Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนเพชรเกษม2562

หลักสูตรโรงเรียนเพชรเกษม2562

Published by KruNattakan, 2021-08-16 07:19:00

Description: หลักสูตรโรงเรียนเพชรเกษม2562

Search

Read the Text Version

๙๒ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕62 ๒. กจิ กรรมนักเรียน เปน กจิ กรรมทม่ี งุ พฒั นาความมีระเบยี บวนิ ัย ความเปน ผูน ำ ผูตามทด่ี ี ความรบั ผิดชอบ การ ทำงานรวมกัน การรจู ักแกปญ หา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน เอ้อื อาทร และสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผูเรียน ใหผเู รยี นได ปฏิบัติดวยตนเองในทุกข้ันตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงการทำงาน เนนการทำงานรวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของ ผเู รยี น บริบทของโรงเรยี นและทอ งถ่ิน กจิ กรรมนกั เรียนประกอบดว ย ๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื /ยวุ กาชาด นักเรียนทกุ คนตองเขารว มกิจกรรมลกู เสอื /ยวุ กาชาด จำนวน ๓๐ ชว่ั โมง/ปการศึกษา กิจกรรมลกู เสือ เปนกิจกรรมที่มุงปลูกฝงระเบียบวินัยและกฎเกณฑเพื่อการอยูรวมกัน ใหรูจักการ เสียสละและบำเพ็ญประโยชนแกสังคมและวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งการจัดกิจกรรมลูกเสือ เปนไปตามขอบังคับของสำนักงานลูกเสือแหงชาติรวมทั้งสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยหลกั สูตรโรงเรยี นวัดบางประทุนนอก พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ กำหนดเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ลกู เสือสำรอง ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๑-๓ ๒. ลกู เสือสามัญ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๔-๖ แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ จัดกิจกรรมลกู เสือตามวิธีการลูกเสือ (Scout Method) ซึ่ง มอี งคป ระกอบ ๗ ประการ คือ ๑. คำปฏิญาณและกฎ เปนหลักเกณฑท่สี ุดเสอื ทุกคนใหคำม่ันสัญญาวาจะปฏิบัตติ ามกฎ ของลกู เสือ กฎของลูกเสือมีไวใหล ูกเสือเปนกลักในการปฏิบตั ิ ไมไ ด “หาม” ทำหรือ “บังคับให” ทำ แต ถาทำก็จะใหผ ลดีแกต ัวเอง เปน คนดี ไดรับการยกยองวา เปน ผมู เี กยี รติเชอ่ื ถอื ได ๒. เรียนรูจากการกระทำ เปนการพัฒนาสวนบุคคล ความสำเร็จหรือไมสำเร็จของ ผลงานอยูท่ีการกระทำของตนเอง ทำใหมีความรูท่ีชัดเจน และสามารถแกปญหาตางๆไดและทาทาย ความสามารถของตนเอง ๓. ระบบหมู เปนรากฐานอันแทจ ริงของการลูกเสือ เปน พื้นฐานในการอยูรว มกนั การ ยอมรับซ่ึงกันและกนั การแบงหนาที่ความรับผดิ ชอบ การชว ยเหลอื ซึ่งกนั และกัน ซ่งึ เปนการเรียนรูก ารใช ประชาธปิ ไตยเบื้องตน

๙๓ หลกั สูตรโรงเรียนเพชรเกษม ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕62 ๔. การใชสญั ลกั ษณรวมกัน ฝกใหมีความเปนหน่ึงเดียวในการเปนสมาชิกลูกเสือ ดวย การใชสัญลักษณร วมกันไดแ ก เครื่องแบบ เคร่ืองหมาย การทำความเคารพ รหัส คำปฏญิ าณ กฎ คติพจน คำขวัญ ธง เปน ตน ๕. การศึกษาธรรมชาติ คือ ส่ิงสำคัญอันดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติ อัน โปรงใสตามชนบท ปาเขา ปาละเมาะ และพุมไม เปนที่ปรารถนาอยางย่ิงในการไปทำกิจกรรมกับ ธรรมชาติ การอยคู ายพกั แรมตามกฎระเบยี บ ๖. ความกาวหนาในการเขารวมกิจกรรม กิจกรรมตางๆ ที่จัดใหเด็กทำ ตองใหมี ความกาวหนาและดึงดูดใจ สรางใหเ กิดความกระตือรอื รน อยากที่จะทำและวัตถุประสงคในการจดั แตล ะ อยา งใหสัมพันธก บั ความหลากหลายในการพฒั นาตนเอง เกมการเลน ท่ีสนุกสนาน การแขง ขนั กนั ๗. การสนับสนุนโดยผูใหญ ผูใหญเปนผูท่ีชี้แนะหนทางท่ีถูกตองใหแกเด็ก เพ่ือใหเกิด ความมั่นใจในการที่จะตัดสินใจกระทำส่ิงใดลงไปทั้งคูมีความตองการซึ่งกันและกัน เด็กตองการใหผูใหญ ชวยชนี้ ำ ผใู หญเองก็ตองการนำพาใหไปสูหนทางที่ดี ใหไดรับการพัฒนาอยางถูกตองและดีที่สดุ จึงเปน การรว มมือกนั ทงั้ สองฝา ย การจัดกจิ กรรมลกู เสือ ๑. จดั ใหมีการเปดประชุมกองทุกครั้ง กอนการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อฝก ความมีระเบียบ วินยั ในตนเอง ๒. กิจกรรมการอยูคายพกั แรม สำหรบั ลกู เสอื สามญั ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๖ ๓. กิจกรรมพิธีการ เชน พิธีเขาประจำกอง พิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม พิธี ถวายราชสดุดีพธิ ปี ระดบั เคร่ืองหมายตา งๆ เปน ตน ๔. กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน กจิ กรรมยวุ กาชาด เปนกิจกรรมที่มุงเนนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในระบบหนวย กลุม หมู เพื่อใหมี ความรู ความเขาใจ และเกิดทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักการกาชาดและยุวกาชาด การคุมครอง กฎหมาย มนุษยธรรม สทิ ธมิ นษุ ยธรรม การชวยเหลือ การรักษาสุขภาพและสมรรถภาพท่ีดี บำเพ็ญตน ใหเปนประโยชนตอสวนรวม อนุรักษส่ิงแวดลอม การสรางสัมพันธภาพและความเขาใจอันดีจะนำไปสู สนั ตภิ าพ กอใหเกิดความสุขในการอยรู ว มกนั ทกุ หนแหง การจัดกิจกรรมยุวกาชาด ตามหลักสูตรโรงเรียนวัดบางประทุนนอก พุทธศักราช ๒๕๕6 กำหนดเปน ๒ ระดับ ดังนี้ ๑. ยวุ กาชาดระดบั ๑ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๑-๓ ๒. ยุวกาชาดระดับ ๒ ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๔-๖

๙๔ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕62 แนวการจัดกจิ กรรมยวุ กาชาด การจดั กจิ กรรมยวุ กาชาด ประกอบดวย กจิ กรรมหลกั และกจิ กรรมพิเศษ ดังน้ี ๑. กิจกรรมหลัก หมายถึง กิจกรรมซ่ึงเปนพ้ืนฐานสำคัญที่สมาชิกยุวกาชาดทุกคนตอง เขา รว มกจิ กรรม กิจกรรมหลักประกอบดว ย ๔ กลมุ กจิ กรรม คือ ๑.๑ กลุมกิจกรรมกาชาดและยุวกาชาด เปนการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมให สมาชิกยุวกาชาดมีความรู ความเขาใจ ในหลักการและอุดมการณของกาชาด มีศรัทธาการเขารวม กิจกรรมดวยความเสยี สละ เปนคนดี มีคุณธรรม ชวยสรางสรรคสังคม เปนผูนำในการเผยแพรกิจกรรม กาชาดและยุวกาชาด กฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ สง เสริมศักยภาพ คุณคา ของความเปน มนุษย บทบาทชาย – หญิง เปนผูมีทักษะชีวิตในการจัดการกับปญหารอบๆ ตัว มีความพรอมเพื่อการปรับตัว เรื่องตางๆ ในอนาคต ในการจัดการกับปญหารอบๆ ตัว มีความพรอมเพื่อการปรับตัวเร่ืองตางๆ ใน อนาคต ประกอบดวยสาระทเ่ี กย่ี วกบั เรื่อง ๑.๑.๑ กาชาดสากล ๑.๑.๒ สภากาชาดไทย ๑.๑.๓ ยวุ กาชาด ๑.๒ กลุมกิจกรรมสขุ ภาพ เปนการจัดกจิ กรรมใหสมาชิกยุวกาชาดไดศ ึกษาและ ฝกฝนทักษะในการปองกันชีวิตและสุขภาพ การเสริมสรางสมรรถภาพ มีความรูและทักษะในการรักษา อนามัยของตนเอง และสงเสริมอนามัยของผูอ ่ืน การปฐมพยาบาลและเคหพยาบาล การเตรียมตวั ปองกัน อุบัติภัยและภยันตรายตางๆ เชน มีทักษะในการปองกันตนเองจากการถูกลวงละเมิด ชีวิตครอบครัว อิทธิพลจากสื่อและสงิ่ แวดลอ ม ประกอบดวยสาระที่เกี่ยวกับเรื่อง ๑.๒.๑ สขุ ภาพ ๑.๒.๒ การปองกันชีวติ และสุขภาพ ๑.๓ กลุมกิจกรรมสัมพันธภาพและความเขาใจอันดี เปนการจัดกิจกรรมให สมาชิกยวุ กาชาดไดร ูจกั ตนเอง มีระเบียบวินัย มบี ุคลิกภาพท่ีดี รูจักปรบั ตัวเขากบั ผูอื่นและสังคมไดดี มี ความสามคั คี มีสัมพันธภาพและความเขา ใจอันดีกับบุคคลทั่วไป ยอมรับความแตกตางระหวางบุคคลท่ีมี พื้นฐานการดำรงชีวิตและวัฒนธรรมที่แตกตางกัน สามารถทำงานรวมกับผูอ่ืน ประสบการณของยุวกาชาดที่ ปฏิบัติงานสรางเสริมสันติภาพ ซ่ึงเปนพ้ืนฐานของการทำงานในดานอื่นๆ ตอไป ประกอบดวยสาระที่ เกย่ี วกับเรอื่ ง ๑.๓.๑ ความสามคั คแี ละความพรอมเพรียง ๑.๓.๒ ความมรี ะเบียบวนิ ัย ๑.๓.๓ สัมพันธภาพและความเขาใจอนั ดี ๑.๔ กลุมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมและ สนับสนุนใหสมาชิกยุวกาชาดปฏิบัติตนเพื่อสนองอุดมการณและวัตถุประสงคของยุวกาชาด มีความ ภาคภูมใิ จในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และมรดกของชาติ พรอมที่จะอนรุ ักษส ภาพแวดลอม

๙๕ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕62 และธรรมชาติ เปนผูท่ีมีความเสียสละ และบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนแกสวนรวม ประกอบดวยสาระท่ี เก่ยี วกับเรื่อง ๑.๔.๑ การบำเพญ็ ประโยชน ๑.๔.๒ การอนุรักษธ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม ๒. กิจกรรมพิเศษ เปนกิจกรรมท่ีเสริมกิจกรรมหลักเพ่ือสรางทักษะ ความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจของผูเรยี นโดยเฉพาะ ซ่ึงผูเรยี นสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมไดและเมอื่ ผาน เกณฑก ารใหเ ครอ่ื งหมาย ผเู รยี นจะมสี ิทธปิ ระดับเคร่ืองหมายกิจกรรมพเิ ศษนัน้ ๆ การจัดกจิ กรรมยุวกาชาด ๑. จัดใหมีพิธีเปดและพิธีปดกิจกรรมยุวกาชาดทุกครงั้ กอนการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อฝก ความมีระเบยี บวินัยในตนเอง ๒. กิจกรรมพิธีการ เชน พิธีเขาประจำหมู พิธีทบทวนคำปฏิญาณและสวนสนาม พิธี ประดบั เครื่องหมายตางๆ ๓. กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน ๒.๒ กิจกรรมชมุ นมุ เปนกิจกรรมที่รวมกลุมผูเรียน ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ เพื่อเติม เต็มความรู ความชำนาญ ประสบการณ ทักษะ เจตคติ เพื่อพัฒนาตนเองตามศักยภาพ นักเรียนทุกคน ตอ งเขา รว มกจิ กรรมชมุ นมุ ๔๐ ชว่ั โมงตอ ปการศึกษา แนวการจดั กิจกรรมชุมนมุ ๑. ดำเนินกิจกรรมทั้งในรูปแบบภายในและภายนอกหอ งเรยี น กิจกรรมระยะเวลา ๑ ป การศกึ ษา ๒. เปนการรวมกลุมผูเรียนท่ีมีความถนัดและความสนใจเหมือนกัน รวมกันจัดต้ังและ ดำเนนิ กจิ กรรมชุมนุมตามระเบยี บของโรงเรียน โดยเชญิ คณุ ครเู ปน ทป่ี รึกษา ๓. ถอดประสบการณแลกเปลย่ี นเรยี นรแู ละเผยแพรกิจกรรม ๔. ครทู ีป่ รึกษากจิ กรรมประเมนิ ตามหลกั เกณฑการประเมินผล ๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมทส่ี งเสรมิ ใหผ เู รียนบำเพญ็ ตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชมุ ชน และทองถ่นิ ตาม ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอื่ แสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสงั คม มีจิต สาธารณะ นกั เรียนทกุ คนตองเขา รวมกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน ๑๐ ชวั่ โมงตอ ปการศกึ ษา

๙๖ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕62 แนวการจัดกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เนนใหผูเรียนรวมกันสำรวจและวิเคราะห สภาพปญหา รวมกันออกแบบกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน รวมกันสรุป และประเมินผลการจดั กจิ กรรม รวมกันรายงานผล พรอมทั้งประชาสัมพนั ธแ ละเผยแพรกิจกรรม โรงเรยี นวดั บางประทุนนอก จดั กิจกรรมและเขารว มกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน ดังน้ี ๑. กิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน ๘ กลุมสาระการเรียนรู และประสบการณของผูเรียน โดยผเู รียนสามารถจดั กจิ กรรมตามองคค วามรทู ไ่ี ดจ ากการเรียนรูแ ละประสบการณ ๒. กิจกรรมลกั ษณะโครงการ โครงงานหรอื กิจกรรม หมายถึง กิจกรรมที่ผเู รียนนำเสนอการ จดั กิจกรรมตอโรงเรียนเพ่ือขอความเห็นชอบในการจัดทำโครงการ โครงงานหรือกิจกรรม ซึ่งมีระยะเวลา เริ่มตนและสิน้ สุดทชี่ ัดเจน ๓. กิจกรรมรวมกับองคกรอื่น หมายถึง กิจกรรมท่ีผูเรียนอาสาสมัครเขารวมกิจกรรมกับ หนวยงานหรือองคก รอน่ื ๆ ท่ีจัดกิจกรรมในลักษณะเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน โดยผูเรียนสามารถ เลือกเขารวมกจิ กรรมไดด ังน้ี ๓.๑ รวมกับหนวยงานอ่ืนทเี่ ขามาจัดกจิ กรรมในโรงเรียน ๓.๒ รวมกับหนวยงานอืน่ ทจ่ี ดั กจิ กรรมนอกโรงเรยี น

๙๗ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕62 การประเมินผลกจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น การประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนการประเมินโดยผูเรียนตองมีเวลาเขารวม กิจกรรม ปฏิบัติกจิ กรรมและมผี ลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะผานการประเมินตามเกณฑที่โรงเรยี นกำหนด การประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู รียน แบงเปน ๒ ประการ คอื ๑. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นรายกิจกรรม การประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเ รยี นรายกจิ กรรม มแี นวปฏบิ ัติดงั นี้ ๑.๑ ตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผูเรียน ตองมีเวลาเขารวมกิจกรรมไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาปฏิบัตกิ ิจกรรมเต็ม ๑.๒ ประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนจากการปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงาน/คณุ ลักษณะ ของผเู รียน ตามเกณฑก ารประเมินรายกิจกรรม มผี ลการประเมินผลงานการปฏิบตั ิกจิ กรรม ผลงาน/ช้ินงาน/ คณุ ลกั ษณะ ไมนอยกวา รอยละ ๗๐ ของคะแนนทงั้ หมด ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เนนการมีสวนรว มในการ ปฏิบตั ิกจิ กรรม ๑.๓ ผูเรียนท่ีมีเวลาการเขารวมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ช้ินงาน/ คุณลักษณะตามเกณฑที่กำหนด เปนผูผานการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนรายกิจกรรม และนำผล ประเมินไปบนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรียน ๑.๔ ผูเรียนที่มีผลการประเมินไมผานในเกณฑเวลาการเขารว มกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะตามท่ีกำหนดการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผูเรียนรายกิจกรรม ครูหรือ ผรู ับผดิ ชอบตองดำเนินการซอ มเสริมและประเมนิ จนผาน ท้ังนี้ตองดำเนินการใหเสร็จสิน้ ในปก ารศึกษานัน้ ๒. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู รยี นเพ่อื การตดั สิน การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเพ่ือการตัดสินเลื่อนช้ันและจบระดับการศึกษา เปน การ ประเมินการผานกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นเปนรายป เพื่อสรุปผลการผานในแตละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อ เล่ือนชั้นและประมวลผลรวมในปสุดทายเพื่อจบแตละระดับการศึกษา โดยการดำเนินการดังกลาวมีแนว ปฏิบัติดังน้ี ๒.๑ ฝายทะเบียน เปนผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการรวมกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนของผเู รียนทกุ คนตลอดระดับการศึกษา ๒.๒ ฝายทะเบียน สรปุ และตัดสินผลการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นของผูเรียนเปนรายบุคคล ตามเกณฑท ี่โรงเรียนกำหนด เกณฑการจบระดับการศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๖) ผูเรียนจะตองผาน ๓ กิจกรรมสำคัญ ดังนี้ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน ไดแก กิจกรรมลูกเสือ/ยุวกาชาด และ กิจกรรมชุมนมุ ๓) กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน ๒.๓ ฝายทะเบยี นเสนอผลการประเมินตอคณะอนุกรรมการกลมุ สาระการเรียนรูและกิจกรรม พัฒนาผเู รียนเพอื่ ใหความเหน็ ชอบ

๙๘ หลักสูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕62 ๒.๔ เสนอผูบริหารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนผาน เกณฑก ารจบระดบั การศกึ ษา (ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖)

๙๙ หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕62 เกณฑตัดสินผลการเรยี นรายป เกณฑตัดสินผลการเรยี นรายป แบง เปน ๔ เกณฑ ดงั นี้ ๑. เกณฑก ารผา นรายวิชา การประเมนิ ผลการเรยี นสาระการเรียนรู ประเมินและตัดสนิ เปน รายวิชา รายวิชาที่ “ผาน” ตอ งมี ผลการประเมินผา นเกณฑทั้ง ๒ ขอ ไดแ ก ๑.๑ ตองมีผลการประเมินตัวช้ีวัดมาตรฐานการเรียนรูของรายวิชา ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกขอ โดยแตละขอตองไดคะแนนไมนอยกวารอยละ ๕๐ ของคะแนนวัดผลตัวช้ีวัดมาตรฐานการเรยี นรู รายขอ ๑.๒ ตองไดคะแนนวัดผลรวมตลอดรายวชิ า ไมน อยกวารอ ยละ ๕๐ (ไดระดับผลการเรียน “๑” ขึน้ ไป ) รายวิชาใดท่ีไมผาน จะตองรีบซอมใหได “ผาน” ในเวลาที่กำหนด จึงจะนำผลการซอมมารวม ตัดสนิ เล่ือนช้ันได ๑.๓ ผลการเรียนรายวชิ า จะแสดงเปน ระดบั ผลการเรียน ๘ ระดับ ดังนี้ ๔ = คะแนนรอยละ ๘๐-๑๐๐ หมายถึง ดีเยยี่ ม ๓.๕ = คะแนนรอ ยละ ๗๕-๗๙ หมายถึง ดมี าก ๓ = คะแนนรอยละ ๗๐-๘๐ หมายถึง ดี ๒.๕ = คะแนนรอ ยละ ๖๕-๖๙ หมายถงึ คอนขางดี ๒ = คะแนนรอยละ ๖๐-๖๔ หมายถึง ปานกลาง ๑.๕ = คะแนนรอ ยละ ๕๕-๕๙ หมายถงึ พอใช ๑ = คะแนนรอ ยละ ๕๐-๕๔ หมายถึง ผา นเกณฑขั้นต่ำ ๐ = คะแนนรอยละ ๐-๔๙ หมายถงึ ตำ่ กวา เกณฑ ๒. เกณฑก ารประเมินการอาน คิดวิเคราะหแ ละเขยี น ๒.๑ การประเมนิ รายภาคจะจำแนกการประเมิน เปน ๓ สมรรถภาพ คือ ความสามารถในการ อาน การคดิ วิเคราะห และการเขียน แตล ะสมรรถภาพจะตัดสินเปน ๔ ระดับ ดังน้ี ๓ = ดเี ย่ยี ม ๒ = ดี ๑ = ผา น ๐ = ไมผ าน ๒.๒ แตละภาคเรียนสรุปผลการประเมิน โดยนำผลการประเมินแตละสมรรถภาพมาเฉลี่ยเปน ระดบั ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะหและเขยี นในภาพรวม ซึ่งสรุปเปน ๔ ระดับ ดังนี้ ๓ = ดเี ย่ยี ม ๒ = ดี ๑ = ผาน ๐ = ไมผา น ๒.๓ การตัดสินการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียนสิ้นป จะนำผลการประเมินราย สมรรถภาพ ท้ัง ๒ ภาคเรยี น มาเฉลี่ยเปน ผลการตัดสินรายสมรรถภาพ และนำผลการตัดสินรายสมรรถภาพ

๑๐๐ หลักสูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕62 ทงั้ ๓ ดา น มาเฉล่ยี เปนผลการตัดสนิ รวม ผูท ี่ไดรับผลการตัดสนิ ระดับ “๐” ตองซอ มเสริมจนกวาจะไดรับ ผลการตดั สิน ระดบั “๑” ๓. เกณฑก ารประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๓.๑ การประเมินผลรายภาคจะประเมินเปนรายคุณลักษณะ โดยนำผลการประเมินตามตัวชี้วัด คุณลกั ษณะ จากผปู ระเมนิ ทุกฝายมาสรปุ ตัดสินเปน ๔ ระดับ ดงั น้ี ๓ = ดีเย่ยี ม ๒ = ดี ๑ = ผาน ๐ = ไมผ า น ๓.๒ การสรปุ ตดั สนิ ผลการประเมินรายภาค ใหน ำผลการประเมินแตละคณุ ลกั ษณะในขอ ๓.๑ มาสรุปตัดสนิ เปน ภาพรวมตามเกณฑด ังน้ี ๓ = ดีเย่ียม เม่ือผูเรียนมีผลการประเมินระดับ ๓ = ดีเยี่ยม ๕ ประการขึ้นไป สวน ท่เี หลือตองไดระดบั ๒ = ดี ท้งั หมด ๒ = ดี เมอื่ ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ ระดับ ๒ = ดี ๕ ประการขนึ้ ไป สว นท่เี หลอื ตอ งไดร ะดับ ๑ = ผา น ท้ังหมด ๑ = ผา น เมื่อผูเ รียนมผี ลการประเมนิ ระดับ ๑= ผา น ขน้ึ ไปทกุ ประการ ๐ = ไมผาน เมือ่ ผูเ รยี นมีผลการประเมนิ ระดบั ๐= ไมผ าน ต้ังแต ๑ ประการขึ้นไป ๓.๓ การสรุปคุณลักษณะอันพึงประสงคสิ้นป ใหสรุปเปนรายคุณลักษณะ โดยนำระดับผลการ ประเมินท้ัง ๒ ภาคมาเปรียบเทยี บดผู ลการพฒั นาแลว ใหร ะดบั คณุ ภาพตามเกณฑ ดงั นี้ ๓ = ดีเย่ยี ม เม่อื ผเู รยี นไดระดบั ๓ ในภาคปลาย หรอื ไดระดบั ๐ ในภาคตนแลวได ระดับ ๒ ในภาคปลาย ๒ = ดี เมอื่ ผูเรยี นไดระดับ ๒ ในภาคปลาย ยกเวนผทู ี่ไดระดบั ๐ ในภาคตน แลวไดร ะดับ ๒ ในภาคปลาย ๑ = ผา น เมอ่ื ผูเ รยี นไดระดับ ๑ ในภาคปลาย ยกเวน ผทู ่ไี ดร ะดบั ๓ ในภาคตน แลว ไดระดับ ๑ ในภาคปลาย ๐ = ไมผา น เมื่อผูเรยี นไดระดับ ๐ ในภาคปลาย หรอื ผทู ี่ไดระดับ ๓ ในภาคตน แลวไดระดับ ๑ ในภาคปลาย ๓.๔ การตัดสินการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคส้ินป โดยการนำผลการสรุปผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคสิ้นปรายขอจากขอ ๓.๓ มาสรุปตัดสินใหระดับผลการประเมินใน ภาพรวม ตามเกณฑใ นขอ ๓.๒ ๔. เกณฑการประเมนิ การปฏิบตั กิ ิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น การประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรมพัฒนาผูเรยี น ประเมนิ และตัดสนิ เปน รายกจิ กรรม แลว นำผลการ ประเมินแตล ะกิจกรรมมาสรุปตัดสินเปนผลการปฏิบตั ิกกิ รรมสิน้ ป การประเมนิ การปฏิบัติรายกิจกรรม ประเมนิ จาก ๒ เกณฑ ไดแ ก ๑) มเี วลาเขารวมกจิ กรรมไมน อยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาปฏิบัติกจิ กรรมเต็ม

๑๐๑ หลักสูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕62 ๒) มีคะแนนผลการประเมินผลงานการปฏิบัติกิจกรรมไมนอ ยกวารอยละ ๗๐ ๔.๑ การประเมินผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมรายภาค ประเมินและตัดสินเปน รายกิจกรรม ดังน้ี ๑) สรปุ รวมเวลาปฏิบตั ิกจิ กรรมตลอดภาค แลวตัดสนิ “ผ” (ผา น) เมื่อผเู รยี นมเี วลาปฏบิ ตั กิ จิ กรรมไมนอยกวา รอ ยละ ๘๐ “มผ” (ไมผา น) เมื่อผูเรยี นมีเวลาปฏิบตั ิกิจกรรมไมถึงรอยละ ๘๐ ๒) สรุปรวมคะแนนประเมินผลงานการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตลอดภาค แลวตัดสิน “ผ” (ผา น) เม่ือมีคะแนนปฏบิ ัติกิจกรรมไมน อ ยกวา รอยละ ๗๐ “มผ” (ไมผ าน) เมื่อมคี ะแนนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไมถ ึงรอยละ ๗๐ ๓) นำผลประเมินจากขอ ๑) และ ๒) มาพจิ ารณาตัดสนิ รว มกนั โดยตดั สนิ ให “ผ” (ผา น) เมื่อผูเรียนมผี ลการประเมิน “ผ” (ผาน) ท้ัง ๒ เกณฑ “มผ” (ไมผาน) เมื่อผูเรียนมีมีผลการประเมิน “มผ” (ไมผาน) เกณฑใ ดเกณฑ หน่งึ หรอื ทงั้ ๒ เกณฑ ๔.๒ การตัดสนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมสิน้ ป การตดั สนิ รายกิจกรรม ๑) นำเวลาปฏิบัตกิ ิจกรรมทงั้ ๒ ภาคเรียน รวมกนั แลวตดั สิน “ผ” (ผา น) เมอื่ ผเู รยี นมีเวลาปฏบิ ัติกิจกรรมไมน อ ยกวารอ ยละ ๘๐ “มผ” (ไมผ า น) เม่ือผเู รยี นมเี วลาปฏบิ ัติกิจกรรมไมถ ึงรอ ยละ ๘๐ ๒) นำคะแนนผลงานทัง้ ๒ ภาคเรยี นรวมกนั แลว ตดั สิน “ผ” (ผา น) เมอื่ มคี ะแนนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไมนอยกวารอยละ ๗๐ “มผ” (ไมผ า น) เมื่อมคี ะแนนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมไมถงึ รอยละ ๗๐ ๓) นำผลประเมินจากขอ ๑) และ ๒) มาพจิ ารณาตดั สินรวมกัน โดยตดั สนิ ให “ผ” (ผาน) เมือ่ ผูเ รยี นมีผลการประเมนิ “ผ” (ผาน) ทั้ง ๒ เกณฑ “มผ” (ไมผ าน) เมื่อผูเรยี นมผี ลการประเมนิ “มผ” (ไมผาน) เกณฑใดเกณฑ หน่งึ หรือทั้ง ๒ เกณฑ ๔.๓ การตัดสินการปฏิบัตกิ ิจกรรมรวมสนิ้ ป นำผลการตดั สนิ กจิ กรรมสิ้นปของแตล ะกิจกรรมมาพิจารณารวมกัน แลว สรปุ ตัดสนิ ให “ผ” (ผาน) เมื่อผูเรยี นมีผลการประเมนิ “ผ” (ผาน) ทุกกจิ กรรม “มผ” (ไมผาน) เม่ือผเู รียนมผี ลการประเมนิ “มผ” (ไมผ า น) ในกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึงหรือหลายกิจกรรม

๑๐๒ หลักสูตรโรงเรียนเพชรเกษม ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕62 เกณฑการจบการศึกษา เกณฑการจบระดบั ประถมศกึ ษาของโรงเรียนเพชรเกษม ประกอบดว ย ๔ เกณฑ ดังน้ี ๑. ผเู รยี นเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๘๔๐ ชัว่ โมง/ป และรายวิชาเพิ่มเติม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง/ป และมีผลการประเมนิ รายวชิ าพน้ื ฐานผานทุกรายวชิ า ๒. ผูเรยี นตองมีผลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ระดบั “ผาน” ขึ้นไป ๓. ผูเรียนตองมผี ลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ระดบั “ผาน” ข้นึ ไป ๔. ผเู รยี นตองเขา รว มกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นและไดร บั การตัดสนิ ผลการเรียน “ผา น” ทุกกิจกรรม



96 หลักสูตรโรงเรียนเพชรเกษม ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕63 คณะกรรมการบริหารและพัฒนาหลักสตู รโรงเรียนเพชรเกษม ๑. นายกลชยั เอย่ี มสวัสดิ์ ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ 2. นางสาวอมั ภาภรณ สุขประเสริฐ รองผอู ำนวยการสถานศึกษา รองประธานกรรมการ 3. นางสาวโสมพรรณ มณีกิจ หัวหนากลุมสาระฯภาษาไทย กรรมการ 4. นางสาวดวงใจ ศรีอุดม หวั หนากลุม สาระฯคณติ ศาสตร กรรมการ 5. นายประยรู เพ็งภักดิ์ หวั หนา กลมุ สาระฯวิทยาศาสตรฯ กรรมการ 6. นางสาวลคั นา ศรจี ันทรง าม หัวหนา กลมุ สาระฯสังคมศกึ ษาฯ กรรมการ 7. นายมงคล โฮมไชยะวงศ หวั หนากลุม สาระฯสขุ ศึกษาและพลศึกษา กรรมการ 8. นางพทุ ธชาติ เนตรานนท หวั หนา กลมุ สาระฯศิลปะ กรรมการ 9. นางลัดดาวรรณ เกิดกลู หัวหนากลุมสาระฯการงานอาชพี ฯ กรรมการ 10.นางสาวจริ ะประภา ดอกพอง หวั หนา กลมุ สาระฯภาษาตา งประเทศ กรรมการ 11.วาที่ ร.ต.ศุภกิจ มจี ำรสั หวั หนา งานกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น กรรมการ 12.นางมณีรตั น ปนออน หัวหนา งานวดั และประเมนิ ผล กรรมการ ๑3.นางสาวรัตนา ยองประยูร กรรมการและเลขานุการ

หลกั สูตรโรงเรยี นเพชรเกษม ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕62


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook