหมพวงสาวไหมแบบพื้นบา้น ภูมิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน ๒๙

กรมหม่อนไหม๔.๒ พวงสาวไหมแบบปรบั ปรงุ (เด่นชยั ๑) เป็นอุปกรณ์ที่ท�ำจากไม้เนื้ออ่อนที่ไม่มี เส้ยี นขุยขน เชน่ ไม้ตะแบก ไมโ้ มก มกี ารแกะสลัก ลวดลายสวยงาม รูปทรงแล้วแต่ละท้องถิ่นและ เปน็ งานฝีมอื มีขา ๒ ข้าง สำ� หรับยึดกับปากหม้อ สาวไหมไม่ให้ล้ม ขาพวงสาวไหมสามารถขยับให้ กว้างและแคบได้ มีความสูงประมาณ ๓๕-๔๐ เซนตเิ มตร กวา้ งประมาณ ๒๕ เซนตเิ มตร ประกอบ ดว้ ย รอกสาวไหม ๒ รอก และรอกเลก็ รบั เส้นไหม อีก ๒ รอก มตี วั กันรงั ไหมไม่ใหร้ ังข้นึ ไปพนั กบั เส้น ไหมเวลาสาวไหมและมีรูร้อยเส้นไหมจะมีส่วน บังคับให้เส้นไหมไม่มีปุ่มปมขนาดใหญ่และท�ำให้ เส้นไหมเรียบสม�่ำเสมอกันเกือบท้ังเส้น การท�ำ เกลียวจะทำ� ไดม้ าก ซึ่งท�ำใหไ้ ด้ ๘๐ เกลยี ว (พัน ๘๐ รอบ) มผี ลท�ำใหเ้ ส้นรวมตวั ดเี ส้นกลมไมแ่ ตก สาวลงตะกร้า (ภาชนะรองรับ) เหมือนการสาว แบบพนื้ บา้ นแตด่ งึ เสน้ ไหมไดค้ ลอ่ งตวั กวา่ เพราะมี รอกรับเส้นไหมท�ำให้เกิดมุมของการสาวไหมได้ เหมาะสมพอดี จงึ ดึงเสน้ ไหมลงตะกร้าได้งา่ ย พวงสาวไหมแบบปรบั ปรุง (เด่นชยั ๑) ๓๐ ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพ้นื บา้ นอีสาน

๔.๓ หมอ้ ต้มสาวไหมกรมหมอ่ นไหมหม้อต้มสาวไหมอลมู ิเนยีม หม้อตม้ สาวไหมมี ๒ ชนิด สามารถใช้ ได้ท้ังหม้อที่ท�ำจากดินปั้น (หม้อดิน) และท�ำ จากอลูมิเนียมมีรูปทรงสูงซึ่งชาวบ้านนิยมใช้ หม้อนึ่งข้าวเหนียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางปาก หม้อประมาณ ๑๙-๒๒ เซนติเมตร ใช้ส�ำหรับ ตม้ รงั ไหมขณะสาวไหม คณุ ลกั ษณะของหมอ้ ดนิ จะรักษาอุณหภูมิของน�้ำให้สม�่ำเสมอไม่ร้อนไม่ เย็นเร็วเกินไป ส่วนหม้อที่ท�ำจากอลูมิเนียมจะ ได้ความร้อนขึ้นลงเร็ว ผู้สาวไหมต้องควบคุม อุณหภมู ิตลอดเวลา หมอ้ ต้มสาวไหมดนิ ป้นั ภมู ปิ ัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพ้ืนบ้านอสี าน ๓๑

๔.๔ ไมค้ ืบเกลี่ยรังไหม เป็นอุปกรณ์ท่ีท�ำจากไม้เนื้อแข็ง ไมค้ บี เกลี่ยรังไหม หรอื ไม้ไผ่ ไมม่ ีขุยขน หรือเสยี้ น และมีนำ�้ หนกั เบา เชน่ ไมป้ ระดู่ ไมพ้ ยุง ไมไ้ ผ่รวก เนอื้ แก่ หวั ไมม้ ลี กั ษณะคลา้ ยไมพ้ าย มดี า้ ม กลมขนาดพอเหมาะกับการจับขณะสาว ไหมยาวประมาณ ๓๕-๔๐ เซนตเิ มตร ดา้ น หัวจะแบน มีร่องตรงกลาง ยาวประมาณ ๑๓ เซนติเมตร ใช้ส�ำหรับเกล่ียรังไหมใน กรมหม่อนไหมหม้อต้ม และควบคุมเส้นไหมท่ีออกจาก รังไหมให้รวมตัวกัน ตลอดจนใช้เกล่ีย หรือตักรังไหมเสียและดักแด้ออกจาก หม้อต้มรังไหม ๔.๕ นำ�้ ตม้ รังไหม น้�ำตม้ รังไหมตอ้ งเป็นน�ำ้ สะอาด ไม่ขนุ่ มีความเป็นกรด-ด่าง ปานกลาง (ประมาณ ๖.๕-๗.๕) ไม่ควรใช้ น�้ำจากบ่อนำ�้ บาดาล นำ�้ ประปา หรือน�้ำฝนใหมๆ่ จะทำ� ให้สาวไหมออกยาก ๓๒ ภมู ิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพน้ื บ้านอีสาน

๕. การเตรยี มรังไหม ก่อนจะท�ำการสาวไหม ให้คัดเลือกรังไหม ท่ีจะสาวก่อน โดยแยกรังดีออกจากรังเสีย เพ่ือ ให้ได้เส้นไหมท่ีมีคุณลักษณะเส้นกลมและขนาด สม่ำ� เสมอ กรมหมอ่ นไหมการคัดเลอื กรงัไหมโดยการใชแ้ สง การคัดเลอื กรงั ไหมด้วยสายตา ภมู ปิ ัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน ๓๓

การตัดแยกคณุ ภาพรังไหม ในการคัดแยกคุณภาพรังไหมควรมีการคัดแยกรังเสียออกก่อนการน�ำไปสาว ซ่ึงประเภท รงั เสยี มดี ังน้ี รังแฝด คือ รังไหมที่เกิดจาก หนอนไหมตง้ั แต่ ๒ ตัว ข้ึนไป ท�ำรงั รว่ ม กัน รังไหมประเภทนี้ เมื่อน�ำมาสาวจะ ท�ำให้เส้นไหมขาดบ่อย เพราะเส้นไหม พนั กัน กรมหมอ่ นไหมรังเจาะ คือรังไหมที่เกิดจาก หนอนแมลงวันลาย ในระยะหนอนไหม และเจรญิ เตบิ โตอยภู่ ายในแลว้ เจาะรงั ไหม ออกมา ท�ำให้รังไหมที่ถูกเจาะเป็นรังเสีย เพราะรังไหมท่ีเกิดเป็นรู เท่ากับไปตัดเส้น ไหมใหข้ าดทั้งเสน้ รังเปื้อนภายใน คือ รังไหมที่ เกิดจากดักแด้ตายภายในรัง หรือบางคร้ัง หนอนไหมท่ีเป็นโรค แต่สามารถท�ำรังได้ เมื่อท�ำรังเสร็จก็ตายอยู่ภายในรัง ท�ำให้ รังไหมสกปรก เม่ือน�ำมาสาวจะได้เส้นไหม มีสีด�ำ ไมม่ คี ุณภาพ ๓๔ ภูมปิ ัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพนื้ บ้านอสี าน

รงั เปอ้ื นภายนอก คอื หนอน ไหมปล่อยปัสสาวะคร้ังสุดท้ายก่อนท�ำ รงั หรอื เกดิ จากการแตกของหนอนไหม ทเ่ี ปน็ โรคเขา้ จอ่ ทำ� ใหเ้ ปอ้ื นรงั ดที อ่ี ยใู่ น จ่อเดยี วกนั เมอ่ื นำ� ไปสาวจะสาวยาก กรมหมอ่ นไหมรังบางคือรังไหมท่ีเกิดจาก ขณะที่ไหมเป็นโรคแล้วเจริญเติบโตจน ไหมสกุ เขา้ ทำ� รงั และเมอ่ื พน่ เสน้ ใยเพอื่ ท�ำรังได้เล็กน้อยหนอนไหมก็จะตาย ท�ำให้รังไหมบางผิดปกติ หรือบางคร้ัง อาจเกิดจากเก็บไหมเข้าจ่อช้าเกินไป ท�ำให้หนอนไหมพ่นเส้นใยทิ้งก่อนบ้าง แล้ว ท�ำใหเ้ ส้นใยเหลือทำ� รงั นอ้ ย รังหลวม คือ รังไหมท่ีเกิด ขณะไหมสุกท�ำรัง สภาพอากาศขณะ หนอนไหมทำ� รงั ไมเ่ หมาะสม เชน่ อณุ ห ภูมิขึ้นๆ ลงๆ ส่งผลให้การพ่นใยไม่ สมำ่� เสมอ ภูมปิ ัญญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพนื้ บ้านอสี าน ๓๕

รังหัวท้ายบาง คือ รังไหมที่ เกดิ จากลกั ษณะสายพนั ธไ์ุ หม หรอื เกดิ จากอุณหภูมิในการกกไข่ไหมสูง หรือ บางคร้ังเกิดจากอุณหภูมิต่�ำเกินไป ระหว่างไหมท�ำรงั กรมหมอ่ นไหมรังผิดรปู รา่งคอื รงัไหมท่ีเกดิ จากลักษณะจ่อไม่ถูกสุขลักษณะ หรือ เกิดจากหนอนไหมอ่อนแอท�ำรังได้ไม่ สมบูรณ์ ลักษณะรังบิดเบี้ยว และไม่ สม�ำ่ เสมอ รังด้าน คือ รังไหมเกิดจาก หนอนไหมท�ำรังติดข้างๆ จ่อ หรือติด กบั กระดาษรองจ่อ ลกั ษณะรังจะแบน ผิดปกติ และหนา ๓๖ ภมู ิปัญญาการผลิตเส้นไหมไทยพนื้ บา้ นอสี าน

รงั บบุ คอื รังไหมทเ่ี กดิ จากการขนส่งโดยไม่ระมดั ระวงั เกดิ จากการกระทบกระแทกกนั กรมหมอ่ นไหม รังเป็นเชื้อรา คือ รังไหมท่ีเกิดจากการอบแห้งไม่สมบูรณ์ หรือบางคร้ังไม่มีการควบคุม ความชื้นในห้องเก็บรงั ไหม ท�ำใหเ้ กิดเชอ้ื ราเกดิ ขึ้นได้ ภูมิปัญญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพนื้ บา้ นอสี าน ๓๗

๖. การสาวไหม ประเภทของเสน้ ไหม ในการสาวไหม เกษตรกรจะท�ำการสาวไหมโดยการสาวแยกเปลอื กรงั ชน้ั นอกและชน้ั ใน ทำ� ให้ ไดเ้ สน้ ไหมประเภทต่างๆ ดังนี้ (๑) เส้นไหมหลืบ (ลืบ) หรือไหมเปลือก หรือไหม ๓ (เป็นเส้นไหมที่ได้จากเปลือก กรมหมอ่ นไหมรงัไหมชนั้ นอกรวมท้ังปยุไหม) ไหมหลืบ (ลบื ) ๓๘ ภูมิปัญญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพน้ื บา้ นอีสาน

(๒) เส้นไหมสาวเลย หรือเส้นไหมรวด หรือไหม ๒ (เป็นเส้นไหมท่ีได้จากเปลือกรังไหมช้ันนอกและ ชน้ั ในรวมกนั ) กรมหม่อนไหมไหมสาวเลย (๓) ไหมน้อย หรอื ไหมเครอื หรอื ไหมยอด หรือไหม ๑ (เปน็ เสน้ ไหมทีไ่ ด้จากเปลือกรังไหมช้นั ใน) ไหมน้อย ภมู ิปญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพนื้ บ้านอีสาน ๓๙

๖.๑ การสาวไหมหลบื (ลืบ) หรือไหมเปลือก หรอื ไหม ๓ พวงสาวไหมแบบพืน้ บา้ น ๑) การต้มรังไหม น�้ำที่ใช้ต้มรังไหมควรเป็นน้�ำสะอาด ไม่ขุ่น มีความเป็นกรด-ด่าง ปานกลางเช่นน้�ำฝน น�้ำประปา ท่ีใส่โอ่งเก็บไว้นาน (ไม่ใช้น้�ำบ่อ น�้ำบาดาล น�้ำประปา และน�้ำฝนใหม่) ต้มให้ ร้อน แต่ไม่เดือดโดยสังเกตเห็นไอน้�ำที่ปากหม้อ และฟองอากาศเล็กๆ ลอยขึ้นมาท่ัวปากหม้อ หรือใช้น้ิวมือ จุ่มดูรู้สึกว่าร้อน มีอุณหภูมิประมาณ ๘๒-๘๙ องศาเซลเซียส น�ำรังไหมท่ีเตรียมไว้ลงต้มในหม้อ ๒ ก�ำมือใหญ่ (ประมาณ ๑๒๐-๑๕๐ รงั ) ใช้ไม้คืบกดรังไหมให้จมน�้ำไปมา ๔-๕ ครงั้ นาน ๑-๒ นาที (เรยี กว่า การต้มรังไหม) ยกไม้คืบเกลย่ี รังไหมข้ึนปมเส้นไหมจะหลุดจากรงั ไหมตดิ ไม้คบื ข้นึ มา กรมหม่อนไหม ๒) การพนั เกลยี วเสน้ ไหมเมอ่ื เสน้ ไหมตดิ ไมค้ บื เกลย่ี รงั ไหมขนึ้ มาใชม้ อื ซา้ ยรวบเสน้ ไหม ทต่ี ดิ กับไม้คืบดึงข้นึ มา แลว้ สอดเส้นไหมใสร่ ูทอี่ ยู่ตรงกลางพวงสาว ดงึ ขน้ึ ไปพันกับลกู รอกของพวงสาว ๑ รอบ แลว้ พนั เกลียวเส้นไหม ๗-๙ รอบ แล้วดงึ เสน้ ไหมผา่ นพวงสาวไหมลงภาชนะทีว่ างอยู่ทางดา้ นซา้ ยมือคอ่ นไปทาง ดา้ นหลงั และท�ำการสาวไหม (ดงึ เสน้ ไหม) จนเสน้ ไหมเปลือกนอกหมด ๓) เม่ือสาวไหม ๓ หรือไหมหลืบ (ลืบ) ซ่ึงเป็นไหมเปลือกนอกออกหมดแล้ว โดย จะสังเกตเห็นเส้นไหมที่ออกจากรังไหมในหม้อต้มสาวมีลักษณะเล็กละเอียด สม�่ำเสมอและนุ่มมือ ผิวรังไหม เรียบและรังไหมมีสีจางลง ให้หยุดสาวแล้วใช้กระชอน ช้อน หรือทัพพี ตักรังไหมออกจากหม้อต้มคร้ังละ ประมาณ ๑๕-๒๐ รัง และเพิม่ รงั ไหมครงั้ ละ ๑๕-๒๐ รงั ผึ่งไวบ้ นกระดง้ อกี ด้านหน่งึ ท่วี า่ ง พวงสาวไหมแบบปรบั ปรุง (เดน่ ชัย ๑) ๑) การต้มรังไหม น้ำ� ทใ่ี ชต้ ม้ รงั ไหมควรเป็นนำ�้ สะอาด ไม่ขนุ่ มคี วามเปน็ กรด-ด่างปาน กลาง เชน่ น้ำ� ฝน น้�ำประปา ที่ใส่โอง่ เก็บไว้นาน (ไมใ่ ช่น้ำ� บ่อ นำ้� บาดาล นำ้� ประปา และนำ�้ ฝนใหม)่ ตม้ ให้ร้อน แต่ไม่เดือด โดยสังเกตเห็นไอน�้ำที่ปากหม้อ และฟองอากาศเล็กๆ ลอยขึ้นมาท่ัวปากหม้อ หรือใช้นิ้วมือ จุ่มดูรู้สึกว่าร้อน มีอุณหภูมิประมาณ ๘๒-๘๙ องศาเซลเซียส น�ำรังไหมท่ีเตรียมไว้ลงต้มในหม้อ ๒ ก�ำมือใหญ่ (ประมาณ ๑๒๐-๑๕๐ รัง) ใชไ้ มค้ บื กดรงั ไหมใหจ้ มน้�ำไปมา ๔-๕ ครง้ั นาน ๑-๒ นาที (เรียกวา่ การตม้ รงั ไหม) ยกไมค้ บื เกลย่ี รงั ไหมข้นึ ปมเส้นไหมจะหลุดจากรังไหมตดิ ไมค้ บื ข้นึ มา ๔๐ ภูมปิ ัญญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพน้ื บา้ นอสี าน

๒) การพันเกลยี วเส้นไหม เมอ่ื เสน้ ไหมตดิ ไม้คบื เกลีย่ รงั ไหมขึน้ มา ใช้มอื ซา้ ยรวบเสน้ ไหมทต่ี ิด กับไม้คืบดึงข้ึนมา แล้วสอดเส้นไหมใส่รูที่อยู่ตรงกลางพวงสาว ดึงข้ึนไปพันกับลูกรอกของพวงสาวตัวล่างสุด ๒ รอบแล้วพันเกลยี วเส้นไหม ๗-๙ รอบ ๓) แลว้ ดงึ เสน้ ไหมผา่ นพวงสาวไหมลงภาชนะทว่ี างอยทู่ างดา้ นซา้ ยมอื คอ่ นไปทางดา้ นหลงั และ ทำ� การสาวไหม (ดงึ เสน้ ไหม) จนเส้นไหมเปลอื กนอกหมด ๔) เมื่อสาวไหม ๓ หรอื ไหมหลบื (ลืบ) ซ่ึงเปน็ ไหมเปลอื กนอกออกหมดแล้ว โดยจะสงั เกตเห็น เสน้ ไหมทอี่ อกจากรังไหมในหม้อตม้ สาวมลี ักษณะเลก็ ละเอยี ด สม�่ำเสมอและนุ่มมือ ผวิ รงั ไหมเรียบ และรงั ไหม มสี จี างลง ใหห้ ยดุ สาวแลว้ ใชก้ ระชอน ช้อน หรือทพั พี ตักรังไหมออกจากหม้อต้มครั้งละประมาณ ๑๕-๒๐ รงั ผึ่ง กรมหม่อนไหมไวบ้ นกระดง้ อีกด้านหนึง่ ทีว่ ่างและเพม่ิ รังไหมคร้ังละ๑๕-๒๐รัง ภูมิปัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพื้นบา้ นอีสาน ๔๑

๖.๒ การสาวไหมนอ้ ย หรอื ไหมเครอื หรือไหม ๑ เป็นการสาวเส้นไหมท่ีอยู่ช้ันในของรังไหม รังไหมท่ีจะน�ำมาสาวไหมน้อยต้องผ่านการสาวไหม หวั ไหมลบื ออกแลว้ โดยมีข้นั ตอนการสาวไหมน้อยดงั น้ี กรมหม่อนไหมพวงสาวไหมแบบพน้ื บา้ น ๑) การตม้ รงั ไหม น�้ำที่ใช้ตม้ รงั ไหมสำ� หรบั สาวไหมนอ้ ย ตอ้ งสะอาดและมคี ณุ สมบตั ิเชน่ เดยี ว กับน�้ำท่ีใช้ต้มรังไหมสาวไหมหวั และทกุ ครง้ั ที่จะสาวไหมนอ้ ยตอ้ งเปลีย่ นนำ�้ ตม้ ใหม่ ไมค่ วรใช้นำ้� ท่ีตม้ สาวไหมหัว มาสาวไหมนอ้ ยต่อ เพราะจะท�ำให้เส้นไหมไม่สวยมสี คี ลำ้� แขง็ กระดา้ ง ตม้ น�้ำใหร้ อ้ นอณุ หภมู ิประมาณ ๘๕-๙๐ องศาเซลเซยี ส หรอื สังเกตมไี อน�้ำและฟองอากาศข้ึนท่ัวปากหมอ้ ตม้ หรอื ใช้นว้ิ มือจ่มุ ดูรสู้ ึกรอ้ น ยกเวน้ ชว่ งฤดฝู น ๔๒ ภูมปิ ญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพื้นบา้ นอสี าน

๒) นำ� รงั ไหมทผ่ี า่ นการสาวไหมหวั ออก แล้ว ก�ำรังไหมบีบให้น้�ำออกพอหมาดๆ ใส่ลง ไปในหม้อต้มประมาณ ๗๐-๑๐๐ รัง ใช้ไม้คืบ กดรังไหมให้จมน้�ำ พลิกไปมา ๓-๔ คร้ัง นาน ๑-๒ นาที แล้วยกไม้คืบเกลี่ยรังไหมข้ึน ปม เส้นไหมจะหลุดออกจากรังไหม และติดปลาย ไมค้ ืบมาด้วย ๓) ยกไมค้ ืบขึน้ สงู ใช้มือซ้ายรวบเส้น กรมหมอ่ นไหมไหมดึงขึน้ มาสอดเส้นไหมใสเ่ขา้ ไปในรูของพวง สาวดึงขึน้ ไปพันลูกรอก ๑ รอบ แล้วพนั เกลยี ว ๑๐-๑๑ รอบ ๔) ใช้มือซ้ายดึงปลายเส้นไหมผ่าน หน้าขาซ้าย แล้วปล่อยให้เส้นไหมลงภาชนะท่ี วางรองรับอย่ดู ้านหลงั ทางดา้ นซา้ ยมือ ภูมิปัญญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพ้ืนบา้ นอสี าน ๔๓

๕) ดึงเส้นไหมลงภาชนะใหส้ มำ่� เสมอ ความเร็วประมาณ ๖๐-๖๕ ครั้ง/นาที และชว่ งของการ ดงึ เสน้ ไหมมรี ะยะจากการจบั เส้นไหมถงึ ชว่ งการปลอ่ ยเสน้ ไหมลงภาชนะประมาณ ๔๐-๔๕ เซนติเมตร จะทำ� ให้ เสน้ ไหมวางเรยี งกนั ในภาชนะสวยงามเม่ือนำ� มาเหลง่ มัดไจไหมแลว้ เสน้ ไหมจะตรง ๖) ขณะสาวไหมให้ใชไ้ ม้คบื เกล่ียรังไหมเข้ารวมกัน และบงั คบั รงั ไหมไมใ่ ห้ลอยข้นึ ตามเสน้ ไหม เพราะจะทำ� ใหเ้ สน้ ไหมตดิ สาวไมไ่ ด้ พยายามอยา่ เกลย่ี รงั ไหมบอ่ ยเกนิ ไปจะทำ� ใหเ้ สน้ ไหมมปี มุ่ ปมตดิ ออกมามาก และท�ำให้เส้นไหมขาด กรมหม่อนไหม ๗) ขณะเดียวกันก็ใช้สายตาสังเกตดูลักษณะรังไหมที่อยู่ในหม้อต้ม ถ้ามีรังเสีย รังเน่าก็ตัก ออกถ้าสังเกตรังไหมบางมองเห็นดักแด้ชัดเจนก็หยุด ตักรังไหมหรือดักแด้ออกครั้งละประมาณ ๕-๑๐ รัง แลว้ เตมิ รังไหมใหมเ่ ข้าไป ๕-๑๐ รงั /คร้ัง แลว้ ใชไ้ ม้คบื กดรงั ไหมที่เตมิ เขา้ ไปใหมใ่ หจ้ มน�้ำแลว้ ท�ำการสาวตอ่ ๘) นอกจากใช้สายตาสังเกตรังไหมในหม้อต้มแล้ว ต้องสังเกตเส้นไหมที่สาวผ่านพวงสาวด้วย ว่ามีปุ่มปมหรือข้ไี หมติดมา ถา้ มีปุ่มปมหรือขไ้ี หมใหห้ ยดุ และแกะออก ๙) เมื่อเส้นไหมมีขนาดเล็กลงให้หยุด เติมรังไหมลงต้มเพ่ิมครั้งละไม่เกิน ๑๐ รังและรู้สึกว่า เสน้ ไหมมขี นาดใหญข่ น้ึ ให้ใชไ้ ม้คบื เกล่ียรงั ไหมในหม้อตม้ ออกดา้ นข้าง หรอื ตักรังไหมในหม้อออก ๑๐) การควบคุมอุณหภูมิน้�ำต้มรังไหม ถ้าน้�ำร้อนรังไหมจะเปื่อยเส้นไหมออกมาก บางทีหลุด ออกมาทงั้ รงั ใหเ้ ตมิ นำ้� เยน็ ลงไป ถา้ นำ�้ เยน็ เกนิ ไปจะสาวไมค่ อ่ ยออก ใหเ้ พมิ่ ฟนื เชอ้ื เพลงิ เขา้ ไปอกี และคอยควบคมุ ความรอ้ นของน�ำ้ ในหมอ้ ตม้ ให้สมำ�่ เสมอตลอดเวลาการสาวไหม ๔๔ ภูมิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน

๑๑) เม่ือสาวเสร็จแล้ว ให้น�ำเส้นไหมออกจากภาชนะท่ีใส่ออกมาตากให้แห้ง โดยมีวัสดุท่ีมี น้�ำหนักพอประมาณทับไว้ ทิ้งไว้ใหแ้ หง้ โดยมีวัสดทุ ่ีมีนำ�้ หนกั พอประมาณทับไว้ เชน่ เมล็ดนุ่น ขา้ วสาร ก้อนกรวด เมด็ เลก็ ทล่ี ้างสะอาด แลว้ จึงนำ� ไปกรอใสอ่ ัก เพ่อื ทำ� ความสะอาด ตเี กลยี ว และเหลง่ มัดทำ� ไพและไจไหมต่อไป พวงสาวไหมแบบปรบั ปรุง (เด่นชยั ๑) ๑) การต้มรังไหม น้�ำท่ีใช้ต้มรังไหมส�ำหรับสาวไหมน้อย ต้องสะอาดและมีคุณสมบัติเช่น เดยี วกบั น้�ำทใ่ี ชต้ ม้ รงั ไหมสาวไหมหวั และทกุ ครงั้ ทจ่ี ะสาวไหมนอ้ ยตอ้ งเปลย่ี นน้�ำตม้ ใหมไ่ มค่ วรใชน้ �้ำทต่ี ม้ สาวไหม หัวมาสาวไหมน้อยต่อ เพราะจะท�ำให้เส้นไหมไม่สวย มีสีคล้�ำ แข็งกระด้าง ต้มน�้ำให้ร้อนอุณหภูมิประมาณ กรมหม่อนไหม๘๕-๙๐ องศาเซลเซียส หรอื สังเกตมีไอนำ�้ และฟองอากาศขนึ้ ท่วั ปากหม้อตม้ หรอื ใช้นว้ิ มือจมุ่ ดูร้สู กึ ร้อน ภูมิปัญญาการผลติ เส้นไหมไทยพนื้ บ้านอสี าน ๔๕

๒) น�ำรังไหมท่ีผ่านการสาวไหมหัวออกแล้ว ก�ำรังไหมบีบให้น้�ำออกพอหมาดๆ ใส่ลงไปใน หมอ้ ตม้ ประมาณ ๘๐-๙๐ รงั ใชไ้ มค้ ืบกดรังไหมให้จมน้�ำ พลิกไปมา ๓-๔ ครงั้ นาน ๑-๒ นาที แล้วยกไมค้ ืบ เกลี่ยรังไหมขนึ้ ปมเส้นไหมจะหลุดออกจากรงั ไหม และตดิ ปลายไม้คืบมาด้วย ๓) ยกไมค้ ืบข้ึนสูงใชม้ อื ซ้ายรวบเสน้ ไหมดงึ ขนึ้ มา สอดเส้นไหมใสเ่ ข้าไปในรขู องพวงสาวดึงขึ้น ไปพนั ลกู รอก ๑ รอก ๒ รอบ แล้วพันเกลียวไมน่ ้อยกว่า ๘๐ เกลยี ว แล้วผ่านเสน้ ไหมไปยังรอกท่ี ๓ ๔) ใช้มือซ้ายดึงปลายเส้นไหมผ่านหน้าขาซ้าย แล้วปล่อยให้เส้นไหมลงภาชนะท่ีวางรองรับ อยู่ดา้ นหลังทางด้านซ้ายมอื ๕) ดงึ เส้นไหมลงภาชนะใหส้ มำ�่ เสมอ ความเร็วประมาณ ๖๐-๖๕ ครงั้ /นาที และชว่ งของการ ดึงเส้นไหมมีระยะจากการจับเส้นไหมถึงช่วงการปล่อยเส้นไหมลงภาชนะประมาณ ๔๐-๔๕ เซนติเมตร จะท�ำ ให้เส้นไหมวางเรียงกันในภาชนะสวยงามเมือ่ นำ� มาเหลง่ มัดใจไหมแล้วเส้นไหมจะตรง ๖) ขณะสาวไหมให้ใช้ไมค้ ืบเกล่ียรงั ไหมเขา้ รวมกัน และบังคับรงั ไหมไม่ให้ลอยขึน้ ตามเส้นไหม กรมหม่อนไหมเพราะจะท�ำให้เส้นไหมติด สาวไม่ได้ พยายามอย่าเกล่ียรังไหมบ่อยเกินไปจะท�ำให้เส้นไหมมีปุ่มปม ติดออก มามาก และท�ำให้เสน้ ไหมขาด ๗) ขณะเดยี วกนั กใ็ ช้สายตาสังเกตดลู กั ษณะรงั ไหมทอี่ ยใู่ นหมอ้ ตม้ ถา้ มรี งั เสีย รงั เนา่ ก็ตกั ออก ถา้ สงั เกตรงั ไหมบางมองเหน็ ดกั แดช้ ดั เจนก็หยดุ ตกั รังไหม ดกั แดอ้ อกครงั้ ละประมาณ ๕-๑๐ รงั แลว้ เตมิ รังไหม ใหมเ่ ข้าไป ๕-๑๐ รัง/ครั้ง แลว้ ใช้ไม้คืบกดรงั ไหมทเี่ ตมิ เขา้ ไปใหม่ใหจ้ มนำ้� แลว้ ท�ำการสาวต่อ ๘) นอกจากใช้สายตาสังเกตรังไหมในหม้อต้มแล้ว ต้องสังเกตเส้นไหมที่สาวผ่านพวงสาวด้วย วา่ มปี ุ่มปมหรือข้ไี หมติดมา ถ้ามปี ุม่ ปมหรอื ขี้ไหมให้หยดุ และแกะออก ๙) เม่ือเส้นไหมมีขนาดเล็กลงให้หยุด เติมรังไหมลงต้มเพ่ิมครั้งละไม่เกิน ๑๐ รัง และรู้สึกว่า เส้นไหมมขี นาดใหญ่ขึน้ ให้ใชไ้ ม้คืบเกลย่ี รังไหมในหมอ้ ต้มออกดา้ นขา้ ง หรอื ตักรังไหมในหม้อออก ๑๐) การควบคุมอุณหภูมิน�้ำต้มรังไหม ถ้าน้�ำร้อนรังไหมจะเปื่อยเส้นไหมออกมาก บางทีหลุด ออกมาทงั้ รงั ใหเ้ ตมิ นำ�้ เยน็ ลงไป ถา้ นำ้� เยน็ เกนิ ไปจะสาวไมค่ อ่ ยออก ใหเ้ พมิ่ ฟนื เชอ้ื เพลงิ เขา้ ไปอกี และคอยควบคมุ ความรอ้ นของน�้ำในหมอ้ ต้มใหส้ มำ�่ เสมอตลอดเวลาการสาวไหม ๑๑) เมอื่ สาวเสร็จแล้ว ใหน้ ำ� เสน้ ไหมทิง้ ไว้ใหแ้ ห้งโดยมวี ัสดุทมี่ ีน�้ำหนักพอประมาณทับไว้ เช่น เมลด็ นนุ่ ขา้ วสาร ก้อนกรวดเมด็ เล็กท่ีล้างสะอาด แล้วจงึ นำ� ไปเหลง่ มดั ทำ� ไพและไจไหมตอ่ ไป ๔๖ ภมู ปิ ญั ญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพ้นื บ้านอีสาน

วัสดุทใี่ ชโ้ รยบนเสน้ ไหมในขณะทำ� การสาวไหม กรมหมอ่ นไหมเมลด็นนุ่ เมลด็ ข้าวสาร เมลด็ กรวดเม็ดเลก็ ภมู ิปญั ญาการผลิตเสน้ ไหมไทยพื้นบา้ นอีสาน ๔๗

๖.๓ เสน้ ไหมสาวเลย หรือเส้นไหมรวด หรือไหม ๒ เป็นการสาวเส้นไหมจากการสาวควบกันท้ังปุยและเส้นใยทั้งหมดให้เสร็จในคราวเดียวกัน โดยไม่ไดแ้ บง่ เปน็ ไหม ๓ (ไหมหลืบ) และไหม ๑ (ไหมน้อย) มีขนั้ ตอนการสาวไหมดังน้ี พวงสาวไหมแบบพน้ื บ้าน ๑) การต้มรังไหม น้�ำท่ีใช้ต้มรังไหมส�ำหรับสาวไหมสอง ต้องสะอาดและมีคุณสมบัติ เช่นเดียวกับน้�ำท่ีใช้ต้มรังไหมสาวไหม ๑ และไหม ๓ ควรใช้น�้ำท่ีต้มสาวไหมใหม่ เพราะจะท�ำให้เส้นไหมสวย มีสีไม่คล้�ำ ต้มน้�ำให้ร้อนอุณหภูมิประมาณ ๘๕-๙๐ องศาเซลเซียส หรือสังเกตมีไอน�้ำและฟองอากาศขึ้นทั่ว ปากหม้อต้ม หรือใชน้ ้วิ มือจมุ่ ดรู สู้ ึกรอ้ น ๒) น�ำรังไหม ใส่ลงไปในหม้อต้มประมาณ ๖๐-๗๐ รัง ใช้ไม้คืบกดรังไหมให้จมน้�ำ พลิกไปมา ๓-๔ ครั้ง นาน ๑-๒ นาที แล้วยกไม้คืบเกลี่ยรังไหมข้ึน ปมเส้นไหมจะหลุดออกจากรังไหม และ กรมหมอ่ นไหมติดปลายไม้คบืมาด้วย ๓) ยกไมค้ บื ขน้ึ สงู ใชม้ อื ซา้ ยรวบเสน้ ไหมดงึ ขน้ึ มา สอดเสน้ ไหมใสเ่ ขา้ ไปในรขู องพวงสาว ดงึ ข้ึนไปพันลูกรอก ๑ รอบ แล้วพนั เกลยี ว ๗-๘ รอบ ๔) ใช้มือซ้ายดึงปลายเส้นไหมผ่านหน้าขาซ้าย แล้วปล่อยให้เส้นไหมลงภาชนะที่วาง รองรับอยู่ดา้ นหลงั ทางดา้ นซ้ายมอื ๕) ดึงเส้นไหมลงภาชนะให้ สม่�ำเสมอ ความเรว็ ประมาณ ๔๐-๕๐ ครั้ง/นาที และชว่ งของการดงึ เส้นไหม มีระยะจากการจับเส้นไหมถึงช่วงการ ปล่อยเส้นไหมลงภาชนะประมาณ ๔๐-๔๕ เซนติเมตร จะท�ำให้เส้นไหม วางเรยี งกนั ในภาชนะสวยงามเมอื่ นำ� มา เหลง่ มดั ใจไหมแลว้ เสน้ ไหมจะตรง ๖) ขณะสาวไหมให้ใช้ไม้คืบ เกลี่ยรังไหมเข้ารวมกัน และบังคับรัง ไหมไมใ่ หล้ อยขน้ึ ตามเสน้ ไหมเพราะจะ ท�ำให้เส้นไหมติด สาวไม่ได้ พยายาม อย่าเกล่ียรังไหมบ่อยเกินไปจะท�ำให้ เส้นไหมมีปุ่มปม ติดออกมามาก และ ทำ� ใหเ้ ส้นไหมขาด ๔๘ ภมู ปิ ญั ญาการผลิตเส้นไหมไทยพน้ื บ้านอีสาน

๗) ขณะเดียวกันก็ใช้สายตาสังเกตดูลักษณะรังไหมท่ีอยู่ในหม้อต้มถ้ามีรังเสีย รังเน่าก็ตักออก ถา้ สงั เกตรังไหมบางมองเห็นดกั แดช้ ดั เจนกห็ ยดุ ตกั รงั ไหม ดกั แด้ออกครง้ั ละประมาณ ๕-๑๐ รงั แล้วเติมรงั ไหม ใหมเ่ ข้าไป ๕-๑๐ รัง/ครงั้ แลว้ ใช้ไม้คืบกดรงั ไหมท่ีเตมิ เข้าไปใหม่ใหจ้ มน�้ำแลว้ ทำ� การสาวต่อ ๘) นอกจากใช้สายตาสังเกตรังไหมในหม้อต้มแล้ว ต้องสังเกตเส้นไหมท่ีสาวผ่านพวงสาวด้วย วา่ มปี ุ่มปมหรอื ขีไ้ หมติดมา ถ้ามขี ้ไี หม และมสี ่งิ ปลอมปนใหห้ ยดุ และแกะออก ๙) เม่ือเส้นไหมมีขนาดเล็กลงให้หยุด เติมรังไหมลงต้มเพ่ิมครั้งละไม่เกิน ๕-๑๐ รัง และรู้สึกว่า เสน้ ไหมมขี นาดใหญ่ข้ึน ให้ใชไ้ ม้คืบเกล่ยี รังไหมในหมอ้ ตม้ ออกดา้ นข้าง หรอื ตกั รงั ไหมในหม้อออก ๑๐) การควบคุมอุณหภูมิ น�้ำต้มรังไหม ถ้าน้�ำร้อนรังไหมจะเปื่อย เสน้ ไหมออกมาก บางทหี ลดุ ออกมาทง้ั รงั ให้เติมน�้ำเย็นลงไป ถ้าน้�ำเย็นเกินไปจะ กรมหม่อนไหมสาวไม่ค่อยออก ให้เพ่ิมฟืนเชื้อเพลิงเข้า ไปอกี และคอยควบคุมความร้อนของนำ้� ในหม้อต้มให้สม�่ำเสมอตลอดเวลาการ สาวไหม ๑๑) เมื่อสาวเสร็จแล้ว ให้ น�ำเส้นไหมท้ิงไว้ให้แห้งโดยมีวัสดุที่มีน�้ำ หนักพอประมาณทับไว้ เช่น เมล็ดนุ่น ข้าวสาร ก้อนกรวดเม็ดเล็กท่ีล้างสะอาด แล้วจึงน�ำไปเหล่งมัดท�ำไพและไจไหม ตอ่ ไป ภมู ปิ ัญญาการผลติ เสน้ ไหมไทยพื้นบา้ นอสี าน ๔๙

พวงสาวไหมแบบปรบั ปรุง (เด่นชัย ๑) ๑) การต้มรังไหม น�้ำท่ีใช้ต้มรังไหมส�ำหรับสาวไหมสอง ต้องสะอาด ต้มน้�ำให้ร้อนอุณหภูมิประมาณ ๘๕-๙๐ องศาเซลเซียส หรอื สงั เกตมีไอนำ�้ และฟองอากาศข้ึนทั่วปากหม้อต้ม หรอื ใช้นิ้วมือจมุ่ ดูรสู้ ึกรอ้ น ๒) น�ำรังไหม ใสล่ งไปในหม้อต้มประมาณ ๖๐-๗๐ รัง ใช้ไม้คืบกดรังไหมให้จมนำ้� พลิกไปมา ๓-๔ ครั้ง นาน ๑๒-๑๒ นาที แลว้ ยกไมค้ ืบเกล่ยี รังไหมข้นึ ปมเสน้ ไหมจะหลุดออกจากรังไหม และติดปลายไม้คืบมาด้วย ๓) ยกไมค้ บื ขนึ้ สงู ใชม้ อื ซา้ ยรวบเสน้ ไหมดึงข้ึนมา สอดเส้นไหมใส่เข้าไปในรูของ พวงสาวดึงข้ึนไปพันลูกรอก ๒ รอก ๑ รอบ แล้วพันเกลียวไม่น้อยกว่า ๕๐-๖๐ เกลียว แลว้ ผ่านเส้นไหมไปยงั รอกตวั ที่ ๓ ๔) ใช้มือซ้ายดึงปลายเส้นไหมผ่าน กรมหม่อนไหมหน้าขาซ้าย แล้วปล่อยให้เส้นไหมลงภาชนะ ท่ีวางรองรับอยดู่ า้ นหลงั ทางดา้ นซา้ ยมอื ๕) ดงึ เสน้ ไหมลงภาชนะใหส้ มำ่� เสมอ ความเร็วประมาณ ๕๕-๖๐ ครั้ง/นาที และ ช่วงของการดึงเส้นไหมมีระยะจากการจับ เส้นไหมถึงช่วงการปล่อยเส้นไหมลงภาชนะ ประมาณ ๔๐-๔๕ เซนติเมตร จะทำ� ใหเ้ ส้นไหม วางเรียงกันในภาชนะสวยงามเมื่อน�ำมาเหล่ง มัดไจไหมแลว้ เสน้ ไหมจะตรง ๖) ขณะสาวไหมให้ใช้ไม้คืบเกล่ีย รังไหมเข้ารวมกัน และบังคับรังไหมไม่ให้ลอย ข้ึนตามเส้นไหมเพราะจะท�ำให้เส้นไหมติด สาวไม่ได้ พยายามอย่าเกล่ียรังไหมบ่อยเกิน ไปจะท�ำให้เส้นไหมมีปุ่มปมติดออกมามาก และทำ� ใหเ้ ส้นไหมขาด ๕๐ ภูมิปญั ญาการผลติ เส้นไหมไทยพน้ื บ้านอีสาน