4913. ร้อยละความพงึ พอใจของผู้ใช้บรกิ ารตอ่ บรกิ ารพยาบาลในภาพรวม × 100 ●●เกณฑ์ ≥ 85% ●●แหล่งข้อมลู /วิธีการคำ�นวณ ผลรวมคะแนนความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการต่อบริการพยาบาล ผลรวมคะแนนเต็มของแบบสอบถาม14. ร้อยละของผู้ใชบ้ ริการท่ีมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดถี งึ ดีมาก × 100 ●●เกณฑ์ ≥ 80% ●●แหลง่ ขอ้ มูล/วธิ กี ารค�ำ นวณ จำ�นวนผใู้ ช้บรกิ ารท่มี คี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดถี งึ ดมี าก จ�ำ นวนผ้ใู ช้บริการทสี่ �ำ รวจท้งั หมดØØมิติท ่ี 3 ด้านประสทิ ธภิ าพของการปฏิบตั กิ ารพยาบาล1. รอ้ ยละของงานบริการพยาบาลดำ�เนินการคดิ ต้นทนุ การบรกิ ารพยาบาล ●●เกณฑ์ เพิ่มขน้ึ ปีละ 10% ●●แหลง่ ขอ้ มลู /วิธีการค�ำ นวณจำ�นวนงานบรกิ ารพยาบาลด�ำ เนนิ การคิดตน้ ทนุ การบรกิ ารพยาบาล × 100 จำ�นวนงานบรกิ ารพยาบาลทง้ั หมดมาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
50ØØมติ ทิ ี่ 4 ด้านพฒั นาองคก์ รพยาบาล × 1001. ร้อยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลมีสมรรถนะตามเกณฑ์ท่ีก�ำ หนด ●●เกณฑ์ ≥ 80% ●●แหล่งข้อมูล/วิธกี ารค�ำ นวณ จ�ำ นวนบุคลากรทางการพยาบาลมสี มรรถนะตามเกณฑ์ที่ก�ำ หนด จำ�นวนบคุ ลากรทางการพยาบาลทไี่ ดร้ บั การประเมินสมรรถนะท้ังหมด2. รอ้ ยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลใหมท่ กุ คนไดร้ บั การปฐมนเิ ทศกอ่ นเขา้ ปฏบิ ตั งิ าน ●●เกณฑ์ 100% ●●แหลง่ ขอ้ มูล/วธิ กี ารค�ำ นวณ จ�ำ นวนบคุ ลากรทางการพยาบาลใหม่ทุกคนไดร้ ับการปฐมนเิ ทศก่อนเขา้ ปฏิบัตงิ านอยา่ งนอ้ ย 1 ครงั้ × 100 จ�ำ นวนบุคลากรทางการพยาบาลใหม่ทัง้ หมด3. รอ้ ยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลไดร้ บั การฝกึ อบรมการชว่ ยฟน้ื คนื ชพี ขน้ั พน้ื ฐาน ●●เกณฑ์ 100% ●●แหลง่ ขอ้ มลู /วิธกี ารคำ�นวณ จำ�นวนบคุ ลากรทางการพยาบาลไดร้ ับการฝึกอบรมการชว่ ยฟน้ื คืนชีพขน้ั พืน้ ฐาน × 100 จ�ำ นวนบคุ ลากรทางการพยาบาลทงั้ หมด มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
514. ร ้อยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลนำ�ความรูแ้ ละทักษะใหม่ท่ไี ดจ้ ากการศึกษา และอบรมไปพฒั นางาน ●●เกณฑ์ 100% ●●แหล่งข้อมูล/วธิ กี ารค�ำ นวณจ�ำ นวนบุคลากรทางการพยาบาลทน่ี �ำ ความรแู้ ละทกั ษะใหม่ที่ไดจ้ ากการศกึ ษา และอบรมไปพัฒนางานอย่างนอ้ ย 1 เรื่อง/ปี × 100 จำ�นวนบคุ ลากรทางการพยาบาลทไี่ ด้รับการศกึ ษาอบรมในช่วงเวลาเดยี วกัน5. จำ�นวนอุบัติการณก์ ารเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ากการปฏิบัตงิ านของบุคลากร ทางการพยาบาล ●●เกณฑ์ 0% ●●แหลง่ ขอ้ มูล/วิธกี ารคำ�นวณ ตรวจสอบจากการรายงานอบุ ัตกิ ารณ์6. ร้อยละความพึงพอใจในงาน/บรรยากาศของบุคลากรทางการพยาบาล ●●เกณฑ์ ≥ 80% ●●แหล่งข้อมูล/วธิ ีการค�ำ นวณผลรวมของคะแนนความพงึ พอใจในงาน/บรรยากาศของบคุ ลากรทางการพยาบาล × 100 ผลรวมคะแนนเตม็ ของแบบสอบถามมาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
52 7. ร้อยละของหน่วยบรกิ ารพยาบาลนำ�องคค์ วามรู้/วิจัย/เทคโนโลยี ทางการพยาบาลมาประยุกต์ใช้ในการพยาบาล ●●เกณฑ์ ≥ 80% ●●แหล่งข้อมูล/วิธกี ารค�ำ นวณ จำ�นวนหนว่ ยบรกิ ารพยาบาลทีม่ ีรายงานนำ�องค์ความร้/ู วจิ ัย/เทคโนโลยที างการพยาบาลมาประยกุ ตใ์ ช้ในการพยาบาล × 100 จำ�นวนหนว่ ยบริการพยาบาลท้งั หมด 8. ร้อยละของบคุ ลากรทางการพยาบาลที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน จริยธรรมวชิ าชีพ ●●เกณฑ์ ≥ 100% ●●แหล่งข้อมูล/วธิ ีการคำ�นวณ จำ�นวนบุคลากรทางการพยาบาลท่ผี า่ นการประเมนิ ตามเกณฑ์มาตรฐานจรยิ ธรรมวชิ าชพี × 100 จำ�นวนบุคลากรทางการพยาบาลท้งั หมด มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
3บทที่ มาตรฐานการบริการ พยาบาลในชุมชน มาตรฐานการบริการพยาบาลในชุมชน เป็นเคร่ืองมือสำ�คัญของ พยาบาลในชุมชนท่ีใช้ในการกำ�หนดกิจกรรมการพยาบาลในชุมชน เพ่ือให้บริการพยาบาลเกิดผลสัมฤทธ์ิสูงสุดตามความคาดหวังและตาม บริบทของแต่ละพนื้ ที่ นอกจากน้ียังสามารถใช้เปน็ เครือ่ งมือในการประเมิน ตนเองเบอ้ื งตน้ เพ่อื นำ�ไปส่กู ารพฒั นาการจัดบรกิ ารพยาบาลท่ีมคี ุณภาพ มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลทก่ี �ำ หนดขน้ึ น้ี สาระส�ำ คญั ประกอบดว้ ย 2 สว่ นคือ 1. เนอ้ื หามาตรฐานการบรกิ ารการพยาบาล จ�ำ แนกตามการจดั บรกิ าร พยาบาลแบ่งเปน็ 3 หมวด 11 มาตรฐานบริการพยาบาล ดังน้ี หมวดท่ี 1 การจัดบริการพยาบาลในชุมชน เป็นการกำ�หนด มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล ตามการพยาบาลสขุ ภาพของกลมุ่ ประชาชน ประกอบดว้ ย 9 มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล ได้แก่ 1. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลอนามยั หญิงต้งั ครรภ์ 2. มาตรฐานการบริการพยาบาลมารดาและทารกหลงั คลอด 3. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลเดก็ ปฐมวยั 0 - 5 ปี 4. มาตรฐานการบริการพยาบาลเดก็ วยั เรยี นและวัยรุ่น 5. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลกล่มุ วัยท�ำ งาน 6. มาตรฐานการบริการพยาบาลผู้สงู อายุ
54 7. มาตรฐานการบริการพยาบาลผปู้ ว่ ยระยะสุดท้าย 8. มาตรฐานการบริการพยาบาลกลมุ่ ประชากรย้ายถนิ่ 9. มาตรฐานการบริการพยาบาลผ้ปู ่วยที่ต้องดูแลพิเศษ หมวดที่ 2 การจดั บรกิ ารพยาบาลในสถานบรกิ าร เปน็ การก�ำ หนดมาตรฐานการบรกิ าร พยาบาลตามการพยาบาลท่ใี หก้ บั ประชาชนในสถานบรกิ าร ประกอบดว้ ย 1 มาตรฐานคือ 10. มาตรฐานการบริการพยาบาลตรวจรกั ษาโรคเบ้อื งต้น หมวดที่ 3 การจดั บรกิ ารพยาบาลตอ่ เนอื่ ง เปน็ การก�ำ หนดมาตรฐานการบรกิ ารพยาบาล ตามบริการพยาบาลท่ีให้แก่ประชาชนในชุมชน เพ่ือให้เกิดความต่อเนื่องในการดูแล ประกอบด้วย 1 มาตรฐาน 11. มาตรฐานการบริการพยาบาลผู้ป่วยทบี่ า้ น 2. เกณฑช์ วี้ ดั คณุ ภาพการพยาบาล เปน็ ผลของการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามมาตรฐานการบรกิ าร การพยาบาล จะเปน็ ตวั สะทอ้ นผลลพั ธใ์ หป้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชน ซง่ึ จะก�ำ หนดขน้ึ ในทกุ มาตรฐาน การบริการพยาบาล หมวดท ่ี 1 การจดั บรกิ ารพยาบาลในชุมชน Ø1. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลหญิงต้ังครรภ์ การบริการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์เป็นบริการพยาบาลที่ให้แก่หญิงต้ังครรภ์ต้ังแต่ระยะเร่ิม ตั้งครรภ์จนคลอด ครอบคลุมหญิงตั้งครรภ์ทั้งภาวะปกติและผู้มีภาวะเส่ียงทั้งรายใหม่และรายเก่า โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์และปลอดภัยไม่มีภาวะแทรกซ้อนท่ีสามารถ ปอ้ งกนั ไดใ้ นขณะตงั้ ครรภ์ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพหญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละครอบครวั ใหส้ ามารถดแู ลตนเอง ขณะตั้งครรภ์ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและสนบั สนนุ ใหเ้ ลย้ี งลูกด้วยนมแม่ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
55 มาตรฐานการบริการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์เป็นข้อกำ�หนดให้พยาบาลในชุมชนนำ�ไปปฏบิ ตั ิในการดแู ลหญงิ ตั้งครรภ์ประกอบดว้ ย 11 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 การประเมินภาวะสขุ ภาพ มาตรฐานท่ี 2 การวินิจฉัยการพยาบาล มาตรฐานท่ี 3 การวางแผนการพยาบาล มาตรฐานที่ 4 การปฏบิ ัติการพยาบาล มาตรฐานที่ 5 ประเมินผลการปฏิบตั กิ ารพยาบาล มาตรฐานท่ี 6 การดูแลตอ่ เนือ่ ง มาตรฐานที่ 7 การสร้างเสริมสขุ ภาพ มาตรฐานที่ 8 การคุ้มครองภาวะสุขภาพ มาตรฐานท่ี 9 การให้ข้อมลู และความรู้ด้านสุขภาพ มาตรฐานท่ี 10 การพทิ กั ษส์ ิทธผิ ู้ปว่ ย มาตรฐานที่ 11 การบันทกึ ทางการพยาบาล 2. เกณฑช์ ้วี ัดคณุ ภาพการบริการพยาบาลหญงิ ตั้งครรภ์ ประกอบด้วย 2.1 ร้อยละของหญิงตงั้ ครรภไ์ ด้รับการเฝ้าระวงั ภาวะสขุ ภาพ 2.2 ร้อยละของหญิงตง้ั ครรภ์ทีม่ ภี าวะเสี่ยง/ภาวะแทรกซอ้ นไดร้ ับการดแู ล 2.3 รอ้ ยละของหญงิ ตง้ั ครรภท์ ี่มปี ญั หาด้านจิตใจได้รบั การดแู ล 2.4 รอ้ ยละของหญิงตงั้ ครรภท์ ีฝ่ ากครรภ์ครบตามเกณฑ์ 2.5 รอ้ ยละของหญิงตง้ั ครรภ์ทมี่ ีภาวะแทรกซอ้ นสามารถตงั้ ครรภ์ครบคลอด(รายละเอยี ดเกณฑช์ ี้วัดคุณภาพการบริการพยาบาลหญิงต้ังครรภอ์ ยู่ในบทที่ 4 หนา้ 202)มาตรฐานการบริการพยาบาลหญิงตง้ั ครรภ์ØØมาตรฐานท ี่ 1 การประเมินภาวะสุขภาพ พยาบาลวชิ าชพี ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของหญงิ ตงั้ ครรภ์ เพอ่ื คน้ หาภาวะเสยี่ งของหญงิ ตงั้ ครรภ์ทต่ี อ้ งการการดแู ล รวมทง้ั ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปน็ ปจั จยั เสย่ี งตอ่ สขุ ภาพของหญงิ ตง้ั ครรภใ์ นชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
56 แนวทางปฏิบัติ 1. ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของหญงิ ตง้ั ครรภท์ ง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย จติ สงั คมในระยะแรกรบั 1.1 ดา้ นรา่ งกาย รวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกบั 1.1.1 การซักประวัติ เก่ียวกับประวัติส่วนตัว การเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน โรคทาง พนั ธกุ รรม การต้ังครรภ์ในอดีตและปจั จบุ ัน 1.1.2 การตรวจรา่ งกายทวั่ ไป เชน่ การชง่ั นา้ํ หนกั การวดั สว่ นสงู และการวดั ความดนั โลหติ ตรวจตา ตรวจฟนั ตรวจต่อมไทรอยด์ เปน็ ต้น 1.1.3 การตรวจทางสูติกรรม เช่น การตรวจครรภ์และทารกในครรภ์ การตรวจภายใน การตรวจเต้านมและหัวนม เป็นต้น 1.1.4 การเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตามแนวทางปฏบิ ตั ขิ องสงิ่ สง่ ตรวจแตล่ ะชนดิ เช่น การตรวจปสั สาวะ, การตรวจเลือด เป็นตน้ 1.2 ดา้ นภาวะสุขภาพจติ ได้แก่ การประเมนิ ความเครยี ด การประเมินภาวะซมึ เศร้า 1.3 ด้านสังคม รวบรวมขอ้ มูลเกยี่ งกบั 1.3.1 สถานภาพสมรส ฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคม 1.3.2 ความพร้อมและความต้องการมีบตุ ร 1.3.3 สมั พันธภาพในครอบครวั และการสนบั สนนุ ทางสังคมของบุคคลในครอบครวั 1.3.4 การรบั รตู้ ่อบทบาทการเป็นมารดาและภาพลักษณข์ ณะตง้ั ครรภ์ 1.3.5 ความเชอื่ ทางศาสนาและวฒั นธรรม 1.3.6 ภาวะจิตใจท่ีเปลี่ยนแปลง 1.4 ด้านส่ิงแวดล้อม ประเมินในเรื่องสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ส่ิงอำ�นวยความสะดวก ความปลอดภัยของชวี ติ และทรพั ยส์ นิ 2. ประเมินค้นหาภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลอาการผิดปกติ อาการ ท่เี ปลยี่ นแปลงของหญิงตงั้ ครรภ์ และแนวทางคดั กรองภาวะเส่ยี ง 3. ประเมินความรู้เก่ยี วกับการปฏิบตั ิตนขณะต้งั ครรภข์ องหญงิ ตงั้ ครรภ์และครอบครวั 4. การบันทึกข้อมูลการประเมินผลภาวะสุขภาพ รวมทั้งปัญหา/ความต้องการการดูแลตาม แบบฟอรม์ การบันทึกภาวะสขุ ภาพของมารดาและทารกในครรภ์อย่างต่อเนอ่ื ง ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั 1. หญงิ ตงั้ ครรภไ์ ดร้ บั การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการบรกิ ารพยาบาลอยา่ งครบถว้ น ท้ังทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณแ์ ละสงั คม ครอบคลมุ และต่อเนอ่ื ง 2. หญิงตัง้ ครรภไ์ ดร้ บั การเฝา้ ระวงั ภาวะสขุ ภาพตามภาวะการเปลย่ี นแปลงเป็นรายบคุ คล มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
57ØØมาตรฐานที ่ 2 การวนิ ิจฉัยภาวะสุขภาพ พยาบาลวชิ าชพี รวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ ระบภุ าวะสขุ ภาพและความตอ้ งการการดแู ลของหญิงตง้ั ครรภ์แนวทางปฏบิ ัติ 1. วิเคราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ด้จากการประเมนิ เพ่ือจ�ำ แนกความต้องการการดแู ล ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 กลุ่มที่มภี าวะปกติ 1.2 กลมุ่ ท่ีมภี าวะเส่ยี ง 2. กำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลให้ครอบคลุมความรุนแรงตามความเร่งด่วนของปัญหาและความต้องการ เพ่อื ให้ได้รับการตอบสนองอย่างเหมาะสม 3. ปรับหรือกำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลใหม่ เมื่อมีข้อมูลบ่งช้ี หรือเม่ือพบสาเหตุของปัญหาใหม่ 4. บนั ทึกขอ้ วนิ ิจฉัยทางการพยาบาลใหค้ รอบคลุมปญั หาและความตอ้ งการ 5. ประสานความร่วมมือและส่ือสารปัญหา/ความต้องการ ไปยังแหล่งประโยชน์ต่าง ๆ รวมท้ังหน่วยงานท่เี กีย่ วข้องเพ่ือเข้ามารว่ มดำ�เนนิ การชว่ ยเหลืออย่างตอ่ เน่อื งผลลพั ธท์ ค่ี าดหวงั หญิงตง้ั ครรภ์ไดร้ ับการวินิจฉัยปญั หาความต้องการอย่างครบถว้ นตลอดระยะเวลาการตงั้ ครรภ์เพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการพยาบาลท่กี ำ�หนดไว้ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
58 ØØมาตรฐานท ่ี 3 การวางแผนการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี วางแผนการพยาบาลใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดแู ลของ หญงิ ตง้ั ครรภ์ รว่ มกบั ผรู้ บั บรกิ าร ครอบครวั ชมุ ชน ทมี สขุ ภาพและภาคเี ครอื ขา่ ยทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยมงุ่ ให้ เกดิ ผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง แนวทางปฏิบตั ิ 1. ประสานความรว่ มมอื กบั หญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละครอบครวั ทมี่ ปี ญั หา ชมุ ชน ทมี สขุ ภาพและองคก์ ร ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กำ�หนดแผนการดูแล ชว่ ยเหลอื อย่างเหมาะสมตามขอ้ วินิจฉัย 2. กำ�หนดแผนการพยาบาลท่ีส่งเสริมสนับสนุนใหหญิงต้ังครรภ์สามารถดูแลสุขภาพตนเอง เพ่ือปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนขณะตงั้ ครรภ์ ดงั น้ี 2.1 การปฏิบตั ิตวั ในระยะตั้งครรภ์ตามไตรมาส และตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2.2 การสง่ เสรมิ พฒั นาการทารกในครรภ์ 2.3 การเตรียมความพรอ้ มเพ่ือการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ 2.4 การเตรยี มตัวคลอดอยา่ งปลอดภยั 2.5 การสง่ เสรมิ สมั พนั ธภาพภายในครอบครวั และการสง่ เสรมิ บทบาทสามใี นการดแู ลภรรยา ระหวา่ งต้ังครรภ์ ขณะคลอด และหลังคลอด 2.6 การปรึกษาเพ่ือช่วยเหลอื การตัดสินใจ การปรบั ตวั ของหญิงตง้ั ครรภ์และครอบครัว 2.7 การจดั กจิ กรรมกลมุ่ เพอื่ ช่วยการปรบั ตวั ของหญงิ ตงั้ ครรภ์ตลอดระยะการตัง้ ครรภ์ 2.8 การสง่ ผู้ป่วยปรึกษาขอความชว่ ยเหลือจากผเู้ ชย่ี วชาญหรอื ทมี สขุ ภาพอ่ืน 3. มอบหมายผรู้ บั ผดิ ชอบการดแู ลชว่ ยเหลอื หญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละครอบครวั ทม่ี ปี ญั หาสขุ ภาพตาม ความเหมาะสม 4. กำ�หนดกลวิธีในการติดตามผลการปฏิบัติตามแผน โดยเปิดโอกาสให้หญิงต้ังครรภ์และ ครอบครวั มสี ว่ นรว่ มปรบั เปลย่ี นแผนการพยาบาลใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงปญั หาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 5. ปรับแผนการพยาบาลให้สอดคลอ้ งกับปญั หา การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง 6. การส่ือแผนการพยาบาลให้ทีมพยาบาลและทีมสขุ ภาพเขา้ ใจท่วั ถงึ 7. บนั ทกึ การวางแผนการพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร ครอบคลมุ ปญั หาและความต้องการ ผลลพั ธ์ที่คาดหวัง หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ บั การวางแผนการพยาบาลทสี่ อดคลอ้ งกบั ปญั หาและความตอ้ งการตลอดระยะ การตั้งครรภ์ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
59ØØมาตรฐานที ่ 4 การปฏบิ ตั ิการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี ใหก้ ารพยาบาลหญงิ ตงั้ ครรภ์ สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดแู ลตามแผนที่กำ�หนดแนวทางปฏิบัติ 1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา เป้าหมาย ผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง และการปฏิบัติการพยาบาลโดยให้หญิงต้งั ครรภแ์ ละครอบครวั มีส่วนรว่ มตัดสินใจและก�ำ หนดกจิ กรรมการปฏิบตั กิ ารพยาบาล 2. ปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือตอบสนองปัญหาและความต้องการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตามแนวทางการดแู ลในแตล่ ะไตรมาส และตามเกณฑ์คุณภาพ 3. ติดตามเฝ้าระวังความก้าวหน้า ภาวะแทรกซ้อนหรืออันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์อย่างต่อเน่อื งจากข้อมลู และการประเมนิ สุขภาพ 4. กรณีพบภาวะผิดปกติหรือเส่ียงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งข้อมูลปรึกษา/ส่งต่อให้กับสถานบรกิ ารเพ่ือการรกั ษาทเี่ หมาะสมและทนั เวลา 5. กรณหี ญงิ ตงั้ ครรภ์ทีม่ ภี าวะเส่ียงให้ปฏิบัตดิ งั น้ี 5.1 จัดการส่งต่อพบแพทย์ 5.2 ติดตามประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อเฝา้ ระวงั ปัญหาที่อาจเกิดข้นึ 5.3 ให้คำ�ปรึกษา เพอ่ื ให้ก�ำ ลังใจ การตดั สินใจ และการปรับตวั ทเีึ่ หมาะสม 5.4 ดูแลและประสาน การส่งต่อกรณีมีความผดิ ปกติเกิดขนึ้ 6. ปฏิบัติการพยาบาล เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์ การปรับตัวของหญงิ ตั้งครรภ์ และการเตรยี มบทบาทการเป็นมารดา ดังนี้ 6.1 ใหข้ ้อมูลความรูเ้ รอ่ื งการดูแลสขุ ภาพตนเองระหว่างตั้งครรภ์ ในแต่ละไตรมาส ทง้ั ภาวะLow Risk และภาวะ High Risk โดยคำ�นึงถงึ ปญั หาและความต้องการของผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย 6.2 จดั กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้สามแี ละครอบครวั มสี ว่ นรว่ มดแู ลสุขภาพหญงิ ตง้ั ครรภ์ 6.3 ใหก้ ารปรกึ ษาเพอื่ ชว่ ยเหลอื หญงิ ตงั้ ครรภท์ ม่ี ปี ญั หาดา้ นการปรบั ตวั หรอื สง่ ตอ่ ในกรณที ่ีปัญหานน้ั ยงุ่ ยากซับซ้อน 6.4 ใหค้ �ำ แนะนำ�ในการจดั สภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสรมิ ใหห้ ญงิ ตง้ั ครรภ์ดแู ลตนเองได้ 7. นัดตรวจครรภ์ตามแนวทางปฏิบัติในแต่ละไตรมาส หรือการฝากครรภ์คุณภาพ พร้อมกับตดิ ตามเพื่อใหม้ ีการฝากครรภ์อย่างต่อเนือ่ ง 8. บันทึกการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ตามแนวทางท่ีกำ�หนด มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
60 ผลลพั ธ์ท่คี าดหวัง 1. หญงิ ต้ังครรภ์ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนทปี่ ้องกันได้ 2. หญิงตัง้ ครรภ์สามารถปรับตัวและดูแลสขุ ภาพตนเองระหว่างต้งั ครรภจ์ นครบคลอดได้ ØØมาตรฐานที่ 5 การประเมนิ ผลการปฏิบตั กิ ารพยาบาล พยาบาลวิชาชีพประเมินผลลัพธ์การปฏิบัติการพยาบาล เพ่ือปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล ใหส้ อดคลอ้ งกบั ปญั หา และความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทกุ รายเปน็ ระยะตามแผนการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังน้ี 1.1 การตดิ ตามความก้าวหน้าของการตั้งครรภ์และเฝา้ ระวังภาวะสขุ ภาพของหญงิ ตงั้ ครรภ์ 1.2 การตอบสนองและการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนหลังการให้การพยาบาลเปรียบเทียบกับ เปา้ หมาย 1.3 ความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตนท่ีถูกต้องในการดูแลสุขภาพตนเองพร้อมการ จัดการกับปัญหา 1.4 ความร่วมมือของหญิงต้ังครรภ์ สามี และครอบครวั ต่อการปฏิบตั กิ ารพยาบาล 1.5 การจดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกับหญิงตั้งครรภใ์ นแต่ละไตรมาส 2. เปดิ โอกาสใหห้ ญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละครอบครวั ชมุ ชน และองคก์ รทเี่ กยี่ วขอ้ งรว่ มก�ำ หนดแนวทาง ในการประเมินผลการปฏบิ ัติการพยาบาล 3. ประชมุ /ปรกึ ษารว่ มกับทมี สขุ ภาพ เพ่อื วิเคราะหห์ ากลวิธี แนวทางการปรบั ปรุงการพยาบาล ให้สอดคลอ้ งกับปัญหาและความต้องการของหญงิ ต้งั ครรภ์ 4. บนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและ การด�ำ เนนิ งานการพยาบาลหญงิ ตงั้ ครรภอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวัง หญิงตั้งครรภ์ได้รับการติดตามประเมินผลปัญหาสำ�คัญหลังการปฏิบัติการพยาบาลได้อย่าง ครบถ้วน มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
61ØØมาตรฐานท ี่ 6 การดูแลตอ่ เน่ือง พยาบาลวชิ าชพี ตดิ ตามดแู ลหญงิ ตง้ั ครรภอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ใหก้ ารตง้ั ครรภด์ �ำ เนนิ ถงึ การครบคลอดอยา่ งปลอดภัยแนวทางปฏิบัติ 1. มรี ะบบสง่ ตอ่ ขอ้ มลู สขุ ภาพของหญงิ ตง้ั ครรภอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งแกบ่ คุ ลากร และทมี สขุ ภาพทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอื่ ให้การดแู ลต่อเนือ่ ง 2. ติดตามดูแลหญิงต้ังครรภ์ ตามแผนการจำ�หน่ายและแนวทางเพ่ือให้การตั้งครรภ์ดำ�เนินไปตามปกตแิ ละมีความปลอดภัยท้งั มารดาและทารกในครรภ์ 3.ส่งต่อ/ปรึกษา กรณมี ีภาวะผดิ ปกติเกิดขึน้ 5. สง่ เสริมให้หญิงตัง้ ครรภฝ์ กึ ดูแลสขุ ภาพตนเอง และเตรยี มความพรอ้ มเพื่อการคลอด 6. สง่ เสรมิ ใหส้ ามแี ละครอบครั มส่ี ว่ นรว่ มในการดแู ลสขุ ภาพของหญงิ ตง้ั ครรภอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และเปดิ โอกาสใหร้ ว่ มรบั รแู้ ละตดั สนิ ใจเลอื กชอ่ งทางรบั บรกิ ารเพอ่ื สนบั สนนุ การดแู ลต่อเน่ือง 7. ตดิ ตามการตรวจตามนดั อย่างต่อเนอ่ื ง 8. บันทึกผลการติดตามดูแลต่อเนือ่ งใหค้ รบถว้ นผลลพั ธ์ที่คาดหวงั หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลต่อเนื่องตามไตรมาสของการตั้งครรภ์และตามภาวะสุขภาพที่ตรวจพบ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
62 ØØมาตรฐานท่ ี 7 การสร้างเสริมสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพออกแบบกิจกรรมเพื่อเพ่ิมสมรรถนะให้หญิงต้ังครรภ์มีความสามารถ ควบคุม ปจั จัยที่เป็นตัวก�ำ หนดภาวะสขุ ภาพและพัฒนาใหเ้ กดิ ภาวะสุขภาพที่ดี แนวทางปฏิบตั ิ 1. ใชข้ อ้ มลู วนิ จิ ฉยั ความตอ้ งการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นรา่ งกายและจติ ใจของหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละ ครอบครัว 2. กำ�หนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยผสมผสานเข้ากับ แผนการดูแลของทมี สุขภาพ 3. จัดโปรแกรม/ดูแลการสร้างเสริมสุขภาพท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมให้สอดคล้องกับ ปัญหาและความต้องการของหญงิ ต้งั ครรภแ์ ต่ละไตรมาส ได้แก่ 3.1 การออกก�ำ ลงั กายอยา่ งเหมาะสมตามอายกุ ารตง้ั ครรภแ์ ตล่ ะไตรมาสและตามภาวะสขุ ภาพ 3.2 การปฏิบัติกิจกรรมประจำ�วัน เช่น การอาบน้ําเพื่อกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์ การรับประทานอาหาร และการขับถา่ ย เป็นต้น 3.3 การผ่อนคลายและการกระตุ้นพัฒนาการทารก เช่น เปิดดนตรี การฝึกหายใจพร้อมกับ การลบู ท้อง เป็นตน้ 3.4 การจัดส่ิงแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกับหญิงต้ังครรภ์ 4. ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของภาวะสขุ ภาพหญิงตั้งครรภ์ ทไ่ี ด้รบั การสร้างเสรมิ สุขภาพ ทกุ ครง้ั 5. ปรับเปลย่ี นแผนการสร้างเสรมิ สุขภาพดา้ นร่างกายและจติ ใจใหเ้ ป็นปจั จุบัน 6. บันทกึ ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการสร้างเสริมสขุ ภาพ ผลลัพธ์ทคี่ าดหวัง หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ดร้ บั การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพอยา่ งเหมาะสมตามไตรมาสของการตง้ั ครรภ์ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
63ØØมาตรฐานที ่ 8 การค้มุ ครองภาวะสุขภาพ พยาบาลวชิ าชพี จดั ท�ำ ระบบปอ้ งกนั ความเสย่ี ง ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ หรอื มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพ เพอื่ ให้หญงิ ตั้งครรภป์ ลอดภยั จากอันตรายทีป่ ้องกนั ได้แนวทางปฏบิ ตั ิ 1.ใชข้ อ้ มลู จากการประเมนิ ความเสย่ี งดา้ นชวี ภาพ ดา้ นเคมี ดา้ นกายภาพ และดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทางสังคมท่ีมผี ลกระทบต่อสขุ ภาพดา้ นร่างกายและจติ ใจของหญิงตง้ั ครรภอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง 2. วางแผนจัดกิจกรรมเพ่ือคุ้มครองภาวะสุขภาพจากอันตราย ด้านร่างกายและจิตใจ ทั้งดา้ นชวี ภาพ ดา้ นกายภาพและดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม โดยผสมผสานเขา้ กบั แผนการพยาบาลและบรบิ ทของชุมชน 3. จดั กิจกรรมเพอื่ การคมุ้ ครองภาวะสขุ ภาพ ในประเด็นต่อไปนี้ 3.1 การจัดสิง่ แวดลอ้ ม 3.2 การปอ้ งกันการตดิ เชื้อ 3.3 การป้องกนั อันตรายจากการตรวจ/หตั ถการ/เคร่ืองมือพิเศษ/ยา 3.4 การปอ้ งกัน การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ อุบัตกิ ารณ์ทไี่ ม่พงึ ประสงค์ 3.5 การป้องกนั อนั ตรายท่ีคุกคามตอ่ ชีวติ ของหญงิ ตงั้ คครภ์ 4. ทบทวนและค้นหาความเส่ยี ง ทีอ่ าจเกิดขนึ้ กบั บคุ คล ครอบครวั และชุมชนอยา่ งสมา่ํ เสมอ 5. ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมเพอ่ื คุ้มครองภาวะสขุ ภาพ 6. บันทกึ กจิ กรรมการปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือการคุม้ ครองภาวะสุขภาพผลลพั ธท์ ีค่ าดหวงั หญงิ ตั้งครรภไ์ ด้รับการคมุ้ ครองภาวะสุขภาพอย่างเหมาะสมและปลอดภัยตามสภาพปัญหา มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
64 ØØมาตรฐานท ่ี 9 การใหข้ อ้ มูลและความรู้ดา้ นสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพจัดระบบบริการให้ข้อมูล ความรู้ และให้คำ�ปรึกษาที่ตรงตามความต้องการ จ�ำ เป็น เพ่อื การสง่ เสริมการดแู ลสุขภาพของหญิงตง้ั ครรภ์ แนวทางปฏบิ ัติ 1. ค้นหาความต้องการจำ�เป็น รวมทั้งประเมินความสามารถในการเรียนรู้เพื่อใช้วางแผนให้ ความรู้ด้านสุขภาพแก่หญงิ ตง้ั ครรภ์และครอบครัว 2. จดั ระบบและแนวทางการใหข้ อ้ มลู ความรขู้ องหญงิ ตง้ั ครรภ์ สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและ ระยะของการตั้งครรภ์ โดยเปดิ โอกาสใหห้ ญิงต้ังครรภ์/ครอบครวั มสี ว่ นร่วม 3. เตรียมเอกสาร สื่อ การให้ข้อมูลและความรู้ แบบมีส่วนร่วมกับทีมสุขภาพและหน่วยงานที่ เกยี่ วข้อง 4. จดั กจิ กรรมการใหข้ อ้ มลู และความรดู้ า้ นสขุ ภาพ แบบมสี ว่ นรว่ มกบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี และ หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ในเรือ่ งต่อไปน้ี 4.1 การปฏบิ ัตติ วั ในระยะต้ังครรภต์ ามไตรมาส 4.2 การปฏิบตั ติ วั เม่ือมภี าวะเสย่ี งของการตง้ั ครรภ์ 4.3 การสง่ เสรมิ สมั พนั ธภาพในครอบครวั และสง่ เสรมิ บทบาทสามใี นการดแู ลภรรยาระหวา่ ง ต้งั ครรภ์ ขณะคลอด และหลงั คลอด 4.4 ขอ้ ดีข้อเสียของการคลอดแบบตา่ ง ๆ 4.5 แหลง่ ประโยชนข์ องชุมชนท่ีสามารถขอความช่วยเหลือได้ 5. ให้คำ�ปรึกษา และเสริมสร้างพลังอำ�นาจให้กับหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเก่ียวกับการดูแล ตนเองและการส่งเสรมิ พฒั นาการทารกในครรภอ์ ย่างตอ่ เน่ือง 6. เปดิ โอกาสและมชี อ่ งทางการเขา้ ถงึ การรบั รขู้ อ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพจากบรกิ ารประเภทตา่ ง ๆ เชน่ สื่อบุคคล สอ่ื วสั ดุ สอื่ อุปกรณ์ โปสเตอร์ วีดที ศั น์ และสือ่ อ่ืน ๆ 7. ประเมินผลการตอบสนองตอ่ การให้ขอ้ มูลและความรดู้ ้านสุขภาพ 8. บนั ทึกการใหข้ อ้ มลู และความรูด้ ้านสขุ ภาพตามแบบฟอรม์ ท่ีก�ำ หนด ผลลัพธ์ทค่ี าดหวงั 1. หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการบริการ การเจ็บป่วย และการรักษา พยาบาล 2. หญิงตัง้ ครรภ์และครอบครวั มีความรคู้ วามเข้าใจการปฏบิ ตั ิตน เพื่อการดูแลสุขภาพตนเอง มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
65ØØมาตรฐานที่ 10 การพทิ กั ษ์สทิ ธผิ ู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพให้การดูแลกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับสิทธ์ิท่ีพึงได้ในการใช้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนการพิทักษ์สิทธิตามขอบเขต บทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมแนวทางปฏบิ ตั ิ 1. การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลกบั บคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน โดยยดึ หลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาล 2. การให้ข้อมูลแก่บุคคล ครอบครัวและชุมชนอย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับ ภาวะสุขภาพ ผลการตรวจประเมนิ สภาพร่างกาย สทิ ธผิ ู้ปว่ ย แผนการพยาบาลและแหล่งประโยชน์ในการดูแลสขุ ภาพ 3. ปฏิบตั กิ ารพยาบาลโดยใชแ้ นวทางปฏบิ ัติ เกีย่ วกบั การพทิ กั ษ์สิทธผิ ูใ้ ช้บริการ ดงั น้ี 3.1 การใหข้ อ้ มูล/บอกกลา่ ว ยินยอมการรกั ษา/ข้อมลู ที่จ�ำ เปน็ แกผ่ ู้ใช้บรกิ าร 3.2 การแจ้งชอ่ื - สกลุ และประเภทของผู้ประกอบวชิ าชีพทใ่ี ห้บรกิ าร 3.3 การรกั ษาความเป็นส่วนตวั และความลับ เกย่ี วกับ 3.3.1 ข้อมูลเวชระเบยี นรวมทง้ั สทิ ธิการใช้และเข้าถึงข้อมูล 3.3.2 การเผยแพร่ขอ้ มลู เพ่ือใช้ในการศึกษา เรยี นร/ู้ วิจัย 3.3.3 การเปดิ เผยร่างกาย จากการให้บริการรกั ษาพยาบาล 3.3.4 การจดั สภาพแวดลอ้ มทไ่ี มข่ ัดแย้งกับความเช่ือ/วฒั นธรรม 4. ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความเสมอภาค ใหเ้ กยี รตแิ ละความเทา่ เทยี มกนั โดยค�ำ นงึ ถงึ สทิ ธิ ความเปน็ มนษุ ย์และปจั เจกบุคคล 5. เปิดโอกาสให้บุคคลและครอบครัวได้ซักถามประเด็นสงสัย และมีส่วนร่วมตัดสินใจเลือกวิธีการดูแลรักษาพยาบาล 6. กรณีหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวไม่สมัครใจยินยอมรักษาต้องให้คำ�แนะนำ�การดูแลตนเองและทบทวนความเข้าใจเก่ียวกับอาการผิดปกติและความจำ�เป็น ในการกลับเข้ารับรักษาพยาบาลในสถานบรกิ ารทีผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารเลือกผลลัพธ์ทค่ี าดหวัง 1. หญงิ ตัง้ ครรภไ์ ด้รบั การพิทักษ์สิทธอิ ยา่ งเหมาะสม 2. หญิงต้งั ครรภ์ได้รบั บริการจากบคุ ลากรทางการพยาบาลโดยไมม่ กี ารละเมดิ สิทธิของผู้ป่วย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
66 ØØมาตรฐานที ่ 11 การบนั ทึกทางการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี และบคุ ลากรทมี สขุ ภาพ บนั ทกึ ขอ้ มลู ทางการพยาบาลและขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั หญงิ ตงั้ ครรภ์ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรอยา่ งเปน็ ระบบ เพอื่ สอื่ สารขอ้ มลู ปญั หาสขุ ภาพและการดแู ลของ พยาบาลกับทมี งานและทีมสขุ ภาพท่เี กยี่ วข้อง และใช้เปน็ ขอ้ มลู ทางกฎหมาย แนวทางปฏิบตั ิ 1. ก�ำ หนดการบนั ทกึ ทางการพยาบาลทแ่ี สดงถงึ การใชก้ ระบวนการพยาบาล ครอบคลมุ เกย่ี วกบั 1.1 ข้อมูลการคัดกรองเบ้ืองตน้ /การประเมนิ ปญั หาต่อเน่ือง 1.2 การวนิ จิ ฉยั ทางการพยาบาล/ปัญหาการตอบสนองตอ่ ภาวะสขุ ภาพ 1.3 การวางแผนการพยาบาล 1.4 การชว่ ยเหลอื พยาบาลเบอ้ื งตน้ /การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล/การเตรยี มพรอ้ มกอ่ นสง่ ตอ่ /เคลอ่ื น ยา้ ย/จ�ำ หนา่ ย 1.5 การประเมนิ ผล/การตอบสนองตอ่ การปฏิบัตกิ ารพยาบาล 2. บันทึการพยาบาลให้ครอบคลุม ถูกต้องและต่อเน่ือง ตลอดระยะของการต้ังครรภ์ ตาม แนวทางการบนั ทกึ ขอ้ มลู ทางการพยาบาล และขอ้ ความทบ่ี นั ทกึ ชดั เจน กะทดั รดั สามารถสอ่ื สารขอ้ มลู การดผู ลแกท่ ีมสุขภาพ 3. ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เช่ือถอื ไดข้ องขอ้ มลู ที่บนั ทกึ 4. น�ำ ผลการตรวจสอบคณุ ภาพการบนั ทึกไปพฒั นาการบันทึกทางการพยาบาล ผลลพั ธ์ที่คาดหวงั 1. มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู การใหบ้ รกิ ารดแู ลรกั ษาพยาบาล ไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน ครอบคลมุ กระบวนการ พยาบาล และสามารถใช้เป็นหลกั ฐานทางกฎหมายได้ 2 .บนั ทกึ การพยาบาล แสดงถงึ การเปลยี่ นแปลงของบคุ คล ตามอาการแสดงของโรคทด่ี ขี นึ้ /แย่ ลง อย่างตอ่ เน่ือง สามารถน�ำ มาวางแผนการจัดบริการพยาบาลได้ 3. บนั ทึกการพยาบาลสามารถสอื่ สารขอ้ มูลปัญหาและการดูแลระหว่างวิชาชีพทเี่ ก่ียวข้องได้ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
67Ø2. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลมารดาและทารกหลงั คลอด การบริการพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอดเป็นบริการพยาบาลท่ีให้แก่ มารดาและทารกหลังคลอดครอบคลุมระยะเวลา 6 สัปดาห์หลังคลอด มีเป้าหมายเพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดปลอดภัยไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่สามารถป้องกันได้ โดยส่งเสริมศักยภาพมารดาหลังคลอดและครอบครัวให้สามารถดูแลตนเองและบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการเล้ียงลูกด้วยนมแม่นานอย่างนอ้ ย 6 เดือน มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลมารดาและทารกหลงั คลอด ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื 1. มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด เป็นข้อกำ�หนดให้พยาบาลในชุมชนนำ�ไปปฏบิ ัตกิ ารดแู ลมารดาและทารกหลงั คลอดในชมุ ชน แบ่งเปน็ 11 มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี 1 การประเมินภาวะสุขภาพ มาตรฐานท่ี 2 การวินิจฉยั การพยาบาล มาตรฐานท่ี 3 การวางแผนการพยาบาล มาตรฐานท่ี 4 การปฏิบตั กิ ารพยาบาล มาตรฐานท่ี 5 ประเมินผลการปฏบิ ตั ิการพยาบาล มาตรฐานที่ 6 การดูแลตอ่ เนื่อง มาตรฐานท่ี 7 การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ มาตรฐานท่ี 8 การค้มุ ครองภาวะสุขภาพ มาตรฐานที่ 9 การให้ข้อมลู และความร้ดู ้านสขุ ภาพ มาตรฐานท่ี 10 การพิทกั ษ์สิทธผิ ูป้ ่วย มาตรฐานที่ 11 การบันทึกทางการพยาบาล 2. เกณฑ์ชีว้ ัดคณุ ภาพบริการพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด ประกอบดว้ ย 2.1 ร้อยละของมารดาและทารกหลังคลอดไดร้ ับการดแู ล 2.2 รอ้ ยละของมารดาและทารกหลังคลอดทีม่ ีภาวะแทรกซ้อนไดร้ บั การดแู ลต่อเน่ือง 2.3 ร้อยละของมารดาและทารกหลังคลอดไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนท่ปี ้องกนั ได้(รายละเอยี ดเกณฑช์ ี้วัดคุณภาพการบริการพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอดอยูใ่ นบทที่ 4หนา้ 204) มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
68 มาตรฐานการปฏิบตั ิการพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด ØØมาตรฐานที่ 1 การประเมนิ ภาวะสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ ประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกหลังคลอดเพื่อค้นหามารดาและ ทารกหลงั คลอดทม่ี ภี าวะเสยี่ ง มปี ญั หาสขุ ภาพทตี่ อ้ งการการดแู ล รวมทง้ั ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ ปจั จัยเสยี่ งต่อสุขภาพของมารดาและทารกหลังคลอดในชมุ ชน แนวทางปฏบิ ัติ 1.ประเมินภาวะสุขภาพของมารดาหลงั คลอดทั้งรา่ งกายและจิตสงั คม 1.1 ด้านรา่ งกาย รวบรวมข้อมูล โดย 1.1.1 การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติส่วนตัว การเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบันโรคทาง พนั ธกุ รรม ประวัตกิ ารต้ังครรภ์ในอดตี และปัจจุบัน ประวัตกิ ารคลอด ประวัตกิ ารวางแผนครอบครวั 1.1.2 การตรวจรา่ งกายทว่ั ไป เชน่ การชง่ั นา้ํ หนกั การวดั สว่ นสงู และการวดั ความดนั โลหติ 1.1.3 การตรวจทางนรเี วช เช่น การตรวจแผลฝีเยบ็ การตรวจเต้านมและหวั นม เป็นต้น 1.2 ดา้ นจิตสงั คม รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั 1.2.1 สถานภาพสมรส และฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคม 1.2.2 การรบั รู้ตอ่ บทบาทการเปน็ มารดาและภาพลกั ษณ์หลงั คลอด 1.2.3 สัมพันธภาพในครอบครวั และการสนบั สนุนทางสังคมของบุคคลในครอบครวั 1.2.4 ความพรอ้ มต่อบทบาทพอ่ แม่ 1.2.5 ความเชอ่ื ทางศาสนาและวัฒนธรรม 1.2.6 ภาวะจติ ใจท่ีเปลี่ยนแปลง 1.2.7 ประเมินความรเู้ กยี่ วกบั การปฏิบตั ิตนหลงั คลอด 1.3 ด้านสภาพแวดล้อมภายในบ้าน ส่ิงอำ�นวยความสะดวก ความปลอดภัยของชีวิตและ ทรัพยส์ ิน 2. ประเมนิ ภาวะสุขภาพของทารกหลงั คลอด โดย 2.1 การซกั ประวตั ิ ประวัติการคลอด โรคทางพนั ธุกรรม การรบั วัคซนี 2.2 การตรวจรา่ งกายทว่ั ไปเชน่ การตรวจดผู วิ หนงั รปู รา่ ง ความผดิ ปกติ รอยแผลจากวคั ซนี BCG การปิดของกะโหลกศีรษะ การชั่งนํ้าหนัก การวัดส่วนสูง การวัดรอบศีรษะ การตรวจ ดูสะดือ กราฟการเจริญเตบิ โต มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
69 2.3 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ เทยี บกับภาวะปกติ 2.4 ประเมินการดูดนมมารดาและระยะเวลาการได้รับนมแต่ละม้อื /วัน 3.บันทึกขอ้ มูลการประเมนิ ภาวะสุขภาพ/ปัญหา/ความต้องการ/การดูแลเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรผลลพั ธท์ ่ีคาดหวัง มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการประเมินภาวะสุขภาพและความต้องการ ทั้งด้านร่างกายจติ ใจ อารมณ์ สังคม และส่ิงแวดล้อมØØมาตรฐานท่ ี 2 การวนิ ิจฉัยภาวะสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือระบุภาวะสุขภาพและความต้องการการดูแลของมารดาและทารกหลังคลอดแนวทางปฏบิ ัติ 1. วิเคราะห์ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการประเมนิ เพ่อื จำ�แนกความตอ้ งการการดแู ลดังตอ่ ไปน้ี 1.1 กลุ่มมารดาและทารกหลังคลอดทีม่ ภี าวะปกติ 1.2 กลมุ่ มารดาและทารกหลงั คลอดท่มี ภี าวะเสีย่ งตอ่ สขุ ภาพ 2. กำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลให้ครอบคลุมปัญหาและความต้องการของมารดาและทารกหลังคลอดในชุมชน 3. ปรบั หรือกำ�หนดข้อวินจิ ฉยั ทางการพยาบาลใหม่ เมอื่ มีข้อมูลบง่ ช่้ี 4. บันทกึ ข้อวนิ ิจฉยั ทางการพยาบาลใหค้ รอบคลมุ ปัญหาและความต้องการ 5. ประสานความรว่ มมอื และสอื่ สารปญั หา/ความตอ้ งการ ไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งและแหลง่ประโยชน์ตา่ ง ๆ รวมทงั้ เพื่อดำ�เนนิ การชว่ ยเหลอื อยา่ งตอ่ เนื่องผลลัพธท์ ีค่ าดหวัง 1. มารดาและทารกหลงั คลอดได้รบั การวนิ ิจฉัยปัญหา ความตอ้ งการ ครบถว้ น 2. มารดาและทารกหลงั คลอดไดร้ บั การจ�ำ แนกความตอ้ งการการดแู ลตามความรนุ แรง/เรง่ ดว่ น มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
70 ØØมาตรฐานที่ 3 การวางแผนการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี วางแผนการพยาบาล รว่ มกบั ผรู้ บั บรกิ าร ครอบครวั ชมุ ชน ทมี สขุ ภาพและภาคี เครอื ขา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดแู ลของมารดาและทารกหลงั คลอด แนวทางปฏิบตั ิ 1. ประสานความร่วมมือกับมารดาและครอบครัวท่ีมีปัญหา ชุมชน ทีมสุขภาพและองค์กร ทีเ่ ก่ยี วข้อง ก�ำ หนดแผนการดแู ล ช่วยเหลืออย่างเหมาะสมตามข้อวินจิ ฉยั 2. มอบหมายผู้รับผิดชอบติดตามการดูแลตามแผนและช่วยเหลือมารดาและครอบครัวที่ มปี ญั หาสขุ ภาพตามความเหมาะสม 3. กำ�หนดแผนการพยาบาลท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้มารดาหลังคลอดสามารถดูแลสุขภาพของ ตนเองและทารกไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ไดแ้ ก่ การรบั ประทานอาหาร การรกั ษาความสะอาดของตนเองและ ทารก การออกก�ำ ลังกาย การเลี้ยงลกู ด้วยนมมารดา 4.เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีส่วนร่วมปรับเปลี่ยนแผนการพยาบาลให้ สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงปญั หาอยา่ งต่อเนอื่ ง 5. สอื่ สารแผนการพยาบาลใหท้ มี สขุ ภาพและภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอื่ ประสาน ร่วมกันในการดแู ล 6. บันทกึ การวางแผนการพยาบาลเป็นลายลักษณอ์ กั ษร ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวัง มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการวางแผนท่ีสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของ แตล่ ะบุคคล มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
71ØØมาตรฐานที ่ 4 การปฏิบัตกิ ารพยาบาล พยาบาลวิชาชีพให้การพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและความตอ้ งการดูแล ตามแผนท่ีก�ำ หนดแนวทางปฏบิ ัติ 1. ให้ข้อมูลเก่ียวกับปัญหา เป้าหมาย ผลลัพธ์ที่คาดหวัง และการปฏิบัติการพยาบาลโดยให้มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีส่วนร่วมตัดสินใจและกำ�หนดกิจกรรมการปฏิบัติให้สอดคล้องกับแผนการพยาบาล 2. ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อตอบสนองปัญหาและความต้องการมารดาและทารกหลังคลอดตามแนวทางการดูแล 3. กรณมี ารดาและทารกหลงั คลอดทม่ี ภี าวะเสย่ี งตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น ใหป้ ฏบิ ตั กิ ารพยาบาลดงั น้ี 3.1 ส่งตอ่ พบแพทย์ 3.2 ดแู ลและประสาน เพือ่ ส่งตรวจพเิ ศษตา่ ง ๆ หรอื การส่งตอ่ เพือ่ การรักษา 3.3 ให้การปรึกษา เพื่อให้กำ�ลงั ใจ การตดั สินใจ และการปรับตวั 3.4 ใหก้ ารปรกึ ษาครอบครวั หรอื สง่ ตอ่ พยาบาลผใู้ หก้ ารปรกึ ษาถา้ จ�ำ เปน็ เชน่ มารดาหลงั คลอดทไี่ ม่สามารถใหน้ มแม่ได้ มีปญั หาสุขภาพจิต เป็นตน้ 4. ปฏิบัติการพยาบาล เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพมารดา พร้อมกับการปรับตัวของมารดาหลงั คลอด และการเตรียมบทบาทการเป็นมารดา ด�ำ เนนิ การดงั น้ี 4.1 ให้ข้อมูลความรู้เร่ืองการดูแลสุขภาพหลังคลอด ครอบคลุมแนวทางปฏิบัติด้านการวางแผนครอบครัว การเล้ียงลูกด้วยนมแม่ ท้ังกลุ่มปกติและกลุ่มเส่ียงโดยคำ�นึงถึงปัญหาและความต้องการรายบคุ คล 4.2 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้สามีและครอบครัวมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลงั คลอด 4.3 ใหค้ �ำ ปรกึ ษาเพอื่ ชว่ ยเหลอื มารดาหลงั คลอดทม่ี ปี ญั หาดา้ นการปรบั ตวั หรอื สง่ ตอ่ ในกรณีท่ีปญั หายุ่งยากซับซอ้ น 4.4 ให้ค�ำ แนะน�ำ การจดั สิ่งแวดล้อมเหมาะสมกับมารดาและทารกหลังคลอด 5. นดั ตรวจหลังคลอดตามแนวทางปฏิบัติ 6. บนั ทึกการปฏิบัติการพยาบาลตามแนวทางที่ก�ำ หนด มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
72 ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั 1. มารดาและทารกหลงั คลอดปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนท่ีป้องกนั ได้ 2. มารดาหลังคลอดสามารถปรับตัวและดูแลสุขภาพตนเองและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดอื น ØØมาตรฐานท่ี 5 การประเมินผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล พยาบาลวิชาชีพประเมินผลลัพธ์การปฏิบัติการพยาบาล เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล ใหส้ อดคลอ้ งกับปญั หา และความตอ้ งการของมารดาและทารกหลังคลอด แนวทางปฏิบตั ิ 1. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพอ่ื เฝา้ ระวงั อาการผดิ ปกตแิ ละภาวะแทรกซอ้ นในกลมุ่ เสย่ี ง เกี่ยวกบั 1.1 การตอบสนองและการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนหลังให้การพยาบาล 1.2 ความรู้ ความเขา้ ใจ และการปฏบิ ตั ิตนที่ถกู ต้องในการดูแลสุขภาพตนเองพร้อมกับการ จัดการกับปัญหา 1.3 ความรว่ มมือของมารดาหลังคลอด สามี และครอบครวั ต่อการปฏบิ ัตติ ามคำ�แนะนำ� 1.4 การจัดสภาพแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับการฟ้ืนฟูสภาพหลังคลอดของมารดาและ ทารกหลังคลอด 2. เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติตาม แผนการพยาบาล 3. ประชมุ รว่ มกบั ทมี สขุ ภาพ เพอื่ วเิ คราะหห์ ากลวธิ ี ปรบั ปรงุ การพยาบาลใหส้ อดคลอ้ งกบั ปญั หา และความต้องการของมารดาหลังคลอดและครอบครัว 4. บันทึกผลการปฏิบัติการพยาบาล และการดำ�เนินงานการพยาบาลมารดาให้ครบถ้วน อยา่ งตอ่ เน่อื ง ผลลพั ธท์ ่คี าดหวงั มารดาและทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการติดตามประเมินผลหลังการปฏิบัติการพยาบาล ในประเด็นปญั หาส�ำ คญั สง่ ผลตอ่ การมสี ุขภาพดขี องมารดาหลงั คลอด มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
73ØØมาตรฐานท ี่ 6 การดูแลตอ่ เนื่อง พยาบาลวชิ าชพี จดั กระบวนการดแู ล มารดาและทารกหลงั คลอดอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จากโรงพยาบาลไปถงึ บา้ นใหส้ ามารถจัดการปญั หาสุขภาพดว้ ยตนเองได้ โดยใหค้ รอบครัวมสี ว่ นร่วมแนวทางปฏิบตั ิ 1. ประเมินปัญหาและความต้องการการพยาบาลท่ีต้องดูแลต่อเนื่องของ มารดาและทารกหลงั คลอด 2. ส่งเสริมให้มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการตรวจอย่างต่อเน่ือง ตามลักษณะปัญหาปจั จัยเสย่ี ง ตามแนวทางปฏิบัตกิ ารตรวจหลังคลอด 3. ดแู ลมารดาและทารกหลังคลอดตอ่ เน่อื ง ตามแนวทางปฏบิ ัติท้งั มารดาและทารก 4. ส่งต่อ/ปรึกษา/ส่งข้อมูลให้กับแพทย์ กรณีมีภาวะผิดปกติเกิดข้ึน หรือส่งต่อตามระบบส่งต่อไปรักษาทย่ี ังสถานบรกิ ารอนื่ 5. สง่ เสรมิ ใหม้ ารดาหลงั คลอดและครอบครวั ดแู ลสขุ ภาพมารดาและทารก โดยกระตนุ้ สงั เกตพฒั นาการอย่างต่อเน่ือง 6. ติดตามการมาตรวจตามนดั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 7. บันทึกผลการตดิ ตามการดแู ลให้ครบถว้ นผลลัพธท์ ่ีคาดหวัง 1. มารดาหลงั คลอดปลอดภยั จากภาวะแทรกซ้อนท่ปี อ้ งกนั ได้ 2. ทารก มีความสมบรูณ์ ทัง้ ทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ และพัฒนาการเปน็ ปกติทกุ ดา้ น มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
74 ØØมาตรฐานท่ ี 7 การสรา้ งเสริมสุขภาพ พยาบาลวชิ าชพี สร้างเสรมิ สขุ ภาพให้มารดาและทารกหลังคลอด เพื่อให้สุขภาพแข็งแรง แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ใชข้ อ้ มลู การประเมนิ วนิ จิ ฉยั ความตอ้ งการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพดา้ นรา่ งกายและจติ ใจของมารดา และทารกหลงั คลอด 2. กำ�หนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมโดยผสมผสานเข้ากับ แผนการดแู ลของทมี สขุ ภาพ 3. จัดโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ให้สอดคล้องกับปัญหาและ ความต้องการของมารดาและทารกหลงั คลอด ไดแ้ ก่ ■■มารดา 3.1 การออกก�ำ ลงั กายหลงั คลอดอย่างเหมาะสมตามภาวะสขุ ภาพ 3.2 การปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจ�ำ วนั เชน่ การอาบนาํ้ เพอ่ื ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื การดแู ลความสะอาด แผลฝีเย็บ การรับประทานอาหาร และการขับถา่ ย เปน็ ต้น 3.3 การวางแผนครอบครวั และการคมุ กำ�เนดิ ทเี่ หมาะสม 3.4 การพักผ่อนอยู่กับบ้านท่ีเหมาะสมโดยยกเว้นการทำ�งานหนักหลังคลอดประมาณ 2 สปั ดาห์ หลังจากนั้นสามารถทำ�งานได้ตามปกติ 3.5 การผ่อนคลายและทำ�จติ ใจใหแ้ จม่ ใส เช่น เปดิ ดนตรี การฟงั เพลง เป็นต้น ■■ทารก 3.1 การออกกำ�ลังกาย กระตุ้นกล้ามเน้ือมัดเล็ก มัดใหญ่ อย่างเหมาะสมตามมาตรฐาน แตล่ ะช่วงวยั และตามภาวะสขุ ภาพ 3.2 การดแู ลกจิ วตั รประจ�ำ วนั เชน่ การกนิ นมแม่ การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย และการขบั ถา่ ย เปน็ ตน้ 3.3 การจดั ส่งิ แวดล้อมให้เหมาะสม 3.4 การสร้างเสริมภมู ิคุ้มกนั โรค (วัคซีน) และการดแู ลหลงั ไดร้ บั วคั ซนี 3.5 สง่ เสริมการเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่อยา่ งน้อย 6 เดือน 4. ปรับเปล่ยี นแผนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพด้านรา่ งกายและจิตใจใหเ้ ป็นปจั จบุ นั 5. บันทึกผลการสร้างเสริมสขุ ภาพให้ครบถว้ น ผลลัพธท์ ีค่ าดหวัง มารดาและทารกหลังคลอดมสี ขุ ภาพท่ีสมบรู ณ์ทง้ั ร่างกายและจติ ใจ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
75ØØมาตรฐานท ่ี 8 การคุม้ ครองภาวะสุขภาพ พยาบาลวชิ าชพี จดั ระบบปอ้ งกนั ความเสย่ี ง จากอนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ หรอื มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพเพ่ือให้มารดาและทารกหลังคลอดปลอดภัยจากอันตรายทปี่ ้องกันได้แนวทางปฏิบตั ิ 1. ค้นหาปัญหาและความต้องการมารดาและทารกหลังคลอดเพ่ือการสร้างความรู้ความเข้าใจสทิ ธขิ์ องการรกั ษา 2. จ�ำ แนกกลุม่ ผ้ใู ชบ้ ริการทวั่ ไป และกล่มุ มภี าวะเสยี่ ง ด้วยเครือ่ งมอื /แนวทางทกี่ ำ�หนด 3. ประเมนิ ความเสย่ี งดา้ นชวี ภาพ ดา้ นเคมี ดา้ นกายภาพ และดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คมอยา่ งต่อเนือ่ ง 4. วางแผนจดั กจิ กรรมเพ่ือคุ้มครองภาวะสุขภาพให้สอดคล้องกับปัญหาทพ่ี บ 5. จัดกิจกรรมเพอ่ื ค้มุ ครองภาวะสุขภาพ ดงั น้ี 5.1 ใหค้ วามรเู้ พอ่ื ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารทราบและตระหนกั ถงึ สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องตนในการใชบ้ รกิ ารสุขภาพ 5.2 การจดั ส่งิ แวดล้อมโดยค�ำ นึงถงึ การป้องกนั ภาวะเสยี่ งท่อี าจเกิดขึน้ 5.3 การปอ้ งกันการตดิ เช้อื จาการดำ�เนนิ ชวี ิตประจำ�วัน 5.4 การป้องกันอนั ตรายจากการตรวจ/หตั ถการ/เครือ่ งมือพิเศษ/การใช้ยา 5.5 การรูจ้ กั สถานบรกิ ารและการเลอื กใชเ้ หมาะสมกับภาวะสุขภาพ 5.6 การป้องกันอนั ตรายคกุ คามต่อชีวติ 6. เครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ างการแพทยม์ เี พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ ารไดร้ บั การตรวจสอบความเทย่ี ง(Calibration) อย่างต่อเนื่องและการป้องกันการติดเชื้อโดยยึกหลักการทำ�ให้ปราศจากเชื้อ (Steriletechnique) 7. บุคคล ครอบครวั และชุมชน ไดร้ บั ความรูเ้ พยี งพอก่อนตัดสินใจเขา้ รับบริการการรกั ษา 8. ทบทวนและค้นหาความเสี่ยง ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ กบั บุคคล ครอบครวั และชุมชนอย่างสมาํ่ เสมอ 9. กำ�หนดแนวทางการดูแลเบ้ืองต้นก่อนการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ เพื่อความปลอดภัยของมารดาและทารกหลงั คลอด 10. ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมเพอ่ื ค้มุ ครองภาวะสุขภาพ 11. บนั ทกึ กิจกรรมการพยาบาลการคุ้มครองภาวะสุขภาพผลลัพธท์ ่ีคาดหวงั มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการคมุ้ ครองภาวะสุขภาพอย่างปลอดภัย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
76 ØØมาตรฐานท่ี 9 การใหข้ อ้ มูลและความรดู้ ้านสขุ ภาพ พยาบาลวิชาชีพจัดระบบบริการให้ข้อมูล ความรู้ และให้คำ�ปรึกษา ที่ตรงตามความต้องการ จำ�เป็น เพอ่ื การสง่ เสรมิ การดแู ลสขุ ภาพตนเอง ของมารดาและทารกหลังคลอด แนวทางปฏิบัติ 1. คน้ หาความตอ้ งการจ�ำ เปน็ รวมทง้ั ประเมนิ ความสามารถในการเรยี นรเู้ พอื่ ใชก้ �ำ หนดประเดน็ การใหข้ อ้ มูลและความรู้ด้านสขุ ภาพแกม่ ารดาและทารกหลังคลอดอย่างครอบคลมุ 2. จดั ระบบและแนวทางการใหข้ อ้ มลู ความรมู้ ารดาหลงั คลอดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สอดคลอ้ งกบั ภาวะ สขุ ภาพ โดยเปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอด/ครอบครวั มสี ว่ นรว่ ม 3. เตรียมเอกสาร สอ่ื การให้ข้อมูลและความรู้กับทีมสขุ ภาพและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 4. จัดกิจกรรมการให้ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในเรื่องต่อไปน้ี 4.1 การปฏิบตั ติ วั หลังคลอดของมารดาและการดแู ลทารก 4.2 การปฏิบตั ิตัวเมื่อมีภาวะเสี่ยง 4.3 แหลง่ ประโยชน์ในชุมชนที่ควรรู้จกั และการขอใช้บริการ 5. ใหข้ อ้ มลู ความรู้ ค�ำ ปรกึ ษา และเสรมิ สรา้ งพลงั อ�ำ นาจใหก้ บั มารดาหลงั คลอดและครอบครวั เก่ียวกบั การดูแลทารก 6. เปดิ โอกาสและมชี อ่ งทางการเขา้ ถงึ การรบั รขู้ อ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพจากบรกิ ารประเภทตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ส่ือบุคคล สื่อวสั ดุ สื่ออปุ กรณ์ โปสเตอร์ วีดีทศั น์ และสอื่ อืน่ ๆ 7. ประเมินผลการตอบสนองต่อการใหข้ อ้ มูลความรดู้ า้ นสุขภาพ 8. บนั ทกึ การให้ขอ้ มูลและความรู้ด้านสขุ ภาพทุกครั้งหลังให้บรกิ าร ผลลัพธท์ ค่ี าดหวัง 1. มารดาและทารกหลงั คลอดและครอบครวั มคี วามรู้ เขา้ ใจเกยี่ วกบั การใชบ้ รกิ าร เมอ่ื มอี าการ เจ็บปว่ ย และการรักษาพยาบาล 2. มารดาและทารกหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้และความเข้าใจการปฏิบัติตน เพื่อการ ดูแลสุขภาพตนเอง มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
77ØØมาตรฐานที่ 10 การพทิ กั ษส์ ิทธผิ ู้ป่วย พยาบาลวิชาชีพให้การดูแลมารดาและทารกหลังคลอด สิทธิ์ท่ีพึงได้รับจากการใช้บริการทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ โดยเคารพศกั ดศิ์ รแี ละคณุ คา่ ความเปน็ มนษุ ย์ และการพทิ กั ษส์ ทิ ธติ ามขอบเขต บทบาทหน้าท่ีความรบั ผิดชอบโดยยึดหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรมแนวทางปฏบิ ัติ 1.การปฏบิ ัติการพยาบาลกบั บคุ คล ครอบครวั และชุมชน โดยยดึ หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี การพยาบาล 2. การใหข้ อ้ มลู แกบ่ คุ คล ครอบครวั และชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เกย่ี วกบั ภาวะสขุ ภาพ ผลการตรวจประเมนิ สภาพร่างกาย สทิ ธผิ ้ปู ่วย แผนการพยาบาลและแหลง่ ประโยชนใ์ นการดแู ลสขุ ภาพ 3. ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยใชแ้ นวทางการพิทักษ์สทิ ธิผใู้ ช้บริการ ดังน้ี 3.1 การให้ข้อมูล/บอกกลา่ ว ยินยอมการรักษา/ข้อมลู ทจ่ี �ำ เป็นแก่ผ้ใู ชบ้ รกิ าร 3.2 การแจง้ ชอื่ - สกุล และประเภทของผู้ประกอบวชิ าชีพท่ีให้บริการ 3.3 การรกั ษาความเปน็ สว่ นตวั และความลับ เกี่ยวกบั 3.3.1 ความลบั ของเวชระเบียน ท้งั สทิ ธิการใช้และเขา้ ถึงขอ้ มลู เวชระเบยี น 3.3.2 การเผยแพรข่ อ้ มลู เพอ่ื ใช้ในการศึกษา เรียนรู้/วิจยั 3.3.3 การเปดิ เผยร่างกาย จากการให้บริการรกั ษาพยาบาล 3.3.4 การจดั สภาพแวดล้อมทไี่ มข่ ดั แยง้ กับความเชอ่ื /วฒั นธรรม 3.4 การดูแลกลมุ่ ผู้ใช้บรกิ ารทเ่ี ฉพาะเจาะจง เช่น ผู้สูงอายุ ผ้พู ิการ และเด็ก เป็นตน้ 4. ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความเสมอภาค ใหเ้ กยี รตแิ ละความเทา่ เทยี มกนั ค�ำ นงึ ถงึ สทิ ธิ ความเปน็ มนษุ ย์และปจั เจกบุคคล 5. เปิดโอกาสให้บุคคลและครอบครัวได้ซักถามประเด็นสงสัย และมีส่วนร่วมตัดสินใจเลือกวธิ ีการดแู ลรักษาพยาบาล 6. กรณีมารดาและทารกหลังคลอดไม่สมัครใจยินยอมรักษา ต้องให้คำ�แนะนำ�การดูแลตนเองและทบทวนความเข้าใจเกย่ี วกบั อาการผิดปกติและความจ�ำ เปน็ ในการรับการรกั ษาพยาบาลผลลพั ธ์ทคี่ าดหวัง 1. มารดาและทารกหลังคลอดได้รบั การพทิ กั ษ์สิทธิ อย่างเหมาะสม 2. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับบริการจากบุคลากรทางการพยาบาล โดยไม่มีการละเมิดสิทธิของผ้ใู ช้บริการ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
78 ØØมาตรฐานท ี่ 11 การบนั ทึกทางการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรทีมสุขภาพ บันทึกข้อมูลทางการพยาบาล และข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง กับมารดาและทารกหลังคลอด เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นระบบ เพ่ือสื่อสารกับทีมงานและ ทีมสุขภาพทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และใชเ้ ป็นขอ้ มลู ทางกฎหมาย แนวทางปฏิบัติ 1. กำ�หนดแบบฟอร์มการบันทึกทางการพยาบาลท่ีแสดงถึงการใช้กระบวนการพยาบาล ครอบคลุมเกย่ี วกับ 1.1 การคัดกรองเบอื้ งต้น/การประเมินตอ่ เนือ่ ง 1.2 การวินจิ ฉัยทางการพยาบาล/ปญั หาการตอบสนองต่อภาวะสขุ ภาพ 1.3 การวางแผนการพยาบาล/การเตรยี มพรอ้ มกอ่ นส่งต่อ/เคลื่อนยา้ ย/จ�ำ หนา่ ย 1.4 การช่วยเหลือพยาบาลเบื้องต้น/ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 1.5 การประเมนิ ผล/การตอบสนองต่อการปฏบิ ัติการพยาบาล 2. บันทึกการพยาบาลทั้งการบันทึกการปฐมพยาบาล/การดูแลให้การช่วยเหลือเบื้องต้น ครอบคลุมกระบวนการพยาบาล ดงั นี้ 2.1 การตอบสนองตอ่ ภาวะความเจบ็ ปว่ ยของผใู้ ชบ้ รกิ าร เชน่ อาการวติ กกงั วล อาการปวด อาการไข้ เป็นต้น 2.2 การวางแผนการพยาบาลท่ีครอบคลมุ ตามปญั หาและความต้องการ 2.3 การปฏิบัตกิ ารพยาบาลเพอ่ื ตอบสนองปญั หาสขุ ภาพของบุคคล และครอบครัว 2.4 การประเมนิ ผลการตอบสนองต่อการปฏิบัติการพยาบาล 3. บนั ทกึ ทางการพยาบาลทแี่ สดงถงึ การใหบ้ รกิ ารพยาบาลตามอาการทางคลนิ กิ ของผใู้ ชบ้ รกิ าร อย่างตอ่ เนื่อง ต้งั แตเ่ ขา้ รับบรกิ ารจนสิ้นสุดบริการ 4. บันทกึ การพยาบาลเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ลงในแบบฟอร์มทก่ี ำ�หนดของหน่วยงาน 5. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของการบันทึก 6. น�ำ ผลการตรวจสอบคณุ ภาพการบันทกึ ไปพัฒนาการปฏบิ ัติการพยาบาล ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวัง 1. มีการบันทึกข้อมูลการบริการดูแลรักษาพยาบาล ครอบคลุมกระบวนการ พยาบาล และ สามารถใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมายได้ 2. บันทึกการพยาบาล แสดงถึงการเปล่ียนแปลงอาการ/อาการแสดงภาวะสุขภาพของบุคคล มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
79ครอบครวั และชุมชน อยา่ งต่อเนอ่ื ง สามารถนำ�มาวางแผนการจดั บรกิ ารพยาบาลได้ 3. บันทึกการพยาบาลสามารถส่ือสารข้อมูลเพ่ือใช้ดูแลมารดาและทารกหลังคลอดระหว่างวิชาชีพที่เกย่ี วขอ้ งได้Ø3. มาตรฐานการบริการพยาบาลเดก็ ปฐมวยั 0 - 5 ปี การบริการพยาบาลเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปีเป็นบริการพยาบาลท่ีให้กับพ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็ก ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ได้แก่ การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ การตรวจร่างกาย การเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการ การดูแลทันตสุขภาพให้การป้องกันโรคติดต่อท่ีป้องกันได้ด้วยวคั ซนี การปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ การไดร้ บั สารพษิ การใหค้ �ำ แนะน�ำ การเลยี้ งเดก็ กบั พอ่ แม่ พเี่ ลยี้ งเดก็ เพอื่ให้เด็กทุกคนเจริญเติบโตและพัฒนาการดีท่ีสุดตามศักยภาพทางพันธุกรรมต้ังแต่แรกเกิด รวมถึงเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาต้องประสานการดูแลรักษาในโรงพยาบาล เพ่ือให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับบริการสง่ เสริมสขุ ภาพครบถ้วน มกี ารเจริญเติบโตและมพี ฒั นาการเหมาะสมตามวัย มาตรฐานการปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ ปฐมวยั 0 - 5 ปีประกอบดว้ ย 2 ส่วน คือ 1. มาตรฐานการปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ ปฐมวัย 0 - 5 ปี แบง่ เป็น 11 มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ 1 การประเมนิ ภาวะสุขภาพ มาตรฐานท่ี 2 การวินิจฉยั การพยาบาล มาตรฐานท่ี 3 การวางแผนการพยาบาล มาตรฐานที่ 4 การปฏิบตั กิ ารพยาบาล มาตรฐานท่ี 5 การประเมินผลการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล มาตรฐานที่ 6 การดูแลต่อเนือ่ ง มาตรฐานที่ 7 การสร้างเสริมสุขภาพ มาตรฐานที่ 8 การคมุ้ ครองภาวะสขุ ภาพ มาตรฐานที่ 9 การให้ข้อมูลและความรดู้ ้านสุขภาพ มาตรฐานท่ี 10 การพิทักษ์สทิ ธิผู้ป่วย มาตรฐานที่ 11 การบันทกึ ทางการพยาบาล 2. เกณฑช์ ีว้ ดั คุณภาพการปฏิบัตกิ ารพยาบาลเดก็ ปฐมวัย 0 - 5 ปี ประกอบด้วย 2.1 รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวยั ทีไ่ ดร้ บั การประเมนิ ภาวะสุขภาพตามช่วงวัย 2.2 รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวัยทมี่ ีความผดิ ปกติไดร้ บั การดแู ล 2.3 รอ้ ยละของเดก็ ปฐมวัยที่มพี ัฒนาการปกติ(รายละเอยี ดเกณฑช์ ว้ี ดั คุณภาพการบรกิ ารพยาบาลเด็กปฐมวัย 0 - 5 ปอี ย่ใู นบทท่ี 4 หนา้ 206) มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
80 มาตรฐานการปฏิบตั กิ ารพยาบาลเด็กปฐมวยั 0 - 5 ป ี ØØมาตรฐานท่ี 1 การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ พยาบาลวชิ าชพี ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื คน้ หาเดก็ ทม่ี ภี าวะเสย่ี ง มปี ญั หาสขุ ภาพ ต้องการการดูแล รวมท้ังประเมินสภาพแวดลอ้ มท่เี ป็นปัจจยั เส่ียงต่อสุขภาพและพฒั นาการของเดก็ แนวทางปฎบิ ตั ิ 1. ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของเด็กปฐมวยั ทงั้ ด้านร่างกาย พฒั นาการและจติ สังคมโดยประเมิน 1.1 ดา้ นร่างกาย รวบรวมข้อมูลด้วยวิธกี าร 1.1.1 การซักประวัติ การเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน โรคทางพันธุกรรม การคลอด การได้รับวคั ซีน พัฒนาการ 1.1.2 การตรวจร่างกายทั่วไป เช่นการชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบศีรษะ และตรวจ สขุ ภาพชอ่ งปาก 1.2 ดา้ นพัฒนาการเดก็ ตามวัย 1.3 ดา้ นจิตสังคม เก่ียวกบั 1.3.1 ความพร้อมตอ่ การดแู ลเด็กปฐมวยั ของพ่อแม่/ผปู้ กครอง 1.3.2 สถานะทางเศรษฐกิจและสงั คมของผูป้ กครอง 1.3.3 สมั พนั ธภาพในครอบครวั และการสนับสนุนทางสังคมของบุคคลในครอบครวั 1.3.4 การแสดงออกทางอารมณ์ของเด็ก 2. ประเมนิ ความรู้และทักษะของพอ่ แม/่ ผูด้ ูแลเด็ก เกีย่ วกบั 2.1 กระบวนการเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ และการใหอ้ าหารเสริมตามวยั 2.2 บทบาทพ่อ แม่ 2.3 กระตุ้นส่งเสริมเด็กใหม้ พี ัฒนาการตามวัย 2.4 การป้องกันอนั ตรายที่อาจเกิดข้ึนกบั เดก็ ปฐมวยั 3. บนั ทกึ ขอ้ มลู การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ รวมทง้ั ปญั หา/ความตอ้ งการการดแู ลเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร ผลลพั ธท์ คี่ าดหวัง เด็กปฐมวยั 0 - 5 ปี ได้รับการประเมินปญั หาและความต้องการอย่างครบถว้ น มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
81ØØมาตรฐานท ่ี 2 การวินจิ ฉัยภาวะสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือระบุภาวะสุขภาพและความต้องการการดูแลของเดก็ ปฐมวัยแนวทางปฏิบัติ 1. วิเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้จากการประเมนิ เพ่ือจ�ำ แนกความตอ้ งการ การดูแลออกเป็น 1.1 เด็กปฐมวัยกลุ่มปกติ 1.2 เดก็ ปฐมวัย กลุม่ เสย่ี ง LBW, BA Apgar score < 7 และอ่ืน ๆ 1.3 กลุ่มป่วย 2. กำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ให้ครอบคลุมปัญหา โดยคำ�นึงถึงความต้องการท้ังด้านรา่ งกาย พฒั นาการ และจติ สงั คมของเด็กปฐมวัย ท้งั ภาวะปกตแิ ละเส่ยี ง 2.1 ปัญหาและความตอ้ งการที่เกดิ ข้นึ แลว้ และยงั เปน็ ปัญหาอยู่ 2.2 ปัญหาและความตอ้ งการทม่ี ีแนวโน้มจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ถา้ ไม่ไดร้ ับการป้องกัน 3. ปรับหรือกำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลใหม่ เม่ือมีข้อมูลบ่งชี้ว่าปัญหาเปล่ียนแปลงไปหรือเมือ่ ค้นพบสาเหตุของปัญหาใหม่ 4. บันทึกข้อวินิจฉยั ทางการพยาบาล ให้ครอบคลุมปัญหาและความตอ้ งการผลลัพธ์ที่คาดหวงั 1. เด็กปฐมวัยไดร้ ับการวินจิ ฉยั ปัญหา และความต้องการอยา่ งครบถว้ น 2. เด็กปฐมวยั ได้รับการจำ�แนกความตอ้ งการ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
82 ØØมาตรฐานที ่ 3 การวางแผนการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพวางแผนการพยาบาล ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและความต้องการดูแล ของกลุ่มเด็กปฐมวัย ร่วมกับพ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว ทีมสุขภาพและภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง โดยมุง่ ใหเ้ กิดผลลัพธ์ที่คาดหวัง แนวทางปฎิบตั ิ 1. ก�ำ หนดแผนการพยาบาลครอบคลมุ ปญั หา และความตอ้ งการของเดก็ ปฐมวยั แตล่ ะรายโดย จัดลำ�ดับความสำ�คญั ของปัญหาและความต้องการ 2. ก�ำ หนดแผนการจัดบรกิ ารทเ่ี ออ้ื อำ�นวยใหเ้ ดก็ ปฐมวัย ไดร้ บั บรกิ ารอยา่ งท่ัวถึง 3. กำ�หนดแผนการพยาบาลที่ส่งเสริมสนับสนุนให้มารดา/ผู้ดูแลเด็กสามารถดูแลสุขภาพ และ พฒั นาการเด็กในเรอ่ื งต่อไปน้ี 3.1 ความสมบูรณ์ของร่างกาย สัมพันธก์ บั อายุ 3.2 พฒั นาการสมวยั ทุกดา้ น 3.3 การไดร้ บั วัคซนี ครบถว้ นตามเกณฑ์ 3.4 ภาวะโภชนาการสมวัย 3.5 การรบั รทู้ างประสาทสัมผัส การมองเห็น การพูด การไดย้ นิ 3.6 สุขภาพชอ่ งปาก 3.7 การขับถ่าย 4. กำ�หนดกลวิธีการปฎิบัติตามแผน โดยเปิดโอกาสให้มารดา/ผู้ดูแล มีส่วนร่วมให้ข้อมูล เพอ่ื ใชป้ รับเปลย่ี นแผนการพยาบาลใหส้ อดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลงของเดก็ ปฐมวยั อย่างตอ่ เนื่อง 5. ก�ำ หนดผู้รับผิดชอบในชมุ ชนเพอ่ื ติดตามการดำ�เนินงานตามแผนการพยาบาล 6. ปรับเปลยี่ นแผนการพยาบาลให้สอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงปัญหาอยา่ งต่อเนื่อง 7. ส่ือสารแผนการพยาบาลใหท้ ีมการพยาบาลและทีมสุขภาพเข้าใจอยา่ งทวั่ ถึง 8. ประชาสัมพันธ์แผนการพยาบาลและตารางเวลาให้ผู้ใช้บริการรบั ทราบกิจกรรมการบรกิ าร 9. บนั ทกึ แผนการพยาบาลครอบคลมุ ปญั หาและความต้องการ ผลลัพธท์ ่ีคาดหวงั เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ได้รบั การวางแผนการพยาบาลเหมาะสมกับวยั และสภาพปัญหา มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
83ØØมาตรฐานที ่ 4 การปฏิบตั กิ ารพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี ใหก้ ารพยาบาลเดก็ ปฐมวยั สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดแู ลตามแผนที่กำ�หนดแนวทางปฏิบตั ิ 1. ปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือตอบสนองปัญหาและความต้องการการดูแลเด็กปฐมวัยตามเกณฑ์ทีก่ �ำ หนด 2. ตดิ ตามเฝา้ ระวงั ความกา้ วหนา้ พฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั ภาวะแทรกซอ้ นหรอื อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ข้นึ โดยอาศัยขอ้ มลู จากการประเมินภาวะสุขภาพ 3. กรณีผลการติดตามเฝ้าระวังความก้าวหน้า พบพัฒนาการช้าหรือสงสัยพัฒนาการล่าช้าให้ส่งเสริมทำ�กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเพ่ือติดตามพัฒนาการ 3 เดือน และติดตามครบ 3 เดือนยังมพี ฒั นาการช้า สง่ ตอ่ ปรกึ ษากมุ ารแพทย์ 4. ใหภ้ มู คิ ้มุ กันโรคเด็กปฐมวยั ตามนโยบายและแนวทางปฏบิ ตั ิ (SOP) ของแต่ละหน่วยงาน 5. เด็กปฐมวัย กลุม่ เส่ียงใหป้ ฏบิ ัตกิ ารพยาบาล ดงั นี้ 5.1 ตดิ ตามประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ เฝา้ ระวงั ปญั หาในอนาคต 5.2 อำ�นวยความสะดวกและประสาน เพอื่ ส่งตรวจพเิ ศษตา่ ง ๆ ถ้าจำ�เปน็ 5.3 ใหก้ ารปรกึ ษาเปน็ รายบคุ คลแกม่ ารดา/ผดู้ แู ลเดก็ เพอ่ื ใหก้ �ำ ลงั ใจ ชว่ ยเหลอื การตดั สนิ ใจและการปรบั ตวั เพื่อการเลี้ยงดเู ดก็ 5.4 ให้คำ�ปรึกษาครอบครัว (Family Counseling) หรือส่งต่อพยาบาลผู้ให้คำ�ปรึกษา เช่นเด็กที่มีความเสี่ยง, มารดา/ผู้ปกครองท่ีไม่พร้อมในการเล้ียงดู, ความรุนแรงในครอบครัว, ครอบครัวท่ีใช้ยาเสพติด 5.5 ส่งต่อเพอ่ื เขา้ รับการปรกึ ษากมุ ารแพทย์ 6. ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อสง่ เสรมิ การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวยั 6.1 ใหข้ อ้ มลู และความรใู้ นการดแู ลเดก็ ปฐมวยั ทง้ั ในภาวะปกตแิ ละผดิ ปกตใิ นแตล่ ะชว่ งอายุ 6.2 จดั กจิ กรรมในชุมชนเพอื่ ส่งเสริมบทบาทพ่อแม/่ ผูด้ ูแล 7. นัดตรวจเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่องตามแนวทางปฏิบัติ WWC ในแต่ละช่วงวัย ติดตามให้มารดา/ผปู้ กครองน�ำ เดก็ มาตามนดั 8. ประสานความร่วมมือกับทีมสุขภาพ ท้ังในเร่ืองการพยาบาลและการให้ข้อมูลพ่อแม่เพื่อประโยชน์สงู สดุ ในการดูแลสขุ ภาพของเด็ก 9. บันทกึ ผลการติดตามความกา้ วหน้าของเดก็ ปฐมวยั และการปฏิบัตกิ ารพยาบาล มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
84 ผลลัพธ์ที่คาดหวงั 1. เด็กปฐมวัยปลอดภัยจากภาวะแทรกซอ้ นท่ปี ้องกันได้ 2. มารดา/ผดู้ แู ลเด็กสามารถส่งเสริมพฒั นาการใหก้ ารดูแลเด็กปฐมวัย ØØมาตรฐานท่ ี 5 การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี ประเมนิ ผลลพั ธก์ ารพยาบาล เพอื่ ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลใหส้ อดคลอ้ ง กบั ปัญหา และความตอ้ งการของกลุม่ เดก็ ปฐมวยั แนวทางปฎิบตั ิ 1. ประเมนิ สรปุ ผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทกุ รายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งกบั ทมี สขุ ภาพในชมุ ชน ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1.1 การตดิ ตามเฝา้ ระวงั ความกา้ วหนา้ ของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางรา่ งกายและ จติ ใจของเดก็ ปฐมวยั 1.2 การตอบสนองและการเปล่ียนแปลงท่เี กิดข้นึ เทียบกบั เป้าหมายผลลพั ธ์ที่คาดหวัง 1.3 ความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบตั การดแู ลเดก็ ปฐมวยั ของบดิ า มารดา ผู้ดแู ล 1.4 ความร่วมมอื ของบดิ า มารดา ผู้ดแู ลตอ่ การปฏบิ ตั ิการดแู ลเด็กตามแผนการพยาบาล 2. เปดิ โอกาสใหบ้ ดิ า มารดา ผปู้ กครอง ของเดก็ ปฐมวยั มสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ การพยาบาล 3. ประชุมปรึกษาในทีมสุขภาพ เพื่อวิเคราะห์หากลวิธี แนวทางการปรับปรุงการพยาบาลให้ สอดคลอ้ งกบั ปัญหาและความต้องการของเดก็ ปฐมวัย 4. บันทกึ ผลการพยาบาลเพอื่ สอื่ สารกบั ทีมสุขภาพที่เก่ยี วข้อง ผลลพั ธท์ ่คี าดหวัง เด็กปฐมวัย 0 - 5 ปี ได้รับการติดตามประเมนิ ผลหลังปฏิบตั ิการพยาบาลในแต่ละชว่ งวัย มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
85ØØมาตรฐานท ่ี 6 การดูแลต่อเนือ่ ง พยาบาลวิชาชีพจัดกระบวนการดูแลเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง จากระยะหลังคลอดในโรงพยาบาลไปถงึ บา้ น โดยการมีสว่ นรว่ ม ทง้ั มารดา/บดิ า และครอบครวัแนวทางปฏิบัติ 1. สง่ เสริมให้เด็กปฐมวยั ได้รบั การตรวจ ตามปญั หาและปัจจัยเสีย่ ง 2. ดแู ลเดก็ ปฐมวยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตามแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โต และพฒั นาการด�ำ เนนิไปตามปกติและมคี วามปลอดภัย 3. สง่ ตอ่ /ปรกึ ษา/สง่ ขอ้ มลู ใหก้ บั กมุ ารแพทย์ กรณมี ภี าวะผดิ ปกตเิ กดิ ขน้ึ หรอื สง่ ตอ่ ไปยงั สถานบรกิ ารอน่ื กรณีจ�ำ เปน็ 4. สง่ เสรมิ ใหบ้ ดิ า มารดา ผดู้ แู ลเดก็ มกี ารเตรยี มความพรอ้ มการเจรญิ เตบิ โต การดแู ลสขุ ภาพเด็กปฐมวัย และกระตุ้น สังเกต การพัฒนาการทกุ ระยะ 5. สนบั สนุนให้สามีและครอบครวั มสี ่วนรว่ มในการดูแลสุขภาพของเดก็ ปฐมวยั อย่างต่อเนื่อง 6. ตดิ ตามการมาตรวจตามนัดอย่างต่อเนือ่ ง 7.บนั ทึกผลการติดตามการดูแลอยา่ งต่อเนอ่ื งใหค้ รบถ้วนผลลพั ธท์ คี่ าดหวงั 1. เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลให้มีพัฒนาการสมวัยมีความสมบรูณ์ ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจสังคม และการพัฒนาการ ทกุ ด้าน 2. เดก็ ปฐมวยั ได้รับการแก้ไขจากภาวะแทรกซ้อนท่ปี อ้ งกันได้ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
86 ØØมาตรฐานท่ี 7 การสร้างเสริมสขุ ภาพ พยาบาลวิชาชีพ ออกแบบกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะให้พ่อแม่/ผู้ดูแลมีความสามารถควบคุม ปัจจัยท่เี ปน็ ตัวกำ�หนดภาวะสขุ ภาพและส่งเสริมสขุ ภาพใหเ้ ด็กปฐมวัย แนวทางปฏิบตั ิ 1. ใช้ข้อมูลการประเมินวินิจฉัยความต้องการสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจของ เดก็ ปฐมวยั 2. กำ�หนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และการพัฒนาการเด็ก ผสมผสานเขา้ กบั แผนการพยาบาลและแผนของทมี สหสาขาวชิ าชพี 3. จดั โปรแกรม/ดแู ลการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และการพฒั นาการเดก็ สอดคล้องกบั ปัญหาและความตอ้ งการของเด็กปฐมวยั แตล่ ะราย ได้แก่ 3.1 การออกกำ�ลังกาย กระตุ้นกล้ามเน้ือมัดเล็ก มัดใหญ่ อย่างเหมาะสมตามมาตรฐาน แต่ละช่วงวยั และภาวะสขุ ภาพ 3.2 การปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วัน เช่น การรับประทานอาหาร การเคล่ือนไหวร่างกาย และ การขับถ่าย เปน็ ต้น 3.3 การผอ่ นคลายและกระตนุ้ พฒั นาการทารก เชน่ การเลา่ นทิ าน เปดิ ดนตรี การฝกึ ทา่ ทาง 3.4 การจัดสิ่งแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมส�ำ หรับเด็กปฐมวัย 4. ประเมินความก้าวหนา้ ของการสร้างเสริมสุขภาพทุกครั้ง 5. ปรับเปล่ียนแผนการสร้างเสรมิ สุขภาพดา้ นร่างกายและจติ ใจให้เป็นปัจจุบนั 6. สรุปและบันทกึ ผลการสร้างเสริมสขุ ภาพให้ครบถว้ น ผลลัพธท์ ี่คาดหวงั เดก็ ปฐมวัย ไดร้ ับการสร้างเสริมสุขภาพเพ่ือใหม้ ีสขุ ภาวะท่สี มบูรณท์ ้ังรา่ งกายและจติ ใจ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
87ØØมาตรฐานท่ ี 8 การคุ้มครองภาวะสขุ ภาพ พยาบาลวชิ าชพี จดั ท�ำ ระบบปอ้ งกนั ความเสย่ี ง จดั การอนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ หรอื มผี ลกระทบตอ่สุขภาพ เพอื่ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยปลอดภัยจากอนั ตรายทป่ี อ้ งกนั ได้แนวทางปฏบิ ัติ 1. ค้นหาปัญหาและความตอ้ งการกลมุ่ เดก็ ปฐมวัยเพ่ือการค้มุ ครองภาวะสุขภาพ 2. จ�ำ แนกกล่มุ เด็กปฐมวยั ทวั่ ไป และกลุม่ มภี าวะเสยี่ ง ด้วยเครอื่ งมือ/แนวทางทกี่ �ำ หนด 3. ประเมนิ ความเสย่ี งดา้ นชวี ภาพ ดา้ นเคมี ดา้ นกายภาพ และดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4. วางแผนจัดกิจกรรมเพ่ือคุ้มครองภาวะสุขภาพให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยแตล่ ะกลุม่ 5. จัดกิจกรรมเพ่อื การคุ้มครองภาวะสขุ ภาพ ในประเดน็ ต่อไปน้ี 5.1 ให้ความรู้เพ่ือให้มารดาและครอบครัว/ผู้ดูแลเด็กทราบและตระหนักถึงสิทธิ์และหน้าที่ของตนในการใชบ้ ริการสขุ ภาพ 5.2 การจัดสงิ่ แวดลอ้ มโดยค�ำ นงึ ถงึ การปอ้ งกันภาวะเสี่ยงที่อาจเกดิ ขึ้น 5.3 การป้องกนั การตดิ เชอ้ื จากการด�ำ เนินชวี ิตประจำ�วัน 5.4 การปอ้ งกนั อนั ตรายจากการตรวจ/หัตถการ/เครือ่ งมือพิเศษ/ยา 5.5 การรจู้ ักสถานบริการ และการเลือกใชเ้ หมาะสมกบั ภาวะสุขภาพ 6. เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ างการแพทยม์ เี พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ าร ไดร้ บั การตรวจสอบความเทย่ี ง(Calibration) อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และการปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ โดยยกึ หลกั การท�ำ ใหป้ ราศจากเชอ้ื (UniversalPrecaution) 7. บุคคล ครอบครวั และชุมชน ไดร้ บั ความรเู้ พยี งพอก่อนตดั สนิ ใจเขา้ รบั การรักษา 8. ทบทวนและคน้ หาความเสีย่ ง ทอ่ี าจเกดิ ขึน้ กับบุคคล ครอบครัวและชมุ ชนอยา่ งสมา่ํ เสมอ 9. กำ�หนดแนวทางการดูแล ป้องกัน ก่อนการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือความปลอดภัยของผรู้ ับบริการ 10. ประเมินผลการจดั กิจกรรมเพอ่ื ค้มุ ครองภาวะสุขภาพ 11. บนั ทึกกิจกรรมการพยาบาลการค้มุ ครองภาวะสขุ ภาพผลลพั ธ์ทค่ี าดหวัง เดก็ ปฐมวัยไดร้ ับการคุม้ ครองภาวะสขุ ภาพให้ปลอดภยั มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
88 ØØมาตรฐานท่ี 9 การใหข้ อ้ มูลและความรดู้ า้ นสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพจัดระบบบริการให้ข้อมูล ความรู้ และให้คำ�ปรึกษา ที่ตรงตามความต้องการ จำ�เป็น เพ่ือการสง่ เสรมิ การดูแลสุขภาพตนเอง ของเดก็ ปฐมวัย แนวทางปฏบิ ัติ 1. ค้นหาความต้องการจำ�เป็นรวมท้ังประเมินความสามารถในการเรียนรู้เพื่อกำ�หนดประเด็น การให้ขอ้ มูลและความรดู้ า้ นสขุ ภาพแก่มารดาและครอบครวั /ผดู้ แู ลเด็กอยา่ งครอบคลุม 2. จัดกลุ่มมารดา/ผู้ดูแลเด็กตามปัญหาและความต้องการ เพ่ือให้ข้อมูล/ความรู้ด้านสุขภาพ อยา่ งเหมาะสม ท้ังแบบรายกลมุ่ /รายบคุ คล 3. พฒั นาเอกสาร สอ่ื การใหข้ อ้ มลู และความรู้ ครอบคลมุ กลมุ่ มารดาทว่ั ไป และกลมุ่ ทม่ี ภี าวะเสย่ี ง รว่ มกับทมี สหสาขาวิชาชีพ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง 4. วางแผนและจัดโปรแกรมการให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ ได้ครอบคลุมทุกกลุ่ม เพื่อ สง่ เสริมการดแู ลตนเองทกุ มติ ิ 5. จัดกิจกรรมการให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ในกิจกรรมเรอื่ งต่อไปนี้ 5.1 การดแู ลพฒั นาการเด็กตามวยั 5.2 การดแู ลอาหารและการขับถ่าย 5.3 หนว่ ยงาน/แหล่งขอ้ มลู /บุคคลท่เี กยี่ วขอ้ งท่ีสามารถประสานการช่วยเหลอื 6. ให้ข้อมูล ความรู้ คำ�ปรึกษา และเสริมสร้างพลังอำ�นาจให้กับมารดาและครอบครัว เก่ียวกบั การดูแลเดก็ ปฐมวัย เพ่ือตอบสนองปญั หาสุขภาพ 7. เปดิ โอกาสและมชี อ่ งทางการเขา้ ถงึ การรบั รขู้ อ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพจากบรกิ ารประเภทตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ สื่อบุคคล สอ่ื วสั ดุ สื่ออุปกรณ์ โปสเตอร์ วีดที ัศน์ และสื่ออืน่ ๆ 8. ประเมนิ ผลการตอบสนองต่อการใหข้ อ้ มลู และความรู้ดา้ นสุขภาพ 9. บนั ทกึ การให้ขอ้ มูลและความรู้ดา้ นสุขภาพตามแบบฟอรม์ ที่กำ�หนด ผลลพั ธท์ ่คี าดหวงั 1. มารดาและครอบครัว/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ เข้าใจเก่ียวกับการใช้บริการ เม่ือมีอาการเจ็บป่วย และการรกั ษาพยาบาล 2. มารดาและครอบครวั /ผดู้ แู ลเดก็ มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจการปฏบิ ตั ติ น เพอ่ื การดแู ลสขุ ภาพ ตนเอง มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
89ØØมาตรฐานที่ 10 การพิทกั ษ์สทิ ธิผู้ปว่ ย พยาบาลวิชาชีพใหก้ ารดแู ลกลุ่มเป้าหมาย สิทธท์ิ ีพ่ ึงไดร้ ับจากการใช้บริการทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข โดยเคารพศักด์ศิ รแี ละคณุ คา่ ความเป็นมนุษย์ ตลอดจนการพิทกั ษส์ ทิ ธติ ามขอบเขตบทบาทหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ โดยยดึ หลักคณุ ธรรม จริยธรรมแนวทางปฏิบัติ 1. การปฏิบัติการพยาบาลเด็กปฐมวัย ครอบครัวและชุมชน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี การพยาบาล 2. การให้ข้อมูลแก่มารดา ครอบครัวและชุมชนอย่างต่อเน่ือง เกี่ยวกับ ภาวะสุขภาพ ผลการตรวจประเมนิ สภาพร่างกาย สิทธผิ ้ปู ่วย แผนการพยาบาลและแหล่งประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ 3. ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยใช้แนวทางการพิทกั ษส์ ทิ ธผิ ู้ใช้บริการ ดงั นี้ 3.1 การให้ข้อมลู /บอกกล่าว ยนิ ยอมการรักษา/ข้อมูลที่จำ�เป็น 3.2 การแจ้งชือ่ - สกลุ และประเภทของผ้ปู ระกอบวิชาชีพทใ่ี ห้บรกิ าร 3.3 การรกั ษาความเป็นสว่ นตัวและความลบั เกยี่ วกับ 3.3.1 ความลับของเวชระเบยี น ทงั้ สิทธิการใช้และเข้าถงึ ขอ้ มูลเวชระเบยี น 3.3.2 การเผยแพร่ขอ้ มูลเพอื่ ใช้ในการศกึ ษา เรียนรู้/วิจัย 3.3.3 การเปดิ เผยรา่ งกาย จากการให้บริการรักษาพยาบาล 3.3.4 การจัดสภาพแวดล้อมทีไ่ มข่ ัดแยง้ กบั ความเช่ือ/วัฒนธรรม 3.4 การดูแลกลุ่มผูใ้ ชบ้ รกิ ารทีเ่ ฉพาะเจาะจง เชน่ ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ าร และเดก็ เปน็ ตน้ 4. ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความเสมอภาค ใหเ้ กยี รตแิ ละความเทา่ เทยี มกนั ค�ำ นงึ ถงึ สทิ ธิ ความเปน็ มนษุ ย์และปจั เจกบคุ คล 5. เปิดโอกาสให้บุคคลและครอบครัวได้ซักถามประเด็นสงสัย และมีส่วนร่วมตัดสินใจเลือกวิธกี ารดแู ลรกั ษาพยาบาล 6. กรณผี ปู้ ว่ ยไมส่ มคั รใจยนิ ยอมรกั ษา ตอ้ งใหค้ �ำ แนะน�ำ การดแู ลตนเองและทบทวนความเขา้ ใจเกี่ยวกับอาการผิดปกติและความจำ�เปน็ ในการรบั การรักษาพยาบาลผลลพั ธ์ท่ีคาดหวัง 1. เด็กปฐมวยั ได้รบั การพิทกั ษ์สทิ ธิอยา่ งเหมาะสม 2. ผใู้ ชบ้ ริการไดร้ ับบรกิ ารจากบุคลากรทางการพยาบาล โดยไมม่ กี ารละเมดิ สทิ ธิ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
90 ØØมาตรฐานท ่ี 11 การบันทกึ ทางการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพและบุคลากรทีมสุขภาพ บันทึกข้อมูลทางการพยาบาล และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กบั เดก็ ปฐมวยั เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรอยา่ งเปน็ ระบบ เพอื่ สอ่ื สารกบั ทมี งานและทมี สขุ ภาพทเี่ กย่ี วขอ้ ง และใชเ้ ป็นข้อมูลทางกฎหมาย แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. กำ�หนดแบบฟอร์มการบันทึกทางการพยาบาล ที่แสดงถึงการใช้กระบวนการพยาบาล ครอบคลมุ เกีย่ วกบั 1.1 การคัดกรองเบอ้ื งต้น/การประเมนิ ตอ่ เน่ือง 1.2 การวนิ จิ ฉยั ทางการพยาบาล/ปญั หาการตอบสนองต่อภาวะสขุ ภาพ 1.3 การวางแผนการพยาบาล/การเตรยี มพร้อมก่อนส่งตอ่ /เคล่อื นยา้ ย/จำ�หน่าย 1.4 การช่วยเหลอื พยาบาลเบอื้ งต้น/ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 1.5 การประเมินผล/การตอบสนองตอ่ การปฏบิ ตั ิการพยาบาล 2. บันทึกการพยาบาลทั้งการปฐมพยาบาล/การดูแลให้การช่วยเหลือครอบคลุมกระบวนการ พยาบาล ดงั นี้ 2.1 การตอบสนองต่อภาวะความเจ็บป่วยของผู้ใช้บริการเช่น อาการวิตกกังวล อาการปวด อาการไข้ เป็นตน้ 2.2 การวางแผนการพยาบาลทีค่ รอบคลมุ ตามปัญหาและความต้องการ 2.3 การปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือตอบสนองปญั หาสุขภาพของเด็กปฐมวัยและครอบครวั 2.4 การประเมินผลการตอบสนองตอ่ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 3. บันทึกข้อมูลทางการพยาบาลให้ครอบคลุม ถูกต้องและต่อเนื่องตามมาตรฐานแนวทางการ บันทึกข้อมูลทางการพยาบาล และข้อความท่ีบันทึกชัดเจน กระทัดรัด สามารถสื่อความหมายแก่ทีม สขุ ภาพ 4. บันทึกการพยาบาลที่แสดงถึงการให้บริการพยาบาล ตามอาการทางคลินิกของเด็กปฐมวัย อยา่ งตอ่ เนื่อง ต้งั แต่เขา้ รับบรกิ ารจนส้นิ สดุ บริการ 5. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของการบันทึก 6. น�ำ ผลการตรวจสอบคุณภาพการบันทกึ ไปพฒั นาการปฏบิ ตั ิการพยาบาล มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
91ผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั 1. มีการบันทึกข้อมูลการให้บริการดูแลรักษาพยาบาล ครอบคลุมกระบวนการพยาบาล และสามารถใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมายได้ 2. บันทึกการพยาบาล แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงอาการ/อาการแสดงภาวะสุขภาพของบุคคลครอบครัว และชมุ ชนอย่างต่อเนื่องสามารถนำ�มาวางแผนการจดั บรกิ ารพยาบาลได้ 3. บนั ทกึ การพยาบาลสามารถสอื่ สารขอ้ มลู เพอ่ื ใชด้ แู ลเดก็ ปฐมวยั ระหวา่ งวชิ าชพี ทเ่ี กย่ี วขอ้ งได้Ø4. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลเด็กวัยเรยี นและวัยรุ่น การบรกิ ารพยาบาลเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ในชมุ ชน เปน็ บรกิ ารพยาบาลทใี่ หก้ บั เดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ทง้ั ปกตแิ ละทม่ี ภี าวะเสย่ี งหรอื ผทู้ ม่ี ปี ญั หา ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจและอารมณ์ โดยเดก็ วยั เรยี นจะมีปัญหาด้านร่างกาย การเจ็บป่วยด้วยโรคที่พบบ่อย ในขณะที่เด็กวัยรุ่นมักพบปัญหาที่ซับซ้อนท้ังร่างกายและจิตสังคมและจำ�เป็นต้องทำ�ความเข้าใจสาเหตุท่ีแท้จริง การพยาบาลมีเป้าหมายเพื่อการเตรียมความพร้อมให้เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีความรู้และการเอาใจใส่ด้านสุขภาพและเสริมสร้างศักยภาพด้านสังคม พฤติกรรมท่ีเหมาะสม เพ่ือนำ�ไปสู่การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและมคี ณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี จะเปน็ การวางพน้ื ฐานให้เด็กเติบโตเป็นผใู้ หญท่ ่มี ีคณุ ภาพ มาตรฐานการบริการพยาบาลเดก็ วัยเรียนและวัยรุ่น ประกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ เปน็ ขอ้ ก�ำ หนดใหพ้ ยาบาลวชิ าชพี น�ำ ไปปฏบิ ตั กิ ารดแู ลเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ทง้ั ภาวะปกตแิ ละภาวะเสยี่ งทง้ั รายใหมแ่ ละรายเกา่ ซงึ่ แบง่ เปน็11 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 การประเมนิ ภาวะสุขภาพ มาตรฐานที่ 2 การวนิ ิจฉยั ภาวะสขุ ภาพ มาตรฐานท่ี 3 การวางแผนการพยาบาล มาตรฐานท่ี 4 การปฏบิ ัติการพยาบาล มาตรฐานท่ี 5 การประเมินผลการปฏิบตั ิการพยาบาล มาตรฐานที่ 6 การดแู ลต่อเนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 7 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ มาตรฐานที่ 8 การค้มุ ครองภาวะสขุ ภาพ มาตรฐานที่ 9 การใหข้ ้อมูลและความรูด้ า้ นสขุ ภาพ มาตรฐานการพยาบาลในชุมชน
92 มาตรฐานที่ 10 การพิทักษ์สทิ ธิผู้ใชบ้ ริการ มาตรฐานที่ 11 การบันทกึ ทางการพยาบาล 2. เกณฑ์ชว้ี ัดคุณภาพการบริการพยาบาลเด็กวัยเรยี นและวยั รุ่น 2.1 รอ้ ยละของเด็กวัยเรียนและวัยร่นุ ได้รับการพฒั นาทักษะชวี ติ และประเมนิ ความเส่ยี ง 2.2 รอ้ ยละของเดก็ วยั เรียนและวยั รนุ่ กลุม่ เส่ยี งได้รับการดแู ลแกไ้ ขตามสภาพปัญหา 2.3 รอ้ ยละของเด็กวยั เรียนและวัยรุน่ ทเ่ี กิดปัญหาได้รับการช่วยเหลอื (รายละเอยี ดเกณฑช์ ้วี ดั คณุ ภาพการบริการพยาบาลเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นอยใู่ นบทท่ี 4 หน้า 207) มาตรฐานการบรกิ ารพยาบาลเดก็ วัยเรยี นและวัยรนุ่ ØØมาตรฐานท ่ี 1 การประเมินภาวะสขุ ภาพ พยาบาลวชิ าชพี ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ เพอื่ คน้ หาเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ทมี่ ภี าวะเสยี่ ง มปี ญั หาสขุ ภาพตอ้ งการการดแู ล รวมทงั้ ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปน็ ปจั จยั เสยี่ งตอ่ สขุ ภาพของเดก็ วยั เรยี นและวัยรุ่นในชมุ ชน แนวทางปฏิบตั ิ 1. ประเมินภาวะสุขภาพเดก็ วยั เรียนและวยั รนุ่ ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย พฤติกรรม และจติ สงั คม 1.1 ด้านร่างกาย ได้แก่ ภาวะโภชนาการ การตรวจวัดสายตา การได้ยิน การเจริญเติบโต และพฒั นาการ การตรวจสขุ ภาพฟันและสุขอนามัยสว่ นบคุ คล 1.2 ดา้ นพฤตกิ รรม ไดแ้ ก่ การบรโิ ภคอาหาร การออกก�ำ ลงั กาย การเสพสารเสพตดิ เพศสมั พนั ธ์ 1.3 ด้านจิตสังคม ได้แก่ ครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมในชุมชน การเผชญิ ความเครยี ด ทกั ษะชวี ติ สมั พนั ธภาพในครอบครวั ความพรอ้ มในการดแู ลและการสนบั สนนุ ทางสังคมของครอบครัว 1.4 ดา้ นส่งิ แวดล้อม ไดแ้ ก่ สภาพที่อย่อู าศัย โรงเรียน และชุมชน 2. ประเมนิ การรบั รแู้ ละความเขา้ ใจของพอ่ แม/่ ผดู้ แู ล เกย่ี วกบั การเลย้ี งดเู ดก็ ในวยั เรยี นและวยั รนุ่ และภาวะเสย่ี งตา่ ง ๆ ทต่ี ้องเฝ้าระวัง 3. ส่ือสารขอ้ มูลการประเมินภาวะสขุ ภาพใหก้ บั ทมี สขุ ภาพในชุมชน 4. บันทึกข้อมูลการประเมินภาวะสุขภาพ รวมทั้งปัญหา/ความต้องการ การดูแลสุขภาพและ จัดเกบ็ ขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
93ผลลัพธ์ทค่ี าดหวัง 1. เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ได้รับการประเมินภาวะสุขภาพและความต้องการบริการพยาบาลทคี่ รอบคลุมถึงปัจจัยส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพของเดก็ วยั เรยี นและวัยรนุ่ 2. เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงหรือมีปัญหาสุขภาพได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพตามการเปล่ยี นแปลงØØมาตรฐานท่ ี 2 การวินิจฉยั ภาวะสขุ ภาพ พยาบาลวิชาชีพ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อระบุภาวะสุขภาพและความต้องการการดูแลของเดก็ วยั เรยี นและวัยรนุ่ ร่วมกับ ครอบครวั ชมุ ชน ทีมสุขภาพและภาคีเครอื ข่ายท่เี กย่ี วขอ้ งแนวทางปฏิบัติ 1. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการประเมนิ และขอ้ มลู สถติ ทิ างดา้ นสขุ ภาพ เพอื่ ใชอ้ ธบิ ายลกั ษณะของปัญหาให้ชดั เจนมากยิง่ ขึน้ 2. ระบุปัญหา/ความต้องการด้านสุขภาพ (Identity problem) ของเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น โดยจำ�แนกตามระดับสุขภาพ ได้แก่ กลุ่มปกติ กลุ่มป่วย และกลุ่มเส่ียง ร่วมกับทีมสุขภาพและชุมชนเพ่อื ใช้ประโยชน์ในการวางแผนส่งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกันโรค ฟืน้ ฟสู ภาพทเี่ หมาะสม 3. การจดั ลำ�ดับความสำ�คญั ของปัญหา (Priority setting) 4. กำ�หนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลให้ครอบคลุมความรุนแรงของความเร่งด่วนของปัญหาและความตอ้ งการของเดก็ วัยเรียนและวยั รนุ่ 5. บันทึกขอ้ วินิจฉัยทางการพยาบาลใหค้ รอบคลุมปญั หาและความตอ้ งการการพยาบาลผลลพั ธ์ที่คาดหวัง 1. เดก็ วัยเรยี นและวัยรุน่ ได้รับการวนิ จิ ฉัยปญั หาและความต้องการด้านสขุ ภาพอยา่ งครบถว้ น 2.เดก็ วัยเรยี นและวัยรนุ่ ได้รับการจ�ำ แนกความตอ้ งการการดูแลอย่างถกู ต้อง ทันเวลา มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
94 ØØมาตรฐานที่ 3 การวางแผนการพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี วางแผนการพยาบาล ใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดแู ลของ เดก็ วยั เรียนและวยั รนุ่ รว่ มกบั ครอบครวั ชุมชน โรงเรยี น ทมี สุขภาพและภาคเี ครอื ขา่ ยที่เก่ียวขอ้ ง แนวทางปฏบิ ัติ 1. ประสานความร่วมมือกับบิดามารดาและครอบครัวท่ีมีปัญหา ชุมชน โรงเรียน ทีมสุขภาพ และองคก์ รท่เี กี่ยวข้อง ก�ำ หนดแผนการดแู ลและช่วยเหลอื ตามข้อวินิจฉัย 2. มอบหมายผู้รับผิดชอบติดตามการดูแลตามแผนช่วยเหลือเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นและ ครอบครวั ทีม่ ปี ญั หาสขุ ภาพ 3. กำ�หนดแผนการพยาบาลทส่ี ่งเสรมิ สนบั สนนุ การดูแลเดก็ วยั เรยี นและวยั รุน่ เกีย่ วกับ 3.1 การสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน 3.2 การใหค้ วามรกู้ ารดแู ลสขุ ภาพกาย จติ และปจั จยั เสยี่ งตามวยั ของเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ 3.3 การปรับเปลย่ี นแผนการด�ำ เนินชวี ติ ทีเ่ สยี่ งต่อการเกดิ โรคเพอ่ื สุขภาพ 3.4 การพัฒนาสง่ิ แวดล้อมทเ่ี อ้ือตอ่ การมีสุขภาพดี 3.5 การสรา้ งความเข้มแขง็ ของเครือข่ายทางสงั คม เช่น ชมรมเยาวชน 4. เปดิ โอกาสใหค้ รอบครวั ชมุ ชน โรงเรยี น ทมี สขุ ภาพและองคก์ รทเี่ กย่ี วขอ้ ง มสี ว่ นรว่ มใหข้ อ้ มลู เพือ่ ใช้ปรบั เปลยี่ นแผนการพยาบาลให้สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงของปัญหา 5. ส่ือสารแผนการพยาบาลให้ทีมสุขภาพในโรงเรียนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง เพื่อประสานความร่วมมอื ในการดูแลชย่ เหลือ 6. บนั ทกึ การวางแผนการพยาบาลเป็นลายลักษณ์อกั ษร ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวัง เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ครอบครัว มีส่วนร่วมกำ�หนดแผนการดูแลสุขภาพ และมีการวางแผน บริการครอบคลุมสอดคลอ้ งกบั ปญั หาและความตอ้ งการ มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
95ØØมาตรฐานที ่ 4 การปฏิบัตกิ ารพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี ใหก้ ารพยาบาลเดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ สอดคลอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพและความตอ้ งการดูแลตามแผนทก่ี �ำ หนดแนวทางปฏิบัติ 1. วิเคราะห์ความสอดคล้องแผนที่กำ�หนดกับสถานการณ์ปัจจุบัน และปรับเปล่ียนกลวิธีการดำ�เนินงานใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ 2. ประสานความร่วมมือกับทีมสุขภาพ โรงเรียน และองค์กรหรือแหล่งประโยชน์ต่าง ๆ เพ่ือเตรียมความพร้อมในการดำ�เนนิ การตามแผน 3. ปฏบิ ตั ิตามแผนทกี่ ำ�หนดในประเด็นทีเ่ ปน็ ปญั หาสขุ ภาพของเดก็ วยั เรยี น วยั รุน่ ท่พี บบอ่ ย ●●การป้องกนั ความเสี่ยงจากการมเี พศสัมพนั ธ์ ●●การส่งเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ ●●การป้องกนั การสบู บุหร่ี ●●การป้องกันการดื่มเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ ●●การปอ้ งกันการใชส้ ารเสพตดิ ●●การป้องกันการบาดเจ็บและการเกิดอุบัติเหตุ ●●การส่งเสรมิ สขุ ภาพจติ /การเผชิญความเครียด/ทักษะชวี ติ 4. กำ�หนดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในชุมชน ท้ังในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เช่น การตรวจสุขภาพนักเรียน การให้ภูมิคุ้มกันโรค การส่งเสริมดา้ นโภชนาการและพฒั นาการ การพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื หลกี เลยี่ งและปฏเิ สธปจั จยั เสย่ี งและอนั ตรายต่าง ๆ เช่น การเสพสารเสพติด การดื่มสุรา สูบบุหร่ี เป็นต้น การให้ความรู้บิดามารดา การส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครวั 5. กำ�หนดกจิ กรรมการส่งเสริมสุขภาพ ปอ้ งกนั โรค และเฝา้ ระวงั ภาวะสุขภาพ ในสถานบริการเพอื่ ใหเ้ ดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ เขา้ ถงึ บรกิ ารไดง้ า่ ย เชน่ คลนิ กิ วยั รนุ่ /บรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ รส�ำ หรบั วยั รนุ่ และเยาวชน 6. บันทกึ ผลการปฏิบัตกิ ารพยาบาลผลลัพธ์ที่คาดหวงั 1. เด็กวัยเรียน วัยรุ่น ได้รับการดูแลสุขภาพที่ครอบคลุม ต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
96 2. เด็กวัยเรยี น วัยรนุ่ มีทักษะการปฏิเสธเพอ่ื หลกี เลี่ยงปจั จัยเสย่ี งตอ่ สุขภาพ 3. มสี ุขภาพทางกาย จติ สงั คมท่เี หมาะสมตามวยั 4. เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นท่ีมีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลช่วยเหลือตามสภาพปัญหาและ ความตอ้ งการ ØØมาตรฐานท ี่ 5 การประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ ารพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี ประเมนิ ผลลพั ธก์ ารพยาบาล เพอ่ื ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลใหส้ อดคลอ้ ง กบั ปญั หา และความต้องการของกลุ่มเดก็ วัยเรยี นและวัยรุ่น แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ประสานความรว่ มมอื กบั ทมี สขุ ภาพ ทีมแกนนำ�ชมุ ชน และองค์กรที่เก่ยี วขอ้ งในการกำ�หนด เครือ่ งชวี้ ัด เครอ่ื งมอื วัด และแนวทางการประเมินความสำ�เรจ็ ของกจิ กรรม 2. ด�ำ เนนิ การประเมนิ ผลการพยาบาล/การดแู ลสขุ ภาพครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ ของเดก็ วยั เรยี นวยั รนุ่ ประเดน็ ตอ่ ไปนี้ ●●การตดิ ตามเฝา้ ระวงั ความกา้ วหนา้ ของการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางรา่ งกายและจติ ใจ ●●การตอบสนองการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ หลงั ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามเปา้ หมาย ผลลพั ธท์ ่ี คาดหวัง ●●ความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในการดูแลเด็กวัยเรียน วัยรุ่น ของบิดา มารดาและ ครอบครวั ●●ความร่วมมือของบิดา มารดา ครอบครัว ชุมชน โรงเรียนและองค์กรท่ีเกี่ยวข้องต่อการ ปฏบิ ตั ิการพยาบาล ●●ผลกระทบตอ่ กลมุ่ เดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ปว่ ย ครอบครวั ทม่ี ปี ญั หาสขุ ภาพ และกลมุ่ เสย่ี ง รวมถึงสิง่ แวดล้อมทีม่ ีผลต่อภาวะสขุ ภาพ ●●ปจั จัยทีเ่ ป็นผลส�ำ เรจ็ และปัจจยั ท่ีเปน็ อุปสรรคตอ่ การดแู ล 3. เปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ว่ ย ครอบครวั และชมุ ชน ทมี่ ปี ญั หาสขุ ภาพ และกลมุ่ เสย่ี ง รว่ มประเมนิ ผล การพยาบาล/การดูแลสุขภาพ 4. ประชุมปรึกษาในทีมสุขภาพ เพ่ือวิเคราะห์หากลวิธี แนวทางการปรับปรุงการพยาบาลให้ สอดคล้องกบั ปญั หาและความต้องการของเด็กวัยเรียน วัยรนุ่ 5. รายงานผลการพยาบาลแก่ ทมี สขุ ภาพท่ีเกย่ี วขอ้ ง มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
97ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวัง เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นได้รับการติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพหลังการปฏิบัติการพยาบาลØØมาตรฐานท ี่ 6 การดแู ลตอ่ เน่อื ง พยาบาลวิชาชีพติดตามดูแลเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น อย่างต่อเน่ือง ให้สามารถจัดการปัญหาสุขภาพดว้ ยตนเองได้ โดยการมสี ว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชนแนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ส่งเสริม/สนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน และองค์กรท่ีเกี่ยวข้องมีการติดตามดูแลเด็กวัยเรยี นและวัยรนุ่ อยา่ งตอ่ เน่อื ง ตามปญั หาและความต้องการ 2. ดูแลเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นอย่างต่อเน่ืองครอบคลุมการเจริญเติบโตทางร่างกาย จิตสังคมพฤติกรรมและส่ิงแวดล้อม 3. เดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ทม่ี ภี าวะเสย่ี งตอ่ ปญั หาสขุ ภาพ และผทู้ มี่ ปี ญั หาสขุ ภาพในชมุ ชนไดร้ บัการบรกิ ารพยาบาล อย่างตอ่ เนอ่ื งสอดคล้องกับปญั หาความตอ้ งการ 4. ให้ค�ำ แนะนำ� ฝึกทักษะครอบครัวใหส้ ามารถดแู ลเด็กวยั เรยี นและวัยร่นุ ท่ีบา้ นได้ถกู ตอ้ ง 5. สร้างเสรมิ ความมน่ั ใจและเป็นก�ำ ลงั ใจแกเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น และครอบครวั 6. ประสานความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงาน และองค์กรท่ีเก่ียวข้องในการให้ความช่วยเหลือเชน่ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยใ์ นการพฒั นาอาชพี สถานศกึ ษาในการเฝา้ ระวงัพฤติกรรมเสีย่ ง 7. บันทึกข้อมูลการดูแลตอ่ เน่ืองอย่างครอบคลมุ ตามแนวทางท่ีกำ�หนดของหน่วยงานผลลพั ธ์ท่คี าดหวัง เดก็ วยั เรยี นและวยั รนุ่ ไดร้ บั การเฝา้ ระวงั ดแู ลสขุ ภาพ อยา่ งตอ่ เนอื่ งรวมถงึ การสง่ ตอ่ ชว่ ยเหลอืจากชุมชน องคก์ รทีเ่ กย่ี วข้องอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของครอบครวั และชุมชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
98 ØØมาตรฐานที่ 7 การสร้างเสรมิ สุขภาพ พยาบาลวิชาชีพออกแบบกิจกรรมเพ่ือเพิ่มสมรรถนะให้เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีความสามารถ ควบคมุ ปัจจยั ทเ่ี ป็นตวั ก�ำ หนดภาวะสุขภาพและส่งเสริมสขุ ภาพ แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. คน้ หา รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื คน้ หาปจั จยั เออ้ื ปจั จยั น�ำ และปจั จยั เสรมิ ทม่ี ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ 2. กำ�หนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพท่ีเหมาะสมท้ังในกลุ่มปกติ กลุ่มเส่ียงและกลุ่มป่วย โดย ครอบคลมุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มโดยผสมผสานแผนนเ้ี ขา้ กบั แผนการพยาบาล และแผนการดแู ลของทีมสหสาขาวิชาชีพ และเครอื ข่ายทเี่ ก่ียวข้องในชุมชน 3. จดั โปรแกรม/ดแู ลการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพทง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม พฒั นาการและพฤตกิ รรม สอดคลอ้ งกับปญั หาและความตอ้ งการของเด็กวยั เรียนและวัยรนุ่ ทงั้ รายบคุ คลและกลุ่ม ได้แก่ 3.1 การรบั ประทานอาหารใหค้ รบถ้วน 5 หมู่และเหมาะสมตามวยั เพ่ือการเจริญเตบิ โต 3.2 การดแู ลรักษาความสะอาดของร่างกายและส่ิงแวดลอ้ ม 3.3 การออกกำ�ลงั กายทเ่ี หมาะสมตามวยั 3.4 การปอ้ งกันอนั ตรายทัง้ ร่างกายและจติ ใจ 3.5 การหลกี เลีย่ งความเสย่ี งตา่ ง ๆ ทจ่ี ะทำ�ใหเ้ กิดปัญหาทางสังคม 3.6 การมเี พศสัมพนั ธ์อยา่ งปลอดภยั 4. ประสานความรว่ มมือกบั หน่วยงาน องคก์ รทีเ่ กย่ี วข้องในการจดั สงิ่ แวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อสขุ ภาพ เชน่ การจัดสถานท่อี อกก�ำ ลังกายในโรงเรียนและชุมชน 5. รณรงค์ประชาสมั พันธโ์ ดยคำ�นึงถงึ ปญั หาที่พบบอ่ ยอย่างตอ่ เน่ืองและเหมาะสม 6. ประเมินความกา้ วหน้าของภาวะสุขภาพเดก็ วัยเรยี น วยั รุน่ ที่ได้รับการสรา้ งเสริมสุขภาพ 7. ปรบั แผนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพด้านร่างกายและจิตใจใหเ้ ป็นปัจจุบนั 8. สรปุ และบนั ทึกผลการสรา้ งเสริมสุขภาพ ผลลัพธ์ท่คี าดหวงั เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นได้รับการสร้างเสริมสุขภาพที่ครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม รวมทัง้ สง่ิ แวดลอ้ มที่เอ้อื ต่อการมสี ขุ ภาพทีด่ โี ดยการมีสว่ นรว่ มของครอบครัวและชมุ ชน มาตรฐานการพยาบาลในชมุ ชน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250