Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๑๕ ครูภูมิปัญญาไทย ผู้อารักษ์พรรณพืช7

๑๕ ครูภูมิปัญญาไทย ผู้อารักษ์พรรณพืช7

Description: ๑๕ ครูภูมิปัญญาไทย ผู้อารักษ์พรรณพืช7

Search

Read the Text Version

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมิปัญญาไทย 1 ¨Ò¡ ๑๕ ครภู มู ปิ ญั ญาไทย ผอู้ ารกั ษ์พรรณพชื

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปัญญาไทย 2 ๑. ครูภมู ปิ ญั ญาไทยกบั การอนุรักษ์พันธุ์พืช ๒. ชอ่ื เรอ่ื ง สิง่ พิมพ์ สกศ. อนั ดบั ที่ ๔๑ / ๒๕๖๑ พิมพ์ครงั้ ที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ISBN จำ�นวน ๒,๐๐๐ เล่ม จัดพิมพแ์ ละเผยแพร่ สำ�นกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้ สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ ถนนสุโขทยั เขตดุสติ กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทร. ๐๒-๖๖๘-๗๑๑๐-๒๔ ตอ่ ๒๔๔๙, ๒๔๕๙ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๕๑๕๒ Web Site : http://www.oec.go.th พมิ พท์ ่ี บริษัท เจเค พร้นิ ท์ แอนด์ แอด็ เวอร์ไทซ่งิ จำ�กัด ๕๐๒ ซอยจรญั สนิทวงศ์ ๖๕ ถนนจรญั สนทิ วงศ์ แขวงบางบำ�หรุ เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท์ ๐๒-๘๘๖-๖๓๘๘ โทรสาร ๐๒-๘๘๖-๖๗๖๔ E-mail : It_press๑@yahoo.com

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย จากเลขาธกิ าครำ�นสำ�ภาการศึกษา 3 ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ด�ำเนนิ การสรรหาและคดั เลอื กครภู มู ปิ ญั ญาไทยเพอื่ ท�ำ หน้าท่ีน�ำภูมปิ ัญญาด้านต่างๆ เข้าสูร่ ะบบการศึกษาทงั้ การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามนโยบายสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาไทยในการจดั การศกึ ษา ซงึ่ ไดร้ บั ความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมอื่ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยมีผทู้ รงภูมิปญั ญาดา้ น ต่างๆ ๙ ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นกองทนุ และธรุ กจิ ชมุ ชน ดา้ นศลิ ปกรรม ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ด้านปรชั ญา ศาสนา และประเพณี และดา้ นโภชนาการ ซงึ่ มีผล งานปรากฏเปน็ ทยี่ อมรบั ของสงั คม โดยไดน้ �ำความรคู้ วามเชย่ี วชาญดา้ นภมู ปิ ญั ญาทไี่ ดส้ บื สานแต่ บรรพชนมาปรบั ประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ ฐานส�ำคญั ของการเรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญาไทยใหก้ า้ วไกลสสู่ ากลในมติ ิ ท่หี ลากหลาย ดว้ ยตระหนกั วา่ ครภู มู ปิ ญั ญาไทยเปน็ ตวั แทนและตน้ แบบของผทู้ เ่ี ดนิ ตามรอยพระยคุ ลบาท โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ส�ำนกั งานฯ ไดค้ ดั สรร ครภู มู ิปัญญาไทย จ�ำนวน ๑๕ ทา่ น จากทกุ ภมู ิภาคท่วั ประเทศ เปน็ ตวั แทนในการด�ำเนนิ ชวี ติ โดยยดึ หลกั อาชพี ผกู พนั อยกู่ บั การอนรุ กั ษ์ สบื สาน พฒั นาพรรณพชื อยา่ งหลากหลายมติ ทิ กี่ อ่ ประโยชนท์ ง้ั ดา้ นการเกษตร การประกอบอาชพี การรกั ษาโรค การเปน็ แหล่งตน้ นำ้� สร้างความช่มุ ชืน้ ใหท้ อ้ งถ่ินไปจนถึงการไดป้ ่าอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ รวบรวม พืชพรรณนานาชนิด เป็นมรดกของท้องถ่ิน เป็นแหล่งเรียนรู้ไปจนถึงแหล่งพัฒนาอาชีพบน พนื้ ฐานแห่งศนู ย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริ ดงั นนั้ เพอ่ื เปน็ การสานตอ่ พระราชปณธิ านแหง่ องคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล อดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด�ำเนินการ ตามพระราชด�ำรแิ ละสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรทางพนั ธกุ รรมพชื ส�ำนกั งานฯ จงึ ไดส้ กดั บทเรยี นชวี ติ ของ ครภู มู ปิ ญั ญาไทย ใหเ้ ปน็ ตน้ แบบในการใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาติ อยา่ งชาญฉลาด เปน็ ประโยชนต์ อ่ ทกุ คน ในระยะเวลายาวนานทสี่ ดุ โดยสญู เสยี ทรพั ยากรโดยเปลา่ ประโยชนน์ อ้ ยทสี่ ดุ รวมทง้ั เปน็ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรทางพรรณพชื ทสี่ �ำคญั ของ ประเทศทจ่ี �ำเป็นย่งิ เพอ่ื ให้อยู่คกู่ ับเราตลอดไป ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย สารบญั 4 ๖ - ๙ บทนำ� โครงการอนุรกั ษพ์ ันธกุ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ร ิ ๙ - ๑๕ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๑๖ - ๑๗ แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามกรอบของ แผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะที่ ๕ ปที ่ี ๕ กรอบการเรียนรทู้ รัพยากร ๑๘ - ๒๑ กรอบการสรา้ งประโยชน์ ๒๒ - ๒๘ กรอบการสรา้ งจิตสำ�นกึ ๒๙ - ๓๔ ความเป็นมา และแนวทางการด�ำ เนินงานสวนพฤษศาสตรโ์ รงเรยี น ๒๐ - ๓๔ ๓๕ - ๔๐ ความนำ� ๔๑ - ๖๓ ครูถนอม ศริ ิรกั ษ์ ครูภมู ิปญั ญาไทย ด้านโภชนาการ ๖๔ - ๖๕ ที่อยู่ ๑๕ ครภู มู ปิ ญั ญาไทย ๖๖ คณะผู้จดั ทำ�

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ญั ญาไทย ๑๕ ครภู ูมิปญั ญาไทยแนะนำ� 5 ครสู มบูรณ์ แว่นวิชยั ครูวุฒิ วุฒธิ รรมเวช ครูทองใบ แทน่ มณี ครูขวัญดนิ สิงห์ค�ำ ดา้ นการแพทย์แผนไทย ดา้ นการแพทย์แผนไทย ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ดา้ นการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ครพู งษ์เทพ เพียรทำ� ครถู นอม ศิริรกั ษ์ ครคู �ำ พัน อ่อนอทุ ยั ครูไพบูลย์ พันธเ์ มอื ง ด้านปรัชญา ศาสนา ด้านโภชนาการ ด้านโภชนาการ ด้านภาษาและวรรณกรรม และประเพณี ครมู ารศรี วนาโชติ ครเู ล็ก กุดวงคแ์ ก้ว ครกู ติ ติ อนนั ตแ์ ดง ครกู ชี า วิมลเมธี ด้านอตุ สาหกรรม ดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย และหตั ถกรรม และหตั ถกรรม ครูจินดา บุษสระเกษ ครูดวงเนตร ดุริยพนั ธ์ุ ครบู ญุ ตัน สิทธิไพศาล ด้านกองทุนและธุรกจิ ชมุ ชน ดา้ นศิลปกรรม ดา้ นอตุ สาหกรรม และหตั ถกรรม

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปัญญาไทย 6

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย 7 บทนำ� โครงการอนุรกั ษพ์ ันธุกรรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ือง มาจากพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรตั น ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ โครงการที่ จดั ตงั้ ขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือสร้างความเข้าใจ และทำ�ให้ตระหนักถึง ความสำ�คัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่มีอยู่ ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพ่ือให้มี การร่วมคิด ร่วมปฏิบัติท่ีนำ�ผลประโยชน์มา ถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัด ทำ�ระบบข้อมูลพันธุกรรมพืช ให้แพร่หลาย สามารถสอื่ ถึงกันได้ท่ัวประเทศ

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมปิ ญั ญาไทย 8 ทั้งน้ีสืบเนื่อง มาจากสายพระเนตรอันยาวไกล ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ตั้งแตเ่ มอ่ื คร้ังปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ทีท่ รงมี พระราชด�ำ ริให้อนุรกั ษ์ตน้ ยางนา และทรงใหร้ วบรวม พืชพันธุ์ไม้ของภาคต่าง ๆ ท่ัวประเทศปลูกไว้ในสวน จติ รลดา โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจาก พระราชดำ�ริฯ จึงเป็นโครงการที่เกิดขึ้นเพ่ือสนองแนว พระราชดำ�ริ และสืบสานพระราชปณิธานแห่งพระองค์ โดยปรากฏในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วย กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืชในพื้นที่ป่าธรรมชาติ การ สำ�รวจรวบรวมพันธุกรรมพืชท่ีมีแนวโน้มว่าใกล้สูญพันธุ์ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อม การนำ� พนั ธพ์ุ ชื ทร่ี วบรวมเพาะปลกู และรกั ษาในพน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสม ...การสำ�รวจรวบรวมพันธุกรรมพืชที่มีแนวโน้มว่าใกล้สูญพันธุ์อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม การนำ�พันธ์ุพืชที่รวบรวมเพาะปลูก และรักษาใน พื้นที่ที่เหมาะสมทางกายภาพ และปลอดภัยจากการรุกราน การอนุรักษ์ และใช้ ประโยชนพ์ นั ธกุ รรมพืช... ทางกายภาพ และปลอดภยั จากการรกุ ราน การอนรุ กั ษ์ และใช้ประโยชน์พนั ธกุ รรมพชื โครงการศึกษาประเมนิ พนั ธกุ รรมพืชในดา้ นตา่ ง ๆ นัน้ เพื่อใหท้ ราบถึงองค์ประกอบ คุณสมบตั ิ และการใช้ ประโยชนพ์ ชื พรรณ การจดั ท�ำ ระบบขอ้ มลู พนั ธกุ รรมพชื ด้วยคอมพวิ เตอร์ การวางแผน และพฒั นาพนั ธุกรรมพืช ระยะยาว ๓๐ - ๕๐ ปี และกิจกรรมการสรา้ งจิตส�ำ นึก ในการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชแก่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ได้แก่ เยาวชน บคุ คลท่วั ไป ให้มีความเข้าใจ ตระหนกั ใน

อพ.สธ. ๑๕ครู ความสำ�คัญ เกดิ ความปตี ิ และส�ำ นกึ ทจ่ี ะร่วม ภมู ปิ ัญญาไทย มอื รว่ มใจกนั อนรุ กั ษพ์ ชื พรรณของไทยใหค้ งอยู่ เปน็ ทรพั ยากรอันทรงคณุ คา่ ประจ�ำ ชาตสิ บื ไป 9 ซงึ่ พชื พรรณของไทยสว่ นใหญเ่ ปน็ พนั ธไุ์ ม้ ทีม่ ีถน่ิ กำ�เนิดในประเทศ ลว้ นสามารถนำ�มาใช้ พระราโชวาท ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ทเ่ี กยี่ วกบั “ปจั จยั ส”ี่ อนั เปน็ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ พน้ื ฐานหลกั ในการด�ำ รงชวี ิตของมนษุ ย์ จงึ นบั ไดว้ า่ พนั ธไ์ุ มเ้ หลา่ นม้ี คี วามผกู พนั สยามบรมราชกมุ ารี กับชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาช้านาน นับจากอดีตจนถึงปจั จุบัน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม อย่างไรก็ตาม เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป บรมราชกุมารี พระราชทานพระราโชวาท ประโยชน์ที่เคยได้รับจากพรรณพืชอาจแปร ใหค้ ณะกรรมการอ�ำ นวยการ คณะกรรมการ ไปตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ความ บริหาร ผู้ร่วมสนองพระราชดำ�ริ และ ต้องการของสังคม และผู้บริโภค การสำ�รวจ ผทู้ ูลเกลา้ ฯ ถวาย ทเ่ี ฝา้ ทูลละอองพระบาท ค้นคว้า และวิจัยตามหลักวิทยาการสมัยใหม่ ในการประชุมประจำ�ปีโครงการอนุรักษ์ เก่ียวกับพฤกษศาสตร์ ดังท่ีโครงการอนุรักษ์ พนั ธกุ รรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริฯ พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ ฯ เม่ือวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๐ ณ ศาลา ดำ�เนินการอยู่ในขณะนี้ จะสามารถทำ�ให้คน ดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา กรงุ เทพมหานคร วา่ ไทยได้ทราบถึงคุณประโยชน์ของพืชพรรณ “ขา้ พเจา้ ยนิ ดแี ละขอบคณุ ทกุ คนทเี่ ขา้ หลายชนดิ ซ่งึ บางชนิดเปน็ ท่ีรจู้ ักแพรห่ ลาย มี มาประชมุ กนั พรอ้ มหนา้ ในวนั นี้ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ ว การน�ำ มาใชป้ ระโยชนแ์ ตข่ าดการดแู ลรกั ษา จน มาแลว้ วา่ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ฯ นี้ ปรมิ าณลดลง และเกอื บสญู พนั ธจุ์ ากถน่ิ ก�ำ เนดิ ได้ดำ�เนนิ การมาเปน็ เวลาถงึ ๕ ปี แล้ว และ พืชบางชนิดมีมาช้านาน แต่มิได้เป็นที่ล่วงรู้ คิดกนั ว่าจะท�ำ ตอ่ ในชว่ งทีส่ องอกี ๕ ปี และ ทั่วไปถึงคุณประโยชน์ จนอาจถูกละเลย หรือ คิดมาใหม่ว่าในข้ันท่ีสองนี้จะทำ�ในลักษณะ ถกู ท�ำ ลายไปอย่างน่าเสยี ดาย. ไหน ที่จรงิ ในเบ้ืองตน้ น้ัน ข้าพเจา้ ก็มิได้เปน็ นกั พฤกษศาสตรห์ รอื ศกึ ษาทางนมี้ าโดยตรง ถึงแม้ศึกษาตอนน้ีก็คงจะสายไปเสียแล้ว เ พ ร า ะ ว่ า ข ณ ะ นี้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ จำ � ช่ื อ ค น สตั ว์สงิ่ ของไดม้ ากเทา่ ทค่ี วรแตว่ า่ เหตทุ ส่ี นใจ พืชพรรณและทรัพยากรของประเทศเรามา นานแล้วโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ทางพชื

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมปิ ญั ญาไทย 10 เหตุผลที่ศึกษา เพราะถือว่าง่ายต่อการศึกษามากกว่า อยา่ งอ่ืน เวลาไปไหนทมี่ คี นตามกันเยอะแยะ ถา้ จะศึกษาสัตว์ สัตว์ก็ว่ิงหนีหมด แต่พืชน้ันเขาอยู่ให้ศึกษาได้ พอศึกษาไป สักพักก็เกิดความสนใจว่า นอกจากทางกรมป่าไม้ซ่ึงได้ติดต่อ กันในครั้งแรกในเบ้ืองต้นเพราะว่าชอบไปท่องเท่ียวในท่ีต่างๆ ตามปา่ เขาดวู า่ เมอื งไทยมสี ภาพภมู ปิ ระเทศ ภมู ศิ าสตรอ์ ยา่ งไร และกไ็ ด้ศกึ ษาเร่ืองต้นไมต้ ่างๆ ตามท่ีกล่าวมาแล้วนี้ก็ยังเห็นว่ามีหน่วยงานทั้งหน่วยงาน ของรัฐของเอกชน ทั้งเป็นหน่วยงานราชการ เช่น กรมป่าไม้ กรมวชิ าการเกษตร และกบั ทงั้ ทเ่ี ปน็ สถาบนั การศกึ ษาทท่ี �ำงาน เกย่ี วกบั เรอ่ื งของพชื ศกึ ษาวา่ พชื กช่ี นดิ ทงั้ เรอื่ งของพชื ชนดิ ตา่ งๆ เร่อื งงานอนกุ รมวธิ าน อย่างนเี้ ป็นตน้ ก็ศึกษากันหลายแห่งจึงเกิดความคิดขึ้นมาว่าน่าจะมีการ การรวบรวมว่าแต่ละสถาบันได้ท�ำงานในส่วนของตนอย่างไร และงานนั้นอย่างเช่น ยกตัวอย่างเช่นพืช ก็ได้ศึกษาในส่วนที่ แต่ละแหง่ ได้รวบรวมน้นั ชอ่ื ต่างหรอื ซำ้� กันอย่างไร เพ่ือทจ่ี ะให้ รวมกนั ว่าทัง้ ประเทศนั้นเรามีอะไรบ้าง

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมปิ ญั ญาไทย 11 ที่จริงแล้วงานที่จะศึกษาพืชหลายชนิดน้ี ได้ทำ�มาแล้วเป็นจำ�นวนมากและหลังจาก เป็นเรื่องที่ทำ�ได้ยากและทำ�ได้ช้า คนๆ เดียว โครงการฯ น้ีก็มีการต้งั ขน้ึ ใหม่ หรือว่าสถาบันๆ เดียวนั้นจะครอบคลุม เพราะฉะนน้ั ยังคิดว่า ถา้ มีการไดป้ ระชมุ ไม่ได้ท้ังหมด ถ้ามีหลายๆ หน่วยงานช่วยกัน กันพร้อมกันอย่างนี้ จะได้มาตกลงกันแน่นอน ครอบคลุมก็อาจจะได้มาก ถ้าต่างคนต่างไม่รู้ ว่าใครทำ�อะไรและในสว่ นทีเ่ หลือกนั ถ้าซำ้�กัน กนั นน้ั กอ็ าจจะเกดิ เปน็ ทน่ี า่ เสยี ดายวา่ จะไมไ่ ด้ โดยไม่จำ�เป็นอาจจะตกลงกันได้ว่า แบ่งกันว่า ขอ้ มลู เตม็ ท่ี จงึ นกึ ถงึ วา่ อยากจะท�ำ ฐานขอ้ มลู ท่ี อันน้ีงานน้ีใครจะทำ� หรืองานที่โครงการทาง นกั วชิ าการทกุ คนจะใชใ้ นการคน้ ควา้ ไดด้ ว้ ยกนั ด้านส�ำ นกั พระราชวงั เคยทำ�อยู่ ทว่ี งั นซ้ี ง่ึ กม็ คี วามรสู้ กึ วา่ ๑ ตารางกโิ ลเมตรของ แตว่ า่ เมอ่ื มหี นว่ ยงานทม่ี ชี อื่ ของหนว่ ยงาน วงั นีก้ ใ็ หญโ่ ตพอสมควร ที่ควรจะรับผิดชอบโดยตรงรับไปทำ�แล้ว ทาง แต่ว่าท่ีจริงแล้ว ถ้าจะเอางานทุกส่ิงทุก สำ�นักพระราชวังคิดว่าน่าจะตัดได้ในส่วนนั้น อย่างมาสุมกัน ย่อมจะไม่พอพื้นท่ีไม่ได้ ก็ต้อง และหนั มาท�ำ งานทางดา้ นการประสานงานหรอื ทำ�งานอะไรที่จะประหยัดท่ีสุด ในตอนนั้น ความร่วมมอื อยา่ งนี้ เปน็ ต้น เลยคิดว่าทำ�ฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซ่ึงใช้ การเรียกช่ือพืชที่ทุกคนจะเข้าถึงได้ จึงพัฒนา จากจุดนั้นมาเป็นงานต่างๆ ที่ ดร.พิศิษฐ์ ได้ กล่าวถึงเม่ือสักครู่นี้ออกไปหลาย ๆ อย่าง ซ่ึง งานทก่ี ลา่ วถึงน้ี เป็นงานท่ีหน่วยราชการต่างๆ

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 12 ซึ่งเข้าใจว่า เป็นการสมสมัยในปัจจุบัน เคยไดแ้ นะน�ำ โรงเรยี นตา่ ง ๆ ทไี่ ดไ้ ปเยย่ี ม ซ่ึงประเทศค่อนข้างจะฝืดเคือง เพราะฉะน้ัน ไม่เฉพาะแต่โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการฯ น้ี ท�ำ งานอะไรถงึ แมจ้ ะเปน็ งานทดี่ ี ถา้ ตกลงกนั ได้ โรงเรยี นทั่ว ๆ ไปดว้ ยว่า นอกจากเรือ่ งของพชื แล้วก็จะเป็นการประหยัดพลงั คนหรือพลงั เงนิ พรรณแล้ว สง่ิ ทม่ี ใี นธรรมชาติ ส่ิงทห่ี าได้ง่ายๆ งบประมาณทว่ี า่ ใหใ้ นสว่ นนแี้ ลว้ กจ็ ะไดจ้ �ำ เปน็ นั้น อาจจะเป็นอุปกรณ์การสอนในวิชาต่าง ๆ จะไม่ต้องให้ในหน่วยงานอื่น หรือถ้าให้ ไดห้ ลายอยา่ ง หน่วยงานอ่นื กต็ ้องให้ท�ำ ไป และงานนเ้ี ราอาจ แม้แต่วิชาศิลปะให้มาวาดรูปต้นไม้ จะต้องมาน่ังพิจารณาคิดดูว่าจะทำ�งานได้โดย ก็ไม่ต้องหาของอ่ืนให้เป็นตัวแบบ หรือ ประหยดั อยา่ งไร บางสว่ นทอ่ี าจจะยงั ไมจ่ �ำ เปน็ ในเร่ืองภาษาไทย การเรียงความอาจจะ ในขั้นนี้ หรือว่าทำ�ได้ไม่ต้องเน้นเรื่องความ ทำ�ให้เรื่องของการเขียนรายงาน ทำ�ให้หัด หรูหราหรือความสวยงามมากนัก เอาเฉพาะ เขียนหนังสือ หรืออาจแต่งคำ�ประพันธ์ใน ทีใ่ ชจ้ รงิ ๆ และกป็ ระหยดั ไปไดเ้ ป็นบางสว่ นกด็ ี เรื่องของพืชเหล่าน้ี หรือเป็นตัวอย่างงาน ส่วนสำ�หรับเรื่องของโรงเรียนน้ัน ได้มี ศึกษางานวิทยาศาสตร์และวิชาอ่ืน ๆ ดังที่ ประสบการณ์ในการที่ไปเย่ียมโรงเรียนในภาค ดร.พศิ ษิ ฐ์ ได้กล่าวมา ต่าง ๆ มาหลายแห่ง ก็เห็นว่า เร่ืองท่ีจะสอน นอกจากน้ันในวิชาพฤกษศาสตร์โดย ให้นกั เรยี นหรอื ใหเ้ ด็กมีความรู้ และมีความรัก เฉพาะ ซึ่งอาจจะช่วยได้ในท่ีน้ียังไม่เคยกล่าว ในทรพั ยากร คอื ความรักชาตริ กั แผน่ ดินนี้ ก็ คือเรื่องของวิชาการท้องถ่ินซ่ึงเป็นนโยบาย คือ รักสิ่งที่เป็นสมบัติของตัวเขา การท่ีจะให้ ของกระทรวงศึกษาธิการอยู่แล้วที่ว่าจะให้ เขารกั ษาประเทศชาติ หรอื รกั ษาสมบตั ขิ องเขา นักเรียนได้ศึกษาความรู้ท้องถ่ินนอกจาก น้ันทำ�ได้ โดยก่อให้เกิดความรัก ความเข้าใจ ความรูท้ ่เี ป็นมาตรฐานจากสว่ นกลางมาแลว้ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มีความสัมพันธ์ ไม่มี แม้แต่ต�ำ รากม็ กี ารสง่ เสรมิ ให้ครู อาจารย ์ ความผกู พนั ตอ่ กนั แตว่ า่ ถา้ ใหเ้ ขารจู้ กั วา่ สง่ิ นนั้ ในท้องถ่ินนั้นได้รวบรวมความรู้หรือได้แต่ง คืออะไร หรือวา่ ท�ำ งานกจ็ ะรูส้ ึกชน่ื ชม และรัก ข้ึนในระยะนี้ ซึ่งเท่าที่ได้เห็นมามีการศึกษา หวงแหนในสงิ่ น้นั วา่ เปน็ ของตน และจะทำ�ให้ วิชาการทางด้านศิลปวฒั นธรรม อาชพี ท้องถ่นิ เกิดประโยชน์ได้ มาบ้าง แต่ในด้านของธรรมชาตินั้นยังมีค่อน ข้างน้อย เท่าที่ไปแนะนำ�มาในเร่ืองของการ อนรุ ักษท์ รัพยากรนั้นได้เสนอว่า

อพ.สธ. ๑๕ครู ไมใ่ ชเ่ ปน็ เฉพาะทวี่ า่ จะใหเ้ ดก็ นกั เรยี น ภูมิปญั ญาไทย ปลกู ปา่ หรอื วา่ ใหอ้ นรุ กั ษด์ นิ ปลกู หญา้ แฝก อย่างเดียว พยายามจะให้ออกไปดูข้าง ๆ 13 โรงเรียนว่าที่น่ันมีอะไรอยู่ และต้นไม้น้ัน ชอื่ อะไร เปน็ อะไร และพอดมี ปี ระสบการณ์ จากการทไี่ ดเ้ คยออกไปสง่ เสรมิ ในเรอื่ งของ โภชนาการ งานในระยะแรก ๆ ทเ่ี รมิ่ ท�ำ งาน เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๓ ในช่วงน้ันออกไปทำ�งานก็ทำ�งาน อย่างค่อนข้างจะเบ้ียน้อยหอยน้อย คือ เงินไม่ค่อยมีต้องออกเอง ไม่มีเงินท่ีจะส่ง เสริมเร่ืองเมล็ดพันธุ์ผักหรืออุปกรณ์ที่ใช้ มากนกั ไดค้ รบทกุ แหง่ ทไี่ ปกใ็ หใ้ ชพ้ ชื ผกั ใน ทอ้ งถนิ่ ทพี่ อจะมอี ยู่ ผกั พนื้ บา้ นผกั พน้ื เมอื ง หรือของที่เขากินอยู่แล้วเสริมเข้าไปในม้ือ อาหารน้ันด้วย เร่ืองนี้เป็นเร่ืองที่น่าศึกษา เพราะได้พบว่ามพี ืชพรรณหลายอยา่ ง ซงึ่ ยงั ไมเ่ ปน็ ทร่ี ้จู ักกันในสว่ นกลาง ในทอ้ งถ่นิ นนั้ เขากร็ ู้ และมีชอ่ื พื้นเมือง แต่ว่าพอเอาเข้าจริง แม้แต่ชื่อ วิทยาศาสตร์ก็ยังไม่มีใครแน่ใจว่าช่ืออะไร ตอ้ งน�ำ มาศกึ ษา และเวลานไ้ี ดเ้ หน็ วา่ มกี าร ศกึ ษาอยา่ งกวา้ งขวาง คอื ไดศ้ กึ ษาวา่ คณุ คา่ ทางอาหารของผักพ้ืนเมืองเหล่าน้ันมีอะไร บ้าง และได้มีการวิเคราะห์พิษภัยของพืช เหลา่ น้นั ไว้ด้วย

๑๕ครู อพ.สธ. ภมู ิปญั ญาไทย 14 เดิมเท่าท่ีคิดก็ยอมรับว่าไม่ได้คิดเร่ืองพิษภัย เพราะเห็นว่าคนรับประทานกันอยู่ ประจำ�ยังมีอายุยืนอยู่ แต่เห็นว่าจากการวิจัยของนักวิชาการ ก็ได้ทราบว่ามีพืช พนื้ บา้ นบางอยา่ งทรี่ บั ประทานกนั อยซู่ งึ่ มพี ษิ บา้ ง ท�ำ ใหเ้ ปน็ ขอ้ คดิ ทว่ี า่ ถา้ บรโิ ภคกนั ใน ส่วนท่ีเป็นท้องถ่ินก็อาจจะไม่เป็นพิษภัยมาก เพราะว่าในวันนั้นเก็บผักชนิดน้ีได้ก็นำ� มาบริโภค อกี วนั กเ็ กบ็ ไดอ้ กี อยา่ งกน็ �ำ มาบรโิ ภค แตถ่ า้ สมมตุ วิ า่ เปน็ การสง่ เสรมิ เปน็ โครงการ ขน้ึ มา แลว้ กจ็ ะมกี ารขยายพนั ธเุ์ ปน็ จ�ำ นวนมาก และกร็ บั ประทานอยา่ งนซ้ี �ำ้ ๆ ซาก ๆ ซ่งึ จะมอี ันตรายตอ่ รา่ งกายเปน็ อยา่ งยิ่งก็อาจจะเป็นได้ อันน้ีทย่ี กตวั อย่างแสดงวา่ วิชาการนี้แตกแขนงไปหลายอยา่ ง และมีการศึกษาได้ หลายอยา่ ง และมบี คุ คลหลายคนทช่ี ว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกนั ท�ำ ถา้ จะชว่ ยกนั จรงิ ๆ นี้ กอ็ าจ จะตอ้ งแบง่ หนา้ ที่ ถงึ ขนั้ ตอนนกี้ ค็ งตอ้ งแบง่ หนา้ ทก่ี นั เพอื่ ทจ่ี ะแบง่ ในดา้ นปรมิ าณงาน ท่ีทำ�หรืองบประมาณที่ทำ�ก็ได้รับการสั่งสอนจากผู้หลักผู้ใหญ่อยู่เสมอว่า ถ้าคนเรามี ความคิดพงุ่ แล่นอะไรต่างๆ นานา ก็คดิ ไดแ้ ตถ่ งึ ตอนทำ�จรงิ มขี น้ั ตอนเหมือนกนั การใช้คนให้ทำ�อะไรนี่ ต้องคิดถึงกระบวนการว่า จะไปถึงเป้าหมายท่ีเรา ตอ้ งการน้ันจะต้องใชท้ ัง้ เงนิ ใช้ทั้งเวลา ใชท้ ั้งความคดิ ความอ่านต่าง ๆ ซ่งึ จะไป ใชใ้ ครท�ำ กต็ อ้ งเอาใหแ้ นว่ า่ เขาเตม็ ใจหรอื อาจเตม็ ใจ แตว่ า่ มภี ารกจิ มาก มเี วลาจะ ทำ�ให้เท่าใดหรือเขาอาจทำ�ให้ด้วยความเกรงใจเราแล้ว ว่าทีหลัง อย่างนี้เป็นต้น บอกวา่ ไมเ่ ป็นไร เพราะว่าเวลาท�ำ อะไรมไิ ดบ้ งั คับ กข็ อเชญิ เขา้ ร่วมช่วยกนั แต่ถ้าคนใดมีข้อขัดข้องหรือมีข้อสงสัยประการใดก็ไถ่ถามกันได้ ไม่ต้องเกรงใจ เพราะถือว่าทำ�งานวิชาการ แบบน้ีไม่เคยจะคิดว่าโกรธเคือง ถ้าใครทำ�ไม่ได้ก็แล้วไป ท�ำ อยา่ งอน่ื ท�ำ อย่างนีไ้ มไ่ ดก้ ต็ อ้ งทำ�ได้สักอย่าง คิดว่าโครงการนี้ข้ันตอนต่อไปอาจจะต้องดูเร่ืองเหล่าน้ีให้ละเอียดยิ่งข้ึน ใครทำ� อะไรได้และประโยชน์อาจจะมีอีกหลายอย่าง เช่น งานบางอย่าง หรืออย่างพืชน้ีจะ มีประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้อีกก็มีด้วยซำ้� ถ้าเราทราบสรรพคุณของเขาและนำ�มาใช้ใน ส่วนที่ว่าถ้าขยายพันธุ์แล้วไม่อันตราย คือ การขยายพันธ์ุเหล่านี้อาจจะเป็นการช่วย ในเรอื่ งของการสง่ เสรมิ อาชพี ใหแ้ กร่ าษฎรเพิ่มขน้ึ อกี กอ็ าจเป็นได้

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมิปญั ญาไทย 15 ...เร่ืองท่ีจะสอนให้นักเรียนหรือให้เด็กมีความรู้ และมีความรักใน ทรพั ยากร คอื ความรกั ชาตริ กั แผน่ ดนิ นี้ กค็ อื รกั สงิ่ ทเ่ี ปน็ สมบตั ขิ องตวั เขา... ทั้งนี้ ก็ต้องไม่ละเลยในเรื่องของวิชาการส่ิงที่ถูกต้อง อะไรท่ีเป็นคุณ อะไรที่เป็นโทษ และยังมีเรื่องที่เก่ียวข้องใน เรอื่ งของงานของเงนิ ในทน่ี ย้ี งั มเี รอ่ื งเพม่ิ อกี เรอ่ื งหนงึ่ คอื เรอ่ื ง ของทดี่ นิ อาจจะตอ้ งมกี ารก�ำ หนดแนน่ อนวา่ ทดี่ นิ นนั้ อยใู่ น สภาพไหน สภาพการถือครองในลกั ษณะไหน ศึกษาในเร่อื ง ของกฎหมายให้ถูกต้องว่าใครมีสิทธิหรือหน้าที่ทำ�อะไรบ้าง ใครทำ�อะไรได้ ใครทำ�อะไรไม่ได้ เร่ืองเหล่านี้เป็นเรื่องที่ จะต้องศึกษาเป็นเร่ืองที่จะต้องจุกจิกมากอีก หลายอย่าง ที่พูดน้ีมิได้หมายความถึงว่า จะ เป็นการจะจับผิดว่าใครทำ�ผิดใครทำ� ถกู แตว่ า่ งานในโลกปัจจุบนั น้ี ท�ำ อะไร ก็รู้สึกว่า เร่ืองการรักษามาตรฐานนั้น เป็นเรื่องท่ีสำ�คัญ เพราะว่าต่อไปงานน้ี ของเราอาจจะไม่ใช่จำ�กัดอยู่แต่ภายใน ประเทศ อาจจะต้องมีการติดต่อไปถึง ประเทศอื่นด้วย เป็นการสร้างความเจริญให้ แก่ประเทศ เพราะฉะนั้นจะต้องมีการทำ�งานใน ลักษณะท่ีคนอ่ืนยอมรับได้ น่ีก็เป็นความคิดเกี่ยวกับเรื่อง โครงการน”้ี

๑๕ครู อพ.สธ. ภมู ิปญั ญาไทย 16 แนวทางการดำ�เนินงานตามกรอบของ แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะท่ี ๕ ปที ี่ ๕ ตลุ าคม ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมปิ ัญญาไทย 17 ๑. กรอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร กจิ กรรมที่ ๑ กจิ กรรมปกปักทรัพยากร กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมสำ�รวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร กจิ กรรมที่ ๓ กิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร ๒. กรอบการใชป้ ระโยชน์ กจิ กรรมท่ี ๔ กจิ กรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร กิจกรรมที่ ๕ กจิ กรรมศูนย์ข้อมลู ทรพั ยากร กิจกรรมที่ ๖ กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร ๓. กรอบการสร้างจติ สำ�นกึ กิจกรรมที่ ๗ กจิ กรรมสร้างจติ สำ�นกึ ในการอนุรักษท์ รัพยากร กิจกรรมที่ ๘ กิจกรรมพิเศษสนบั สนุนการอนรุ ักษท์ รัพยากร

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 18 การดำ�เนนิ งานโครงการฯ ๘ กจิ กรรมกับ ๓ กรอบ ๑. กรอบการเรยี นรู้ทรพั ยากร กิจกรรมที่ ๑ กจิ กรรมปกปกั ทรัพยากร กิจกรรมปกปักทรัพยากร มีเป้าหมาย ของสถาบันการศึกษา ได้สนับสนุนให้สถาบัน ท่ีจะปกปักพ้ืนท่ีป่าธรรมชาติ นอกเขตพ้ืนท่ี การศึกษาในระดบั ตา่ งๆ จัดท�ำ โครงการปกปัก รับผิดชอบของกรมป่าไม้ และกรมอุทยาน ป่าของสถาบัน ทำ�การสำ�รวจ ทำ�รหัสประจำ� แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้แก่ ตน้ ไม้ และขนึ้ ทะเบยี นทรัพยากรในพ้ืนที่ เชน่ ป่าในสถาบันการศึกษา ป่าในศูนย์วิจัยและ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏร�ำ ไพพรรณี มหาวิทยาลยั สถานีทดลอง ป่าที่ประชาชนร่วมใจกันปกปัก แม่โจ้ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เป็นต้น ซ่ึงในการ ซ่ึงเม่ือรักษาป่าธรรมชาติไว้ก็จะรักษา ปกปักทรัพยากรส่ิงมีชีวิตในป่า จังหวัด ส่วน ทรัพยากรด้ังเดิมในแต่ละพื้นท่ี โดยมีเป้า ราชการ และหนว่ ยงานตา่ งๆ ไดท้ ลู เกลา้ ฯถวาย หมายให้มีกระจายท่ัวประเทศในทุกเขตพรรณ เชน่ พ้นื ทใ่ี นจงั หวดั ชมุ พร พืน้ ท่ขี องการไฟฟา้ พฤกษชาติ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย เป็นตน้ ส�ำ หรบั การปกปกั ทรพั ยากรสง่ิ มชี วี ติ ในปา่

อพ.สธ. ๑๕ครู กจิ กรรมที่ ๒ ภูมปิ ญั ญาไทย กจิ กรรมสำ�รวจเก็บรวบรวมทรัพยากร 19 เป็นกิจกรรมที่ดำ�เนินการสำ�รวจเก็บ ภาคตะวันออกของประเทศ พื้นที่สร้างถนน รวบรวมทรัพยากร ได้แก่ ทรัพยากรกายภาพ โรงงาน พ้ืนที่จัดสรร ฯลฯ รวมทั้งการสำ�รวจ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรม เก็บรวบรวมทรัพยากรต่าง ๆ รอบพ้ืนท่ีของ และภมู ิปญั ญา ในพ้นื ที่ท่ีกำ�ลังจะเปลย่ี นแปลง หน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชดำ�ริฯ ในรัศมี หรอื สญู สน้ิ จากการพฒั นา เชน่ จากการท�ำ อา่ ง อย่างน้อย ๕๐ กิโลเมตร ซ่ึงได้ดำ�เนินการใน เก็บน้ำ� ทำ�ถนน ทำ�พนื้ ท่ีเกษตรกรรม หรอื ท�ำ พื้นที่ตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ นอกจากนี้ ยังได้ออกสำ�รวจเก็บรวบรวม กิจกรรมน้ีได้ส่งเจ้าหน้าท่ีและอาสาสมัคร ตัวอยา่ งในพ้ืนทเี่ ปา้ หมายส่วนหนงึ่ คอื ฝ่ังอา่ ว ออกสำ�รวจเก็บรวบรวม ในรูปเมล็ด กิ่ง ต้น ไทย โดยสำ�รวจทรัพยากรท้ังในด้านกายภาพ นอกพ้ืนท่ีในความรับผิดชอบของกรมป่าไม้ และชีวภาพ จากพนั ธุกรรมของสิง่ มีชีวติ ตา่ ง ๆ ในทุกเขตพรรณพฤกษชาติ ในพ้ืนท่ีล่อแหลม ที่หายาก และใกล้สูญพันธุ์ ซึ่งทรัพยากรของ ต่อการสูญส้ินทรัพยากร เช่น เกาะต่าง ๆ ใน สิ่งมชี ีวิตต่าง ๆ ท่เี กบ็ รวบรวมได้ มีการเกบ็ ใน

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 20 รูปเมล็ด เก็บตัวอย่างแห้ง และ ตัวอย่างดอง จากพระราชดำ�ริฯ (อพ.สธ.) ซึ่งประกอบด้วย ตน้ พืชที่มชี วี ติ ชิน้ ส่วนพชื ที่มชี ีวติ เช่น ผล ก่งิ คณะอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิหลายสาขาจาก ช�ำ กงิ่ ตอน หัว ราก เหงา้ ฯลฯ และได้นำ�พืช สถาบันตา่ งๆ ได้แก่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั บางส่วนไปปลูกรวบรวมทรัพยากรพืชและจัด มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง มหาวิทยาลัย แสดงบรเิ วณสวนพฤกษศาสตร์ เกาะทะเลไทย เกษตรศาสตร์ กรมปา่ ไม้ มหาวิทยาลัยสงขลา บนเกาะแสมสาร นครินทร์ กรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือ หน่วย นอกจากนนั้ ยงั น�ำ ไปจดั แสดงทพี่ พิ ธิ ภณั ฑ์ สงครามพิเศษ กองทัพเรือ รวมถึงเจ้าหน้าท่ี ธรรมชาติวทิ ยาเกาะและทะเลไทย เขาหมาจอ และนกั วิจัย อพ.สธ. อ.สตั หบี จ.ชลบรุ ี โดยคณะปฏบิ ตั งิ านวทิ ยาการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมา ความเป็นมาและแนวทางการดำ�เนินงาน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น “การสอนและอบรมให้เดก็ มจี ติ สำ�นกึ ในการอนุรักษ์พชื พรรณนนั้ ควรใช้วธิ ีการปลูกฝงั ใหเ้ ด็กเหน็ ความงดงาม ความนา่ สนใจ และเกดิ ความปติ ทิ ี่จะทำ�การศึกษาและอนรุ กั ษพ์ ชื พรรณตอ่ ไป การใชว้ ธิ ีการสอนการอบรมที่ให้เกดิ ความรสู้ กึ กลัววา่ หากไมอ่ นรุ กั ษ์แล้วจะเกดิ ผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำ�ใหเ้ ดก็ เกิดความเครยี ด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว” พระราชดำ�รบิ างประการเกีย่ วกับ การอนุรักษพ์ ันธุกรรมพชื งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ณ อาคารทป่ี ระทับในส�ำ นกั งานชลประธาน เขต ๑ ถ.ทุ่งโฮเต็ล จังหวดั เชียงใหม่ ๘ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย 21 กิจกรรมท่ี ๓ กจิ กรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร เป็นกิจกรรมต่อเนื่องจากการสำ�รวจ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราช ทรัพยากรโดยนำ�พันธุกรรมทรัพยากรชีวภาพ ดำ�รฯิ เนน้ น�ำ ไปปลกู ในพ้ืนทศ่ี นู ย์อนุรกั ษพ์ นั ธุ ตา่ งๆ ไปเพาะพันธ์ุ ปลกู เล้ียง และขยายพนั ธ์ุ กรรมพชื ฯ คลองไผ่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสมี า เพ่ิมในพื้นที่ปลอดภัย รวมท้ังส่งเสริมให้เพ่ิม นอกจากการปลูกต้นพันธุกรรมพืช พ้ืนท่ีแหล่งรวมทรัพยากรตามพื้นท่ีของหน่วย แล้ว ยังมีการเก็บรักษาในรูปเมล็ดพันธุ์ งานต่างๆ ทั้งในแปลงเพาะขยายพันธุ์ ห้อง และการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อที่ธนาคารพืช ปฏบิ ตั กิ าร แหลง่ เพาะพนั ธส์ุ ตั วใ์ นลกั ษณะของ พรรณ อพ.สธ. สวนจิตรลดา เก็บรักษาสาร สวนรุกขชาติ ป่าชุมชนทีส่ นองพระราชดำ�ริ พนั ธกุ รรม (DNA) ทม่ี หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ท้ังนี้มีการแลกเปล่ียนและฝากเพาะ วิทยาเขตกำ�แพงแสน และทธี่ นาคารพชื พรรณ ขยายพนั ธุ์ ดแู ลรกั ษา ทดลองปลกู โดยเจา้ หนา้ ท่ี สวนจิตรลดา รวมทั้ง จัดสถานที่เพาะเล้ียง ตามศูนย์และพ้ืนท่ีต่างๆ ของโครงการฯ ทรัพยากรพันธกุ รรมสตั ว์ เพอื่ เพาะพันธุ์ ขยาย ซ่งึ ในปีงบประมาณ ๒๕๔๙ โครงการ พันธุต์ ามมาตรฐานอกี ดว้ ย โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริฯ ได้ดำ�เนินงานสนองพระราชดำ�ริ จัดตั้ง งาน “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น” เพอ่ื เปน็ สอ่ื ในการสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ดา้ นอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื โดยใหเ้ ยาวชน นั้น ได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคณุ ค่า ประโยชน์ ความสวยงาม อันจะก่อใหเ้ กดิ ความคดิ ที่จะอนุรักษ์ พชื พรรณตอ่ ไป ซงึ่ สามารถด�ำ เนนิ การสวนพฤกษศาสตรส์ ามารถท�ำ ไดใ้ นพน้ื ทข่ี องโรงเรยี น โดยมอี งคป์ ระกอบ ดงั กลา่ ว เปน็ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ใชใ้ นวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว อกี ทงั้ ใชใ้ นการศกึ ษาและเปน็ ประโยชน์ ต่อเนอื่ งในการเรยี นการสอนวชิ าต่างๆ

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปัญญาไทย 22 ๒. กรอบการใชป้ ระโยชน์ กจิ กรรมท่ี ๔ กิจกรรมอนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร เป็นกิจกรรมที่ดำ�เนินการศึกษาประเมินทรัพยากร ที่สำ�รวจเก็บรวบรวมมาปลูกรักษาไว้ โดยศึกษาประเมิน ในสภาพธรรมชาติ แปลงทดลอง ในด้านสัณฐานวิทยา ชีววิทยา สรีรวิทยา การปลูกเล้ียง การเขตกรรม และ ขยายพันธ์ุพืช สำ�หรับในห้องปฏิบัติการมีการศึกษาด้าน โภชนาการ องคป์ ระกอบ รงควตั ถุ กลนิ่ การใชป้ ระโยชน์ ในดา้ นอน่ื ๆ เพอื่ ศกึ ษาคณุ สมบตั ิ คณุ ภาพ ในแตล่ ะสายตน้ ในด้านการดำ�เนินงานวิจัยในกิจกรรมที่ ๔ นี้ เป็น ความร่วมมือของเจ้าหน้าที่นักวิจัยของโครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริฯ และหน่วย งานร่วมสนองพระราชดำ�ริในโครงการฯ หรือนักวิจัยใน ชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ ในหน่วยงานท่ีเข้าร่วม สนองพระราชด�ำ ริ เพอ่ื มแี นวทางน�ำ ไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์ และ ใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยืน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น จงึ เปน็ การด�ำ เนนิ งานทอี่ งิ รปู แบบของ “สวนพฤกษศาสตร”์ ดว้ ยการรวบรวม พันธไุ์ มท้ ่ีมชี วี ติ มีแหลง่ ข้อมูลพรรณไม้ มกี ารศึกษาต่อเนอื่ ง มีการเก็บตวั อย่างพรรณไมแ้ ห้ง พรรณไมด้ อง มกี ารรวบรวมพนั ธไุ์ มท้ อ้ งถ่ินเขา้ มาปลกู รวบรวมไวใ้ นโรงเรียน และภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ มกี ารบนั ทกึ รายงานและขอ้ มลู รวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เกยี่ วกบั พนั ธไุ์ ม้ มมี มุ ส�ำ หรบั ศกึ ษาคน้ ควา้ และมี การน�ำ ไปใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ สอ่ื การเรยี นการสอนในวชิ าตา่ งๆ เปน็ การด�ำ เนนิ การใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพทอ้ งถน่ิ ไมฝ่ นื ธรรมชาติ และเปน็ ไปตามความสนใจและความพรอ้ มของโรงเรยี น ด�ำ เนนิ การ โดยความสมคั รใจ ไม่ ให้เกดิ ความเครยี ด

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย 23 กิจกรรมที่ ๕ กิจกรรมศนู ย์ข้อมลู ทรพั ยากร จากการทีส่ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ พระราชด�ำ รฯิ จงึ ไดจ้ ดั ตง้ั ศนู ยข์ อ้ มลู ทรพั ยากร สยามบรมราชกมุ ารี ไดพ้ ระราชทานแนวทางใน สวนจติ รลดา และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ การดำ�เนินการ เมอื่ วันท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๖ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯเปิดอาคาร ณ ส�ำ นกั งานชลประทานที่ ๑ ทงุ่ โฮเตล็ จงั หวดั ธนาคารข้อมูลพันธุกรรมพืช ในวันพืชมงคล เชียงใหม่ ว่า “การทำ�ศูนย์ข้อมูลทรัพยากร พ.ศ. ๒๕๓๗ กับกรมปา่ ไม้ โดยจัดท�ำ งานฐาน โดยมีคอมพิวเตอร์นั้น ควรให้มีโปรแกรมที่ ขอ้ มูลพรรณไม้แห้ง และบนั ทึกตวั อย่างพรรณ สามารถแสดงลักษณะของพืชออกมาเป็นภาพ ไม้แหง้ ลงแผ่น photo CD สไี ดเ้ พือ่ สะดวกในการอ้างองิ คน้ คว้า” เม่ือแล้วเสร็จได้ทำ�สำ�เนาให้หน่วยงาน ซงึ่ ไมท่ �ำ ในขณะนนั้ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ น้ันๆ กำ�หนดหมายเลขตัวอย่าง ถ่ายภาพเป็น ทางด้านการจัดการภาพน้ัน ยังทำ�ได้ลำ�บาก สไลด์ ส่วนการล้างฟิล์มสไลด์ดำ�เนินการที่ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก ธนาคารพชื พรรณ สวนจติ รลดา และน�ำ ฟลิ ม์ ที่ ดร.พศิ ษิ ฐ์ วรอุไร ประธานคณะกรรมการบรหิ ารโครงการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพืช อนั เนอื่ งมาจากพระราช ด�ำ รฯิ ( ปัจจุบันเป็นกรรมการท่ีปรึกษา ในคณะกรรมการโครงการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระ ราชดำ�ริฯ และประธานคณะที่ปรึกษาประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราช ด�ำ รฯิ ) ไดป้ ระชุม หารือกับคณาจารยแ์ ละ ราชบณั ฑติ ด้านพฤกษศาสตร์ เหน็ พอ้ งตอ้ งกันทีจ่ ะใช้ “สวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน” เป็นส่อื ในการท่จี ะใหน้ กั เรยี น เยาวชน และประชาชนทวั่ ไป ได้มคี วามเข้าใจ เห็น ความสำ�คญั ของพืชพรรณ เกิดความรกั หวงแหน และร้จู กั การน�ำ ไปใช้ประโยชน์อย่างย่งั ยนื

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 24 วันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๐ ณ ศาลา ดุสิดาลัย สวนจิตรลดา ได้พระราชทานพระ ราชดำ�ริให้หาวิธีดำ�เนินการจัดทำ�ข้อมูลเกี่ยว กับพันธุกรรมพืชของหน่วยงานต่าง ๆ ให้ส่ือ ถึงกันในระบบเดียวกันได้ ซ่ึงฐานข้อมูลน้ีนัก วิชาการทุกคนสามารถใช้ในการค้นคว้าได้ ด้วยกัน อีกท้ังใช้เรียกช่ือพืชที่ทุกคนเข้าถึงได้ ไดส้ แกนโดยใช้เครื่อง photo CD และบนั ทกึ เท่ากับเป็นส่ือในระหวา่ งสถาบันตา่ ง ๆ บุคคล ลงแผน่ แผ่นซีดลี ะ ๑๑๐ - ๑๑๔ ภาพ จดั ท�ำ ต่าง ๆ ศึกษาให้สามารถใช้ฐานข้อมูลเดียวกัน ทะเบียน เพ่ือน�ำ ไปประโยชนท์ างวชิ าการได้ สว่ นขอ้ มลู พรรณไมไ้ ดบ้ นั ทกึ ในโปรแกรม ตอ่ มาเม่อื วันท่ี ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๔ ใน RFD จากนั้นมาจัดการข้อมูล ซึ่งการบันทึก วโรกาสที่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม ข้อมูลในระยะปีแรก ๆ ทางโครงการอนุรักษ์ บรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปิดนิทรรศการ พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริฯ “ทรัพยากรไทย: อนุรักษ์และพัฒนาด้วย สนับสนนุ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และงบประมาณ จิตสำ�นึกแหง่ นกั วจิ ยั ไทย” ณ ศาลาพระเก้ียว เพื่อจัดจ้างเจ้าหน้าท่ีบันทึกข้อมูล ดำ�เนิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และพระราชทาน พร้อมกันที่หอพรรณไม้ กรมป่าไม้ พิพิธภัณฑ์ แผ่นซีดีข้อมูลพรรณไม้แห้ง ให้กับกรมป่าไม้ พืช กรมวิชาการเกษตร และพิพิธภัณฑ์พืช กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยสงขลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ล้วนเป็นงานที่ นครนิ ทร์ นำ�ไปศกึ ษาเผยแพร่ตอ่ ไป ละเอียดและท�ำ ได้คอ่ นข้างช้า ซงึ่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดพ้ ระราชทานพระราชด�ำ ริ และแนวปฏบิ ตั ใิ ห้ เปน็ งานหนงึ่ ในกจิ กรรมสรา้ งจติ ส�ำ นกึ ในการอนรุ กั ษ์ พนั ธกุ รรมพชื และชดั เจนใน ค�ำ จ�ำ กดั ความของ “สวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี น” ทจ่ี ะด�ำ เนนิ การในพน้ื ทโ่ี รงเรยี น มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษา โดยใชแ้ นวทาง การดำ�เนินงานตามแบบอย่างสวนพฤกษศาสตร์ ในการเป็นที่รวบรวม พรรณไม้ท่ีมีชีวิต มีการศึกษาต่อ เนอื่ ง มหี อ้ งสมดุ ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา เกบ็ ตวั อยา่ ง พรรณไมแ้ หง้ -ดอง แตย่ อ่ ขนาดมาด�ำ เนนิ การในพน้ื ทเี่ ลก็ ๆ

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย 25 ซงึ่ มผี ลการด�ำ เนนิ การจนถงึ ปจั จบุ นั ดงั นี้ ถึงแนวทางการใช้ข้อมูลพรรณไม้ ศูนย์ข้อมูล • หอพรรณไม้ กรมป่าไม้ ๑๑๖,๙๖๓ พันธุกรรมพืช สวนจิตรลดา ยังมีงานในหลาย ตัวอย่าง ซีดี ๙๓๗ แผน่ ด้านร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น กรมป่าไม้ • พิพิธภัณฑ์พืช กรมวิชาการเกษตร กรมวชิ าการเกษตร องคก์ ารสวนพฤกษศาสตร์ ๕๖,๔๙๗ ตัวอย่าง ซีดี ๓๕๑ แผ่น จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สงขลา • พิพิธภัณฑ์พืช มหาวิทยาลัยสงขลา นครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั นครินทร์ ๑๐,๕๕๕ ตัวอยา่ ง ซดี ี ๙๘ แผ่น เกษตรศาสตร์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ นอกจากน้ีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์ความหลาก พืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริฯ ได้ประชุม หลายทางชีวภาพ ฯลฯ อกี ดว้ ย โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รฯิ จงึ ไดจ้ ดั การประชมุ เพอ่ื เผยแพร่ พระราชด�ำ ริ และแนวทางการดำ�เนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนให้กับโรงเรียนมัธยมสังกัด กรมสามัญศึกษา การ ประถมศึกษาแหง่ ชาติ และการศึกษาเอกชน ซงึ่ ปจั จุบนั สังกัดในสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (สพฐ) โดยให้โรงเรยี นทีส่ นใจสมัครใจทจ่ี ะร่วมสนองพระราชดำ�ริ สมคั รเป็นสมาชิก ขณะนม้ี โี รงเรียน สมาชิก ตัง้ แตร่ ะดับอนบุ าล ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา อาชีวศกึ ษา และระดบั อดุ มศกึ ษา ๓,๑๒๘ โรงเรียน ( ณ วันที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๖๐)

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 26 ไม่เพียงเท่าน้ัน โครงการอนุรักษ์ ศึกษาในพื้นท่ีหมู่เกาะแสมสารและเกาะข้าง พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริฯ เคียง อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี การสำ�รวจ ยังมีหน่วยงานราชการต่างๆ เข้าร่วมสนอง ทรพั ยากรตามเกาะในความรบั ผดิ ชอบกองทพั พระราชดำ�ริ และดำ�เนินการสำ�รวจทรัพยากร เรอื ท้งั อ่าวไทยและทะเลอันดามัน กายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ อาทิ หน่วยบัญชาการทหารพฒั นา พน้ื ทีเ่ ขาวัง โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมา เขมร อ�ำ เภอไทรโยค จงั หวดั กาญจนบรุ ี ส�ำ รวจ จากพระราชดำ�ริฯ กองทพั เรอื โดยด�ำ เนนิ การ ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชวี ภาพ โครงการ นโยบายการดำ�เนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ในระยะ ๕ ปีที่ส่ี ( ตุลาคม ๒๕๔๙ - กันยายน ๒๕๕๔ ) มีดงั น้ี เขม้ ข้น = เน้อื หาวชิ าการมากขึ้น เขม้ แข็ง = มผี ู้เข้ารว่ มมากข้นึ พฒั นา = พฒั นาไปส่ปู ระโยชนแ์ ท้ ทัง้ นเี้ พอ่ื ใหโ้ รงเรยี น สถาบันการศึกษา ได้มสี วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นเป็นฐานการเรียนรู้ เพือ่ เข้าถึง วิทยาการ ปญั ญาและภูมปิ ญั ญาแห่งตน ปฎิบตั ิตนเป็นผูอ้ นุรกั ษ์ พัฒนา สรรพชีวติ สรรพสิง่ ดว้ ยคณุ ธรรม ผบู้ รหิ าร ครู อาจารย์ เขา้ ถงึ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ทงั้ ปรชั ญาและบรรยากาศสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ปฏบิ ตั ิงานเปน็ หนงึ่

อพ.สธ. ๑๕ครู ภมู ิปญั ญาไทย 27 อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราช กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรัพยากร มีงาน ดำ�รฯิ สวนสัตวเ์ ปิดเขาเขยี ว ชลบุรี ท่ีดำ�เนินงานโดยศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช การศึกษาชีววิทยาและนิเวศวิทยาใน และงานท่ีร่วมกับหน่วยงานท่ีเข้าร่วมสนอง โครงการสร้างป่าตามแนวพระราชดำ�ริและ พระราชดำ�ริ เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการ ป่าพันธุกรรมพืช ทับลาน ครบุรี จังหวัด วางแผนด�ำ เนนิ งาน พฒั นาฐานขอ้ มลู ทรพั ยากร นครราชสีมา พ้ืนที่ศูนย์ฝึกหนองระเวียง และเครือข่ายระบบข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือให้ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สามารถเชื่อมโยงและใช้ร่วมกันได้อย่างกว้าง วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด ขวาง อาทิ เช่น ฐานข้อมูลพรรณไม้แห้ง ฐาน นครราชสมี า ข้อมูลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ระบบการ โดยมีคณาจารย์และนักวิจัยในสาขาวิชา จัดเก็บข้อมูลทะเบียนพรรณไม้ การผลิตส่ือ ต่างๆ ร่วมจัดทำ�ฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมกับศูนย์ กราฟฟกิ และเวบ็ ไซด์ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ขอ้ มูลทรพั ยากร สวนจติ รลดา นักเรยี นระดับอนบุ าล ประถมศึกษา เลน่ รู้ ธรรมชาตแิ หง่ ชีวติ สรรพสิ่งล้วนพนั เกีย่ ว ระดบั มธั ยมศกึ ษา เรยี นร้โู ดยตน มีวทิ ยาการของตน โดยธรรมชาตแิ ห่งชวี ติ สรรพสิ่งลว้ นพนั เกีย่ ว นักศึกษาระดับอดุ มศึกษา เรียนรูโ้ ดยตน ในปจั จยั เหตุ และสง่ ผลแปรเปล่ยี น เป้าหมาย มโี รงเรยี น สถาบนั การศกึ ษา เปน็ แบบอยา่ งของ การมี การใช้ ศกั ยภาพ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น อยา่ งเหมาะสม ให้นกั เรยี น นักศึกษาไดเ้ รียนรู้ ทุกสาขาวชิ า ในลักษณะบรู ณาการวิทยาการ และบรูณาการ ชีวติ จากปัจจัยศกั ยภาพสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย กิจกรรมที่ ๖ 28 กจิ กรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากร กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรัพยากรเป็น และพันธ์ุจุลินทรีย์เพ่ือให้มีทรัพยากรตาม กิจกรรมท่ีนำ�ข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลทรัพยากร ความต้องการในอนาคต โดยเป็นการวางแผน พืชท่ีได้จากการศึกษา ประเมิน การสำ�รวจ ระยะยาว ๓๐ ปี ๕๐ ปี เป็นการพัฒนาคาด เก็บรวบรวม การปลูกรักษาทรัพยากรพืชที่ การณล์ ว่ งหนา้ ตามแผนพฒั นาทรพั ยากรแตล่ ะ มี นำ�มาให้ผู้ทรงคุณวุฒิศึกษาและวางแผน ชนดิ พัฒนาทรัพยากร ทั้งพันธ์ุพืช พันธ์ุสัตว์ การดำ�เนนิ งาน มุ่งสู่ประโยชน์แท้แก่มหาชน มุ่งสู่กระแสปูทะเลย์มหาวิชชาลัย บนฐานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยมปี รชั ญาการสร้างนักอนุรักษ์ คือ ใหก้ ารสัมผสั ในสง่ิ ทีไ่ ม่เคยไดส้ ัมผัส การรู้จริงในสงิ่ ท่ไี ม่เคยได้รู้จรงิ เป็นปัจจัย สู่จินตนาการ เหตุแห่งความอาทร การุณย์ สรรพชีวิตสรรพสิ่ง ล้วนมุ่งให้เกิดบรรยากาศสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียน บนความเบิกบาน ท่ีมีความหลากหลายด้วยสรรพสิ่ง สรรพการกระทำ�ล้วนสมดุล ตลอดพชื พรรณ สรรพสตั ว์ สรรพสง่ิ ไดร้ บั ความการณุ ย์ บนฐานแหง่ สรรพชวี ติ นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั ประดษิ ฐ์ ศลิ ปกร กวี นักตรรกศาสตร์ ปราชญน์ ้อย ปรากฏทว่ั

อพ.สธ. ๑๕ครู ๓. กรอบการสรา้ งจติ สำ�นกึ ภูมปิ ัญญาไทย กจิ กรรมท่ี ๗ 29 กจิ กรรมสร้างจติ สำ�นกึ ในการอนุรักษท์ รพั ยากร โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ือง อน่ึง ในการสร้างจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ มาจากพระราชดำ�ริฯ ได้ดำ�เนินงานสนองพระ ทรัพยากรพืชในกจิ กรรมท่ี ๗ มุ่งให้เยาวชนได้ ราชดำ�ริ จัดต้ังงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคุณค่าประโยชน์ งานพิพิธภัณฑ์ (พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา อันจะก่อให้เกิดสำ�นึกในการอนุรักษ์พรรณพืช งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะล ต่อไป จึงมีแนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสร้าง ไทย และการฝกึ เรยี นรทู้ รพั ยากรทะเล เปน็ ตน้ ) จิตสำ�นึกในการอนรุ ักษท์ รัพยากร ดังนี้ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มุ่งม่ันสร้างนักอนุรักษ์ อันเกิดจากแรงศรัทธา ศึกษาเข้าใจในพระ ราชดำ�ริ เข้าใจในปรัชญาท่ีสามารถนำ�ไปสู่การสร้างบรรยากาศและแนวคิด ตลอดท้ังแนวทางในการนำ� สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นมาเปน็ ฐานการเรยี นรู้ เกดิ ทกั ษะและจดั ท�ำ กระบวนการหรอื วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ศลิ ปะ การจดั การ ส่งผลใหเ้ กิดคุณธรรม ในเรื่องความรบั ผิดชอบ ความซอ่ื ตรง ความ อดทน สามคั คี เอ้อื เฟ้อื เผือ่ แผ่ มเี มตตา กรุณา มทุ ิตา ฯลฯ ธรรมชาตขิ องสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ด�ำ เนินการโดย ผไู้ มเ่ ช่ยี วชาญ บทบาทส�ำ คัญ คอื เมอื่ มแี ลว้ ใช้พ้ืนที่นั้น เรียนรู้เป็นสถานอบรมส่ังสอนเบ็ดเสร็จ ย่อมเกิดท้ังวิทยาการ และปัญญาในการใช้ธรรมชาติ เป็นปจั จัย ให้เรารู้ถงึ สง่ิ ทรี่ ายลอ้ มรอบตน โดยการสัมผสั ด้วยตา หจู มกู และจติ ท่แี นว่ จรดจ่อ อ่อนโยน ให้ อารมณ์ในการสมั ผัส เรียนรูแ้ ลว้ กลับมาพจิ ารณาตน ชีวติ กาย จิตใจ

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปญั ญาไทย 30 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งจติ สำ�นึก งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็น นวัตกรรมของการเรียนรู้เพ่ือนำ�ไปสู่การสร้าง จิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย นำ� ไปสู่การพัฒนาคนให้เข้มแข็งรู้เท่าทันพร้อมรับ กับกระแสการเปล่ียนแปลงของโลก สถาบัน การศึกษาสามารถสมัครเป็นสมาชิกงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นโดยตรงมาท่ี อพ.สธ. แนวทางและหลักเกณฑ์การดำ�เนิน งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยให้สถาน ศึกษาสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกในงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น คร/ู อาจารยน์ �ำ พรรณไม้ ๑) งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ที่มีอยู่ในโรงเรียนไปเป็นส่ือในการเรียนการ จ�ำ นวนสมาชกิ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น สอน วิชาต่างๆ ที่มีอยู่ในหลักสูตร โดยใช้ (ข้อมูลปัจจุบัน ธันวาคม ๒๕๖๐) มีจำ�นวน พืชเป็นปัจจัยหลักในการเรียนรู้ สนับสนุน ๓,๑๒๘ แห่ง มีโรงเรียนที่ได้รับพระราชทาน ให้สมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนร่วมกับ เกียรติบตั รแหง่ ความมงุ่ มน่ั จำ�นวน ๒๑๐ แห่ง องคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน รว่ มกนั และโรงเรยี นทไี่ ดร้ บั ปา้ ยสนองพระราชด�ำ รสิ วน ส�ำ รวจจดั ท�ำ ฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ น�ำ ไปสกู่ าร พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน จ�ำ นวน ๓๓๐ แห่ง จัดทำ�หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ ตอ่ ไป ดงั นั้น การดำ�เนนิ ศึกษาเรยี นรูจ้ ากสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีไดร้ บั จะเปน็ ฐานด้าน ทรพั ยากรกายภาพและชวี ภาพ เกดิ เปน็ ต�ำ ราในแตล่ ะเรอื่ ง เปน็ ฐานความรู้ ทจี่ ะเกดิ ความมน่ั คงทางวทิ ยาการ ของประเทศ และเกดิ เปน็ ผลทางเศรษฐกจิ เป็นฐานของเศรษฐกิจพอเพยี ง นอกจากน้ี การดำ�เนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จึงควรทำ�ด้วยความสมัครใจ สอดคล้องกับ ธรรมชาติ ไมใ่ ห้เกดิ ความเครียด มแี นวทางการด�ำ เนนิ งานท่ชี ดั เจน เบ้ืองแรก ต้องทำ�ความเข้าใจในเรื่องแนวคิดแนวปฏิบัติว่า สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป็นสวนของ การใชป้ ระโยชน์ ท่ีจะน�ำ มาใชเ้ ป็นฐานการเรียนรู้ ใชเ้ ปน็ สอื่ การเรียนการสอน สรา้ งจติ ส�ำ นึกในการอนุรกั ษ์ พชื พรรณ มิใชเ่ ปน็ เพยี งสวนประดบั สวนหย่อมหรอื สวนสวยโรงเรียนงาม

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมิปัญญาไทย 31 ๒) งานพพิ ธิ ภณั ฑ์ งานพพิ ธิ ภณั ฑ์ เปน็ การขยายผลการด�ำ เนนิ งานเพอ่ื เสรมิ สรา้ งกระบวนการ เรียนรู้ ไปสู่ประชาชน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ใหก้ ว้างขวางยิ่งข้นึ โดยใชก้ ารน�ำ เสนอ ในรปู ของพพิ ิธภัณฑ์ ซง่ึ เป็นสื่อเขา้ ถงึ ประชาชนท่ัวไป ตัวอยา่ งงานพิพธิ ภัณฑ์ เช่น ๑. งานพพิ ธิ ภณั ฑธ์ รรมชาตทิ ม่ี ชี วี ติ ด�ำ เนนิ การโดยศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา อนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริฯ และจงั หวดั ต่างๆ ๒. งานพิพิธภัณฑ์พืช ดำ�เนินการโดยหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดำ�ริ เช่น กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช กรมป่าไม้ กรมวิชาการเกษตร มหาวทิ ยาลยั ต่างๆ ซ่ึงมผี เู้ ชย่ี วชาญ นกั พฤกษศาสตร์ ดแู ลอยู่ แต่เป็นงานที่เข้ามาสนับสนุนสวนที่มีอยู่แล้วหรือดำ�เนินการข้ึนใหม่ ซ่ึงจะให้ความรู้ พัฒนาสภาพ แวดล้อมตามลำ�ดับ เปน็ งานทีจ่ ะดำ�เนินอย่างตอ่ เนอ่ื งไม่รู้จบ เพราะสามารถนำ�ไปใช้เปน็ สอ่ื การเรียนการ สอนท่ีไม่ต้องลงทนุ เพียงแต่ใหเ้ ด็กรู้จักสงั เกต เรียนรู้ ต้ังคำ�ถาม และหาคำ�ตอบ เปน็ ข้อมูลสะสมอันจะ กอ่ ใหเ้ กดิ ความรแู้ ละผเู้ ชี่ยวชาญในพันธไุ์ ม้นน้ั ๆ อกี ประการทสี่ �ำ คญั สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น จะเปน็ ทรี่ วบรวมพนั ธุ์ไมห้ ายาก พนั ธ์ุไมท้ ใี่ กลส้ ญู พนั ธ์ุ พรรณไมท้ เี่ ปน็ ประโยชน์ พชื สมนุ ไพร พชื ผกั พนื้ เมอื ง เปน็ ทรี่ วมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เปน็ การใชพ้ นื้ ทน่ี นั้ เรยี นรู้ เปน็ สถานอบรมส่งั สอนเบ็ดเสรจ็ เกดิ มที ้งั วิทยาการ ทง้ั ปญั ญา

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมิปัญญาไทย 32 ๓. งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ดำ�เนินการ โดยหน่วยงานท่ีร่วมสนองพระราชดำ�ริ เช่น มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา และ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ จังหวดั ขอนแกน่ เป็นต้น ๔. งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะและทะเล ไทย เช่น พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเกาะและทะเลไทย เขา หมาจอ ตำ�บลแสมสาร อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สนอง พระราชดำ�ริ โดยกองทัพเรอื ๕. งานพพิ ธิ ภัณฑท์ อ้ งถน่ิ หอศลิ ปวัฒนธรรม ของ จงั หวดั และหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดำ�ริ ๖. นทิ รรศการถาวรตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทรพั ยากร ต่างๆ ๗. ศนู ย์การเรยี นรู้ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ของโรงเรียนท่ีเป็นสมาชิกจะเป็นส่วนหน่ึงของ “สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืช อนั เน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริฯ” ท่ีเชอ่ื มตอ่ ด้วยระบบขอ้ มลู จะเป็น สวนพฤกษศาสตร์ท่ีใหญ่ที่สุด เนื่องจากมีสมาชิกกระจายอยู่ท่ัวประเทศ มีความหลายหลากของพรรณไม้ ภมู ปิ ระเทศและความหลายหลากของการปฏบิ ตั ิ ในการน�ำ เอาตน้ ไม้ พชื พรรณในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เปน็ สอื่ การเรียนการสอน เปน็ ฐานการเรยี นรู้ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ด�ำ เนนิ การโดยนกั เรยี น มคี รอู าจารยเ์ ปน็ ผใู้ หค้ �ำ แนะน�ำ สนบั สนนุ ผบู้ รหิ าร เปน็ หลกั และผลกั ดนั มโี ครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รฯิ เปน็ สนบั สนนุ ทางวชิ าการ

อพ.สธ. ๑๕ครู ภูมิปญั ญาไทย 33 ๓) งานอบรม อพ.สธ. ด�ำ เนนิ งานอบรมเรอื่ งงานสวน งานฝึกเรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น งานฝกึ อบรมปฏบิ ตั กิ าร บรเิ วณพน้ื ทเี่ กาะแสมสาร จงั หวดั ชลบรุ ี บรเิ วณ สำ�รวจและจัดทำ�ฐานทรัพยากรท้องถ่ิน หรือ พพิ ิธภัณฑ์ธรรมชาตวิ ทิ ยาเกาะ และทะเลไทย งานที่เกี่ยวข้องกับการสร้างจิตสำ�นึกในการ งานเรยี นรทู้ รพั ยากรทะเล การอบรม อนุรักษ์ทรัพยากร มีทั้งจัด ณ ศูนย์ฝึกอบรม คา่ ยเรยี นรทู้ รพั ยากรทะเล ณ เกาะทะลุ จงั หวดั ของ อพ.สธ. รว่ มกบั หนว่ ยงานทรี่ ว่ มสนองพระ ประจวบครี ีขนั ธ์ ราชด�ำ ริ ทีก่ ระจายอยู่ตามภมู ิภาคต่าง ๆ เชน่ งานเรียนรู้อนุรักษ์พัฒนา และใช้ ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน โดยหน่วย บัญชาการทางการพัฒนา กองบัญชาการ กองทัพไทย สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จึงเป็นการดำ�เนินงานของโรงเรียนโดยสมัครใจ ที่จะนำ�แนวพระราชดำ�ริ และแนวทางการด�ำ เนินงานท่โี ครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืชอันเน่อื งมาจากพระราชดำ�รฯิ ที่ให้คำ�แนะน�ำ มา ปฏิบัติ โดยเปิดโอกาสให้แต่ละโรงเรยี นด�ำ เนนิ งานตามความพร้อม ไม่ฝืนธรรมชาติ และน�ำ พชื พรรณไมใ้ น โรงเรียนพฒั นาเป็นฐานการเรียนรู้ เปน็ ส่ือการเรยี นการสอนในวชิ าตา่ งๆ อนั จะเกดิ ผลประโยชน์แกน่ ักเรียน ครู อาจารยท์ ่ดี ำ�เนินงาน เกดิ ข้อมูลองค์ความรู้ วธิ ีการท่ีจะทำ�ใหเ้ กิดผเู้ ชยี่ วชาญ สามารถทจ่ี ะน�ำ ไปใช้เป็น ผลงานทางวิชาการ เพอื่ เสนอขอตำ�แหน่งปรับระดับต�ำ แหนง่ ทางวชิ าการต่อไป

๑๕ครู อพ.สธ. ภูมปิ ญั ญาไทย 34 กจิ กรรมที่ ๘ กิจกรรมพิเศษสนบั สนนุ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ ศึกษาจัดตั้งเป็น ชมรมนักชีววิทยา อพ.สธ. ทรัพยากร เปิดโอกาสให้หน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง และ ชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ภาครฐั และเอกชน เข้าร่วมสนับสนุนงานของ ซง่ึ จะเปน็ ผนู้ �ำ ในการถา่ ยทอดความรแู้ ละสรา้ ง โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจาก จิตสำ�นกึ ในการอนรุ ักษท์ รัพยากรของประเทศ พระราชดำ�ริฯ (อพ.สธ.) ในรูปแบบตา่ ง ๆ มีท้งั ให้แก่เยาวชน และประชาชนชาวไทยรวมท้ัง เปน็ ทนุ สนบั สนนุ ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของ อพ.สธ. สนับสนุนฐานทรัพยากรองค์กรปกครองส่วน หรือดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน ท้องถน่ิ เทศบาล สมคั รเขา้ ร่วมงานทรพั ยากร กิจกรรมอื่น ๆ ของ อพ.สธ. โดยอยู่ในกรอบ ทอ้ งถน่ิ ต่อไป ของแผนแม่บท นอกจากน้ันยังเปิดโอกาสให้เยาวชน แ ล ะ บุ ค ค ล ไ ด้ ศึ ก ษ า ห า ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ทรัพยากรธรรมชาติในสาขาต่างๆ ตามความ ถนัดและสนใจ โดยมคี ณาจารย์ผู้เชย่ี วชาญใน แต่ละสาขาให้คำ�แนะนำ� และให้แนวทางการ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มีวิธีดำ�เนินการ วัตถุประสงค์ กิจกรรมการดำ�เนินงานสอดคล้อง กบั แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ ๘ นโยบายปฏิรปู การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ กรมสามัญ ศึกษา การประถมศึกษาแห่งชาติ นโยบายส่วนใหญ่ของโรงเรียน และสอดคล้องกับในหมวด ๔ แนวทาง จดั การศกึ ษา พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ งานสร้างจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากร ชีวภาพ และกายภาพ โดยมีการสัมผัส การเรียนรู้ การสร้างและปลูกฝังคุณธรรม การเสริมสร้างปัญญา และภมู ิปัญญา

ความนำ ๑๕ครู ความนำ� ภมู ปิ ัญญาไทย 35 ครภู มู ปิ ญั ญาไทย กลา่ วไดว้ า่ คอื ผทู้ ม่ี คี วามเพยี บพรอ้ มในดา้ นความรู้ ความเชย่ี วชาญ ความสามารถอยา่ งลกึ ซง้ึ ในเรอ่ื งราวของปจั จยั สอ่ี นั มีความสำ�คัญอยา่ งย่ิงในการด�ำ รงชวี ติ ผา่ นการศกึ ษาเรยี นรู้ ทดลอง ลงมอื ท�ำ ลองผดิ ลองถกู ตามพนื้ ฐานขององคค์ วามรทู้ บี่ รรพชนไดร้ กั ษาสบื สานไว้ โดยน�ำ มาประยุกต์ปรับปรุงพฒั นาจนไดผ้ ลเปน็ ทปี่ ระจักษ์ในการสรา้ งอาชีพ สร้างวิถี ความเปน็ อยู่ สรา้ งรากฐานองคค์ วามรู้และผลส�ำ เรจ็ จากการปฏิบตั ิ ท่ีคู่ขนาน ไปกับสืบสานภาษา ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภายใต้ปัจจัยท่ี จ�ำ เปน็ ต่อชวี ติ คอื ท่อี ยูอ่ าศัย เครื่องนงุ่ หม่ ยารกั ษาโรค แล้วก็อาหาร จึงปฏิเสธไม่ได้ว่า ครูภูมิปัญญาไทย คือ ผู้สืบสานองค์ความรู้ ความ เชี่ยวชาญของแผ่นดินหรือก็คือปราชญ์ชาวบ้าน ปราชญ์ของแผ่นดินนั่นเอง แล้วคงปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า ผู้ได้รับการเชิดชูยอมรับว่าเป็นปราชญ์เป็นครู ภมู ิปญั ญาไทย เป็นทรพั ยากรบุคคลทม่ี ีคุณคา่ ของชาติ ครูภูมิปัญญาไทยหรือปราชญ์ชาวบ้าน เป็นชาวบ้านทั่วไป ไม่ใช่นัก วิชาการทจ่ี บการศกึ ษาปริญญาโทปริญญาเอกกันทุกคน อาจจบแค่ ป.๔ ป.๖ ม.๓ แต่ท่ีจบการศึกษาสูงถึงปริญญาโท ปริญญาเอกก็มี เพียงแต่ไม่ได้ทำ�ตัว เปน็ นักวชิ าการตลอด แต่เปน็ ชาวบ้าน ชาวบ้านท่ีด�ำ เนนิ ชวี ติ ประกอบอาชีพตามวิถีปยู่ า่ ตายาย พ่อแม่ ทำ�แล้วทำ�อีกด้วยความขยันหมั่นเพียร อดทน ไม่ได้ตั้งหัวใจไว้ท่ีความ โลภมาก ตง้ั เปา้ ชวี ติ วา่ ตอ้ งเปน็ เศรษฐี มหาเศรษฐี แตท่ �ำ เพราะประกอบอาชพี เพอ่ื เลย้ี งดตู วั เอง ครอบครวั เมอ่ื ยนื ไดด้ ว้ ยล�ำ แขง้ ตวั เองแลว้ กพ็ รอ้ มทจ่ี ะเผอื่ แผ่ แบง่ ปนั ท�ำ เพอื่ ใหส้ ามารถพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตวั เอง ครอบครวั ท�ำ บนรากฐาน ของความรกั ความเมตตา เออื้ เฟอื้ ใหอ้ ภยั กนั ชว่ ยเหลอื กนั สามคั คกี นั ประกอบ อาชีพการงานด้วยการรู้จักปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ต่อยอด ทดลองคิดค้นแล้ว จดจ�ำ น�ำ เอามาใช้แล้วแบ่งปนั องค์ความรใู้ ห้ผ้อู ื่นโดยไมห่ วังส่งิ ตอบแทน

๑๕ครู ความนำ ภูมิปญั ญาไทย 36 ผลที่ได้ตามมาคือ ความสำ�เร็จ ความสำ�เร็จในการดำ�เนินชีวิตตัวเอง ส่คู วามพออยู่ พอกิน มีความสุข ความส�ำ เรจ็ ในการแบง่ ปนั องค์ความรู้ให้ คนอ่ืนด้วยเมตตา ด้วยความรัก ไม่ใช่ด้วยประโยชน์ตอบแทน เป็นความ สำ�เร็จที่นำ�ภูมิปัญญามาเป็นตัวรากฐาน นำ�วิทยาการสมัยใหม่เป็นตัว ตอ่ ยอด ผา่ นการศกึ ษาทดลองจนสมั ฤทธผ์ิ ล สรปุ วา่ เปน็ ความเจรญิ งอกงาม ท่ดี ี มิไดห้ วงแหนเก็บง�ำ เอาไว้แต่ผู้เดียว แต่พร้อมขยายผลแบง่ ปัน แนะน�ำ ผูอ้ ่ืนด้วยเมตตา จติ มิตรภาพ การตอ่ ยอดในการด�ำ เนนิ ชวี ติ จากบรรพชน จากผทู้ รงภมู ถิ กู สงั่ สมดว้ ย การลองผิดลองถูก ลองแล้วลองอีก ปรับปรุงประยุกต์ต่อยอดจนเกิดผล ส�ำ เรจ็ อยา่ งยงั่ ยนื ท�ำ ใหเ้ ปน็ ผทู้ มี่ คี วามเชย่ี วชาญช�ำ นาญช�ำ่ ชองในดา้ นนนั้ ๆ ทั้งท่ีเป็นอาชีพหลกั เปน็ อาชพี รอง ทงั้ ที่เปน็ การสืบสานวิถชี ีวติ วัฒนธรรม ประเพณี ประวัติศาสตร์ รวมไปถึงส่วนประกอบที่ใช้เป็นส่วนเสริมสร้าง ในการดำ�เนินชีวิตเพ่ือความดีงามงดงาม ท่ีเรียกว่า ภูมิปัญญา เป็นการ สืบสาน อนั ไดแ้ ก่ วัฒนธรรมประเพณที ี่ดีงาม เอกลกั ษณข์ องท้องถ่นิ ทเ่ี ปน็ สว่ นหนง่ึ สอื่ ถงึ ความเปน็ ชนชาตไิ ทยจนเปน็ ทยี่ อมรบั ของชมุ ชน ยกยอ่ งให้ เป็นปราชญ์ คือ ผู้รู้ ผู้มจี ติ เสยี สละอาสา เปน็ ทีพ่ งึ่ ของชาวชมุ ชนได้ทง้ั การ ปฏบิ ัติ การแนะนำ�แนวทางท่ดี แี ละรวมถึงเปน็ ศนู ย์รวมด้านจิตใจ ครภู ูมปิ ญั ญาไทย คอื ปราชญช์ าวบา้ น ก็คือ ชาวบา้ นทีม่ อี งค์ความรู้ มีความเชี่ยวชาญชำ่�ชองในตัวมากจริงๆ แต่ไม่ใช่ในทุกเรื่องแน่นอน รู้จริง ปราดเปร่ืองจริงในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงเฉพาะเจาะจงเฉพาะด้าน อย่างเช่น ปราชญด์ ้านเกษตรกรรม พืชสวนไรน่ าก็จะเชี่ยวชาญเร่ืองดนิ เรอ่ื งน�ำ้ เรอื่ ง พืช เรือ่ งตน้ ไม้ ดินฟา้ อากาศทเี่ หมาะสม เปน็ ต้น ปราชญ์ด้านดนตรไี ทยก็ เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทย ปราชญ์เร่ืองเครื่องปั้นดินเผาเซรามิกก็เช่ียวชาญ ชำ่�ชองไปในด้านนี้ หรือภูมิปัญญาด้านตีมีดก็เชี่ยวชาญไปทางนี้ อย่างหา ใครเทยี มทาน

ความนำ ๑๕ครู ภมู ปิ ัญญาไทย 37 แล้วจ�ำเป็นต้องจบปริญญาเอกไหม ที่ไม่อาจปฏิเสธได้ในการสืบสานองค์ น่าจะไม่ต้อง ต้องเป็นนักวิชาการไหม ความรู้สู่การปฏิบัติจนได้เช่ียวชาญท�ำให้ ก็คงไม่ต้อง จบ ป.๔ ก็มีสิทธิ์ได้รับยกย่อง น�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างยอด ว่าเป็นปราชญ์ คือ ผู้ช�ำนาญด้านน้ันได้ ถ้า เยี่ยม มักเก่ียวโยงไปในวิถีแห่งการสืบสาน ท่านช่ำชองเช่ียวชาญอย่างแท้จริงจนที่สุดก็ รักษาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง เป็นปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของแผ่นดินแม้ไม่มีใคร แวดล้อม เพราะนั่นคือแหล่งส�ำคัญของการ ประกาศยกย่องท่านก็ยังคงเป็นปราชญ์อยู่ ด�ำเนินชีวิตท่ีเรียกว่า ปัจจัยสี่ จึงถือว่าได้เป็น นัน่ เอง แตค่ นทว่ั ไปอาจไมร่ จู้ กั ก�ำลังส�ำคัญในการเดินตามในวิถีแห่งแนว ความเปน็ ครภู มู ปิ ญั ญาไทย องคป์ ระกอบ พระราชด�ำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ส�ำคญั คือ ได้ปลูกฝังหลอ่ หลอมปฏบิ ตั ติ วั หรือ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพ ด�ำเนินชีวิตมาด้วยหลักคุณธรรมจริยธรรม รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คือ ความเป็นคนดีที่น่าเคารพนับถือของคน ประเทศไทยมีผู้ด�ำรงตนท่ีอยู่ในวิถีแห่ง ในชุมชน อันได้แก่ ความมีเมตตากรุณา ความเปน็ ผทู้ ช่ี มุ ชนยกยอ่ งเชดิ ชวู า่ เปน็ ปราชญ์ มีความเอื้อเฟื้อแบ่งปัน ไม่โลภโมโทสัน ชาวบ้านมากมาย เป็นผู้น�ำท้ังด้านจิตใจ ทั้ง แต่เพียงถ่ายเดียว โดยยึดมั่นในหลักการ ดา้ นการประกอบอาชพี การรกั ษาสบื สานศลิ ป เดินตามรอยพระยุคลบาทปรัชญาของ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา วิถีการด�ำเนิน เศรษฐกจิ พอเพยี งอนั เนอื่ งมาจากพระราชด�ำริ ชีวิตอันเกิดจากการเป็นผู้ปราดเปรื่องในด้าน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล ใดด้านหนึ่งอย่างแท้จริง ดังที่กล่าวจนถึงการ อดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ได้รับยกย่องให้เป็นครูภมู ิปัญญาไทย

๑๕ครู ความนำ ภูมิปญั ญาไทย 38 ครูภูมิปัญญาไทยหรือปราชญ์ วันน้ี สกศ.ได้ยกครูภูมิปัญญาไทย ชาวบ้าน นอกจากจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญ เป็นตัวแทนครูภูมิปัญญา ๑๕ ท่านจาก ในการเป็นผู้นำ�ต้นแบบให้ชุมชนได้ยึดถือ ทง้ั หมดทกุ รนุ่ ราว ๔๐๐ ทา่ น ถา่ ยทอดการ เดินตามแล้ว ยังจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญใน ดำ�เนินวิถีชีวิตต้ังแต่วัยเยาว์มาตราบ ได้ การอบรมบ่มนิสัยอนุชนคนรุ่นลูกหลาน รับการยกย่อง ดว้ ยเพราะ สกศ. ตระหนกั ให้ก้าวย่างไปบนทางแห่งความดีงาม ว่าการดำ�เนินชีวิตในฐานะตัวแทนครู ได้ด้วย เป็นกำ�ลังเสริมในช่วงเวลานอก ภูมิปัญญานั้นเป็นคุณูปการแก่ตัวเอง ห้องเรียน เพ่ิมกระบวนการเรียนรู้ชีวิต ครอบครัวท่ีใช้เป็นรากฐานอาชีพจน ทั้งพื้นฐานการประกอบอาชีพ พื้นฐาน สร้างความเป็นปึกแผ่นของชีวิต ไม่เป็น การรู้จักซึมซับความรักความศรัทธาใน ภาระของสงั คม มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ งี ามบน ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม แล้วก็ ความสขุ อยา่ งยง่ั ยนื ตามหลกั แหง่ ปรชั ญา ซึมซับวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำ�ริ ความเป็นคนไทย ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ด้วยเพราะความเป็นผู้มีความ ภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เชี่ยวชาญปราดเปร่ืองหรือความชำ�นาญ เหนือส่ิงอ่ืนใด การดำ�เนินชีวิตด้วย เป็นเอตทัคคะอย่างแท้จริงบนรากฐาน อาชีพท่ีสืบสานมาจากปู่ย่าตายายพ่อแม่ แห่งคุณธรรมจริยธรรม สำ�นักงาน ของครูภูมิปัญญานั้นได้เป็นแนวทางเป็น เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (สกศ.) กระทรวง กระบวนทส่ี อดรบั กบั แนวพระราชด�ำ รขิ อง ศึกษาธิการ (ศธ.) จึงมีโครงการประกาศ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ยกย่องปราชญ์ชาวบ้านเป็นครูภูมิปัญญา ราชกุมารี ส่วนหน่ึงคือ โครงการอนุรักษ์ ไทยในหลากหลายด้าน ประกาศยกย่อง สืบสาน ฟนื้ ฟู พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติ เป็นด้านๆ เป็นรุ่นๆ ไป ดำ�เนินการมา มีท้ังป่า แหล่งน้ำ� ดูแลรักษาบำ�รุงดิน ที่ จนถงึ ๘ รุ่นแล้ว เกื้อกูลกับชีวิตผู้คน สรรพสัตว์ สืบสาน วัฒนธรรมประเพณี ประวตั ศิ าสตร์

ความนำ ๑๕ครู ภมู ิปญั ญาไทย 39 อนั ไดแ้ ก่ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม ภูมิปัญญาไทยแต่ละท่านสร้างทรัพยากร พืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริฯ ธรรมชาตไิ ว้เปน็ อาชพี ท่แี ตกตา่ ง ความแตกตา่ ง อาชีพครูภูมิปัญญาด้านเกษตรกรรม น่ันคือ ความเชี่ยวชาญช�ำนาญหรือเอตทัคคะ ด้านต้นไม้ สมุนไพร พืชผัก สวนป่า บางท่านใช้เป็นอาชีพเกษตรเป็นหลัก ใช้ พ้ืนฐานคือ การสร้างป่า ได้แก่ ต้นไม้ มี แปรรูปเป็นอาชีพรอง บางท่านใช้แปรรูปเป็น แหล่งน้ำ มีดินที่ดีงาม ที่สุดแล้ว ค�ำว่า หลัก เกษตรกรรมเป็นอาชีพรอง บางท่านใช้ พน้ื ทเี่ กษตรกรรม เกษตรผสมผสานทลี่ ว้ น ผลติ สมนุ ไพร บางทา่ นใชป้ ระโยชนจ์ ากไมน้ านา อยู่ในแนวทางพระราชด�ำริให้คนไทยทุก ชนิดมาสร้างสีสันให้ผืนผ้าไหมที่ผ่านการถักทอ คนรว่ มใจอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟรู กั ษาใหค้ งอยอู่ ยา่ ง ดว้ ยมอื ของตวั เองอยา่ งวจิ ติ รงดงาม กระทง่ั บาง อุดมสมบูรณ์นั้น จริงๆ คือท่ีรวมภาวะ ท่านใช้พื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่ด�ำรงรักษาไว้ แห่งการด�ำรงชีวิต เพราะอยู่ท่ีนั่นในเวลา เปน็ การสรา้ งถา่ ยทอดวรรณกรรม ภาษา ศาสนา เดียวกัน เป็นการสร้างความสมดุลให้กับ แหล่งอาชีพของครูเป็นแหล่งศึกษาเรียน ธรรมชาติ เป็นประโยชน์แก่ท้องถน่ิ ชุมชน รู้ธรรมชาติของผู้คนท่ีสนใจ ของเยาวชนคนรุ่น และประเทศไทย หลังรนุ่ ลกู หลาน แหล่งอาชีพ การด�ำเนินชีวิตของ ทรัพยากรธรรมชาติท่ีครูภูมิปัญญา ปราชญ์ตัวแทนครูภูมิปัญญาไทยท่ียกมา สร้าง นอกจากได้เป็นหน่ึงในการอนุรักษ์ เปน็ ตัวอย่าง ๑๕ ทา่ น วา่ เป็นการด�ำเนิน ฟื้นฟูป่า น้ำ และดิน ตามแนวพระราช ชีวิตตามวิถีแห่งการอนุรักษ์สืบสานด้าน ปณิธานในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร การอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื ตามพระราชด�ำริ มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สมเด็จ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถใน ราชกุมารี ท่ีหัวใจคือ แหล่งผลิตอาหาร รัชกาลท่ี ๙ แล้วยังเป็นการได้ร่วมสนองพระ ยารักษาโรค เคร่ืองนุ่งห่มและที่อยู่อาศัย มหากรุณาธิคุณในสมเด็จพระเทพรัตนราช ท่ีแผ่ประโยชนต์ อ่ คนไทยด้วยกนั เอง แล้ว สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการอนุรักษ์ ก็ชาวโลกด้วย ก็คือพ้ืนท่ีประกอบอาชีพ พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำรอิ ยา่ ง ของทา่ นทเ่ี รยี กวา่ ทอ้ งนา สวน ไร่ นนั่ เอง ส�ำคญั

๑๕ครู ความนำ ภูมิปญั ญาไทย 40 โครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระราชดำ�รฯิ ท่ี สกศ. ได้สนองพระมหากรุณาธิคุณขอพระราชานุญาต เป็นกำ�ลังส่วนหนึ่งใน การร่วมสืบสานถ่ายทอดขยายผลไปสู่สังคมวงกว้างต่อไปด้วยสำ�นึกใน พระมหากรุณาธิคุณ อย่างน้อยที่สุดคือ ผ่านรูปธรรมที่เกิดจากอาชีพครู ภูมิปัญญาในการเป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนของคนทั่วไป ได้ซึมซับถึง ประโยชน์อันมหาศาลของความเปน็ ปา่ เปน็ น้�ำ เป็นดิน จนนำ�ไปสูค่ วามรัก ความศรัทธา หวงแหนร่วมกนั อนุรักษ์ฟื้นฟกู นั อย่างจริงจงั ต่อไป สกศ.ได้รวมวิถีชีวิตครูภูมิปัญญาไทย ๑๕ ท่าน เป็นหนังสือเล่ม กะทดั รดั เพอื่ มงุ่ หวงั เปน็ ตน้ แบบทคี่ นรนุ่ หลงั จะไดน้ �ำ ไปประยกุ ตใ์ ชด้ �ำ เนนิ ชีวิตที่เป้าหมายคือความสุข แล้วก็ด้วยมุ่งเพื่อท่ีจะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ท่ีทรงตระหนกั ถึงความส�ำ คญั ของทรพั ยากรธรรมชาติ สบื สานพระราชปณธิ านพระราชบดิ าและพระราช มารดาโดยทรงสร้างโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชเพื่อเป็นต้นแบบให้คน ไทยและเยาวชนได้ตระหนักถงึ คณุ คา่ ความสำ�คัญของปา่ ของนำ�้ ของดิน ครูภูมิปัญญาไทย ถือได้ว่า เป็นกำ�ลังหนึ่งในการสนองแนว พระราชดำ�ริที่ดำ�เนินชีวิตจนสามารถพัฒนาให้เกิดคุณภาพที่ดีงาม มีความสุข ด้วยเพราะการมีทรัพยากรธรรมชาติ เพราะการรักษา สืบสานทรัพยากรธรรมชาติไว้เป็นมรดกของแผ่นดิน รักษาสืบสาน ผืนป่าผืนน้ำ�ผืนดิน เป็นตัวอย่างของคนไทยให้ได้สัมผัสคุณค่าและ ประโยชน์พร้อมที่จะผนึกสำ�นึกในการสร้างทรัพยากรธรรมชาติให้ มขี ึ้น เป็นปึกแผน่ ใหไ้ ดเ้ ห็นเป็นรูปธรรม มมิ งุ่ ท�ำ ลายดงั อดตี ท่ีผ่านมา .........................................................

ครูถนอม ศิริรักษ์ ๑๕ครู ด้านโภชนาการ ภมู ิปญั ญาไทย 41 ครูถนอม ศิรริ ักษ์ ครภู มู ปิ ัญญาไทย ด้านโภชนาการ

๑๕ครู ครถู นอม ศริ ิรกั ษ์ ด้านโภชนาการ ภูมิปัญญาไทย 42

ครูถนอม ศิริรักษ์ ๑๕ครู ด้านโภชนาการ ภมู ิปญั ญาไทย ¨Ò¡ 43 จากผู้ช่วยครใู หญ่โรงเรยี นจะท้งิ พระ ส่เู ส้นทางขา้ วย�ำ นำ้� บูดู เอกลักษณ์ทีไ่ มเ่ หมือนที่ใดๆ เกดิ เมื่อวนั ที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ท่อี ำ� เภอระโนด จังหวัด สงขลา เปน็ บุตรของ นายสุวรรณ ศึกษาธกิ ารอำ� เภอระโนด  และ นางแชม่ เจริญกุล เคยรบั ราชการครูจนต�ำแหนง่ สุดท้ายท่ีลาออก จากราชการ คือ ผชู้ ว่ ยครใู หญโ่ รงเรียนบา้ นจะท้งิ พระ ด้วยวยั ๕๕ ปี

๑๕ครู ครูถนอม ศริ ริ ักษ์ ด้านโภชนาการ ภูมิปญั ญาไทย 44 วันน้ี ครูถนอม ศิริรักษ์ เข้าวัย ๙๑ ปีแล้ว แตย่ ังแขง็ แรง ได้รับความเคารพนบั ถอื จากสงั คม ถึงการเป็นผู้น�ำสตรีตัวอย่างที่ต่อสู้ชีวิตและใฝ่ เรยี นรู้ มคี วามสขุ กบั งานชว่ ยสงั คม สามารถ เป็นแบบอย่างที่ดีของชาวสทิงพระ จ.สงขลา ตลอดมาจนไดร้ บั ตำ� แหนง่ ทางสังคมจนถึงระดับจังหวัด มากมาย เม่ือปี ๒๔๗๐ บิดาย้ายมา ดำ� รงตำ� แหนง่ ศกึ ษาธกิ ารอำ� เภอ สทงิ พระ  จงึ เขา้ เรยี นชนั้ ประถม ที่โรงเรียนบ้านจะทิ้งพระ จน จบชนั้ ประถมปที ี่ ๔ มารดาเสยี ชีวิต จึงไปอาศัยอยู่กับคุณป้า ท่จี ังหวัดพัทลุง คือ ครอบครัว ของคุณลุงปล้อง และคุณป้า เจิม รัตนากร (บดิ า - มารดา คณุ หมอประสพ รตั นากร)  เรียนหนังสือชั้นมัธยมปี ท่ี ๑ ท่ีโรงเรยี นสตรพี ทั ลงุ และ เมอ่ื ครอบครวั รตั นากรยา้ ยไปรบั ราชการทจี่ งั หวดั ปตั ตานี จงึ ยา้ ย ไปเรียนต่อที่โรงเรียนสตรีเดชะ ปัตตนุกลู  

ครูถนอม ศิริรักษ์ ๑๕ครู ด้านโภชนาการ ภูมิปญั ญาไทย เมือ่ คณุ ลุงเกษียณราชการ จงึ ย้ายมาอาศัยอยู่กบั อาท่ี อ�ำเภอเมืองสงขลา เรียนตอ่ ทโ่ี รงเรียนวรนารีเฉลมิ สงขลา 45 จนจบช้ันมัธยมปีที่ ๖ ตอนเรียนช้ันมัธยมฯต้องโยกย้ายที่ เรียน ๒ - ๓ ครั้ง และต้องอาศัยอยู่กบั ญาตติ ลอดจนเรียน จบ การเดนิ ทางไปโรงเรยี นตอ้ งเดนิ เทา้ กลบั มาบา้ นแลว้ ชว่ ย งานบา้ น  และใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั วนั ละ ๒๕ สตางค ์ คณุ พอ่ จา่ ยใหเ้ ดอื นละ ๑๕ บาท เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทกุ อยา่ ง ทงั้ สมดุ ดนิ สอ หนงั สอื เรียน และอปุ กรณ์ต่างๆ เรียนจบเม่ือปี ๒๔๘๗ ก็เข้ารับราชการเป็นครูที่ โรงเรยี นบา้ นจะทง้ิ พระ อำ� เภอสทงิ พระ ระหวา่ งทสี่ อนเดก็ อยูท่ ี่โรงเรียนประชาบาล มีแมค่ า้ ขายอาหารกลางวัน ขาย ขนมจนี ขา้ วยำ� ขนมพนื้ เมอื ง ดนู า่ กนิ นา่ อรอ่ ย จงึ เปน็ ทม่ี า ของแรงบนั ดาลใจ ทำ� น�้ำบดู ู ช่วงนั้น มีเพื่อนครูเขา้ ไปกรงุ เทพฯ กลับ มากเ็ ลา่ ใหฟ้ งั วา่ “ฉนั ไปกรงุ เทพฯ ทา่ นเจา้ คณุ วัดบรู ณะศริ ิ กรงุ เทพฯ ทบ่ี วชใหท้ �ำข้าวยำ� ให้ ฉัน” ครูกถ็ ามว่า “น้องเอาอะไรทำ� กรุงเทพฯ หาเคร่ืองและน้�ำปรุงอย่างทางใต้ไม่ได้ง่ายๆ” ไดร้ บั คำ� ตอบวา่ “กเ็ อากะปิ กงุ้ ทำ� นำ้� บดู ขู า้ วยำ� ถวายให้ท่านไดฉ้ นั ”

๑๕ครู ครูถนอม ศริ ริ กั ษ์ ด้านโภชนาการ ภมู ปิ ญั ญาไทย 46 ตอนหลังแม่กค็ ิดว่า ขา่ ตะไคร้ หอม กระเทียม พวกน้มี นั กนิ ได้ตกั ท้ิงท�ำไม จงึ คดิ ข้นึ เองอีกดว้ ยการห่นั แล้วกโ็ ขกกับครกใหญแ่ ลว้ กใ็ สไ่ ปเคีย่ ว โขกแบบ เครอื่ งแกงก็รสู้ กึ มนั อร่อยพเิ ศษขึน้ มาทนั ที จึงท�ำใหค้ รูถนอม ศริ ิรกั ษ์ ฉุกคิดวา่ นา่ จะท�ำข้าวยำ� ขายเป็นรายไดเ้ สรมิ หลังจากเลิกงานโรงเรยี น เพยี งแตย่ งั ไม่มีความรู้ด้านการปรุงอาหาร มิหน�ำซ�้ำเป็นคนก�ำพร้า แม่ แม่ตายตั้งแต่อายุ ๘ ขวบ อาหารน่ไี ม่รู้จักท�ำ ทุกอย่าง มีพ่ีเลี้ยงจัดการให้ไปเรียนหนังสือ จึงไปศึกษากับคุณป้า นว่ ม กลัดวภิ าค ผูเ้ ป็นญาติ ได้แนะน�ำใหเ้ อา “จิ้งจังคล้งุ ” เป็นการน�ำปลาทะเลตัวเล็กๆเช่น ปลาไส้ตัน ปลาหลัง เขียว ปลาลกู เมละ มาหมักกับเกลอื เป็นอาหารพืน้ บา้ น บนคาบสมุทรสทิงพระอีกอย่างหน่ึง ที่คุณป้าน่วมท�ำเอา ไว้มาท�ำ “น้�ำบูดูขา้ วย�ำ” เพื่อขายในตลาดของหม่บู า้ น  แต่เมื่อมีใจที่จะท�ำแล้วก็ลองท�ำข้าวย�ำไปขายด้วย การ หุงข้าวกบั ฟืน เตรียมขา้ วสารใส่หม้อไป เตรียมไม้ ฟนื ไฟอะไรทกุ อยา่ ง แลว้ กเ็ ครอื่ งตา่ ง ๆ ในหาบ มผี า้ เชด็ มอื มีดหนั่ ผัก ชอ้ นตกั ข้าว ทกุ อย่างเตรียมใหเ้ สร็จ ไมใ่ ห้ ใครหยบิ ออกเดยี๋ วลมื ไปขายตรงสถานตี ำ� รวจเกา่ ตรงตน้ ยางนาใหญ่ ๆ ขายใหแ้ ม่คา้ จากทะเลสาปมาขายปลานั่ง แบกะดนิ ก่อนไปโรงเรยี น

ครูถนอม ศิริรักษ์ ๑๕ครู ด้านโภชนาการ ภูมิปญั ญาไทย 47 ตอนเท่ียงกลับมาจากโรงเรียน ลูกสาวไม่กินนมกระป๋อง กินแต่นมแม่ มีลูกชายก็กินนมแม่ ลูก ๕ คน กินนม กระปอ๋ ง ๓ คน กนิ นมแม่ ๒ คน ตอน เชา้ ไปโรงเรยี น ใหล้ กู กนิ นมเสรจ็ กฝ็ ากให้ ยายที่เป็นลุงป้าเขาไม่มีลูกช่วยเลี้ยง พอ ให้ลูกกินนมแล้วก็ไปพอกลับมาโรงเรียน ถงึ ตอนเท่ียง รีบกลบั มา ลา้ งขา้ วสาร หงุ ข้าวสาร ไมเ่ อาลกู นะ่ กอ่ ไฟ หงุ ขา้ วเสรจ็ ก็มาลา้ งมือให้ลกู กนิ นม พอสกั พกั ขา้ วกเ็ รมิ่ สกุ เอาไมฟ้ นื เขยี่ ไว้ แมก่ ใ็ หล้ กู กนิ นม แมก่ ก็ นิ ขา้ วเทยี่ ง กอ่ นจะไปกใ็ หล้ กู กนิ นมอกี รอบหนงึ่ พอตอนเยน็ กลบั มาถงึ กใ็ หล้ กู กนิ นม คดขา้ ว ใส่หม้อแลว้ กร็ ีบไปเพราะอน่ื ๆ พร้อมหมดแลว้ ขายจานละ ๑๐ สตางค์ ตอ่ มา จานละ ๒๕ สตางค์ เดยี๋ วนจ้ี านละ ๒๐ บาท แรก ๆ กว่าจะไดท้ �ำบดู นู �ำ้ ยำ� ท่ที างใตเ้ รียกว่า น้ำ� เคยขา้ วยำ� เม่ือกอ่ นเขา กท็ บุ ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรูดพวกเนี้ยใสเ่ คี่ยวกบั นำ้� ตาลแล้วก็ตกั ทงิ้ ตอนหลงั แม่ ก็คดิ ว่า ขา่ ตะไคร้ หอม กระเทยี ม พวกนมี้ นั กนิ ไดต้ กั ท้ิงท�ำไม จึงคิดขน้ึ เองอกี ดว้ ยการหน่ั แลว้ กโ็ ขกกบั ครกใหญแ่ ลว้ กใ็ สไ่ ปเคยี่ ว โขกแบบเครอ่ื งแกงกร็ สู้ กึ มนั อร่อยพเิ ศษขึน้ มาทันที

๑๕ครู ครถู นอม ศิริรกั ษ์ ด้านโภชนาการ ภมู ิปญั ญาไทย 48 ปกตนิ ำ�้ ข้าวยำ� ทั่วไป จะเอาใบมะกรดู ข่า แทนทจี่ ะไดพ้ กั ผอ่ นแบบสบายๆ เนอื่ งจากเปน็ หอม มะขามเปียก ใส่เป็นชิ้นเพ่ือให้สมุนไพร คนที่มีความสุขกับการท�ำงานและมีความสุข เหล่านั้นได้ปรุงรส เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม กับการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม  ด้วยบุคลิก แต่ของครูถนอมต้องต�ำให้ละเอียด สมุนไพร การเป็นผู้น�ำ  และได้รับรู้การท�ำงานเป็นกลุ่ม ท้ังหมดจึงเป็นเนื้อเดียวกันหมดน�้ำ ไม่ใช่ จากการอบรมของหน่วยราชการ ในปี ๒๕๒๗ สมุนไพรเป็นช้ิน ๆ ข้าวย�ำก็เลยขน้ จงึ เปน็ อัต จึงได้ริเร่ิมชักชวนสมาชิกในชุมชนจัดต้ังกลุ่ม ลักษณ์ของน�้ำเคยที่นี่ ตัวข้าวย�ำจะอร่อยไม่ ต่าง ๆ  ขึ้นมากมาย และ เป็นที่ยอมรับ ให้ อรอ่ ยอยู่ท่นี �้ำเคย รับต�ำแหน่งทางสังคมท้ังระดับหมู่บ้าน ต�ำบล แตก่ ่อนจะทุบๆ บบุ ๆ แลว้ ใสห่ ม้อเพ่ือเอา อ�ำเภอ จังหวัด และระดับประเทศ  มากมาย กลนิ่ อะไรออกมา เราปน่ั เหมอื นเครอื่ งแกง สตู ร หลายตำ� แหน่ง ข้าวยำ� กอ็ กี ตัวหนึง่ สูตรน�ำ้ บูดูกอ็ ีกตัวหนึง่ อตั ลกั ษณข์ องแตล่ ะเจา้ ไมเ่ หมอื นกนั นำ้� บดู ขู า้ วยำ� จะมีอตั ลักษณข์ องตวั เอง คอื กนิ แลว้ อร่อย ไม่ เป็นพิษเป็นภัย ตดิ ใจซ้ือติดไมต้ ดิ มือไปฝาก เมื่อท�ำงานสกั พัก จึงศึกษาเล่าเรียน สอบปรบั วทิ ยฐานะดว้ ยตนเองมาตลอด ตั้งแตห่ ลกั สตู ร ครมู ูล,  พ.ครู  พป. ครูพม.  ครตู รี ครูโท  และ ลาออกจากราชการในต�ำแหน่งผู้ช่วยครูใหญ่ โรงเรียนบ้านจะท้ิงพระ ด้วยวัย ๕๕ ปี เมื่อ ปี ๒๕๒๐ เนื่องจากการขอร้องของบุตรคนที่ ๓ เพื่อให้แม่ได้มีเวลาพักผ่อนหลังจากตนเอง เรยี นจบ      เมอ่ื ลาออก ทำ� ใหค้ รถู นอม มเี วลาวา่ งชว่ ย งานบา้ น  ชว่ ยงานญาต ิ และงานสงั คมมากขน้ึ

ครูถนอม ศิริรักษ์ ๑๕ครู ด้านโภชนาการ ภมู ปิ ญั ญาไทย 49 ภมู ปิ ัญญานำ�้ บูดู ปรุงรสให้ไม่เค็มจัด ใส่นำ้� ตาลโตนด หรือ เปลอื ก สบั ปะรด ถ้ามีมะกรดู กใ็ ส่มะกรูดเพื่อดบั กลนิ่ คาว ใส่ตัง้ แต่ เริ่มหมัก สูตรนี้ทอ่ี ืน่ ไม่มี เปน็ นวตั กรรมของทนี่ ี่ นายไพฑรู ย์ ศริ ริ กั ษ์ ลกู ชายคนที่ ๓ ของ ครถู นอม อดตี อาจารย์ ศนู ยพ์ ฒั นาอาชพี จ.สงขลา “ศรเี กยี รตพิ ฒั น”์ กศน.เออรี่มาหลายปแี ล้ว ไดก้ ลายเปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ของครถู นอมผเู้ ปน็ แมน่ งั่ อยขู่ า้ ง ๆ ชว่ ยอธบิ ายวา่ เขามีท�ำกันมาอยู่แล้ว แต่แม่เอามา ตอ่ ยอด ต่อยอดให้สูตรมันอรอ่ ยขน้ึ ของโบราณเขามีอยแู่ ลว้ แตเ่ รามา ปรุงรสใหไ้ ม่เค็มจดั “เขามีท�ำกันมาอยู่แล้ว แต่แม่เอา มาต่อยอด ต่อยอดให้สูตรมันอร่อยข้ึน ของโบราณเขามีอยู่แล้ว แต่เรามาปรุง รสใหไ้ มเ่ คม็ จดั เช่น ใส่นำ้� ตาลโตนด หรอื เปลอื กสบั ปะรด ถา้ มมี ะกรดู กใ็ สม่ ะกรดู เพอื่ ดับกลิ่นคาว อันน้ีใส่ตั้งแต่เริ่มหมัก สูตรท่ีอ่ืน ไมม่ ี มันเป็นนวตั กรรมของที่น่ี แล้วสูตร ๒ ตอ่ ๕ เกลือ ๒ ปลา ๕ นีค่ ือสูตร ท่ีลงตัว ลองใหค้ นชิม แล้วไปประกวดได้รางวลั ด้วย อกี อยา่ ง คอื บดู ู พอใสเ่ ครอ่ื งเขา้ ไปกเ็ ปน็ บดู นู ำ�้ ยำ� เรยี กวา่ นำ�้ เคย ขา้ วย�ำ เรียกวา่ ๔ ใน ๑ อกี หนึง่ ตัวที่เป็นนวตั กรรมของแม่ทน่ี ้ี ที่ ไม่มีทีไ่ หนทำ� ก็คอื ซอี ว้ิ ปลาท�ำจากตัวน้ี”

๑๕ครู ครถู นอม ศิริรักษ์ ด้านโภชนาการ ภมู ิปญั ญาไทย 50 เขาจ�ำได้ไม่ลืมว่า ตอนที่เขาเรียน หนงั สือตอนเล็ก ๆ เรียนอยู่สงขลา แมก่ ็ จะให้น�้ำบูดูข้าวย�ำนี้ไปกิน กลับมาบ้าน สอง สามอาทิตย์แม่ก็ให้ไปอีก เราก็กิน บา้ งไมก่ ินบ้าง มนั ก็เหลืออย่ใู นครวั วันหนึ่งแม่ไปเยี่ยม เห็นว่าน�้ำ บดู ูอนั นี้ก็เหลอื อนั น้ันกเ็ หลือ เกิด ความเสยี ดายแมก่ เ็ ลยเอากลบั มาเท รวมๆ กนั อนุ่ เคยี่ วใหม่ ชมิ ดรู สชาติ คล้ายซีอ้ิวอร่อยไม่แพ้ถั่วเหลือง ตอนหลังท�ำโดยตรงเลย เอาบดู ูดิบ มาปรงุ เปน็ ซีอว้ิ ปลา วนั หนง่ึ แมไ่ ปเยยี่ ม เหน็ วา่ นำ้� บดู อู นั นกี้ เ็ หลอื อนั นน้ั กเ็ หลอื เกดิ ความเสยี ดาย แมก่ เ็ ลยเอากลบั มาเทรวม ๆ กนั อนุ่ เคยี่ วใหม่ ชมิ ดรู สชาตคิ ลา้ ยซอี วิ้ อรอ่ ยไมแ่ พถ้ วั่ เหลอื ง ตอนหลังทำ� โดยตรงเลย เอาบดู ดู บิ มาปรุงเป็นซอี ิว้ ปลา ไปประกวดทไ่ี หน กไ็ ดล้ ะครบั เพราะมนั มอี ยเู่ จา้ เดยี ว แลว้ กใ็ ชเ้ ปน็ นำ้� จม้ิ เนอื้ ยา่ ง ปลายา่ ง ทำ� นำ�้ ปลา หวานกไ็ ด้ โดยนำ� สว่ นหนง่ึ ของน�้ำปลามาทำ� สว่ นหนึง่ กเ็ อาไปทำ� บดู ูขา้ วย�ำ ส่วน หนงึ่ เอาไปทำ� ซอี ว้ิ ปลา จากนำ้� บดู ไู ดส้ ำ� เรจ็ น�ำความรู้ท้ังหมดมาเผยแพร่แก่ผู้ สนใจท่ัวภาคใต้ ทั้งภาครัฐและเอกชนมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ จนปัจจุบัน ทั้งยัง เป็นวิทยากรฝึกอบรม รวมท้ังบันทึกเป็น หลักสูตรท้องถิ่นเพื่อใช้สอนในโรงเรียน และผู้สนใจดว้ ย