Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ

การดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ

Description: การดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ

Search

Read the Text Version

NAMAs Book Final.indd 1 1/4/2558 18:12:40

NAMAs Book Final.indd 2 1/4/2558 18:12:40

การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 1 การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรอื นกระจก ทีเ่ หมาะสมของประเทศ NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS: NAMAs NAMAs Book Final.indd 1 1/4/2558 18:12:40

สารบญั บทนำ�, หนา้ 4 บทท่ี 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่า ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ, หน้า 7 บทท่ี 2 การมสี ว่ นรว่ มในการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ของภาคีอนุสัญญาฯ, หน้า 26 บทที่ 3 การดำ�เนินงานลดก๊าซก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสม ของประเทศ, หนา้ 31 บทที่ 4 สถานการณ์การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจก ท่ีเหมาะสม และรูปแบบการแสดงเจตจำ�นงในการ ดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศกำ�ลัง พฒั นา, หน้า 40 บทที่ 5 การศกึ ษาศกั ยภาพการลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ หมาะ สมของประเทศไทย ในภาคพลงั งาน (สาขาผลติ ไฟฟา้ อุตสาหกรรม และพลังงานจากขยะ), หน้า 56 บทท่ี 6 ก า ร ดำ � เนินการต่อการล ดก๊าซ เรือนก ร ะ จก (NAMAs) ของประเทศไทย, หน้า 73 บทท่ี 7 การตรวจวดั รายงาน และ ทวนสอบ (MRV) สำ�หรบั การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทย (Domestic Mitigation Action). หนา้ 79 อภธิ านศพั ทแ์ ละคำ�ย่อ, หน้า 91 NAMAs Book Final.indd 2 1/4/2558 18:12:41

NAMAs Book Final.indd 3 1/4/2558 18:12:41

4 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS บทนำ� การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของ เก่ียวข้องกับการดำ�เนินงานลดก๊าซ โลก และการลดก๊าซเรือนกระจก นับ เรือนกระจกท่ีเหมาะสมของประเทศ เป็นประเด็นสำ�คัญอย่างย่ิงในปัจจุบัน ในประเทศกำ�ลังพัฒนาและเชื้อเชิญให้ ที่แต่ละประเทศให้ความสนใจและเป็น ประเทศก�ำ ลงั พฒั นาสง่ ขอ้ มลู การด�ำ เนนิ หัวข้อหลักในการประชุมเจรจาภายใต้ งานลดก๊าซเรือนกระจกท่ีเหมาะสมของ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ ประเทศ หรอื Nationally Appropriate เปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (United Mitigation Actions (NAMAs) ผ่าน Nations Framework Convention Decision 1/CP.13 “Bali Action on Climate Change: UNFCCC) Plan”, Decision 1/CP.16 “Cancun ซึ่งที่ประชุมสมัชชารัฐภาคีอนุสัญญา Agreements” Decision 2/CP.17 สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง in Durban และ Decision 1/CP.18 สภาพภูมิอากาศ (COP) ได้มีมติที่ “Doha Climate Gateway” NAMAs Book Final.indd 4 1/4/2558 18:12:42

การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกท่เี หมาะสมของประเทศ 5 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประชุมสมัยที่ NAMAs ต่ออนุสัญญา UNFCCC แล้ว 18 (COP18) เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤศจกิ ายน (ขอ้ มลู ณมกราคม2558)ซง่ึ ประเทศไทย – 7 ธันวาคม 2555 ณ กรุงโดฮา ประกาศโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ประเทศกาตาร์ ซ่ึงเน้นยำ�มากข้ึนว่า ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประเทศก�ำ ลงั พฒั นาจะมสี ว่ นรว่ มในการ พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ได้ ลดกา๊ ซเรอื นกระจกมากยง่ิ ขน้ึ ในอนาคต แสดงเจตจำ�นงการดำ�เนินการลดก๊าซ โดยประเทศกำ�ลังพัฒนาสามารถเสนอ เรือนกระจกท่ีเหมาะสมของประเทศ ข้อมูลการดำ�เนินงานลดก๊าซเรือน ไทยต่อที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ กระจกที่เหมาะสมของประเทศ โดย สมัยที่ 20 เม่ือวันท่ี 9 ธันวาคม 2557 ความสมัครใจต่อสำ�นักเลขาธิการอนุ ณ กรุงลิม่า ประเทศเปรู โดยระบุว่า สัญญาฯ ซึ่งมีประเทศกำ�ลังพัฒนา ประเทศไทยจะลดการปล่อยก๊าซเรือน จำ�นวน 58 ประเทศ ไดแ้ สดงเจตจำ�นง กระจกในประเทศรอ้ ยละ 7 ถงึ 20 ใน NAMAs Book Final.indd 5 1/4/2558 18:12:42

6 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS ภาคพลังงานและภาคการขนส่ง ให้ ที่ 58 ในการเสนอ NAMAs อย่าง ตำ�กว่าระดับการปล่อยในการดำ�เนิน เป็นทางการ ต่ออนุสัญญา UNFCCC งานตามปกติ (Business as usual) โดยการดำ�เนินงานดังกล่าวมีความ ภายในปี พ.ศ. 2563 ซ่ึงเป็นการแสดง สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ให้ประชาคมโลกเห็นว่าประเทศไทย สังคมแห่งชาติ ซ่ึงเสริมสร้างการเจริญ ให้ความสำ�คัญต่อการมีส่วนร่วมรับผิด เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ ชอบแกไ้ ขปญั หาการเปลย่ี นแปลงสภาพ การพัฒนาแบบเศรษฐกิจและสังคม ภูมิอากาศ คาร์บอนตำ�ตลอดจนสนับสนุนการ การประกาศแสดงเจตจำ�นงดังกล่าว พฒั นาอย่างย่ังยืนของประเทศ ทำ�ให้ประเทศไทยเป็นประเทศลำ�ดับ NAMAs Book Final.indd 6 1/4/2558 18:12:43

การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ หมาะสมของประเทศ 7 บทที่ 1 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ อนุสญั ญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ย และเห็นความจำ�เป็นที่จะต้องมีการ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เตรยี มความพรอ้ มในการรบั มอื กบั ความ เสยี หายทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ดว้ ยเหตนุ ้ี ในปี พ.ศ. United Nations Framework 2531 (ค.ศ.1988)โครงการส่ิงแวดล้อม Convention on Climate Change: แห่งสหประชาชาติ (United Nations UNFCCC Environment Programme: UNEP) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศอัน ร่ ว ม กั บ อ ง ค์ ก า ร อุ ตุ นิ ย ม วิ ท ย า โ ล ก เนอ่ื งมาจากการเพมิ่ ขน้ึ ของปรมิ าณกา๊ ซ (World Meteorological Organiza- เรือนกระจกในช้ันบรรยากาศอย่างต่อ tion: WMO) จึงได้จัดตงั้ คณะกรรมการ เนื่องน้ันเป็นส่ิงท่ีท่ัวโลกให้ความสำ�คัญ ระหว่างรัฐบาลด้านการเปลี่ยนแปลง NAMAs Book Final.indd 7 1/4/2558 18:12:43

8 เข้าร่วมเรม่ิ แรก 50 ประเทศ ปัจจุบันมี ประเทศทใ่ี หส้ ตั ยาบนั รวมทง้ั สนิ้ จ�ำ นวน NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS 196 ประเทศ (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 10 มนี าคม 2558) ซง่ึ ประเทศไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบนั เขา้ สภาพภมู อิ ากาศ (Intergovernmental ร่วมเป็นรัฐภาคีอนุสัญญาเม่ือวันท่ี 28 Panel on Climate Change: IPCC) ธันวาคม 2537 และส่งผู้แทนประเทศ เพ่ือเป็นหน่วยงานกลางในการศึกษา เข้าร่วมการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา ให้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ทั้งในด้าน สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง เทคนิค เศรษฐกิจและสังคม ตลอด สภาพภูมิอากาศ (The Conference จนสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการ of the Parties to the UNFCCC หรอื เปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ COP) ตลอดมา จากจุดเริ่มต้นดังกล่าว อนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Cli- mate Change: UNFCCC) จึงได้ถูก ประกาศเมอ่ื วนั ท่ี 9 พฤษภาคม 2535 (ค.ศ. 1992) และเปิด ให้รัฐภาคีลงนาม ในอีกหนึ่งเดือน ต่อมาระหว่างการ ประชมุ United Nations Con- ference on Environment and De- velopment (UNCED) หรอื ทรี่ จู้ กั กนั ใน นามของ Earth Summit ณ นคร ริโอ เดอจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล โดยอนุสัญญามีผลบังคับใช้ต้ังแต่ 21 มีนาคม 2537 (ค.ศ. 1994) มปี ระเทศ NAMAs Book Final.indd 8 1/4/2558 18:12:43

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรือนกระจกทีเ่ หมาะสมของประเทศ 9 เปา้ หมายสงู สุดของอนุสัญญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรอบอนสุ ญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในมาตราท่ี 2 ได้ก�ำ หนดเปา้ หมายสูงสุด (Ultimate Objective) ของอนสุ ัญญาฯ ทวี่ ่า เพือ่ รักษาความเขม้ ขน้ ของก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ใหม้ คี า่ คงที่และอยูใ่ นระดับทีไ่ ม่ก่อใหเ้ กดิ การรบกวนโดยมนษุ ยท์ ่ี จะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ระบบภูมอิ ากาศโลก” The ultimate objective of this Convention and any related legal instruments that the Conference of the Parties may adopt is to achieve, in accordance with the relevant provisions of the Convention, stabilization of greenhouse gas concentrations in the atmosphere at a level that would prevent dangerous anthropogenic interference with the climate system. Such a level should be achieved within a time-frame sufficient to allow ecosystems to adapt naturally to climate change, to ensure that food production is not threatened and to enable economic development to proceed in a sustainable manner. โดยให้เป็นไปตามหลักการที่ระบุในมาตราที่ 3 ของอนุสัญญาท่ีว่าภาคีควรปกป้อง ระบบภูมิอากาศเพื่อประโยชน์ของคนรุ่นปัจจุบันและอนาคตของมนุษยชาติ บนพื้น ฐานของความเปน็ ธรรม (equity) และเปน็ ไปตามความรบั ผดิ ชอบรว่ มในระดบั ทแ่ี ตก ตา่ ง (Common But Differentiated Responsibilities: CBDR) และเปน็ ไปตามขดี ความสามารถ (respective capabilities) โดยประเทศพฒั นาแลว้ ควรเปน็ ผนู้ �ำ ในการ ต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ โดยสรุปลักษณะ/การดำ�เนินการของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ NAMAs Book Final.indd 9 1/4/2558 18:12:43

10 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS เปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศเป็นดงั ตารางที่ 1-1 ตารางที่ 1-1: อนุสัญญาสหประชาชาตวิ ่าดว้ ยการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ อนสุ ญั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC ลกั ษณะอนุสญั ญา ข้อตกลงระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์ดังระบุใน Article 2 วนั ทีป่ ระกาศใช้ ของอนุสญั ญา 9 พฤษภาคม 2535 (ค.ศ. 1992) วนั ทมี่ ีผลบังคบั ใช้ 21 มนี าคม 2537 (ค.ศ. 1994) ภาคี 196 ประเทศ (มีนาคม 2558) * พันธกรณีของภาคตี ามภาค การแบ่งกลุม่ ประเทศตามภาคผนวกของอนุสญั ญา ผนวกของอนุสัญญา * กลมุ่ ประเทศภาคผนวกท่ี 1 (Annex 1): ไดแ้ ก่ กลมุ่ ประเทศพฒั นา * รายชอ่ื และจ�ำ นวนประเทศ แลว้ ทมี่ พี นั ธกรณใี นการด�ำ เนนิ นโยบายหรอื มาตรการใดๆ ทจ่ี ะน�ำ ระบใุ นภาคผนวก ก ไปส่กู ารลดก๊าซเรือนกระจก กลุ่มประเทศภาคผนวกที่ 2 (Annex 2): ได้แก่ กลุ่มประเทศ พัฒนาแล้วที่มีพันธกรณีในการให้การสนับสนุนทางการเงิน และทางเทคนิคแก่ประเทศกำ�ลังพัฒนาเพื่อช่วยดำ�เนินการ ลดก๊าซเรือนกระจกและรับมือกับผลกระทบที่เกิดจากการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยประเทศเหล่านี้รวมตัวกันใน นามของกลมุ่ ประเทศ OECD หรอื Organization for Economic Cooperation and Development เครอื่ งมอื ท่เี กี่ยวข้อง ประเทศไทยจดั อยู่ในกลุ่มประเทศกำ�ลังพัฒนา จงึ ไม่ถูกระบุใน Annex I และ Annex II จึงไม่มพี ันธกรณลี ดกา๊ ซเรอื นกระจก ภายใต้อนุสญั ญาฯ Kyoto Protocol NAMAs Book Final.indd 10 1/4/2558 18:12:43

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรอื นกระจกท่ีเหมาะสมของประเทศ 11 พธิ ีสารเกียวโต Kyoto Protocol เมือ่ รัฐบาลประเทศตา่ งๆ มมี ตริ ับในอนสุ ัญญาสหประชาชาตวิ า่ ด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในปี 2535 (ค.ศ. 1992) และอนุสญั ญาฯ เรม่ิ มผี ลบังคับใช้ในปี 2537 แล้วนน้ั ในปี 2538 (ค.ศ. 1995) ประเทศในภาคผนวกที่ 1 ไดส้ ง่ รายงานแหง่ ชาติ (National Communication) ฉบับแรกไปยังสำ�นักเลขาธิการ และจากผลการ พิจารณารายงานแห่งชาติดังกล่าว ภาคีต่างเห็นพ้องว่าพันธกรณีของประเทศพัฒนา แล้วท่ีมุ่งหวังจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกกลับไปสู่ท่ีระดับการปล่อยในปี 2533 (ค.ศ.1990) ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2000) นนั้ คงไมเ่ พียงพอทจ่ี ะบรรลุเป้าหมายระยะ ยาวของอนุสัญญาฯ ได้ ด้วยเหตุน้ี จงึ ให้มกี ารจัดตั้งคณะทำ�งาน Berlin Mandate ที่ เรียกว่า Ad hoc Group on the Berlin Mandate หรือ AGBM ขึน้ เพ่อื หารือถงึ การยกระดบั การด�ำ เนนิ งานตอ่ พนั ธกรณสี �ำ หรบั ประเทศพฒั นาแลว้ AGBM จงึ ไดอ้ อก ร่างขอ้ ตกลง “Kyoto Protocol” ขึน้ และได้เสนอรา่ งดังกลา่ วในที่ประชุมรัฐภาคอี นุ สัญญาฯ สมยั ท่ี 3 ซึง่ จัดขึ้น ณ กรุงเกยี วโต ประเทศญ่ปี นุ่ ในปี 2540 (ค.ศ. 1997) NAMAs Book Final.indd 11 1/4/2558 18:12:43

12 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS COP 3 ณ กรงุ เกียวโต ประเทศญ่ปี ่นุ ค.ศ. 1997 โ ด ย ที่ ป ร ะ ชุ ม รั ฐ ภ า คี อ นุ สั ญ ญ า ละ 5 เมื่อเทียบกับระดับในปี 1990 ใน สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง ช่วงปี พ.ศ. 2551-2555 (ค.ศ. 2008- สภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 3 มีมติ (De- 2012) ซงึ่ พันธกรณนี ี้เปน็ ข้อผูกพันทาง cision 1/CP.3) รับพิธีสารภายใต้ กฎหมาย (Legally binding) อนสุ ญั ญา หรอื “Kyoto Protocol” ซ่งึ การประชุมรฐั ภาคีพิธีสารเกียวโต (The ประเทศในกลุ่มภาคผนวกที่ I (Annex I Conference of the Parties serving countries) จะตอ้ งลดปรมิ าณการปลอ่ ย as the meeting of the Parties to ก๊าซเรือนกระจกโดยรวมอย่างน้อยร้อย the Kyoto Protocol หรอื CMP) สมยั ที่ 1 จดั ขนึ้ ในปี 2548 (ค.ศ. 2005) ณ เมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา NAMAs Book Final.indd 12 1/4/2558 18:12:43

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรอื นกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 13 พธิ สี ารเกียวโต (Kyoto Protocol) Adopted 16 มีนาคม 2540 (ค.ศ. 1997) ณ กรุงเกยี วโต ประเทศญป่ี ุ่น First Commitment Period พ.ศ. 2551 – 2555 (ค.ศ. 2008 - 2012) Commitment กลุ่มประเทศภาคผนวกท่ี 1 มพี ันธกรณที ี่จะต้องลดปริมาณการ ปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกโดยรวมอย่างน้อยรอ้ ยละ 5 เมื่อเทยี บกับ ระดับการปล่อย ณ 1990 ระหวา่ งปี ค.ศ. 2008 – 2012 Parties มรี ฐั ภาคพี ธิ สี ารเกยี วโตจ�ำ นวน 192 ประเทศ ทงั้ น้ี รฐั บาลแคนาดา ได้แจ้งถอนตัวออกจากพิธีสารเกียวโต เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2554 และมีผลส้ินสภาพเมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม 2555 NAMAs Book Final.indd 13 1/4/2558 18:12:43

14 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS พันธกรณีท่สี องของพิธสี ารเกยี วโต ในการประชมุ การประชมุ รฐั ภาคพี ธิ สี าร พิธีสารเกียวโต (ประเทศในภาคผนวก เกยี วโต สมัยที่ 1 ได้มมี ตใิ หม้ กี ารจดั ตงั้ ท่ี I ของพิธีสาร) ว่าควรจะมีลักษณะ คณะทำ�งานเฉพาะกิจด้านการกำ�หนด เปน็ เช่นไร พันธกรณีถัดไปในการลดก๊าซเรือน การทำ�งานของ AWG-KP ได้เสร็จสิน้ ใน กระจก (Ad-hoc Working Group on ปี 2555 (ค.ศ. 2012) ในการประชุมรฐั Further Commitments for Annex ภาคพี ธิ สี ารเกยี วโต สมัยที่ 8 ณ กรุงโด I Parties under the Kyoto Proto- ฮา รฐั กาตาร์ ทปี่ ระชมุ ได้ออกข้อตดั สิน col: AWG-KP) เพ่ือเจรจากำ�หนดราย ใจ \"Doha Amendment to the Kyoto ละเอียดสำ�หรับพันธกรณีที่สองของพิธี Protocol\" ว่าด้วยพันธกรณีท่ีสองของ สารเกียวโต ว่าด้วยภายหลังปี 2555 พธิ สี ารเกยี วโต (ค.ศ. 2012) ปริมาณ ระยะเวลา ตลอด จนปีฐาน ในการลดก๊าซเรือนกระจก ของประเทศพัฒนาแล้วที่เป็นภาคีของ NAMAs Book Final.indd 14 1/4/2558 18:12:43

การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรือนกระจกท่เี หมาะสมของประเทศ 15 การดำ�เนนิ การของ ทั้งน้ีตามในมาตรา 10 ของพิธีสารฯ ประเทศไทยต่อพิธีสารเกยี วโต ได้กำ�หนดให้ทุกภาคีร่วมรับผิดชอบ ดำ�เนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ประเทศไทยไดล้ งนามในพิธสี ารเกยี วโต ภูมิอากาศตามขีดความสามารถและ เมอ่ื วนั ท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2542 (ค.ศ.1999) สถานการณข์ องแตล่ ะประเทศดว้ ยความ และไดใ้ หส้ ตั ยาบนั เมอื่ วนั ท่ี 28 สงิ หาคม สมัครใจ และมีสิทธ์ิเข้าร่วมโครงการ 2545 (ค.ศ.2002) คณะรัฐมนตรีมีมติ ตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด(Clean เห็นชอบการปฏิบัติตามพันธกรณีในพิธี Development Mechanism: CDM) สารเกียวโตกรณีการใช้คาร์บอนเครดิต นั้น ประเทศไทยได้ดำ�เนินงานกลไก ในประเทศไทยเม่ือวันท่ี 10 กันยายน การพัฒนาที่สะอาด ซึ่งเป็นกลไกภาย 2545 และประเทศไทยอยู่ระหว่าง ใต้พิธสี ารเกยี วโต กระบวนการเพื่อรับรองพันธกรณีท่ีสอง ของพิธีสารเกียวโต อย่างไรก็ตามประเทศไทย ฐานะภาคีในกลุม่ ประเทศกำ�ลัง พฒั นาหรอื กลุ่มประเทศนอก ภาคผนวกที่ 1 (Non-Annex I) จงึ ไม่มีพันธกรณีทจี่ ะต้องลด ปริมาณการปล่อยกา๊ ซเรือน กระจก NAMAs Book Final.indd 15 1/4/2558 18:12:44

16 โอกาสให้ประเทศพัฒนาแล้วใน กลุ่มภาคผนวกท่ี 1 ร่วมกันดำ�เนิน NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS โครงการต่างๆ เพ่ือลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ท้ังน้ีโครงการจะ กลไกการลดก๊าซเรือนกระจก ต้องได้รับอนุมัติจากประเทศท่ีเข้า ภายใต้พธิ ีสารเกยี วโต รว่ มทง้ั หมด และการลดปรมิ าณกา๊ ซ เรอื นกระจกทเี่ กดิ ขน้ึ จะตอ้ งเปน็ การ รัฐภาคีสามารถเข้าร่วมกลไกลดก๊าซ ลดทเี่ พม่ิ เตมิ จากการด�ำ เนนิ งานปกติ เรือนกระจกได้ 3 รูปแบบ ซง่ึ เปน็ กลไก ดว้ ย ซง่ึ คารบ์ อนเครดติ ทเี่ กดิ ขนึ้ จาก ตลาดทช่ี ว่ ยประเทศในกลมุ่ ภาคผนวกที่ การด�ำ เนนิ โครงการรว่ มกนั ในกรณนี ้ี I ของพิธีสารเกียวโตบรรลุเป้าหมายใน เรยี กวา่ Emission Reduction Unit การลดก๊าซเรือนกระจกตามพันธกรณี (ERU) ท้ังน้ปี รมิ าณ ERU ทจ่ี ัดหามา โดยกลไกทงั้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ ตอ้ งเปน็ สว่ นทเ่ี สรมิ จากปรมิ าณกา๊ ซ I. กลไกซื้อขายสิทธิ์การปล่อยก๊าซ เรอื นกระจกทลี่ ดจากการด�ำ เนนิ การ ในประเทศ เรือนกระจก (Emission Trad- III. กลไกการพัฒนาท่ีสะอาด (Clean ing: ET) เปน็ กลไกตามมาตรา 17 Development Mechanism: ของพิธีสาร ซ่ึงดำ�เนินการระหว่าง CDM) เปน็ กลไกตามมาตรา 12 ของ ประเทศพัฒนาแล้ว ในกลุ่มภาค พิธีสาร ซึ่งเป็นกลไกที่ดำ�เนินการ ผนวก B ของพิธีสาร สามารถซื้อ ร่วมกันระหว่างประเทศพัฒนาแล้ว ขายปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ได้ ในภาคผนวกที่ 1 และกลมุ่ ประเทศ รับการจัดสรรระหว่างกัน ที่เรียกว่า กำ�ลังพัฒนาที่ไม่ได้ระบุไว้ในภาค Assigned Amount Unit (AAU) ผนวกท่ี 1 โดยมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือให้ เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามพนั ธกรณี ประเทศในกลมุ่ ภาคผนวกที่ 1 บรรลุ ทงั้ นป้ี รมิ าณ AAU ทซ่ี อ้ื ตอ้ งเปน็ สว่ น เปา้ หมายในการลดกา๊ ซเรือนกระจก ที่เสริมจากปริมาณก๊าซเรือนกระจก ควบคู่ไปกับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่ลดจากการด�ำ เนินการในประเทศ II. กลไกการด�ำ เนนิ การรว่ มกนั (Joint Implementation: JI) เป็นกลไก ตามมาตรา 6 ของพิธีสาร ท่ีเปิด NAMAs Book Final.indd 16 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ 17 และช่วยสนับสนุนให้ประเทศกำ�ลัง เรือนกระจกที่เพิ่มเติมจากการ พัฒนาในกลุ่มนอกภาคผนวกที่ 1 ด�ำ เนนิ งานตามปกติ (Additionality) บรรลกุ ารพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื โดยผดู้ �ำ เนนิ ซ่ึงในประเทศไทยมีองค์การบริหาร การโครงการ CDM จะได้รับ Cer- จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ tified Emission Reductions มหาชน) หรือ อบก. ทำ�หน้าท่ีเป็น (CERs) สำ�หรับปริมาณก๊าซเรือน Designated National Author- กระจกท่ไี ด้รบั การรบั รองแลว้ โดยมี ity of Clean Development กติกาว่าการลดก๊าซเรือนกระจก Mechanism (DNA-CDM) office นั้นจะเป็นการเข้าร่วมโดยสมัครใจ ทำ�หน้าที่หน่วยงานของประเทศ สนับสนุนให้เกิดประโยชน์ในการ พจิ ารณา กล่ันกรอง โครงการ CDM พัฒนาท่ียั่งยืนในประเทศเจ้าบ้าน ในประเทศไทย และต้องเป็นการลดปริมาณก๊าซ องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. อบก. ทำ�หน้าท่เี ป็น Designated National Authority of Clean Development Mechanism (DNA-CDM) office ทำ�หน้าท่ี วิเคราะห์ กล่ันกรองโครงการกลไกการ พฒั นาท่สี ะอาด Clean Development Mechanism (CDM) ในประเทศไทยและ ทำ�ความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการบริหารองค์การก๊าซเรือนกระจก ว่าโครงการ ตา่ งๆ ทดี่ �ำ เนนิ งานในประเทศไทยควรจะไดร้ บั ความเหน็ ชอบ และออกหนงั สอื รบั รอง โครงการ (Letter of Approval: LoA) ใหก้ ับผพู้ ฒั นาโครงการหรือไม่ รวมทง้ั ตดิ ตาม ประเมินผลโครงการท่ไี ดค้ �ำ รับรอง ซ่ึงโครงการดังกลา่ วจะต้องเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ การพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Criteria : SD Criteria) ท้งั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม ทปี่ ระเทศไทยก�ำ หนดขน้ึ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนท์ ง้ั ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม การลงทนุ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม แกช่ มุ ชน ทอ้ งถนิ่ ทโี่ ครงการตง้ั อยู่ NAMAs Book Final.indd 17 1/4/2558 18:12:44

18 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS NAMAs Book Final.indd 18 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ หมาะสมของประเทศ 19 ก๊าซเรอื นกระจกตามทีร่ ะบไุ ว้ในภาคผนวก A ของพธิ สี ารเกียวโต เดิมมี 6 ประเภท ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide: CออออOโก2รไ)คซ, าดมร์ บ์ีเ(Nทอiนนtro(H(uMysdeOrtohxfailduneoe:r:oNcC2aOHr)b4,)o,ไnฮไ:โนHดตรFฟCรัสล),ู เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (Perfluorocarbon: PFC) และ ซลั เฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (Sulfur Hexafluoride: SF6) ต่อมาท่ีประชุมสมัชชารัฐภาคีพิธีสารเกียวโต สมยั ท่ี 8 ได้มมี ติใหเ้ พ่มิ กา๊ ซ Nitrogen Trif- luoride เ(ปN็นFก3)๊าซในปภราะคเภผทนทวกี่ 7Aโดขยอเงรพิ่มิธใชีส้ใานร เกียวโต พนั ธกรณที ่ี 2 ระหว่างปี 2013-2020 NAMAs Book Final.indd 19 1/4/2558 18:12:44

20 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS The TARGET “เปา้ หมาย 2 องศาเซลเซยี ส” น้ัน ปรากฏครง้ั แรกในชว่ งปลายทศวรรษ 1980s ใน รายการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตรข์ อง Advisory Group on Greenhouse Gases ซง่ึ จดั ต้งั ขนึ้ โดยการสนับสนนุ ของ WMO, International Council of Scientific Unions และ UNEP โดยการศึกษาได้ระบุไว้ว่า “การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียโลกในระดับ 2 องศา น่าจะถือได้ว่าเป็น ขีดจํากัดขั้นสูงกอนที่ความเสียหายท่ีรายแรงตอระบบ นเิ วศ และผลกระทบที่ไมเปน เชิงเสน จะเพ่ิมมากขนึ้ อยางรวดเรว็ ” NAMAs Book Final.indd 20 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 21 โ ด ย นั บ จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม รั ฐ ภ า คี อ นุ Decision 1/CP.15, Copenhagen สัญญาฯ สมัย 15 ในปี ค.ศ. 2009 Accord, Decision 1/CP.16, Cancun เป็นต้นมา ประชาคมโลกส่วนใหญ่ Agreement และ Decision 1/CP.17 ใหก้ ารยอมรบั การก�ำ หนดเปา้ หมายโลก จัดต้ังคณะทำ�งาน Durban Platform ทรี่ ะดับ 2 องศา for Enhanced Action (ADP) ซงึ่ หมายถึงเป้าหมาย การก�ำ หนดเปา้ หมายโลก2องศา การรกั ษาระดับการเพม่ิ ข้นึ สมั พนั ธก์ บั การจ�ำ กดั ความเขม้ ของอุณหภมู ิเฉลี่ยท่พี น้ื ผิวโลก ข้นของก๊าซเรือนกระจกในช้ัน เม่อื เทยี บกับชว่ งกอ่ นการปฏิวัติ บรรยากาศอยา่ งไร อุตสาหกรรมในระดบั ท่ีไมเ่ กนิ 2 องศาเซลเซยี ส 450Scenario หรือให้เป็นเป้าหมายในการรักษาภูมิ IPCC ไดน้ �ำ เสนอผลการศกึ ษาในรายงาน อากาศโลกไวใ้ นระดบั ทอี่ าจชว่ ยปอ้ งกนั 4th Assessment Report (ค.ศ. 2007) ไมใ่ หเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทเี่ ปน็ อนั ตราย แสดงให้เห็นว่า หากประชาคมโลก นั่นเอง โดยผลการประชุมรัฐภาคีอนุ ต้องการควบคุมเป้าหมายการรักษาค่า สัญญาฯ สมัย 15 ได้มีข้อตัดสินใจกํา อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้เพ่ิมขึ้นเกิน หนดเป้าหมายโลก “2 องศาเซลเซียส กว่า 2 องศาเซลเซียสในระยะยาวน้ัน เป็นเป้าหมายร่วม” ในการควบคุมปญ ควรจะจำ�กัดค่าความเข้มข้นของก๊าซ หาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรือนกระจกในชั้นบรรยากาศให้อยู่ใน และปรากฏเป็นเกณฑ์อ้างอิงต่อมาใน ระดบั 450 PPM CO2 –eq ดงั ภาพท่ี 1-1 NAMAs Book Final.indd 21 1/4/2558 18:12:44

22 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS ภาพที่ 1-1: อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของโลกทเ่ี พมิ่ ขน้ึ (อาศาเซลเซยี ส) เทยี บกบั ระดบั ความเขม้ ข้นของกา๊ ซเรอื นกระจกในชน้ั บรรยากาศ (ppm CO2-eq) ทม่ี า: www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/syr/ar4_syr.pdf ท้ังน้ี การท่ีจะควบคุมค่าความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศให้อยู่ใน รไดะร้ดอ้ บั ย4ล5ะ025PP–M40CเOท2ยี –บeกqบั รใหะดไ้ ดบั น้ กน้ั ารปปรละอ่ เทยกศา๊พซฒั เรนอื านแกลรว้ ะจจะกตขอ้ องงลปดี คก.า๊ศซ.เ1ร9อื 9น0กภระายจใกนใหป้ี ค.ศ. 2020 สว่ นประเทศก�ำ ลงั พฒั นาจะชว่ ยลดกา๊ ซเรอื นกระจกลงในระดบั ทม่ี นี ยั ส�ำ คญั ภายในปี ค.ศ. 2020 โดยเปน็ การลดลงจากธรุ กรรมปกติ (Business as usual) และ ประเทศพฒั นาแลว้ จะตอ้ งลดกา๊ ซฯ ใหไ้ ดร้ อ้ ยละ 80 – 95 เทยี บกบั ระดบั การปลอ่ ย กา๊ ซเรอื นกระจกของปี ค.ศ. 1990 ภายในปี ค.ศ. 2050 ดงั ตารางท่ี 1-2 NAMAs Book Final.indd 22 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกท่เี หมาะสมของประเทศ 23 ตารางท่ี 1-2: ระดบั ความเขม้ ข้นของกา๊ ซเรือนกระจกในระดับต่างๆ และเป้าหมาย รอ้ ยละของการลดกา๊ ซเรอื นกระจกส�ำ หรับประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I Country) และประเทศก�ำ ลงั พัฒนา (Non-Annex I Country) เทยี บกบั ปริมาณการปล่อยก๊าซ เรอื นกระจกในปี ค.ศ. 1990 ภายในปี ค.ศ. 2020/2050 Box 13.7 The range of The difference between emission in 1990 and emission allowances in 2020/2050 for various GHG concentration levels for Annex I and non-Annex I countries as a group a Scenario category Region 2020 2050 A-450 ppm CO2-eqb Annex I -25% to -40% -80% to -95% Non-Annex I Substantial deviation from baseline Substantial deviation from baseline in Latin America, Middle East, East in all regions Asia and Centrally-Planned Asia B-550 ppm CO2-eq Annex I -10% to -30% -40% to -90% Non-Annex I Deviation from baseline in Latin Deviation from baseline in most America and Middle East, East Asia regions, especially in Latin America and Middle East C-650 ppm CO2-eq Annex I 0% to -25% -30% to -80% Deviation from baseline in Latin Non-Annex I Baseline America and Middle East, East Asia Note : a The aggregate range is based on multiple approaches to apportion emissions between regions (contraction and convergence, multistage, Triptych and intensity targets, among other). Each approach makes different assumption about the pathway, specific national efforts and other variables. Additional extreme cases – in which Annex I undertakes all reductions, or non-Annex I undertakes all reductions – are not included. The ranges presented here do not imply political feasibility, nor do the results reflect cost variances. b Only the studies aiming at stabilization at 450 ppm CO2-eq assume a (temporary) overshoot of about 50 ppm (See Den Elzen and Meinshausen, 2006) Source: See references listed in first paragraph of Section 13.3.3.3 ทม่ี า: www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg3/ar4-wg3-chapter13.pdf NAMAs Book Final.indd 23 1/4/2558 18:12:44

24 เลขาธิการอนุสัญญาฯ ได้แถลงต่อที่ ประชมุ UNFCCC พร้อมเรียกร้องใหท้ ุก NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS ภาคสว่ นตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศที่เกดิ ขน้ึ ความเขม้ ขน้ ของกา๊ ซคารบ์ อน UNFCCC, Bonn, 13 May 2013- ไดออกไซดใ์ นชนั้ บรรยากาศ ณ - Reacting to the fact that the ปัจจุบัน concentration of heat-trapping carbon dioxide in the atmosphere ความเขม้ ขน้ ของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ last week passed the 400 parts ยังคงมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง per million mark at Mauna Loa, โดยเพิ่มขึ้นจากระดับความเข้มข้นใน Hawaii--the Executive Secretary of ช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่ราว the UN Framework Convention on 278 ppm (ส่วนในลา้ นส่วน) มาท่ีระดบั Climate Change Christiana Figueres 391 ppm ในปจั จบุ นั (ขอ้ มลู พฤษจกิ าย น พ.ศ. 2555) โดยมีอัตราการเพิ่มข้ึน ลา่ สดุ อยทู่ ร่ี ะดบั 1.8 ppm ตอ่ ปี (World Bank, 2012) ปัจจุบันความเข้มข้นของก๊าซเรือนระ จกในช้ันบรรยากาศนั้นเกินระดับ 400 ppm โดย นาง Christiana Figueres NAMAs Book Final.indd 24 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ 25 NAMAs Book Final.indd 25 1/4/2558 18:12:44

26 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS บทท่ี 2 การมีส่วนร่วมลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกของภาคีอนุสัญญาฯ ท่ีประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ ได้เริ่ม ดำ�เนินการลดก๊าซเรือนกระจกท่เี หมาะ การหารือและให้ความสนใจต่อการ สมของประเทศ หรือ “Nationally เพิ่มความพยายามในการลดก๊าซเรือน Appropriate Mitigation Actions: กระจกหลังปี ค.ศ. 2012 เนอ่ื งจากพิธี NAMAs” ในแผนปฏบิ ตั กิ ารบาหลี (Bali สารเกยี วโตพนั ธกรณที แ่ี รกนนั้ มกี �ำ หนด Action Plan) และมตทิ ป่ี ระชมุ ใหม้ กี ารจดั ทจ่ี ะสน้ิ สดุ ลงวา่ จะสามารถท�ำ อยา่ งไรให้ ตง้ั “คณะท�ำ งานเฉพาะกจิ วา่ ดว้ ยความ ได้รับความร่วมมือในการลดก๊าซเรือน รว่ มมอื ระยะยาวภายใตอ้ นสุ ญั ญาฯ หรอื กระจกจากทง้ั ประเทศในกลมุ่ ภาคผนวก AWG-LCA” ข้ึน เพื่อให้หารือถึงความ ที่ 1 และนอกภาคผนวกที่ 1 เป็นไปได้ของแนวทางการลดก๊าซเรือน ในปี 2550 (2007) ในการประชมุ รฐั ภาคี กระจก ท้งั จากประเทศพัฒนาแลว้ และ อนุสัญญาฯ สมัยที่ 13 ณ เกาะบาหลี ประเทศกำ�ลังพัฒนาระหว่างปี ค.ศ. ประเทศอินโดนีเซีย ไดร้ เิ ริ่มแนวคดิ การ 2012-2020 NAMAs Book Final.indd 26 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรอื นกระจกท่เี หมาะสมของประเทศ 27 โดยการลดก๊าซเรือนกระจกท้ังจาก MITIGATION PLEDGE ประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำ�ลัง พฒั นาระหวา่ งปี ค.ศ. 2012-2020 น้นั ใ น ก า ร กำ � ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ ก า ร เร่ิมมีผลปรากฏในเอกสารโคเปนเฮเกน ดำ�เนินกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก แอคคอร์ด และข้อตกลงแคนคูน ระบุ ภายในช่วงปี ค.ศ. 2020 เชอื้ เชญิ ใหร้ ฐั ภาคแี สดงเจตจ�ำ นงลดกา๊ ซ เรือนกระจก หรอื ที่เรยี กว่า Mitigaton Pledge NAMAs Book Final.indd 27 1/4/2558 18:12:44

28 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS แผนปฏบิ ัตกิ ารบาหลี (Bali Action Plan) “แผนปฏิบัติการบาหลี (Bali Action หน่ึงนั้นคือ การหารือถึงพันธกรณีการ Plan)” เกิดจากผลการประชุมรัฐภาคี ลดกา๊ ซเรอื นกระจกโดยประเทศพฒั นา อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ แล้ว และการดำ�เนินงานลดก๊าซเรือน เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศสมัยท่ี 13 กระจกที่เหมาะสมของประเทศกำ�ลัง (COP 13) ในปี ค.ศ. 2007 ณ. เมือง พัฒนา (3) การส่งเสริมการปรับตัวต่อ บาหลี อินโดนเี ซีย มีสาระส�ำ คัญ คอื ให้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ มีการจัดตั้ง “คณะทำ�งานเฉพาะกิจว่า ภูมิอากาศ (4) การส่งเสริมการพัฒนา ด้วยความร่วมมือระยะยาวภายใต้อนุ และถ่ายทอดเทคโนโลยี และ (5) การ สญั ญาฯ” ( Ad Hoc Working Group ส่งเสริมด้านการเงินและการลงทุนเพื่อ on Long-term Cooperative Action สนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจกและ under the Convention :AWG-LCA) การปรบั ตัว เพื่อดำ�เนินการเจรจาด้านความร่วมมือ โดยตั้งเป้าให้เจรจาแล้วเสร็จภายใน 2 ระยะยาวในการแก้ไขปัญหาโลกร้อน 5 ปี และน�ำ ผลเจรจามาเสนอตอ่ ทปี่ ระชมุ ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) วิสัยทัศน์ร่วม รัฐภาคอี นสุ ญั ญาฯ คร้งั ที่ 15 (COP 15) ส�ำ หรบั ความร่วมมอื ระยะยาว (2) การ ในปี ค.ศ.2009 ณ กรุงโคเปนเฮเกน เสริมสร้างกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก ประเทศเดนมารก์ แตไ่ ดข้ ยายการเจรจา ในประเทศ/ระหว่างประเทศ ซึ่งส่วน ต่อมา จนกระท่ัง AWG-LCA บรรลุ วัตถุประสงค์ของการจัดต้ังและปิดการ ทำ�งานได้ ในการการประชุม ประชุมรฐั ภาคอี นสุ ัญญาฯ ครงั้ ที่ 18 (COP 18) ใน ปี ค.ศ. 2012 ณ กรุงโดฮา กาตาร์ NAMAs Book Final.indd 28 1/4/2558 18:12:44

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรือนกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 29 เอกสาร Copenhagen Accord บรรยากาศการประชุม COP 15 ซง่ึ เปน็ ตน้ ก�ำ เนิดของ Copenhagen Accord ในการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ สมัย กระจก หรือให้ประเทศกำ�ลังพัฒนา ท่ี 15 (COP 15) ณ กรุงโคเปนเฮเกน ต้องส่งแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจก เมื่อวันท่ี 19 ธันวาคม 2552 กลุ่ม ที่เหมาะสมของประเทศ ภายในวันท่ี ประเทศพฒั นาแล้วได้ผลักดนั และเชิญ 31 มกราคม พ.ศ. 2553 ตามที่กำ�หนด ผู้นำ�ประเทศต่างๆ รวม 26 ประเทศ ไว้ในเอกสาร ถงึ แม้วา่ Copenhagen มาประชุมร่วมกันในวันท่ี 18 ธันวาคม Accord จะมิได้มีผลเต็มรูปแบบ แต่ก็ 2553 อย่างไรก็ตามผลท่ีได้เป็นเพียง มีประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำ�ลัง การรับทราบว่ามีเอกสาร ท่ีมีสถานะ พัฒนาหลายประเทศท่ีสมัครใจแสดง เป็น “ข้อตกลงท่ีผูกพันทางการเมือง” เจตจำ�นงลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้ และเปน็ เพยี งการบนั ทกึ รบั ทราบ (takes เอกสาร Copenhagen Accord ดัง note) ว่ามีเอกสารฉบับนี้อยู่ ดังน้ัน กลา่ ว เอกสาร Copenhagen Accord จึง มิได้มีสภาพบังคับให้ประเทศพัฒนา แล้วต้องส่งเป้าหมายการลดก๊าซเรือน NAMAs Book Final.indd 29 1/4/2558 18:12:45

30 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS Cancun Agreement (ขอ้ ตกลงแคนคนู ) Cancun Agreement (ข้อตกลงแคน • ประเทศพัฒนาแล้ว ต้องให้การ คูน) เป็นผลจากการประชุมรัฐภาคีอนุ สนับสนุนทางการเงิน เทคโนโลยี สัญญาฯ สมยั ท่ี 16 (COP 16) ทเ่ี มอื ง และเสริมศักยภาพต่อประเทศกำ�ลัง แคนคูน ประเทศเม็กซิโก โดยมติที่ พัฒนา สำ�หรับการเตรียมการและ ประชมุ เปน็ ดงั นี้ ด�ำ เนินการ NAMAs (Preparation • รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาฯ ตกลงวา่ ประเทศ and Implementation of NAMAs) รวมทั้ง การยกระดับด้านการ กำ�ลังพัฒนาจะลดก๊าซเรือนกระจก รายงานผล (Reporting) (Nationally Appropriate Mitiga- tion Actions: NAMAs) ในบริบท • จัดตั้งระบบลงทะเบียน (Registry) ของการพัฒนาที่ย่ังยืน โดยได้รับ เพอื่ บนั ทกึ กจิ กรรมลดกา๊ ซฯ และยก การสนบั สนนุ ทางเทคโนโลยี การเงนิ ระดบั การรายงานผล ในรายงานแหง่ และการเสริมสรา้ งศักยภาพ เพอื่ ให้ ชาติ เปน็ ทุก 4 ปี บรรลุการลดก๊าซเรือนกระจกจาก การปล่อยตามปกติ ภายในปี พ.ศ. • การลดกา๊ ซเรอื นกระจกจะตอ้ งมกี าร 2563 ตรวจสอบ รายงาน และทวนสอบ (MRV) ตาม Guidelines ทจ่ี ะพฒั นา ขน้ึ ภายใต้อนุสญั ญาฯ NAMAs Book Final.indd 30 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 31 บทที่ 3 การดำ�เนินงาน ลดกา๊ ซเรอื นกระจก ทีเ่ หมาะสมของประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions by developing country หรอื NAMAs) จากผลการประมวลข้อมูลสถานการณ์ เจรจาในชว่ งหลงั ไดม้ งุ่ ความสนใจตอ่ การ ในมิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการ เพิ่มความพยายามในการลดก๊าซเรือน เปล่ียนแปลงภูมิอากาศบ่งชี้ว่า ปริมาณ กระจกในช่วงก่อนปี ค.ศ. 2020 วา่ ควร การปล่อยการเรือนกระจกของโลกใน ดำ�เนินการอย่างไรเพ่ือให้เกิดความร่วม ปจั จบุ นั ยงั มคี า่ อยใู่ นระดบั ทส่ี งู และยงั คง มือท้ังจากกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วและ มแี นวโนม้ ทจี่ ะเพมิ่ ขนึ้ เรอื่ ยๆ โอกาสและ กลุ่มประเทศก�ำ ลังพัฒนา ความเปน็ ไปไดใ้ นการรกั ษาเป้าหมาย 2 ในการน้ี ท่ีประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาฯ องศานั้น ต้องการความร่วมมือระดับ สมัยท่ี 13 ได้มีมติรับ “แผนปฏบิ ัตกิ าร โลกโดยเรง่ ดว่ น แนวโน้มในการประชมุ NAMAs Book Final.indd 31 1/4/2558 18:12:45

32 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS บาหลี” โดยกล่าวถึงการดำ�เนินงาน กระจก โดยประเทศก�ำ ลงั พฒั นาสามารถ ลดก๊าซเรือนกระจกท่ีเหมาะสมของ เสนอข้อมูลการดำ�เนินงานลดก๊าซเรือน ประเทศ หรือ Nationally Appropri- กระจกท่ีเหมาะสมของประเทศ โดย ate Mitigation Actions (NAMAs) และ ความสมัครใจไปยังสำ�นักเลขาธิการอนุ เชื้อเชิญให้ประเทศกำ�ลังพัฒนาแสดง สญั ญาฯ และเรื่อยมาจากการประชุมรฐั เจตจำ�นงข้อมูลการดำ�เนินงานลดก๊าซ ภาคีอนุสญั ญาฯ สมัยท่ี 18 และ สมยั ที่ เรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ 19 ไดม้ ขี อ้ ตดั สนิ ใจทเี่ ชอ้ื เชญิ ใหป้ ระเทศ หรอื NAMAs pledge และตอ่ มา ใน ก�ำ ลงั พฒั นาเสนอ NAMAs pledge เปน็ การประชมุ รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาฯ สมยั ท่ี 17 ลำ�ดับ ณ เมอื งเดอรบ์ นั ประเทศแอฟริกาใต้ ที่ สมัชชารัฐภาคีอนุสัญญาฯ มีมติท่ี ประชมุ ไดม้ มี ตริ บั ขอ้ ตดั สนิ ใจ “2/CP.17 เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจกท่ี หรอื Outcome of the work of the เหมาะสมของประเทศกำ�ลังพัฒนาใน Ad Hoc Working Group on Long- ช่วงก่อนปี ค.ศ. 2020 โดยปรากฏในข้อ term Cooperative Action under ตดั สินใจจากผลการประชมุ ดังน้ี the Convention” โดยในรายละเอยี ด ได้มีความชัดเจนย่ิงข้ึนว่าประเทศกำ�ลัง พัฒนาจะมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือน NAMAs Book Final.indd 32 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ 33 NAMAs Book Final.indd 33 1/4/2558 18:12:45

34 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศตาม บรบิ ทของ UNFCCC แม้ว่าคำ�จำ�กดั ความของ NAMAs นัน้ ไม่ได้ถกู ก�ำ หนดไว้อย่างชดั เจน แต่อยา่ งไรกต็ าม หากยึดตามบริบทในการประชุมเจรจาของสมัชชารัฐภาคีอนุสัญญา มติ/ข้อตัดสินใจ ตา่ งๆ ตลอดจนรายละเอยี ดทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การด�ำ เนนิ การแลว้ สามารถอธบิ ายลกั ษณะ ของ NAMAs ไดว้ า่ Nationally Appropriate Mitigation Actions (NAMAs) NAMAs คอื การด�ำ เนนิ งานลดปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทม่ี คี วาม เหมาะสม เปน็ ไปตามบรบิ ทของแตล่ ะประเทศ โดยภาคสี ามารถแสดงเจตจ�ำ นง NAMAs โดยความสมคั รใจตอ่ ส�ำ นกั เลขาธกิ ารอนสุ ญั ญาฯ ซงึ่ การด�ำ เนนิ การลด กา๊ ซเรอื นกระจกดังกล่าวจะต้องตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (Measuring, Reporting and Verification: MRV) ได้ เพ่ือติดตามประเมินผลความคืบหน้า ในระดับตา่ งๆ ของการดำ�เนินงานได้ ทั้งน้ี NAMAs สามารถทำ�ไดใ้ น 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1) ด�ำ เนนิ การโดยใชก้ ารสนับสนนุ ภายในประเทศ (Domestically Supported NAMAs) และ 2) การขอรบั การสนบั สนนุ ระหวา่ งประเทศ (Internationally Supported NAMAs) โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1) การดำ�เนินการโดยใช้การสนับสนุนภายในประเทศ (Domestic NAMAs) คือการดำ�เนนิ การลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกใดๆ ก็ตาม ท่ีมีความเหมาะสม ตามบริบทของประเทศ ในขณะทกี่ ารดำ�เนินงานดงั กลา่ วใช้ทรพั ยากร เงนิ ลงทุน NAMAs Book Final.indd 34 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรอื นกระจกท่เี หมาะสมของประเทศ 35 เทคโนโลยี ตลอดจนบุคลากร จากภายในประเทศ ส�ำ หรบั การตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (MRV) นนั้ สามารถกระท�ำ ไดต้ ามความเหมาะสมและความพรอ้ ม ของประเทศเชน่ กนั โดยแนวทางการ MRV ของ Domestic NAMAs ตามข้อ ตดั สินใจของ UNFCCC น้นั จะกล่าวถึงในบทตอ่ ไป 2) การขอรบั การสนบั สนนุ ระหวา่ งประเทศเพอื่ สนบั สนนุ การลดกา๊ ซเรอื นกระจก (Internationally Supported NAMAs) การสนับสนุนด้านเงินทุน การ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และเสริมสร้างศักยภาพในการดำ�เนินการให้กับประเทศ กำ�ลังพัฒนา จึงมีความสำ�คัญในการเร่งเสริมให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจกใน ประเทศกำ�ลังพัฒนา ดังนั้นประเทศกำ�ลังพัฒนาจึงสามารถขอรับการสนับสนุน จากประเทศพัฒนาแล้วได้ และถูกจัดให้เป็น “Internationally Supported NAMAs” ซง่ึ โดยทว่ั ไปแนวทางการ MRV ส�ำ หรบั Internationally Supported NAMAs นน้ั จะเปน็ ไปตามขอ้ ก�ำ หนดของผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ในขณะทป่ี รมิ าณกา๊ ซ เรอื นกระจกทล่ี ดได้นนั้ จะเป็นของประเทศทด่ี ำ�เนินการ NAMAs Book Final.indd 35 1/4/2558 18:12:45

36 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS ประเด็นทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั NAMAs • การตรวจวัด รายงานผล และทวนสอบ (Measuring, Reporting and Verification: MRV) เปน็ กระบวนการตดิ ตามประเมนิ ผลความคบื หนา้ ใน ระดบั ตา่ งๆ ของการด�ำ เนนิ งาน เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจในผลการด�ำ เนนิ งาน ลดกา๊ ซเรอื นกระจกดังกล่าว • รายงานการด�ำ เนนิ การลดกา๊ ซเรอื นกระจกรายสองป(ี Biennial Update Report: BUR) จากผลการประชมุ COP17/CMP7 ไดม้ แี นวคดิ ใหป้ ระเทศ ก�ำ ลงั พฒั นามกี ารจดั ท�ำ รายงานราย 2 ปี ซึ่งรายงานดงั กลา่ วประกอบด้วย บญั ชกี า๊ ซเรอื นกระจกของประเทศ รายงานกจิ กรรมการลดกา๊ ซเรอื นกระจก รวมถงึ การวเิ คราะหผ์ ลกระทบและระเบยี บวธิ กี าร สมมตุ ฐิ านความกา้ วหนา้ ในการด�ำ เนนิ การและขอ้ มมลู MRV ในประเทศและความตอ้ งการดา้ นการ เงิน เทคโนโลยี การพัฒนาศกั ยภาพและการสนบั สนนุ ท่ไี ด้รบั หรอื กล่าวได้ วา่ รายละเอยี ดในการดำ�เนนิ NAMAs นัน้ จะถกู รายงานในรายงานราย 2 ปนี ั่นเอง • NAMAs Registry สำ�หรับ Internationally Supported NAMAs การเขา้ ถงึ กลไก/สถาบนั ตลอดจนหนว่ ยงาน ทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ ทงั้ ดา้ นการ เงิน เทคโนโลยี และการเสริมศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกสำ�หรับ ประเทศก�ำ ลงั พฒั นานน้ั มคี วามส�ำ คญั ตอ่ การด�ำ เนนิ การ ในการน้ี ขอ้ ตดั สนิ ใจ COP ไดใ้ หส้ �ำ นกั เลขาธกิ ารฯ พฒั นาแพลตฟอรม์ ออนไลนข์ นึ้ เพอ่ื อ�ำ นวย ความสะดวกแก่ประเทศกำ�ลังพัฒนาและกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วเพื่อเป็น พนื้ ทใ่ี นการแจง้ ความประสงคเ์ พอ่ื ขอรบั ใหก้ ารสนบั สนนุ และเกดิ การตกลง กนั ของทัง้ สองฝา่ ย ในการดำ�เนินการ NAMAs ต่อไป NAMAs Book Final.indd 36 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรือนกระจกท่ีเหมาะสมของประเทศ 37 • การใหค้ �ำ ปรกึ ษาและวเิ คราะหร์ ะดบั นานาชาติ (International consul- tation and analysis : ICA) คอื กระบวนการให้คำ�ปรึกษาและวิเคราะห์ ระดบั นานาชาตติ อ่ รายงานการด�ำ เนนิ การลดกา๊ ซเรอื นกระจกรายสองปี ใน การประชมุ COP 17 ไดม้ ีการรับรองรูปแบบและแนวทาง ICA วา่ จะตอ้ งไม่ เป็นการกา้ วก่าย ไมไ่ ด้เปน็ การลงโทษ และต้องเคารพอธิปไตยของรฐั ภาคี โดยมจี ดุ มงุ่ หมายของการ ICA คือเพ่ือเพิ่มความโปรง่ ใสของการด�ำ เนนิ งาน อ�ำ นวยความชว่ ยเหลอื ดา้ นการลดกา๊ ซเรอื นกระจกแกป่ ระเทศก�ำ ลงั พฒั นา ซง่ึ การดำ�เนินการน้ันจะอยูภ่ ายใต้ SBI NAMAs Book Final.indd 37 1/4/2558 18:12:45

38 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS NAMAs Registry NAMAs Registry ได้รับการ IV. Other NAMAs, for recognition พัฒนาขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหน่ึง V. Information on support สนับสนุนการดำ�เนินงาน VI. Supported NAMAs NAMAs ของรัฐภาคี โดย ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2558 การส่ือสารข้อมูลใน NA- พบว่ามีการลงทะเบียนเพ่ือขอรับการ MAs Registry ของภาคีนั้น สนับสนุนในการเตรียมการ NAMAs เป็นไปโดยความสมัครใจ 38 รายการ มีการลงทะเบยี นเพ่อื ขอรบั แพลตฟอร์มน้ีประกอบด้วย การสนับสนุนเพ่ือการดำ�เนินการ 42 ข้อมมูล 6 สว่ นไดแ้ ก่ รายการ และการลงทะเบียน NAMAs สำ�หรบั การ recognition มี 7 รายการ I. Country pages ในขณะแหล่งให้การสนับสนุนมีการลง II. NAMAs seeking support for ทะเบยี นทง้ั สนิ้ 10 แหลง่ และไดม้ บี นั ทกึ การจับคกู่ ารสนับสนุน 2 รายการ preparation III. NAMAs seeking support for implementation NAMAs Book Final.indd 38 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนนิ งานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี หมาะสมของประเทศ 39 NAMAs registry Interface ที่มา http://www4.unfccc.int/sites/nama/SitePages/Home.aspx NAMAs Book Final.indd 39 1/4/2558 18:12:45

40 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS บทท่ี 4 สถานการณก์ ารดำ�เนินงานลด กา๊ ซเรือนกระจกและรูปแบบการแสดง เจตจำ�นงในการดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือน กระจกของประเทศกำ�ลงั พัฒนา ประเทศไทยได้แสดงเจตจำ�นงการดำ�เนินการลดก๊าซเรือนกระจกท่ีเหมาะสมของ ประเทศ (Nationally Appropriate Mitigation Actions) หรอื NAMAs ตอ่ ทป่ี ระชมุ อนสุ ญั ญาฯ สมยั ที่ 20 ณ กรงุ ลมิ า่ ประเทศเปรู เม่ือวันท่ี 9 ธันวาคม 2557 โดยจะ ลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกในประเทศร้อยละ 7 ถึง 20 ในภาคพลังงานและภาค การขนสง่ ใหต้ �ำ กวา่ ระดบั การปลอ่ ยในการด�ำ เนนิ งานตามปกติ (Business as usual) ภายในปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นการแสดงให้ประชาคมโลกเห็นว่าประเทศไทยให้ความ สำ�คญั ตอ่ การมสี ว่ นร่วมรบั ผิดชอบแกไ้ ขปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเทศไทยเป็นประเทศลำ�ดับที่ 58 ในการเสนอ NAMAs อย่างเป็นทางการ ต่อ อนุสัญญาฯ (UNFCCC) โดยการด�ำ เนนิ งานดังกลา่ วมีความสอดคล้องกบั แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 ซึ่งเสรมิ สร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศไปสู่การพฒั นาแบบเศรษฐกจิ และสังคมคารบ์ อนต�ำ อย่างยงั่ ยนื NAMAs Book Final.indd 40 1/4/2558 18:12:45

การดำ�เนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ 41 การดำ�เนินการลดก๊าซเรือนกระจกท่ี ความประสงค์ในการดำ�เนินการตาม เหมาะสมของประเทศจะนำ�ไปสู่การ แหล่งการการสนับสนุนทั้งที่เป็นการ เปล่ียนแปลงทางด้านสงั คม สิง่ แวดล้อม ดำ�เนินการภายในประเทศ หรือการ และการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ และ ขอรับการสนับสนุนจากต่างประเทศ ยงั สรา้ งผลประโยชนร์ ว่ ม (Co-benefits) การแสดงรูปแบบ/ประเภทของการลด ในด้านความม่ันคงทางด้านพลังงาน กา๊ ซเรอื นกระจกนน้ั กม็ คี วามหลากหลาย คุณภาพชีวิตของประชาชน และอ่ืน ๆ เชน่ กนั ไม่ว่าจะเปน็ การตัง้ เป้าหมายใน ตามมาอกี มากมาย เชิงตัวเลขโดยการกำ�หนดค่าเป้าหมาย จากการรวบรวมข้อมลู NAMAs ทเ่ี สนอ รวม (absolute target) การลดเทียบ โดยประเทศกำ�ลังพัฒนาต่างๆ ตาม กับ BAU การลดเทียบกับปีฐาน การ เอกสารของสำ�นักงานเลขาธิการอนุ ลดเทียบกับ GDP ตลอดจนการก�ำ หนด สญั ญาฯ พบวา่ ประเทศก�ำ ลงั พฒั นา 58 ค่าเป้าหมายในการลดเป็น climate ประเทศและ 1 กลมุ่ ประเทศ ไดม้ หี นงั สอื neutrality หรอื การก�ำ หนดรูปแบบใน แสดงเจตจ�ำ นง (Pledge) ขอ้ มูลด�ำ เนิน การลดเปน็ ยทุ ธศาสตรห์ รอื แผนงาน การ งาน NAMAs ไปยงั สำ�นกั เลขาธกิ ารอนุ กำ�หนดนโยบายหรือโปรแกรม ตลอด สัญญาฯ แล้ว อาทิ ไทย อินเดีย จีน จนการดำ�เนินการในรูปแบบโครงการ บราซิล ชิลี เปรู แอฟริกาใต้ บอสวา เปน็ ตน้ ดังแสดงในตารางท่ี 4-1 น่า กาน่า แคเมอรูน ภูฎาน มัลดีฟส์ ดังที่กล่าวไปแล้วว่า รูปแบบการแสดง อินโดนีเซีย กัมพูชา สิงคโปร์ เป็นต้น เจตจ�ำ นงในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกของ โดยรปู แบบการแสดงเจตจ�ำ นง (NAMAs ประเทศกำ�ลังพัฒนาน้ันแตกต่างตาม pledge) ของประเทศต่างๆ นั้นมีความ บรบิ ทของแตล่ ะประเทศ โดยตวั อยา่ งรปู แตกต่างตามบริบทของแต่ละประเทศ แบบและการก�ำ หนดเงอ่ื นไขของประเทศ โดยการแสดงเจตจำ�นงอาจมีการแจ้ง ต่างๆ ดังแสดงในตารางท่ี 4-2 NAMAs Book Final.indd 41 1/4/2558 18:12:46

NAMAs Book Final.indd 42 ตารางท่ี 4-1: ลักษณะหนังสอื แสดงเจตจำ�นงจากรฐั ภาคตี ่างๆ 42 Type Unilateral NAMAs Supported NAMAs Not available NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS Climate neutrality Maldives Bhutan, Costa Rica, Papua Ne Guinea Below business Indonesia, Israel, Brazil, Chile, Mexico, Papua New Emission targets Korea, Singapore Guinea, South Africa Below base year Republic of Moldova Antigua and Barbuda, Marshall Islands Emissions per GDP China, India Strategies and plans Afghanistan, Egypt, Georgia, Mada- Algeria, Ivory Coast, Eritrea, Israel, gascar, Maldives, Mauritius, Mexico, Sierra Leone, Swaziland, Togo Sierra Leone Policies and programmes Argentina, Botswana, Argentina, Botswana, Brazil, Central Armenia, Benin, Cameroon, Congo, Colombia, Ghana African Republic, Chad, Colombia, Ivory Coast, Eritrea, Gabon, Indone- Ghana, Jordan, Madagascar, Sierra sia, Macedonia, the former Yugoslav Leone, Tunisia, Mexico, Peru, South Republic, Malai, Mauritania, Momgo- Africa lia, Morocco, Peru, San Marino, Sierra Leone, Tajikistan, Togo Central African Republic, Chad, Benin, Cambodia, Cameroon, Mac- Congo, Ethiopia, Ghana, Jordan, edonia, the former Yugoslav Re- 1/4/2558 18:12:46 Projects Ghana, Ethiopia Madagascar, Sierra Leone, Swazi- public, Momgolia, Morocco, Sierra land, Tunisia, Mexico, Peru Leone,Congo,Gabon, Macedonia,

NAMAs Book Final.indd 43 ตารางที่ 4-2: NAMAs by some developing countries Country NAMAs/Pledges Conditions China Lower -CO452%embisysi2o0n2s0pecor umnpitaorefdGDtoP “…will be implemented in accordance with the principles and provisions of the UN- by 40 FCCC, in particular Article 4, paragraph 7…” India the 2005 level Brazil Reduce the emissions intensity of “..will be implemented in accordance with the principles and provisions of the UNFCCC, การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ its GDP by 20-25% by 2020 in com- in particular Article 4, paragraph 7…” Mexico parison to the 2005 level South Africa Reduce emissions by 36.1% - 38.9% “..will be implemented in accordance with the principles and provisions of the Con- below BAU by 2020 vention, particularly Article 4, Para 1 and 7…and The use of the clean development Chile mechanism established under the Kyoto Protocol would not be excluded” Reduce emissions by 30% below “… provided the provision of adequate financial and technological support from BAU in 2020. developed countries as part of a global agreement…” Reduce emissions by 34% below “…the provisions of Article 4 paragraph 1 of the Convention….. In accordance with BAU by 2020 Article 4.7 of the Convention, the extent to which this action will be implemented depends on the provision of finance resources, the transfer of technology and capacity building supported by developed countries. 1/4/2558 18:12:46 Achieve a 20% deviation below BAU “..To accomplish this objective Chile will need a relevant level of international support.” emission growth trajectory by 2020 43

44 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS การแสดงเจตจำ�นงของประเทศกำ�ลัง สถานะ รปู แบบ และการแสดงเจตจ�ำ นง พัฒนาที่เป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ก า ร ล ด ก๊ า ซ เ รื อ น ก ร ะ จ ก ข อ ง ก ลุ่ ม รายใหญ่ของโลกดังแสดงในตารางท่ี 3 ประเทศ ASEAN และกลุ่มประเทศ จีน และอินเดียกำ�หนดเปา้ หมายในการ พัฒนาน้อยท่ีสุด (Lest Developing ลดก๊าซเรือนกระจกเทยี บกับ GDP หรอื Country) เปน็ ดงั ตารางที่ 4-3 และ 4-4 ทีเ่ รยี กวา่ CO2 intensity ในขณะท่ีบาง ตามลำ�ดับ ประเทศเลือกกำ�หนดรูปแบบในการลด ระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียน มี เทยี บกบั BAU อาทเิ ชน่ บราซลิ แมก็ ซโิ ก เพียง 4 ประเทศที่ได้ส่งหนังสือแสดง และ ชิลี เป็นต้น แต่สำ�หรับการระบุ เจตจำ�นงไปยังสำ�นักเลขาธิการฯ ได้แก่ เง่ือนไขในการดำ�เนินการนั้นมีความ ประเทศอินโดนิเชีย กัมพูชา สิงคโปร์ คล้ายกัน โดยส่วนใหญ่ได้ระบุถึง การ และประเทศไทย ส่วนประเทศที่เหลือ ดำ�เนินการท่ีต้องเป็นไปตามหลักการ ยังไม่ได้ได้ส่งหนังสือแสดงเจตจำ�นงไป และบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ มาตรา ยังสำ�นกั เลขาธกิ ารฯ ท่ี 2 วรรค 4 หรือคือต้องได้รับการ สนับสนุนการดำ�เนินการจากประเทศ พฒั นาแลว้ นั่นเอง NAMAs Book Final.indd 44 1/4/2558 18:12:46

NAMAs Book Final.indd 45 ตารางท่ี 4-3: NAMAs pledges by ASEAN countries Country NAMAs/Pledge Conditions Thailand Thailand will endeavor, on a voluntary basis, to reduce The communicated information on NAMAs as annouced การดำ�เนนิ งานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ its GHG emissions in the range of 7 to 20 percent below will not have a legally binding character, and will be Indonesia the Business as usual (BAU) in energy and transportation implemented in accordance with the principles and Cambodia sectors in 2020, subject to the level of international sup- provisions of the UNFCCC, in particular Article 4 paragraph ports provided in the forms of technology development 7, and taking into account the national circumstances. Singapore and transfer, finance, and capacity building for NAMAs preparation and implementation. Reduce emissions by 26% by 2020 แสดงเจตจ�ำ นงเพอ่ื ให้เป็นไปตาม Copenhagen Accord Cambodia has been implementing a pilot project within No information the framework of Reducing Emissions from Deforesta- tion and Forest Degradation in Developing countries (REDD) since 2009, as part of its responsibility in tackling climate change Reduce emissions by 16% below BAU by 2020 “Singapore therefore wishes to associate with the Ac- cord…..contingent on a legally binding global agreement 1/4/2558 18:12:46 in which all countries implement their commitments in good faith….” 45

NAMAs Book Final.indd 46 ตารางท่ี 4-4: NAMAs pledges by LDC countries 46 Country NAMAs/Pledge Conditions NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS Brunei Laos Not yet submitted NAMA Malaysia Myanmar Philippines Viet Nam Maldives Achieve carbon neutrality as a country by 2020. associated itself with the Copenhagen Accord, Para 5 Afghanistan goes on to state that “nationally appropriate actions seeking international support will be recorded in a registry along with relevant technology, finance and capacity building support.” • Preparation of the Initial National Communication, With regards to the Copenhagen Accord of 18th January which will include specific mitigation strategies and 2010 adopt COP at its 15 session activities appropriate for the national context; • Compilation of National GHG Inventory Ethiopia Plans to implement the following NAMAs by 2020: “..We hope that these actions will be supported finan- cially and technologically as promised by the Copen- 1/4/2558 18:12:46 hagen Accord. In any event…”

การดำ�เนินงานลดกา๊ ซเรอื นกระจกทีเ่ หมาะสมของประเทศ 47 หนงั สอื แสดงเจตจ�ำ นงของประเทศภาคี ไปยงั ส�ำ นกั เลขาธกิ ารอนสุ ัญญา UNFCCC ไทย NAMAs Book Final.indd 47 1/4/2558 18:12:47

48 NATIONALLY APPROPRIATE MITIGATION ACTIONS ไทย ทีม่ า http://unfccc.int/meetings/cop_15/copenhagen_accord/items/5265.php NAMAs Book Final.indd 48 1/4/2558 18:12:48