Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เเผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลประจำปี ๒๕๖๔

เเผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลประจำปี ๒๕๖๔

Published by sairung1652, 2021-09-21 07:41:51

Description: เเผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลประจำปี ๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

แผนศปนู ฏิบยตั ก์กิ าารรกศศนกึ.ตษาบาลนนาอนวกนรประะบจาบปแี ๒ล๕๖ะก๔ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสนมหนา้ ๑ สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั สรุ นิ ทร์

บทที่ ๑ ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา ๑.ชอื่ สถานศกึ ษา กศน.ตาบลนานวน สังกดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศั อาเภอสนม สงั กัดสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดิ สุรินทร์ ๒.ที่ตงั้ /การติดต่อ ตง้ั อยู่ที่ บา้ นตาเพชร หมู่ท่ี ๘ ตาบลนานวน อาเภอสนม จงั หวัดสุรนิ ทร์ โทรศพั ท์ 0922511652, ๐-๔๔๕๘-๙๑๘๙ Website:https://sites.google.com/d/1bNlUpLDg1cSl0GV7U5KHd87CIAHoG4RT/p/1Ov ooUWryqG1u8FVrRY8lQe40dXY7l_f1/Edit Facebook:https://www.facebook.com/profile.php?id=100009883757049 ๓.ประวตั คิ วามเป็นมาของสถานศกึ ษา กศน.ตาบลนานวน เป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับ ประชาชนในชุมชน โดยความร่วมมือของส่วนราชการต่าง ๆ ในเขตอาเภอ ตาบลและพ้ืนที่ เป็น สถานท่ีท่ีเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ถ่ายทอด และแลกเปล่ียนประสบการณ์ วิทยาการ ตลอดจนภมู ิปัญญาของชมุ ชน อีกท้ังยังเป็นแหล่งบริการชุมชนในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้อง กับความต้องการของ ประชาชน โดยเน้นกระบวนการเรยี นรู้ในวถิ ีชีวติ ใหท้ นั กับการเปล่ียนแปลงของ สังคมและก่อให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ การเสริมสร้างวิถีประชาธิปไตย และมุ่งการพัฒนาแบบ พึง่ ตนเอง ที่ตั้ง ของ กศน.ตาบลนานวน ต้ังอยู่ที่บ้านเลขที่ ๑๔๗ หมู่ที่ ๘ บ้านตาเพชร ตาบลนานวน อาเภอสนม จงั หวดั สรุ ินทร์ ห่างจากจังหวัด ๕๗ กิโลเมตร ห่างจากท่วี ่าการอาเภอสนม ประมาณ ๗ กม. ลักษณะของอาคาร เป็นอาคารชั้นเดียว ซ่ึงได้รับงบประมาณจากสานักงาน กศน.สร้าง เป็น เอกเทศ ส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษานอกโรงเรียน มีความหลากหลายท้ังในด้านรูปแบบ เน้ือหา สาระ การนาไปใช้ สื่อการเรียนท่ีเหมาะสม โดยผู้สอนได้นาหลักจิตวิทยาผู้ใหญ่มาใช้ในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ โดยคานึงอยู่เสมอว่ากลุ่มผู้เรียนมีความหลากหลายเป็นผู้ด้อยโอกาสและมี ความแตกต่าง โดยใน กศน.ตาบลนานวน จัดให้มี แบบเรียน คู่มือ ชุดการเรียน หนังสือพิมพ์/ วารสาร สื่อเอกสาร/ส่ิงพิมพ์ ต่าง ๆ ตลอดจนหนังสืออ่านคลายเครียด หนังสืออ่านท่ัวไป และ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารต่างๆ สาหรับไว้ให้นักศึกษาค้นคว้าและอ่านเพิ่มเติม ตลอดจนเป็น การให้บรกิ ารประชาชน เปิดโอกาสให้ประชาชนไดเ้ ขา้ มารับบรกิ ารการศึกษาในแหลง่ การเรียนรู้ท่ีใกล้ ตวั รวมทัง้ ชุมชนได้มีแหลง่ ข้อมลู ข่าวสารในระดบั พืน้ ทท่ี ี่บรกิ ารความรแู้ กป่ ระชาชนได้ทันต่อเหตุการณ์ ปัจจุบัน แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒

สภาพภายนอกอาคาร สภาพภายในอาคาร มีอาณาเขตตดิ ตอ่ -ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับ ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสรุ นิ ทร์ -ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ ตาบลคาราแมะ และตาบลหนองบัว อาเภอศีขรภมู ิ จังหวัดสรุ นิ ทร์ -ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั ตาบลนานวน และตาบลแคน อาเภอสนม จังหวัดสรุ ินทร์ -ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั ตาบลระฆัง อาเภอสนม จังหวัดสุรนิ ทร์ มีพนื้ ที่ท้งั หมดประมาณ ประมาณ ๒ ไร่ แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๓

ขอ้ มูลดา้ นบคุ ลากร / ผ้รู ับบรกิ าร ทาเนียบครู /ผปู้ ฏบิ ัติงาน กศน.ตาบล ลาดับ ชอื่ - สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาท่ดี ารงตาแหนง่ ๒๕๕๓-๒๕๕๖ จานวน ๔ ปี ที่ ๑. นายสุระศักดิ์ สงนวน ครู กศน.ตาบล ๒. นายพัฒนะ สตภิ า ครู อาสาสมคั รฯ ๒๕๕๗ ๓. นางสาวพัชรานชุ จนั ทา่ ม่วง ครู กศน.ตาบล ๒๕๕๗- กรกฎาคม ๒๕๕๗ ๔. นายพฒั นะ สติภา ครูอาสาสมัครฯ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ๕. นางสาวสายรุง้ ขมุ ทอง ครู กศน.ตาบล ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ ถงึ ปัจจุบัน นางสาวดวงใจ บวั แย้ม ครูศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน ๗ มีนาคม ๒๕๖๑ ถึงปัจจบุ ัน แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔

ประวัตคิ วามเปน็ มาของตาบลนานวน ประวัติและความเปน็ มาของตาบล ประวัติความเปน็ มาของตาบลนานวน เดิมเป็นส่วนหนึ่งของตาบลแคน อาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ตาบลนานวนได้แยกออกจากตาบลแคนมาจดั ตงั้ เป็นตาบลใหม่ช่ือ ตาบลนานวน อาเภอสนม จงั หวดั สุรนิ ทร์ มีจานวนหมบู่ า้ นทั้งหมด ๑๗ หมู่บ้าน คือบ้านนานวน บา้ นหวั นา บ้านตาเพชร บ้านแท่น บ้าน โนนแดง บ้านอ้อมแก้ว บ้านโคกกลาง บ้านหนองคูณ บ้านโนนตาล บ้านหนองตาด บ้านนานวน บ้าน กา้ นเหลือง บา้ นสองหอ้ ง บา้ นหนองหลัก บ้านกาพระ บ้านหนองคู บ้านหนองครก โดยมีนายทอง หลักบุญ อยู่ บ้านนานวน เป็นกานัน ดารงตาแหน่งประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๙๕-๒๕๑๖ พอหมดวาระ นายใหม่ มีแก้ว อยู่ บ้านนานวนไดร้ ับเลือกตั้งใหด้ ารงตาแหน่งกานันตาบลนานวน ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๑๙ หลังจากกานันใหม่ มีแก้ว หมดวาระแล้ว นายศิลา พิมพ์ลา อยู่บ้านนานวนได้รับการเลือกตั้ง ดารงตาแหน่งกานัน ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐-๒๕๒๒ และได้แยกไปจัดต้ังตาบลใหม่ ชื่อตาบลนานวน มี ๗ หมู่บ้าน คือ บ้านนานวน บ้านก้านเหลือง บ้านสองห้อง บ้านหนองหลัก บ้านกาพระ บ้านหนองคู บ้าน หนองครก ตาบลนานวน จึงได้เลือกต้ังกานันคนใหม่ นายหา วุฒิยา ได้รับการเลือกตั้งให้ดารงตาแหน่ง กานนั ตาบลนานวน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๓-๒๕๓๘ และได้จัดตั้งหมู่บ้านเพ่ิมช่ือ บ้านหนองพยอม โดยแยก ออกจากบ้านหัวนา นายโฮม โคตรชัย ได้รับการเลือกต้ังให้ดารงตาแหน่งกานันตาบลนานวน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๕ และได้จัดต้ังหมู่บ้านใหม่ขึ้นอีก ๒ หมู่บ้าน คือบ้านทิพย์มงคล แยกออกมาจาก บ้านนาน วน บ้านหนองนาแยกออกมาจากบา้ นแท่น ปจั จุบัน ตาบลนานวนมี ๑๓ หมู่บ้าน นายม่ัน พรหมมี ได้รับ การเลือกตั้งให้ดารงตาแหน่งกานันตาบลนานวนคนปัจจุบัน วันท่ี ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๐ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศยกฐานะตาบลนานวน ให้เป็นองค์การบริหารส่วนตาบลนานวน ปัจจุบัน ต้ังอยู่บริเวณระหว่างบ้านหัวนา หมู่ที่ ๗ บ้านอ้อมแก้ว หมู่ท่ี ๔ ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัด สุรินทร์ และเปิดทาการใหบ้ รกิ ารประชาชนมาจนถงึ ปจั จบุ ัน สภาพทว่ั ไป ท่ีตงั้ และอาณาเขตติดตอ่ ทิศเหนอื จรด ตาบลนานวน อาเภอสนม ทิศตะวันออก จรด ตาบลนานวนและตาบลแคน อาเภอสนม ทศิ ใต้ จรด ตาบลหนองบวั ลาหว้ ยจริง ตาบลคาลาแมะ อาเภอศขี รภูมิ ทศิ ตะวันตก จรด ตาบลหนองระฆงั อาเภอสนม เนอ้ื ท่ี องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลนานวน มเี นอ้ื ท่ีทง้ั หมดประมาณ ๓๔.๕๗ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๒๑,๕๘๖.๑๒ ไร่ แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๕

ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของตาบลนานวน ทางทิศใต้เป็นท่ีราบสูง ลาดต่าลงมาสู่ทางด้านทิศเหนือของ ตาบลทิศ ตะวันออกและทิศตะวันตก มีลักษณะเป็นท่ีราบสลับเนินเขาขนาดเล็ก พื้นที่ใช้ในการทาการ เกษตรกรรม ได้แก่ การปลกู ข้าว ดินเป็นดินร่วนปนทราย ไม่มีสารอาหารของพืชเพียงพอ มีลาห้วยจริงและลาห้วยกระโดนไหลผ่าน ตาบลนานวน และเปน็ ลาห้วยท่ตี น้ื เขนิ สภาพภมู อิ ากาศโดยทั่วไปมี ๓ ฤดู คอื มาจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไดพ้ ัดเอาความหนาวเย็น และความแห้งแลง้ เขา้ มา และยังไดร้ บั อิทธิพลของลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ พดั เอาฝนและความชน้ื เข้ามา ทาให้สภาพอากาศ เปล่ียนแปลงในรอบปีต่างกนั เป็น ๓ ฤดู คอื ฤดรู ้อน,ฤดหู นาว,ฤดูฝน -ฤดรู อ้ น ชว่ งระยะเวลาต้ังแต่ เดอื นมกราคมถงึ เดอื นเมษายน อุณหภมู เิ ฉล่ยี ๓๗ องศา -ฤดฝู น ชว่ งระยะเวลาตั้งแต่ เดือนพฤษภาคมถงึ เดอื นสิงหาคม อณุ หภูมเิ ฉลี่ย ๓๔ องศา -ฤดูหนาว ชว่ งระยะเวลาตัง้ แต่ เดอื นกนั ยายนถึงเดือนธนั วาคม อณุ หภูมิเฉลีย่ ๒๕ องศา องค์การบริหารส่วนตาบลนานวนมีหมู่บ้านทั้งหมด ๑๓ หมู่บ้าน อยู่ในเขตตาบลนานวนเต็มท้ัง ๑๓ หมบู่ ้านไดแ้ ก่ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๖

ตารางจานวนครัวเรอื นของประชาชนตาบลนานวน พ.ศ. ๒๕๕๗1 หมทู่ ่ี ช่ือหมู่บ้าน ครัวเรือน พ.ศ.๒๕๕๕ ครวั เรือน พ.ศ. ครัวเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๕๕๖ ๑๖๐ ๗๓ ๑ บ้านนานวน ๑๖๐ ๑๖๑ ๓๑ ๑๕๕ ๒ บา้ นโคกกลาง ๗๒ ๗๓ ๘๗ ๖๑ ๓ บ้านโนนตาล ๓๑ ๓๑ ๑๘๙ ๑๗๒ ๔ บา้ นอ้อมแก้ว ๑๕๐ ๑๕๕ ๕๑ ๑๒๖ ๕ บ้านแทน่ ๘๗ ๘๗ ๔๘ ๕๘ ๖ บา้ นโนนแดง ๕๗ ๖๑ ๘๐ ๑,๒๙๑ ๗ บ้านหัวนา ๑๘๕ ๑๘๘ ๘ บา้ นตาเพชร ๑๖๑ ๑๖๙ ๙ บา้ นหนองตาด ๔๙ ๕๐ ๑๐ บ้านหนองคูณ ๑๒๗ ๑๒๗ ๑๑ บา้ นหนองพยอม ๔๗ ๔๘ ๑๒ บ้านทิพย์มงคล ๕๖ ๕๘ ๑๓ บ้านหนองนา ๗๗ ๗๙ รวม ๑,๒๕๙ ๑,๒๘๗ แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๗

อาณาเขตการปกครอง ตารางอาณาเขตการปกครองตาบลนานวน พ.ศ. ๒๕๕๗ หมู่ท่ี ช่อื หมู่บา้ น ชื่อ – สกลุ ตาแหนง่ หมายเหตุ ๑ บ้านนานวน นายมั่น พรมมี กานัน ๒ บา้ นโคกกลาง นายประวตั ิ บญุ เอบิ ผใู้ หญ่บา้ น ๓ บ้านโนนตาล นายสมชาย ดอกเกษ ผ้ใู หญ่บา้ น ๔ บา้ นออ้ มแกว้ นางระเบยี บ จันทร์หงอ่ ม ผู้ใหญบ่ า้ น ๕ บ้านแทน่ นายสมจิตร กะเสาทอง ผู้ใหญบ่ ้าน ๖ บ้านโนนแดง นางกาญจนา ผลเจรญิ ผใู้ หญ่บ้าน ๗ บ้านหัวนา นายนยิ ม วิชาดี ผใู้ หญ่บ้าน ๘ บา้ นตาเพชร นายประวทิ ย์ สาระภี ผู้ใหญบ่ า้ น ๙ บ้านหนองตาด นายสุรเดช สภุ า ผู้ใหญบ่ า้ น ๑๐ บ้านหนองคูณ นายสมนั สาอางค์ ผใู้ หญบ่ า้ น ๑๑ บ้านหนองพยอม นายสรุ ยิ า เลไทสงค์ ผใู้ หญบ่ ้าน ๑๒ บ้านทิพย์มงคล นายพรเทพ ศลี ธรรม ผู้ใหญบ่ า้ น ๑๓ บา้ นหนองนา นายทองเจริญ สธุ รรม ผู้ใหญ่บา้ น สภาพทางเศรษฐกจิ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลนานวนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งอาชีพหลัก คอื ทานา, เลีย้ งสัตว์ และทาไร่อ้อยและสวนยางพาราบางพ้ืนท่ี นอกจากนี้ยังใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของ ในหลวง เกษตรอนิ ทรยี ์ผสมผสาน และโครงการเศรษฐกิจชุมชนที่ได้รับจาก อบต. และประชากรบางส่วนก็ทา การค้าขายและไปทางานต่างจังหวัดทาให้มีรายได้ โดยเฉล่ียแล้วมีรายได้มากกว่า ๓๘,๔๓๐.๙๘ บาท/คน/ปี จานวน ๑,๑๙๕ ครัวเรอื น จากครัวเรือนท้ังหมด ๑,๒๐๔ ครัวเรือน ซึ่งจะเห็นได้ว่าสถานภาพความเป็นอยู่ดี ขน้ึ เรื่อยๆจากปีที่ผา่ นมา ถือวา่ อยใู่ นเกณฑ์ปานกลาง2 (สารวจจากขอ้ มลู ท่ีอย่ใู นพน้ื ทจี่ ริง) แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๘

หน่วยธรุ กจิ ในเขต อบต. จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๑ แห่ง ๑ ปม๊ั นา้ มนั และกา๊ ซ ๒๗ แหง่ หมายเหตุ ๒ โรงสี จานวน ๒ แหง่ ๓ ร้านคา้ ๖๗ แหง่ จานวน ๓ แห่ง ๔ โรงงานผลิตยาไทยประดิษฐโ์ อสถ ๑ แห่ง จานวน ๑๔ แหง่ กลุ่มอาชีพ ท่ี รายการ จานวน ๑ เศรษฐกจิ ชุมชน ๒๖ กลมุ่ ๒ ทอผ้าไหม ๒ กลุม่ ๓ เล้ยี งปลา ๓ กลุ่ม ๔ เล้ยี งไก่พนื้ เมือง ๒ กลุม่ ๕ เลี้ยงโค – กระบอื ๑ กลุม่ ๖ กิจการทเ่ี ป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ ๓๙ ราย ๗ อากรฆา่ สตั ว์ ๑๑ ราย สภาพทางสังคม การศกึ ษา ๑. ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ ๒.โรงเรียนประถมศกึ ษา (รวมขยายโอกาส) ๓.ทีอ่ า่ นหนงั สือพิมพ์ประจาตาบล/ห้องสมดุ ประชาชน แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๙

แบง่ เปน็ สถานท่ตี งั้ ไดด้ ังน้ี (๑) ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก ตงั้ อยทู่ บ่ี ริเวณถนนสาย บา้ นนานวน บา้ นทิพยม์ งคล บา้ นตาเพชร - ผดู้ ูแลเดก็ เลก็ จานวน ๓ คน - เด็กเล็ก จานวน ๕๔ คน (๒) ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก แหง่ ท่ี ๒ ตงั้ อยู่ ณ ทท่ี าการองค์การบริหารสว่ น ตาบลนานวน - ผู้ดูแลเดก็ เลก็ จานวน ๒ คน - เดก็ เล็ก จานวน ๔๗ คน (๓) โรงเรียนบ้านหวั นา เปดิ สอน อนบุ าล-ป.๖ นายณฐั รฐั สนั ตภิ พ ผู้อานวยการโรงเรยี น - ครู จานวน ๙ คน - นักเรียน จานวน ๑๔๓ คน (๔) โรงเรยี นบ้านตาเพชร เปิดสอน อนบุ าล- ป.๖ นายผาสขุ แสนรวยเงิน ผู้อานวยการโรงเรียน - ครู จานวน ๔ คน - นกั เรียน จานวน ๕๑ คน (๕) โรงเรียนบา้ นนานวน เปิดสอน อนบุ าล-มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ (โรงเรียนขยายโอกาส ) นายปณิธาน ห้าวหาญ ผูอ้ านวยการโรงเรียน - ครู จานวน ๑๕ คน - นักเรียน จานวน ๒๓๕ คน (อนุบาล-ประถมศกึ ษา) สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด / สานักสงฆ์ / ทพี่ ักสงฆ์ จานวน ๗ แหง่ - โบสถ์ จานวน ๔ หลัง สาธารณสขุ - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล (สถานีอนามัย) ๒ แหง่ (๑) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นออ้ มแกว้ (สถานอี นามัย) -นางจรรยา มะลิงาม เป็นหวั หนา้ (๒) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบ้านนานวน (สถานีอนามัย) -นายอัมพร จันทา เปน็ หวั หน้า -บคุ ลากรและอุปกรณ์ดา้ นสาธารณสขุ ทีป่ ฏิบัติงานประจาในพน้ื ทีต่ าบลจานวนเจ้าหนา้ ที่ สาธารณสขุ ๔ คน -อตั ราการมีและใชส้ ว้ มราดน้า ร้อยละ ๑๐๐ แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๑๐

การให้ความช่วยเหลือดา้ นสาธารณสุข จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๑๓ หมู่บา้ น ๑ ฉดี วคั ซีนปูองกนั พษิ สนุ ัขบ้า ๗๖๐ คน ๒ มอบเบีย้ ยงั ชีพผสู้ ูงอายุ ๔๒๕ คน ๓ มอบเบยี้ ยังชีพผพู้ ิการ ๘ คน ๔ ผู้ปุวยเอดสท์ แี่ สดงตน ๑๓ หมู่บ้าน ๕พน่ พน่ หมอกควันกาจดั ยุงลาย ๑๓ หมูบ่ ้าน ๖ สนบั สนุนสาธารณสขุ มลู ฐาน ๑๓ หมบู่ ้าน ๗ บรกิ ารสาธารณสุขชมุ ชน/ตรวจสุขภาพ 1 กองทุน ๘ กองทนุ สปสช. ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๑๒๕ คน ๑ ลูกเสือชาวบ้าน ๓ ร่นุ ๑๑๓ คน ๒ ไทยอาสาปอู งกันชาติ ๓ รุ่น ๓ ผรส. ๔ คน ๔ ตารวจบ้าน ๑ ร่นุ ๑๔ คน ๕ อปพร.จานวน ๓ รุ่น ๑๒๐ คน ๖ กานัน/ผใู้ หญ่บ้าน ๑๓ คน ๗ อสป. รุ่น ๓/๕๓ ๑๓๐ คน เนอื่ งจากหน่วยงานราชการต่างๆ พร้อมกับองค์การบริหารส่วนตาบลนานวนได้มีการปูองกัน ภัยท่ีจะมีต่ออาคารบ้านเรือน สาธารณสมบัติ และชีวิตของราษฎร ตลอดจนได้มีการส่งเสริมและกระตุ้นให้ ราษฎรได้มีความรู้รักสามัคคี ช่วยกันรักษาความสงบเรียบร้อยในเขตชุมชนของตัวเอง ทาให้ตาบลนานวนทุก ครวั เรอื นมีความปลอดภยั ในชีวิต และทรัพยส์ นิ ซึง่ ไดผ้ ่านเกณฑ์ตามทไี่ ดส้ ารวจความจาเป็นพืน้ ฐาน แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๑๑

สภาพโครงสร้างพ้ืนฐาน การคมนาคม การคมนาคม ภายในตาบลนานวนอาศยั เสน้ ทางคมนาคมทางบกเพียงอยา่ งเดียว โดยแบง่ ตามผิวจราจรได้ดงั นี้ ที่ รายการ จานวน หมายเหตุ ๑ ถนนลาดยาง ๒ สาย ยาว ๑,๘๖๓ เมตร ๒ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ๑๔ สาย ยาว ๑,๔๖๓ เมตร ๓ ถนนหินคลุก ๑๔ สาย - ๔ ถนนลกู รงั และถนนดนิ ๒๑ สาย ยาว ๒๖,๐๐๙ เมตร ๕ ถนนสายหลัก ยาว ๓,๔๔๘ เมตร ๖ ถนนสายรอง - ยาว ๑,๘๐๓ เมตร - การโทรคมนาคม จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๑ แห่ง ๑ สถานีวทิ ยุชุมชนไทยประดษิ ฐ์ ๑๕ แห่ง ๒ โทรศพั ท์สาธารณะ ๑,๑๙๕ ครวั เรือน ๓ โทรศพั ทบ์ ้าน/มือถอื ๙๕๗ ครัวเรอื น ๔ โทรทศั น์ ๕๗๗ ครวั เรือน ๕ วทิ ยุ 10 ปูาย ๖ ปาู ยจราจร การรับร้ขู า่ วสารของประชาชนตาบลนานวน ๑. ข่าวสารจากหอกระจายขา่ วไรส้ ายครอบคลุมท้ังตาบล รวม ๑๓ หมบู่ ้าน ๒. สถานวี ทิ ยุ และ โทรทัศน์ การไฟฟา้ ตาบลนานวนมีระบบการไฟฟูาขยายทว่ั ถึงทั้งตาบล ครบท้ัง ๑๓ หมู่บา้ น ประชากรสว่ นใหญ่ มไี ฟฟูาใช้ทุกครัวเรือน ทาให้ประชาชนมสี งิ่ อานวยความสะดวก เชน่ เครื่องใช้ไฟฟูา ใช้ในชวี ิตประจาวัน แผนปฏิบตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๑๒

ระบบประปา จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๑ แห่ง ๑ บ้านโคกกลาง หมู่ ๒ ประปาขนาดเลก็ ๑ แห่ง ๒ บา้ นโนนตาล หมู่ ๓ ประปาขนาดเลก็ ๑ แห่ง ๓ บา้ นโนนแดง หมู่ ๖ ประปาขนาดเลก็ ๑ แหง่ ๔ บา้ นหัวนา หมู่ ๗ ประปาขนาดใหญ่ ๑ แห่ง ๕ บ้านตาเพชร หมู่ ๘ ประปาขนาดเลก็ ๑ แหง่ ๖ บ้านตาเพชร หมู่ ๘ ประปาขนาดกลาง ๑ แหง่ ๗ บา้ นหนองตาด หมู่ ๙ ประปาขนาดเล็ก ๑ แหง่ ๘ บ้านหนองคูณ หมู่ ๑๐ ประปาขนาดกลาง ๑ แห่ง ๙ บ้านหนองนา หมู่ ๑๓ ประปาขนาดกลาง ๑ แหง่ ๑๐ บ้านนานวน หมู่ ๑ ประปาขนาดใหญ่ รวม ๑๐ แห่ง แหลง่ นา้ ธรรมชาติ จานวน หมายเหตุ ที่ รายการ ๖ แหง่ ๑ ลานา้ , ลาห้วย ๒๙ แหง่ ๒ บึง, หนองและสระน้า 2 สาย ๓ คลอง แหล่งน้าทส่ี รา้ งขึ้น รายการ จานวน หมายเหตุ ที่ ๖ แห่ง ๑ ฝาย, ทานบ ๒๒ แหง่ ๒ บอ่ น้าต้นื ๓๑ แห่ง ๓ บ่อบาดาล แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๑๓

โครงสรา้ ง ผ้อู านวยการ กรรมการสถานศึกษา กลุ่มงานอานวยการ กลุ่มจดั การศึกษานอกระบบ กลุ่มภาคเี ครอื ขา่ ย - งานธรุ การ และสารบรรณ และการศึกษาตามอัธยาศยั และกจิ การพเิ ศษ - งานการเงนิ และบญั ชี - งานส่งเสริมการรู้หนงั สือ - งานสง่ เสริมสนับสนุนภาคี - งานงบประมาณและระดม - งานการศึกษาขั้นพน้ื ฐานนอกระบบ เครือข่าย ทรัพยากร - งานการศึกษาต่อเนื่อง - งานกจิ การพเิ ศษ - งานพัสดุ - งานบุคลากร - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - งานโครงการอันเนือ่ งจาก - งานอาคารสถานที่และ - งานการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะ พระดาริ ยานพาหนะ - งานแผนงานและโครงการ ชีวติ - งานป้องกันแก้ไขปัญหายา - งานประชาสัมพันธ์ - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม เสพติด/เอดส์ - งานสวสั ดกิ าร - งานขอ้ มูลสารสนเทศและการ และชุมชน - งานส่งเสริมกจิ กรรม รายงาน - ฯลฯ ประชาธปิ ไตย - ศูนยร์ าชการใสสะอาด - งานการศึกษาตามอธั ยาศัย - งานควบคุมภายใน - งานจดั และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ - งานสนับสนุนนโยบาย - งานนิเทศภายในติดตามและ จงั หวัด/อาเภอ ประเมินผล และภูมปิ ัญญาท้องถิ่น - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานจัดและพัฒนาศนู ย์การเรียน - งานกจิ การลูกเสือ และยวุ กาชาด สถานศึกษา ชมุ ชน - งานประกันคุณภาพภายใน - งานห้องสมุดประชาชน สถานศึกษา - งานการศึกษาส่ือสารมวลชน - งานพฒั นาหลกั สตู ร ส่อื นวตั กรรม - งานทะเบยี นวัดผล - งานศูนยบ์ รกิ ารให้คาปรึกษาแนะนา - งานกจิ การนักศึกษา แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๑๔

ประวตั ิส่วนตวั ผรู้ บั การประเมนิ : นางสาวสายรงุ้ นามสกลุ : ขุมทอง เพศ : หญิง เกดิ วนั ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๙ อายุ ๓๓ ปี ประวตั ิการทางาน ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๓ – ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโนนนารายณ์ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ – ปัจจุบนั ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลนานวน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสนม สังกัด : สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั สุรนิ ทร์ ปจั จบุ ันทางานตาแหน่ง : ครู กศน.ตาบล ศนู ย์ กศน.อาเภอสนม จังหวัดสรุ นิ ทร์ ทอี่ ย่ปู ัจจุบนั ทสี่ ามารถตดิ ต่อไดส้ ะดวก : ๑๒ หมู่ ๑๔ ตาบลบวั โคก อาเภอทา่ ตมู จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ที่อยู่ตามทะเบยี นบา้ น :๑๒ หมู่ ๑๔ ตาบลบัวโคก อาเภอท่าตมู จังหวัดสรุ ินทร์ การศกึ ษา วุฒิ ปี พ.ศ.ท่สี าเร็จการศึกษา ช่ือสถาบนั -ปรญิ ญาตรี ๒๕๕๑ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม -ม.ปลาย ๒๕๔๘ โรงเรยี นทา่ ตูมประชาเสริมวิทย์ -ม. ต้น ๒๕๔๕ โรงเรยี นท่าตูมประชาเสรมิ วิทย์ -ประถมศกึ ษา ๒๕๔๒ โรงเรยี นบา้ นโสมน ระยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ที่ หน้า ๑๕ -ครู ศรช.บ้าน ๑๗ มถิ ุนายน ๒๕๕๓ ถึง ๙ มกราคม ๒๕๕๔ -ครู กศน.ตาบล ๑๐ มกราคม ๒๕๕๔ ถึง ปจั จบุ ัน พื้นทรี่ ับผิดชอบ กศน.ตาบลนานวน ๒๓ มกราคม ๒๕๕๘ ถึงปัจจบุ นั (๒๓ มกราคม-๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ (ชว่ ยราชการที่ กศน.อาเภอโนนนารายณ์) แผนปฏิบตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔

ประวัติส่วนตัว 1. ชือ่ : นางสาวรญั ชดิ า บัวแยม้ 2. เพศ : หญิง เกดิ วันอาทติ ย์ ที่ 8 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2534 3. สถานทที่ างาน : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสนม 4. สังกดั : สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดสรุ ินทร์ 5. ปจั จุบนั ทางานตาแหน่ง : ครู ศรช.บ้านทิพยม์ งคล ตาบลนานวน อาเภอสนม จังหวัดสรุ ินทร์ 6. ทีอ่ ยูต่ ามทะเบียนบา้ น : บ้านเลขที่ 47 หมู่ท่ี 2 ตาบลโนน อาเภอโนนนารายณ์ จังหวดั สุรินทร์ 7. การศึกษา วุฒิ ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศึกษา สถาบนั การศกึ ษา -ปรญิ ญาตรี (ค.บ.เคม)ี 2557 มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ ินทร์ -มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2552 โรงเรียนประดแู่ ก้วประชาสรรค์ -มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2549 โรงเรียนประดแู่ ก้วประชาสรรค์ -ประถมศึกษา 2541 โรงเรียนบ้านหนองบัวงาม 8. ระยะเวลาในการปฏิบัติงานในหนา้ ท่ี : ครศู นู ย์การเรียนชุมชนบา้ นทพิ ย์มงคล ตาบลนานวน อาเภอ สนม จงั หวัดสุรนิ ทร์ วันท่ี 7 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2561 – ปจั จบุ นั 9. พ้นื ทใ่ี นความรบั ผิดชอบ ตาบลนานวน มที งั้ หมด จานวน 13 หมบู่ ้าน แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๑๖

๓.คณะกรรมการ กศน.ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล เปน็ บคุ คลท่ีอยู่ในชุมชน มีความเสยี สละสนใจใหค้ วามร่วมมือในการ ดาเนินงานพัฒนา กศน.ตาบล สนบั สนนุ การจัดหาวสั ดอุ ปุ กรณ์ บคุ ลากร งบประมาณ ขอ้ มลู พนื้ ฐานที่ จาเปน็ ของชมุ ชนเพ่อื ใหเ้ กดิ กิจกรรมการเรียนรแู้ ก่ผมู้ าใชบ้ ริการทงั้ ส้นิ จานวน ๑๘ คน ข้อมูลคณะกรรมการ กศน.ตาบลนานวน รายชอ่ื คณะกรรมการ กศน.ตาบลนานวน 1.นายสุริยา เลไทสงค์ ประธานกรรมการ 2.นางจรรรยา มะลิงาม รองประธาน 3.นายถนอม แปลงทัพ กรรมการ 4.นายประวัติ บญุ เอบิ กรรมการ 5.นายสมชาย ดอกเกษ กรรมการ 6.นางระเบยี บ จันทร์หงอ่ ม กรรมการ 7.นายนาย มแี ก้ว กรรมการ 8.นางกาญจนา ผลเจรญิ กรรมการ 9.นายนิยม วิชาดี กรรมการ 10.นายประวิทย์ สารภี กรรมการ 11.นายสุรเดช สภุ า กรรมการ 12.นายสมนั สาอางค์ กรรมการ 13.นายพรเทพ ศลิ ธรรม กรรมการ 14.นายอุดมศกั ด์ิ คงน่ิม กรรมการ 15.นายพงษ์ แสงมณยี ์ กรรมการ 16.นางสาวอภิรดา แสงเพชร กรรมการ 17.นางสาวสายรุ้ง ขุมทอง กรรมการและเลขานุการ ๑๘.นางสาวดวงใจ บัวแยม้ ผ้ชู ่วยกรรมการและเลขานุการ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๑๗

องค์กรนกั ศึกษา กศน.ตาบลนานวน ลาดบั ท่ี ช่อื -สกลุ ตาแหน่ง หมายเหตุ ๑ นางสาวสุรรี ตั น์ จองจ่าย ประธาน ๒ นางสมใจ สีดาน้อย รองประธาน ๓ นางสาวนัฐวรา หลอมทอง เลขานกุ าร ๔ นางสาวดลฤดี ตาเมอื ง ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๕ นายสุ ุพฒั น์ เครือแก้ว กรรมการนักศึกษา ๖ นางสาววรี วรรณ เกียนทอง การเงนิ และบัญชี ๗ นางสาวสุภคุ ษร สุขสกุล ประชาสัมพันธ์ ๘ นางสาวปรยี าภรณ์ ล้วนดี ปฏิคม อาสาสมัคร กศน. เป็นผู้ที่สมัครใจทางานเพ่ือสังคมในด้านการศึกษา โดยไม่รับค่าตอบแทน มีความรู้ความสามารถและ จิตอาสาในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านการมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ ประชาชนในชุมชนได้อย่างท่ัวถึงช่วยบรรเทาภาวะขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้านทางการศึกษา ใน ชมุ ชน เพ่อื เสรมิ สร้างการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน บทบาทและภารกจิ กศน.ตาบล หลักการทางาน กศน. ตาบล ยดึ ชมุ ชนเป็นฐานในการทางานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของ ชุมชน เชน่ อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายใน ชุมชนร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็น ภาคีเครือข่ายในการดาเนินการจัดกิจกรรม กศน. ตาบล ท้ังในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็น เจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนและชุมมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตาบล ท่ีเป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริม สนับสนนุ ติดตามดแู ลและรว่ มประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน กศน. ตาบล แผนปฏิบตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๑๘

กศน. ตาบล จดั ต้ังขน้ึ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1) เพ่ือเป็นศนู ย์กลางการเรยี นรแู้ ละจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพอื่ ให้ประชาชนไดร้ บั การศึกษาตลอดชีวิตอย่างทัว่ ถึงและมคี ุณภาพ 2) เพื่อสร้างและขยายภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยในชมุ ชน 3) เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ ภาคเี ครอื ข่าย 4) เพ่ือประสานและเชื่อมโยงการดาเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน แนวทางการดาเนินงานของ กศน. ตาบล กศน.ตาบลจะมีการปรับบทบาทภารกจิ ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายรฐั บาลและบริบทของพน้ื ท่ี ตลอดจน รองรับการเป็นประชาคมอาเซียนมากข้ึน ภายใต้การขับเคลื่อนการดาเนินงาน 4 ศูนย์การเรียนรู้ ได้แก่ 1) ศูนยเ์ รียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชน ดาเนินงานร่วมกับกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาจักร (กอ.รมน.) 2) ศนู ยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยท่ีมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็นพระประมขุ โดยเฉพาะสิทธแิ ละหน้าที่ในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความร่วมมือ กับคณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.) 3) ศนู ยด์ จิ ทิ ัลชุมชน ซึ่งบริหารจัดการฐานข้อมูลท่ีจาเป็นสาหรับ กศน. และชุมชน เพื่อให้มีความรู้และรับรู้ท่ีเท่าทัน ปรับตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงของสังคมโลกยคุ ดิจทิ ลั 4) ศูนยก์ ารศึกษาตลอดชวี ิตชมุ ชน เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพท่ีสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการดาเนินงาน โดย กศน.ตาบลมบี ทบาทเปน็ ผู้ประสานงานและอานวยความสะดวก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชน ใช้ปัญหาหรือความต้องการ ของกลุ่มเปูาหมายเป็นฐาน (Problem or Need-based) ในการกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้การออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนหรือผู้ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เกิดทักษะกระบวนการตัดสินใจตามหลัก \"คิด วเิ คราะหเ์ ป็น\" โดยถอื เปน็ จุดมุง่ หมายากรเรยี นรู้ที่จาเป็นประการหนงึ่ ด้วยการจัดระบบหรือกระบวนการเรียนรู้ เน้นระบบหรือกระบวนการเรียนรู้ท่ีเอ้ืออานวยให้ผู้เรียนหรือ ผู้ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ด้วย ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความใฝุรู้ รักในการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้จนเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวิตจัด สภาพแวดล้อม หรือบรรยากาศใน กศน. ตาบล หรือ ศรช. ในช้ันเรียนและชุมชน โดยใช้แผนชุมชนเป็นกลไก แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๑๙

สาคัญ ในการประสานการมีส่วนร่วม ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงาน ท้ังในฐานะผู้รับผิดชอบหรือเจ้าภาพ หลัก และผมู้ ีส่วนร่วมกับองค์กรหรือหน่วยงานอ่นื ในชุมชน ดังนั้นในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชน จึงต้องอาศัยความ ร่วมมือจากหลายฝุายร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการทางาน กศน. ท้ังน้ี เพื่อต้องการให้เกิดการผลักดัน กระบวนการเรยี นรู้รว่ มกนั ทางสงั คม ปจั จุบันหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. จะตอ้ งมีการประสานควา มร่วมมอื กนั จัดการเรยี นรกู้ บั ภาคเี ครือข่าย มาอย่างต่อเนือ่ ง การสร้างภาคเี ครือขา่ ยในทุกระดับของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. สะท้อนถึงความสัมพันธ์และความร่วมมือในกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ร่วมกนั การร่วมคดิ ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ ร่วมประเมินผล ซ่ึงในแต่ละหน่วยงาน และสถานศกึ ษา กศน. มีเทคนคิ วิธีหลากหลายในการสร้างภาคีเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์กับเครือข่าย และ เครือข่ายให้ความร่วมมือในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้กับประชาชน รวมท้ังการพัฒนาศักยภาพการ ทางานรว่ มกบั ภาคเี ครือข่าย ซึง่ แต่ละวิธีหรือเทคนิคจะส่งผลให้เกิดผลสาเร็จในการสร้างภาคีเครือข่ายในระดับ ที่แตกต่างกันด้วย ภาคีเครือข่ายของหน่วยงาน กศน. เป็นเครือข่ายทางสังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล องค์กร ท่ีเกี่ยวข้องกันในทุกระดับ มีเปูาหมายในการทางานร่วมกันคือการส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนา คุณภาพชีวิตให้กับประชาชน ซ่ึงในปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก มีการเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี การสือ่ สาร การคมนาคม ประชาชนมีวถิ ีชีวิตทีเ่ ป็นเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนส่วนใหญ่ยังมีฐานะ ยากจน ไมส่ ามารถพึ่งพาตนเองได้ มีหน้ีสิน ขาดโอกาส พลาดโอกาสทางการศึกษา ขาดทักษะชีวิตในการคิด วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ อย่างมีเหตุผล การแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึงมีความ ซบั ซ้อน ยากตอ่ การแกไ้ ขหรือพฒั นาโดยหน่วยงานใดหนว่ ยงานหนึง่ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๒๐

บทท่ี ๒ ทิศทางการดาเนินงานของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมและศักยภาพ ( SWOT Analysis ) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อม ภายในสถานศกึ ษา รวมท้ังโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษาอันเป็นปัจจัยต่อการจัด การศึกษา ทิศทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา ปรัชญา “คดิ เปน็ ” คาอธิบาย :คิดเป็นอันจะนาไปสู่การแก้ปัญหาได้สาเร็จ ประกอบด้วย ความรู้ท่ีเป็นความรู้ด้านวิชาการ ความรู้ด้านสงั คมและสิง่ แวดล้อม และความรู้ท่ีเกีย่ วกบั ตนเอง วิสัยทศั น์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสนม มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้เรียน ผูร้ ับบรกิ าร เปน็ คนดี มีความรู้ คูอ่ าชพี มที ักษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่าง มคี ุณภาพสามารถดารงชีวิตทเ่ี หมาะสมกับช่วงวัย ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ โดยยึดหลกั ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เอกลกั ษณ์ “หลากหลายการเรยี นรู้ ตามหลกั ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” อตั ลกั ษณ์ “คุณภาพชีวติ ท่ีดี สูค่ วามพอเพยี ง” คุณภาพชีวิตท่ีดีหมายถึง ชีวิตท่ีมีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ สามารถปรับตัวให้เข้ากับ สภาวะแวดล้อมและอยูใ่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข สู่ความพอเพียง แนวคิด ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักสาคัญคือ ปรัชญา ๓ ห่วง ๒ เง่ือนไข ประกอบด้วย ความพอประมาณหมายถงึ ความพอดีท่ไี มน่ ้อยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคทอี่ ยู่ในระดบั พอประมาณ ความมีเหตุผลหมายถึงการตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยทเี่ ก่ียวข้องตลอดจนคานึงถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทานัน้ ๆอย่างรอบคอบ การมีภมู ิคุม้ กนั ทีดีในตัวหมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆท่ี คาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกลการตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงต้อง อาศยั ทั้งความรแู้ ละคุณธรรมเป็นพื้นฐานเงอ่ื นไขความรปู้ ระกอบดว้ ยความร้เู กีย่ วกับวิชาการต่างๆท่เี ก่ยี วขอ้ ง ๒ เงอ่ื นไข คือ เงื่อนไขความรู้(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ที่ เก่ียวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่ื อมโยงกันเพื่อประกอบการ วางแผนและความระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏิบัติ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๑

เง่ือนไขคุณธรรม(ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน ) ท่ีจะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความ ตระหนกั ในคุณธรรม มคี วามช่อื สตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มีความพากเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวี ิต พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา 1. จดั และส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ยกระดับการศึกษา พัฒนาทกั ษะการเรยี นรขู้ องประชาชน ทกุ กลุ่มเปาู หมายใหเ้ หมาะสมทกุ ช่วงวัย พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงบรบิ ททางสงั คม และกา้ วสู่การเป็นสังคม แห่งการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างย่งั ยืน 2. ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมอื เชิงรกุ กบั ภาคเี ครอื ข่าย ให้เขา้ มามีสว่ นร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบ ตา่ งๆให้กับประชาชน 3. ส่งเสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษา และน าเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชพ้ ัฒนาประสทิ ธิภาพ ในการจัดและใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งทัว่ ถงึ 4. พัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวดั และประเมนิ ผล ในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคลอ้ งกับบริบทในปจั จุบัน 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการองคก์ รให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือมงุ่ จัดการศึกษา และการเรยี นรทู้ ี่มคี ณุ ภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงคแ์ ละตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ๑.ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทาง 1. ร้อยละของผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปได้รบั โอกาส การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานที่ไดร้ บั การสนับสนนุ ทางการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบ ค่าใชจ้ า่ ยตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง 2. รอ้ ยละของคนไทยกลุ่มเปูาหมายตา่ ง ๆ ท่ีเขา้ และการศึกษา ร่วมกิจกรรมการเรียนร/ู้ ไดร้ ับบริการกิจกรรม ตามอัธยาศยั ทมี่ คี ุณภาพอยา่ งเท่าเทียมและ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ี ทัว่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความ สอดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความต้องการ ตอ้ งการของแต่ละ 3. รอ้ ยละของกาลังแรงงานท่ีสาเร็จการศึกษา กล่มุ เปาู หมาย ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ขน้ึ ไป 2. ประชาชนไดร้ บั การยกระดับการศึกษา สร้าง 4. จานวนภาคเี ครอื ขา่ ยทีเ่ ข้ามามสี ่วนร่วมในการ เสริมและปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม จดั /พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคเี ครือข่าย ความเป็นพลเมือง ท่ีสอดคล้องกับหลกั ปรัชญา : สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานทมี่ าร่วม ของเศรษฐกจิ พอเพียง อันน าไปส่กู ารยกระดับ จดั /พัฒนา/ส่งเสรมิ การศกึ ษา) คณุ ภาพชีวติ และ 5. จานวนผู้รบั บริการในพ้ืนที่เปูาหมายได้รบั การ เสริมสร้างความเข้มแขง็ ใหช้ ุมชน เพือ่ พัฒนาไปสู่ สง่ เสริมดา้ นการรู้หนังสอื และการพัฒนาทักษะ ความมั่นคงและย่งั ยืนทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม ชีวิต วฒั นธรรม 6. จานวนนักเรียน/นกั ศึกษาที่ได้รบั บรกิ ารตวิ ประวตั ิศาสตร์ และส่งิ แวดล้อม เข้มเตม็ ความรู้ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๒

3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมี 7. จานวนประชาชนท่ไี ดร้ บั การฝกึ อาชพี ระยะ เจตคติทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สัน้ สามารถสรา้ งหรอื พฒั นาอาชีพเพอื่ สร้าง ที่เหมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห์ และ รายได้ เป้าประสงค์ ตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมท้งั แกป้ ญั หา 8. จานวน ครู กศน. ตาบล ได้รับการพัฒนา และพฒั นาคุณภาพชีวิต ศกั ยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน ได้อย่างสร้างสรรค์ ภาษาอังกฤษ 4. ประชาชนไดร้ ับการสรา้ งและส่งเสริมให้มี เพือ่ การส่อื สาร นสิ ยั รกั การอา่ นเพื่อพฒั นาการแสวงหาความรู้ 9. จานวนประชาชนทไี่ ดร้ บั การฝกึ อบรม ดว้ ยตนเอง ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารดา้ นอาชพี 5. ชุมชนและภาคเี ครือข่ายทุกภาคสว่ น มสี ว่ น 10. จานวนผผู้ า่ นการอบรมหลักสตู รการดูแล ร่วมในการจดั ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การศึกษา ผสู้ ูงอายุ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้งั 11. จานวนประชาชนทีผ่ า่ นการอบรมจากศูนย์ การขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรูข้ องชุมชน ดิจทิ ัลชมุ ชน 12. จานวนหลักสูตรหรือสอื่ ออนไลน์ท่ีใหบ้ ริการ 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนา กบั ประชาชน ทง้ั การศกึ ษานอกระบบ เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ัล ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน การศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั เรยี นรแู้ ละเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชน 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนาสือ่ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรยี นรู้ เพื่อ แก้ปัญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ที่ตอบสนองกบั การ เปล่ียนแปลงบรบิ ทดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่งิ แวดล้อม รวมท้งั ตาม ความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนใน รปู แบบทหี่ ลากหลาย 8. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหาร จดั การองคก์ รทีท่ นั สมยั มีประสทิ ธิภาพ และเปน็ ไปตามหลักธรรมาภิบาล 9. บคุ ลากร กศน.ทุกประเภททกุ ระดับได้รบั การ พัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ าน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการปฏิบตั งิ านตามสายงานอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๓

การดาเนินงานของ กศน.ตาบลนานวน ยดึ หลักการดาเนนิ งานของค่านิยมองคก์ ร ของสานกั งาน กศน. TEAMWINS T = Teamwork การทางานเปน็ ทมี หมายถึง บุคลากรมีความสามัคคี มีการประสานงาน ระดม ความคิดในการพัฒนางานร่วมกัน มีเอกภาพในการบรหิ ารจดั การ มีทีมงานทสี่ ามารถนานวตั กรรมใหม่ ๆ มา ใช้พัฒนางาน เพื่อไปสู่เปาู ประสงค์ขององค์กร E = Equality of Education ความเสมอภาคทางการศึกษา หมายถงึ เป็นการให้โอกาสการ เรียนร้ตู ลอดชวี ิตใหก้ ับประชาชนอยา่ งเท่าเทียมกัน A = Accountability ความรบั ผดิ ชอบต่อผลสาเรจ็ ของงานและต่อสาธารณะ หมายถงึ บุคลากร มีความรับผิดชอบต่องานในหน้าท่ี ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความตั้งใจอย่างเต็มความสามารถ มีการตรวจสอบ ทบทวน และปรบั ปรงุ การทางานอย่างตอ่ เน่ือง เพื่อใหบ้ รรลุผล สาเรจ็ ตามเปาู หมาย M = Moral and Integrity การมีศลี ธรรมและมีความซอื่ สตั ย์ หมายถงึ บุคลากรปฏบิ ตั ิ หน้าท่ี ดว้ ยความซ่อื สัตย์ สุจรติ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ เพ่ือนาพาองค์กรให้เป็นทีน่ า่ เช่ือถือ และก้าวไป ข้างหน้าอย่างภาคภูมิ W = Willful มีความมงุ่ มั่น ต้ังใจทางานอย่างเต็มศักยภาพ หมายถึง บคุ ลากรปฏิบตั หิ นา้ ที่ด้วย ความเตม็ ใจ เต็มเวลา และเต็มศักยภาพ เพื่อม่งุ มั่นสูค่ วามสาเรจ็ ขององค์กร I = Improve Ourselves การพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง สม่าเสมอ หมายถึง บุคลากรแสวงหา ความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงและพัฒนางานในหนา้ ท่ีให้มปี ระสิทธภิ าพ N = Network and Community การเปน็ เครือข่ายทม่ี ีปฏิสัมพันธ์อนั ดีต่อกนั ทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร หมายถงึ สร้างสมั พันธภาพท่ีดีภายในองค์กรและสร้างความเขม้ แขง็ ของภาคีเครือข่ายในการ รว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหเ้ ปน็ กลไกในการสง่ เสริมการเรียนรตู้ ลอดชีวิต S = Service Mind การมีจติ ใจพร้อมใหบ้ ริการ หมายถงึ บุคลากร ให้บริการด้วยความเต็มใจ ยิ้มแย้มแจม่ ใส มงุ่ ให้ผู้รบั บรกิ ารเกิดความพงึ พอใจ จากค่านยิ มขององคก์ าร ของสานกั งาน กศน. ซึ่งเป็นหน่วยงานต้นสงั กดั ศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอสนม ได้กาหนดให้สถานศึกษาเป็น องคก์ รแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) หมายถงึ องค์กรท่ีประกอบด้วยกลมุ่ คนที่มี ความมุ่งม่นั ท่ีจะขยายขดี ความสามารถของตน โดยมีการเรียนรูร้ ่วมกันเปน็ ทมี อยา่ งต่อเน่ือง ซงึ่ มบี รรยากาศใน องค์กรทีเ่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้ และสามารถใช้แนวคดิ การจัดการความรู้ และเทคโนโลยที ่ที นั สมัย เพ่อื สร้างองค์ ความรู้ทีม่ ีคุณค่าต่อตนเอง ทีมงานและองคก์ ร โดยมเี ปาู หมายหลกั เพ่ือให้เป็นองคก์ รที่มีคุณภาพและสามารถ ดารงอยู่ไดใ้ นสภาวะแวดลอ้ มท่เี ปล่ยี นแปลงอยูต่ ลอดเวลา แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๔

ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) สานกั งาน กศน. ได้นายทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579 และบริบทตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง มา เชื่อมโยงกับอานาจหนา้ ที่ของสานักงาน กศน. เพอ่ื ใช้กาหนดเป็นกรอบแนวทางในการจดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 256๔ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี วิสัยทัศน์ ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง มัง่ คงั่ ย่ังยืน เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และเปน็ คติพจนป์ ระจาชาติว่า “มั่นคง มัง่ ค่ัง ยงั่ ยืนความมน่ั คง หมายถึง หมายถงึ การมคี วามมน่ั คงปลอดภยั จากภัยและการเปลีย่ นแปลงทั้งภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทกุ ระดับ ทัง้ ระดบั ประเทศสงั คมชมุ ชนครวั เรอื นและปัจเจกบุคคลและมคี วามม่ันคงในทุกมิติ ทั้งมิตทิ างการทหาร เศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และการเมือง เช่น ประเทศมีความมัน่ คงในเอกราชและอธิปไตยมีการปกครอง ระบบประชาธปิ ไตยทีม่ ีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ พระประมุข สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ม์ ีความ เข้มแข็งเปน็ ศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนย่ี วจติ ใจของประชาชน มรี ะบบการเมืองท่ีมนั่ คงเปน็ กลไกที่นาไปสู่การ บรหิ ารประเทศทต่ี ่อเน่อื งและโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภบิ าล สงั คม มคี วามปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกาลงั เพอื่ พฒั นาประเทศ ชุมชนมคี วามเข้มแขง็ ครอบครวั มีความอบอนุ่ ประชาชนมีความมนั่ คงในชีวิต มีงานและรายไดท้ ่มี ่ันคง พอเพยี งกบั การดารงชีวิต มกี ารออมสาหรับวยั เกษยี ณ ความมนั่ คงของอาหาร พลังงาน และน้า มีที่อย่อู าศัย และความปลอดภัยในชวี ติ ทรัพย์สนิ ความมั่งค่ัง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยา่ งต่อเน่ืองและมีความย่ังยนื จนเขา้ สู่กลมุ่ ประเทศรายได้สูง ความเหลือ่ มลา้ ของการพัฒนาลดลง ประชากรมคี วามอยู่ดมี สี ุขได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอยา่ งเทา่ เทียมกนั มากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างท่วั ถงึ ทุกภาคสว่ น มคี ุณภาพชวี ิต ตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนท่อี ยูใ่ นภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศ มคี วามเข้มแข็ง ขณะเดียวกันต้องมีความสามารถในการแข่งขนั กบั ประเทศตา่ ง ๆ ท้งั ในตลาดโลกและ ๑.ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานักงาน ตลาดภายในประเทศเพ่ือให้ สามารถสรา้ งรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมกี ารสรา้ ง ฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคตเพ่ือให้สอดรับกบั บรบิ ทการพัฒนาท่ีเปลย่ี นแปลงไป และประเทศไทยมี บทบาทท่ีสาคญั ในเวทโี ลก และมคี วามสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ และการค้าอย่างแน่นแฟูนกับประเทศในภูมิภาค เอเชยี เปน็ จุดสาคญั ของการเชื่อมโยงในภมู ภิ าคทัง้ การคมนาคมขนส่ง การผลติ การคา้ การลงทนุ และการทา ธุรกจิ เพือ่ ให้เปน็ พลงั ในการพัฒนา นอกจากนั้น ยังมคี วามสมบรู ณ์ในทนุ ท่ีจะสามารถสร้างการพฒั นา ตอ่ เนอ่ื งไปได้ ได้แก่ ทนุ มนษุ ย์ ทนุ ทางปัญญา ทนุ ทางการเงนิ ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และ ทนุ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๕

ความย่ังยืน หมายถงึ การพัฒนาทสี่ ามารถสรา้ งความเจริญ รายได้ และคณุ ภาพชวี ิตของ ประชาชนให้เพม่ิ ข้ึนอย่างต่อเน่อื ง ซึง่ เป็นการเจรญิ เตบิ โตของเศรษฐกจิ ท่ีอยบู่ นหลักการใช้ การรกั ษา และการ ฟ้ืนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งยง่ั ยืน ไม่ใชท้ รัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไม่สรา้ งมลภาวะ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนเิ วศ การผลิตและการบริโภค เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับเปูาหมายการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบรู ณม์ ากขึน้ และส่งิ แวดล้อมมีคณุ ภาพดีขึน้ คนมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม มคี วามเอื้ออาทร เสียสละ เพอื่ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม รัฐบาลมนี โยบายทม่ี ุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยงั่ ยืน และให้ความสาคัญกบั การมีส่วนรว่ มของประชาชน และทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอ่ื การพัฒนาอยา่ งสมดลุ มีเสถยี รภาพและยั่งยนื โดยมเี ปาู หมายการพฒั นาประเทศ คือ “ประเทศชาตมิ ่นั คง ประชาชนมีความสขุ เศรษฐกิจพัฒนาk อยา่ งต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ั่งยืน” โดยยกระดบั ศักยภาพของประเทศใน หลากหลายมติ ิ พฒั นาคนในทุกมิตแิ ละในทุกช่วงวัยใหเ้ ป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอ ภาคทางสังคม สร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม และมีภาครฐั ของประชาชนเพื่อ ประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบดว้ ย 1) ความอยู่ดีมีสขุ ของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ของประเทศ 4) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม และความยง่ั ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและการเขา้ ถงึ การให้บริการของภาครัฐ ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ โดยมีสาระสาคัญ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับภารกิจของสานกั งาน กศน. ดงั นี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตร์ด้านความม่นั คง ประเทศชาติม่นั คง ประชาชนมีความสขุ เนน้ การบริหารจัดการสภาวะแวดลอ้ มของประเทศ ใหม้ ีความมัน่ คง ปลอดภยั มีเอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรยี บรอ้ ยในทุกระดับ (๑) เสริมสรา้ ง ความม่นั คงของสถาบนั หลักและการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ (2) ปฏิรปู กลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมัน่ คงทางการ เมือง ขจัดคอรร์ ปั ช่นั สรา้ ง ความเชอื่ ม่ันในกระบวนการยุติธรรม (3) การรกั ษาความมั่นคงภายในและความสงบเรยี บร้อยภายใน ตลอดจนการบรหิ ารจดั การความมนั่ คงชายแดนและชายฝ่ังทะเล (4) การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมือระหว่าง ประเทศทุกระดับ และรกั ษาดุลยภาพความสัมพนั ธ์กับประเทศ มหาอานาจ เพ่อื ปูองกนั และแกไ้ ขปัญหาความมนั่ คงรูปแบบใหม่ (5) การพัฒนาเสรมิ สรา้ งศักยภาพ การผนึกก าลงั ปูองกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สร้างความร่วมมือกับ ประเทศเพ่ือนบ้านและมติ รประเทศ (6) การพัฒนาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติและระบบบริหาร จัดการภยั พิบัติ รักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม (7) การปรับกระบวนการท างานของกลไกที่เก่ยี วข้องจากแนวดิ่งสู่ แนวระนาบมากข้นึ แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๖

ยุทธศาสตร์ที่ 2.ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั (๑) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ ส่งเสรมิ การค้า การลงทนุ พฒั นาสชู่ าตกิ ารค้า (2) การพัฒนา ภาคการผลติ และบริการ เสรมิ สร้างฐานการผลติ เขม้ แขง็ ยง่ั ยืน และส่งเสรมิ เกษตรกรรายยอ่ ยสู่ เกษตรย่งั ยนื เป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม (3) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกจิ ชมุ ชน พัฒนา ทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลติ ภาพแรงงานและพฒั นา SMEs ส่สู ากล (4) การพัฒนาพ้นื ท่ี เศรษฐกจิ พิเศษและเมือง พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ ชายแดน และพฒั นาระบบเมืองศูนย์กลาง ความเจรญิ (5) การลงทุนพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านการขนสง่ ความมน่ั คงและพลงั งาน ระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการวิจัย และพฒั นา โดยมีสาระสาคัญคือ (๑) (๑) พัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ (2) การยกระดับการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้มี i. คณุ ภาพเท่าเทียม และท่วั ถงึ (3) ปลูกฝังระเบยี บวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (๒) ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ (4) การสร้างเสรมิ ใหค้ นมสี ุขภาวะที่ ดี (5) การสรา้ งความอยดู่ ีมสี ุขของ (๓) ครอบครัวไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 4 4.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทยี มกันทางสังคม (1) สรา้ งความมน่ั คงและการลดความเหลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจและสังคม (2) พัฒนา ระบบบริการและระบบบรหิ ารจัดการสุขภาพ (3) มีสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมทเี่ อ้ือต่อกา รด ารงชวี ติ ในสังคมสงู วยั (4) สรา้ งความเข้มแขง็ ของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม และ ความเข้มแขง็ ของชมุ ชน (5) พัฒนาการสอ่ื สารมวลชนให้เปน็ กลไกในการสนบั สนุนการ พฒั นาดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม มเี ปาู หมายการพัฒนา ทส่ี าคญั ท่ีให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนตา่ ง ๆ ท้งั ภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่วมขับเคล่ือน โดยการสนับสนุนการรวมตวั ของประชาชน ในการรว่ มคิดร่วมทาเพอื่ สว่ นรวม การกระจาย อานาจและความรับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผน่ ดินในระดับท้องถน่ิ การเสริมสรา้ ง ความเขม้ แข็ง ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรยี มความพรอ้ มของประชากรไทยทัง้ ในมติ ิ สุขภาพ เศรษฐกิจ สงั คม และสภาพแวดลอ้ มให้เป็นประชากรท่ีมีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทาประโยชนแ์ ก่ ครอบครัว ชุมชน และ สังคมให้นานทส่ี ุด โดยรฐั ใหห้ ลักประกันการเข้าถึงบริการและสวสั ดิการทม่ี ีคุณภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทั่วถึง ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 .ดา้ นการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม (1) จดั ระบบอนุรักษ์ ฟน้ื ฟูและปูองกันการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ (2) วางระบบบรหิ ารจดั การน้าใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพทงั้ 25 ล่มุ นา้ เน้นการปรบั ระบบ การบรหิ ารจดั การอทุ กภัยอย่างบูรณาการ (3) การพฒั นาและใชพ้ ลังงานทเ่ี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๗

(4) การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศและเมืองทเ่ี ป็น มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม (5) การรว่ มลดปัญหาโลกร้อนและปรบั ตัวให้พร้อมกบั การ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (6) การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพอื่ สิ่งแวดลอ้ ม ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม มีเปาู หมายการพฒั นาท่สี าคัญเพอ่ื นาไปสู่การบรรลเุ ปาู หมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ในทุกมติ ิ ทั้ง มติ ิด้านสังคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ ม ธรรมาภบิ าล และความเป็นหุน้ ส่วนความร่วมมือระหว่าง กนั ทัง้ ภายในและภายนอก ประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้นื ทเ่ี ป็นตัวตัง้ ในการกาหนดกลยทุ ธ์ และแผนงาน และการให้ทุกฝุายท่ีเก่ียวข้อง ไดเ้ ข้ามามสี ว่ นร่วมในแบบทางตรงใหม้ ากที่สุดเท่าท่จี ะเปน็ ไปไดโ้ ดยเปน็ การดาเนินการ บน พ้นื ฐานการเตบิ โต รว่ มกัน ไม่ว่าจะเปน็ ทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคณุ ภาพชีวิต โดยให้ ความสาคญั กับการสรา้ งสมดุล ทัง้ 3 ด้าน อนั จะนาไปส่คู วามยัง่ ยนื เพื่อคนรุ่นต่อไปอยา่ ง แท้จริง ยุทธศาสตร์ท่ี 6 .ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นา ระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั มเี ปูาหมายดงั น้ี (1) การปรบั ปรุงโครงสรา้ ง บทบาท ภารกจิ ของหนว่ ยงาน ภาครัฐ ใหม้ ขี นาดที่ เหมาะสม (2) การวางระบบ บริหารราชการแบบบูรณาการ (3) การพฒั นา ระบบบรหิ ารจัดการกาลงั คนและพฒั นา บุคลากรภาครัฐ (4) การต่อต้านการ ทจุ ริตและประพฤติมิชอบ (5) การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบียบตา่ ง ๆ (6) ให้ ทนั สมัย เป็นธรรมและเป็นสากล (7) พฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชนของ หน่วยงานภาครฐั (8) ปรบั ปรุงการบริหารจดั การรายไดแ้ ละรายจ่ายของภาครัฐ การพัฒนาท่สี าคัญเพ่อื ปรับเปลีย่ นภาครัฐท่ยี ึดหลกั “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือ ประชาชน และประโยชน์สว่ นรวม” โดยภาครฐั ตอ้ งมีขนาดทีเ่ หมาะสมกับ บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรฐั ท่ีทาหนา้ ท่ี ในการกากบั หรอื ในการใหบ้ ริการในระบบเศรษฐกจิ ทมี่ ีการแขง่ ขันมขี ีด สมรรถนะสูง ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ปรบั วัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสมั ฤทธิแ์ ละผลประโยชนส์ ว่ นรวมมีความ ทนั สมัยและพร้อมทจ่ี ะปรับตัว ใหท้ ันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การนา นวัตกรรม เทคโนโลยขี ้อมลู ขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่เี ป็นดิจิทัลเขา้ มา ประยกุ ต์ใช้อยา่ งคุม้ ค่า และปฏบิ ัตงิ านเทยี บได้กบั มาตรฐานสากล รวมท้งั มี ลักษณะเปดิ กว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามสี ่วนร่วม เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกนั ปลูกฝงั ค่านิยม ความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ความมธั ยสั ถ์ และสร้างจิตสานกึ ในการปฏิเสธไม่ยอมรับการ ทจุ ริตประพฤติมิชอบ อยา่ งสน้ิ เชงิ นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความชัดเจน มเี พียงเทา่ ทจ่ี าเปน็ มี แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๒๘

ความทนั สมัย มีความเปน็ สากล มปี ระสทิ ธภิ าพ และ นาไปสู่การลดความเหล่อื มล้าและเออ้ื ตอ่ การพฒั นา โดย กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยุตธิ รรมตามหลกั นิติธรรม แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แผนการศึกษาแหง่ ชาติฉบับนี้เปน็ การวางกรอบเปูาหมายและทศิ ทางการจดั การศึกษาของประเทศใน การพัฒนาศกั ยภาพและขดี ความสามารถของคนไทยทุกชว่ งวยั ใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพ สามารถแสวงหาความรู้ และเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต โดยการขับเคลอื่ นภายใต้วิสัยทัศน์ “คนไทยทุกคนได้รับ การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพ ดารงชีวิตอย่างเปน็ สขุ ” สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ในการจดั การศึกษา ๔ ประการ คือ ๑) เพอ่ื พัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่มี ีคุณภาพและมีประสทิ ธิภาพ ๒) เพอ่ื พัฒนาคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่สี อดคลอ้ งกับบทบญั ญตั ิ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาตแิ ละยุทธศาสตรช์ าติ ๓) เพอื่ พฒั นาสังคมไทยให้เป็นสงั คมแห่งการเรียนร้แู ละคุณธรรม จรยิ ธรรม รรู้ กั สามคั คีและ ร่วมมือ ผนึกก าลงั มุ่งสู่การพฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔) เพ่อื น าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง และความเหลอื่ มล้ า ภายในประเทศลดลง เพอ่ื ให้บรรลุวสิ ัยทัศนแ์ ละจดุ มุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวขา้ งต้น แผนการศกึ ษาแห่งชาตไิ ด้ วางเปูาหมายไว้ ๒ ด้าน คือ เปาู หมายด้านผเู้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทกุ คนให้มี คุณลกั ษณะและ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs 8Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคณุ ลักษณะต่อไปน้ี 3Rs ไดแ้ ก่ การอา่ นออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคิดเลขเปน็ (Arithmetics) 8Cs ไดแ้ ก่ ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และทักษะในการแก้ปญั หา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทกั ษะ ด้านความเขา้ ใจตา่ ง วัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะดา้ นความ ร่วมมือ การทางานเป็น ทมี และภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทกั ษะด้านการ สอ่ื สาร สารสนเทศ และ การรู้เท่าทนั ส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะ ด้านคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมเี มตตา กรุณา มีวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) เปูาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) ๕ ประการ ซงึ่ มีตวั ชว้ี ัดเพ่ือการบรรลุเปูาหมาย ๕๓ ตวั ชวี้ ดั ประกอบด้วยเปูาหมายและตวั ชี้วดั ที่สาคัญ ดงั นี้ ๑) ประชากรทุกคนเข้าถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทว่ั ถึง (Access) มีตัวชว้ี ัด ที่ สาคญั เช่น ประชากรกลุ่มอายุ ๖ - ๑๔ ปที ุกคนไดเ้ ขา้ เรยี นในระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาตอนต้น หรอื เทยี บเท่าท่ีรฐั ต้องจดั ให้ฟรี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จ่าย ผเู้ รียนพิการได้รบั การพฒั นาสมรรถภาพหรอื บริการทาง การศึกษาท่ีเหมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมีการศกึ ษาเฉลย่ี เพิม่ ข้นึ เปน็ ต้น ๒) ผู้เรียนทกุ คน ทุกกลมุ่ เปูาหมายได้รบั บริการการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอย่างเทา่ เทียม (Equity) มตี ัวชี้วดั ทส่ี าคัญ เช่น ผู้เรยี นระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานทุกคนไดร้ บั การสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยใน การศกึ ษา ๑๕ ปี เป็นต้น แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๒๙

๓) ระบบการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาผูเ้ รียนใหบ้ รรลขุ ีดความสามารถเต็มตามศักยภาพ (Quality) มตี ัวช้วี ัดท่ีสาคัญ เช่น นักเรยี นมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผา่ นเกณฑค์ ะแนนร้อยละ ๕๐ ขึน้ ไปเพิม่ ข้ึน และคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบโครงการ ประเมนิ ผล นกั เรยี นร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ของนักเรียนอายุ ๑๕ ปีสูงขึ้น เปน็ ตน้ ๔) ระบบการบริหารจดั การศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือการลงทุนทางการศึกษาที่ค้มุ ค่าและบรรลุ เปูาหมาย (Efficiency) มตี วั ช้วี ดั ที่สาคญั เช่น รอ้ ยละของสถานศกึ ษาขนาดเล็กท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอกลดลง มีระบบการบรหิ ารงานบุคคล ครู และบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน รวมทั้งมกี ลไกสง่ เสริมใหท้ ุกภาคสว่ นสนับสนุนทรพั ยากรเพอ่ื การจัดการศกึ ษ เปน็ ตน้ ๕) ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและกา้ วทนั การเปล่ยี นแปลงของโลกที่เป็นพลวัตและบริบทที่ เปลี่ยนแปลง (Relevancy) มีตวั ชี้วดั ที่สาคัญ เชน่ อันดับความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ดา้ น การศึกษาดีข้นึ สดั ส่วนผูเ้ รยี นอาชีวศกึ ษาสงู ขึน้ เม่ือเทียบกบั ผเู้ รียนสามัญศึกษา และจานวน สถาบันอดุ มศกึ ษา ทีต่ ิดอันดับ ๒๐๐ อันดับแรกของโลกเพ่มิ ขน้ึ เปน็ ตน้ เพื่อให้บรรลวุ สิ ัยทัศน์ จดุ มงุ่ หมาย และเปูาหมายดังกล่าว ขา้ งต้น แผนการศึกษาแหง่ ชาติจึงไดก้ าหนด ช่วงเวลาในการดาเนินการในแต่ละเปาู หมายและตัวชี้วดั เป็น ๕ ช่วง ดังน้ี ระยะเรง่ ด่วน ระยะ ๕ ปแี รกของ แผน ระยะ ๕ ปที ี่สองของแผน ระยะ ๕ ปีท่ีสามของแผน และ ระยะ ๕ ปีสุดท้ายของแผน ยุทธศาสตร์ เปูาหมาย และตัวช้ีวัด แผนการศกึ ษาแห่งชาติได้กาหนดยุทธศาสตรใ์ นการพฒั นา การศกึ ษาภายใต้ ๖ ยทุ ธศาสตร์หลกั ท่ี สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี เพ่ือใหแ้ ผนการศึกษาแหง่ ชาติ บรรลุเปูาหมายตามจุดมงุ่ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และแนวคดิ การจัดการศกึ ษาดงั กลา่ วข้างต้น ดังนี้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ : การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คงของสังคมและประเทศชาติ มีเปาู หมายดงั น้ี ๒.๑ คนทกุ ช่วงวยั มคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ และยึดมัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มีตวั ชว้ี ดั ทีส่ าคัญ เชน่ การจัดกจิ กรรมของสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานท่ี ส่งเสริมการเรียนรทู้ ่ีสะทอ้ นความรักและการธารงรกั ษาสถาบนั หลกั ของชาติและการยึดมน่ั ในการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ การจัดการเรยี นการสอน/กิจกรรม เพื่อเสรมิ สร้าง ความเป็นพลเมือง (Civic Education) และส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม เปน็ ตน้ ๒.๒ คนทุกช่วงวัยในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นที่พเิ ศษได้รบั การศกึ ษาและเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ มตี ัวชีว้ ัดทส่ี าคัญ เช่น นักเรียนในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้และพ้นื ท่ีพเิ ศษมคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แตล่ ะวชิ า ผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ข้ึนไปเพ่ิมข้นึ สถานศกึ ษาจัดการศึกษาสาหรบั กลมุ่ ชนตา่ งเช้อื ชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างด้าวเพ่มิ ขึ้น และสถานศกึ ษาในพื้นที่พเิ ศษที่ จัดอย่ใู น มาตรการจูงใจ มรี ะบบเงนิ เดือนค่าตอบแทนทส่ี ูงกวา่ ระบบปกตเิ พิ่มข้ึน เปน็ ต้น ๒.๓ คนทุกช่วงวัยได้รบั การศึกษา การดูแลและปูองกันจากภยั คกุ คามในชีวติ รูปแบบใหม่ มีตัวชว้ี ดั ที่ สาคญั เชน่ สถานศกึ ษาที่จัดกระบวนการเรยี นรแู้ ละปลูกฝังแนวทางการจัดการความขัดแยง้ โดยแนวทาง สนั ติ วธิ ีเพม่ิ ขนึ้ มีการจัดการเรยี นการสอน/กจิ กรรม เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องเกี่ยวกับ ภยั คกุ คาม ในรูปแบบใหม่เพิม่ ขึ้น มีระบบ กลไก และมาตรการทเี่ ข้มแข็งในการปูองกนั และแก้ไขปัญหา ภัยคุกคามใน รูปแบบใหม่ และผู้เรียนในสถานศกึ ษาทม่ี ีคดีทะเลาะววิ าทลดลง เป็นต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คือ พฒั นาการจดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างความมน่ั คงของสถาบัน หลกั ของชาติ และการปกครองระบอบ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๐

ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ยกระดับคุณภาพ และส่งเสรมิ โอกาสในการเข้าถงึ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ที่พิเศษ ทงั้ ทเ่ี ป็นพ้ืนทส่ี ูง พืน้ ท่ตี ามแนว ตะเขบ็ ชายแดนและพ้ืนทเ่ี กาะแก่ง ชายฝง่ั ทะเล ทง้ั กล่มุ ชนต่างเชือ้ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชาย ขอบและแรงงานต่างดา้ ว พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและ ปูองกนั ภัยคุกคามในรปู แบบ ใหม่ อาทิ อาชญากรรมและความรนุ แรงในรูปแบบตา่ ง ๆ ยาเสพตดิ ภัยพิบตั ิจาก ธรรมชาติภยั จากโรคอุบัติ ใหม่ ภัยจากไซเบอร์ เปน็ ตน้ และมีแผนงานและโครงการสาคัญ เชน่ โครงการ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใน เขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพืน้ ท่ีพเิ ศษ เป็นต้น ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ : การผลิตและพฒั นากาลังคน การวจิ ัย และ นวตั กรรม เพื่อสร้างขดี ความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศ มีเปาู หมาย ดังนี้ ๒.๑ กาลงั คนมีทักษะท่สี าคัญจาเป็นและมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ การ พัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ มตี วั ช้ีวัดทสี่ าคัญ เชน่ มีฐานขอ้ มลู ความต้องการกาลงั คน (Demand) จาแนกตามกลุม่ อตุ สาหกรรมอย่างครบถ้วน สดั ส่วนผเู้ รยี นอาชวี ศึกษาสูงขึน้ เมื่อเทยี บกบั ผู้เรยี น สามญั ศึกษา และสดั ส่วนผู้เรียนวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสูงขน้ึ เม่ือเทียบกับผ้เู รียน สังคมศาสตร์ กาลังแรงงานในสาขาอาชีพต่าง ๆ ทไ่ี ด้รบั การยกระดับคุณวุฒิวชิ าชีพเพ่มิ ข้นึ เป็นต้น ๒.๒ สถาบันการศกึ ษาและหน่วยงานทจ่ี ดั การศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชย่ี วชาญและเปน็ เลิศ เฉพาะดา้ น มตี ัวชวี้ ดั ทส่ี าคัญ เช่น สดั ส่วนการผลิตกาลงั คนระดบั กลางและระดับสูง จาแนกตามระดับ/ ประเภทการศึกษา ในสาขาวิชาทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศเพิ่มข้นึ รอ้ ย ละของสถาบันการศกึ ษาจัดการศึกษารูปแบบทวิภาค/ี สหกิจศกึ ษา/หลักสูตรโรงเรียนในโรงงานตาม มาตรฐาน ทก่ี าหนดเพ่มิ ขนึ้ จานวนหลกั สูตรของสถานศกึ ษาท่จี ดั การศึกษาทววิ ฒุ ิ (Dual Degree) เพม่ิ ขนึ้ จานวน สถาบันอาชีวศึกษาและอดุ มศึกษาทจี่ ดั หลักสตู รสาหรบั ผู้มีความสามารถพิเศษเพม่ิ ข้ึน และมภี าคี เครือขา่ ย ความรว่ มมือระหว่างรฐั เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวชิ าชพี และหนว่ ยงานทจ่ี ัดการศึกษา เพิม่ ขึน้ เปน็ ต้น ๒.๓ การวจิ ยั และพฒั นาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวัตกรรมทสี่ รา้ งผลผลติ และมลู คา่ เพิ่มทาง เศรษฐกิจ มตี วั ช้ีวดั ที่สาคญั เชน่ สดั สว่ นเงินลงทุนวจิ ยั และพัฒนาของภาคเอกชนเมื่อเทียบกบั ภาครฐั เพม่ิ ขน้ึ สดั ส่วนค่าใช้จา่ ยการลงทนุ เพ่ือการวิจัยและพัฒนาเมือ่ เทียบกบั ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของ ประเทศเพิ่มขนึ้ โครงการ/งานวิจยั เพื่อสรา้ งองค์ความร/ู้ นวัตกรรมท่นี าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ เพิ่มขนึ้ บุคลากรด้านการวจิ ยั และพัฒนาต่อประชากร ๑๐,๐๐๐ คน เพ่ิมขน้ึ นวัตกรรม/สงิ่ ประดิษฐ์ ท่ีได้ จด สทิ ธิบตั รและทรัพยส์ นิ ทางปัญญาเพ่ิมขนึ้ และผลงานวจิ ัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาตเิ พ่มิ ขน้ึ เป็นตน้ โดยไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนา คือ ผลิตและพฒั นากาลังคนใหม้ สี มรรถนะในสาขาทีต่ รงตามความ ตอ้ งการ ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สง่ เสริมการผลติ และพฒั นากาลังคนท่ีมี ความ เชีย่ วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะดา้ น สง่ เสรมิ การวิจัยและพฒั นาเพอื่ สรา้ งองค์ความรู้ และนวัตกรรมทส่ี ร้าง ผลผลิตและมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกจิ และมีแผนงานและโครงการสาคัญ เชน่ โครงการจัดทาแผนผลติ และ พัฒนากาลังคนให้ตรงกบั ความต้องการของตลาดงานในกลุ่มอตุ สาหกรรมเปูาหมาย เปน็ ต้น แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๑

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ : การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ มีเปาู หมาย ดงั นี้ ๓.๑ ผเู้ รยี นมที ักษะและคุณลักษณะพืน้ ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะทจ่ี าเปน็ ใน ศตวรรษที่ ๒๑ มตี วั ชว้ี ดั ทส่ี าคัญ เช่น ผเู้ รียนทม่ี คี ุณลักษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพมิ่ ขน้ึ ผู้เรยี นทุกระดับการศึกษามพี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถึงความมวี ินัย และมจี ติ สาธารณะเพ่ิมข้ึน สถานศึกษาระดับ มัธยมศกึ ษาตอนต้นหรือเทียบเทา่ ขนึ้ ไปทจี่ ัดกิจกรรมสะท้อนการสรา้ งวนิ ัย จิตสาธารณะ และคุณลักษณะ ท่พี ึง ประสงคเ์ พม่ิ ขึน้ เป็นตน้ ๓.๒ คนทุกชว่ งวยั มที ักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษาและ มาตรฐานวิชาชพี และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดต้ ามศักยภาพ มตี ัวชี้วดั ทส่ี าคัญ เชน่ เดก็ แรกเกิด – ๕ ปี มี พฒั นาการสมวัยเพม่ิ ข้นึ นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐาน (O-NET) แต่ละ วิชาผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ ๕๐ ขน้ึ ไปเพ่ิมขึน้ ผสู้ ูงวยั ทไี่ ดร้ บั บริการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะอาชีพและ ทักษะชีวติ เพ่มิ ขน้ึ และมสี าขาและวิชาชพี ท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้สูงวัยไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้ทางานและถา่ ยทอด ความร/ู้ ประสบการณเ์ พ่มิ ขึน้ เป็นตน้ ๓.๓ สถานศึกษาทุกระดบั การศกึ ษาสามารถจดั กจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสูตรอยา่ งมี คุณภาพและมาตรฐาน มตี วั ชว้ี ัดทส่ี าคญั เชน่ ศูนย์เด็กเลก็ /สถานศกึ ษาระดับก่อนประถมศกึ ษาทจี่ ดั กจิ กรรม การเรียนรู้ได้คุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึน้ สถานศกึ ษา/สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยจดั กิจกรรมท่ีสอดคล้องกบั หลกั สูตรปฐมวยั และสมรรถนะของเดก็ ทเี่ ช่อื มโยงกบั มาตรฐานคณุ ภาพเด็กปฐมวัยของอาเซียนเพ่ิมข้ึน สถานศึกษาในระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานท่จี ัดการศึกษาตามหลกั สตู รท่มี ่งุ พฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะและ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพมิ่ ขึน้ และสถาบนั การศกึ ษาในระดบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษาท่ีจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรที่มุ่งพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีสมรรถนะทสี่ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ เพิม่ ข้นึ เปน็ ตน้ ๓.๔ แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวตั กรรม และสอ่ื การเรยี นรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานที่ มีตัวชวี้ ดั ทีส่ าคญั เช่น แหล่งเรยี นรู้ทไ่ี ดร้ บั การ พัฒนา ให้สามารถจดั การศึกษา/จดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตที่มีคุณภาพเพ่ิมข้ึน สื่อสารมวลชนทีเ่ ผยแพร่ หรอื จัด รายการเพ่ือการศึกษาเพ่ิมข้นึ ส่ือตาราเรยี น และสอื่ การเรยี นรู้ ทผ่ี ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพจาก หน่วยงานท่รี ับผิดชอบ และไดร้ ับการพัฒนา โดยการมีส่วนร่วมจากภาครัฐและเอกชนเพิ่มขึ้น เปน็ ต้น ๓.๕ ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมินผลมีประสทิ ธภิ าพ มตี ัวชว้ี ดั ท่สี าคัญ เชน่ มี ระบบและกลไกการทดสอบ การวัดและประเมินความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของผเู้ รียนทกุ ระดับการศึกษา และทุกกลุ่มเปาู หมายทมี่ ีประสิทธภิ าพ มีระบบตดิ ตามประชากรวัยเรียนทข่ี าดโอกาสหรอื ไม่ได้รบั การศึกษา และผู้เรยี นทม่ี แี นวโน้มจะออกกลางคัน เปน็ ตน้ ๓.๖ ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดบั สากล มตี วั ชี้วัดที่ สาคญั เชน่ มฐี านข้อมลู ความตอ้ งการใชค้ รู แผนการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาในระยะ ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙) จาแนกตามสาขาวชิ า ขนาดสถานศกึ ษา และจังหวัด สดั ส่วนของการบรรจคุ รทู ่ีมา จากการผลิตครูในระบบปิดเพิ่มขน้ึ มหี ลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขท่ีเอ้ือใหผ้ ้สู าเร็จการศึกษาจากสาขาวชิ าอ่ืนและ พฒั นาเพ่ิมเตมิ เพื่อเข้าสู่ วิชาชีพครู เป็นต้น แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๓๒

๓.๗ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน มีตวั ช้ีวดั ที่ สาคญั เชน่ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ระดับและประเภทการศึกษาไดร้ ับการพัฒนาตาม มาตรฐานวชิ าชีพ และสามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพรวมท้งั ไดร้ ับการพัฒนาให้สอดคล้องกบั ความ ตอ้ งการและยุทธศาสตรข์ องหน่วยงานเพ่ิมขึน้ และระดับความพึงพอใจของครู อาจารย์ และบคุ ลากร ทาง การศกึ ษาท่ีมตี อ่ การพัฒนาและการใชป้ ระโยชน์จากการพฒั นาเพม่ิ ขน้ึ เปน็ ตน้ โดยได้กาหนดแนวทางการ พัฒนา คือ สง่ เสรมิ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สือ่ ตาราเรียนและสือ่ การเรียนรู้ ต่าง ๆ ใหม้ ีคณุ ภาพ มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรไู้ ด้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ สร้างเสริมและปรบั เปลี่ยนคา่ นิยม ของคนไทยใหม้ ีวินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ และพัฒนา ระบบและกลไกการติดตาม การวัด และประเมนิ ผลผเู้ รยี นให้มปี ระสิทธภิ าพ และมีแผนงานและโครงการที่ สาคัญ เช่น โครงการผลติ ครเู พ่ือพฒั นา ทอ้ งถน่ิ เป็นตน้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา มเี ปาู หมาย ดังน้ี ๔.๑ ผู้เรียนทุกคนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพ มีตัวช้ีวัดท่ี สาคัญ เช่น ดชั นีความเสมอภาคของอตั ราการเข้าเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามฐานะทางเศรษฐกจิ และ พืน้ ท่ลี ดลง ความแตกต่างระหวา่ งคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรยี นระหวา่ งพน้ื ท/่ี ภาคการศึกษาในวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษลดลง เปน็ ต้น ๔.๒ การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ การศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ชว่ งวัย มตี วั ชี้วัด ที่สาคญั เชน่ มีระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การศึกษาทท่ี ันสมยั สนองตอบความตอ้ งการของ ผู้เรียน และผูใ้ ช้บริการอย่างท่วั ถึงและมปี ระสิทธิภาพ และสถานศึกษาทุกแหง่ มีอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสงู และ มคี ุณภาพ เปน็ ตน้ ๔.๓ ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถกู ต้อง เป็นปจั จบุ ัน เพ่อื การ วางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล มตี วั ชีว้ ดั ทสี่ าคญั เชน่ มรี ะบบ ฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างองิ จากเลขท่บี ัตรประจาตัวประชาชน ๑๓ หลัก ที่สามารถเช่อื มโยง และแลกเปลี่ยน ฐานข้อมลู รวมทั้งใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกันระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและหนว่ ยงานอน่ื ดา้ นสาธารณสขุ สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา และมีระบบสารสนเทศด้านการศกึ ษาและดา้ นอืน่ ท่ีเกีย่ วข้อง ท่ีเปน็ ระบบเดียวกนั ทั้งประเทศ ครอบคลมุ ถูกต้อง และเปน็ ปัจจบุ นั สามารถอา้ งอิงได้ เปน็ ตน้ โดยไดก้ าหนดแนว ทางการพัฒนา คือ เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาท่ีมี คุณภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยี ดจิ ทิ ัลเพื่อการศึกษาสาหรับคนทุกชว่ งวยั พัฒนาฐานขอ้ มูลด้านการศึกษาท่มี ี มาตรฐาน เชอื่ มโยงและเข้าถงึ ได้ และมีแผนงานและโครงการสาคญั เชน่ โครงการจัดทาฐานข้อมลู รายบุคคล ทุกชว่ งวยั ทง้ั ดา้ นสาธารณสขุ สังคม ภมู สิ ารสนเทศแรงงาน และการศึกษา เปน็ ต้น ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ : การจดั การศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม มี เปูาหมาย ดังนี้ ๕.๑ คนทุกช่วงวยั มีจติ สานึกรกั ษส์ ิง่ แวดล้อม มคี ุณธรรม จริยธรรม และ นาแนวคดิ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติ มตี วั ช้ีวดั ท่สี าคัญ เชน่ คร/ู บุคลากรทางการศึกษา ได้รบั การอบรม พัฒนาในเรื่องการสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มเพมิ่ ขึ้น ผเู้ รียนทุกระดับการศึกษามี พฤติกรรมทแี่ สดงออกถึงความตระหนักในความสาคัญของการดารงชวี ติ ทีเ่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ความมี คุณธรรม จรยิ ธรรม และการประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินชีวิตเพิม่ ข้ึน และ สถาบนั อุดมศึกษาท่ีติดอันดบั มหาวทิ ยาลยั สเี ขียวของโลกเพ่ิมขึ้น เป็นต้น แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๓

๕.๒ หลักสูตร แหลง่ เรยี นรู้ และและสอ่ื การเรยี นรทู้ ่ีส่งเสริมคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิ มตี วั ชี้วดั ท่ี สาคัญ เชน่ สถานศึกษา/สถาบนั การศึกษาจดั การเรยี นการสอนและกจิ กรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม และการ นาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบตั เิ พม่ิ ขึน้ และสื่อสารมวลชนทเ่ี ผยแพร่ หรือให้ ความรูเ้ กีย่ วกับการสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ มเพ่ิมข้ึน เป็นต้น ๕.๓ การวจิ ยั เพื่อพัฒนาองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมด้านการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม มีตวั ชว้ี ดั ทส่ี าคญั เช่น มฐี านขอ้ มูลดา้ นการศึกษาทเ่ี กย่ี วข้องกบั การเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศใน สาขาต่างๆ เพ่มิ ขึ้น เป็นต้น โดยได้กาหนดแนวทางการพัฒนา คอื สง่ เสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรักษ์ สงิ่ แวดล้อม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏิบตั ิใน การ ดาเนนิ ชีวติ ส่งเสรมิ และพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรยี นรู้ และสอ่ื การเรียนรู้ตา่ ง ๆ และ พัฒนา องค์ความรู้ งานวิจัย และนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม และมี แผนงาน และโครงการสาคัญ เช่น โครงการนอ้ มนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาและเพ่ิมศักยภาพคนทุกช่วงวัย โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม โครงการโรงเรียนสีเขียวเปน็ ตน้ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ : การพัฒนาประสิทธภิ าพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มีเปาู หมาย ดังนี้ ๖.๑ โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจดั การการศึกษามีความคล่องตวั ชดั เจน และ สามารถ ตรวจสอบได้ มีตัวช้วี ดั ทสี่ าคัญ เชน่ มีการปรบั ปรุงโครงสร้างและระบบบรหิ ารราชการส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค และสถานศึกษาใหม้ ีเอกภาพ สอดคลอ้ งกบั บริบทของพน้ื ที่และการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภบิ าล เป็นต้น ๖.๒ ระบบการบรหิ ารจดั การศึกษามปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสง่ ผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา มตี วั ช้ีวัดทส่ี าคัญ เช่น สถานศกึ ษาขนาดเลก็ /สถานศกึ ษาทต่ี ้องการความช่วยเหลอื และพัฒนาเป็น พิเศษอยา่ งเร่งด่วน ทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกลดลง คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐานของผู้เรียนท่ีเรียนในกลุ่มสถานศึกษาทเี่ ข้าสู่ระบบการบริหารจดั การแนวใหม่ สงู ข้ึน เปน็ ต้น ๖.๓ ทกุ ภาคสว่ นของสังคมมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาทตี่ อบสนองความต้องการของประชาชน และพ้นื ที่ มตี ัวชว้ี ดั ท่สี าคญั เชน่ จานวนองค์กร สมาคม มูลนธิ ิ หรือหน่วยงานอนื่ ทเี่ ข้ามาจัดการศึกษาหรือ ร่วมมือกบั สถานศึกษา ท้ังของรฐั เอกชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเพมิ่ ข้ึน และสัดสว่ นการมสี ว่ นรว่ ม สนับสนนุ การศึกษาของภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคเี ครือข่ายเม่ือเทยี บกับรฐั จาแนกตามระดบั การศกึ ษาสูงขึ้น เปน็ ตน้ ๖.๔ กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรบั ลกั ษณะท่แี ตกต่างกัน ของผูเ้ รยี น สถานศกึ ษา และความต้องการกาลงั แรงงานของประเทศ มีตวั ชว้ี ัดทีส่ าคัญ เชน่ มี กฎหมาย กฎ ระเบียบ และระบบการจัดสรรเงินเพอ่ื การศึกษาท่ีเอื้อและสนองตอบคุณลักษณะที่แตกต่างกันของผ้เู รียน ความต้องการกาลังแรงงานและสภาพปญั หาที่แทจ้ ริงของประเทศ มรี ปู แบบ/แนวทาง กลไกการจัดสรร งบประมาณผ่านดา้ นอุปสงค์และอุปทาน ในสดั สว่ นที่เหมาะสม เป็นตน้ แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๓๔

๖.๕ ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเปน็ ธรรม สร้าง ขวญั กาลงั ใจ และสง่ เสริมใหป้ ฏบิ ัติงานได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ มตี ัวชีว้ ดั ที่สาคญั เชน่ สถานศึกษาท่ีมีครู เพยี งพอต่อการจัดการเรียนการสอนเพม่ิ ขึน้ คร/ู ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน/ผู้ประกอบการทป่ี ฏิบตั งิ าน สนบั สนนุ การเรยี นการสอนเพิ่มข้นึ และสถานศึกษามบี ุคลากรทางการศกึ ษาทาหน้าท่ีปฏิบตั งิ านสนับสนุนการ เรียนการสอนเพิ่มข้ึน เป็นตน้ โดยกาหนดแนวทางการพัฒนา คือ ปรับปรงุ โครงสรา้ งการบริหารจดั การศกึ ษา เพิ่มประสทิ ธิภาพการ บริหารจัดการสถานศึกษา สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษา ปรบั ปรุงกฎหมาย เกย่ี วกับระบบการเงินเพือ่ การศึกษา พฒั นาระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และ บุคลากรทางการ ศกึ ษา และมแี ผนงานและโครงการสาคัญ เชน่ โครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นขนาดเล็ก โครงการพัฒนาระบบจัดสรรงบประมาณเพ่อื การศึกษา และโครงการทดลองนารอ่ งระบบ การจัดสรรเงนิ ผ่าน ด้านอุปสงค์และอุปทาน เป็นตน้ การขบั เคล่ือนแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ ความสาเรจ็ ของการขับเคลื่อนแผนการศกึ ษา แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ สู่การปฏิบตั ขิ นึ้ อย่กู บั ปัจจัยสาคญั หลายประการ ประกอบดว้ ย สาระของ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติที่มีความชัดเจน ครบถว้ น และ ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมายและทุกระดบั การศึกษา การมีสว่ นร่วมในกระบวนการพัฒนาแผนการศกึ ษา แห่งชาติ ของผเู้ กย่ี วข้องทกุ ภาคสว่ น ต้ังแตร่ ะดบั นโยบาย ระดับปฏบิ ัติ ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี และสาธารณชน การเผยแพร่ ประชาสมั พันธแ์ กผ่ ู้เก่ยี วข้องและสาธารณชน เพ่อื สร้างความตระหนกั ในความสาคัญของแผนการ ศึกษาแหง่ ชาติ การสร้างความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ และการนาแผนการศึกษาแห่งชาติ สูก่ ารปฏิบัติทชี่ ัดเจนแก่ผู้ปฏิบัตทิ กุ ระดบั เพ่ือให้ทุก ภาคสว่ นได้เขา้ มามสี ่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษา ของชาติทักษะทสี่ าคัญของผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ กรอบความคดิ เพื่อการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 มีเปาหมายไปทผี่ ูเรียน เกิดคุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21 โดยผู เรยี นจะใชความรูในสาระหลกั ไปบูรณาการส่ังสมประสบการณกับทักษะ 3 ทักษะเพ่ือการดารงชวี ติ ในศตวรรษ ที่ 21 คอื ทกั ษะดานการเรยี นรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี และทกั ษะชีวติ และอาชพี ซึ่งการจัดการศึกษาจะใชระบบสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 หาระบบ คือ ระบบมาตรฐานการเรียนรู ระบบการประเมนิ ผลทักษะการเรยี นรู ระบบหลักสูตรและวิธกี ารสอน ระบบการพฒั นางานอาชพี และระบบ แหลงเรียนรูและบรรยากาศการเรียนรู ทกั ษะแหงอนาคตใหม แผนปฏิบัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๓๕

การปรับเปลี่ยนวิธีการเรยี นรูของนักเรยี น เพ่ือใหบรรลผุ ลลพั ธที่สาคญั และจาเปนตอตัวนกั เรียนอย างแทจริง มุงไปที่ใหนักเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง ตองกาวขามสาระวชิ าไปสูการเรียนรูเพ่ือการดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ครูตองไมสอนหนงั สือไมนาสาระทม่ี ีในตารามาบอกบรรยายใหนักเรียนจดจาแลวนาไปสอบ วดั ความรู ครตู องสอนคนใหเปนมนษุ ยทีเ่ รียนรูการใชทกั ษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เปนผูออกแบบ การเรียนรู และอานวยความสะดวก (facilitate) ในการเรยี นรูใหนักเรียนเรยี นรูจากการเรียนแบบลงมอื ทา โดย มีประเดน็ คาถามอยากรูเปนตัวกระตุนสรางแรงบนั ดาลใจใหอยากเรยี น ที่จะนาไปสูการกระตือรือรนทจี่ ะสบื คน รวบรวมความรูจากแหลงตาง ๆ มาสนับสนุนหรอื โตแยงขอสมมติฐานคาตอบที่คุนเคย พบเจอจากประสบกา รณเดิมใกลตัว สรางเปนกระบวนทศั นใหมแทนของเดมิ การเรยี นรูแบบน้ีเรยี กวา Project-Based Learning: PBL ทกั ษะการรูสาระเนอื้ หา 1. พื้นฐานการเรียนรูสาระวิชาหลัก ทักษะการอาน (Reading) ทกั ษะการเขียน (Writing) และทกั ษะการคานวณ (Arithmetic) ถือเปนทักษะพื้นฐานท่มี คี วามจาเปนท่จี ะทาใหรแู ละเขาใจในสาระเน้ือหาของ 8 กลุม สาระการเรียนรูท่ีแสดงความเปนสาระวิชาหลกั ของทักษะเพ่อื ดารงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 ไดแก ภาษา แมและภาษาโลก ศลิ ปะ คณิตศาสตร เศรษฐศาสตร วิทยาศาสตร ภูมศิ าสตร ประวตั ิศาสตร และรัฐ ความเปนพลเมืองดี ซึ่งหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานไดจัดทาสาระเนื้อหาไดครบคุมท้ัง 8 กลุมสาระการ เรยี นรูแลว 2. ความรูเชิงบูรณาการสาหรับศตวรรษที่ 21 ถงึ แมนนักเรยี นจะสอบวดั ความรู ความสามารถ ไดตามเกณฑการจบหลักสตู ร การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานวาดวยระเบียบการวดั ผลประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานไดแลวกต็ าม คงไมเพียงพอในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 จึงตองมีการสอดแทรกความรูเชงิ บูรณาการเขาไปในสาระเนอื้ หา ของ 8 กลุมสาระการเรียนรู เพ่ือใชเปนพ้ืนฐานความรูทักษะเพ่ือการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ดงั นี้ 2.1 ความรูเกยี่ วกับโลก (Global Awareness) เปนการสรางความรูความเขาใจ และกาหนดประเด็นสาคญั ตอการสรางความเปนสังคมโลก การขับเคลื่อนเชงิ วัฒนธรรม ศาสนา และวิถี ชวี ิตท่อี ยูรวมกันไดอยางเหมาะสมในบริบททางสังคมท่ีตางกนั รอบดาน และสรางเขาใจความเปนมนุษย ดวยกันในดานเช้อื ชาตแิ ละวัฒนธรรม การใชวัฒนธรรมทางภาษาท่ีตางกันไดอยางลงตัว 2.2 ความรูดานการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเปนผูประกอบการ(Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) เปนการสรางความรูและวธิ ีการที่เหมาะสมสาหรบั การสราง ตัวเลอื กเชงิ เศรษฐศาสตร หรอื เศรษฐกิจ มคี วามเขาใจบทบาทในเชงิ เศรษฐศาสตรทม่ี ีตอสงั คม และใชทักษะ การเปนผูประกอบการในการยกระดับ และเพิ่มประสทิ ธิผลดานอาชพี 2.3 ความรูดานการเปนพลเมือทด่ี (ี Civil Literacy) เปนการสรางประสิทธิภาพ การมสี วนรวมทางสงั คม ผานวิธสี รางองคความรูและความเขาใจในกระบวนการทางการเมืองการ ปกครองที่ถูกตอง และนาวิถีแหงความเปนประชาธิปไตยไปสูสังคมในระดับตางๆ ท่ีเขาใจตอวถิ กี าร ปฏิบัตทิ างสังคมแหงความเปนพลเมืองทง้ั ระดบั ทองถ่นิ และสากล 2.4 ความรูดานสขุ ภาพ (Health Literacy) เปนการสรางความรูความเขาใจ ขอมลู สารสนเทศ ภาวะสุขภาพอนามัย และนาไปใชในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ใหเขาใจวิธีปองกันแกไข และเสรมิ สรางภมู คิ ุมกนั ท่ีมีตอภาวะสุขอนามัย หางไกลจากภาวะความเส่ยี งจากโรคภยั ไขเจ็บ ใช แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๓๖

ประโยชนขอมลู สารสนเทศในการเสริมสรางความเขมแขง็ ทางดานสุขภาพอนามยั ไดอยางเหมาะสมกับ บคุ คล เฝาระวังดานสขุ ภาพอนามัยสวนบุคคลและครอบครัวใหเกดิ ความเขมแขง็ รูและเขาใจในประเด็น สาคญั ของการเสรมิ สรางสขุ ภาวะทีด่ ีระดับชาตแิ ละสากล 2.5 ความรูดานสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy) เปนการสรางภมู ิรู และเขาใจการอนุรักษและปองกนั สภาพแวดลอม และมีสวนรวมอนรุ ักษและปองกนั สภาพแวดลอม มี ภูมริ ูและเขาใจผลกระทบจากธรรมชาติท่สี งผลตอสงั คม สามารถวิเคราะหประเด็นสาคญั ดาน สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และกาหนดวธิ ีการปองกันแกไข และอนุรักษรักษาสภาพแวดลอม สราง สงั คมโดยรอบใหเกิดความรวมมอื ในการอนุรกั ษและพัฒนาทรัพยากรสิ่งแวดลอม 3. ทักษะการเรยี นรูและนวัตกรรม โลกยุคศตวรรษท่ี 21 มีการเปลีย่ นแปลงท่ีรวดเร็ว พลิกผนั รนุ แรง และคาดไมถึง ตอการดารงชีวติ ดงั นัน้ คนในยุคศตวรรษที่ 21 จงึ ตองมีทักษะสงู ในการเรยี นรูและปรับตัว การสราง ทกั ษะการเรยี นรูและนวตั กรรม จะใชกระบวนการ Project-Based Learning: PBL โดยเริ่มจากการนา บรบิ ท สภาพแวดลอมเปนตัวการสรางแรงกดดนั ใหนักเรยี นตั้งคาถามอยากรู ใหมากตามประสบการณ พืน้ ฐานความรูทสี่ งั่ สมมา และตั้งสมมตฐิ านคาตอบตามพนื้ ฐานความรูและประสบการณของตนเองท่ีไมมี คาวาถูกหรือผดิ นาไปสูการแลกเปลี่ยนประเด็นความคดิ เห็นกบั กลุมเพ่อื น เพื่อสรุปหาสมติฐานคาตอบท่ี มีความนาจะเปนไปไดมากที่สุด โดยมกี ารพสิ ูจนยนื ยนั สมมติฐานคาตอบจากการไปสบื คน รวบรวม ความรูจากแหลงอางองิ ทเ่ี ช่ือถือได มาสนบั สนนุ หรอื โตแยงไดเปนคาตอบทเ่ี รียกวาองคความรูเรยี กวา การเรียนแกนวิชา ซ่ึงไมใชเปนการจดจาแบบผวิ เผนิ แตการรูแกนวชิ าหรือทฤษฎีความรูจะสามารถเอา ไปเชื่อมโยงกบั วิชาอื่น ๆ เกดิ แรงบันดาลใจอยากพัฒนางาน สรางผลงานที่เก่ยี วกบั การการพฒั นา คณุ ภาพชีวิต ท่ีเรียกวาความคิดเชิงสรางสรรค นาทฤษฎคี วามรูมาสรางกระบวนการและวิธกี ารผลติ สรางผลงานใหมทเี่ ปนประโยชนตอบคุ คล และสังคมท่ีเรยี กวาพฒั นานวตั กรรม 3.1 การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณและการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) เปนการสรางทกั ษะการคดิ ในแบบตาง ๆ ดงั นี้ (1) แบบเปนเหตุเปนผล ท้งั แบบอปุ นัย (inductive) และแบบอนมุ าน (deductive) (2) แบบใชการคดิ กระบวนการระบบ (systems thinking) โดยวิเคราะห ปจจัยยอยมีปฏิสัมพนั ธกนั อยางไร จนเกดิ ผลในภาพรวม (3) แบบใชวจิ ารณญาณและการตัดสนิ ใจ ทส่ี ามารถวเิ คราะหและประเมนิ ขอมูลหลักฐาน การโตแยง การกลาวอางองิ และความนาเชื่อถือ วิเคราะหเปรียบเทยี บและประเมนิ ความเหน็ ประเด็นหลัก ๆ สงั เคราะหและเชื่อมโยงระหวางสารสนเทศกับขอโตแยง แปลความหมายของ สารสนเทศและสรปุ บนฐานของการวเิ คราะห และตคี วามและทบทวนอยางจรงิ จังในดานความรู และ กระบวนการ (4) แบบแกปญหา ในรูปแบบการฝกแกปญหาที่ไมคุนเคยหลากหลาย ใน แนวทางที่ยอมรับกนั ท่ัวไป และแนวทางท่ีแตกตางจากการยอมรบั รปู แบบการต้ังคาถามสาคัญท่ีชวยทา ความกระจางในมุมมองตาง ๆ เพอ่ื นาไปสูทางออกทด่ี ีกวา 3.2 การสื่อสารและความรวมมือ(Communication and Collaboration) ความเจรญิ กาวหนาของเทคโนโลยดี ิจิตอล และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร (digital and communication technology) ทาใหโลกศตวรรษท่ี 21 ตองการทักษะของการสื่อสารและความรวมมอื ท่กี วางขวางและ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๗

ลึกซ้ึง ดงั นี้ (1) ทกั ษะในการสื่อสารอยางชดั เจน ตงั้ แตการเรียบเรยี งความคดิ และ มุมมอง (idea) สอ่ื สารเขาใจงาย ในหลายแบบ ท้งั การพูด เขียน และกริ ิยาทาทาง การฟงอยางมี ประสิทธภิ าพ นาไปถายทอดสอ่ื สาร ความหมายและความรู แสดงคณุ คา ทัศนคตแิ ละความต้ังใจ การ สือ่ สารเพื่อการบรรลเุ ปาหมายการทางาน การสือ่ สารดวยหลากหลายภาษาและสภาพแวดลอมที่ หลากหลายอยางไดผล (2) ทักษะความรวมมือกบั ผูอ่ืน ตัง้ แตการทางานใหไดผลราบรนื่ ท่ีเคารพและ ใหเกยี รติผูรวมงาน มคี วามยดื หยุนและชวยเหลือประนปี ระนอมเพ่ือการบรรลุเปาหมายรวมกนั มคี วาม รบั ผิดชอบรวมกับผูรวมงาน และเหน็ คุณคาของบทบาทของผูรวมงาน 3.3 ความคดิ สรางสรรคและนวตั กรรม (Creativity and Innovation) ทกั ษะทางดานนเ้ี ปนเรื่องของการนจนิ ตนาการมาสรางข้ันตอนกระบวนการ โดยอางอิงจากทฤษฎีความรูเพอ่ื นาไปสูการคนพบใหมเกิดเปนนวตั กรรมท่ีใชตอบสนองความตองการใน การดารงชวี ติ ทล่ี งตวั และนาไปสูการเปนผูผลิตและผูประกอบการตอไป ทักษะดานน้ีไดแก (1) การคิดอยางสรางสรรค ท่ีใชเทคนคิ สรางมมุ มองอยางหลากหลาย มกี าร สรางมุมมองทแี่ ปลกใหมอาจเปนการปรับปรงุ พัฒนาเพียงเลก็ นอย หรือทาใหมท่แี หวกแนวโดนสิน้ เชิง ที่ เปดกวางในความคิดเหน็ ที่รวมกันสรางความเขาใจ ปรับปรุง วิเคราะห และประเมนิ มมุ มอง เพื่อพฒั นา ความเขาใจเก่ียวกับความคดิ อยางสรางสรรค (2) การทางานรวมกับผูอน่ื อยางสรางสรรค ในการพฒั นา ลงมือปฏิบตั ิ และ ส่อื สารมุมมองใหมกับผูอนื่ อยูเสมอ มีการเปดใจและตอบสนองมุมมองใหมๆรับฟงขอคดิ เหน็ และรวม ประเมนิ ผลงานจากกลุมคณะทางานเพื่อนาไปปรบั ปรงุ พฒั นมีการทางานดวยแนวคิดหรือวธิ กี าร ใหมๆ (3) การประยุกตสูนวัตกรรม ที่มกี ารลงมือปฏบิ ตั ิตามความคดิ สรางสรรคให ไดผลสาเร็จทเี่ ปนรปู ธรรม 4. ทักษะชีวติ และงานอาชีพ การเรียนรูท่ีจะปรับตัวไดอยางดใี นสภาวะการเปลย่ี นแปลง หรอื มภี ัยคกุ คามได อยางชาญฉลาดถอื เปนเรอื่ สาคญั ในการดารงชวี ิตทม่ี ที ักษะชวี ิตในโลกศตวรรษที่ 21 และการคิดสราง ผลติ ภณั ฑใหมเพือ่ ตอบสนองการดารงชีวิตเฉพาะบริบท สภาพแวดลอมทต่ี างกันไป นาไปสูการเผยแพร เทคนคิ วิธีการใชและพฒั นาทักษะใช เกดิ เปนกลยุทธการขายเกิดผูประกอบการในงานอาชีพตาง ๆ ซึง่ เปนทกั ษะงานอาชีพที่ตองมกี ารสงเสริมใหมีเทาทันในยกุ ตการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ทกั ษะชวี ติ และทักษะงานอาชีพจงึ ควรมีการพฒั นาสิ่งตอไปนี้ 4.1 ความยืดหยุนและความสามารถในการปรบั ตวั (Flexibility and Adaptability) เปนทกั ษะเพ่ือการเรียนรู การทางานและการเปนพลเมืองในศตวรรษท่ี 21 ซงึ่ ตองทา เพือ่ การบรรลเุ ปาหมายแบบมีหลักการ และไมเล่ือนลอยภายใตการเปลยี่ นแปลงอยางรวดเร็ว และไม คาดคิด ท้ังมีขอจากัดดานทรัพยากร เวลา และการมีคูแขง โดยใชวกิ ฤตใหเปนโอกาส ในดานการปรับตัว ตอการเปล่ียนแปลง เปนการปรบั ตวั ใหเขากบั บทบาทที่แตกตางไป งานที่มีกาหนดการท่ีเปลี่ยนไป และ บรบิ ททีเ่ ปลย่ี นไป ในดานความยดื หยุน เปนการนาเอาผลลพั ธทเี่ กดิ ขนึ้ มาใชประโยชนอยางไดผล มกี าร จดั การเชิงบวกตอคาชม คาตาหนิ และความผิดพลาด สามาถนาความเห็นและความเชอ่ื ทีแ่ ตกตาง หลากหลายท้งั ของคณะทางาน หรอื ขามวฒั นธรรมคณะทางาน มาทาความเขาใจ ตอรอง สรางดุลยภาพ แผนปฏิบตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๘

และทาใหงานลุลวง ดังน้ันความยืดหยุนจงึ ทาเพ่อื การบบลุผลงานไมใชเพ่ือใหทกุ คนสบายใจ 4.2 การรเิ ร่ิมสรางสรรคและกากับดูแลตนเองได(Initiative and SelfDirection) เปนทักษะ ทสี่ าคญั มากในการทางานและดารงชวี ิตในโลกศตวรรษที่ 21 ทีต่ องมีการกาหนด เปาหมายโดยมีเกณฑความสาเรจ็ ทเ่ี ปนรปู ธรรม และนามธรรม มคี วามสมดลุ ระหวางเปาหมายระยะสนั้ ทเี่ ปนเชิงยุทธวิธี และเปาหมายระยะยาวทีเ่ ปนเชิงยทุ ธศาสตร มกี ารคานวณประสทิ ธภิ าพการใชเวลากับ การจดั การภาระงาน การทางานตองทางานสาเรจ็ ไดดวยตนเอง โดยกาหนดตัวงาน ตดิ ตามผลงาน และ ลาดบั ความสาคัญของงานไดเอง นอกจากน้นั การทางานยังตองฝกทกั ษะการเปนผูเรียนรูไดดวยตนเอง ทม่ี กี ารมองเหน็ โอกาสเรยี นรูสง่ิ ใหม ๆ เพื่อขยายความเชย่ี วชาญในงานของตนเอง มีการรเิ ริม่ การพัฒนา ทักษะไปสูระดับอาชีพ แสดงความเอาใจใสจริงจังตอการเรียนรู และทบทวนประสบการณในอดีต เพ่ือ คิดหาทางพฒั นาในอนาคต 4.3 ทักษะสังคมและสงั คมขามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) เปนทกั ษะทาใหคนในศตวรรษท่ี 21 สามารถทางานและดารงชวี ติ อยูในสภาพแวดลอมและผูคน ทม่ี คี วามแตกตางหลากหลายไดอยางไมแปลกแยก ทาใหงานสาเร็จ การพัฒนาทักษะนี้จะทาใหเกิด ปฏสิ มั พันธกบั ผูอ่ืนอยางเกดิ ผลดีในเรื่อกาลเทศะ เกิดการทางานในทมี ทีแ่ ตกตางหลากหลายอยาง ไดผลดี ทมี่ ีการเคารพความแตกตางทางวัฒนธรรม ตอบสนองความเห็นและคุณคาทีแ่ ตกตางอยางใจ กวาง เพ่ือยกระดบั ความแตกตางทางสังคมและวฒั นธรรมสูการสรางแนวความคดิ วธิ ที างานใหม สูคุณภาพของผลงาน 4.4 การเปนผูสรางผลงานหรือผลผลิตและความรับผิดชอบเชอื่ ถือได (Productivity and Accountability) เปนการกาหนดข้ันตอนวธิ ีการทางานในการสรางชิ้นงาน ผลงาน หรือผลิตภณั ฑ อยางมหี ลกั การตามทฤษฎีความรูที่ตองมีทักษะความชานาญการ ซ่งึ เปนเรื่อง ของการจัดการโครงการ ท่ีมีการกาหนดเปาหมายและวธิ ีการบรรลุเปาหมายภายใตขอจากัดทม่ี ีอยู โดยการกาหนดลาดับความสาคัญ วางแผน และการจดั การ ผลิตภัณฑ และผลงาน ที่ไดจาการผลติ ตองมี คุณภาพเพ่ือแสดงถึงทกั ษะการทางานอยางเปนระบบจากผูทีม่ คี วามเช่ยี วชาญการผลติ นาไปใช ประโยชนแกบคุ คล ชุมชนไดอยางไมมผี ลกระทบทางลบ แตถามจี ะตองออกมายอมรับขอบกพรองอยาง ไมปดบัง อันนาไปสูการปรับแกไข หรือยกเลกิ เพื่อแสดงจริยธรรมทเ่ี ปนบรรทดั ฐานทางสังคม 4.5 ภาวะผูนาและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) ใน ศตวรรษท่ี 21 มีความตองการภาวะผูนาและความรับผิดชอบแบบกระจายบทบาท จากการรบั ผิดชอบ ตอตนเอง รับผดิ ชอบการทางานแบบประสานสอดคลองเปนคณะทางาน และรบั ผดิ ชอบแบบสราง เครือขายรวมมือแบบพันธมิตรการทางาน เพือ่ ไปสูเปาหมายของผลงานรวมกัน ซึ่งตองพัฒนาทกั ษะ มนุษยสมั พนั ธและทักษะการแกปญหาในการชักนาผูอ่นื ใหเห็นเปาหมายรวมกัน และทาใหผูอน่ื เกดิ พลงั ในการทางานใหบรรลผุ ลสาเรจ็ รวมกนั เกิดแรงบันดาลใจใหผูอ่ืนใชศักยภาพหรือความสามารถ สงู สดุ โดยการทาตวั อยางทีไ่ มถอื ผลประโยชนของตนเองเปนท่ีตั้ง และไมใชอานาจโดยขาดจรยิ ธรรม และคุณธรรม ถือประโยชนสวนรวมเปนท่ตี ัง้ 5. ทกั ษะดานสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี การรบั รูสิง่ ตาง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนแลวตอบสนอง รับสิง่ ที่รบั รูมาเปนกระบวนทัศนใหม ทันที แสดงถงึ การขาดทักษะการคดิ แบบขาดวิจารณญาณ ผลท่ีเกดิ ข้นึ ก็จะตกอยูภายใตการชวนเช่ือ และไมสามารถกาหนดตนเองไดการสรางทักษะดานสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี เพื่อใหเกิดการเทา ทันไมตกอยูภายใตการถกู ชกั จูง ชวนเชอ่ื แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๓๙

5.1 การรูเทาทันสารสนเทศ (Information Literacy) การบั รูคาบอกเลาจาก เพ่อื น ผูอนื่ รวมถึงครผู ูสอน หรอื แมนแตสมมติฐานคาตอบทหี่ ารือกนั ในกลุมอภิปราย เปนเพียงความ คิดเหน็ ที่รอการพิสจู น ยืนยันคาตอบที่เปนจรงิ จากสารสนเทศที่ไดจากการสบื คน รวมรวมจากแหลง อางองิ ทเี่ ชือ่ ถือไดมาผานกระบวนการคิดแบบขาดวจิ ารณญาณ สนับสนนุ หรือโตแยงพิสจู นความเปน จรงิ สรางเปนความรู และองคความรูท่ีไดจากการเรียนรู ซึ่งตองใชทักษะในการเขาถงึ แหลงความรูได อยางรวดเรว็ และกวางขวาง มีทกั ษะการประเมินความนาเชื่อถือของขอมลู สารสนเทศ และทักษะในการ ใชอยางสรางสรรค 5.2 การรูเทาทนั สอ่ื (Media Literacy) การรับสารจากสื่อ และสอื่ สารออกไป ในยุค media คนในศตวรรษที่ 21 จะตองมีความสามารถใชเครอื่ งมือผลติ ส่ือ และสอ่ื สารออกไป หรือ แมแตการรับเขามาในรปู วิดโี อ (video) ออดโิ อ (audio) พอดคาสท (podcast) เวบ็ ไซด (website) และอื่น ๆ อกี มากมาย แตการรับรูจากแหลงสอ่ื เหลานน้ั ถาขาดการเทาทนั ขาดการคดิ อยางมี วจิ ารณญาณ กจ็ ะตกอยูภายใตการถูกชักจูง ชวนเชอื่ ไดเชนกัน จงึ ตองสรางทักษะการวิเคราะหสือ่ ใหเทา ทันวตั ถุประสงคของตัวสอื่ และผลิตสอ่ื นัน้ อยางไร มีการตรวจสอบแหลงอางอิงทเี่ ชื่อถือได และเทาทัน ตอการมอี ิทธิพลตอความเช่อื และพฤติกรรมอยางไร และมีขอขัดแยงตอจริยธรรมและกฎหมายท่ี เกี่ยวของหรือไม อยางไร ในเรือ่ งการสรางผลติ ภณั ฑสอื่ ตองมีความเทาทนั ตอการเลือกใชเครือ่ งมือที่ พอเพียงพอเหมาะกับวตั ถปุ ระสงคการใชงาน และเหมาะสมกบั สภาพแวดลอมความแตกตาง หลากหลายดานวัฒนธรรม 5.3 ก า ร รู ทั น เท ค โน โล ยี (ICT: Information, Communication and Technology Literacy) ในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 เปนโลกเทคโนโลยที มี่ กี ารแขงขันกันผลติ และนามา สูการสราง กลยทุ ธการขายสูกลมุ ผูบรโิ ภคทต่ี องการความทันสมัยอยูตลอดเวลา ซึง่ ถาขาดความเทาทัน การใชเทคโนโลยจี ะกลายเปนผูซ้อื แตไมอยากจะเรียนรูการเปนผูผลติ เพื่อนาไปใชงานท่ีพอเพยี ง เหมาะสมกบั งาน การถูกชักจูง ชวนเชือ่ ใหเปนผูซ้ือก็จะงายข้นึ ผลการสูญเสียงบประมาณ และการขาด ดุลทางเศรษฐกิจจะตามมา ดังนั้นทักษะความเทาทันดานเทคโนโลยจี ึงเปนทกั ษะท่จี าเปนในศตวรรษที่ 21 ทาใหคนรูจักผลติ ใชและนาไปแลกเปล่ยี นใชในเวทีการคา เกดิ การสรางงานสรางรายได รวมถงึ การ ใชเทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นรูใหเกดิ การสบื คน รวมรวมความรูพสิ ูจนสมมติฐานคาตอบในการใชทกั ษะการ คดิ แบบมีวจิ ารณญาณ มากกวาทีจ่ ะใชเพื่อการบนั เทงิ ในแบบสงั คมกมหนา จึงควรใชเทคโนโลยเี พื่อการ วิจยั จัดระบบ ประเมนิ และส่ือสารสารสนเทศ ใชส่อื สารเช่ือมโยงเครือขาย และ Social network อยางถูกตองเหมาะสม เพ่ือการเขาถงึ การจดั การ การผสมผสาน ประเมิน และสรางสารสนเทศ เพื่อทา หนาท่ีในเศรษฐกิจฐานความรู ทั้งน้ตี องคานงึ ถึงการปฏบิ ัติตามคณุ ธรรมและกฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการ เขาถงึ และใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะพนื้ ฐานจาเปนในการอาน เขยี น และคิดคานวณ เปนตัวการทีท่ าใหคนใน ศตวรรษที่ 21 รูจกั ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเปนเคร่อื งมอื ในการสบื คน รวมรวมความรู ใชกระบวนการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณใหเกดิ การเทาทันส่ือ สารสนเทศทีจ่ ะพสิ จู นยนื ยนั สิ่งทต่ี น และ สังคมอยากรไู ดอยางชาญฉลาดไมถูกชวนเชอ่ื ชักนาอยางงมงาย เกิดเปนแรงบันดาลใจสรางจติ นาการ อยากพัฒนา อยากผลติ สรางผลติ ภัณฑ หรอื นวัตกรรมข้นึ ใชในการดารงชีวติ ในสังคม และนาไป แลกเปล่ยี นกบั สงั คมอ่ืนเกิดเปนรายไดบนเวทฐี านเศรษฐกิจความรู ทีมีความรับผดิ ชอบตอกฎ กติกา ใน ข้ันตอนการผลิต และมีความรับผิดชอบตอผลท่ีเกดิ ขึน้ ถาผลิตภณั ฑ ผลผลติ มคี ณุ ภาพไมดี ภาพโดย สรปุ กค็ ือ ทักษะการดารงชวี ติ ของคนในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงจะถกู หลอหลอมตกผลึกเปนผูทส่ี ามารถนาทาง แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔๐

ชวี ิตตนเองไดอยางมีคณุ ภาพชีวติ และเกดิ เปนคุณลักษณะของคนในศตวรรษท่ี 21 สิบคณุ ลกั ษณะ คอื เปนนกั คิดวเิ คราะห นักแกปญหา นกั สรางสรรค นกั ประสานความรวมมือ รูจักใชขอมูลและขาวสาร เรยี นรูดวยตนเอง นักสอ่ื สาร ตระหนกั รับรูสภาวะของโลก เปนพลเมอื งทรงคุณคา และมีพน้ื ฐานความรู เศรษฐกิจและการคลัง ซง่ึ สรุปเปนคุณลกั ษณะใน 3 ดาน ดังน้ี 1. คณุ ลกั ษณะดานการทางาน ไดแก การการปรับตวั และความเปนผูนา 2. คณุ ลกั ษณะดานการเรียนรู ไดแก การช้ีนาตนเอง การตรวจสอบการเรียนรูของ ตนเอง 3. คุณลักษณะดานศลี ธรรม ไดแก ความเคารพผูอ่นื ความส่ือสตั ย สานึกพลเมือง แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๔๑

นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ วิสยั ทัศน์ คนไทยทุกชว่ งวยั ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จาเป็น และสมรรถนะท่ีสอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกจิ ๑. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือยกระดับการศึกษา และ พัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การ เปล่ียนแปลงและการปรับตัวในการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อยา่ งย่ังยนื ๒. พัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การ วัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ในปจั จุบนั ๓. ส่งเสรมิ และพัฒนาเทคโนโลยีทางการศกึ ษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพอ่ื เพ่มิ ชอ่ งทางและโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ให้กบั ประชาชนกลุ่มเปูาหมายอยา่ งทวั่ ถึง ๔. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบ ตา่ ง ๆ ให้กับประชาชน ๕. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของ ธรรมาภิบาล มีประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล และคล่องตัวมากยง่ิ ขน้ึ ๖.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จริยธรรมทด่ี ี เพอื่ เพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ทม่ี ีคุณภาพมากย่ิงขึ้น เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทงั้ ประชาชนท่วั ไปไดร้ บั โอกาส ทาง การศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตาม อัธยาศยั ที่มีคุณภาพอย่างเทา่ เทยี มและท่ัวถึง เปน็ ไปตามบริบท สภาพปญั หาและความต้องการของแต่ละ กลมุ่ เปูาหมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้องกับหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อ พัฒนา ไปสู่ความม่นั คงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔๒

3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้และแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองผ่านแหล่งเรยี นรู้ ชอ่ ง ทางการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรูร้ ปู แบบตา่ ง ๆ รวมทั้งมเี จตคติทางสงั คม การเมือง วทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยที เี่ หมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะอยา่ งมีเหตุผล และนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน รวมถึงการแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ 4. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. มหี ลกั สตู ร สอื่ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ในรปู แบบที่หลากหลาย ทันสมยั และรองรับกบั สภาวะการเรียนรูใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลง บรบิ ท ด้านเศรษฐกจิ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม 5. หน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจทิ ัล มา พฒั นาเพ่ือเพม่ิ ชอ่ งทางการเรียนรู้ และนามาใชใ้ นการยกระดบั คณุ ภาพในการจดั การเรียนรแู้ ละโอกาสการ เรียนรู้ ใหก้ ับประชาชน 6. ชุมชนและภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนรว่ มในการจดั สง่ เสริม และสนับสนุนการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมท้ังการขบั เคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชมุ ชน 7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจัดการองค์กรทท่ี ันสมยั มปี ระสิทธภิ าพ และเปน็ ไป ตามหลักธรรมาภบิ าล 8. บคุ ลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รบั การพัฒนาเพ่ือเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงาน และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมถึงการปฏิบตั ิงานตามสายงานอยา่ ง มี ประสิทธิภาพ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๔๓

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔๔

จดุ เนน้ การดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. น้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิ 1.1 สบื สานศาสตร์พระราชา โดยการสรา้ งและพฒั นาศูนย์สาธิตและเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่อื เป็นแนวทางในการจดั การบริหารทรัพยากรรปู แบบตา่ ง ๆ ท้งั ดนิ น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ตา่ ง ๆ และ สง่ เสรมิ การใชพ้ ลงั งานทดแทนอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 1.2 จัดใหม้ ี “หนึ่งชมุ ชน หนง่ึ นวตั กรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพื่อความกนิ ดี อยู่ดี มงี านทา 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน รวมท้ังปลกู ฝงั ผู้เรียนให้มหี ลักคิดที่ถูกตอ้ งดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทัศนคติท่ดี ีต่อบ้านเมือง และเป็นผ้มู คี วามพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมการ พฒั นา ผเู้ รียนโดยการใชก้ ระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด 2. สง่ สรมิ การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัย 2.1 ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลติ ภณั ฑ์ทมี่ ีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับบรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรคู้ วามสามารถเพ่ือนาไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี ได้ 2.2 ส่งเสรมิ และยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนท่เี หมาะสมสาหรับผูท้ ่เี ขา้ สู่สงั คมสูงวัย อาทิ การฝกึ อบรมอาชพี ท่ี เหมาะสมรองรับสงั คมสงู วยั หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชวี ิตและส่งเสรมิ สมรรถนะผูส้ งู วยั และหลกั สูตร การ ดูแลผสู้ งู วยั โดยเนน้ การมสี ่วนรว่ มกบั ภาคเี ครือข่ายทุกภาคสว่ นในการเตรียมความพร้อมเขา้ สสู่ งั คมสูงวยั 3. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศกึ ษา และการเรยี นรู้ ในทุกระดับ ทกุ ประเภท เพื่อประโยชนต์ อ่ การจดั การศกึ ษาท่เี หมาะสม กับทุกกลุ่มเปา้ หมาย มคี วามทนั สมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสงั คมปัจจบุ นั ความต้องการ ของผู้เรยี น และ สภาวะการเรียนรูใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต 3.1 พฒั นาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Leaming Platform ที่รองรบั DEEP ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร และช่องทางเรยี นรูร้ ูปแบบอืน่ ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air 3.2 พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศนู ย์การเรียนรูท้ ุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนร้ตู ้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่อื ให้ สามารถ “เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง ทุกท่ี ทุกเวลา” 3.3 พัฒนาระบบรบั สมัครนกั ศึกษาและสมัครฝกึ อบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพฒั นา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-exam) 4. บรู ณาการความร่วมมอื ในการส่งเสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ใู หก้ บั ประชาชนอย่าง มคี ุณภาพ 4.1 รว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ยท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ัง ส่งเสริมและสนับสนนุ การมสี ่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพท่ีเป็นอตั ลักษณ์และบริบทของ ชมุ ชน สง่ เสริมการตลาดและขยายช่องทางการจาหนา่ ยเพื่อยกระดบั ผลติ ภัณฑ์/สินค้า กศน. 4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ทง้ั ในสว่ นกลาง และ ภมู ภิ าค แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔๕

5. พัฒนาศักยภาพและประสิทธภิ าพในการทางานของบุคลากร กศน. 5.1 พฒั นาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Literacy & Digital Skills) ให้กับบคุ ลากรทุกประเภททกุ ระดบั รองรบั ความเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ัลอย่างมปี ระสิทธิภาพ รวมทง้ั พัฒนา ครูใหม้ ีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตส่อื การเรียนรู้และการจดั การเรียนการ สอนเพื่อฝกึ ทักษะ การคิดวิเคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบและมีเหตุผล เป็นขนั้ ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ ของบุคลากร กศน.และกจิ กรรมเพ่มิ ประสิทธิภาพ ในการ ทางานรว่ มกนั ในรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาประสิทธภิ าพ ในการ ทางาน 6. ปรับปรุงและพฒั นาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองคก์ ร ปจั จัยพ้นื ฐานในการจัดการศกึ ษา และ การประชาสัมพนั ธส์ ร้างการรับรตู้ อ่ สาธารณะชน 6.1 เรง่ ผลกั ดนั ร่างพระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ การเรยี นรู้ พ.ศ. ... ใหส้ าเรจ็ และปรับโครงสรา้ ง การ บรหิ ารและอตั รากาลังให้สอดคล้องกับบริบทการเปลย่ี นแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แต่งต้งั ที่มีประสทิ ธภิ าพ 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ พฒั นาระบบการทางานและข้อมูล สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาท่ที ันสมยั รวดเรว็ และสามารถใชง้ านทนั ที โดยจดั ตง้ั ศนู ย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อ จดั ทา ข้อมูล กศน. ทั้งระบบ (ONE ONIE) 6.3 พฒั นา ปรบั ปรุง ซ่อมแซม ฟนื้ ฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มโดยรอบของหน่วยงาน สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรู้ทุกแห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ ริการ 6.4 ประชาสมั พันธ์/สรา้ งการรบั รใู้ ห้กับประชาชนท่ัวไปเกี่ยวกับการบรกิ ารทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และสรา้ งชอ่ งทางการแลกเปล่ียนเรยี นรดู้ ้านวชิ าการ ของ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขา่ วประชาสมั พันธ์ ผ่านสอื่ รูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรม วิชาการ กศน. การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานกั งาน กศน. จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เมือ่ เดือนธันวาคม 2562 สง่ ผลกระทบต่อระบบการจดั การเรยี นการสอนของไทยในทกุ ระดบั ชน้ั ซ่งึ รัฐบาลและ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ออกประกาศและมมี าตรการเฝาู ระวังเพ่ือปูองกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัส ดังกล่าว อาทิ กาหนดใหม้ ี การเว้นระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ขี อง โรงเรยี นและสถาบันการศกึ ษา ทกุ ประเภท เพื่อจัดการเรยี นการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรม ใด ๆ ทีม่ ผี ู้เขา้ ร่วมเป็นจานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตพุ เิ ศษ การกาหนดให้ใชว้ ธิ กี ารจัดการเรยี นการ สอนรปู แบบใหม่ อาทิ การจัดการเรยี นรู้ แบบออนไลน์ การจดั การเรยี นรผู้ ่านระบบการออกอากาศทาง โทรทศั น์ วิทยุ และโซเซียลมีเดยี ต่าง ๆ รวมถึง การส่ือสารแบบทางไกลหรอื ดว้ ยวธิ อี ิเลก็ ทรอนกิ ส์ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๔๖

ในส่วนของสานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานใน ภารกิจ ต่อเนือ่ งต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชวี ติ ประจาวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติ วิถีใหม่ (New Normal) ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการ ปูองกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก ประเภท หากมคี วามจาเป็นตอ้ งมาพบกลุ่ม หรืออบรมสมั มนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการปูองกันที่เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่าง บคุ คล เนน้ การใช้สอื่ ดิจิทัลและเทคโนโลยอี อนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง ๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 1) สนบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแตป่ ฐมวัยจนจบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานโดยดาเนินการ ใหผ้ ู้ เรียาใช้จา่ ย 2) จัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานให้กบั กลมุ่ เปูาหมายผ้ดู ้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผา่ นการเรยี นแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลมุ่ การเรยี นแบบช้ันเรียน และการจัด การ ศกึ ษนไดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ จัดซือ้ หนงั สือเรียน คา่ จัดกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และคา่ จัดการเรยี น การ สอนอยา่ งท่ัวถงึ และเพียงพอเพอ่ื เพ่มิ โอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาทม่ี คี ุณภาพโดยไม่เสียคา่ ทางไกล 3) พฒั นาประสิทธภิ าพ คณุ ภาพ และมาตรฐานการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน ทัง้ ด้านหลกั สตู รรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่อื และนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมินผล การเรียน และระบบการใหบ้ ริการนักศึกษาในรปู แบบอน่ื ๆ 4) จดั ให้มกี ารประเมนิ เพอ่ื เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ทม่ี ีความ โปร่งใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามทีก่ าหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ กล่มุ เปาู หมายได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5) จัดให้มกี จิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนท่มี คี ุณภาพที่ผเู้ รยี นตอ้ งเรียนรูแ้ ละเขา้ รว่ มปฏิบัติ กิจกรรม เพือ่ เป็นสว่ นหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กจิ กรรมเกย่ี วกบั การปูองกนั และ แกไ้ ขปญั หายาเสพติดการแขง่ ขันกฬี า การบาเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนอื่ ง การส่งเสริมการปกครอง ใน ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรม จติ อาสา และการจัดตงั้ ชมรม/ชมุ นุม พรอ้ มทงั้ เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชนอ์ ่นื ๆ นอก หลักสูตรมาใช้เพ่ิมชวั่ โมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนจบตามหลักสตู รได้ 1.2 การส่งเสริมการรูห้ นังสือ 1) พฒั นาระบบฐานข้อมลู ผู้ไม่รู้หนงั สือ ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทันสมัยและเปน็ ระบบเดียวกัน ท้ัง ส่วนกลางและส่วนภมู ิภาค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลกั สูตร ส่อื แบบเรยี นเคร่ืองมือวัดผลและเครอ่ื งมือการดาเนินงานการ ส่งเสรมิ การรหู้ นังสือท่สี อดคล้องกบั สภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเปาู หมาย 3) พฒั นาครู กศน. และภาคเี ครอื ขา่ ยทร่ี ่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทกั ษะการ จัด กระบวนการเรยี นรู้ให้กบั ผ้ไู ม่รหู้ นงั สืออย่างมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจดั ให้มีอาสาสมคั รส่งเสริมการร้หู นังสอื ใน พ้ืนทีท่ ี่มีความต้องการจาเป็นเปน็ พิเศษ แผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๔๗

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือ การมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ แต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน การพัฒนา หน่ึงตาบลหนึ่งอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเม่ียม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึง การส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผล การจดั การศกึ ษาอาชีพ เพ่อื การมงี านทาอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้ อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสาคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการปูอง การการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมท่ีพึง ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชวี ิต การจดั ตัง้ ชมรม/ชุมนมุ การอบรมสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ เปน็ ต้น 3) จัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝกึ อบรมการประชุม สมั มนา การจดั เวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การ สรา้ งชมุ ชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพ ความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็น พลเมือง ที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเปน็ จิตอาสา การบาเพญ็ ประโยชน์ในชมุ ชนการ บริหารจัดการํน้า การรับมือกับสาธารณภัย การ อนุรกั ษพ์ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชน อย่างย่ังยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหาร จดั การ ความเส่ยี งอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศส่คู วามสมดลุ และยัง่ ยนื แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๔๘

1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรทู้ ่มี ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการอา่ นและพัฒนาศกั ยภาพ การเรียนร้ใู หเ้ กิดขนึ้ ในสังคมไทย ใหเ้ กดิ ข้ึนอยา่ งกว้างขวางและทว่ั ถงึ เช่น การพฒั นา กศน. ตาบล หอ้ งสมุด ประชาชนทกุ แหง่ ให้มีการบริการที่ทันสมัย สง่ เสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่าย ส่งเสรมิ การอ่าน จัดหน่วยบริการหอ้ งสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนงั สอื และอปุ กรณ์ เพอื่ จัดกิจกรรม ส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายใหบ้ รกิ ารกับประชาชนในพื้นทตี่ า่ ง ๆ อย่างทัว่ ถึง สมา่ เสมอ รวมทัง้ เสรมิ สรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ืออปุ กรณ์เพื่อสนบั สนนุ การอ่าน และการจัดกิจกรรม เพือ่ ส่งเสรมิ การอ่าน อย่างหลากหลายรปู แบบ 2) จดั สรา้ งและพัฒนาศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชน เป็นแหลง่ สรา้ งนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจาท้องถ่นิ โดยจัดทาและพฒั นานทิ รรศการส่ือและกจิ กรรมการศึกษาท่ีเนน้ การเสริมสรา้ งความรแู้ ละสร้างแรงบันดาลใจ ดา้ นวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคดิ เชิงสรา้ งสรรค์ และปลกู ฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรยี นรู้ท่ีบรู ณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคกู่ ับเทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์และ คณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บรบิ ทของชุมชน และประเทศ รวมท้ัง ระดบั ภูมิภาค และระดับโลกเพอ่ื ใหป้ ระชาชนมคี วามรู้และสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใชใ้ นการ ดาเนินชวี ติ การพัฒนา อาชีพ การรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม การบรรเทาและปูองกันภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ รวมท้งั มี ความสามารถในการปรบั ตวั รองรับผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงของโลกที่เป็นไปอยา่ งรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ย่าง มปี ระสิทธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน องค์กร หรอื ภาคส่วนต่าง ๆ ทีม่ ีแหลง่ เรียนรู้อน่ื ๆ เพื่อสง่ เสริม การจดั การศึกษาตามอัธยาศัยให้มรี ูปแบบทหี่ ลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน เช่น พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ยเ์ รียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นตน้ 2. ดา้ นหลักสูตร สอื รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผลงานบริการ ทางวิชาการ และ การประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสริมการพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ที่หลากหลาย ทนั สมยั รวมถึงการพฒั นาหลักสตู รฐาน สมรรถนะ และ หลักสูตรทอ้ งถิ่นท่สี อดคล้องกบั สภาพบรบิ ทของพืน้ ท่ีและความตอ้ งการของกลุม่ เปูาหมายและ ชุมชน 2.2 สง่ เสรมิ การพฒั นาส่ือแบบเรียน สื่ออิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละส่อื อืน่ ๆ ที่เออ้ื ต่อการเรียนร้ขู องผ้เู รยี น กลุม่ เปาู หมายท่ัวไปและกลุ่มเปูาหมายพเิ ศษ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนร้ไู ด้ทุกที่ ทุกเวลา 2.3 พฒั นารูปแบบการจดั การศกึ ษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมัย หลากหลายชอ่ งทางการเรียนรู้ ด้วย ระบบห้องเรียนและการควบคุมการสอบรปู แบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปูาหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งั มกี ารประชาสัมพนั ธใ์ ห้สาธารณชนได้รับรู้และสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมินได้ แผนปฏบิ ัติการ กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หน้า ๔๙

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ใน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บรบิ ทอยา่ งตอ่ เน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพ ภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากข้ึน เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื งโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัด ให้มี ระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คณุ ภาพ ภายนอก ให้พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจายโอกาสทาง การศึกษา สาหรับกลมุ่ เปูาหมายตา่ ง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทัน ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการติวเขม้ เติมเตม็ ความรู้ รายการ รายการทากินก็ได้ ทาขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานี วิทยโุ ทรทัศน์เพอื่ การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพ่ือ ส่งเสริม ให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ ออกอากาศให้กลมุ่ เปาู หมายสามารถใช้เปน็ ช่องทางการเรยี นรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถ รับชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรับ การพัฒนาเปน็ สถานวี ิทยุโทรทัศนเ์ พ่อื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเพ่ือให้ได้หลายช่ องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ใน รูปแบบ ต่าง ๆ เพ่ือให้กลุ่มเปูาหมายสามารถเลือกใช้บริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ ตามความต้องการ แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตาบลนานวน ประจาปี ๒๕๖๔ หนา้ ๕๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook