Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Description: แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟตุ พร้ินท์ สำ� หรบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น องค์การบริหารจดั การก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม www.tgo.or.th : [email protected] องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  I กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 

แนวทางการประเมินคาร์บอนฟตุ พริ้นท์ สำ� หรบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ พิมพค์ ร้ังที่ 1: กนั ยายน 2561 จำ� นวน: 1,000 เลม่ จัดทำ� โดย: องค์การบริหารจดั การก๊าซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน) 120 หมทู่ ่ี 3 ช้นั 9 อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติฯ ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรงุ เทพฯ 10210 ท่ีปรึกษา: ดร.พงษว์ ภิ า หล่อสมบรู ณ์ นายเจษฎา สกุลคู กองบรรณาธกิ าร: นายวิษณุ ผลโพธิ์ นางสาววรารตั น์ ชะอมุ่ เครือ นางสาวเมธ์วดี เสรเี สถยี รทรพั ย์ นางวณี า คำ� วิชัย นายพหล เศวตจนิ ดา นางสาวณัฐสริ ี จุลินรกั ษ์ นายนพพร จนั ทพล นางสาวชนนั ดา หอมกลนิ่ จันทร์ นายพิศทุ ธ์ิ โนนโคกสงู นางสาวยโสธรา บญุ กัน II  |  แนวทางการประเมนิ คาร์บอนฟตุ พร้ินทส์ �ำหรบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

ค�ำนำ� องค์กรปกครองส่วนถ่ินมีบทบาทที่ส�ำคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ด�ำเนินการป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษในเขตพ้ืนที่ท้องถ่ินของตน อยา่ งไรกต็ าม การขยายตวั ของชมุ ชนเมอื งอยา่ งรวดเรว็ ทงั้ ในเชงิ จำ� นวนและขนาดของเมอื ง สง่ ผลกระทบโดยตรงกบั บรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มและสง่ ผลใหพ้ นื้ ทชี่ มุ ชน เขตเมอื งมกี ารปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสชู่ นั้ บรรยากาศในอตั ราทสี่ งู ตามความเจรญิ ของเมอื ง ไปดว้ ย เนื่องจากมกี ารใช้พลงั งาน การเกดิ ขยะมูลฝอย การลดลงของพนื้ ที่สีเขียว ก๊าซเรือนกระจกเปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ของการเกิดภาวะโลกรอ้ น สง่ ผลกระทบตอ่ วิถกี าร ด�ำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงจ�ำเป็นต้องมีส่วนช่วย บรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อนผ่านการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรม ภายในองค์กรอย่างมีประสิทธภิ าพเพอ่ื ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในท้องถ่ิน องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน) ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื เลม่ นสี้ ำ� หรบั เปน็ แนวทางในการประเมนิ ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทปี่ ลอ่ ยจากกจิ กรรมทงั้ หมดขององคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แบบเขา้ ใจงา่ ย เพอื่ ใชใ้ นการเผยแพร่ และใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถน�ำไปใช้ได้จริง ซ่ึงจะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของตน อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และกา้ วไปสกู่ ารเปน็ เมอื งคารบ์ อนตำ�่ (Low Carbon City) ไดใ้ นทสี่ ดุ องค์การบรหิ ารจดั การก๊าซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  i กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 

สารบญั คำ� นยิ าม 1 1. คารบ์ อนฟตุ พริน้ ทข์ ององคก์ ร คอื อะไร 5 2. คารบ์ อนฟตุ พริ้นทข์ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน คอื อะไร 6 3. ท�ำไมต้องค�ำนวณคารบ์ อนฟตุ พร้ินท์ขององค์กร 6 4. ก๊าซเรือนกระจกมีกช่ี นดิ 7 5. คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก 10 6. จะแสดงค่าคารบ์ อนฟตุ พร้นิ ท์ได้อยา่ งไร 11 7. ใครบา้ งท่เี ก่ยี วข้อง 12 8. คำ� นวณคารบ์ อนฟุตพร้ินท์ไดอ้ ยา่ งไร 15 ขัน้ ตอนที่ 1 : การก�ำหนดขอบเขตขององค์กรและการดำ� เนนิ งาน 15 ข้นั ตอนท่ี 2 : การวิเคราะห์แหลง่ ปลอ่ ยและแหลง่ ดดู กลับกา๊ ซเรือนกระจก 24 27 ข้ันตอนที่ 3 : การคัดเลอื กวิธีการค�ำนวณ 28 ขั้นตอนท่ี 4 : การเก็บขอ้ มูล 30 ขั้นตอนที่ 5 : การคดั เลอื กคา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก 32 ขน้ั ตอนท่ี 6 : การคำ� นวณปรมิ าณการปลอ่ ยและดูดกลบั ก๊าซเรือนกระจก 54 ขน้ั ตอนท่ี 7 : รายงานปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกิจกรรมของ 57 องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ 63 ขน้ั ตอนที่ 8 : การทวนสอบขอ้ มูลปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกและปรับปรุงรายงาน 9. เอกสารอ้างอิง ii  |  แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ส�ำหรบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

คำ� นยิ าม กา๊ ซเรือนกระจก สารประกอบในรูปของก๊าซในบรรยากาศท้ังที่มีอยู่ใน (Greenhouse Gas : GHG) ธรรมชาตแิ ละสรา้ งขน้ึ โดยมนษุ ยซ์ งึ่ สามารถดดู ซบั และปลอ่ ย แหลง่ ปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก รงั สที คี่ วามยาวคลนื่ อยใู่ นชว่ งความถขี่ องรงั สอี นิ ฟราเรดทถี่ กู (Greenhouse Gas Source) ปล่อยออกมาจากพ้ืนผวิ โลกชน้ั บรรยากาศและกอ้ นเมฆ แหล่งดูดซบั กา๊ ซเรอื นกระจก แหลง่ หรอื กระบวนการทปี่ ลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกสบู่ รรยากาศ (Greenhouse Gas Sink) แหล่งกักเก็บก๊าซเรอื นกระจก แหล่งหรือกระบวนการซ่ึงก๊าซเรือนกระจกถูกดึงออกจากช้ัน (Greenhouse Gas Reservoir) บรรยากาศ แหล่งหรือองค์ประกอบทางกายภาพของชั้นชีวภาค การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (ไบโอสเฟียร์) ชั้นธรณีภาค (จีโอสเฟียร์) หรืออุทกภาค (Greenhouse Gas Emission) (ไฮโดรสเฟียร์) ซ่ึงสามารถเก็บและสะสมก๊าซเรือนกระจก การดูดกลับกา๊ ซเรอื นกระจก ทถ่ี กู ดกั จบั จากแหลง่ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกหรอื กา๊ ซเรอื นกระจก (Greenhouse Gas Removal) ทีถ่ ูกดึงออกจากบรรยากาศโดยแหลง่ ดดู ซับกา๊ ซเรือนกระจก หมายเหตุ • มวลสารทง้ั หมดของคารบ์ อนทอ่ี ยใู่ นแหลง่ กกั เกบ็ กา๊ ซเรอื น กระจก ณ จดุ ใดๆ ในชว่ งเวลาหนง่ึ ถอื เปน็ สตอ็ คของคารบ์ อน ของแหล่งกกั เก็บกา๊ ซเรอื นกระจก • แหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกหนึ่งสามารถถ่ายก๊าซเรือน กระจกไปยงั แหล่งกักเกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจกอื่นได้ • การสะสมของก๊าซเรือนกระจกจากแหล่งปล่อยก๊าซเรือน กระจก ก่อนท่ีจะเข้าไปสู่ช้ันบรรยากาศ และการเก็บสะสม ของก๊าซเรือนกระจกในแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจก ถือว่า เปน็ การดกั จบั และเกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจก (GHG Capture and Storage) มวลสารทงั้ หมดของกา๊ ซเรอื นกระจกทถี่ กู ปลอ่ ยสบู่ รรยากาศ ในชว่ งเวลาหนึง่ มวลสารท้ังหมดของก๊าซเรือนกระจกที่ถูกดึงออกจาก บรรยากาศในช่วงเวลาหน่ึง องคก์ ารบริหารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 

คา่ การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ค่าสัมประสิทธ์ิซ่ึงค�ำนวณได้จากปริมาณการปล่อยและดูด (Emission Factor) กลับก๊าซเรือนกระจกต่อหนึ่งหน่วยกิจกรรม (อ้างอิงจาก การแสดงปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจก IPCC’s glossary) (Greenhouse Gas Assertion) การแสดงขอ้ มลู ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขน้ึ ทดี่ ำ� เนนิ การ คารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ทข์ ององค์กรหรอื โดยหนว่ ยงานรับผิดชอบ รายงานขอ้ มูลปรมิ าณการปลอ่ ย การแสดงแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก, แหล่งดูดกลับก๊าซ ก๊าซเรอื นกระจกขององคก์ ร เรอื นกระจก, ปรมิ าณการปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก (Carbon Footprint for ขององค์กร Organization : CFO) รายงานกา๊ ซเรือนกระจก เอกสารการรายงานผลข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกเพื่อใช้ (Greenhouse Gas Report) สื่อสารให้กับกล่มุ เป้าหมายท่ีน�ำขอ้ มูลไปใชง้ าน ศักยภาพในการเกิดภาวะโลกรอ้ น ค่าศกั ยภาพของก๊าซเรอื นกระจกในการท�ำให้โลกรอ้ น ซ่ึงขึ้น (Global Warming Potential : อยกู่ บั ประสทิ ธภิ าพในการแผร่ งั สคี วามรอ้ นและอายขุ องกา๊ ซ GWP) นน้ั ๆ ในบรรยากาศ โดยคดิ เทยี บกบั การแผร่ งั สคี วามรอ้ นของ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ค�ำนวณได้จากปริมาณก๊าซเรือน ค่าคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ กระจกแตล่ ะชนดิ ทป่ี ลอ่ ยออกมาและแปลงคา่ ใหอ้ ยใู่ นรปู ของ (Carbon Dioxide Equivalent : ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยใช้ค่าศักยภาพในการ CO2eq) ท�ำใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นในรอบ 100 ปี (Global Warming ปีฐาน (Base Year) Potential 100 year; GWP 100 yr) ของ IPCC ท่ีเป็นคา่ ลา่ สดุ เป็นเกณฑ์ ค่าแสดงความสามารถในการท�ำให้โลกร้อนเม่ือเทียบในรูป ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งค�ำนวณได้จากมวลของ ก๊าซเรือนกระจกคูณด้วยค่าศักยภาพในการท�ำให้เกิดภาวะ โลกรอ้ น ระยะเวลาที่ถูกก�ำหนดเพ่ือจุดประสงค์ในการเปรียบเทียบ สถานภาพการปล่อยและดดู กลับปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก หมายเหตุ ระยะเวลาทถี่ กู กำ� หนดเปน็ ชว่ ง อาจเปน็ หนงึ่ ปหี รอื เปน็ คา่ เฉล่ยี จากการเกบ็ ขอ้ มูลหลายปีกไ็ ด้ 2  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟุตพรน้ิ ท์สำ� หรบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ

สาธารณปู โภค (Facility) อุปกรณ์ (ทง้ั ท่ีเป็นสนิ ทรพั ย์ และทรัพย์สนิ ) หรอื หนว่ ยผลติ ท่ี องคก์ ร (Organization) อยู่ในขอบเขตภาระหนา้ ทีข่ ององค์กร กลมุ่ เปา้ หมาย (Intended User) หนว่ ยงานราชการ สถาบนั บรษิ ทั หา้ งรา้ น สำ� นกั งาน กจิ การ ระดับของการรับรอง (Level of หรือส่วนหนึ่งของบริษัท ห้างร้าน ส�ำนักงาน กิจการ Assurance) หนว่ ยราชการหรอื สถาบนั ไมว่ า่ จะอยใู่ นรปู บรษิ ทั หรอื ไม่ เปน็ ความมสี าระสำ� คัญ (Materiality) มหาชนหรอื เอกชนซึ่งมีหนา้ ทีแ่ ละการบรหิ ารงานของตนเอง บคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลผตู้ อ้ งการนำ� ผลการประเมนิ ปรมิ าณกา๊ ซ การติดตามผล (Monitoring) เรือนกระจกขององคก์ รไปใชเ้ พอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ หมายเหตุ กลมุ่ เปา้ หมายอาจเปน็ ลกู คา้ ผมู้ สี ว่ นรว่ มรบั ผดิ ชอบ ผู้ควบคุมโครงการก๊าซเรือนกระจก ผู้ดูแลหรือผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย เชน่ ชุมชนในทอ้ งที่ องคก์ รรฐั หรือเอกชน เป็นตน้ ระดบั ของการรบั รอง สามารถพจิ ารณาในขน้ั ตอนการทวนสอบ โดยจะอธิบายถึงความละเอียดที่ผู้ทวนสอบใช้เพื่อตรวจสอบ ความถูกตอ้ งของข้อมูล หมายเหตุ ระดับของการรับรอง แบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดบั การรบั รองแบบสมเหตสุ มผล (Reasonable) และ ระดับการรบั รองแบบจำ� กัด (Limited) ข้อผิดพลาด การละเวน้ หรอื การบิดเบือนใดๆ ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การรบั รองกา๊ ซเรอื นกระจกและสง่ ผลสบื เนอื่ งไปสกู่ ารตดั สนิ ใจของผู้ตอ้ งการน�ำไปใช้งาน หมายเหตุ หลกั การนจ้ี ะนำ� ไปใชใ้ นการวางรปู แบบการทวนสอบ และการวางแผนการเก็บตัวอย่างเพื่อพิจารณากระบวนการ อันจะน�ำไปสู่การลดความเส่ียงที่ผู้ทวนสอบอาจมองข้าม ความมสี าระสำ� คญั นจ้ี ะบง่ ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ขอ้ มลู ซง่ึ หากถกู ละเวน้ หรอื บดิ เบอื นไป จะทำ� ใหก้ ารรบั รองปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก ตอ่ ผู้ต้องการน�ำไปใชง้ านเกดิ ความผิดพลาดได้ การประเมินอย่างต่อเนื่องหรือเป็นระยะของการปล่อยและ ดูดกลบั ปริมาณกา๊ ซเรอื นกระจกหรอื ข้อมูลปรมิ าณกา๊ ซเรือน กระจกอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  3 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 

การทวนสอบ (Verification) กระบวนการทท่ี ำ� อยา่ งเปน็ ระบบ มคี วามเปน็ อสิ ระ และบนั ทกึ เป็นลักษณ์อักษร เพื่อประเมินการแสดงปริมาณก๊าซเรือน หลกั เกณฑท์ ีใ่ ชส้ �ำหรับการทวนสอบ กระจก เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั หลกั เกณฑท์ ใ่ี ชส้ ำ� หรบั การทวนสอบ (Verification Criteria) นโยบาย วิธกี ารดำ� เนินการ หรอื ข้อก�ำหนดท่ีใชใ้ นการอ้างอิง ผทู้ วนสอบ (Verifier) เมือ่ เปรยี บเทยี บกับหลกั ฐานตา่ งๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลอิสระ ท่ีมีความสามารถและมีหน้าที่ ความไม่แนน่ อน (Uncertainty) รับผิดชอบในกระบวนการทวนสอบปริมาณก๊าซเรือนกระจก ขององคก์ ร ปจั จยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การกระจดั กระจายของขอ้ มลู ทอ่ี าจสง่ ผล ตอ่ ผลการคำ� นวณเชงิ ปริมาณ 4  |  แนวทางการประเมนิ คาร์บอนฟุตพรนิ้ ทส์ ำ� หรับองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

1. คารบ์ อนฟตุ พร้ินท์ขององค์กร คืออะไร คาร์บอนฟตุ พริ้นท์ขององคก์ ร (Carbon Footprint for Organization) หรอื รายงาน ข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร เป็นการค�ำนวณปริมาณก๊าซเรือน กระจกทป่ี ลอ่ ยออกมาจากกจิ กรรมตา่ งๆ ขององคก์ ร เช่น การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การใช้ ไฟฟา้ การจดั การของเสยี และการขนสง่ วดั ออกมาในรปู คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ (CO2 equivalent : CO2eq) แบ่งการคำ� นวณออกเปน็ 3 ขอบเขต (Scope) ได้แก่ ขอบเขตท่ี 2 ขอบเขตท่ี 1 ขอบเขตที่ 3 การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก การปล่อยก๊าซเรอื นกระจก การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก ทางอ้อมจากการใชไ้ ฟฟา้ ทางตรง ทางออ้ มอื่นๆ รูปที่ 1 ขอบเขตการประเมนิ รายงานข้อมูลกา๊ ซเรอื นกระจกขององคก์ ร จากรูปที่ 1 ขอบเขตการประเมนิ รายงานข้อมลู กา๊ ซเรือนกระจกขององค์กร มีการแบ่ง กจิ กรรมออกเปน็ 3 ขอบเขต ดังนี้ องคก์ ารบริหารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  5 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 

ขอบเขตที่ 1  กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงจากการด�ำเนิน งานขององคก์ ร (Direct Emissions) ประกอบดว้ ย การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก การเผาไหมท้ อี่ ยกู่ บั ที่ (Stationary Combustion) การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขนึ้ จาก การเผาไหม้ที่มีการเคล่อื นที่ (Mobile Combustion) การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทเี่ กิดข้ึน จากการรัว่ ไหลและอื่นๆ (Fugitive Emissions) ยกตวั อยา่ งเช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิงจาก การใชง้ านของอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งจกั รทอี่ งคก์ รเปน็ เจา้ ของ การผลติ ไฟฟา้ ความรอ้ นหรอื ไอนำ�้ เพื่อใช้ภายในหรือเพื่อจ�ำหน่ายให้แก่องค์กรภายนอก การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดข้ึน จากการใชป้ ยุ๋ ภายในพื้นทขี่ ององคก์ ร เปน็ ต้น ขอบเขตที่ 2  กิจกรรมที่ก่อให้เกดิ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกทางออ้ มจากการใช้ไฟฟา้ (Indirect Emissions from Purchased Electricity) ขอบเขตท่ี 3  กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อมอื่นๆ (Other Indirect Emissions) นอกเหนอื จากทร่ี ะบใุ นขอบเขตที่ 1 และ 2 ซง่ึ สามารถตรวจวดั ปรมิ าณ ก๊าซได้ แต่ไม่ถือเป็นข้อบังคับ ข้ึนอยู่กับองค์กร ยกตัวอย่างเช่น การใช้น�้ำประปา การใช้ กระดาษ การเผาไหมเ้ ชอื้ เพลงิ จากการเดนิ ทาง ไปสมั มนาดว้ ยยานพาหนะสว่ นตวั หรอื ระบบ ขนสง่ สาธารณะของบคุ ลากร เป็นตน้ 2. คารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ทข์ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ คอื อะไร คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ปลอ่ ยออกมาตลอดกระบวนการใหบ้ รกิ ารจากกจิ กรรมตา่ งๆ ใน เขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตั้งแต่การได้มาซึ่งอุปกรณ์ การขนสง่ การให้บรกิ าร การใช้งาน และการจดั การของเสีย 3. ทำ� ไมตอ้ งคำ� นวณคารบ์ อนฟตุ พริ้นท์ขององค์กร การน�ำแนวคิดการค�ำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรหรือการจัดท�ำรายงานข้อมูล ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กรมาใช้ จะช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีปล่อยออกมาตลอดกระบวนการให้บริการจาก กจิ กรรมต่างๆ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ได้ ซึ่งสามารถจำ� แนกสาเหตแุ ละแหล่งของ 6  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์สำ� หรบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทมี่ นี ยั สำ� คญั และนำ� ไปสกู่ ารหามาตรการหรอื แนวทางการบรหิ าร จัดการเพอื่ ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกและมุ่งไปสกู่ ารเปน็ เมืองคารบ์ อนต่�ำ 4. ก๊าซเรอื นกระจกมกี ีช่ นดิ ก๊าซเรือนกระจกมีหลายชนิด ซึ่งก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) มี 7 ชนิด ได้แก่ 4.1 ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide : CO2) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในช้ันบรรยากาศเกิดโดยธรรมชาติและจากการกระท�ำ ของมนุษย์ เช่น การเผาไหม้เช้ือเพลิงฟอสซิลเพ่ือเป็นแหล่งพลังงานในโรงงาน ภาค การขนสง่ หรือเพ่อื น�ำมาผลิตไฟฟา้ นอกจากนก้ี ารตดั ไมท้ �ำลายปา่ ยังเป็นตวั การปลอ่ ย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่ช้ันบรรยากาศ เนื่องจากต้นไม้และป่าไม่สามารถดูดซับ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดไ์ ว้และกลายสภาพเป็นเนือ้ ไม้ 4.2 กา๊ ซมเี ทน (Methane : CH4) แหลง่ ก�ำเนิดของกา๊ ซมเี ทนมีอยมู่ ากมายทง้ั ในธรรมชาติและท่ีเกิดจากการกระทำ� ของมนุษย์ เชน่ การทำ� นาข้าว ปศุสตั ว์ การย่อยสลายซากสิ่งมชี ีวิต ขยะอินทรีย์ที่กำ� ลงั ยอ่ ยสลาย (ในธรรมชาตแิ ละในทีท่ ิง้ ขยะ) การเผาไหมม้ วลชวี ภาพ และการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลิงประเภทถ่านหิน น�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะการเผาไหม้ที่เกิดจาก ธรรมชาติและเกิดจากการเผาไหม้เช้ือเพลิงต่างๆ สามารถท�ำให้เกิดก๊าซมีเทนใน บรรยากาศสูงถงึ ร้อยละ 20 ของก๊าซมีเทนในช้นั บรรยากาศทงั้ หมดและก๊าซมีเทนยงั มี ศกั ยภาพในการทำ� ให้เกิดภาวะโลกรอ้ นสูงกวา่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 25 เท่า (ตาราง ท่ี 1 คา่ ศักยภาพในการท�ำใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น หรือ GWP) และมีอายุสะสมเฉลยี่ ในชัน้ บรรยากาศประมาณ 12 ปี 4.3 กา๊ ซไนตรสั ออกไซด์ (Nitrous Oxide : N2O) ปกตกิ า๊ ซชนดิ นมี้ อี ยใู่ นธรรมชาตจิ ากมหาสมทุ รและจากการยอ่ ยสลายซากสง่ิ มชี วี ติ ในดินโดยแบคทีเรีย แต่ท่มี เี พม่ิ สงู ขึ้นในปจั จบุ ันเนอื่ งมาจากเกษตรกรรม (ส่วนมากจาก องคก์ ารบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)  |  7 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 

การใส่ปุ๋ยท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ) และอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกใน กระบวนการผลิต เช่น อตุ สาหกรรมผลิตเสน้ ใยไนลอน อตุ สาหกรรมเคมแี ละพลาสติก บางชนิด นอกจากน้ียังเกิดจากการเผาไหม้ของเช้ือเพลิงฟอสซิลและวัสดุอินทรีย์อ่ืนๆ ไนตรัสออกไซด์ยังถูกน�ำไปใช้โดยตรง ได้แก่ ใช้เป็นตัวเร่งละอองของเหลว (Aerosol) และยาชา (ก๊าซหัวเราะ) ซ่ึงเมื่อก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึ้นสู่บรรยากาศช้ัน สตราโตสเฟยี ร์ จะทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั กา๊ ซโอโซน ทำ� ใหเ้ กราะปอ้ งกนั รงั สอี ลั ตราไวโอเลต็ ของ โลกลดน้อยลง และไนตรัสออกไซด์เป็นก๊าซเรือนกระจกท่ีมีศักยภาพในการท�ำให้เกิด ภาวะโลกรอ้ นมากกวา่ คารบ์ อนไดออกไซด์ 298 เทา่ และคงอยใู่ นบรรยากาศเปน็ เวลา 114 ปี 4.4 กา๊ ซไฮโดรฟลอู อโรคารบ์ อน (Hydrofluorocarbon : HFCs) ไฮโดรฟลอู อโรคารบ์ อน (HFCs) ถกู นำ� มาใช้ประโยชนส์ ำ� หรับเป็นตวั ทำ� ความเยน็ (ทงั้ เพอ่ื การค้าและใชใ้ นครวั เรือน) ใช้สำ� หรับเครือ่ งปรับอากาศ (ในบา้ น รถ สำ� นกั งาน ฯลฯ) นอกจากนยี้ งั ใช้เป็นสารขยายตัวของโฟม ตัวท�ำละลาย สารสำ� หรบั การดบั เพลิง และตัวเรง่ ละอองของเหลว (Aerosol) ถึงแมจ้ ะถูกปลอ่ ยออกมาในปรมิ าณน้อยแต่จะ สร้างผลกระทบสูงมาก โดยมีค่าศักยภาพในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนมากกว่า คาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดถึง 14,800 เท่า ขึ้นอยู่กับประเภทและมีอายุคงอยู่ใน บรรยากาศสงู สุดถงึ 270 ปี 4.5 กา๊ ซเปอร์ฟลอู อโรคารบ์ อน (Perfluorocarbon : PFCs) ก๊าซเปอร์ฟลูออโรคาร์บอนเป็นก๊าซสังเคราะห์ท่ีเกิดจากกระบวนการผลิตของ โรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท โดยกลุ่มก๊าซฟลูออริเนตสามารถน�ำมาใช้แทนก๊าซ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon : CFCs) ซ่ึงเป็นสารท่ีใช้อยู่ใน ปรับอากาศ ต้เู ย็น สเปรย์ น้�ำยาดบั เพลงิ 4.6 ก๊าซซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (Sulfur Hexafluoride : SF6) กา๊ ซซลั เฟอรเ์ ฮกซะฟลอู อไรดเ์ ปน็ กา๊ ซเรอื นกระจกทม่ี คี า่ ศกั ยภาพในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อนมากที่สุดจากการประเมินของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการ 8  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟตุ พริน้ ท์ส�ำหรับองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

เปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (IPCC) และมอี ายุในบรรยากาศ 3,200 ปี กา๊ ซน้ีถกู นำ� ไป ใชใ้ นดา้ นตา่ งๆ เช่น ยางรถยนต์ ฉนวนไฟฟ้า การผลติ สารกึง่ ตัวนำ� ไฟฟ้า อุตสาหกรรม แมกนีเซยี ม เปน็ ต้น 4.7 ก๊าซไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ (NF3) ก๊าซชนิดนี้ไม่ได้เกิดข้ึนตามธรรมชาติ แต่ภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ใช้ใน กระบวนการผลติ โดยใช้ในการทำ� ความสะอาดหอ้ ง (Chamber) ทใ่ี ช้ส�ำหรบั การใหไ้ อ สารเคมีเกาะติดบนแก้วหรือซิลิคอนเวฟเฟอร์ และก๊าซไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์ยังมีคา่ ศกั ยภาพในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นสงู กวา่ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดถ์ งึ 17,200 เทา่ กา๊ ซเรอื นกระจกทง้ั 7 ชนดิ น้ี ในการรายงานแสดงผลจะอยใู่ นรปู ของกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ เทียบเท่า (Carbon Dioxide Equivalent : CO2eq) โดยเปรียบเทียบคา่ ก๊าซเรือนกระจก ตวั อน่ื ดว้ ยคา่ ศกั ยภาพในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น (Global Warming Potential : GWP) อา้ งองิ จากคมู่ อื การคำ� นวณของคณะกรรมการระหวา่ งรฐั บาลวา่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) โดยใชค้ ่าศกั ยภาพ ในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ นในรอบ 100 ปี ของ IPCC (GWP 100) เปน็ เกณฑ์ ดงั ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1  คา่ ศกั ยภาพในการทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโลกรอ้ น (GWP) ทใ่ี ชใ้ นการคำ� นวณคา่ ปรมิ าณ คาร์บอนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ ในรอบ 100 ปี (GWP 100-yr) สตู รทางเคมี ค่า GWP สตู รทางเคมี คา่ GWP CO2 1 CFC-13 14,400 CH4 25 HCFC-22 1,810 N2O 298 HCFC-123 77 CFC-11 4,750 HCFC-124 609 CFC-12 10,900 HFC-23 14,800 HFC-32 675 HFC-152a 124 HFC-125 3,500 22,800 SF6 องค์การบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)  |  9 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 

สตู รทางเคมี คา่ GWP สูตรทางเคมี ค่า GWP HFC-134a 1,430 PFCs 7,390 – 12,200 NF3 17,200 HFC-143a 4,470 ท่มี า : IPCC Fourth Assessment Report, 2007 5. คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (Emission Factor) ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor) เป็นค่าที่แสดงปริมาณการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจกตอ่ หนว่ ย โดยจะขนึ้ อยกู่ บั กจิ กรรมและเทคโนโลยขี องแหลง่ ปลอ่ ยกา๊ ซในแตล่ ะ ประเทศ อาจมีคา่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามเงอื่ นไขเฉพาะของกิจกรรมน้ัน ๆ เรยี กว่า คา่ การปล่อยเฉพาะของประเทศ (Country specific emission factor) ซ่งึ ไดม้ าจากการ ตรวจวัดจริงหรือการทดลอง ในกรณีที่บางประเทศไม่มีค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Emission Factor) สามารถอา้ งองิ ไดจ้ าก 2006 IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Emission factor) สำ� หรบั การประเมนิ คารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถดูได้จากตารางที่ 2 ซ่ึงเป็นข้อมูลที่ใช้อ้างอิงของ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/admin/uploadfiles/emission/ts_11335ee08a.pdf ตารางท่ี 2  คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Emission Factor) สำ� หรบั การประเมนิ คารบ์ อน ฟุตพรนิ้ ทข์ ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ที่ ชนิดเชือ้ เพลิง/พลังงาน คา่ Emission Factor หนว่ ย 1. พลังงาน (การเผาไหม้แบบอยกู่ บั ที)่ นำ�้ มนั ดีเซล 2.7080 kg CO2eq/liter น�ำ้ มันเบนซนิ 2.1951 kg CO2eq/liter LPG 1.6812 kg CO2eq/liter LPG 3.1133 kg CO2eq/kg 10  |  แนวทางการประเมนิ คาร์บอนฟุตพริน้ ทส์ ำ� หรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

ที่ ชนดิ เช้ือเพลิง/พลังงาน ค่า Emission Factor หนว่ ย 2. พลังงาน (การเผาไหมแ้ บบเคลอ่ื นที่) น้�ำมนั ดีเซล 2.7446 kg CO2eq/liter น�้ำมนั เบนซิน 2.2376 kg CO2eq/liter LPG 1.7226 kg CO2eq/liter LPG 3.1899 kg CO2eq/kg 3. การใช้ไฟฟา้ การใช้พลังงานไฟฟ้า 0.5821 kg CO2eq/kWh 4. น�ำ้ ยาแอร์ R-22 (HCFC-22) 1,810 kg CO2eq/kg R-134 1,100 kg CO2eq/kg R-134a 1,430 kg CO2eq/kg 5. อ่นื ๆ กระดาษขาว A4 (1 รีม = 2.49 กโิ ลกรมั ) 2.0859 kg CO2eq/kg น�ำ้ ประปา 0.7043 kg CO2eq/m3 Update : มกราคม 2560 ทีม่ า : http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/admin/uploadfiles/emission/ts_11335ee08a.pdf 6. จะแสดงค่าคารบ์ อนฟุตพร้ินทไ์ ดอ้ ย่างไร การแสดงค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปล่อยออกมาตลอด กระบวนการใหบ้ รกิ ารจากกจิ กรรมตา่ งๆ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ตอ้ งประกอบดว้ ย องค์ประกอบพื้นฐานที่สำ� คญั 5 ประการ ดงั นี้ องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  11 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 

• ความตรงประเดน็ (Relevance) มกี ารเลอื กแหลง่ ปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก แหลง่ ดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก ขอ้ มลู รวมถงึ วธิ กี ารวดั และคำ� นวณทเ่ี หมาะสมกบั ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก ท่ีรวบรวมหรือประเมินได้น้ัน ควรท่ีจะสะท้อนถึงปริมาณการปล่อยและดูดกลับ กา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในองคก์ รหรอื เกยี่ วขอ้ งกบั องคก์ ร และเปน็ สว่ นหนงึ่ ของขอ้ มลู ที่สามารถช่วยส่งเสรมิ การตดั สนิ ใจสำ� หรับการวางนโยบายขององคก์ ร • ความสมบูรณ์ (Completeness) ปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกท่ีท�ำการเก็บรวบรวมหรือประเมินได้ ควรเป็นปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเริอนกระจกจากทุกกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายใน องค์กร หรือเกี่ยวขอ้ งกบั องคก์ ร • ความไมข่ ดั แย้งกัน (Consistency) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรวบรวมหรือค�ำนวณปริมาณการปล่อยและดูดกลับ ก๊าซเรอื นกระจกทไี่ ด้ เม่ือนำ� ไปเปรียบเทยี บกันแล้วต้องไมข่ ดั แย้งกัน • ความถูกตอ้ ง (Accuracy) ลดความมีอคติ และความไม่แน่นอนในการรวบรวมหรือค�ำนวณการปล่อยและ ดดู กลบั กา๊ ซเรือนกระจกให้ไดม้ ากทสี่ ุด • ความโปรง่ ใส (Transparency) มีการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมหรือค�ำนวณปริมาณการปล่อยและ ดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ พยี งพอและเหมาะสม สามารถตรวจสอบไดเ้ พอ่ื ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย สามารถใช้ขอ้ มลู ดงั กล่าวในการตัดสินใจดว้ ยความเช่ือมัน่ อย่างสมเหตุสมผล 7. ใครบ้างท่เี ก่ียวขอ้ ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องการจะท�ำการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ควรกำ� หนดผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั และสรา้ งคณะทำ� งาน ทง้ั นอี้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ควรแตง่ ตงั้ คณะท�ำงานพร้อมทั้งก�ำหนดบทบาทหน้าท่ีและสื่อสารให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องภายในองค์กรทราบ 12  |  แนวทางการประเมนิ คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ส�ำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ซง่ึ คณะทำ� งานควรมาจากหนว่ ยงานภายในทกุ สว่ นเพราะในการคำ� นวณคารบ์ อนฟตุ พรน้ิ ท์ ขององค์กรจ�ำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานในการเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้ ทรพั ยากรดา้ นตา่ งๆ เชน่ การใชไ้ ฟฟา้ การใชน้ ำ้� มนั เชอ้ื เพลงิ ปรมิ าณการใชส้ ารทำ� ความเยน็ ปรมิ าณขยะ ปรมิ าณการใช้กระดาษ ดงั นน้ั หากมีตัวแทนของแตล่ ะส�ำนัก กอง ฝ่าย เข้ามา ร่วมคณะท�ำงานจะท�ำให้การเก็บรวบรวมข้อมลู ท�ำได้งา่ ยขึน้ และรวดเร็ว องค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  13 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 

รปู ท่ี 2 ตัวอย่างประกาศแต่งตั้งคณะท�ำงานการจัดท�ำคาร์บอนฟุตพร้ินท์องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ินของเทศบาลเมืองยโสธร 14  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟตุ พริ้นท์สำ� หรับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

8. คำ� นวณคาร์บอนฟุตพร้นิ ทไ์ ดอ้ ย่างไร การคำ� นวณคาร์บอนฟุตพร้ินท์ขององคก์ ร ประกอบดว้ ย 8 ขน้ั ตอน ดังน้ี ขัน้ ตอนท่ี 1 การก�ำหนดขอบเขตขององค์กรและการด�ำเนนิ งาน โครงสรา้ งโดยท่วั ไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ประกอบดว้ ย ส�ำนกั ฝา่ ย กอง หรือหน่วยงานอื่นๆ มากกว่าหน่ึงหน่วยงาน ซ่ึงส่งผลให้มีแหล่งปล่อยหรือดูดกลับ ก๊าซเรือนกระจกมากกวา่ หน่งึ แหลง่ ดงั น้ัน การก�ำหนดขอบเขตเพื่อการประเมนิ ขอ้ มูล การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกขององคก์ ร จงึ เปน็ ขนั้ ตอนแรกทส่ี ำ� คญั และตอ้ งมคี วามชดั เจน เหมาะสม ซ่งึ การก�ำหนดขอบเขตประกอบดว้ ยหัวขอ้ ย่อย ดังนี้ องค์การบรหิ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  15 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 

1. ก�ำหนดขอบเขตขององค์กร การก�ำหนดขอบเขตขององค์กรฯ ในการรวบรวมแหล่งปล่อยและแหล่งดูดกลับ ก๊าซเรอื นกระจก สามารถท�ำไดโ้ ดยวิธีการแบบใดแบบหน่ึง ดังน้ี 1.1 แบบควบคุม (Control Approach) ก�ำหนดขอบเขตการรวบรวมแหล่งปล่อยและแหล่งดูดกลับก๊าซเรือนกระจก แบบควบคมุ แบง่ เปน็ การควบคมุ การดำ� เนินงาน (Operation Control) และการ ควบคุมทางการเงิน (Financial Control) ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั น้ี (1) การควบคุมจากการดำ� เนินงาน (Operation Control) องค์กรท�ำการประเมินและรวบรวมปริมาณการปล่อยและดูดกลับ กา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ กดิ ขนึ้ ของแตล่ ะหนว่ ยงานภายใตอ้ ำ� นาจการควบคมุ การดำ� เนนิ งานขององคก์ ร โดยดจู ากทอี่ งคก์ รฯ เปน็ เจา้ ของและสามารถกำ� หนดบทบาทและ ควบคุมการทำ� งานได้ ไมน่ ับรวมปรมิ าณการปล่อยและดูดกลับกา๊ ซเรอื นกระจกท่ี เกิดข้ึนของแต่ละหน่วยงานท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นเจ้าของ แต่ไม่มี อ�ำนาจควบคุมการด�ำเนินงาน (2) การควบคุมทางการเงนิ (Financial Control) ทำ� การประเมนิ และรวบรวมปรมิ าณการปลอ่ ยและการดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก ทเี่ กดิ ขน้ึ ของหนว่ ยงานภายใตอ้ ำ� นาจการควบคมุ ทางการเงนิ ขององคก์ ร ซง่ึ ยดึ ตาม สดั สว่ นทางการเงนิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จรงิ และมกี ารระบไุ วใ้ นรายงานทางการเงนิ ขององคก์ รฯ เปน็ หลัก 16  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟุตพรนิ้ ทส์ ำ� หรับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

1.2 แบบปนั สว่ นตามกรรมสิทธ์ิ (Equity Share) ก�ำหนดขอบเขตการรวบรวมผลการค�ำนวณปริมาณการปล่อยและดูดกลับ กา๊ ซเรอื นกระจกขององคก์ ร โดยปนั ตามสดั สว่ นของลกั ษณะการรว่ มทนุ หรอื ลงทนุ ในอปุ กรณ์ หรอื หน่วยผลติ นน้ั ๆ ในการกำ� หนดขอบเขตขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ควรใชว้ ธิ กี ารควบคมุ จากการดำ� เนนิ งาน (Operation Control) เนอ่ื งจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มกี ารแบ่งโครงสรา้ งและหนา้ ทก่ี ระจายไปในหน่วยงานต่างที่ชดั เจน สง่ ผลให้ กจิ กรรมทอ่ี ยคู่ วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะสำ� นกั และกองตา่ งๆ มขี อ้ มลู และการ จัดเกบ็ รายละเอยี ดตา่ งๆ เมอ่ื กำ� หนดขอบเขตขององคก์ รแล้ว ก็จะสามารถแสดงรายละเอยี ดได้ดังน้ี - แผนผงั โครงสรา้ งการปกครองขององคก์ ร ทมี่ โี ครงสรา้ งบรหิ ารขององคก์ ร และ โครงสร้างของคณะตรวจประเมินการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกของ องคก์ ร องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)  |  17 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 

Y=\"D=L\"L=4=EN L=G\" = W1B4L?3=:WS ^/ ìĊęöćǰIUUQXXXQIVLFUDJUZHPUIDPOUFOUTUSVDUVSF øðĎ ìĊęǰǰ êüĆ Ă÷ŠćÜĒñîñĆÜēÙøÜÿøćš ÜÖćøïøĉĀćø×ĂÜđìýïćúîÙøõđĎ ÖêĘ ǰ ÿëćîìĊêę ĚÜĆ ǰĒñîñÜĆ ïøĉđüè×ĂÜĂÜÙÖŤ øǰóîĚČ ìÙęĊ üćöøĆïñĉéßĂïǰēé÷đÞóćąÿëćîìęĊ ĔîÿüŠ î×ĂÜÖćøðøąđöĉîÖćøðúĂŠ ÷ÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖ ǰ ÝĞćîüîóîÖĆ ÜćîĔîĂÜÙŤÖø 18 á X3A1L\"L=5=JW;N3L=4 G39R/8=3N` 1D Ld E=4K G\" =5=G\"D A31G \"0N3_

- อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ในการค�ำนวณการปล่อยและดูดกลับ กา๊ ซเรอื นกระจกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. กำ� หนดขอบเขตการดำ� เนนิ งาน ในการก�ำหนดขอบเขตการด�ำเนินงาน ต้องระบุกิจกรรมที่มีการปล่อยและดูดกลับ ก๊าซเรือนกระจกที่สัมพันธ์กับการด�ำเนินงานขององค์กร ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ขอบเขต ไดแ้ ก่ ขอบเขตท่ี 1 การปลอ่ ยและการดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกทางตรงขององคก์ ร (Direct Emissions) คือ ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดข้ึนโดยตรงจากกิจกรรมต่างๆ ของ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน มดี งั นี้ 1. การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ที่อยู่กับที่ ตัวอย่างเชน่ • การเผาไหมข้ องเชอื้ เพลงิ จากการใชง้ านของอปุ กรณ์ และ/หรอื เครอื่ งจกั ร ทอี่ งค์กรเปน็ เจา้ ของ หรอื เช่าเหมามา แต่องคก์ รรับผิดชอบคา่ ใช้จา่ ยของ น�ำ้ มันเชอื้ เพลงิ • การเผาไหม้ของเช้ือเพลิงท่ีใช้ในการหุงต้มภายในองค์กร โดยองค์กรเป็น ผู้รับผิดชอบการดำ� เนินงานดังกล่าว 2. การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเผาไหมท้ มี่ กี ารเคลอ่ื นท่ี ตัวอย่างเช่น • การเผาไหม้ของเชอ้ื เพลงิ จากกิจกรรมการขนส่งของยานพาหนะที่องค์กร เปน็ เจา้ ของ หรอื เชา่ เหมา แตอ่ งคก์ รรบั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยของนำ�้ มนั เชอื้ เพลงิ 3. การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นจากการร่ัวไหลและอื่นๆ (Fugitive Emissions) ตัวอย่างเช่น • การร่ัวซึมของก๊าซเรือนกระจกออกสู่บรรยากาศภายนอกท่ีเกิดข้ึน ณ บริเวณรอยเช่ือมข้อต่อท่อของอุปกรณ์ที่ต้ังอยู่ภายในองค์กร เช่น องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  19 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 

สารทำ� ความเยน็ หรอื การร่ัวไหลของกา๊ ซเรือนกระจกจากอุปกรณ์ตา่ งๆ ที่ต้ังอยู่ภายในองค์กรในขณะทำ� การซ่อมบำ� รุง • การใช้อปุ กรณด์ บั เพลิงประเภททส่ี ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซเรอื นกระจกได้ • ก๊าซมเี ทนทเี่ กิดข้ึนจากกระบวนการบ�ำบัดนำ้� เสียและหลมุ ฝงั กลบ • ก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นจากการใช้ปุ๋ย หรือสารเคมีเพื่อการซักล้างหรือ ทำ� ความสะอาดภายในองคก์ ร 4. การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกโดยตรงของชีวมวล (ดนิ และป่าไม้) ขอบเขตที่ 2 การปล่อยและการดดู กลบั กา๊ ซเรือนกระจกทางออ้ มจากการใชไ้ ฟฟ้า (Indirect Emissions from Purchased Electricity) ทั้งนี้ การผลติ พลังงานไฟฟา้ ของประเทศไทยสว่ นใหญใ่ ชเ้ ชอื้ เพลิงฟอสซลิ ใน การผลติ และในการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากการใชไ้ ฟฟา้ จะเกิด ณ แหลง่ ทผี่ ลติ ไฟฟา้ ดงั นน้ั การใชไ้ ฟฟา้ ในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จะไมใ่ ชเ่ ปน็ การ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ณ ตำ� แหน่งท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตั้งอยู่ แต่ เป็นการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ณ แหล่งท่ีผลิตกระแสไฟฟ้า จึงเรียกว่า เป็นการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางอ้อม ขอบเขตที่ 3 การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทางออ้ มอน่ื ๆ (Other Indirect Emissions) ได้แก่ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกทเี่ กดิ ขนึ้ จากกิจกรรมตา่ งๆ นอกเหนอื จากทรี่ ะบุใน ประเภทท่ี 1 และประเภทที่ 2 ทเี่ กดิ เนอื่ งจากการใชส้ นิ คา้ บรกิ าร หรอื การจา้ งเหมาชว่ ง ตวั อยา่ งของกจิ กรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกทางออ้ มอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ 1. การเดินทางของพนักงานเพ่ือการประชุม สัมมนา และติดต่อธุรกิจท่ีเก่ียวข้อง กับองค์กร ด้วยระบบการขนส่งประเภทต่างๆ เช่น ยานพาหนะส่วนตัว ยานพาหนะท่ีใช้ภายในองค์กร แต่จ้างเหมาบริการรวมน�้ำมันเช้ือเพลิงจาก ภายนอกองคก์ ร รถไฟ เรือโดยสาร เคร่อื งบนิ 20  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟุตพริ้นท์ส�ำหรับองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

2. การเดินทางไป-กลับ จากที่พักถึงองค์กร เพื่อการท�ำงานของพนักงาน ด้วย ยานพาหนะสว่ นตวั หรอื ยานพาหนะทใี่ ชภ้ ายในองคก์ ร แตจ่ า้ งเหมาบรกิ ารรวม น้ำ� มนั เชอ้ื เพลงิ จากภายนอกองคก์ ร หรอื ระบบขนส่งสาธารณะ 3. การขนสง่ ผลติ ภัณฑ์ วัตถุดบิ คนงาน หรือกากของเสยี ท่ีเกิดจากการจ้างเหมา บรกิ ารโดยหนว่ ยงานหรอื องคก์ รอนื่ ภายนอกขอบเขตขององคก์ รทไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้ 4. กิจกรรมต่างๆ ท่ีสามารถก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเกิดจากการ จ้างเหมารบั ช่วงด�ำเนนิ งานโดยหนว่ ยงาน หรอื องค์กรอน่ื ภายนอกขอบเขตของ องคก์ รทไ่ี ดก้ ำ� หนดไว้ อาทิ การเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ เพอ่ื การหงุ ตม้ จากกจิ กรรมการ ประกอบอาหารภายในโรงอาหารโดยการจ้างเหมาจากบคุ คล หนว่ ยงาน หรือ องคก์ รภายนอก 5. การปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการก�ำจัดกากของเสีย และ การบำ� บัดน้ำ� เสียโดยหน่วยงาน หรือองคก์ รอน่ื ภายนอกขอบเขตขององค์กรที่ ได้ก�ำหนดไว้ 6. การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขน้ึ จากผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารขององคก์ รในชว่ ง การใชง้ าน และช่วงการจัดการซาก 7. การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการใชไ้ ฟฟา้ ทางออ้ มของบา้ นพกั พนกั งาน ภายในองคก์ ร 8. การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขน้ึ จากกจิ กรรมการใชน้ ำ�้ ประปาภายในองคก์ ร 9. การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจากวัสดุส�ำนักงานที่มีการใช้ภายในองค์กร เชน่ กระดาษ หมึกพิมพ์ ดินสอ ปากกา ยางลบ เปน็ ต้น โดยการค�ำนวณค่าคาร์บอนฟุตพร้ินท์ในขอบเขตท่ี 3 น้ีจะพิจารณาตั้งแต่การผลิต การขนสง่ การใช้งาน และการก�ำจัดทงิ้ องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  21 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 

ตารางที่ 3  ตัวอย่างกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกแยกตาม ประเภท ขอบเขตท่ี ล�ำดบั ท่ี กจิ กรรมที่มกี ารปล่อย ตวั อย่างกิจกรรม ก๊าซเรอื นกระจก 1 การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก การเผาไหมข้ องเชอ้ื เพลงิ ในเครอ่ื งปน่ั ที่เกิดขึน้ จากการเผาไหม้อย่กู ับที่ กระแสไฟฟ้า 2 การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่เกิดข้ึน ท่ีเกิดขึ้นจากการเผาไหม้ท่ีมีการ จากแหล่งท่ีมีการเคล่ือนที่ได้ เช่น เคลื่อนท่ี ยานพาหนะ รถตกั หนา้ ขดุ หลงั เครอ่ื ง ตัดหญา้ เคร่อื งพ่นยากนั ยุง เป็นตน้ 3 การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก การรว่ั ซมึ ของกา๊ ซจากอปุ กรณข์ อ้ ตอ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการรัว่ ไหล และอ่นื ๆ ถังกักเก็บ และการขนส่ง เช่น สาร ท�ำความเย็นของเคร่อื งปรบั อากาศ 4 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากหลุม การจัดการขยะจากหลุมฝังกลบขยะ ฝงั กลบขยะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ขอบเขตท่ี 1 (อปท. ด�ำเนนิ การเอง) 5 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากเตา การจดั การขยะการเผาไหม้ขยะ เผาขยะ 6 การบ�ำบัดนำ้� เสยี ระบบบ่อบ�ำบัดน�้ำเสียขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ (อปท. ด�ำเนิน การเอง) 7 การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ กดิ จาก การหมกั หมมในท่อระบายน�ำ้ ทอ่ ระบายนำ�้ 8 การปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจก ดิน ป่าไม้ ทุง่ หญา้ และแหลง่ น้�ำ ตาม โดยตรงของชวี มวล ธรรมชาติ 9 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม การใช้ไฟฟ้าของอุปกรณ์เครื่องใช้ ขอบเขตท่ี 2 จากการใชไ้ ฟฟ้า ไ ฟ ฟ ้ า ใ น แ ล ะ น อ ก ส� ำ นั ก ง า น ไฟสาธารณะ ไฟจราจร 22  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟุตพร้นิ ทส์ ำ� หรบั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

ขอบเขตท่ี ลำ� ดับที่ กิจกรรมท่มี ีการปล่อย ตัวอย่างกิจกรรม ก๊าซเรอื นกระจก 10 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากหลุม การจัดการขยะจากหลุมฝังกลบขยะ ฝงั กลบขยะ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท. ให้หน่วยงานข้างนอกด�ำเนิน การให)้ 11 การบ�ำบดั นำ�้ เสีย ร ะ บ บ บ� ำ บั ด น้� ำ เ สี ย ข อ ง อ ง ค ์ ก ร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท. ใหห้ นว่ ย งานขา้ งนอกดำ� เนินการให)้ 12 การเดนิ ทางไปราชการ การเดินทางของพนักงานเพ่ืองาน ราชการโดยรถสาธารณะ ไมร่ วมรถท่ี เป็นของราชการ 13 การเดินทางของพนักงานองค์กร ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นจาก ปกครองส่วนท้องถน่ิ กจิ กรรมการเดนิ ทางไป-กลบั ระหวา่ ง ขอบเขตท่ี 3 บา้ นกบั ท่ที ำ� งาน 14 การใช้งานของผลิตภณั ฑ์ ข้ันตอนการใช้น�้ำประปา อุปกรณ์ ส�ำนักงาน เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์ เป็นต้น 15 การเดนิ ทางของผู้มาตดิ ตอ่ กิจกรรมการเดินทางของผู้มาติดต่อ กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 16 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นนอกเหนือ อ่ืนๆ ท่ีนอกเหนือจาก 15 ลักษณะ จากกิจกรรมการปล่อยก๊าซเรือน ข้างต้น กระจก 15 ประเภทข้างต้น โดย องค์กรต้องท�ำการระบุรายละเอียด ของกจิ กรรมทต่ี อ้ งเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อย่างชดั เจน องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  23 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 

ขัน้ ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์แหลง่ ปลอ่ ยและแหลง่ ดูดกลับกา๊ ซเรือนกระจก เมอ่ื ดำ� เนนิ การกำ� หนดขอบเขตในทง้ั 2 สว่ นแลว้ ขน้ั ตอนตอ่ ไปองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ต้องวิเคราะห์แหล่งปล่อยและแหล่งดูดกลับก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดข้ึนโดยตรงจาก กิจกรรมตา่ งๆ ภายในขอบเขตขององค์กร และบนั ทกึ เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ตารางท่ี 4  ความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลักในแต่ละหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก กอง/สำ� นกั ตัวอย่างหน้าทีแ่ ละกจิ กรรม แหล่งปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ขอบเขต ทางตรงและทางออ้ ม ที่ สำ� นักปลัด - งานธุรการ - การใช้ไฟฟา้ ของอาคารสำ� นักงานของสำ� นกั ปลดั 2 1 - งานการเจา้ หนา้ ท่ี - การใชน้ �้ำมันเชือ้ เพลิงยานพาหนะของสำ� นักปลัด 1 1 - งานทะเบียนราษฎร - การใช้สารเคมดี ับเพลิง - งานป้องกันและบรรเทา 3 สาธารณภัย และงานรกั ษา - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ ความสงบเรียบร้อยและ ความม่นั คง - การใช้วสั ดสุ น้ิ เปลอื ง เชน่ กระดาษและนำ�้ ประปา กองวิชาการและ - งานธุรการ - การใช้ไฟฟ้าของอาคารส�ำนกั งานของกองวชิ าการฯ 2 แผนงาน 1 - งานวิเคราะห์นโยบายและ - การใชน้ ำ้� มันเชื้อเพลิงยานพาหนะของกองวิชาการฯ 1 แผนงาน 3 - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ - งานนติ กิ ร - งานประชาสัมพันธ์ และ - การใชว้ ัสดุสนิ้ เปลือง เช่น กระดาษและน้�ำประปา งานจดั ทำ� งบประมาณ กองคลงั - งานธรุ การ - การใชไ้ ฟฟา้ ของอาคารสำ� นักงานของกองคลงั 2 1 - งานแผนท่ีภาษี - การใชน้ �ำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ยานพาหนะของกองคลัง 1 - งานผลประโยชน์ - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ 3 - งานการเงินและบัญชี - งานพัสดุและทรัพย์สิน - การใช้วสั ดุสิ้นเปลอื ง เช่น กระดาษและน้ำ� ประปา พฒั นางานรายได้ - งานเร่งรัดรายได้ และงาน ทะเบียนทรพั ย์สิน 24  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์สำ� หรบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

กอง/สำ� นกั ตวั อย่างหนา้ ท่ีและกจิ กรรม แหล่งปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ขอบเขต กองช่าง ทางตรงและทางออ้ ม ท่ี - งานธรุ การ - การใชไ้ ฟฟา้ ของอาคารสำ� นักงานของกองช่าง 2 1 - งานวศิ วกรรม - การใชน้ ้ำ� มันเช้ือเพลิงยานพาหนะของกองชา่ ง 1 - งานสถาปัตยกรรม - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ 1 - งานสาธารณูปโภค 3 - งานสวนสาธารณะ - การใชป้ ุ๋ยและยาปราบศตั รพู ืชส�ำหรบั งานดแู ลสวน - งานผังเมือง งานสถานท่ี - การใชว้ ัสดุสิ้นเปลือง เช่น กระดาษและน�ำ้ ประปา และไฟฟา้ กองสาธารณสขุ - งานธรุ การ - การใช้ไฟฟา้ ของอาคารส�ำนกั งานของกองสาธารณสุขฯ 2 และสง่ิ แวดลอ้ ม 1 - งานแผนงานสาธารณสุข - การใชน้ ้ำ� มนั เช้ือเพลิงยานพาหนะของกองสาธารณสขุ ฯ 1 หรอื 3 - งานสุขาภิบาลและอนามัย 1 หรือ 3 สิ่งแวดล้อม - หลมุ ฝงั กลบขยะ 3 - งานรกั ษาความสะอาด และ - บอ่ บำ� บดั น�ำ้ เสยี งานเผยแพรแ่ ละฝกึ อบรม - การใช้สารเคมเี พื่อปรับปรุงคุณภาพนำ�้ - การเตมิ สารท�ำความเย็นส�ำหรบั อาคารและยานพาหนะ 1 - การใชว้ สั ดุสิ้นเปลอื ง เช่น กระดาษและน้ำ� ประปา 3 กองการศกึ ษา - งานธรุ การ - การใชไ้ ฟฟ้าของอาคารสำ� นกั งานของกองการศึกษา 2 1 - งานการเจ้าหน้าที่ - การใชน้ ำ้� มันเช้ือเพลิงยานพาหนะของกองการศกึ ษา 1 - งานบรหิ ารวิชาการ - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ 1 - งานการเงนิ 3 - งานโรงเรยี น - การประกอบอาหารโดยใชก้ า๊ ซหงุ ตม้ (LPG) - งานนเิ ทศการศึกษา - การใชว้ ัสดุสิน้ เปลอื ง เช่น กระดาษและนำ�้ ประปา - งานกิจการนักเรียน และ งานการศกึ ษานอกโรงเรยี น กองสวสั ดกิ าร - งานธุรการ - การใชไ้ ฟฟ้าของอาคารสำ� นักงานของกองสวสั ดิการฯ 2 และสังคม 1 - งานสังคมสงเคราะห์ และ - การใชน้ ำ้� มนั เชอื้ เพลิงยานพาหนะของกองสวัสดกิ ารฯ 1 งานสวัสดิภาพเด็กและ 3 เยาวชน - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ - การใช้วัสดสุ ิ้นเปลือง เชน่ กระดาษและน�้ำประปา องค์การบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  25 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

กอง/ส�ำนัก ตวั อยา่ งหนา้ ทีแ่ ละกจิ กรรม แหลง่ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขอบเขต กองประปา ทางตรงและทางอ้อม ท่ี - งานธรุ การ และงานประปา - การใชไ้ ฟฟ้าของอาคารส�ำนักงานของกองประปา 2 - การใชน้ �้ำมนั เช้ือเพลิงยานพาหนะของกองประปา 1 - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ 1 - การใชส้ ารเคมเี พ่ือผลติ นำ้� ประปา 3 - การใช้วสั ดสุ น้ิ เปลอื ง เชน่ กระดาษและน�้ำประปา 3 สถานธนานุบาล - งานรบั จำ� นำ� ทรพั ยส์ นิ ตา่ งๆ - การใชไ้ ฟฟ้าของอาคารสำ� นักงานของสถานธนานุบาล 2 ของประชาชน 1 - การใชน้ �ำ้ มันเชือ้ เพลงิ ยานพาหนะของสถานธนานบุ าล 1 3 - การเตมิ สารทำ� ความเยน็ สำ� หรบั อาคารและยานพาหนะ - การใช้วสั ดุส้ินเปลอื ง เชน่ กระดาษและน้ำ� ประปา 26  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟุตพรนิ้ ทส์ �ำหรบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

ข้นั ตอนที่ 3 การคดั เลือกวธิ ีการคำ� นวณ เม่ือด�ำเนินการก�ำหนดขอบเขตและระบุแหล่งปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก แล้ว ข้ันตอนต่อไปองค์กรต้องคัดเลือกวิธีการค�ำนวณปริมาณการปล่อยและดูดกลับ ก๊าซเรอื นกระจกทท่ี �ำให้ได้ผลลัพธอ์ ยา่ งถูกตอ้ ง ไมข่ ัดแยง้ กนั โดยองค์กรสามารถเลอื ก วิธกี ารใดกไ็ ดแ้ ตต่ ้องมีเหตผุ ลประกอบ และต้องแสดงคำ� อธบิ ายหากมกี ารเปล่ยี นแปลง วธิ ีการค�ำนวณทเ่ี คยใช้มาก่อน ซ่งึ การคำ� นวณมที ั้งหมด 3 วธิ ี ดงั ต่อไปน้ี 1. วธิ วี ดั จากการตรวจวัด (Measurement-based Methodologies) ทำ� การตรวจวดั ปรมิ าณการปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกโดยตรง ณ แหลง่ ปลอ่ ย หรือดูดกลับก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่อง โดยใช้เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ตรวจวัดที่ได้ มาตรฐานตามวิธมี าตรฐานสากล การวดั โดยตรงเหมาะสำ� หรบั องคก์ รทม่ี เี ครอื่ งมอื ตรวจวดั ตดิ ตง้ั อยแู่ ละสามารถตรวจวดั ตอ่ เนอื่ งไดอ้ ยแู่ ลว้ สำ� หรบั องคก์ รฯ ทไี่ มม่ เี ครอื่ งตรวจวดั ไมจ่ ำ� เปน็ จะตอ้ งจดั หาอปุ กรณ์ มาตรวจติดตงั้ องคก์ รสามารถใช้วิธีวดั จากการค�ำนวณได้ 2. วิธวี ัดจากวิธีการค�ำนวณ (Calculation-based Methodologies) การหาปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกด้วยวิธีการค�ำนวณสามารถ ทำ� ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การสรา้ งโมเดล หรอื การทำ� สมการมวลสารสมดลุ หรอื การวเิ คราะห์ สหสมั พนั ธ์ (Correlation Analysis) หรอื การคำ� นวณโดยใชข้ อ้ มลู กจิ กรรมตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในองคก์ รคณู กบั คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก และแสดงผลใหอ้ ยใู่ นรปู ของตนั หรอื กิโลกรัม คารบ์ อนไดออกไซด์เทยี บเท่า (tCO2eq หรอื kgCO2eq) การค�ำนวณค่าการ ปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกขององค์กร สามารถคำ� นวณไดจ้ ากสมการดังต่อไปน้ี ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก = ขอ้ มลู กิจกรรม x ค่าการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก โดยท่ี ขอ้ มลู กจิ กรรม (Activity Data) คอื ปรมิ าณการใชพ้ ลงั งานหรอื ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก ท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการท่ีก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซออกมา เช่น ปริมาณการใช้น้�ำมัน องคก์ ารบริหารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน)  |  27 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม 

เชือ้ เพลงิ ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้า ที่นับออกมาเปน็ หน่วยของการใชง้ าน คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (Emission Factor) คอื ค่าสัมประสิทธ์ิซง่ึ คำ� นวณได้ จากปรมิ าณการปล่อยและดดู กลบั ก๊าซเรือนกระจกต่อหน่ึงหนว่ ยกจิ กรรม การคำ� นวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจะตอ้ งมคี วามโปรง่ ใสและสามารถบอกถงึ ท่ี มาของการค�ำนวณและแหล่งอ้างอิงคา่ การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกได้ ในการวดั ปรมิ าณการปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ของประเทศไทย ควรใช้วิธีการวัดจากการค�ำนวณ (Calculation-based Method) เน่ืองจากวิธีวัดจากการตรวจวัดต้องใช้เคร่ืองมือในการตรวจวัดอย่าง ต่อเนอื่ ง ท�ำใหม้ ีข้อจำ� กดั ในด้านของทรพั ยากรบคุ คล เครือ่ งมือและงบประมาณ 3. วธิ วี ัดจากการตรวจวัดร่วมกบั การคำ� นวณ องคก์ รฯ สามารถหาปรมิ าณการปลอ่ ยและดดู กลบั กา๊ ซเรอื นกระจกดว้ ยวธิ กี ารตรวจวดั ร่วมกับการค�ำนวณได้ ตัวอย่างเช่น การน�ำข้อมลู ปรมิ าณการใช้เช้ือเพลงิ ทจ่ี ัดเก็บ และ ข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ซ่ึงได้จากการตรวจวัด มาท�ำการ ค�ำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาไหม้ โดยอาศัย สมการมวลสารสมดุล เปน็ ตน้ ข้ันตอนที่ 4 การเกบ็ ข้อมูล การใชข้ อ้ มลู กจิ กรรมประกอบการคำ� นวณตอ้ งมกี ารคดั เลอื กและเกบ็ ขอ้ มลู กจิ กรรม การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกที่ไม่ขัดแย้งกับวิธีการค�ำนวณที่ได้เลือกไว้ ทั้งนี้ ข้อมูลทั้งหมดควรได้รับการบันทึกไว้ในรูปแบบท่ีเหมาะสมส�ำหรับใช้วิเคราะห์และ ทวนสอบไดอ้ ีกอยา่ งนอ้ ย 2 ปี 1. วิธีรวบรวมขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มลู กจิ กรรมสามารถทำ� ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ (1) เกบ็ ขอ้ มลู ในระดบั ปฐมภมู ิ เช่น ใบเสร็จรับเงิน บันทึกเบิก-จ่าย บันทึกอนุมัติ สมุดบันทึก เป็นต้น (2) ในกรณี 28  |  แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพร้ินทส์ �ำหรับองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

ทไี่ มส่ ามารถรวบรวมขอ้ มลู ในระดับปฐมภมู ไิ ด้ ใหใ้ ชข้ อ้ มลู ทุติยภูมิได้ เชน่ การค�ำนวณ ขอ้ มูลสถิติ การสำ� รวจ เปน็ ตน้ ตารางท่ี 5  แสดงตวั อย่างแหลง่ ทม่ี าและหนว่ ยของการเก็บข้อมลู กจิ กรรมทที่ �ำให้เกิดกา๊ ซเรือนกระจก แหลง่ ท่ีมาของข้อมูล หนว่ ย ขอบเขตที่ 1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงขององค์กร - การใช้เครอื่ งจักรอยู่กบั ท่ี เช่น เคร่อื งปัม๊ น�ำ้ เคร่อื งตัดหญา้ ใบเสรจ็ รับเงนิ ลติ ร เคร่ืองพ่นยงุ ท่ีใช้น้ำ� มันเบนซนิ - การใช้เครือ่ งจักรอยกู่ บั ทีซ่ งึ่ ใช้เชือ้ เพลิง LPG ใบเสรจ็ รับเงนิ กโิ ลกรัม - การใช้ยานพาหนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีใช้ ใบเสร็จรับเงนิ ลติ ร นำ�้ มันเบนซิน - การใช้ยานพาหนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ใช้ ใบเสรจ็ รับเงิน ลติ ร นำ้� มนั ดเี ซล - การก�ำจัดของเสียด้วยการฝังกลบส�ำหรับขยะไม่แยก บันทกึ ตัน ประเภท - การเตมิ สารทำ� ความเย็น HFC-134a ใบเสร็จรับเงิน กโิ ลกรมั - การบ�ำบดั น�ำ้ เสยี ดว้ ยระบบเตมิ อากาศ บันทกึ การตรวจวดั ลูกบาศก์เมตร - การใช้ปุ๋ยเคมี บนั ทกึ การเบิกจ่าย กิโลกรมั ขอบเขตที่ 2 การปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกทางออ้ มจากการใชไ้ ฟฟ้า - การใชไ้ ฟฟ้า ใบเสรจ็ รบั เงนิ กโิ ลวตั ต-์ ชว่ั โมง (kWh) ขอบเขตท่ี 3 การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทางอ้อมอืน่ ๆ - การจ้างเหมารับช่วงขนส่งของเสียขององค์กรปกครอง ใบเสรจ็ รบั เงิน ลติ ร สว่ นทอ้ งถนิ่ ด้วยเชือ้ เพลงิ ดเี ซล - การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทเี่ กิดขน้ึ จากการใช้นำ�้ ประปา ใบเสร็จรับเงิน ลูกบาศกเ์ มตร - การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการใชก้ ระดาษขาว บันทึกการเบกิ จ่าย กโิ ลกรัม องค์การบริหารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  29 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 

กจิ กรรมทีท่ �ำใหเ้ กดิ ก๊าซเรือนกระจก แหลง่ ท่ีมาของข้อมลู หน่วย ลิตร - การเดินทางไป-กลับระหว่างองค์กรและท่ีพักของบุคลากร การสำ� รวจ ดว้ ยยานพาหนะส่วนตวั ทใี่ ช้น้ำ� มนั ดเี ซล ลติ ร - การเดินทางไป-กลับระหว่างองค์กรและท่ีพักของบุคลากร การสำ� รวจ ด้วยยานพาหนะส่วนตัวท่ีใช้น�ำ้ มนั เบนซนิ 2. ช่วงความถีแ่ ละช่วงเวลาของการเกบ็ ขอ้ มลู การเก็บรวบรวมข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการค�ำนวณค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรเก็บข้อมูลเป็นช่วงเวลา 1 ปี ตามปีปฏิทินหรือ ปีงบประมาณ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับระบบบัญชีและการเบิกจ่ายของแต่ละองค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ แตโ่ ดยปกตแิ ล้วองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ สว่ นใหญ่จะมีระบบบัญชีและ การเบกิ จ่ายตามปีงบประมาณ (ตุลาคม-กันยายน) 3. การเลือกปฐี าน การเลือกปีท่ีน�ำมาเป็นปีฐานของการค�ำนวณค่าคาร์บอนฟุตพร้ินท์ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรเลือกปีท่ีมีข้อมูลสมบูรณ์และมีการเก็บข้อมูลอย่าง แม่นย�ำและถูกต้อง และหลีกเลี่ยงปีที่มีภาวะอากาศท่ีแปรปรวน เช่น ไม่ควรเลือกปีที่ ร้อนเกินไปจากอุณหภูมิเฉลี่ยมาก หรือปีท่ีเย็นกว่าอุณหภูมิเฉล่ียมากเพราะจะท�ำให้ องค์กรอาจจะใช้พลังงานมากเกินไป หรือน้อยเกินไปจากภาวะปกติ ซึ่งจะส่งผลถึงค่า ที่ได้น้ันไม่เป็นตัวแทนของทั้งหมด หรือเลือกใช้ค่าเฉล่ียคาร์บอนฟุตพริ้นท์จาก 3 ปงี บประมาณกไ็ ด้ ขนั้ ตอนท่ี 5 การคดั เลือกค่าการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ต้องคัดเลอื กคา่ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก ท่ีซึง่ 1) ทราบแหล่งทม่ี า 2) เหมาะสมใช้กบั แหล่งปลอ่ ยหรอื ดดู กลับกา๊ ซเรอื นกระจกแตล่ ะแหล่ง 3) เป็นค่าปัจจุบันในขณะทใี่ ช้คำ� นวณ 4) ไมข่ ดั แยง้ กบั บัญชีขอ้ มูลกา๊ ซเรือนกระจก 30  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟุตพรน้ิ ท์สำ� หรับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก (Emission Factor) สำ� หรบั การประเมนิ คารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ท์ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถดูได้จากตารางที่ 2 ซ่ึงเป็นข้อมูลที่ใช้อ้างอิง ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือดูข้อมูลเพ่ิมเติมท่ี http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/admin/uploadfiles/emission/ ts_11335ee08a.pdf ในกรณที ไี่ มส่ ามารถจดั เกบ็ ขอ้ มลู คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกแบบปฐมภมู ิ สามารถ เลือกใช้ค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมส�ำหรับกิจกรรม โดยเรียงตามล�ำดับ ความส�ำคัญ ความน่าเชอ่ื ถือและคุณภาพของข้อมูลไดด้ ังน้ี • ฐานข้อมูลท่ีท�ำการศึกษาและเผยแพร่โดยองค์กรภายในประเทศ ท่ีมีส่วน เกีย่ วข้องโดยตรงกบั กจิ กรรมนน้ั ๆ • ฐานข้อมูลสิ่งแวดลอ้ มของวสั ดุพน้ื ฐานและพลงั งานของประเทศไทย (Thai LCI Database) ซึ่งรวบรวมและจัดการโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ดูข้อมูลเพ่มิ เตมิ ได้ที่ www.thailcidatabase.net) • ขอ้ มลู วทิ ยานพิ นธ์ และงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งทท่ี ำ� ในประเทศซง่ึ ผา่ นการกรองแลว้ • ฐานขอ้ มลู ทเ่ี ผยแพรท่ ว่ั ไป ไดแ้ ก่ โปรแกรมสำ� เรจ็ รปู ดา้ นการประเมนิ วฏั จกั รชวี ติ (LCA Software) ฐานข้อมลู เฉพาะของกล่มุ อตุ สาหกรรมหรอื ฐานข้อมลู เฉพาะ ของแต่ละประเทศ เป็นต้น • ข้อมูลที่ตพี ิมพโ์ ดยองค์กรระหว่างประเทศ เชน่ คณะกรรมการระหว่างรัฐบาล วา่ ดว้ ยเรอ่ื งการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) องคก์ รของสหประชาชาติ องคก์ ารบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)  |  31 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 

ตารางท่ี 6  ตวั อย่างคา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ช่ือ หน่วย คา่ การปล่อย แหลง่ ข้อมลู อา้ งองิ ก๊าซเรือนกระจก ไฟฟา้ กิโลวตั ต-์ ชว่ั โมง (KgCO2eq/หน่วย) Thailand Grid Mix Electricity (kWh) LCI Database 2557 (2014) น�้ำมันดเี ซล ลิตร (l) 0.5821 IPCC (การเผาไหมแ้ บบเคล่อื นท่ี) 2.7446 น้ำ� มนั เบนซนิ ลติ ร (l) 2.1951 IPCC (การเผาไหม้แบบอยูก่ ับที)่ ขนั้ ตอนที่ 6 การค�ำนวณปรมิ าณการปลอ่ ยและดูดกลบั ก๊าซเรอื นกระจก การค�ำนวณปริมาณคาร์บอนฟุตพร้ินท์ สามารถค�ำนวณใน 2 ส่วน คอื ปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ปริมาณการดูดกลับกา๊ ซเรือนกระจกจากกิจกรรมการปลูกต้นไม้และพนื้ ทส่ี ีเขียว 1. การค�ำนวณปรมิ าณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมต่างๆ 1.1 กิจกรรมและการใชส้ าธารณูปโภคของอาคารสถานท่ี 1.1.1 ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกจากการเผาไหม้ของอปุ กรณแ์ ละเตาเผาต่างๆ การเผาไหม้อยู่กับท่ี หมายถึง การเผาไหม้เช้ือเพลิงเพ่ือใช้ในการผลิต ไฟฟา้ หรอื ผลติ ความรอ้ น ในเครอ่ื งจกั รหรอื อปุ กรณต์ า่ งๆ ทม่ี ตี ำ� แหนง่ ทค่ี งที่ เชน่ เตาเผาหมอ้ ไอนำ�้ เครอื่ งปน่ั กระแสไฟฟา้ ทใ่ี ชเ้ ชอื้ เพลงิ ฟอสซลิ เครอื่ งยนต์ 32  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟุตพริ้นทส์ �ำหรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

สันดาปภายในที่ใช้เชอื้ เพลิงฟอสซิล เช่น กา๊ ซธรรมชาติ กา๊ ซหงุ ต้ม ถา่ นหิน น้�ำมนั เตา นำ�้ มันเบนซิน และน้ำ� มันดีเซล สมการค�ำนวณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ (l) x คา่ การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก (kgCO2eq/l) ตัวอย่าง : ส�ำนักปลัดใช้นำ้� มนั ดีเซลส�ำหรับเครือ่ งก�ำเนดิ ไฟฟ้า 10,000 ลติ รต่อปี ปริมาณก๊าซเรือนกระจก = 10,000 l x 2.708 kgCO2eq/l = 27,080 kgCO2eq *หมายเหตุ : คา่ การปล่อยก๊าซเรอื นกระจกของการใชน้ ้ำ� มันดีเซล (การเผาไหม้แบบอยกู่ บั ท่ี = 2.708 kgCO2eq/l) ในกรณีท่ีไม่มีการจดบันทึกข้อมูลปริมาณการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลจริง เราสามารถประมาณปริมาณการใชเ้ ชอื้ เพลิงฟอสซลิ จากวธิ ีดังตอ่ ไปนี้ 1 ค�ำนวณจากการใช้ของปีที่ผ่านมาโดยข้อมูลของปีท่ีเลือกมาน้ันจะต้องมีการใช้ เชอ้ื เพลิงฟอสซลิ ที่ตงั้ อยูบ่ นเงือ่ นไขทีเ่ หมือนกนั หรือคล้ายคลงึ กัน เชน่ มกี ารตั้ง ค่าอุณหภูมขิ องเคร่อื งปรับอากาศในแต่ละวันคงที่ 2 ค�ำนวณจากการเทียบเคียงกับอาคารหรือสถานท่ีท่ีมีลักษณะเดียวกัน มีเคร่ืองจักรและอุปกรณ์เหมือนกันในปริมาณต่อหน่วยพื้นที่ เช่น การประเมิน การใชเ้ ชือ้ เพลิงต่อหน่งึ ตารางเมตรของอาคารทใ่ี ชเ้ ทียบเคียง และนำ� ไปคำ� นวณ ตอ่ พืน้ ท่ีของอาคารท่ีอย่ใู นการพิจารณา 1.1.2 ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกจากการใชไ้ ฟฟา้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถหาข้อมูลกิจกรรมที่มีการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจกไดจ้ ากใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ ไฟฟา้ จากทกุ แหลง่ ทอ่ี งคก์ รปกครอง สว่ นท้องถ่ินเปน็ เจา้ ของ เช่น อาคารสำ� นกั งาน ไฟสาธารณะ ไฟจราจร ปั๊มนำ้� โรงบ�ำบดั น�ำ้ เสีย อาคารก�ำจัดขยะ อาคารตา่ งๆ เปน็ ตน้ สามารถค�ำนวณค่า CO2 Emission ได้จากปริมาณการใช้ไฟฟ้าในแต่ละปีท่ีต้องการค�ำนวณ คณู ดว้ ยคา่ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก องค์การบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  33 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

สมการคำ� นวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ (kWh) x ค่าการปล่อยก๊าซเรอื นกระจก (kgCO2eq/kWh) ตวั อยา่ ง : ส�ำนักปลดั ใช้ไฟฟ้าในสำ� นกั งาน 2,000 kWh ต่อปี ปริมาณกา๊ ซเรอื นกระจก = 2,000 kWh x 0.5821 kgCO2eq/kWh = 1,162 kgCO2eq *หมายเหตุ : ค่าการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกของการใช้ไฟฟา้ = 0.5821 kgCO2eq/kWh ในกรณที ีไ่ ม่มีการจดบันทึกขอ้ มูลปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ จริง หรือมเิ ตอร์ ไฟฟ้ารวมท่ีไม่ได้แยกส่วน หรือการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเช่าพื้นที่ อาคารบางส่วนของอาคารส�ำนักงานที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่ได้เป็น เจ้าของ สามารถประมาณปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าได้ 4 แบบ คอื แบบที่ 1 ส�ำนกั งานของอาคารอืน่ ตอ้ งมกี ารปนั สว่ นการใช้ไฟฟา้ ของแต่ละสำ� นกั ที่ ไม่ไดม้ ีการแยกมเิ ตอรไ์ ฟฟา้ สามารถคดิ ไดจ้ ากสมการ ปริมาณไฟฟ้าท่ีใช้ = (พ้ืนทใี่ นสว่ นรบั ผดิ ชอบ x ปริมาณไฟฟ้าทง้ั อาคาร) / (พ้ืนท่ีอาคาร x อัตราการเชา่ ) อตั ราการเชา่ หมายถึง จ�ำนวนพ้นื ทม่ี คี นเช่าตอ่ จ�ำนวนพนื้ ทที่ ้ังหมด ตัวอย่างเชน่ หากมีส�ำนกั งานตา่ งๆ เชา่ ทำ� งานอย่ใู นพ้ืนที่รอ้ ยละ่ 75 ของ พน้ื ทีอ่ าคารให้ใชต้ วั เลข 0.75 ในสมการ แบบท่ี 2 กรณไี ม่มขี ้อมลู ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ใหใ้ ชข้ อ้ มูลของปอี ื่นๆ ทีผ่ า่ นมา โดย การนำ� ขอ้ มลู ของปที เ่ี ลอื กมานนั้ จะตอ้ งมกี ารใชไ้ ฟฟา้ ทต่ี งั้ อยบู่ นเงอ่ื นไขท่ี เหมือนกันหรือคล้ายคลังกัน เช่น มีการต้ังค่าอุณหภูมิของเคร่ืองปรับ อากาศในแตล่ ะวนั คงท่ี การเปดิ -ปดิ ทำ� การของอาคาร เปน็ ตน้ (ไมแ่ นะนำ� ) แบบท่ี 3 ใช้วิธีเทียบเคียงกับอาคารหรือสถานท่ีที่มีลักษณะเดียวกัน มีเครื่องจักร และอุปกรณเ์ หมือนกนั ในปรมิ าณต่อหน่วยพนื้ ท่ี เช่น ประเมนิ การใชเ้ ช้อื เพลิงต่อหนึ่งตารางเมตรของอาคารท่ีใชเ้ ทียบเคยี ง และนำ� ไปค�ำนวณตอ่ พื้นท่ีของอาคารที่อยใู่ นการพจิ ารณา (ไมแ่ นะน�ำ) 34  |  แนวทางการประเมินคาร์บอนฟตุ พร้ินทส์ �ำหรับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

แบบที่ 4 ในกรณีของไฟฟ้าสาธารณะ ไฟจราจรท่ีไม่มีมิเตอร์วัด หรือกรณีท่ีไม่ สามารถทราบถึงค่ามิเตอร์ไฟฟ้ารวมในอาคาร ให้ใช้วิธีการหาค่าการใช้ พลงั งานไฟฟา้ ของอปุ กรณต์ า่ งๆ มาคำ� นวณเทยี บกบั เวลาทใี่ ชใ้ นแตล่ ะวนั ของแตล่ ะชนิด โดยใช้สมการดังนี้ ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าทัง้ ปี = จำ� นวนวตั ต์ทงั้ หมด (w) x ชั่วโมงการเปิด ใชเ้ ฉลย่ี (กโิ ลวตั ตช์ วั่ โมง.ป)ี ตอ่ วนั (hr./day) x 365 (จ�ำนวนวนั ใน 1 ปี) / 1,000 (ทำ� ให้ เปน็ กิโลวัตต์) โดย จำ� นวนวตั ตท์ ัง้ หมด = จ�ำนวนวัตต์จากเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอปุ กรณ์ ไฟฟา้ ท้งั หมดทรี่ วมอยูใ่ นการพิจารณา 1.1.3 ปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดจากรั่วไหลของสารท�ำความเย็นและ สารเคมดี บั เพลิง โดยปกตทิ ว่ั ไปองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จะตอ้ งมกี ารเตมิ สารทำ� ความเยน็ ให้กับเคร่ืองปรับอากาศและตู้เย็นท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ นอกจากน้ีอาจมี การใช้สารเคมีจากถังดับเพลิงส�ำหรับกรณีซ้อมดับเพลิงหรือเกิดเพลิงไหม้ ซ่ึงสารท�ำความเย็นและสารเคมีดับเพลิงจัดอยู่ในกลุ่ม HFCs ซ่ึงสามารถ กอ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซเรอื นกระจกได้ ดงั นนั้ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จะตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู ปรมิ าณสารทำ� ความเยน็ ท่ีเตมิ เขา้ ไปในอปุ กรณ์ตา่ งๆ แต่ละคร้ัง และเมอื่ ได้ ปรมิ าณแลว้ ก็นำ� มาคณู คา่ การปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก แลว้ แปลงคา่ นัน้ ใหอ้ ยู่ ในปรมิ าณของก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทียบเทา่ (CO2eq) สมการค�ำนวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณสารทำ� ความเยน็ ทมี่ กี ารเตมิ ทง้ั ปใี นอปุ กรณ์แตล่ ะชนดิ (kg) x คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก (kgCO2eq/kg) องค์การบริหารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  35 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม 

ตัวอย่าง : สำ� นกั ปลัดมีการเติมสารท�ำความเย็นชนดิ R-134A ในเคร่ืองปรับ อากาศ จำ� นวน 12 กิโลกรัมตอ่ ปี ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจก = 12 kg x 1,430 kgCO2eq/kg = 17,160 kgCO2eq *หมายเหตุ : คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกของการใช้สารท�ำความเยน็ ชนิด R-134A = 1,430 kgCO2eq/kg 1.1.4 ปริมาณก๊าซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมการใช้สารเคมี การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้สารเคมีสามารถแบ่ง ออกไดเ้ ปน็ 2 กรณี ได้แก่ กรณที ่ี 1  สารเคมไี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซเรอื นกระจกในระหวา่ งการใชง้ าน ใหน้ ำ� ปรมิ าณสารเคมที ใ่ี ชไ้ ปคณู คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตามชนดิ ของสารเคมี ทใี่ ช้ (ในกรณที ไ่ี มส่ ามารถหาคา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกของสารเคมที ใ่ี ชไ้ ด้ ให้พิจารณาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากประเภท สมบัติทางกายภาพ และเคมขี องสารเคมที ม่ี ลี กั ษณะใกล้เคยี งมาใชค้ ำ� นวณแทน) สมการค�ำนวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณสารเคมี x คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตามชนดิ ของสารเคมที ใี่ ช้ กรณที ่ี 2  สารเคมสี ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ กา๊ ซเรอื นกระจกระหวา่ งการใชง้ าน โดยปฏิกิริยาเคมี ให้ท�ำการค�ำนวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ีเกิดข้ึน โดย อาศยั หลักการมวลสารสัมพนั ธ์ แลว้ น�ำไปรวมกบั คา่ ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจก ท่ีไดจ้ ากกรณที ี่ 1 1.1.5 ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ปุย๋ เคมี การประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการใช้ปุ๋ยเคมี ท�ำได้โดยน�ำ ปริมาณปุ๋ยเคมีที่มีการใช้จริง คูณกับค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตาม ประเภทและสูตรของปุ๋ยท่ีใช้ 36  |  แนวทางการประเมนิ คารบ์ อนฟุตพร้ินทส์ ำ� หรบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

สมการค�ำนวณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณปยุ๋ เคมที มี่ กี ารใชจ้ รงิ (kg) x คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกตามประเภท และสตู รของปุ๋ยท่ใี ช้ (kgCO2eq/kg ปุ๋ย) 1.2 ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกจากการใชย้ านพาหนะ 1.2.1 ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหมใ้ นยานพาหนะและอุปกรณ์ที่ เคลื่อนที่ ยานพาหนะที่ใช้ส�ำหรับการเดินทางบรรทุกหรือการก่อสร้าง เช่น รถยนตเ์ กง๋ รถตู้ รถกระบะ รถบรรทกุ 6 ลอ้ หรอื 10 ลอ้ เรอื เครอื่ งบนิ รถไถ รถตักหนา้ ขุดหลัง รถโฟร์คลฟิ ท์ รถตัดหญ้า รถกระเช้า ทีม่ กี ารใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิลในการเผาไหม้ เช่น น�้ำมันเบนซิน ก๊าซแอลพีจี สามารถค�ำนวณ คา่ ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกจากการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ตา่ งๆ ในยานพาหนะและ อุปกรณ์ทเี่ คลือ่ นท่ี ดงั น้ี สมการคำ� นวณการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก ปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจก (kgCO2eq) = ปรมิ าณการใชเ้ ชื้อเพลิงแต่ละชนิด x คา่ การปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ในกรณีท่ีไม่มีการจดบันทึกข้อมูลปริมาณการใช้เช้ือเพลิงฟอสซิลจริง เราสามารถหาปรมิ าณการใช้เช้ือเพลิงฟอสซลิ จาก 1 การประมาณจากการอัตราการจา่ ยเงนิ คา่ เดนิ ทาง (บาท/กิโลเมตร) ระยะทางทั้งปี (กิโลเมตร) = ค่าน้ำ� มันเช้ือเพลิง (บาท) / อตั ราคา่ เดนิ ทาง ขององคก์ รฯ (บาทตอ่ กโิ ลเมตร) องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  37 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 

โดยปกติ การใชร้ ถยนตจ์ ะมที งั้ ในเมอื งและตา่ งพนื้ ที่ ดงั นน้ั การหาปรมิ าณนำ�้ มนั เชื้อเพลงิ ทใ่ี ช้โดยการประมาณจากระยะทาง ควรใชส้ มมติฐาน ดังน้ี (1) ส�ำหรับการเดินทางโดยรถยนต์ ก�ำหนดให้เป็นการเดินทางระหว่างเมือง ร้อยละ 45 และเปน็ การเดนิ ทางในเมืองรอ้ ยละ 55 (2) ส�ำหรับรถบรรทุกหากไม่มีบันทึกการใช้งาน สามารถใช้ข้อสมมติฐานเรื่อง อัตราส้ินเปลืองของเชื้อเพลงิ ดงั นี้ - รถบรรทกุ ขนาดกลาง (ขนาดบรรทุกช่วง 10,000-26,000 ปอนด)์ ใช้ อัตราการสิ้นเปลอื งของเชอื้ เพลิง 8.0 mpg - รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ (ขนาดบรรทุกมากกว่า 26,000 ปอนด์) ใชอ้ ัตรา การส้ินเปลอื งของเชื้อเพลิง 5.8 mpg (ท่ีมา : U.S. Department of Energy, Transportation Energy Data Book, Ed. 26, 2007, Table 5.4) หมายเหตุ : mpg = ไมล์ตอ่ แกลลอน (mile per gallon) = 0.4251 กิโลเมตรต่อลติ ร 2 การประมาณปริมาณเชอื้ เพลิงจากจ�ำนวนเงนิ ที่จา่ ยไป ในกรณที ไ่ี มส่ ามารถหาปรมิ าณการใชเ้ ชอ้ื เพลงิ จากการจดบนั ทกึ ระยะทาง การ เบกิ จา่ ยคา่ เดนิ ทาง สามารถค�ำนวณปริมาณเชื้อเพลงิ ทใ่ี ช้ไดจ้ ากขอ้ มลู ของการ จ่ายเงินค่าเชื้อเพลิงส�ำหรับยานพาหนะน้ันๆ โดยต้องทราบราคาขายของ เชอื้ เพลงิ ณ เวลาน้นั แตห่ ากไมม่ กี ารจดบันทกึ ราคาซ้อื เชื้อเพลงิ ณ เวลานน้ั ไว้ ใหใ้ ชค้ า่ เฉลีย่ ของราคาเช้ือเพลิงทงั้ ปี ปริมาณการใช้เชอ้ื เพลงิ = (คา่ ใชจ้ ่ายน�้ำมันเชื้อเพลิง – ภาษีมูลคา่ เพิม่ ) / ราคาน้ำ� มนั เชือ้ เพลงิ 3 การประมาณปรมิ าณเช้ือเพลงิ จากขอ้ มลู การใชง้ าน ในกรณที ไี่ มส่ ามารถหาขอ้ มลู ปรมิ าณการใชเ้ ชอื้ เพลงิ จากแหลง่ ตามหวั ขอ้ 1 และ 2 ไดเ้ ลย แตย่ งั มขี อ้ มลู บนั ทกึ ของปที ผี่ า่ นมา หรอื ปปี จั จบุ นั เราสามารถนำ� ขอ้ มลู ดังกล่าวมาประมาณการได้ โดยการประมาณจะต้องพิจารณาว่าในปีท่ีผ่านมา หรอื ปีปัจจบุ ันมกี ารใช้งานยานพาหนะในเงอื่ นไขเหมือนเดิม หรอื ใช้ปฏบิ ตั งิ าน เหมือนเดมิ หรอื ไม่ (ไมแ่ นะนำ� ) 38  |  แนวทางการประเมนิ คาร์บอนฟตุ พริ้นทส์ ำ� หรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

1.2.2 ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกจากการเดินทางด้วยเคร่ืองบิน การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเดินทางโดยเคร่ืองบิน สามารถทำ� ไดโ้ ดยใช้วธิ ีใดวธิ ีหนึ่ง ดงั นี้ วิธีท่ี 1 กรณีมขี อ้ มูลระยะทาง ให้ค�ำนวณจากระยะทางท่เี ดินทาง ของผโู้ ดยสาร คณู กบั คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกของการเดนิ ทาง โดยเครอ่ื งบินตอ่ ผโู้ ดยสาร สมการคำ� นวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก = ระยะทางในการเดินทางของพนักงานโดย (kgCO2eq) เคร่ืองบิน (กิโลเมตร) x ค่าการปล่อย ก๊าซเรอื นกระจก (tonCO2/km) วธิ ที ี่ 2 กรณไี มม่ ขี อ้ มลู ระยะทาง ใหค้ ำ� นวณจากจำ� นวนเทย่ี วในการ เดินทาง คูณกับคา่ การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกของการเดินทางโดย เครอื่ งบนิ ต่อเทีย่ ว (หรอื ใชค้ า่ เฉล่ีย 1,500 กโิ ลเมตรต่อเทยี่ ว) สมการค�ำนวณการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ปรมิ าณก๊าซเรือนกระจก = จ�ำนวนเท่ียวในการเดินทางของพนักงาน (kgCO2eq) โดยเครื่องบิน x 1,500 กิโลเมตร x คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก 1.3 ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทเี่ กดิ จากการจัดการขยะมลู ฝอย ภาจกจิ หนง่ึ ทสี่ ำ� คญั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ คอื การใหบ้ รกิ ารดา้ นการ จัดเก็บและก�ำจัดขยะของชมุ ชน ซ่ึงบางองค์กรฯ อาจมีระบบการกำ� จัดขยะมลู ฝอย ดว้ ยการฝงั กลบของตนเอง หรอื บางองคก์ รฯ อาจมกี ารจดั จา้ งผรู้ บั เหมาในการกำ� จดั ขยะมูลฝอย ทั้งนี้หากองค์กรฯ มีระบบการก�ำจัดขยะมูลฝอยด้วยการฝังกลบของ ตนเอง การค�ำนวณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ใช้ข้อมูลตามวิธีการก�ำจัดจริง แต่หากไม่มีข้อมูลตามวิธีการก�ำจัดจริง ให้ค�ำนวณโดยก�ำหนดให้ใช้ค่าการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจกจากการกำ� จดั กากของเสยี แบบฝงั กลบ (Landfill) โดยใชข้ อ้ มลู ปรมิ าณ องคก์ ารบริหารจดั การก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  39 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม 

กา๊ ซเรอื นกระจกทถ่ี กู ปลอ่ ยออกจากการกองขยะแบบตนื้ (tCO2eq/ตนั มลู ฝอย) ของ การจดั การขยะมลู ฝอยในพ้นื ที่ก่อให้เกดิ การปลอ่ ยกา๊ ซมีเทน (CH4) โดยอาศัยหลัก การปฏกิ ิริยาการย่อยสลายอนั ดบั หน่ึง (First Order Decay : FOD) ของขยะซึ่ง หลกั การนใ้ี ชใ้ นการคำ� นวณหาการปลอ่ ยกา๊ ซดงั กลา่ วพจิ ารณาจากปรมิ าณขยะทถ่ี กู นำ� มาฝงั กลบ (Landfill) หรอื เทกอง (Open Dump) ในพื้นท่ตี อ่ ปี โดยกองขยะจะ เริ่มมีการย่อยสลายและปล่อยก๊าซ CH4 ในปีที่สองของการจัดการ สมการท่ีใช้ใน การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซ CH4 จากการจัดการขยะมูลฝอย แสดงตาม สมการท่ี 1 สมการที่ 1 การประเมินปริมาณการปลอ่ ยก๊าซมีเทนจากการจัดการขยะมูลฝอย โดยท่ี CH4 generatedT = ปริมาณการปลอ่ ยกา๊ ซมีเทน (CH4) จากการย่อยสลายของขยะ หนว่ ย กกิ ะกรัมมีเทนตอ่ ปี; GgCH4/yr DDOCmdecompT = ปรมิ าณสารอินทรีย์ในขยะท่สี ามารถย่อยสลายได้ หนว่ ย กิกะกรมั มีเทนตอ่ ปี; GgCH4/yr F = สัดส่วนการปล่อยก๊าซมเี ทน (CH4) จากบ่อฝงั กลบ (ใช้ขอ้ มลู จาก กรมควบคุมมลพิษ) 16/12 = คา่ คงทีส่ ำ� หรับการเปลยี่ นจากคาร์บอน (C) ไปเป็นก๊าซมเี ทน (CH4) ส�ำหรับปริมาณสารอินทรีย์ในขยะที่สามารถย่อยสลายได้ (DDOCmde- compT) ในปีที่เริ่มท�ำการฝังกลบ และในช่วงปีท่ีพิจารณาการปล่อยก๊าซมีเทน สามารถคำ� นวณได้จากสมการท่ี 2 และ 3 สมการที่ 2 และ 3 การประเมนิ หาปรมิ าณอนิ ทรยี ส์ ารในขยะทส่ี ามารถยอ่ ยสลายได้ ในปที ี่เรม่ิ ฝงั กลบ 40  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟตุ พริน้ ท์สำ� หรับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

DDDDOOCCmmadTec ompT = DDDDOOCCmmaaTT-1x x (1-e-k) x e-k) = (DDOCmaT-1 โดยท่ี DDOCmaT-1 = ปรมิ าณการสะสมของขยะมูลฝอย ณ สนิ้ ปี ของปีที่พจิ ารณา หนว่ ย กกิ ะกรัมมีเทนต่อปี; GgCH4/yr DDOCmaT = ปริมาณการสะสมของขยะมลู ฝอย ณ สิ้นปี ของปีท่ีเร่ิมมกี ารจดั การขยะ หนว่ ย กิกะกรมั มเี ทนต่อปี; GgCH4/yr DDOCmdT = ปรมิ าณการสะสมของอนิ ทรยี ์สารที่สามารถย่อยสลายไดใ้ นปีท่ีพจิ ารณา หน่วย กกิ ะกรมั มเี ทนต่อป;ี GgCH4/yr k = คา่ คงที่ของการเกิดปฏกิ ริ ิยา โดย k = ln(2)t1/2 (y-1) t1/2 = Haft-life time (ป)ี 1.4 ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกจากการขนสง่ ขยะมูลฝอยไปกำ� จัด การประเมนิ กา๊ ซเรอื นกระจกจากการขนสง่ ขยะมลู ฝอยไปกำ� จดั ณ แหลง่ กำ� จดั ใด หากมีข้อมูลปริมาณเชื้อเพลิงหรือระยะทางท่ีใช้ในการขนส่ง ให้ท�ำการค�ำนวณ ตามแนวทางการประเมินปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้ในยานพาหนะ และอปุ กรณ์ที่เคลือ่ นท่ี แต่หากไมม่ ีขอ้ มูลดังกลา่ ว ใหค้ ำ� นวณโดยการตั้งสมมตฐิ าน ของการขนสง่ กากของเสยี โดยประมาณระยะทางจากองคก์ รไปยงั เมอื งหรอื จงั หวดั ทเี่ ป็นสถานท่ีก�ำจัดกากของเสยี เช่น ขนไปกำ� จดั ดว้ ยรถบรรทุกขยะ 10 ล้อ ขนาด 16 ตัน (วิง่ ปกติ) บรรทุกแบบน�้ำหนักเตม็ และให้พจิ ารณาการขนสง่ ขากลับท่เี ปน็ รถบรรทุกเปล่าด้วย โดยใช้ค่าสมมติฐานของระยะทางในการขนส่ง เท่ากับ 40 กโิ ลเมตร 1.5 ปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกท่ีเกดิ จากสถานีบ�ำบัดนำ้� เสยี 1.5.1 ในกรณที อ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไมม่ กี ารเกบ็ รวบรวมปรมิ าณนำ้� เสยี ทเ่ี กดิ ข้นึ จรงิ ใหป้ ระมาณค่าปรมิ าณน้ำ� เสยี ท่ีเกิดขึ้นเทา่ กบั 80% ของปริมาณ น�้ำท่มี ีการใช้จริงทง้ั หมดภายในองค์กร องค์การบริหารจัดการก๊าซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  41 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 

โดยในการคำ� นวณหาปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกจากการบำ� บดั นำ�้ เสยี คดิ จากการน�ำปริมาณน้�ำเสีย คูณด้วยค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแยกตาม ประเภทของการบำ� บดั นำ้� เสีย ตามตารางท่ี 8 สมการค�ำนวณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก = ปรมิ าณนำ�้ เสยี x คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกแยกตามประเภทการบำ� บดั นำ้� เสยี ตารางที่ 8  ค่าการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกแยกตามประเภทของการบำ� บดั นำ้� เสีย ประเภทของ Methane Emission Factor หมายเหตุ การบำ� บัดน้�ำเสีย Conversion Factor (kg CO2eq/kg (kg CH4/kg COD) ไม่รวมปริมาณก๊าซเรือน COD) กระจกทเ่ี กดิ จากสารอนิ ทรยี ์ กรณนี ำ้� เสียไม่ได้รับการบำ� บดั 0.625 ภายในแหล่งน�ำ้ การปล่อยน�้ำเสียลงสู่ 0.025 0 ประเภทที่ไม่มีการควบคุม ทะเล แม่น้�ำ และบึง 1.875 ดูแลและมีการท�ำงานเกิน โดยตรง ความจุ 5 ไม่รวมปริมาณก๊าซเรือน กรณีน�้ำเสียไดร้ บั การบ�ำบดั 5 กระจกที่ดักเก็บได้จาก 1.25 ระบบบำ� บัด โรงบ�ำบัดน้�ำเสียแบบ 0 ไม่รวมปริมาณก๊าซเรือน เตมิ อากาศ กระจกท่ีดักเก็บได้จาก ระบบบ�ำบัด โรงบ�ำบัดน�้ำเสียแบบ 0.075 ความลึกไม่เกนิ 2 เมตร เตมิ อากาศ ระบบก�ำจัดสลัดจ์แบบ 0.20 ไมเ่ ติมอากาศ Reactor แบบไม่เติม 0.20 อากาศ บอ่ บำ� บดั ตนื้ แบบไมเ่ ตมิ 0.05 อากาศ 42  |  แนวทางการประเมินคาร์บอนฟตุ พริน้ ทส์ �ำหรบั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

ประเภทของ Methane Emission Factor หมายเหตุ การบ�ำบดั น้ำ� เสยี Conversion Factor (kg CO2eq/kg ความลึกมากกวา่ 2 เมตร บอ่ บำ� บดั ลกึ แบบไมเ่ ตมิ (kg CH4/kg COD) อากาศ COD) 0.20 5 ที่มา : IPCC (2006), Chapter 6: Waste Water Treatment and Discharge 1.5.2 กรณที มี่ กี ารเกบ็ รวบรวมคณุ ภาพนำ�้ เสยี ทผี่ า่ นการบำ� บดั สามารถทำ� การ คำ� นวณไดต้ ามสมการ (4) ดงั ต่อไปนี้ CODRemoval = R x C x Q (4) เม่ือ R คอื ค่าประสิทธภิ าพของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสยี (%) ข้ึนอย่กู ับชนิดของระบบบำ� บดั C คือ คา่ ความเขม้ ข้นของ COD ในน้�ำเสีย (kg/m3) Q คอื อตั ราการผลติ น้�ำเสยี (m3) จากสมการท่ี (4) สามารถคำ� นวณหาคา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจาก ระบบบำ� บดั น�ำ้ เสยี ได้ดงั สมการท่ี (5) GHGGeneration = CODRemoval x L (5) เม่ือ CODRemoval คำ� นวณไดจ้ ากสมการ (4) L คือ ค่าอัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ หรือ CH4 (m3/kg) โดยอัตราการเกิดก๊าซชีวภาพ ส�ำหรบั น้�ำเสยี จากแหลง่ ชุมชน มคี ่าเท่ากับ 0.6 m3/kg ทมี่ า: EPA Inventory of US Greenhouse Gas Emission and Sinks: 1990-2006, Chapter 8-8-9 (2006) 1.6 ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกท่ีอยู่ในกจิ กรรมขอบเขตที่ 3 นอกเหนอื จากแหลง่ ทม่ี าของการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมขอบเขตท่ี 1 และ 2 ท่ีอธิบายไวใ้ นบทกอ่ นหนา้ นี้ ยังมกี ารปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางออ้ มอ่ืนๆ ทง้ั หมดทไ่ี มค่ รอบคลมุ ในขอบเขตที่ 2 เชน่ การปลอ่ ยกาซเรอื นกระจกจากการไดม้ า องคก์ ารบริหารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน)  |  43 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม 

ซ่ึงวัตถุดิบที่จะมาผลิตสินค้าท่ีซ้ือมาใช้ในองค์กรฯ กิจกรรมที่เกียวข้องกับยาน พาหนะทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เจา้ ของหรอื มอี ำ� นาจควบคมุ ทงั้ หมด (เช่น การเดินทางมาท�ำงานของพนักงานและการเดินทางไปราชการโดยรถ สาธารณะ) กจิ กรรมการจ้างเหมาดำ� เนนิ การ เช่น การกำ� จดั ขยะ การขดุ หลุมขยะ ตัดขยะ พลิกขยะ กิจกรรมภายนอกอ่ืนๆ การรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขอบเขตท่ี 3 เป็นการรายงานแบบสมัครใจ อย่างไรก็ตาม ควรมีการท�ำรายงาน ครอบคลมุ ไปดว้ ยเพอ่ื ให้การแสดงปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกทป่ี ล่อยออกจากองคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ มีความสมบูรณม์ ากขน้ึ กิจกรรมทีอ่ ยู่ภายใตข้ อบเขตที่ 3 ได้แก่ 1.6.1 การเดนิ ทางมาทำ� งานของพนกั งานโดยยานพาหนะสว่ นตวั หรอื สาธารณะ สมการคำ� นวณการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก ปริมาณก๊าซเรือนกระจก = ปริมาณน้�ำมันเช้ือเพลิงท่ีใช้ (ลิตร) x ค่าการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจกตามชนดิ ของนำ�้ มนั เชอ้ื เพลงิ (kgCO2eq/ ลติ ร) หรือ สมการคำ� นวณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก ปริมาณก๊าซเรือนกระจก = (ระยะทาง/อตั ราการสน้ิ เปลอื งเชอื้ เพลงิ (กโิ ลเมตร/ลติ ร)) x คา่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกแยกตามชนดิ ของนำ�้ มนั เชอื้ เพลงิ (tonCO2/km) 1.6.2 การเดินทางไปราชการโดยยานพาหนะท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ได้เป็นเจ้าของ เช่น รถสาธารณะ เครอ่ื งบนิ เปน็ ตน้ สมการค�ำนวณการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ปริมาณกา๊ ซเรือนกระจก = ปริมาณน้�ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ x ค่าการปล่อยก๊าซเรือน กระจกตามชนิดของน�ำ้ มันเชอ้ื เพลงิ หรอื 44  |  แนวทางการประเมินคารบ์ อนฟุตพริน้ ท์สำ� หรบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่