Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore on hand ม.ปลาย65

Description: on hand ม.ปลาย65

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ เนื่องดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้สถานศึกษาในสงั กัดและในกำกับปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษนี้ พร้อมทั้งให้สว่ นราชการกำหนดแนวทางแก้ปัญหา การจัดการเรียนการสอนท่ีไมส่ ามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่อื ความปลอดภยั ของผู้เรียน ผปู้ กครอง และบุคลากร ที่เกี่ยวขอ้ ง กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเปิดเรยี นปีการศึกษา 2565 ในวันที่ 8 มิถุนายน 2565 เป็นต้นไป และ กำหนดการจัดการเรียนรู้ 5 รูปแบบ ได้แก่ 1. การเรียนแบบชั้นเรียน (ON - SITE) 2 .การเรียนผา่ นทวี ี ผ่านระบบ ดาวเทียม (ON - AIR) 3. การเรียนออนไลน์แบบเรียลไทม์ผ่านอินเตอร์เน็ต (ONLINE) 4. การเรียนย้อนหลัง ผ่านเว็ปไซต์ ชอ่ ง YouTube และแอปพลิเคชนั่ (ON DEMAND) 5. การเรยี นที่บา้ นด้วยเอกสาร (ON HAND) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอกุดชุม จึงไดจ้ ัดทำคู่มือการเรียนรู้ในระบบ on hand ขึ้น เพื่อเป็นสื่อประกอบการเรียนรู้และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ ในการแสวงหา ความรู้ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย ของหลกั สตู ร กศน.อำเภอกุดชุม สงิ หาคม 2565

สารบญั ข เน้ือหา คำนำ หน้า สารบัญ ก รายวิชา วิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย พค 31001 ข แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2 โครงสร้างของจํานวนจรงิ 5 แบบทดสอบหลังเรยี น 9 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น 11 รายวิชา ทกั ษะการขยายอาชีพ รหัสวิชา อช 31002 แบบทดสอบก่อนเรยี น 13 รเู้ รือ่ งการบริหารจดั การในการขยายอาชพี 16 ความจำเปน็ ในการฝกึ ทักษะอาชีพ 23 การตอยอดภมู ิปญญายกระดับความรูใหสงู ข้ึน 27 แบบทดสอบหลังเรียน 44 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น 46 รายวชิ า สขุ ศึกษา พลศกึ ษา (ทช 21002) แบบทดสอบก่อนเรยี น 48 ปญั หาทางเพศในเด็กและวยั รนุ่ 51 กฎหมายท่ีเกีย่ วของกับการละเมดิ ทางเพศ 56 การรวมกลมุ่ เพอ่ื เสริมสรา้ งสุขภาพในชมุ ชน 60 การออกกาํ ลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ 62 แบบทดสอบหลังเรยี น 65 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น 67 รายวิชา กัญชาและกญั ชงศึกษา รหสั วิชา ทช33098 แบบทดสอบก่อนเรียน 69 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 72 กญั ชาและกญั ชงกับการแพทย์แผนปัจจบุ ัน 75 แนวโนมท่จี ะเปนประโยชนดานอืน่ แกประเทศไทยในอนาคต 82 แบบทดสอบหลงั เรียน 83 เฉลยแบบทดสอบก่อน – หลังเรยี น 85

รายวชิ าคุณธรรมในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ รหัส สค 0200035 ค แบบทดสอบก่อนเรียน การสื่อสารในยุคดจิ ทิ ลั 87 ความรับผดิ ชอบในการใชส้ ่ือสังคมออนไลน์ 90 แบบทดสอบหลงั เรียน 93 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรยี น 100 102 รายวชิ ารายวิชาสังคมศกึ ษา (สค 31001) แบบทดสอบก่อนเรียน 104 ประวตั ิศาสตร์ 107 เศรษฐศาสตร์ 116 การเมืองการปกครอง 124 แบบทดสอบหลงั เรยี น 133 เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 135 ภาคผนวก คณะผูจ้ ดั ทำ

1 รายวิชาคณิตศาสตร์ พค 31001 เรอื่ ง จำนวนจรงิ และค่าสมั บรู ณ์ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 2.2 มคี วามรู้ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั จํานวน และการดำเนนิ การเลขยกกำลงั ท่ีมี เลขช้ี กำลงั เป็นจำนวนตรรกยะ เซต และการให้เหตผุ ล อัตราสว่ นตรีโกณมติ ิและการนำไปใช้ การใชเ้ ครอื่ งมอื และการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ สถิตเิ บ้ืองต้นและความน่าจะเป็น เช่อื มโยงกับงานอาชีพในสังคมและอาเซยี มได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของจํานวนตา่ งๆในระบบจำนวนจรงิ และแก้โจทยป์ ญั หาได้ 2. อธิบายเกี่ยวกับค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงและหาคา่ สัมบรู ณข์ องจำนวนจริงได้ 3. อธบิ ายความหมายและผลลัพธ์ทเ่ี กดิ จากการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนจริงได้ 4. อธบิ ายสมบตั ิของจำนวนจรงิ ที่เก่ยี วกบั การบวก การคูณ การเท่ากนั การไมเ่ ท่ากนั และนำไปใช้ได้ ขอบข่ายเนอื้ หา 1. ทบทวนความสมั พนั ธ์ของจำนวนจรงิ ชนดิ ต่างๆ ความสัมพนั ธ์ของจํานวนต่างๆ ในระบบจำนวนจรงิ แสดง โดยแผนภาพ ได้ดังนี้ 2. อธิบายเก่ยี วกบั ความหมายและสมบัตขิ องการดำเนนิ การของเซตได้ 3. สมบัตกิ ารบวก การลบ การคณู และการหารจำนวนจริง

2 แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวิชา คณิตศาสตร์ รหสั 31001 คำชแ้ี จง จงเลอื กคำตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งข้อเดยี ว 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่จำนวนจรงิ ก. 0.6666…. ข. 12 ค. 4 −16 ง. 16 2. ข้อใดมีสมบัติการแจกแจง ก. 2(x +5) = (x +5)2 ข. 2(x +5) =10+ 2x ค. 2(x +5) = x(2+5) ง. 2+(x +5) = (2+ x)+5 3. คำตอบของสมการ 1+x−2x2 = 2x (−9−2 x2 −4)คอื ข้อใด ก. 1 ข. -1 ค. -2 ง. 2 4. ข้อใดต่อไปน้ีไม่เป็นจำนวนจรงิ ก. 1 3 ข. 5 1 4 ค. 6 ง. 2 5. คำตอบของสมการ 5x−3= 2x−9 ก. x = 2 ข. x = -2 ค. x = 3 ง. x = -3

3 6. ขอ้ ใดต่อไปน้ีถูกต้อง ก. x − y = y − x ข. x − y  x − y ค. x + y  x + y ง. ขอ้ ก – ค ถูกต้อง 7. ขอ้ ใดเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก ก. ส้มสีทอง ข. ฝนตกในทะเลวนั นี้ ค. มหาอทุ กภยั ครั้งใหญ่ ง. ประเทศท่เี ปน็ สมาชกิ ประชาคมอาเซียน 8. กำหนด  =1,2,3,4,5,B = 1,2,3 จะมเี ซต C ซง่ึ BC  Aไดท้ ้ังหมดกีเ่ ซต ก. 2 เซต ข. 3 เซต ค. 4 เซต ง. 5 เซต 9. กรณที ี่ 1 เหตุ : 1) คนทกุ คนท่ีคา้ ยาบ้าตอ้ งถูกยึดทรพั ย์ 2) นายกนกเปน็ คนค้ายาบ้า ผล : นายกนกถูกยดึ ทรพั ย์ กรณที ี่ 2 เหตุ : 1) สนุ ขั ทกุ ตัวมี 4 ขา 2) สนุ ัขทีม่ ี 4 ขาทุกตัวเหา่ ได้ ผล : สนุ ัขทุกตวั เหา่ ได้ ข้อใดจากกรณีที่ 1,2 ถกู ตอ้ ง ก. กรณที ่ี 1 และ กรณที ี่ 2 สมเหตสุ มผล ข. กรณีที่ 1 สมเหตุสมผลแต่กรณที ี่ 2 ไมส่ มเหตสุ มผล ค. กรณีท่ี 1 ไมส่ มเหตุสมผลแต่กรณที ี่ 2 สมเหตสุ มผล ง. กรณที ี่ 1 และกรณที ่ี 2 ไม่สมเหตุสมผล 10. จงหาค่า 1,4,9,16,a ก. a =25 ข. a =36 ค. a=64 ง. a=81

4 แบบเฉลยแบบทดสอบ วิชาคณิตศาสตร์ พค 31001 ระดบั ม.ปลาย 1. ค 2. ข 3. ค 4. ข 5. ข 6. ง 7. ข 8. ข 9. ก 10. ก

5 โครงสร้างของจํานวนจริง 2. ทบทวนเรื่องเส้นจํานวน และจำนวนตรงขา้ ม 3.กำลมั บรู ณ์ (Abuhutte Valines) คอื ระยะทางท่จี ำนวนนัน้ ๆ อยู่หา่ งจากศนู ย์ (0) บนเส้นจำนวนไมว่ ่าจะอย่ทู างซา้ ย หรือทางขวา ของ ศนู ย์ ซ่งึ คา่ สมั บูรณ์ของจำนวนใด ๆ จะมคี ่าเปน็ บวกเสมอ

6 สมบตั ิเหลา่ นี้นำไปใชใ้ นการหาผลบวก ผลตา่ ง ผลคูณ และผลหารของจำนวนจริงทีอ่ ย่ใู นรปู เลขยก กำลังทมี่ ีลักษณะครบตามเงื่อนไข เชน่ มฐี านเป็นจำนวนเดียวกนั หรือมเี ลขช้กี ำลังเปน็ จำนวนเดียวกนั

7 สมบตั ขิ องจํานวนจรงิ คอื การนำจํานวนจริงใด ๆ มากระทำต่อกนั ในลกั ษณะ เช่น การบวก การลบ การ คณู การหาร หรอื กระทำดว้ ยลกั ษณะพเิ ศษท่ีกำหนดข้ึน แลว้ มีผลลัพธ์ที่เกดิ ข้ึนในลักษณะหรอื ทำนอง เดียวกัน สมบตั ทิ ใี่ ช้ในการบวก การลบ การคณู และการหาร มีดังนี้ ๆ 1.1 สมบัตกิ ารเทา่ กนั ของจาํ นวนจริง กำหนด a, b, c เป็นจาํ นวนจริงใด 1.2 สมบัติการและการคูณในระบบจำนวนจรงิ เมือ่ กำหนดให้ 4, 6 และ 6 เปน็ จำนวนจรงิ ไหม 1.2.3 สมบัตกิ ารบวก 1.2.2 สมบัติการคูณ

8 1.3 สมบตั กิ ารไม่เท่ากัน 2. ชว่ ง (oilerval) หมายถงึ เซตของจำนวนจริงที่เปน็ ส่วนใดส่วนหน่งึ ของเส้นจํานวน ช่วงของจำนวนจรงิ กำหนดให้ a, b เปน็ จำนวน จริง และa<b

9 แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชา คณิตศาสตร์ รหสั 31001 คำชแ้ี จง จงเลือกคำตอบที่ถกู ต้องท่ีสุดเพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไมใ่ ช่จำนวนจรงิ ก. 0.6666…. ข. 12 ค. 4 −16 ง. 16 2. ขอ้ ใดมสี มบัตกิ ารแจกแจง ก. 2(x +5) = (x +5)2 ข. 2(x +5) =10+ 2x ค. 2(x +5) = x(2+5) ง. 2+(x +5) = (2+ x)+5 3. คำตอบของสมการ 1+x−2x2 = 2x (−9−2 x2 −4)คอื ข้อใด ก. 1 ข. -1 ค. -2 ง. 2 4. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไม่เป็นจำนวนจรงิ ก. 1 3 ข. 5 1 4 ค. 6 ง. 2 5. คำตอบของสมการ 5x−3= 2x−9 ก. x = 2 ข. x = -2 ค. x = 3 ง. x = -3 6. ขอ้ ใดต่อไปน้ีถูกต้อง

10 ก. x − y = y − x ข. x − y  x − y ค. x + y  x + y ง. ข้อ ก – ค ถูกต้อง 7. ข้อใดเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชกิ ก. ส้มสที อง ข. ฝนตกในทะเลวนั น้ี ค. มหาอุทกภัยคร้ังใหญ่ ง. ประเทศท่เี ปน็ สมาชิกประชาคมอาเซยี น 8. กำหนด  =1,2,3,4,5,B = 1,2,3 จะมเี ซต C ซง่ึ BC  Aได้ท้ังหมดก่เี ซต ก. 2 เซต ข. 3 เซต ค. 4 เซต ง. 5 เซต 9. กรณที ี่ 1 เหตุ : 1) คนทกุ คนทีค่ ้ายาบา้ ตอ้ งถกู ยึดทรพั ย์ 2) นายกนกเปน็ คนคา้ ยาบา้ ผล : นายกนกถกู ยึดทรพั ย์ กรณีที่ 2 เหตุ : 1) สนุ ัขทุกตัวมี 4 ขา 2) สุนัขที่มี 4 ขาทุกตวั เห่าได้ ผล : สุนัขทกุ ตัวเห่าได้ ข้อใดจากกรณีที่ 1,2 ถกู ตอ้ ง ก. กรณที ี่ 1 และ กรณีท่ี 2 สมเหตสุ มผล ข. กรณีท่ี 1 สมเหตุสมผลแต่กรณีท่ี 2 ไม่สมเหตุสมผล ค. กรณที ี่ 1 ไมส่ มเหตุสมผลแตก่ รณีท่ี 2 สมเหตสุ มผล ง. กรณที ่ี 1 และกรณที ่ี 2 ไม่สมเหตุสมผล 10. จงหาค่า 1,4,9,16,a ก. a =25 ข. a =36 ค. a=64 ง. a=81

11 แบบเฉลยแบบทดสอบ วิชาคณิตศาสตร์ พค 31001 ระดบั ม.ปลาย 1. ค 2. ข 3. ค 4. ข 5. ข 6. ง 7. ข 8. ข 9. ก 10. ก

12 รายวิชา ทกั ษะการขยายอาชีพ รหัสวิชา อช 31002 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ทักษะในการขยายอาชพี 1. มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะในการขยายอาชพี เพ่ือสร้างความมน่ั คงบนพ้นื ฐานความรู้ใน กระบวนการ ผลติ กระบวนการตลาด ทใี่ ช้นวัตกรรม เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชวี ภาพ พัฒนาตอยอดและ ประยกุ ต์ใช้ ภมู ิปญญา 2. มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงานและโครงการธุรกจิ เพื่อขยายอาชีพเขาสูตลาดการ แขงขันตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสูความม่ันคง ตัวชวี้ ัด /ผลการเรยี นรู้ มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั การบรหิ ารจัดการ ไดแกการทำแผนธุรกจิ การจดั การความเสย่ี ง การ จัดการการผลติ การจดั การตลาด และบัญชีธรุ กจิ เพ่ือสามารถนาํ สูการปฏบิ ตั ิทำแผนธุรกิจในบทตอไป สาระสำคัญ การบรหิ ารจัดการ 1) การทำแผนธรุ กิจ 2) การจดั การความเสี่ยง 3) การจัดการการผลติ 4) การจัดการการตลาด 5) บญั ชีธุรกจิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่ือผูเ้ รียน เรยี นจบ ผเู้ รยี นสามารถ 1. สามารถการทำแผนธุรกจิ ได้ 2. สามารถอธิบายการจดั การความเสยี่ งได้ 3. สามารถอธบิ ายการจดั การการผลติ ได้ 4. สามารถอธบิ ายการจดั การการตลาดได้ 5. สามารถการทำบญั ชธี ุรกิจได้ สาระการเรียนรู้ 1.จดั การการตลาดเพ่ือนําผลผลิตเขาสูตลาด 2.จัดทำแผนการจดั การการตลาด

13 แบบทดสอบกอ่ นเรียน วิชา ทักษะการขยายอาชพี คำชแ้ี จง จงเลือกคำตอบท่ถี ูกต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว 1. การตลาด หมายถงึ ขอ้ ใด ก . การคา้ ขายแลกเปลย่ี น ข. การให้เชา่ ซ้ือสนิ คา้ ค. การจดั จำหนา่ ยสินค้าและบริการ ง. การทน่ี ำส่งิ ของมาวางขาย 2.ขอ้ ใดคือความสำคญั ของตลาด ก. ทำให้เศรษฐกจิ ขยายตัว ข. ชว่ ยใหล้ ดต้นทุนการผลติ ค. ทำใหเ้ กิดสนิ ค้าใหมๆ่ เพ่มิ ขน้ึ ง. ถกู ทกุ ข้อ 3.อาชีพท่ีมคี วามสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจประเทศไทยมากทสี่ ุด ก. เกษตรและบรกิ าร ข. ปลกู พชื และเลยี้ งสัตว์ ค. เกษตรและอตุ สาหกรรม ง. อุตสาหกรรมและบริการ 4.อาชีพต่อไปน้ีขอ้ ใดตอ้ งอาศัยทำเลใกล้แหล่งชุมชน ก. การเลี้ยงไข่ไก่ ข. การผลติ มะขามหวาน ค. การซอ่ มเครื่องใชไ้ ฟฟ้า ง. การแปรรูปผลผลิตการเกษตร 5.ข้อใดไมใ่ ช่อทิ ธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาวะการตลาด ก. ฤดูกาล ข. การเมอื ง ค. สภาวะผู้ซอ้ื ง. สภาพแวดล้อม 6.ถ้าเรามีเงนิ มาก ๆ เราจะเก็บไว้ทไ่ี หนและปลอดภยั ได้ผลกำไรตอบแทนเพ่ิมเติม ก. โรงจำนำ ข. เกบ็ แอบไว้ทล่ี ับ

14 ค. ฝากธนาคาร ง. ซือ้ ตู้เซฟใหญม่ าไว้ท่ีบ้าน 7.พอ่ ค้าคนกลางทีซ่ ื้อสนิ คา้ จากผูผ้ ลติ และขายให้กับผขู้ ายปลกี รายอ่ืน ๆ เรียกวา่ อยา่ งไร ก. พ่อค้าปลีก ข. พ่อค้าส่ง ค. พ่อค้าเร่ ง. พ่อค้าสญั จร 8.แผนการทำงานควรมสี ่วนประกอบพืน้ ฐานตามข้อใด ก. แผนงาน แผนเงิน แผนคน ข. แผนงาน แผนคน แผนเวลา แผนค่าใชจ้ า่ ย ค. แผนงาน แผนเงิน แผนเวลา ง. ไม่มขี ้อถกู 9.เทคโนโลยกี ับผลติ ภณั ฑใ์ นชีวิตประจำวันได้แก่อะไรบา้ ง ก . สบู่ แปลงสฟี นั ยาสีฟนั ข. รองเทา้ เส้ือผ้า ค. ยาสระผม ครีมนวดผม ง. ถูกทกุ ข้อ 10.การทเี่ ราทำงานหรือกจิ กรรมใด ๆ ทกุ ครงั้ ทไ่ี ด้ผลผลิตและรายไดเ้ ป็นงานสจุ ริตเราควรเรยี กวา่ ก . ผรู้ ับเหมา ข. ลกู จา้ ง ค. อาชีพ ง. พนกั งาน

15 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น วิชา ทกั ษะการขยายอาชพี ระดับ ม.ปลาย 1.ค 2.ง 3.ค 4.ค 5.ข 6.ค 7.ข 8.ค 9.ง 10.ค

16 เร่ืองที่ 1 รเู้ รื่องการบรหิ ารจัดการในการขยายอาชีพ 1) การทำแผนธุรกิจ 1.1 ความหมายของแผนธุรกจิ แผนธุรกิจ คือแผนงานทางธุรกิจที่แสดงกิจกรรมตางๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุนประกอบการ โดยมีจุดเริ่มตนจากจะผลิตสินคาและบรกิ ารอะไร มีกระบวนการปฏบิ ัติอยางไรบาง และผลจากการปฏิบัติออกมา ไดมากนอยแคไหน ใชงบประมาณและกําลังคนเทาไร เพื่อใหเกิดเปนสินคาและบริการแกลกู คาและจบริหารธุรกจิ อยางไรธุรกิจจึงจะอยูรอด (แหลงที่มา : มาณพ ชิวธนาสุนทร, แผนธุรกิจ SMEs, สํานักพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และผูประกอบการ, กรมสงเสริมอตุ สาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม, 2547) 1.2 การศกึ ษาวเิ คราะหชมุ ชนเพ่อื การพัฒนาอาชพี การวิเคราะหชุมชน หมายถึง การนําเอาขอมูลทั่วไปของชุมชนที่เราอาศัยอยู ซึ่งอาจจะเปนหมูบาน ตําบล หรือ อาํ เภอกไ็ ดข้ึนอยูกับการกําหนดขอบเขตของชมุ ชนวาจะนาํ ขอมูลของชุมชนในระดบั ใดมาพิจารณาโดยกาจาํ แนก ขอมูลดานตางๆ เพื่อใหทราบถึงประเด็นปญหา และความตองการที่แทจริงของชุมชน เพื่อจะนํามากําหนดแนว ทางการขยายอาชีพใหตอบสนองตรงกับความตองการของคนในชุมชน โดยเฉพาะเกี่ยวกบั การประกอบอาชีพ ราย ไดของประชากรตอคน ตอครอบครัวเปนอยางไร ลักษณะของการประกอบอาชีพของประชากรเปน อยางไร รวม ถึงขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ ไดแก ขอมูลดานการตลาด แนวโนมของความตองการของการตลาด นโยบายของรัฐที่จะ เอื้อประโยชนตอการผลติ หรือการประกอบอาชีพ เปนตน ขอมลู เหลานี้จะช่วยใหเราวางแผนการดําเนินการพัฒนา อาชพี ไดรอบคอบข้ึน การวิเคราะหขอมูล โดยวิเคราะหสภาพการภายใน ภายนอกของชมุ ชน โดยใชเทคนิค SWOT (SWOT Analysis) การศึกษาความตองการของชุมชนเปนการสํารวจความตองการของชุมชนเพื่อใหทราบถึงจุดเดน จุดดอย อุปสรรคหรือความเสี่ยงและโอกาสในดานตางๆ ของขอมูลและความตองการของชุมชน ทั้งนี้โดยใช เทคนคิ SWOT ในการวเิ คราะหชมุ ชน มีดงั น้ี S (Strengths) จดุ แขง็ หรอื จุดเดนของชมุ ชน W (Weaknesses) จดุ ออนหรอื ขอดอยของชุมชน O (Opportunities) โอกาสท่ีจะสามารถดาํ เนนิ การได T (Threats) อปุ สรรคหรอื ปจจยั ทเี่ ปนความเสยี่ งของชมุ ชนที่ควรหลกี เล่ียงในการปฏบิ ัติ

17 ในการวิเคราะห์ชุมชน อาจจะเขียนเป็นตารางวิเคราะห์ได้ดังน้ี ปจั จัยภายใน S (จดุ แข็ง ) W (จดุ ออน) ปจจัยภายนอก O (โอกาส) T (อ ุ ป ส ร ร ค ห รื อ ความเสีย่ ง) การวิเคราะหขอมูล ผูวิเคราะหควรพิจารณาจําแนกขอมูลในดานตางๆ โดยใหสมาชิกในชุมชนหรือกลุม อาชีพนั้นรวมกันชวยวิเคราะห หากพบขอมูลสวนใดที่เปนจุดเดนของชุมชนหรือกลุมอาชีพนั้นใหใสขอมูลในชอง “S” หากพบขอมูลใดท่ีเปนจุดออนหรอื ขอดอยของชมุ ชนหรือกลุมอาชีพใหใสขอมลู ในชอง “W” หากสวนใดที่ เปนโอกาสชองทางของชุมชน เชน ความตองการสินคาของประชาชน นโยบายหรือจุดเนนของรัฐหรือขอชุมชนที่ เปนโอกาสดีใหใสในชอง “O” และในขณะเดียวกันขอมูลใดที่เปนความเสี่ยง เชนขอมูลเกี่ยวกับการกระทำผิด กฎหมายหรือความตองการของชุมชนไมมีหรือมีนอยขาดแคลนวตั ถุดิบหรือปจจัยการผลิต เปนตน ใหนําขอมูลใส ในชอง “T” ทำเชนนจ้ี นครบถวน หากสวนใดขอมลู ไมชัดเจนเพียงพอก็ตองสาํ รวจขอมูลเพ่ิมเติมได จากนัน้ นํา ขอมูลไปวิเคราะหเพื่อกําหนดทางเลือกในการพัฒนาอาชีพหรือทางเลือกในการแกปญหาอีกครั้งหนึ่ง กอนที่จะ กําหนดเปนวิสัยทัศนตอไป 1.3 การกาํ หนดวิสัยทัศน พนั ธกจิ เปาหมายและกลยทุ ธในการวางแผนขยายธุรกิจของชุมชน วสิ ัยทศั น เปนการกําหนดภาพในการประกอบอาชพี ในอนาคตมุงหวงั ใหเกิดผลอยางไรหรอื กลาว อีกนัยหนึ่งคือการมองเปาหมายของธุรกิจวาตองการใหเกิดอะไรขึ้นขางหนาโดยมีขอบเขตและระยะเวลา กําหนดที่แนนอน ในการกําหนดวิสัยทัศนเปนการนําเอาผลการวิเคราะหขอมูลชุมชนและขอมูลอาชีพของผู ประกอบการ มาประกอบการพิจารณาอยางรอบคอบเพื่อการตัดสินใจที่ดี มีความเปนไปไดเพื่อนําไปสู่ ความ สาํ เร็จของธุรกจิ ในทส่ี ุด พันธกิจ คือ ภาระงานที่ผูประกอบการจะตองดําเนินการใหเกิดผลสําเร็จตามวิสัยทัศนที่กําหนด ไวใหได ผูประกอบการจะตองสรางทีมงานและกําหนดภารกิจของสถานประกอบการใหชัดเจน ครอบคลุมทั้งดาน การผลิตและการตลาด การวิเคราะหพันธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบวาพันธกิจใดควรทำกอนหรือ หลัง หรือพันธกิจใดควรดํารงอยูหรือควรเปลี่ยนแปลง ผูประกอบการและทีมงานจะตองรวมกันวิเคราะห เพ่ือ กาํ หนดพนั ธกจิ หลักของสถานประกอบการผูประกอบการและทีมงานจะตองจัดลําดับความสําคัญของพันธกิจและ ดําเนนิ การใหบรรลุเปาหมายใหได เปาหมายหรือเปาประสงค เปาหมายในการขยายอาชีพ คือการบอกใหทราบวาสถาน ประกอบการนั้นสามารถทำอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือระยะยาว 3 ป

18 หรือ 5 ปก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การ กําหนดเปนหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทำใหมีความชัดเจนจะชวยใหการ วางแผนมีคุณภาพยงิ่ ขน้ึ และจะสงผลในทางปฏิบตั ไิ ดดยี ิ่งขึ้น กลยุทธในการวางแผนขยายอาชีพ เปนการวางแผนกลยุทธในการขยายอาชีพหรือธุรกิจนั้นๆ ใหสําเร็จตามเปาหมายทวี่ างไวการวางแผนจะตองกาํ หนดวิสัยทัศน เปาหมายระยะยาวใหชัดเจน มีการวิเคราะหสิ่ง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และมีการทำงาน วางระบบไวคอนขางสูงเพื่อใหมีความคลองตัวในการปรับเปลี่ยนไดตาม สถานการณที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งนี้ เพื่อใหผูประกอบการและทีมงานสามารถพัฒนาอาชีพให มี ประสิทธภิ าพและมีความกาวหนาไดในอนาคต ขนั้ ตอนกระบวนการวางแผน ข้นั ตอนของกระบวนการวางแผนในการขยายธรุ กิจของชุมชน มดี ังนี้ 1. ขน้ั การกําหนดวัตถปุ ระสงคตองใหชัดเจน เพ่อื เปนแนวทางการปฏบิ ตั ิหรอื การดาํ เนินกจิ กรรมตา่ งๆ 2. ขน้ั การกาํ หนดวัตถุประสงคการกาํ หนดวตั ถุประสงคตองมีความชัดเจนวาจะทำเพ่ืออะไร และวัตถุประ สงคนั้นจะตองมคี วามเปนไปไดหรอื ไม และสามารถวัดผลได 3. ขั้นการตั้งเปาหมาย เปนการระบุเปาหมายที่จะทำวาตั้งเปาหมายในการดําเนินการไวจํานวน เทาใด และสามารถวัดไดในชวงเวลาสนั้ ๆ 4. ขน้ั การกําหนดขัน้ ตอนการทำงาน เปนการคิดไวกอนวาจะทำกจิ กรรมอะไรกอน หรอื หลัง ซ่งึ การกาํ หนดแผนกิจกรรมนีจ้ ะทำใหการดําเนินงานบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 5. ขน้ั ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน ซ่ึงจะตองดาํ เนินการอยางตอเนอื่ งจึงจะไดผล 6. ขั้นการปรับแผนการปฏิบัติงาน ในบางครั้งแผนที่วางไวเมื่อไดดําเนินการไประยะหนึ่ง อาจจะทำให สถานการณเปล่ียนไป ผูประกอบการจึงควรมกี ารปรบั แผนบางเพื่อใหสอดคลองกับความเปนจริงมากขึน้ และการ ดําเนินงานตามแผนจะมปี ระสทิ ธิภาพขน้ึ 1.4 การวางแผนปฏิบัติการ การวางแผนปฏิบัติการเปนขั้นตอนสุดทายของการทำแผนธุรกิจเพื่อการพัฒนาอาชีพ ที่มีรายละเอียดมา จากแผนกลยุทธ มากําหนดเปนโครงการ/กิจกรรมที่จะตองดําเนนิ การ โดยจะตองกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย ระยะเวลา และผูรบั ผิดชอบ โดยผูเรยี นและผูนําชุมชนตองชวยกนั กาํ หนด 2) การจัดการความเสย่ี ง (Risk Management) ความเสี่ยง คือ ความไมแนนอนตอการประสบกับเหตุการณ หรือ สภาวะที่เราตองเผชิญกับสถานการณ อันไมพึงประสงคโดยมีความนาจะเปน หรือโอกาสในสงิ่ นัน้ ๆ เปนศูนย

19 2.1) ความหมาย การจดั การความเสยี่ ง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการในการระบุ วิเคราะห (en:risk analysis) ประเมิน (en:risk assessment) ดูแลตรวจสอบและควบคุมความเสี่ยงที่สัมพันธกับ กิจกรรม หนาที่และกระบวนการทำงาน เพ่ือใหองคกรลดความเสียหายจากความเสย่ี งมากทสี่ ดุ อันเน่อื งมาจากภัย ทีอ่ งคกรตองเผชญิ ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งหรือเรียกวา อบุ ัติภยั (accident ) ความเส่ียง (Risk) มคี วามหมายในหลากหลายแงมมุ เชน - ความเสี่ยง คอื โอกาสท่เี กดิ ขึน้ แลวธุรกิจจะเกดิ ความเสยี หาย (chance of loss) - ความเสี่ยง คือความเปนไปไดที่จะเกดิ ความเสยี หายตอธรุ กิจ (possibility of loss) - ความเสย่ี ง คอื ความไมแนนอนของเหตกุ ารณทีจ่ ะเกิดขึ้น (uncertainty of event) - ความเสย่ี ง คือการคลาดเคล่ือนของการคาดการณ (dispersion of actual result) - ความเสี่ยง คือความไมแนนอนของเหตุการณ ซึ่งไมสามารถคาดเดาไดวาจะเกิดขึ้นเมื่อใด แต ความเสี่ยงน้นั ๆ จะมีแนวโนมท่ีเกดิ ข้ึนไมมากก็นอย ภัย (peril) หมายถึง สาเหตุของความเสียหายซึ่งภัยสามารถเกิดขึ้นไดจากภัยธรรมชาติ เชน เกิดพายุสึนามิ น้ําทวม แผนดินไหว เปนตน ภัยนอกจากจะเกิดขึ้นไดจากภัยธรรมชาติแลว ภัยนั้นยังเกิดขึ้นจาก การกระทำของมนุษย เชน อัคคีภัย จราจล ฆาตกรรม เปนตน สําหรับสาเหตุสุดทายที่จะเกิดภัยไดนั้นคือภัยที่ เกิดขึ้นจากภาวะเศรษฐกจิ เพราะภัยที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจ เปนอีกสาเหตุที่สําคัญ เพราะเมื่อเกิดข้ึนแลวคนทั้ง ประเทศ หรอื ทัง้ ภมู ิภาคจะไดรับผลกระทบอยางกวางขวาง สภาวะท่ีจะทำใหเกิดความเสียหาย (hazard) หมายถึง สภาพเงื่อนไขที่เปนสาเหตุที่ทำให ความเสียหายเพิ่มสูงขึ้น โดยสภาวะตาง ๆ นั้น สามารถแบงออกไดเปนสภาวะทางดานกายภาพ (physical) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย เชน ชนิดและทำเลที่ตั้งของสิ่งปลูกสราง อาจเอื้อตอการเกิดเพลิงไหม สภาวะทางดานศีลธรรม (moral) คือ สภาวะของโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากความไมซื่อสัตยตอหนาที่การงาน เชน การฉอ โกงของพนักงานและสภาวะดานจิตสํานึกในการปองกันความเสี่ยง (morale) คือ สภาวะที่ไมประมาท และเลินเลิ่อหรือการไมเอาใจใสในการปองกันความเสี่ยง เชน การที่พนักงานปลอยใหเครื่องจักรทำงานโดยไม ควบคุม 2.2) องคประกอบการจดั การความเสี่ยง 2.2.1) การระบุชี้วาองคกรกําลังมีภัย เปนการระบุชี้วาองคกรมีภัยอะไรบางที่มาเผชิญอยู และอยูใน ลกั ษณะใดหรือขอบเขตเปนอยางไร นับเปนขน้ั ตอนแรกของการจัดการความเสีย่ ง 2.2.2) การประเมนิ ผลกระทบของภัย เปนการประเมนิ ผลกระทบของภัยทจ่ี ะมตี อองคกรซึ่งอาจเรียก อีกอยางหนึ่งวา การประเมินความเสี่ยงที่องคกรตองเตรียมตัวเพื่อรับมือกับภัยแตละชนิดไดอยางเหมาะสมมาก ทส่ี ดุ 2.2.3) การจดั ทำมาตรการตอบโตตอบความเสยี่ งจากภยั การจัดทำมาตรการตอบโตตอบความเสี่ยง

20 เปนมาตรการที่จัดเรียงลําดับความสําคัญแลวในการประเมินผลกระทบของภัย มาตรการตอบโตที่นิยมใชเพื่อการ รับมอื กบั ภยั แตละชนดิ อาจจําแนก ได 5 มาตรการ ดงั น้ี (1) มาตรการขจัดหรือลดความรนุ แรงของความอันตรายของภัยทตี่ องประสบ (2) มาตรการที่ปองกันผูรับภัยมิใหตองประสบภัยโดยตรง เชน ภัยจากการที่ตองปนไปในที่สูงก็มี มาตรการปองกันโดยตองติดเข็มขัดนิรภัย กันการพลาดพลั้งตกลงมา ภัยจากไอระเหยหรือสารพิษก็ปองกันโดย ออกมาตรการใหสวมหนากากปองกนั ไอพษิ เปนตน (3) มาตรการลดความรุนแรงของสถานการณฉุกเฉิน เชน กรณีเกิดเพลิงไหมในอาคาร ไดมีการขจัดและ ลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารใหมีผนังกันไฟ กันเพลิงไหมรุนลามไปยังบริเวณใกลเคียง และมีการติดตั้ง ระบบสปรงิ เกอร กจ็ ะชวยลดหรอื หยดุ ความรนุ แรงของอุบัตภิ ัยลงได (4) มาตรการกภู ยั กเ็ ปนการลดความสญู เสียโดยตรง (5) มาตรการกลบั คนื สภาพ ก็เปนอีกมาตรการในการลดความเสยี หายตอเนื่องจากภัยหรืออุบัติภัยแตละ ครั้งลงได การรับมือกับภยั 5 มาตรการ (1) การเตรียมความพรอม (Readiness) องคกรตองเตรียมความพรอมระบบการบริหารความเสี่ยงใหมี ความพรอมในการจัดทำมาตรการขจดั หรอื ควบคุมภัยตาง ๆ เอาไวลวงหนา (2) การตอบสนองอยางฉับไว (Response)เมื่อเกิดอุบัติภัยขึ้นระบบตองมีสมรรถนะที่ดีพอในการตอบโต ภัยแตละชนิดอยางไดผลและทนั เวลา (3) การชวยเหลือกูภัย (Rescue) เปนกระบวนการปกปองชีวิตและทรัพยสินขององคกร ที่ไดผลและ ทันเวลา (4) การกลับเขาไปทำงาน (Rehabilitation)เมื่ออุบัติภัยสิ้นสุดลงแลวตองกลับเขาไปที่เดมิ ใหเร็วที่สุดเพอ่ื การซอมแซม การเปลย่ี นใหม หรือการสรางขน้ึ ใหม (rebuild) เพอ่ื ใหอาคารสถานที่พรอมทีจ่ ะดําเนินกิจการตอไป ได อาจรวมไปถงึ การประกนั ภัยดวย (5) การกลับคนื สูสภาวะปกติ (Resumption) องคกรสามารถเปดทำการ หรอื ดําเนนิ ธุรกิจตอไปตามปกติ ไดเสมอื นวาไมมีอุบัติภัยมากอน การตอบสนองอยางฉับไว( Response) กับการชวยเหลือกูภัย( Rescue)อาจดูเหมือนเป็นเรื่องเดียวกัน แตความจริงแลวแตกตางกัน เชน กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณดับเพลิงอัตโนมัติรวมถึง fire alarm คือขั้นตอนของ การตอบสนองอยางฉับไว(Response )แตไฟฉุกเฉินและเครื่องชวยหายใจ เพื่อใหพนักงานสวม เพื่อหนีออกจาก อาคาร เปนขัน้ ตอนของ การชวยเหลือกูภยั (Rescue) 2.3 การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจ การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยงทางธุรกิจ จะใชธุรกิจท่ี เราอยูเปนตัวตั้งแลวมองส่ิงแวดลอมรอบธุรกิจและตวั ธุรกิจเองวา มีอะไรบางท่ีเปนจุดสําคัญ และถาจุดนั้นสําคญั ถงึ ขนาดทเ่ี รยี กวา ถาเกดิ ผลกระทบเลวรายแลวกับจุดนแ้ี ลว ธรุ กจิ ของเราอาจมีปญหาได จุดนี้คอื Critical point

21 ประโยชนของการวิเคราะหปจจัยความเสีย่ ง การวิเคราะหปจจัยความเสี่ยงนอกจากเกิดประโยชนกับธุรกิจแลวยังสงผลถึงองคกรและลูกคา ท่ีมาใชหรือขอรบั บรกิ ารอกี ดวย ซ่งึ พอสรุปได ดงั นี้ 1. สามารถสรางเสริมความเขาใจการดําเนินการของธุรกิจและจัดทำแผนธุรกิจที่ใกลเคียงความเปนจริง มากขน้ึ ในเรื่องการประมาณการคาใชจาย และระยะเวลาดาํ เนนิ การ 2. เพิ่มพูนความเขาใจความเสี่ยงในธุรกิจมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบที่จะเกิดกับธุรกิจหาก จดั การความเสยี่ งไมเหมาะสมหรือละเลยการบริหารความเสย่ี งนั้น 3. มีอสิ ระในการพิจารณาความเส่ียงของธรุ กิจซ่ึงจะชวยใหการตัดสินใจจัดการความเสี่ยงใหมีประสิทธิผล และประสทิ ธิภาพมากขน้ึ 4. ทำใหยอมรับความเส่ยี งไดมากข้ึน และสามารถไดประโยชนจากการยอมรบั ความเสย่ี งนน้ั ไดมากขึ้น ดวย 2.4 การประเมินความเสย่ี ง กระบวนการประเมินความเสยี่ ง มดี งั ตอไปนี้ 2.4.1 กําหนดความเสี่ยง โดยตรวจสอบวาในธุรกิจของเรามีเรื่องใดที่เปนความเสี่ยงบาง ซึ่งมี ประเดน็ ตาง ๆท่ีสามาถวางกรอบในการกําหนดความเสีย่ งเปนดาน ๆ 5 ดาน ดังนี้ 1) ดานการตลาด เชน การเปลี่ยนแปลงของสินคา การเปลี่ยนแปลงราคาสินคาอัตราดอกเบี้ย อัตรา แลกเปลี่ยน ความผนั ผวนราคาหุน การแขงขันทางตลาด 2) ดานการผลิต เชน วัตถุดิบ กําลังการผลิต ตนทุนการผลิต เทคโนโลยี เครื่องจักร ความปลอดภัย ความผิดพลาดในขัน้ ตอนการผลิต 3) ดานการเงนิ เชน ความเปลี่ยนแปลงดานสินเชอ่ื ความเปลี่ยนแปลงสนิ ทรพั ยทใี่ ชค้ำประกันสินเช่ือ สภาพคลอง 4) ดานบุคลากร เชน ความรูความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรับผิดชอบการทุจริต ความสามัคคี อตั ราการลาออก 5) ดาน 5 ศักยภาพ เชน ทรพั ยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ ภยั ธรรมชาติ ทำเลท่ีต้ัง ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ีชีวติ ทรัพยากรมนษุ ย 2.4.2 เมื่อสามารถกําหนดความเสี่ยงไดแลว ตองประเมินอีกครั้งวาความเสี่ยงนั้นรุนแรงระดับใด และ จดั ลาํ ดับความเสีย่ ง ตามลําดับความรุนแรง 1) การประมาณระดับความรนุ แรงของความเสี่ยง การประมาณระดับของความเส่ียงเพื่อประกอบการ ตัดสินใจในการดําเนนิ การแกไข เม่อื ประเมินแลวนาํ ขอมูลมาเรียงลําดับความเส่ียง ซง่ึ การประมาณความเส่ียงดูได จาก การเรียงลําดับของความรุนแรงของสิ่งที่จะเกิดขึน้ (ผลกระทบ) และการเรียงลําดับของโอกาสที่จะเกดิ ขึ้นของ เหตุการณ ดังนี้

22 1.1) ความรนุ แรงของอันตราย ลกั ษณะความรนุ แรง - ระดบั ความรนุ แรงมาก - ระดบั ความรนุ แรงปานกลาง - ระดับความรุนแรงนอย การพิจารณาระดับความรุนแรง ระดบั ความรนุ แรงหรือผลกระทบทเ่ี กิดจากเหตุการณทเี่ กดิ ข้ึน หรือ คาดคะเนวาจะเกดิ เหตกุ ารณนัน้ ๆ และเมื่อเกิดข้ึนแลวจะเกิดความรุนแรง หรือผลกระทบกบั สิ่งตาง ๆ และความ เสยี หายท่จี ะเกิดขนึ้ ในดานตาง ๆ เชน ดานทรพั ยสนิ /เงนิ ดานเวลา ดานบคุ คล ดานลกู คา และดานภาพลกั ษณ แลวพจิ ารณาวาความรนุ แรงอยใู นระดับใด

23 เร่ืองท่ี 2 ความจำเป็นในการฝกึ ทักษะอาชีพ ลกั ษณะบง่ ช้คี วามสำเรจ็ ของการเรียนรู้ 1. มีความเขา้ ใจทกั ษะการทำงานบนฐานความรู้ 2. เข้าใจการเรยี นรู้ตอ่ ยอดภูมิปญั ญา ยกระดับความรใู้ ห้สูงข้นึ 3. เข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพ และกจิ กรรม เพอ่ื ความม่นั คงของอาชีพ

24 ใบความรู้ เรอื่ ง ทักษะการทำงานบนฐานขอ้ มูล การขยายอาชีพหลายคนใช้วิธีทำตามกระแสความนิยม เห็นเขาได้ดีก็จะทำตามเขาด้วย คิดตัดสินใจด้วย ความรู้สึก บางคนก็ประสบผลสําเร็จแต่หลายคนพบความล้มเหลว แต่หากเราหันมามองคนประสบความสําเร็จ อาชีพมั่นคง เราจะเห็นว่าบุคคลเหล่านี้จะทำอะไรต้องคิดอยา่ งถี่ถว้ น หาความรู้ ข้อมูลมากมายมาใช้คิดชั่งน้ำหนัก โอกาสความสาํ เรจ็ จดั ระบบทำการทดลองสรปุ ผลจนมัน่ ใจจึงจะมีการลงทนุ การกระทำลักษณะนเ้ี ปน็ ลกั ษณะของ คนทำงานบนฐานข้อมูล ผู้เรียนการศึกษานอกระบบจึงมีความจําเป็นที่จะต้องพัฒนาทักษะการทำงานบน ฐานขอ้ มูล เพ่อื ให้การขยายอาชพี เรมิ่ ตนได้เหมาะสมเฉพาะกบั ตนเอง กรอบแนวคิดการทำงานบนฐานขอมูล แผนภูมกิ รอบแนวคดิ การทำงานบนฐานขอมลู จากแผนภูมิกรอบแนวคิดการทำงานบนฐานขอมลู แสดงใหเห็นวา การทำงานบนฐานขอมลู จะมีกิจกรรม อยางน้อย 3 กิจกรรมที่จําเปนสําหรับการพัฒนาตนเองของผูเรียนที่จะตองเรียนรูสรางเปนพฤติกรรมใหเป็น ลกั ษณะนิสยั ในอันที่จะเปล่ยี นแปลงหรอื ขยายขอบขายอาชพี สูความมน่ั คง ฐานขอมูลอาชีพ การดาํ เนนิ การทางธุรกจิ มีองคประกอบรวม 4 องคประกอบดวยกนั คือ (1) องคประกอบดานทนุ (2) องคประกอบดานผลิตภณั ฑ (3) องคประกอบดานลกู คา (4) องคประกอบดานตนเอง องคประกอบดังกลาวเปนฐานขอมูลอาชีพที่ผูเรียนจะตองจัดระบบขอมูลไวใชทำงาน โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. องคประกอบดานทนุ ประกอบดวย 1.1 ทนุ อสงั หารมิ ทรัพย ไดแก บาน ทด่ี ิน โรงงาน ของทีเ่ รามีอยู หรือตองจดั ซอ้ื จดั ทำไวใชทำธรุ กิจ 1.2 ทุนเงนิ มหี รือยงั ถายงั ไมมีแหลงเงนิ ทนุ อยูทไ่ี หน จะเขาถึงไดอยางไร จะสูกบั ดอกเบีย้ ไดหรือไม

25 2. องคประกอบดานผลิตภัณฑ ประกอบดวย 2.1 คุณภาพของผลิตภณั ฑ ตลาดตองการอยางไร 2.2 กระบวนการผลิตที่ตองใช 2.3 นวตั กรรม เทคโนโลยี การลดตนทนุ เปนอยางไร 2.4 นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลติ จะเขาถึงไดระดับใด 2.5 บรรจุภณั ฑ 2.6 การเก็บรกั ษา 3. องคประกอบดานลูกคา ประกอบดวย 3.1 คานยิ มเปนอยางไร 3.2 ชองทางเขาถงึ ลกู คา 3.3 การสรางความภักดใี หเกิดกับลกู คา 3.4 การสงเสรมิ การขาย 4. องคประกอบดานตนเอง ประกอบดวย 4.1 ความรูทักษะการดาํ เนนิ งาน ตองมีอะไรบาง 4.2 การพัฒนาทีมงาน คนงาน จะตองทำอะไร อยางไร 4.3 ความนาเชือ่ ถือของเรา 4.4 สังคมส่ิงแวดลอม กบั สถานประกอบการของเรา จากรายละเอียดพอสงั เขปดังกลาวขางตน ผูเรียนจะตองสบื คน เรียนรู ทำความเขาใจอยางลึกซึง้ สําหรับ ตัดสินใจออกแบบระบบทำงานหรอื จะคอยๆศึกษา สรางความม่นั ใจดานการจัดทำแบบจําลองอาชพี แลวทดลองทำ เพอื่ สรุปผล ตัดสนิ ใจกาํ หนดขนาดธรุ กิจ หรือจะยกเลกิ เปล่ยี นความคิด การสรางแบบจําลองอาชีพ แบบจําลองอาชพี เปนเหมือนสมมตฐิ าน เพอ่ื การพิสจู นของการทำอาชพี โดยมขี ั้นตอนดําเนินการดงั นี้ ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาเบื้องตนเพอ่ื สรปุ ขอมลู สรางแบบจําลองอาชีพ โดยเริ่มตนวิเคราะหฐานขอมูลอาชีพที่เราจะทำทั้ง 4 องคประกอบแลวนําขอมูลมากําหนด รูปแบบเบอ้ื งตน เพื่อการทดลองสรปุ ขอมูลสารสนเทศ ดงั ตวั อยาง

26 ข้นั ตอนที่ 2 การจดั ทำแบบจาํ ลอง หลังจากการศึกษาเบื้องตน ผลการทดลองไดขอมูลสารสนเทศตามที่กําหนดแลวนํามาจัดทำ แบบจําลองธรุ กิจการผลิตลูกมะเดื่อฝร่ังอบแหง (Fix) เขาสูตลาดใหไดสปั ดาหละ 200 กก. ดังตัวอยางน้ี 1. รปู แบบการดําเนินงาน 2. เอกสารขั้นตอนการทำงาน เปนการนาํ กิจกรรมวิธีการไปจัดทำรายละเอียดวธิ กี าร ขั้นตอนการ ทำงานเปนเอกสาร เพื่อใหคนทำงานไดใชปฏิบัติตาม ปฏิบัติการใชและสรุปบทเรียน ขั้นตอนนี้เปนการ ปฏิบัติการเริ่มตนทดลองเต็มรูปแบบการทำธุรกิจจริงดานการวางแผน ปฏิบัติการ(Plan) ทำงานตามแผนปฏิบัติ การ(Do) ติดตามตรวจสอบหาขอบกพรอง(Check) ปฏิบัติการแกไขขอบกพรอง(Action) เปนวงจร PDCA โดยใน ทุกขั้นตอนตองมีการจดบันทึกขอมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ ผลที่เกิดและผลกระทบอย่างเปนระบบ เพื่อนํามาสรุป บทเรยี นพัฒนาระบบธรุ กจิ ใหมีประสทิ ธภิ าพอยางตอเนอ่ื งเขาสูความมน่ั คง สรปุ การประกอบธุรกิจทั้งภาคการผลิต ภาคบริการ เปนอาชีพอิสระที่ผูประกอบการตองสรางภมู ิคุมกันใหกบั ธรุ กิจของตนเอง จะตองอาศัยขอมูลสารสนเทศทางอาชีพมากมาย ซงึ่ สามารถจํากดั ขอบเขตลงได 4 องค์ประกอบ คือ (1)ทุน (2)ผลิตภัณฑหรือบริการที่จะทำ (3)ลูกคา และ (4)ตนเอง มาใชตั้งแตเริ่มตนคิดตัดสินใจ กําหนด แบบจําลองอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง และปฏิบัติการใชสรุปบทเรยี นเปนองคความรูที่จะตองถกู พัฒนาใหสูงสุด เปนระยะๆ ดวยตนเอง การกระทำดังกลาวหรือเรื่องของการใชขอมูลสารสนเทศเขามาใชทำงานทั้งสิ้นจําเปนที่ผู เรยี นจะตองพฒั นาทักษะการทำงานบนฐานขอมลู ไปอยางตอเนื่อง

27 เร่อื ง 3 การตอยอดภูมปิ ญญายกระดับความรูใหสูงข้ึน การถายทอดภูมปิ ญญาจากเจาขององคความรูไปสูบุคคลทีร่ ับการถายทอด สวนใหญจะใหความสําคัญกับ เทคนิค ขั้นตอนวิธีการของการทำงานหรือการแกปญหาแตในความเปนจริงแลวภูมิปญญายังมีองคประกอบอื่นๆ อกี มากมาย เปนองครวมทจี่ ะนําไปสูความสําเร็จ มั่นคง ย่ังยืนได แตผูรับการถายทอดมักจะมุงไปรบั เทคนิควิธีการ มากกวา เชน ภูมิปญญาแยกอนิ ทรยี ก็จะใหความสาํ คัญกับวิธีการทำปุยหมัก ปุยน้ำ เทานนั้ ท้ังๆ ยงั มสี วนประกอบ อ่ืนๆทส่ี ําคัญมากมาย ดงั นนั้ การตอยอดภูมปิ ญญาจึงเปนเร่อื งที่จะตองมกี ระบวนการคดิ วิเคราะหอยา่ ง เปนระบบ เพอื่ ยกระดบั ความรูใหสงู ขึน้ สอดคลองไปกับยุคสมัย กรอบความคดิ 1.1 วิเคราะหภูมปิ ญญาระบุภารกจิ ระบคุ วามรูสารสนเทศตอยอดภูมปิ ญญา 1.2 วิเคราะหภารกจิ ระบุกจิ กรรมและขอมลู ศึกษาทบทวนปรบั แตงพัฒนาเขาสูยคุ สมัย 1.3 วเิ คราะหกจิ กรรมระบขุ น้ั ตอนระบบทำความเขาใจใหกระจาง 1.4 วเิ คราะหขัน้ ตอนระบบ ระบุเทคนคิ วธิ กี าร 1. กรอบการคดิ วิเคราะห ภมู ิปญญาและการศึกษาเจาะลึก กรณกี ารผลิตผลมะเด่อื ฝรงั่ อบแหง

28 2. กรอบการคดิ พัฒนาตอยอดภูมิปญญาเขาสูยุคสมัย จากกรอบแนวคดิ ดังกลาว ผูเรียนจะพบวาการขยายอาชีพหรือพัฒนาอาชีพเขาสูความมน่ั คงเปนเร่ืองของ การคิด วิเคราะห การใชสารสนเทศขอมูล การประยุกตใชความรู เปนเรื่องสําคัญของการตอยอดภูมิปญญามา ยกระดบั ความรูใหสงู ขน้ึ การตอยอดภมู ปิ ญญายกระดบั ความรูใหสงู ขน้ึ เปนกระบวนการขั้นตอนการวิเคราะหภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหมีความรูเกิดความกระจางในองคความรู ของภูมิปญญานาํ ไปสูการวเิ คราะห ระบุ ทฤษฎีแนวคิดยคุ ใหมใชยกระดบั ความรูใหสูงขึ้นดงั แผนภูมนิ ้ี

29 ใบความรู้ เรอื่ ง การสรางความหลากหลายเพ่ือความมน่ั คงในอาชีพ การสรางความหลากหลาย การสรางความหลากหลายในอาชีพเปนภูมิปญญาเพื่อใชสรางภูมิคุมกันใหกับการดํารงอาชีพตามหลัก ทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน มีพระราชประสงคที่จะใหอาชีพเกษตรกรสูความเข้ม แข็งมั่นคงยั่งยืน ดวยการใหปลูกขาว ปลูกผัก ผลไม และเลี้ยงไก ไวกินในครอบครัวเหลือขาย เลี้ยงหมูไวเปนเงิน เก็บ เงินออม ปลูกไมใชงาน ใชเปนเชื้อเพลิง ใหรมเงา จัดการบานเรือนใหสะอาด ชีวิตก็จะร่ำรวยความสุข (จาก ความจําของผูเขียน เมื่อครั้งเขาเฝาถวายงานโครงการเกษตรธรรมชาติถาวรนิมิตอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จงั หวัดนครนายก พ.ศ. 2537 โดยมพี ระมหาถาวรจติ ตภาวโรวงศมาลยั เปนผูอุปถัมภ) พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวบงชี้ถึงการสรางความหลากหลายทางชีวภาพ การ หมนุ เวยี นเปล่ียนรปู บนความหลากหลายไดผลผลิตพอเพียงกบั การกนิ อยู และเหลอื ขายเปนรายไดใชดาํ รงชวี ติ

30 จากตวั อยางการหมนุ เวยี นดงั กลาวทำใหเกษตรกรสามารถลดตนทนุ ลงได หากมีการจดั การวางแผนการทำงานตาม สูตรพระราชทาน 3 + 3 + 3 + 1 ประกอบดวยพน้ื ที่ทำนา 3 สวน ใชกักเกบ็ น้ำเล้ยี งปลา พน้ื ทท่ี ำนา 3 สวน จะมี ผลผลิตพอเพียงหมุนเวียนระหวางชีวภาพ พื้นที่ปลูกผักผลไมและไมใชงาน 3 สวน และพื้นที่อยูอาศัย เลี้ยงสัตว และทางเดินอีก 1 สวน โครงสรางสตู รพระราชทานดังกลาวจะสามารถจัดระบบการผลติ ท่ีพ่ึงพาปจจัยภายนอกได นอยที่สุด

31 จากตวั อยาง จะเห็นวา การแปรรูปทำใหเกิดความหลากหลายทางกจิ กรรมมากมายทจี่ ะทำใหเกิดการเพิ่ม ผลผลติ และผลิตภัณฑสามารถใชอยู ใชกินเหลอื ขาย เพ่มิ มลู คาสรางใหเกดิ รายไดสูความมัน่ คงย่งั ยนื ได ปจจัยแหงความสาํ เรจ็ ปจจัยแหงความสําเร็จของการสรางความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมที่จะจัดการใหความหลาก หลายตางๆ นน้ั ลงตัวคงไมมีสูตรสาํ เร็จเปนเร่อื งทีผ่ ูเรยี นจะตองเรียนรูคนพบไดดวยตนเองจากวธิ ีการตาง ๆ เชน 1 การสบื คนขอมูลสารสนเทศตาง ๆ นํามาวเิ คราะหหาความลงตวั แลวจดั ระบบการดาํ เนินงาน 2 การถอดบทเรียนจากผูประสบความสาํ เรจ็ นําขอมูลสารสนเทศที่ไดมาจัดระบบใหเหมาะสมกับตนเอง 3 การทดลอง เพื่อตรวจสอบระบบการดําเนินงานที่ไดมาจากขอมูลสารสนเทศวา เกิดผลตามความรู เพยี งใดจะตองเพม่ิ เตมิ พฒั นาอะไร จึงอาจจะสรุปไดวา ปจจัยแหงความสําเร็จของการใชความหลากหลายทางชีวภาพและกิจกรรมมาสราง ความมน่ั คงย่งั ยืนในอาชพี ไดอยางลงตัว คอื การทำงานบนฐานขอมูลและใชกระบวนการวจิ ัยมาเปนเคร่ืองมือของผู เรยี นนน่ั เอง

32 ใบความรู้ เรอ่ื งที่ 3 ความสําคญั ของการจดั การขยายอาชีพเพื่อความมน่ั คงตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เรื่อง ความสำคัญของการจัดการขยายอาชพี ตามแนวคิด ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ความรู ความเขาใจเกีย่ วกับความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพในเชิงวชิ าการมีผูกลาวไวมาก พอสมควรแลว ผูเรียนสามารถคนควาได แตการระบุความสําคัญในเรื่องใด ๆ ยอมผันแปรไปตามประสบการณเชิง ประจักษของแตละบุคคลหรือกลุมคนไมมีอะไรแนนอน เรามีหนาที่จะตองระบุความสําคัญในสิ่งขางหนาและ ประเมนิ ตดั สนิ ใจดวยตวั เราเอง เชนเดียวกับการระบุความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพเพื่อคว ามมั่นคงไม มีใครบอกสิ่งที่ ถูกต้องใหใครได เราจึงมีความจําเปนที่จะตองนําตนเอง ระบุความสําคัญไดดวยตนเองมากกวาการใชขอมูลจาก ภายนอก ตามเอกสารใบความรูฉบับนี้ จึงขอนําเสนอหลักการคิด วิเคราะห หาความสําคัญของการจัดการขยาย อาชีพดวยตนเอง ดงั น้ี 1. เร่ิมตนจากความหมายของภาษาโดยยึดพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.2525 พบว่า “ความสาํ คัญ” มคี วามหมายตามลักษณะคาํ วเิ ศษณ คือ (1) เปนพเิ ศษกวาธรรมดา (2) มีคุณคา (3) มีชื่อเสยี ง “การจดั การขยายอาชพี เพอื่ ความมน่ั คง” มคี วามหมาย คือ (1) การส่ังงาน ควบคุมงาน ดาํ เนินงาน (2) ทำใหขยายกวางออกไป (3) ทำใหม่นั คง 2. ใหนาํ องคประกอบความหมายของคําทง้ั สองประโยคมาวิเคราะหระบคุ วามสัมพนั ธดังตวั อยางนี้ ตวั อยาง : ตารางวเิ คราะห สรางวลี เหตุการณจากความสมั พันธระหวางประโยชน

33 ตารางดังกลาวขางตน ใชดําเนินการวิเคราะหความสัมพันธแลวระบุเปนวลี เหตุการณ บนฐาน ของเหตแุ ละผลตามประสบการณของผูเรียน ดังตัวอยางนี้ ตวั อยาง การวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพตามเหตผุ ลและประสบการณ ของผูเรยี น 3. นําผลการวิเคราะห กําหนด วลี ความสําคัญของการจัดการขยายอาชีพที่วิเคราะหไดมพิ จารณา ทบทวนหาขอบกพรองและพฒั นา เรากจ็ ะพบวา ความสําคญั ของการพฒั นาอาชพี ประกอบดวย (1) เปนการเพ่ิมกิจกรรมอาชพี บนฐานการจดั การอาชพี หลักทที่ ำอยู (2) ทำใหประสิทธภิ าพการใชทรัพยากรดําเนนิ งาน สามารถสรางผลผลิตเพิ่มสงู ข้นึ ได (3) ทำใหผูรวมงานมคี วามเชื่อมั่นวาธรุ กจิ เจรญิ กาวหนาสามารถอยูรวมทำงานไดอยางม่ันคง (4) มีผลิตภัณฑเพิม่ ข้นึ สามารถขยายฐานลกู คาออกไปไดกวางขน้ึ (5) มีพันธมติ รทางธุรกิจเพิ่มขนึ้ (6) วงการธุรกจิ ยอมรบั กวางออกไป (7) กลยุทธทางธรุ กิจถกู ปรบั เปลี่ยนใชสรางความมนั่ คงในธรุ กิจ (8) เครือขายลูกคาและพันธมติ รทางธรุ กิจ มีความเช่อื ม่นั มีความภกั ดีในการซอ้ื ขายมากขน้ึ (9) องคความรูดานการผลิตและการตลาดยกระดบั คณุ คาใชเปนทุนในการแขงขนั สรุป จะเห็นวาการคิดการพจิ ารณาความสําคัญนั้น จาํ เปนท่เี ราจะตองมองเห็นดวยตวั เราเอง และนําไปเทียบเคียง กบั ความเห็นทางวชิ าการกจ็ ะทำใหเรามโี อกาสตดั สนิ ใจไดถูกตองมากยงิ่ ขนึ้ นาํ ไปสูความสําเร็จทีย่ ่ังยนื ได

34 เรื่องที่ 4 การจดั ทำแผนธรุ กิจ ใบความรู้ เรือ่ ง การจดั ทำแผนธุรกิจ 1. โครงสร้างแผนธุรกจิ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง การทำธุรกิจ หมายถึง การงานประจำเกี่ยวกับการทำมาหากิน ค้าขายแลกเปลี่ยน จากความหมาย ดังกล่าว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ระบุพัฒนาการของการทำมาหากินไว้เป็นระดับ ตั้งแต่ (1) ทำให้พออยู่พอ กนิ (2) ทำให้อยดู่ ีมีสุข และเข้าสู่ (3) ความม่ังมีศรีสุข การทำมาหากิน คา้ ขาย แลกเปลย่ี นหรือที่เรียกว่า ธุรกิจน้ัน จำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมแี ผนในทกุ ระดับ เช่น 1.1 แผนธุรกิจเศรษฐกิจพอเพียงระดับพออยู่พอกิน เป็นการทำธุรกิจเพื่อนำพาชีวิตครอบครัวให้รอดพ้น จากความขาดแคลนและอดอยากสู้ชวี ติ ให้อยไู่ ดร้ ่วมกนั ของคนในชุมชน 1.2 แผนธุรกิจเศรษฐกิจพอเพียงระดับอยู่ดีมีสุข เป็นการทำธุรกิจหารายได้ที่ใช้ความเอื้ออาทรของสังคม เป็นฐานในการขับเคลอ่ื นมีลักษณะในการสรา้ งทางธรุ กจิ ดังนี้

35 1.3 แผนธุรกิจเศรษฐกิจพอเพียงระดับมั่งมีศรีสุข เป็นธุรกิจที่ต้องมีความเฉพาะตัวตรงกับความต้องการ ของลกู ค้า ตอ้ งเชอ่ื มโยงกับสถาบันทางการเงิน ตอ้ งสร้างพนั ธมติ รทางธรุ กิจ ต้องเทียบเคียงแข่งดีกับธุรกิจประเภท เดียวกันเพื่อยกระดับคุณภาพผลผลิต ขยายตลาดและส่วนแบ่งตลาดให้มีรายได้พอเพียงกับการดำรงและขยาย ธรุ กจิ ออกไปอย่ไู ดอ้ ย่างมั่นคงตอ่ เนื่องไป ซง่ึ มีลกั ษณะโครงสร้างของแผนธุรกจิ ดังนี้ 1 2 34 5 จากโครงสร้างแผนธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 3 ระดับ ตั้งแต่ทำเพื่อให้พอเพียงกับการ ดำรงชีวิตให้อยู่รอดไม่อดอยาก ไปสู่การยกระดับความคิดการกระทำใช้ชีวิตอยู่ดีมีสุข ซึ่งจะต้องมีรายได้ เพื่อมา พัฒนาความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และการส่งบตุ รหลานเข้ารบั การศึกษา และระดับสุดทา้ ยทค่ี นสว่ นใหญ่ควรจะก้าวไปให้ ถงึ ความมั่งมีศรีสุขทส่ี ัมพันธ์กับสภาพเป็นจริงของตนเอง ซึง่ จะตอ้ งเรยี นรู้ระบบธุรกจิ ทมี่ ีความซับซอ้ นข้นึ ไป

36 2. การประยกุ ตใ์ ช้หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง และประสบการณต์ นเองจดั ทำกรอบความคิดแผนธุรกจิ การจัดทำแผนธรุ กิจในการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เปน็ การเรยี นรเู้ พ่ือการขยายอาชีพใหเ้ ปน็ ไปตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียงในระดับมั่งมีศรีสุขที่มีแผนงานโครงการขยายอาชีพ สร้างรายได้พอเพียงไปสู่ความมั่นคงได้ มี กรอบแนวคดิ ตามหลักความมเี หตุผล ความพอดี มีภูมคิ มุ้ กนั ความรอบรู้ และคณุ ธรรมดังนี้ 1.1 กรอบแนวคิดในการใชห้ ลักความมีเหตุผล เปน็ การประยกุ ต์ความมเี หตุผลที่จะทำให้การขยายอาชีพประสบผลสำเรจ็ ต้องการองค์ประกอบในการขยายอาชีพ มาวเิ คราะหด์ ้วยตวั แปรด้านตนเอง สังคม วชิ าการ มาหาเหตผุ ลใหก้ บั ตนเอง ดงั นี้

37 1.2 กรอบแนวคดิ ในการใชห้ ลกั ความพอดี เป็นการนำผลการคิดวิเคราะห์เหตุผลทีจ่ ะนำไปสู่ความสำเร็จมาคิดสงั เคราะห์ กำหนดแผนทิศทางธุรกิจให้มีความ ถูกตอ้ งพอดีกบั สภาพท่ีเป็นจริงของตนเอง สงั คม และวิชาการ โดยมีกรอบแนวคดิ ของการกำหนดทิศทางธรุ กิจตาม หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กรอบแนวคิดในการใช้หลักภูมิคุม้ กนั เป็นการประยุกตห์ ลักภมู ิคุ้มกันของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาวิเคราะห์กลยทุ ธ์ของแต่ละพนั ธกจิ ออกมา เปน็ แผนกลยทุ ธท์ ถี่ กู ต้อง ธรุ กิจมคี วามปลอดภัย โดยมีกรอบแนวคิดดงั นี้

38 กรอบแนวคดิ ในการใชค้ วามรอบรู้ เป็นการประยุกต์หลักแห่งความรอบรู้ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการจัดการของอาชีพ ด้วยว่าเกณฑ์ องค์ประกอบในระบบการบริหารจัดการคุณภาพกับแผนงานด้านต่างๆ ที่จะนำไปสู่การปฏิบัติการว่าจะต้อง เกี่ยวข้องกับความรู้อะไรที่เราจะต้องแสวงหาความรู้ให้เกิดความรอบรู้พอเพียงที่จะ ใช้ขับเคลื่อนธุรกิจไปสู่ ความสำเร็จโดยมีกรอบดงั นี้

39 กรอบแนวคดิ ในการใช้คณุ ธรรม เป็นการประยุกต์หลักแห่งคุณธรรมที่จะสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินธุรกิจที่ประกอบด้วยความ ขยันขันแข็ง ความประหยัดใช้ทรัพยากร ความซื่อสัตย์ต่อการดำเนินงาน และความอดทนต่อการควบคุม ประคับประคองธุรกจิ โดยมกี รอบแนวคดิ ดังน้ี

40 สรปุ การดำเนินการธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตั้งแต่ระดับทำให้พออยู่พอกินพ้นความอดอยาก แบ่งปันผู้ที่ยงั อดอยากไดก้ ้าวไปสู่การสร้างความอยู่ดีมีสุขท่ีจะตอ้ งเพิ่มผลผลิต สร้างรายได้ใหพ้ อเพียงกบั การดำรง และพฒั นาคุณภาพชวี ิต และเก็บออมสร้างทุนเพ่ือกา้ วยา่ งไปสู่ความม่ังมศี รีสุขที่สามารถขยายธุรกิจออกไปสู่ตลาด การแข่งขัน สร้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนของตนเอง เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกจิ ชองชมุ ชน การดำเนินธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับ ขนั้ ตอนทางธุรกิจจะสรปุ ไดว้ า่ 1. การเริ่มต้นธุรกิจจะต้องเริ่มต้นที่ความมีเหตุมีผล ซึ่งเป็นเร่ืองของข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่ผู้ทำธุรกิจ จะต้องศึกษาความต้องการ แสวงหาความเขา้ ใจจนบอกได้ว่าจะทำอะไร เพราะอยา่ งไร 2. เมื่อรู้ว่าทำอะไร อย่างไร ก็จะต้องกำหนดความพอดขี องภารกิจที่จะทำแต่ให้สัมพันธ์กับสภาพชีวิต ทุน ตา่ งๆ ทม่ี ีอยไู่ ม่ทำอะไรเกินเลยจนสรา้ งความเดือนร้อนสู่ความลม้ เหลวให้กบั ตนเอง

41 3. เมื่อรู้ว่าทำอะไรแค่ไหน จะต้องทำอย่างมีภูมิคุ้มกันให้ปลอดภัยไม่ล้มเหลว ด้วยการวางเป้าหมายการ ดำเนินงานและความคาดหวังต่างๆ ในรูปแบบธุรกิจให้สอดคล้องกับจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคต่างๆ และ ทบทวนตรวจสอบความอยาก ความตดิ ยึดในตัวเราใหถ้ อ่ งแท้ 4. เมื่อกำหนดเป้าหมายความคาดหวังต่างๆ ของธุรกิจที่คาดว่ามีความปลอดภัยไม่ล้มเหลวชัดเจนแลว้ ก็ ถึงขั้นตอนการปฏิบัติการในธุรกิจ จะต้องทำแผนปฏิบัติการเข้าสู่การปฏิบัติจริง ขั้นตอนนี้จะต้องใช้องค์ความรู้ ต่างๆ ในรูปของสหวิทยาการ ผู้ประกอบอาชีพจะต้องมีความรอบรู้ด้วยการแสวงหาความรู้ ทดลองตรวจสอบ ความรูอ้ ย่างกระจ่างทกุ ดา้ นท่จี ะนำเขา้ มาใชด้ ำเนนิ การ 5. การดำเนินปฏิบัตกิ ารสู่ความสำเร็จใหผ้ ู้ประกอบการจะตอ้ งยนื อยู่บนฐานคุณธรรมที่เร่ิมจากความขยัน ความประหยัด ความซื่อสตั ยแ์ ละความอดทน คมู่ ือจัดทำแผนธรุ กจิ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งให้เหมาะสมกับตนเอง ในเอกสารคู่มือจัดทำแผนธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เหมาะสมกับตนเอง ประกอบด้วย สาระสกู่ ารปฏบิ ตั ดิ ังนี้ ตอนที่ 1 บทนำ→ความคดิ รวบยอด→นิยามศพั ท→์ องคป์ ระกอบของแผนธุรกิจ

42 ตอนท่ี 2 วธิ ีคิดหาเหตุผล ของการขยายอาชพี →ความคิดรวบยอด→ขั้นตอนการดำเนนิ งาน→รายละเอียดการ ดำเนนิ งาน ตอนที่ 3 วิธีการกำหนดทิศทาง กลยุทธ์การขยายอาชีพให้มีความพอดี และภูมิคุ้มกัน→ความคิดรวบยอด→ ขนั้ ตอนดำเนินงาน→รายละเอยี ดการดำเนินงาน

43 ตอนท่ี 4 การจัดทำแผนปฏิบัตกิ าร และสร้างความรอบรู้→ความคดิ รวบยอด→ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน →รายละเอยี ดขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ตอนที่ 5 การขับเคลื่อนแผนสู่ความสำเร็จ→ความคิดรวบยอด→ขั้นตอนดำเนินงาน→รายละเอียดการ ดำเนินงาน

44 แบบทดสอบหลังเรยี น วิชา ทักษะการขยายอาชพี คำชีแ้ จง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว 1. การตลาด หมายถึงข้อใด ก . การค้าขายแลกเปลี่ยน ข. การให้เช่าซ้อื สนิ ค้า ค. การจดั จำหน่ายสนิ คา้ และบรกิ าร ง. การทน่ี ำสิง่ ของมาวางขาย 2.ขอ้ ใดคอื ความสำคญั ของตลาด ก. ทำให้เศรษฐกิจขยายตัว ข. ชว่ ยให้ลดตน้ ทุนการผลิต ค. ทำให้เกิดสนิ ค้าใหม่ๆเพ่มิ ขนึ้ ง. ถกู ทุกข้อ 3.อาชพี ท่ีมคี วามสำคัญต่อระบบเศรษฐกจิ ประเทศไทยมากท่ีสดุ ก. เกษตรและบริการ ข. ปลูกพชื และเลี้ยงสัตว์ ค. เกษตรและอุตสาหกรรม ง. อุตสาหกรรมและบรกิ าร 4.อาชีพต่อไปน้ีขอ้ ใดต้องอาศัยทำเลใกล้แหลง่ ชุมชน ก. การเลย้ี งไข่ไก่ ข. การผลิตมะขามหวาน ค. การซอ่ มเครื่องใช้ไฟฟ้า ง. การแปรรูปผลผลิตการเกษตร 5.ข้อใดไมใ่ ช่อิทธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาวะการตลาด ก. ฤดกู าล ข. การเมอื ง ค. สภาวะผู้ซอื้ ง. สภาพแวดล้อม 6.ถา้ เรามีเงินมาก ๆ เราจะเก็บไวท้ ี่ไหนและปลอดภยั ไดผ้ ลกำไรตอบแทนเพมิ่ เติม ก. โรงจำนำ ข. เก็บแอบไวท้ ล่ี ับ ค. ฝากธนาคาร ง. ซื้อตู้เซฟใหญม่ าไวท้ ่ีบา้ น

45 7.พ่อค้าคนกลางท่ซี ้ือสนิ คา้ จากผผู้ ลติ และขายใหก้ ับผู้ขายปลีกรายอน่ื ๆ เรยี กวา่ อยา่ งไร ก. พอ่ ค้าปลีก ข. พอ่ ค้าส่ง ค. พอ่ ค้าเร่ ง. พอ่ ค้าสัญจร 8.แผนการทำงานควรมสี ่วนประกอบพื้นฐานตามข้อใด ก. แผนงาน แผนเงิน แผนคน ข. แผนงาน แผนคน แผนเวลา แผนคา่ ใช้จ่าย ค. แผนงาน แผนเงนิ แผนเวลา ง. ไม่มีข้อถกู 9.เทคโนโลยีกับผลิตภัณฑ์ในชวี ิตประจำวันได้แก่อะไรบา้ ง ก . สบู่ แปลงสีฟนั ยาสฟี ัน ข. รองเทา้ เส้ือผา้ ค. ยาสระผม ครมี นวดผม ง. ถูกทกุ ข้อ 10.การท่ีเราทำงานหรือกิจกรรมใด ๆ ทุกคร้ัง ทีไ่ ด้ผลผลติ และรายไดเ้ ป็นงานสจุ รติ เราควรเรียกว่า ก . ผู้รบั เหมา ข. ลูกจ้าง ค. อาชพี ง. พนักงาน

46 เฉลยแบบทดก่อนและสอบหลงั เรยี น วิชา ทักษะการขยายอาชพี ระดับ ม.ปลาย 1.ค 2.ง 3.ค 4.ค 5.ข 6.ค 7.ข 8.ค 9.ง 10.ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook