Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการสนามเด็กเล่นสร้างปัญญา

การจัดการสนามเด็กเล่นสร้างปัญญา

Description: การจัดการสนามเด็กเล่นสร้างปัญญา

Search

Read the Text Version

สรุปบทเรยี น การพัฒนาระบบ การดแู ลเดก็ ปฐมวยั

สรปุ บทเรยี นการพัฒนาระบบการดแู ลเด็กปฐมวัย บรรณาธิการอำ�นวยการ นางสาวดวงพร เฮงบณุ ยพนั ธ์ บรรณาธกิ าร รศ.ดร.ขนษิ ฐา นันทบุตร ผศ.ดร.พรี พงษ์ บุญสวสั ดิ์กุลชยั กองบรรณาธกิ าร นางสาวเกศรนิ ทร์ อินทองหลาง นางสาวณัฐกานต์ เล็กเจริญ นางธัญญา แสงอุบล นางไพรินทร์ ยอดสุบัน นายปวนั พรหมตัน นางสาวพัชนยี ์ เมอื งศรี นางสาววรรณิษา ภมู นิ อก นางสาวนท ศิริกานต ์ นางสาวประกายแก้ว ศิรพิ ูล นางสาวรุง่ นภา กันทะไชย นางนติ ยา พนั ธง์ าม นางสาวรตั น์ดาวรรณ คลังกลาง นายปัญญา พงษ์ถาวร นางวนดิ า ศรพี รหมษา ขอ้ มูลและเนอื้ หา ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถิ่น ภาคเหนอื ตอนบน เทศบาลตำ�บลทุ่งหัวชา้ ง อำ�เภอทุง่ หวั ชา้ ง จงั หวัดล�ำ พนู องค์การบริหารสว่ นต�ำ บลสถาน อ�ำ เภอนาน้อย จังหวัดน่าน เทศบาลตำ�บลแมย่ วม อ�ำ เภอแม่สะเรยี ง จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน เทศบาลต�ำ บลปา่ กอด�ำ อำ�เภอแมล่ าว จังหวดั เชยี งราย เทศบาลตำ�บลบ้านหลวง อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เทศบาลต�ำ บลเมอื งปอน อำ�เภอขนุ ยวม จงั หวัดเชียงใหม่ ภาคเหนอื ตอนล่าง องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลหนองจอก อำ�เภอบา้ นไร่ จังหวัดอทุ ัยธานี องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลวังดิน อ�ำ เภอเมอื ง จังหวัดอุตรดติ ถ์ เทศบาลต�ำ บลพุเตย อำ�เภอวเิ ชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลหนองกุงใหญ่ อ�ำ เภอกระนวน จงั หวัดขอนแกน่ เทศบาลตำ�บลเหลา่ ใหญ่ อำ�เภอกฉุ นิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ องค์การบรหิ ารส่วนต�ำ บลแก้งแก อ�ำ เภอโกสุมพสิ ยั จงั หวดั มหาสารคาม เทศบาลตำ�บลทา่ ม่วง อ�ำ เภอเสลภูมิ จงั หวัดรอ้ ยเอด็ เทศบาลต�ำ บลภปู อ อ�ำ เภอเมือง จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ เทศบาลต�ำ บลส่องดาวหนองแดง อ�ำ เภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร เทศบาลต�ำ บลโคกล่าม อำ�เภอจตรุ พกั ตรพิมาน จงั หวัดร้อยเอด็ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลเสมาใหญ่ อำ�เภอบัวใหญ่ จังหวดั นครราชสีมา องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลโคกขม้ิน อ�ำ เภอพลบั พลาชัย จังหวัดบรุ รี มั ย์ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลไหล่ทุ่ง อำ�เภอตระการพืชผล จงั หวัดอบุ ลราชธานี องคก์ ารบริหารส่วนตำ�บลยางขน้ี ก อ�ำ เภอเขื่องใน จังหวดั อุบลราชธานี ภาคกลาง องค์การบริหารสว่ นต�ำ บลเสม็ดใต้ อ�ำ เภอบางคลา้ จังหวัดฉะเชงิ เทรา เทศบาลตำ�บลดา่ นชา้ ง อำ�เภอด่านชา้ ง จังหวดั สุพรรณบุรี องคก์ ารบริหารส่วนต�ำ บลบา้ นหาด อ�ำ เภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบรุ ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลบ้านไร่ อำ�เภอเมืองราชบรุ ี จงั หวดั ราชบรุ ี องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลวงั ใหม่ อ�ำ เภอนายายอาม จังหวดั จนั ทบุรี

ภาคใต้ตอนลา่ ง เทศบาลต�ำ บลปริก อ�ำ เภอสะเดา จังหวดั สงขลา องค์การบริหารส่วนต�ำ บลบาโงย อำ�เภอรามัน จงั หวดั ยะลา เทศบาลตำ�บลทา่ ง้วิ อำ�เภอห้วยยอด จังหวดั ตรงั องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลนาทอน อำ�เภอทงุ่ หวา้ จังหวัดสตูล สนามเด็กเลน่ สร้างปัญญา ภาคเหนือตอนบน เทศบาลต�ำ บลกอ้ อำ�เภอล้ี จงั หวัดล�ำ พูน เทศบาลตำ�บลงมิ อำ�เภอปง จงั หวดั พะเยา เทศบาลต�ำ บลทงุ่ หัวชา้ ง อำ�เภอทุ่งหวั ชา้ ง จังหวดั ล�ำ พนู เทศบาลตำ�บลแม่แรง อำ�เภอป่าซาง จงั หวัดลำ�พูน เทศบาลตำ�บลปา่ กอด�ำ อ�ำ เภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย เทศบาลต�ำ บลบ้านหลวง อ�ำ เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เทศบาลต�ำ บลเมืองปอน อำ�เภอขุนยวม จงั หวดั เชียงใหม่ ภาคเหนอื ตอนล่าง เทศบาลตำ�บลพุเตย อำ�เภอวเิ ชยี รบรุ ี จังหวัดเพชรบรู ณ์ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน เทศบาลตำ�บลหลุบ อำ�เภอเมือง จงั หวัดกาฬสินธ์ุ เทศบาลต�ำ บลผง่ึ แดด อ�ำ เภอเมืองมุกดาหาร จังหวดั มุกดาหาร เทศบาลตำ�บลดงเย็น อ�ำ เภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมกุ ดาหาร องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลหนองกงุ ใหญ่ อำ�เภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น เทศบาลตำ�บลท่าม่วง อำ�เภอเสลภูมิ จังหวดั รอ้ ยเอ็ด เทศบาลต�ำ บลหนองนาคำ� อำ�เภอหนองนาคำ� จงั หวดั ขอนแกน่ เทศบาลต�ำ บลภปู อ อำ�เภอเมือง จงั หวัดกาฬสินธุ์ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนล่าง องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลเสมาใหญ่ อ�ำ เภอบวั ใหญ่ จังหวัดนครราชสมี า องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลโคกขม้ิน อำ�เภอพลบั พลาชัย จังหวดั บรุ ีรัมย์ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลยางข้ีนก อำ�เภอเขอื่ งใน จังหวดั อุบลราชธานี ภาคกลาง องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลวงั ใหม่ อ�ำ เภอนายายอาม จังหวัดจนั ทบุรี ภาคใต้ตอนลา่ ง เทศบาลตำ�บลปริก อ�ำ เภอสะเดา จังหวัดสงขลา องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลบาโงย อ�ำ เภอรามัน จังหวัดยะลา องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำ บลนาทอน อำ�เภอทงุ่ หว้า จงั หวดั สตูล เทศบาลตำ�บลท่างิ้ว อำ�เภอหว้ ยยอด จงั หวัดตรัง สนบั สนุนโดย สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) สำ�นกั สนับสนนุ สุขภาวะชุมชน (สน.๓) อาคารศนู ย์เรยี นร้สู ุขภาวะ เลขท่ี ๙๙ ซอยงามดูพลี แขวงทงุ่ มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ ๑๐๑๒๐ โทรศัพท์ ๐ ๒ ๓๔๓ ๑๕๐๐ www.Thaihealth.or.th และ www.punsook.org ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาระบบสขุ ภาพชมุ ชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ต�ำ บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแกน่ ๔๐๐๐๒ โทรศพั ท์/แฟกซ์ ๐ ๔๓ ๒๐ ๒​ ๑๔๒



คำ�นำ� เวทสี านพลงั สรา้ งปญั ญา พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และประถมศกึ ษา เปน็ เวทจี ดั การความรู้ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นพ้ืนที่ เรียนรู้ และแลกเปลี่ยนความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงในแต่ละพื้นท่ี รวมท้ังเรียนรู้ นวัตกรรมหรืองานเด่นของการดูแลเดก็ ปฐมวยั ซง่ึ ความรูด้ งั กลา่ วเกดิ ขึ้นจากการถอดบท เรียนของแต่ละพื้นท่ี โดยสะท้อนให้เห็นรูปธรรม และแนวทางในการด�ำเนินงานพัฒนา ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั ตลอดจนการน�ำใช้เครอ่ื งมือและกลไกการจัดการพ้นื ทที่ ีม่ คี วาม แตกตา่ งกันในแตล่ ะบรบิ ทของพื้นที่ หนงั สอื สรปุ บทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ประกอบดว้ ย เนอ้ื หา ๓ สว่ น ไดแ้ ก่ (๑) บทน�ำทีแ่ สดงภาพรวมการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถ่นิ และกระบวนการ ถอดบทเรียน (๒) ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ จำ� นวน ๓๑ เร่อื ง พร้อม แผนภาพ และ (๓) บทเรยี นการพฒั นาสนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา จำ� นวน ๒๓ เรอ่ื ง พรอ้ ม แผนภาพ คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วม แลกเปล่ียนเรยี นรู้ นกั วชิ าการและผู้ท่ีเก่ียวข้อง จะสามารถนำ� ใชเ้ ป็นเอกสารประกอบการ เรยี นรู้ สำ� หรบั เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื การเทยี บเคยี งงานในพน้ื ทต่ี นเอง รวมถึงการต่อยอดงานและพฒั นางานในพนื้ ทตี่ นเองในอนาคตต่อไปได้ ขนิษฐา นนั ทบตุ ร และคณะ เมษายน ๒๕๖๒

สารบญั ๕ ๖ ค�ำน�ำ ๑๑ สารบัญ ๑๗ สารบญั ภาพ ๒๒ บทนำ� ๒๔ สว่ นท่ี ๑ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถ่นิ ๒๖ ภาคเหนือตอนบน ๓๒ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนท้องถ่ิน ๓๘ เทศบาลตำ� บลงิม อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ๔๔ เทศบาลตำ�บลทุง่ หัวชา้ ง อำ�เภอท่งุ หัวช้าง จังหวดั ลำ�พนู ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถ่นิ ๕๐ องค์การบริหารสว่ นตำ�บลสถาน อำ�เภอนาน้อย จงั หวดั น่าน ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถน่ิ ๕๕ เทศบาลตำ�บลแม่ยวม อำ�เภอแม่สะเรียง จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๖๑ เทศบาลตำ�บลปา่ กอ่ ดำ� อำ�เภอแม่ลาว จงั หวดั เชยี งราย ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถนิ่ ๖๔ เทศบาลตำ�บลบ้านหลวง อำ�เภอจอมทอง จงั หวัดเชยี งใหม ่ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถ่นิ ๖๖ เทศบาลตำ�บลเมอื งปอน อำ�เภอขนุ ยวม จงั หวัดเชยี งใหม ่ ๗๑ ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๗๖ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถน่ิ องคก์ ารบริหารส่วนตำ�บลหนองจอก อำ�เภอบา้ นไร่ จังหวัดอุทัยธาน ี ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลวังดนิ อำ�เภอเมือง จังหวัดอุตรดติ ถ ์ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถ่นิ เทศบาลตำ�บลพุเตย อำ�เภอวเิ ชยี รบรุ ี จงั หวัดเพชรบูรณ ์

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนบน ๗๙ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๘๑ องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลหนองกงุ ใหญ่ อำ�เภอกระนวน จงั หวัดขอนแกน่ ๘๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนท้องถน่ิ ๙๒ เทศบาลตำ�บลเหลา่ ใหญ่ อำ�เภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธ ์ุ ๙๗ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๐๒ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลแกง้ แก อำ�เภอโกสุมพสิ ยั จังหวัดมหาสารคาม ๑๐๖ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถิ่น ๑๑๑ เทศบาลตำ�บลทา่ ม่วง อำ�เภอเสลภมู ิ จังหวัดร้อยเอ็ด ๑๑๗ การจัดการเด็กปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถ่ิน เทศบาลตำ�บลหนองนาคำ� อำ�เภอหนองนาคำ� จงั หวัดขอนแกน่ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ เทศบาลตำ�บลภูปอ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั กาฬสนิ ธ ุ์ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถิน่ เทศบาลตำ�บลส่องดาวหนองแดง อำ�เภอสอ่ งดาว จงั หวัดสกลนคร ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถ่ิน เทศบาลตำ�บลโคกลา่ ม อำ�เภอจตรุ พกั ตรพมิ าน จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑๒๐ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถน่ิ ๑๒๒ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลเสมาใหญ่ อำ�เภอบัวใหญ่ จงั หวัดนครราชสีมา ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถิน่ ๑๒๖ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลโคกขมิน้ อำ�เภอพลับพลาชยั จงั หวัดบุรีรมั ย ์ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถ่นิ ๑๓๒ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลไหลท่ ุ่ง อำ�เภอตระการพืชผล จงั หวดั อุบลราชธาน ี ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนท้องถ่ิน ๑๓๘ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลยางข้ีนก อำ�เภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธาน ี

ภาคกลาง ๑๔๒ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถ่ิน ๑๔๔ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลเสม็ดใต้ อำ�เภอบางคลา้ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ๑๕๐ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๕๖ เทศบาลตำ�บลดา่ นช้าง อำ�เภอด่านชา้ ง จงั หวัดสพุ รรณบุร ี ๑๖๒ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ๑๖๗ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลบา้ นหาด อำ�เภอบา้ นลาด จงั หวัดเพชรบุร ี ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิ่น ๑๗๑ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลบ้านไร่ อำ�เภอเมืองราชบุรี จงั หวดั ราชบุร ี ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ๑๗๓ องค์การบริหารส่วนตำ�บลวงั ใหม่ อำ�เภอนายายอาม จังหวัดจนั ทบุร ี ๑๗๘ ๑๘๒ ภาคใต้ตอนล่าง ๑๘๗ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถนิ่ เทศบาลตำ�บลปรกิ อำ�เภอสะเดา จงั หวดั สงขลา ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิ่น องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลบาโงย อำ�เภอรามัน จงั หวดั ยะลา ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำ�บลทา่ งิว้ อำ�เภอหว้ ยยอด จังหวัดตรัง ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถิ่น องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลนาทอน อำ�เภอทงุ่ หว้า จังหวดั สตูล

ส่วนที่ ๒ บทเรียนการพัฒนาสนามเด็กเล่นสรา้ งปัญญา ๑๙๐ ภาคเหนอื ตอนบน ๑๙๒ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา เทศบาลตำ�บลก้อ อำ�เภอลี้ จงั หวัดลำ�พนู ๑๙๓ สนามเดก็ เล่นสร้างปัญญา เทศบาลตำ�บลงมิ อำ�เภอปง จงั หวดั พะเยา ๑๙๘ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา ๒๐๔ เทศบาลตำ�บลท่งุ หวั ช้าง อำ�เภอทุ่งหวั ชา้ ง จังหวัดลำ�พูน สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา ศนู ยอ์ บรมเด็กกอ่ นเกณฑใ์ นวดั แมแ่ รง ๒๐๙ เทศบาลตำ�บลแมแ่ รง อำ�เภอปา่ ซาง จงั หวัดลำ�พนู สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา ๒๑๓ เทศบาลตำ�บลปา่ ก่อดำ� อำ�เภอแมล่ าว จงั หวัดเชยี งราย สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา ๒๑๗ เทศบาลตำ�บลบ้านหลวง อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชยี งใหม ่ สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา ๒๒๓ เทศบาลตำ�บลเมอื งปอน อำ�เภอขุนยวม จงั หวัดเชียงใหม ่ ภาคเหนอื ตอนลา่ ง ๒๒๘ สนามเด็กเล่นสร้างปญั ญา ๒๒๙ เทศบาลตำ�บลพเุ ตย อำ�เภอวเิ ชยี รบุรี จังหวดั เพชรบูรณ ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒๓๔ สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปัญญา เทศบาลตำ�บลหลุบ อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั กาฬสินธ ์ุ ๒๓๕ สนามเดก็ เล่นสร้างปญั ญา ๒๓๙ เทศบาลตำ�บลผง่ึ แดด อำ�เภอเมอื งมกุ ดาหาร จงั หวัดมุกดาหาร สนามเด็กเลน่ สรา้ งปญั ญา ๒๔๔ เทศบาลตำ�บลดงเย็น อำ�เภอเมอื งมกุ ดาหาร จงั หวดั มกุ ดาหาร สนามเด็กเล่นสรา้ งปญั ญา ๒๔๘ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลหนองกงุ ใหญ่ อำ�เภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา เทศบาลตำ�บลทา่ มว่ ง อำ�เภอเสลภมู ิ จงั หวดั รอ้ ยเอด็ ๒๕๓ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา ๒๕๘ เทศบาลตำ�บลหนองนาคำ� อำ�เภอหนองนาคำ� จงั หวดั ขอนแกน่ สนามเด็กเล่นตามรอยพอ่ เทศบาลตำ�บลภูปอ อำ�เภอเมือง จงั หวดั กาฬสินธ ุ์ ๒๖๑

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง ๒๖๓ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา (เพชรเสมา) ๒๖๔ องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลเสมาใหญ่ อำ�เภอบวั ใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญา ๒๖๙ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลโคกขม้นิ อำ�เภอพลบั พลาชยั จงั หวัดบุรีรมั ย ์ สนามเด็กเลน่ สร้างปญั ญา องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลยางข้นี ก ๒๗๔ อำ�เภอเข่ืองใน จงั หวัดอบุ ลราชธาน ี ภาคกลาง ๒๗๙ สนามเดก็ เล่นสรา้ งปญั ญา ๒๘๐ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลวังใหม่ อำ�เภอนายายอาม จงั หวัดจนั ทบุร ี ภาคใตต้ อนล่าง ๒๘๕ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา เทศบาลตำ�บลปรกิ อำ�เภอสะเดา จงั หวัดสงขลา ๒๘๖ สนามเดก็ เลน่ สร้างปัญญา ๒๙๓ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลบาโงย อำ�เภอรามนั จังหวดั ยะลา สนามเดก็ เลน่ สร้างปัญญา ๒๙๙ องค์การบริหารสว่ นตำ�บลนาทอน อำ�เภอทงุ่ หวา้ จงั หวัดสตลู สนามเดก็ เลน่ สร้างปญั ญา เทศบาลตำ�บลทา่ ง้วิ อำ�เภอหว้ ยยอด จังหวัดตรัง ๓๐๕

สารบัญภาพ ๒๓ ๒๔ ภาพที่ ๑.๑ ภาพรวมระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถน่ิ ๒๕ ภาพท่ี ๑.๒ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนท้องถิ่น ๓๐ เทศบาลตำ� บลงมิ อ�ำเภอปง จังหวดั พะเยา ๓๑ ภาพที่ ๑.๓ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิน่ ๓๖ ๓๗ เทศบาลต�ำบลงมิ อำ� เภอปง จงั หวัดพะเยา ๔๒ ภาพท่ี ๑.๔ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถิ่น ๔๓ เทศบาลตำ� บลทุ่งหัวช้าง อ�ำเภอทุ่งหวั ชา้ ง จงั หวดั ล�ำพนู ๔๘ ภาพที่ ๑.๕ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิ่น ๔๙ เทศบาลต�ำบลท่งุ หวั ช้าง อ�ำเภอทุ่งหัวชา้ ง จังหวัดล�ำพนู ๕๓ ภาพท่ี ๑.๖ ระบบการจัดการตนเองของชุมชนท้องถิ่น ๕๔ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลสถาน อำ� เภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น ๕๙ ภาพที่ ๑.๗ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถ่ิน องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลสถาน อ�ำเภอนานอ้ ย จังหวัดน่าน ภาพที่ ๑.๘ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถิน่ เทศบาลต�ำบลแมย่ วม อำ� เภอแมส่ ะเรียง จงั หวดั แม่ฮ่องสอน  ภาพท่ี ๑.๙ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถนิ่ เทศบาลตำ� บลแมย่ วม อ�ำเภอแมส่ ะเรียง จังหวดั แมฮ่ ่องสอน ภาพที่ ๑.๑๐ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เทศบาลต�ำบลป่ากอ่ ดำ� อำ� เภอแมล่ าว จังหวัดเชยี งราย ภาพท่ี ๑.๑๑ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เทศบาลต�ำบลป่ากอ่ ดำ� อำ� เภอแมล่ าว จังหวัดเชยี งราย ภาพที่ ๑.๑๒ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลบา้ นหลวง อ�ำเภอจอมทอง จงั หวัดเชยี งใหม่ ภาพที่ ๑.๑๓ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถน่ิ เทศบาลต�ำบลบ้านหลวง อำ� เภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพที่ ๑.๑๔ ระบบการจัดการตนเองของชุมชนทอ้ งถ่ิน เทศบาลต�ำบลเมืองปอน อ�ำเภอขุนยวม จงั หวัดเชียงใหม่

ภาพที่ ๑.๑๕ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถน่ิ ๖๐ เทศบาลต�ำบลเมืองปอน อ�ำเภอขนุ ยวม จงั หวัดเชียงใหม ่ ภาพท่ี ๑.๑๖ ระบบการจัดการตนเองของชุมชนทอ้ งถิ่น ๖๔ องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลหนองจอก อำ� เภอบา้ นไร่ จังหวัดอุทยั ธาน ี ภาพท่ี ๑.๑๗ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๖๕ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลหนองจอก อำ� เภอบา้ นไร่ จงั หวดั อุทยั ธาน ี ภาพท่ี ๑.๑๘ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถิน่ ๖๙ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลวงั ดนิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั อุตรดิตถ์ ภาพท่ี ๑.๑๙ ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถนิ่ ๗๐ องค์การบริหารส่วนตำ� บลวังดนิ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั อตุ รดติ ถ ์ ภาพท่ี ๑.๒๐ ระบบการจัดการตนเองของชุมชนท้องถ่ิน ๗๔ เทศบาลต�ำบลพุเตย อำ� เภอวเิ ชยี รบรุ ี จงั หวัดเพชรบูรณ ์ ภาพท่ี ๑.๒๑ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนพุเตย ๗๕ เทศบาลต�ำบลพุเตย อำ� เภอวเิ ชยี รบุรี จงั หวัดเพชรบูรณ ์ ภาพที่ ๑.๒๒ ระบบการจดั การตนเองของชุมชนทอ้ งถนิ่ ๗๙ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลหนองกุงใหญ่ อ�ำเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น ภาพที่ ๑.๒๓ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถน่ิ ๘๐ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลหนองกงุ ใหญ่ อำ� เภอกระนวน จังหวัดขอนแกน่ ภาพท่ี ๑.๒๔ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ๘๕ เทศบาลต�ำบลเหลา่ ใหญ่ อ�ำเภอกฉุ นิ ารายณ์ จังหวดั กาฬสินธ ์ุ ภาพที่ ๑.๒๕ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถิ่น ๘๖ เทศบาลตำ� บลเหล่าใหญ่ อำ� เภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวดั กาฬสินธ์ ุ ภาพท่ี ๑.๒๖ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถ่ิน ๙๐ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลแก้งแก อำ� เภอโกสมุ พสิ ยั จงั หวัดมหาสารคาม ภาพท่ี ๑.๒๗ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ๙๑ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลแก้งแก อ�ำเภอโกสุมพสิ ยั จงั หวัดมหาสารคาม ภาพที่ ๑.๒๘ ระบบการจดั การตนเองของชุมชนท้องถ่ิน ๙๕ เทศบาลต�ำบลทา่ มว่ ง อ�ำเภอเสลภมู ิ จังหวดั ร้อยเอ็ด ภาพที่ ๑.๒๙ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิน่ ๙๖ เทศบาลต�ำบลทา่ มว่ ง อ�ำเภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอ็ด

ภาพที่ ๑.๓๐ ระบบการจดั การตนเองของชุมชนทอ้ งถิ่น ๑๐๐ เทศบาลต�ำบลหนองนาคำ� อำ� เภอหนองนาคำ� จังหวัดขอนแก่น ภาพที่ ๑.๓๑ การจดั การเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนท้องถ่นิ ๑๐๑ เทศบาลต�ำบลหนองนาคำ� อำ� เภอหนองนาคำ� จังหวดั ขอนแกน่ ภาพท่ี ๑.๓๒ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถน่ิ ๑๐๕ เทศบาลตำ� บลภปู อ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ภาพท่ี ๑.๓๓ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๐๙ เทศบาลต�ำบลสอ่ งดาวหนองแดง อำ� เภอส่องดาว จังหวดั สกลนคร ภาพที่ ๑.๓๔ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ๑๑๐ เทศบาลต�ำบลส่องดาวหนองแดง อ�ำเภอสอ่ งดาว จังหวัดสกลนคร ภาพที่ ๑.๓๕ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถ่ิน ๑๑๕ เทศบาลต�ำบลโคกลา่ ม อ�ำเภอจตุรพักตรพิมาน จงั หวัดร้อยเอ็ด ภาพท่ี ๑.๓๖ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนท้องถิ่น ๑๑๖ เทศบาลต�ำบลโคกลา่ ม อำ� เภอจตุรพกั ตรพิมาน จงั หวดั ร้อยเอ็ด ภาพท่ี ๑.๓๗ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๒๐ องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลเสมาใหญ่ อำ� เภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสมี า ภาพท่ี ๑.๓๘ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถ่ิน ๑๒๑ องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลเสมาใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ จงั หวัดนครราชสีมา ภาพที่ ๑.๓๙ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ๑๒๕ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลโคกขม้นิ อ�ำเภอพลับพลาชยั จงั หวดั บุรีรมั ย์ ภาพที่ ๑.๔๐ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๓๐ องค์การบริหารสว่ นต�ำบลไหล่ทงุ่ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ภาพที่ ๑.๔๑ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น ๑๓๑ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลไหลท่ ุ่ง อ�ำเภอตระการพชื ผล จังหวัดอุบลราชธานี ภาพที่ ๑.๔๒ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถน่ิ ๑๓๖ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลยางขี้นก อำ� เภอเขื่องใน จังหวัดอบุ ลราชธานี ภาพที่ ๑.๔๓ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนท้องถนิ่ ๑๓๗ องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลยางข้ีนก อำ� เภอเขอื่ งใน จงั หวดั อุบลราชธานี ภาพที่ ๑.๔๔ ระบบการจดั การตนเองของชุมชนทอ้ งถิ่น ๑๔๒ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลเสม็ดใต้ อ�ำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชงิ เทรา

ภาพที่ ๑.๔๕ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถน่ิ ๑๔๓ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลเสมด็ ใต้ อ�ำเภอบางคลา้ จงั หวัดฉะเชิงเทรา ๑๔๘ ภาพท่ี ๑.๔๖ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถ่นิ ๑๔๙ เทศบาลตำ� บลดา่ นช้าง อำ� เภอด่านชา้ ง จังหวัดสพุ รรณบุร ี ๑๕๔ ภาพท่ี ๑.๔๗ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชุมชนทอ้ งถิ่น ๑๕๕ เทศบาลต�ำบลด่านช้าง อ�ำเภอด่านช้าง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ๑๖๐ ภาพที่ ๑.๔๘ ระบบการจัดการตนเองของชุมชนทอ้ งถิ่น ๑๖๑ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลบ้านหาด อ�ำเภอบ้านลาด จังหวดั เพชรบุรี ๑๖๕ ภาพที่ ๑.๔๙ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนท้องถน่ิ ๑๖๖ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลบ้านหาด อำ� เภอบา้ นลาด จงั หวดั เพชรบุร ี ๑๗๑ ภาพท่ี ๑.๕๐ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนท้องถิ่น ๑๗๒ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไร่ อำ� เภอเมอื งราชบรุ ี จังหวดั ราชบุร ี ๑๗๖ ภาพที่ ๑.๕๑ ระบบการดแู ลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ๑๗๗ องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลบา้ นไร่ อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวดั ราชบุร ี ๑๘๑ ภาพที่ ๑.๕๒ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ๑๘๕ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลวงั ใหม่ อ�ำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุร ี ภาพที่ ๑.๕๓ ระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนท้องถ่ิน องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลวงั ใหม่ อ�ำเภอนายายอาม จังหวดั จันทบุร ี ภาพท่ี ๑.๕๔ ระบบการจัดการตนเองของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำ� บลปรกิ อำ� เภอสะเดา จงั หวัดสงขลา ภาพท่ี ๑.๕๕ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนทอ้ งถิ่น เทศบาลตำ� บลปริก อำ� เภอสะเดา จังหวดั สงขลา ภาพท่ี ๑.๕๖ ระบบการจดั การตนเองของชุมชนท้องถน่ิ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลบาโงย อำ� เภอรามัน จังหวัดยะลา ภาพที่ ๑.๕๗ ระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถนิ่ องคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลบาโงย อ�ำเภอรามนั จงั หวดั ยะลา ภาพท่ี ๑.๕๘ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถ่ิน เทศบาลตำ� บลท่าง้วิ อ�ำเภอหว้ ยยอด จงั หวดั ตรงั ภาพท่ี ๑.๕๙ ระบบการจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถิน่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนต�ำบลนาทอน อำ� เภอทงุ่ หว้า จังหวดั สตลู

ภาพที่ ๑.๖๐ ระบบการดูแลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนท้องถิน่ ๑๘๖ องค์การบรหิ ารส่วนต�ำบลนาทอน อำ� เภอทุ่งหวา้ จงั หวัดสตูล ภาพท่ี ๒.๑ ภาพรวมการพัฒนาสนามเดก็ เล่นสร้างปญั ญา ๑๙๑ ภาพท่ี ๒.๒ สนามเดก็ เล่นสร้างปัญญา เทศบาลต�ำบลก้อ อ�ำเภอล้ี จังหวัดล�ำพนู ๑๙๒ ภาพท่ี ๒.๓ สนามเด็กเลน่ สร้างปญั ญา เทศบาลตำ� บลงมิ อ�ำเภอปง จังหวดั พะเยา ๑๙๗ ภาพที่ ๒.๔ สนามเด็กเลน่ สร้างปญั ญา ๒๐๓ เทศบาลต�ำบลทุ่งหัวชา้ ง อ�ำเภอทุ่งหัวชา้ ง จังหวดั ลำ� พูน ภาพที่ ๒.๕ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา ศนู ยอ์ บรมเดก็ กอ่ นเกณฑใ์ นวดั แม่แรง ๒๐๘ เทศบาลต�ำบลแม่แรง อำ� เภอปา่ ซาง จงั หวดั ล�ำพูน ภาพท่ี ๒.๖ สนามเดก็ เล่นสร้างปญั ญา ๒๑๒ เทศบาลต�ำบลป่ากอ่ ดำ� อ�ำเภอแม่ลาว จังหวดั เชียงราย ภาพที่ ๒.๗ สนามเด็กเล่นสร้างปญั ญา ๒๑๖ เทศบาลตำ� บลบา้ นหลวง อ�ำเภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพท่ี ๒.๘ สนามเดก็ เล่นสร้างปัญญา ๒๒๒ เทศบาลตำ� บลเมอื งปอน อำ� เภอขุนยวม จงั หวดั เชียงใหม ่ ภาพท่ี ๒.๙ สนามเด็กเลน่ สรา้ งปัญญา ๒๒๘ เทศบาลต�ำบลพเุ ตย อ�ำเภอวิเชยี รบุรี จงั หวดั เพชรบูรณ ์ ภาพท่ี ๒.๑๐ สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปัญญา ๒๓๔ เทศบาลตำ� บลหลุบ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั กาฬสินธ์ ุ ภาพที่ ๒.๑๑ สนามเด็กเลน่ สร้างปัญญา ๒๓๘ เทศบาลต�ำบลผ่งึ แดด อำ� เภอเมืองมกุ ดาหาร จังหวดั มกุ ดาหาร ภาพที่ ๒.๑๒ สนามเดก็ เล่นสรา้ งปัญญา ๒๔๓ เทศบาลตำ� บลดงเย็น อำ� เภอเมืองมกุ ดาหาร จงั หวดั มุกดาหาร ภาพท่ี ๒.๑๓ สนามเด็กเล่นสร้างปญั ญา ๒๔๗ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บลหนองกงุ ใหญ่ อำ� เภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ภาพที่ ๒.๑๔ สนามเด็กเลน่ สร้างปัญญา ๒๕๒ เทศบาลตำ� บลท่ามว่ ง อำ� เภอเสลภูมิ จังหวดั รอ้ ยเอด็ ภาพท่ี ๒.๑๕ สนามเด็กเล่นสรา้ งปญั ญา ๒๕๗ เทศบาลตำ� บลหนองนาคำ� อำ� เภอหนองนาค�ำ จังหวัดขอนแก่น

ภาพที่ ๒.๑๖ สนามเด็กเล่นตามรอยพ่อ ๒๖๐ เทศบาลต�ำบลภูปอ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั กาฬสนิ ธ ์ุ ภาพท่ี ๒.๑๗ สนามเด็กเล่นสรา้ งปญั ญา (เพชรเสมา) ๒๖๓ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลเสมาใหญ่ อำ� เภอบวั ใหญ่ จงั หวดั นครราชสมี า ภาพที่ ๒.๑๘ สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา ๒๖๘ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลโคกขม้นิ อ�ำเภอพลบั พลาชยั จงั หวัดบุรีรมั ย์ ภาพที่ ๒.๑๙ สนามเด็กเลน่ สร้างปญั ญา ๒๗๓ องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลยางขนี้ ก อำ� เภอเขื่องใน จงั หวัดอุบลราชธานี ภาพที่ ๒.๒๐ สนามเดก็ เลน่ สร้างปัญญา ๒๗๙ องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำบลวงั ใหม่ อำ� เภอนายายอาม จงั หวัดจนั ทบรุ ี ภาพท่ี ๒.๒๑ สนามเดก็ เล่นสรา้ งปญั ญา ๒๘๕ เทศบาลต�ำบลปรกิ อำ� เภอสะเดา จงั หวดั สงขลา ภาพที่ ๒.๒๒ สนามเดก็ เล่นสร้างปัญญา ๒๙๒ องค์การบรหิ ารสว่ นตำ� บลบาโงย อ�ำเภอรามัน จังหวดั ยะลา ภาพท่ี ๒.๒๓ สนามเด็กเล่นสร้างปญั ญา ๒๙๘ องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บลนาทอน อ�ำเภอทงุ่ หว้า จังหวดั สตลู ภาพที่ ๒.๒๔ สนามเดก็ เลน่ สรา้ งปัญญา ๓๐๔ เทศบาลตำ� บลทา่ งวิ้ อำ� เภอหว้ ยยอด จังหวัดตรงั

บทนำ� “เวทสี านพลงั สร้างปัญญา พัฒนาเดก็ ปฐมวยั และประถมศึกษา” วันท่ี ๒๒-๒๔ เมษายน ๒๕๖๒ ณ ห้อง Hall ๗-๘ ศูนย์แสดงสนิ คา้ และการประชมุ อิมแพ็ค เมอื งทองธานี

๑. ท่มี า “เด็กปฐมวัย” เป็นกลุ่มประชากรเป้าหมายในการดูแลที่ก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ การพฒั นาทมี่ งุ่ พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการสมวยั ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ซึ่งลักษณะการดูแลเด็กปฐมวัยมีความแตกต่างกันอย่าง นอ้ ยใน ๒ ชว่ งอาย๑ุ ไดแ้ ก่ ชว่ งอายุ ๐-๓ ปี และชว่ งอายุ ๓-๕ ปี ซงึ่ ทงั้ ๒ ชว่ งวยั น้ี ยงั คงอยใู่ นการดแู ลจากผปู้ กครองและครอบครวั เดก็ ปฐมวยั เปน็ หลกั โดยมอี าสาสมคั ร สาธารณสขุ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลหรอื โรงพยาบาลชมุ ชน ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ศนู ยพ์ ฒั นาครอบครวั องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ก�ำนนั ผใู้ หญบ่ า้ น กลมุ่ องคก์ รชุมชนต่างๆ และหน่วยงานในพื้นที่ได้มีสว่ นร่วมในการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ตลอด จนการค้นหา และน�ำใช้ทุนทางสังคม และศักยภาพของชุมชนเพ่ือพัฒนาระบบการ ดแู ลเด็กปฐมวยั ในพน้ื ที่ การพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ยึดหลักการท�ำงาน ๔ หลักการ คือ ๑) การใช้พ้ืนที่เป็นฐานการพัฒนา (Area-based development) ๒) การค�ำนึงถงึ สขุ ภาพในทุกนโยบายของชุมชนท้องถ่นิ (Heath in all policies) ๓) การสร้างการมีส่วนร่วม และ ๔) การสรา้ งความรู้สึกเป็นเจา้ ของการขับเคลอื่ น ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยฯ เป็นการพัฒนางานและกิจกรรมและการท�ำงานร่วมของ ๖ กลุ่มเปา้ หมายหลัก ไดแ้ ก่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ (ศพด.) ศูนย์พฒั นาครอบครวั (ศพค.) รพ.สต. อาสาสมคั รและทุนทางสงั คมตา่ งๆ ในชมุ ชน รวมถงึ ภาคทอ้ งท่ี เชน่ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ ้าน โดยอาศัยการขับเคลือ่ นงานเชิงระบบ จาก ความสัมพันธ์ เช่ือมโยงกันของทุนทางสังคมท่ีมีอยู่ในพ้ืนท่ี ทั้งน้ีได้ยึดแนวทางการ พัฒนาเดก็ ปฐมวัยภายใต้ ๖ ชุดกิจกรรมหลัก ได้แก่ (๑) การพฒั นาศักยภาพส�ำหรบั เดก็ ปฐมวยั หรอื ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การดแู ลเดก็ ปฐมวยั (๒) การพฒั นาหรอื ปรบั ปรงุ สภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือการดูแลเด็กปฐมวัย (๓) การพัฒนาบริการส�ำหรับ การดแู ลเด็กปฐมวัย (๔) การจัดต้งั กองทุนหรอื จดั ใหม้ สี วสั ดิการช่วยเหลือกันเพ่ือการ ดแู ลเดก็ ปฐมวยั (๕) การพฒั นาและนำ� ใชข้ ้อมลู ในการสง่ เสรมิ แก้ไขหรอื จดั การปญั หา เด็กปฐมวยั และ (๖) การพัฒนากฎ กตกิ า ระเบยี บท่ีสนบั สนุนการดแู ลเด็กปฐมวยั ๑ ขนษิ ฐา นันทบุตร และคณะ. (๒๕๕๙). แนวทางการส่งเสริมการพฒั นาระบบการดูแลเด็กปฐมวยั และ ระบบการส่งเสรมิ การเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนโดยชุมชนท้องถน่ิ . กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั งานกองทนุ สนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ. 18

ในการยกระดบั การดแู ลเดก็ ปฐมวยั ในพน้ื ทใ่ี หค้ รอบคลมุ ทกุ มติ ิ ทง้ั ดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ สภาวะแวดล้อม สขุ ภาพ และการเมอื งการปกครอง เพือ่ ให้เด็กปฐมวยั เตบิ โตอยา่ งมี คณุ ภาพและเปน็ พลเมอื งทด่ี ขี องสงั คม จากการดำ� เนนิ การทผ่ี า่ นมาไดม้ กี ารพฒั นาขดี ความสามารถของพ้นื ท่ที ่มี ีศักยภาพเป็นศูนย์เรยี นรู้ (ศรร.) การพฒั นาระบบการดูแล เด็กปฐมวัยโดยชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงได้รับการหนุนเสริม และสร้างกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนการสนับสนุนเคร่ืองมือ และกลไกในการด�ำเนินงานจากหลายภาคส่วน ทัง้ จากส�ำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส�ำนกั สนบั สนุน สุขภาวะชุมชน (ส�ำนัก ๓) ซึ่งท�ำหนา้ ทกี่ ำ� หนดทิศทาง นโยบายในการขบั เคลอื่ นงาน พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณในการด�ำเนินการ ศนู ยส์ นบั สนุน วชิ าการภาค (ศวภ.) และศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน (ศวช.) คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ท�ำหน้าที่หนุนเสรมิ ทางดา้ นวชิ าการ การสรา้ งองค์ ความรจู้ ากการจดั การความรู้ และการจดั กระบวนการเรยี นรู้ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลติ ผลลพั ธ์ และรปู ธรรมท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ การดแู ลเดก็ ปฐมวัยทั้งทางตรงและทางออ้ ม จากประสบการณก์ ารดำ� เนนิ งานทผี่ า่ นมา ไดม้ กี ารนำ� ใชป้ ระสบการณท์ ไี่ ดร้ บั จาก กระบวนการเรยี นรแู้ ละพฒั นามาปรบั ใชเ้ พอื่ จดั การกบั ประเดน็ ปญั หาและความตอ้ งการ ของประชากรกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ ในการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัย ซง่ึ ก่อให้ เกดิ ความโดดเดน่ ของการด�ำเนินงาน จนสามารถน�ำไปใช้เป็นกรณีตัวอยา่ งทีป่ ระสบ ผลส�ำเร็จ หรือมคี วามเป็นเลศิ ในการท�ำงาน หรอื เปน็ นวัตกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อ ให้เห็นถึงรายละเอียดในการพัฒนาศักยภาพและความโดดเด่นในด้านต่างๆของพ้ืนที่ ในการพัฒนาระบบการดูแลเด็กปฐมวยั อย่างชดั เจน ซ่งึ จะเปน็ ประโยชนส์ ำ� หรับพื้นที่ ทตี่ อ้ งการพฒั นาในประเดน็ ทมี่ คี วามคลา้ ยคลงึ กนั และสามารถนำ� ไปปรบั ใชแ้ ละพฒั นา ระบบการดูแลเด็กปฐมวัยทัง้ ในพน้ื ทแ่ี ละข้ามพื้นที่ หนงั สอื สรปุ บทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ประกอบดว้ ย (๑) ระบบ การดูแลเด็กปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จำ� นวน ๓๑ เรอื่ ง พร้อมแผนภาพ และ (๒) บทเรียนการพฒั นาสนามเดก็ เล่นสร้างปัญญา จ�ำนวน ๒๓ เร่อื ง พรอ้ มแผนภาพ ได้ จัดท�ำขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการประชุมเวทีสานพลัง สรา้ งปญั ญา พฒั นาเด็กปฐมวัย และประถมศึกษา ให้กบั พืน้ ทท่ี ี่เข้ารว่ มแลกเปลย่ี น เรยี นรู้ ได้รว่ มเรยี นรู้ วเิ คราะหเ์ ทียบเคียงการดำ� เนินงานกับพื้นท่ตี นเอง เพอ่ื สะท้อน ใหเ้ หน็ รปู แบบการดำ� เนนิ งานในการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ความแตกตา่ งของกลไกการจดั การ นำ� สจู่ นิ ตนาการการต่อยอดงานและพฒั นางานในพืน้ ที่ตนเองในอนาคตตอ่ ไปได้ สรปุ บทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั 19

๒. กระบวนการถอดบทเรียน กระบวนการถอดบทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั โดยชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จ�ำเป็นต้องมีการทบทวนและสรุปข้อมูลที่แสดงหลักฐานยืนยันการด�ำเนินงานในด้าน ต่างๆ โดยใชข้ ้อมูลจากหลายแหล่ง ทง้ั ขอ้ มูลจากระบบขอ้ มลู ตำ� บล (TCNAP) ขอ้ มลู จากการวจิ ยั ชมุ ชน (RECAP) และข้อมลู จากแบบสอบถามสุขภาวะเด็กปฐมวัย (ระดับ บคุ คลและครอบครัว และระดับหมูบ่ ้านและต�ำบล) รว่ มกบั ข้อมลู จากแหล่งอ่นื ไดแ้ ก่ จปฐ. กชช๒ค. ขอ้ มลู จาก รพ.สต. และข้อมลู ของหนว่ ยงานองคก์ รอ่ืนๆทีเ่ ก่ยี วข้อง ซง่ึ ชว่ ยใหช้ มุ ชนทอ้ งถิน่ ได้การเรียนร้สู ถานการณก์ ารพัฒนาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ของพนื้ ที่ และสามารถนำ� ขอ้ มลู ไปใชว้ างแผนและตอ่ ยอดการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ได้ โดยมีขน้ั ตอนของกระบวนการถอดบทเรยี นมดี งั นี้ ๑) ทบทวนขอ้ มลู สถานการณข์ องพน้ื ที่ สรปุ ขอ้ มลู บรบิ ทของชมุ ชน สถานการณ์ ทางดา้ นสขุ ภาวะชมุ ชน (กลมุ่ ประชากรเปา้ หมาย ทนุ ทางสงั คม ๖ ระดบั ) และผลลพั ธ์ ของการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆทเี่ กยี่ วขอ้ ง จดั ทำ� แผนท่ี ศกั ยภาพของชมุ ชนในการดูแลเด็กปฐมวยั ๒) วเิ คราะห์และสรปุ ระบบหลกั และระบบรองของพ้ืนท่ีในการพฒั นาระบบการ ดูแลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถน่ิ โดยวเิ คราะห์การดำ� เนนิ งานและกิจกรรมทดี่ ำ� เนนิ การเทยี บเคยี งชุดกจิ กรรมหลกั (ศพด. ศพค. รพ.สต. และทนุ ทางสงั คมอื่นทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง) กบั ๑๗ เป้าหมายการพฒั นาที่ยั่งยืน (SDGs) ๓) วเิ คราะหแ์ ละสรปุ งานเดน่ นวตั กรรม และสนามเดก็ เลน่ สรา้ งปญั ญาในพน้ื ที่ ตนเอง ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ปญั หาและความต้องการของประชากรกลุม่ เป้าหมายในพ้ืนท่ี ๔) สรุปบทเรยี นเร่ืองเดน่ นวตั กรรมของพืน้ ท่ี และสนามเดก็ เลน่ สรา้ งปัญญา ทตี่ อ้ งการนำ� เสนอในเวทเี วทสี านพลงั สรา้ งปญั ญา พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และประถมศกึ ษา และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ก�ำหนดใหม้ ขี อ้ มูลและความรู้ทค่ี วรถ่ายทอดไดอ้ ย่างน้อยใน ๘ ด้าน ไดแ้ ก่ ๑) แนวคดิ การพัฒนางานเด่นหรือนวัตกรรม ๒) กล่มุ ประชากรเปา้ หมาย ๓) ผลที่ตอ้ งการให้เกิดขน้ึ ๔) ข้อมลู และเครื่องมือในการดำ� เนินงาน ๕) รูปธรรมงาน ๖) วิธดี ำ� เนนิ งาน ๗) ผลทีเ่ กิดขึ้น (ผลผลติ ผลลพั ธ)์ และ ๘) ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อ เด็กปฐมวยั ผปู้ กครองและครอบครัว ชุมชนทอ้ งถ่นิ 20

ท้ังน้ีในส่วนของหนังสือเล่มน้ีมีการน�ำเสนอประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑) ระบบการดแู ลเด็กปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถนิ่ จ�ำนวน ๓๑ เรื่อง พร้อมแผนภาพ และ (๒) บทเรยี นการพัฒนาสนามเดก็ เล่นสรา้ งปญั ญา จ�ำนวน ๒๓ เร่ือง พร้อมแผนภาพ ดงั รายละเอยี ด ๑ส่วนท่ี สรปุ บทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั 21

๑ส่วนท่ี ระบบการดแู ล เดก็ ปฐมวัย โดยชุมชนทอ้ งถน่ิ 22

ภาพรวมระบบการดูแลเดก็ ปฐมวยั โดยชุมชนทอ้ งถน่ิ กล่มุ เป้าหมาย ๑. การพัฒนาศกั ยภาพ พฒั นาศกั ยภาพพอ แมและครอบครวั เด็กปฐมวยั ๐-๕ ป เด็ก ๐-๓ ป เด็ก ๓-๕ ป „ฝกอบรมพอ แมผดู ูแลเดก็ เรือ่ งการสง เสรมิ พฒั นาการและสรา งการเรยี นรู เดก็ สุขภาพปกติ „ฝก อบรมพอ แมผ ูปกครองเรอื่ งการรบั ภูมิคมุ กันและดแู ลสุขภาพ เด็กพกิ าร „ฝกอบรมและสงเสรมิ การเขารว มซอมแผนปอ งกันอัคคีภยั เตดอก็ งมกคีารวพามเิ ศษ „ฝก อบรมเตรียมความพรอ มกอนมีครอบครวั เดก็ ปวย เสรมิ สรา งครอบครัวอบอุน ชุมชนเขม แข็ง อาศยั อยูกบั พอแม อาศยั กับพอหรอื แม อาศัยอยูก บั ญาติ ศพค. พัฒนาศกั ยภาพครูผูดูแลเดก็ อาศยั อยกู บั ปู ยา ตา ยาย อาศยั อยกู บั ผสู ูงอายุ „ฝกอบมรมครผู ูด ูแลเดก็ เก่ยี วกบั การสงเสรมิ พัฒนาการและดแู ลสขุ ภาพเดก็ „สนับสนนุ การศกึ ษาดงู าน „สงเสริมครุผดู ูแลเด็กปฐมวัยใหมกี ารศกึ ษาตอ ๓. การพัฒนาระบบบริการ อปท. ผู้ ๒. การพฒั นาสภาพแวดล้อม การสงเสริมพฒั นาการตามวัย ที่เอ้ือตอ่ การดแู ลเด็กปฐมวยั „จัดทำหลกั สตู รทอ งถนิ่ ปกครอง „พัฒนาและนำใชส ื่อจากภมู ิปญญาทองถน่ิ „การคัดกรองพัฒนาการโดยใชD SPM „จัดทำสมดุ ประจำตวั เดก็ „ การจัดสภาพแวดลอมในศพด. „จดั มุมของเลน „จัดการการสอนในรปู แบบของโครงการ เชน ศพด. „จัดพ้นื ท่สี นามเดก็ เลน แปลงผัก แปลงเกษตร โครงการการเรียนรสู ูโ ลกกวา งสง นอ งอนบุ าลสูพป่ี ระถม „จดั ต้ังธนคารส่อื นทิ าน การสรา งการเรียนรู „จดั ตงั้ มาตรการความปลอดภยั „จดั ทำหลกั สตู รขยะทองถน่ิ „ตรวจสอบเครอื่ งเลนและทำความสะอาดของเลน เปนประจำ „จดั กจิ กรรมบันทึกความดี กลุ่ม „การจดั แผนปอ งกันอคั คภี ัยและการซอมแผนใหแกครผู ดู ูแลเดก็ ในศพด. „จดั กิจกรรมอยุ สอนหลานหลานสอนอยุ อาชีพ การจัดสภาพแวดลอมที่บา น „จดั การเรียนรูเรอื่ งการออม „ „ฝกอบรมพอ แมผ ูดูแลการจัดสภาพแวดลอ มในบานที่เหมาะแกเด็ก „สงเสรมิ การเขารวมกิจกรรมโครงการรกั การอาน „โครงการรักการอาน „ฝกอบรมพอแมเรือ่ งการใชโ ทรศพั ทมือถือในเด็ก „สง เสรมิ การรเรียนรตู ามแนวมอนเชสเตอรีใ่ หเดก็ ลงมือทำตามความชอบ การจดั สภาพในชุมชน „การเรียนรดู า นศาสนา วัฒนธรรมประเพณที อ งถนิ่ „การพัฒนากลมุ องคก รชมุ ชนใหเปนแหลง เรียนรู „สอนการจักสานของเลน พน้ื บา น สอนเลน ดนตรพี นื้ เมอื ง รพ.สต. „ „จัดตั้งศูนยเรยี นรเู ศรษฐกิจพอเพียง สวนสขุ ภาพ การจดั การอาหารโดยชุมชน „จัดบรกิ ารหอ งศูนย ICT „จดั กิจกรรมเรยี นรูเรื่องอาหารปลอดภยั „การสำรวจและทำลายแหลง เพาะพันธุของสตั วน ำโรค „การจัดกจิ กรรมปลกู ผกั กางมงุ (ผกั ปลอดสารพิษ) ในศพด. „จัดทำมาตรการจดั การอาหาร ต้งั แตเ ลอื กวตั ถดุ บิ กลมุ่ เยาวชน การปรงุ และการเลือกเมนู จติ อาสา การจัดบริการกรณีปกติและฉุกเฉนิ „จัดบรกิ ารรับสงเดก็ ในศพด. อเกนิกษลทตมุ่ รรีย์ สเยภแาาลวเชดะ นก็ „จัดบรกิ ารรถรับสง ๒๔ ชัว่ โมงกรณีฉุกเฉนิ กลุ่ม กลมุ่ การควบคุมปอ งกนั โรค อาสา สมัคร อสม.น้อย „คดั กรองเดก็ กอนเขา ศพด. ผใู้ หญบ่ ้าน ๕. การพฒั นาและนำใชข้ ้อมูล „จดั พื้นที่หรือหองดแู ลเดก็ ปวยพรอมอุปกรณและยาจำเปน „ฝก อบรมพอ แม ครผู ดู ูแลเรอื่ งการดูแลสุขภาพ กลุม่ กำนัน „การสรางความรว มมือจัดทำระบบขอมูลเด็กปฐมวัย „สงเสรมิ การรับวัคซนี เยาวชน „จดั ทำระบบขอมูลเดก็ ปฐมวยั ไดแ ก ขอ มลู พน้ื ฐานการอยูอ าศัย „การจดั บรกิ ารดานทนั ตกรรม รกั ษน์ ำ้ การประเมนิ พัฒนาการ การไดร บั ภมู คิ ุมกนั โรค ขอมูลสถานะสุขภาพ เชน การเจบ็ ปว ย การตรวจสุขภาพของเดก็ ปฐมวยั การประเมินโภชนาการ การดแู ลสุขภาพเมอื่ เจ็บปว ย การตรวจสขุ ภาพปากฟน เปนตน „คัดแยกเด็กปวย „การนำใชขอ มลู รวมวเิ คราะหปญ หาและวางแผนการดแู ลรวมกบั องคก รชมุ ชน „จดั ทำระบบสงตอ „การเย่ียมบา น „จดั บรกิ ารใหคำปรกึ ษาแกผปู กครอง ๖. การพัฒนากฎ กตกิ า ระเบียบแนวปฏบิ ตั ิ ๔. การจดั ตัง้ กองทนุ และ ประธาน กฎ กติกา ขอตกลงในศพด. ๑ส่วนท่ี สวัสดิการชว่ ยเหลือกนั ชุมชน „การใหเดก็ หยดุ เรยี นจนกวาจะหายปวย คณะ „การกำหนดจุดรบั สง เด็กนกั เรียน „จัดใหม ีกองทนุ กยู ืมเพื่อการประกอบอาชีพ กรรมการ „การไมนำเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลหรือบุหรม่ี าในศพด. „จดั กิจกรรมชวยเหลือในชุมชน ชมุ ชน „การไมจำหนายสนิ คาในศพด. กฎ กตกิ า ขอ ตกลงในชมุ ชน „จดั สวสั ดกิ ารตง้ั แตเ กดิ จนตาย „จัดตงั้ กองทนุ สวัสดิการชุมชน ผนู้ ำ „โครงการระบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น แหลง่ „โครงการสง เสริมคณุ ธรรมจริยธรรม เรียนรู้ „โครงการรณรงคป องกันยาเสพตดิ แหล่งเรยี นรู้ อนรุ ักษ์ พันธกุ รรม พ้นื บ้าน ภาพที่ ๑.๑ ภาพรวมการพัฒนาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวัยโดยชมุ ชนท้องถ่นิ สรปุ บทเรยี นการพฒั นาระบบการดแู ลเดก็ ปฐมวยั 23