Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลักสูตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Published by sukanya.utrach, 2022-08-20 18:38:29

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ยว์ ทิ ยาคาร พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ปรบั ปรุงตวั ชว้ี ัดกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีได้จัดทำหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้เู รียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฉบับนี้ ซึ่งเป็นเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชน ประชาธิปัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นกรอบ และทิศทางในการจัดการเรียนการสอนให้ตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ การเรียนรู้เรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยพจิ ารณาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๕๕๑ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคารพุทธศักราช ๒๕๖๔ ซึ่งมีองค์ประกอบ ดงั นี้ - วสิ ัยทัศน์ หลักการ จดุ หมาย - สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน - คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - คุณภาพผเู้ รยี น - ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง - รายวชิ าท่ีเปิด - คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน - คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม - โครงสรา้ งรายวชิ าพืน้ ฐาน - โครงสรา้ งรายวชิ าเพิม่ เติม - สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ - การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ คณะผูจ้ ัดทำขอขอบคุณผู้ท่ีมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาและจดั ทำหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีฉบบั น้ี จนสำเร็จลลุ ่วงเป็นอย่างดี และหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิด ประโยชนต์ อ่ การจดั การเรียนรใู้ หก้ ับผเู้ รียนตอ่ ไป กลมุ่ สาระการเรยี นรู้เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้จดั ทำ

สารบัญ ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข วิสยั ทศั น์ 1 หลักการ 1 จดุ มงุ่ หมาย 1 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 2 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น 3 แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 6 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 7 การวิเคราะหต์ วั ชว้ี ดั รายวิชาพน้ื ฐานสู่เนอ้ื หา 15 คำอธิบายรายวิชา 50 การจัดการเรยี นรู้ 86 สอ่ื การเรียนรู้ 87 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 88 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 94 คณะผ้จู ัดทำ 96 บรรณานุกรม 97

1 วิสยั ทศั นโ์ รงเรยี น โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร เป็นโรงเรียนที่มีการบริหารจัดการที่มีคุณภาพจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมน่าอยู่ น่าเรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ความสามารถเต็มตามศักยภาพ มี จิตสำนึกในความเปน็ ไทย รักและภมู ิใจในท้องถิ่น เป็นอยู่พอเพียง มีจิตสาธารณะ มีสุขนิสัย สุขภาพกายและ จิตทด่ี ี ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมชี ุมชนเปน็ สว่ นร่วม หลกั การ หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีโรงเรียนชุมชนประชาธปิ ัตยว์ ิทยาคาร ได้ใช้ หลักการพัฒนาหลักสูตรตามแบบของหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ซึง่ มหี ลกั การทส่ี ำคญั ดงั น้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็น ไทยควบคกู่ บั ความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ทป่ี ระชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ ับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค และ มีคณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน่ ๔. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่ีมโี ครงสร้างยดื หยุ่นท้งั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรยี นรู้ ๕. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุก กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จดุ มุ่งหมาย หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยมี ีความมงุ่ หมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กับ ผเู้ รียน เมอื่ จบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มสี ุขนสิ ยั และรกั การออกกำลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจติ สำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถชี วี ิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่มงุ่ ทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งทด่ี ีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข

2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี นหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มุ่งใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลด ปญั หาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รบั ข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการ เลือกใช้วิธีการสอื่ สาร ที่มปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจเก่ียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมกี ารตัดสินใจทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กิดขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขดั แย้งตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผ้อู น่ื 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการ ทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

3 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน 8 ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถงึ คุณภาพของผู้เรียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มท่ีกำหนดขึ้น โดยพจิ ารณาจากสภาพของสังคม และการเปลย่ี นแปลงของโลกยุคปจั จบุ ัน ซึ่งทำใหม้ ีความจำเป็นตอ้ งเน้นและ ปลูกฝังลักษณะดังกล่าวให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนทุกคนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในองค์รวมทั้งด้าน สตปิ ัญญา และคณุ ธรรม อันจะนำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าและความม่ันคงสงบสขุ ในสังคม ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซอื่ สตั ย์สุจรติ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ประกอบดว้ ยตวั ช้ีวัด 4 ข้อ ได้แก่ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติและอธิบาย ความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง 1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่สร้างความ สามัคคี ปรองดองทเี่ ป็นประโยชน์ต่อ โรงเรยี น ชมุ ชนและสังคม 1.3 ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ท่ีตนเองนับถอื (ศาสนาพุทธ) และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนาทีต่ นนบั ถอื 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์ พฤตกิ รรมบ่งชี้ เชน่ มสี ว่ นรว่ มหรือจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ 2. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ ประกอบดว้ ยตัวชี้วัด 2 ขอ้ ไดแ้ ก่ 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทายกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ให้ข้อมูลท่ี ถูกต้องและเป็นจริงปราศจากความลำเอียง และปฏิบัตติ นโดยคำนึงถึงความถูกต้อง ละอายและเกรงกลัวต่อ การกระทำผิดและปฏิบัติตามคำมัน่ สัญญา 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงตอ่ ผูอ้ ่ืนทงั้ ทายกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบง่ ชี้ เชน่ ไม่ถอื เอาสง่ิ ของ หรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรงและไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ ถูกต้อง

4 3. มวี นิ ัย ประกอบด้วยตัวชี้วัด 1 ขอ้ ไดแ้ ก่ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิของผ้อู ่ืน และตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆในชวี ิตประจำวนั และรับผดิ ชอบ ในการทำงาน 4. ใฝ่เรียนรู้ ประกอบดว้ ยตัวชว้ี ดั 3 ข้อ ไดแ้ ก่ 4.1 ตั้งใจเพยี รพยายามในการเรยี น และเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ พฤติกรรมบ่งช้ี เชน่ ต้ังใจเรียน เอาใจใส่และมคี วามเพยี รพยายามในการเรยี นรู้ และสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ด้วยการเลือกใช้สื่ออยา่ ง เหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้พฤติกรรม บ่งชี้ เช่น ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้จากหนงั สือ เอกสาร สง่ิ พิมพ์ ส่อื เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่ง เรยี นรทู้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น และเลือกใช้ส่อื ได้อยา่ งเหมาะสม บนั ทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบ จากสงิ่ ทเี่ รียนรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ และแลกเปลยี่ นความร้ดู ้วยวิธีการต่างๆเพือ่ นำไปใช้ ใน ชวี ติ ประจำวนั 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ประกอบดว้ ยตัวช้วี ดั 2 ข้อ ได้แก่ 5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่างเหมาะสม ใช้ทรัพ ยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผลและไม่เอาเปรียบผู้อื่นและไม่ ทำใหผ้ อู้ น่ื เดอื ดรอ้ นพรอ้ มใหอ้ ภัยเมือ่ ผอู้ ่นื กระทำผดิ 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น วาง แผนการเรียน การทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้เท่าทันการ เปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตวั เพอ่ื อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ประกอบดว้ ยตัวช้ีวัด 2 ขอ้ ได้แก่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น เอาใจใส่ต่อการปฏบิ ัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเรจ็ และปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วย ตนเอง 6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ เชน่ ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อทอ้ ตอ่ ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน พยายามแก้ปญั หาและอุปสรรคในการ ทำงานให้สำเร็จ และช่ืนชมผลงานดว้ ยความภาคภูมใิ จ 7. รักความเปน็ ไทย ประกอบด้วยตวั ช้ีวดั 3 ข้อ ไดแ้ ก่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ

5 ร่วมกจิ กรรมทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ประเพณี ศลิ ปะ และวัฒนธรรมไทย และชักชวน แนะนำใหผ้ อู้ ่ืนตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปะ และวฒั นธรรมไทย 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม พฤติกรรมบ่งชี้ เช่น ใช้ ภาษาไทยและเลขไทยในการสอื่ สารได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมและชักชวน แนะนำใหผ้ ู้อืน่ เหน็ คุณค่าของการใช้ ภาษาไทยทถี่ ูกตอ้ ง 7.3 อนรุ กั ษ์และสบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย พฤติกรรมบ่งช้ี พฤติกรรมบง่ ช้ี เชน่ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทยและแนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิ ปัญญาไทย 8. มจี ิตสาธารณะ ประกอบดว้ ยตวั ช้ีวัด 2 ขอ้ ไดแ้ ก่ 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจโดยไม่หวังผลตอบแทน พฤติกรรมบ่งช้ี เช่น ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทำงานด้วยความเต็มใจ อาสาทำงานให้ผู้อื่นด้วยกำลังกาย กำลังใจ และกำลงั สตปิ ัญญาโดยไม่หวังผลตอบแทนและแบ่งปันสงิ่ ของ ทรัพยส์ ิน และอ่ืนๆและช่วยแก้ปญั หาหรือสร้าง ความสขุ ใหก้ ับผอู้ ่นื 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม พฤติกรรมที่บ่งชี้ เช่น ดูแลรักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อมด้วยความเต็มใจ เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ต่อโรงเรียน ชุมชนและสังคม และเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือร่วมสร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวมตาม สถานการณ์ทเี่ กิดข้นึ ดว้ ยความกระตอื รือรน้

6 แผนภาพสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

7

8 เปา้ หมายของการจดั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สำรวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและ ทฤษฎี ดังนน้ั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรจ์ งึ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรยี นรแู้ ละค้นพบด้วยตนเองมากที่สุด นั่นคือให้ไดท้ ัง้ กระบวนการและองค์ความรู้ ตง้ั แต่วยั เรมิ่ แรกก่อนเข้าเรียน เมือ่ อยใู่ นสถานศึกษาและเม่ือออก จากสถานศกึ ษาไปประกอบอาชพี แล้ว การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ์ นสถานศกึ ษามเี ปา้ หมายสำคญั ดังนี้ 1. เพื่อใหเ้ ข้าใจหลักการ ทฤษฎที เ่ี ป็นพื้นฐานในวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขต ธรรมชาตแิ ละขอ้ จำกดั ของวทิ ยาศาสตร์ 3. เพื่อให้มที ักษะที่สำคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคิดคน้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทกั ษะใน การส่ือสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ 5. เพือ่ ให้ตระหนักถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษยแ์ ละสภาพแวดล้อมใน เชงิ ที่มีอิทธพิ ลและผลกระทบซ่งึ กันและกนั 6. เพ่ือนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม และการดำรงชีวิต 7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์ เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรม์ ุ่งหวงั ให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ทเ่ี นน้ การ เชอ่ื มโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกข้ันตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือ ปฏบิ ัตจิ ริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้นั โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังน้ี ✧ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ เรยี นรูเ้ กย่ี วกบั ชวี ิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชวี ิต การดำรงชีวิต ของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ สงิ่ มชี ีวิต ✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกีย่ วกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี พลังงาน และคลน่ื ✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลตอ่ สิ่งมชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม

9 ✧ เทคโนโลยี ● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม ● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปญั หา เป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการ แกป้ ัญหาที่พบในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งไม่มีชีวิต กับสิง่ มีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับส่งิ มีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ แก้ไขปญั หาส่งิ แวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสงิ่ มชี วี ติ หน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มีชีวติ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ี ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พันธก์ ัน รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ วิวัฒนาการของสิ่งมชี วี ติ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนที่ แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถรุ วมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

10 มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ที่ เกีย่ วข้องกบั เสียง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิง่ มชี วี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ ส่ิงแวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวติ จริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม คุณภาพผ้เู รียน จบชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ❖ เขา้ ใจลักษณะท่ีปรากฏ ชนิดและสมบตั บิ างประการของวสั ดทุ ่ีใช้ทำวตั ถุ และการเปลีย่ นแปลงของ วสั ดรุ อบตัว ❖ เขา้ ใจการดงึ การผลัก แรงแมเ่ หลก็ และผลของแรงท่ีมีตอ่ การเปลยี่ นแปลง การเคล่ือนที่ของวัตถุ พลงั งานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสียง แสงและการมองเหน็ ❖ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขนึ้ และตกของ ดวง อาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน การกำหนดทิศ ลักษณะของหิน การจำแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์ ลักษณะและความสำคญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม

11 ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครอื่ งมืออย่างง่าย รวบรวมขอ้ มูล บันทกึ และอธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบด้วยการ เขียนหรือวาดภาพ และส่อื สารสิง่ ทีเ่ รยี นรดู้ ้วยการเล่าเร่อื ง หรือด้วยการแสดงทา่ ทางเพ่ือใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจ ❖ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสารเบอ้ื งต้น รกั ษาขอ้ มูลส่วนตวั ❖ แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามท่ี กำหนดใหห้ รือตามความสนใจ มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ผ้อู น่ื ❖ แสดงความรบั ผิดชอบดว้ ยการทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายอยา่ งมงุ่ มนั่ รอบคอบ ประหยดั ซื่อสตั ย์ จน งานลุล่วงเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกบั ผอู้ ่นื อย่างมีความสขุ ❖ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดำรงชีวติ ศึกษา หาความรูเ้ พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามทก่ี ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ จบชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ❖ เขา้ ใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรบั ตัวของสิง่ มีชวี ิต รวมท้ังความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใน แหลง่ ท่อี ยู่ การทำหนา้ ทข่ี องส่วนต่าง ๆ ของพชื และการทำงานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ ❖ เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลาย การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ และการแยกสารอย่าง งา่ ย ❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟา้ และผลของแรงต่างๆ ผล ทเ่ี กดิ จากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดนั หลกั การทมี่ ีต่อวตั ถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบือ้ งต้นของเสียง และแสง ❖ เข้าใจปรากฏการณ์การขึ้นและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ องคป์ ระกอบของระบบสรุ ยิ ะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และ ดาว ฤกษ์ การขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์ การใช้แผนที่ดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของ เทคโนโลยีอวกาศ ❖ เขา้ ใจลักษณะของแหลง่ นำ้ วฏั จักรนำ้ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง น้ำคา้ งแขง็ หยาดนำ้ ฟ้า กระบวนการเกดิ หิน วฏั จกั รหิน การใชป้ ระโยชนห์ ินและแร่ การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือน กระจก ❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง ตรรกะในการแก้ปัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการทำงานร่วมกนั เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของ ตน เคารพสทิ ธขิ องผ้อู น่ื ❖ ตงั้ คำถามหรอื กำหนดปญั หาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรยี นรู้ตามทก่ี ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ คาดคะเน คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ สำรวจตรวจสอบโดยใช้เคร่อื งมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลท้ัง เชิงปริมาณและคุณภาพ

12 ❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน รปู แบบทเี่ หมาะสม เพอ่ื สอื่ สารความรจู้ ากผลการสำรวจตรวจสอบได้อยา่ งมีเหตผุ ลและหลกั ฐานอา้ งอิง ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมน่ั ในสิ่งทีจ่ ะเรียนรู้ มีความคดิ สร้างสรรค์เกยี่ วกบั เร่อื งทจ่ี ะศกึ ษาตามความ สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคิดเห็น ผูอ้ ื่น ❖ แสดงความรบั ผิดชอบด้วยการทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายอย่างมงุ่ มน่ั รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสตั ย์ จน งานลุล่วงเปน็ ผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ อย่างสร้างสรรค์ ❖ ตระหนกั ในคณุ ค่าของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรูแ้ ละกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่อง และเคารพสทิ ธใิ นผลงานของผ้คู ดิ ค้นและศกึ ษาหา ความรเู้ พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือช้ินงานตามทก่ี ำหนดให้หรือตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมอย่างรู้คณุ คา่ จบชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบทสี่ ำคญั ของเซลล์สงิ่ มีชวี ิต ความสมั พนั ธ์ของการทำงานของระบบ ต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีน หรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของ สิ่งมชี ีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ ปฏสิ มั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการ ถา่ ยทอดพลงั งานในส่ิงมีชวี ิต ❖ เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การ เปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และ สมบตั ิทางกายภาพ และการใช้ประโยชนข์ องวัสดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์ และวสั ดผุ สม ❖ เข้าใจการเคลือ่ นที่ แรงลพั ธแ์ ละผลของแรงลัพธก์ ระทำตอ่ วตั ถุ โมเมนต์ของแรง แรง ที่ปรากฏในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการ อนุรักษ์พลงั งาน การถ่ายโอนพลงั งาน สมดุลความร้อน ความสมั พันธข์ องปริมาณทางไฟฟ้า การตอ่ วงจรไฟฟ้า ในบ้าน พลงั งานไฟฟา้ และหลักการเบ้ืองตน้ ของวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลกั ษณะของคลืน่ แบบตา่ ง ๆ แสง การสะท้อน การหกั เหของแสงและ ทัศนูปกรณ์ ❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกดิ ขา้ งขน้ึ ข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ การเกดิ นำ้ ขึ้นนำ้ ลง ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ และ ความกา้ วหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เข้าใจลักษณะของชั้นบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจัยที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิดและ ผลกระทบของพายฟุ ้าคะนอง พายุหมนุ เขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศ โลก กระบวนการเกิดเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและการใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสร้างภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ลักษณะชั้นหน้าตัดดิน กระบวนการเกดิ ดิน แหลง่ นำ้ ผวิ ดนิ แหลง่ นำ้ ใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ และธรณี พิบตั ภิ ัย

13 ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยีกับศาสตร์อนื่ โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรอื คณิตศาสตร์ วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สินใจเพื่อเลือกใชเ้ ทคโนโลยี โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสง่ิ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันหรือการประกอบ อาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้ังคำนงึ ถึงทรัพยส์ ินทางปญั ญา ❖ นำข้อมูลปฐมภมู ิเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ วเิ คราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศได้ตาม วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพอื่ ช่วยในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารอยา่ งรเู้ ทา่ ทันและรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่มีการ กำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สามารถนำไปสู่การสำรวจ ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม เลือกใช้เครื่องมือและ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ท้ังในเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพที่ได้ผลเท่ียงตรงและ ปลอดภัย ❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลท่ีได้จากการสำรวจตรวจสอบจากพยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและสื่อสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง เหมาะสม ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิด สร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรูต้ ่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเหน็ ผู้อ่ืน และยอมรับการเปล่ยี นแปลงความรทู้ ่ีค้นพบ เมอ่ื มีข้อมลู และประจกั ษ์พยานใหมเ่ พ่มิ ขน้ึ หรือโต้แย้งจากเดิม ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวติ และการประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยก ย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของการพัฒนาทาง วิทยาศาสตรต์ อ่ สิง่ แวดล้อมและตอ่ บริบทอ่ืน ๆ และศกึ ษาหาความร้เู พิ่มเติม ทำโครงงานหรือสรา้ งช้ินงานตาม ความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสมดลุ ของระบบนิเวศ และ ความหลากหลายทางชีวภาพ จบชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ ภูมิคุ้มกันใน ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้น การ ถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ววิ ัฒนาการทท่ี ำให้เกิดความหลากหลายของ ส่ิงมชี ีวติ ความสำคัญและผลของเทคโนโลยที างดีเอน็ เอตอ่ มนษุ ย์ สิ่งมชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม

14 ❖ เข้าใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน ระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม ❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและสมบตั ิต่าง ๆ ของสารที่มคี วามสัมพนั ธ์ กับแรงยดึ เหนย่ี ว พนั ธะเคมี โครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์ การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี ปัจจัยทีม่ ผี ลต่ออตั ราการ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี และการเขยี นสมการเคมี ❖ เขา้ ใจปริมาณที่เก่ียวกับการเคลื่อนท่ี ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรง มวลและความเรง่ ผลของความเร่ง ที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟ้า และแรงภายในนวิ เคลียส ❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปน็ พลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณท์ ี่เกี่ยวข้องกับเสยี ง สกี ับการมองเห็นสี คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ และประโยชนข์ องคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีที่ สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุ กระบวนการเกดิ แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สนึ ามิ ผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั ❖ เข้าใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการหมุนเวยี น ของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพันธ์ของการ หมุนเวียนของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้ำผิวหน้าในมหาสมทุ ร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบัติเพื่อลด กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้า อากาศทส่ี ำคญั จากแผนทอ่ี ากาศ และขอ้ มลู สารสนเทศ ❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่ สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกดิ และการสรา้ งพลงั งาน ปจั จยั ท่ีส่งผลต่อความส่องสวา่ งของดาวฤกษ์ และความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต บริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ท่ีเอ้อื ต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มี ต่อโลก รวมทง้ั การสำรวจอวกาศและการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

15 การวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั รายวชิ าพ้นื ฐานสูเ่ น้ือหา กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

16 สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไข ปัญหาสงิ่ แวดล้อมรวมทั้งนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชี้วัดชั้นปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. ระบุช่ือพชื และสัตว์ที่ - - อาศัยอยบู่ รเิ วณต่าง ๆ จาก ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ 2. บอกสภาพแวดลอ้ ม ที่ เหมาะสมกบั การดำรงชวี ิต ของ สัตว์ในบรเิ วณท่ีอาศัย อยู่ ป. 4 ป. 5 ป. 6 - 1. บรรยายโครงสร้าง และลกั ษณะ - ของสิง่ มชี ีวิตที่เหมาะสมกบั การ ดำรงชีวิตซ่งึ เปน็ ผลมาจากการ ปรับตัวของสิง่ มชี วี ติ ใน แต่ละแหลง่ ที่ อยู่ 2. อธิบาย ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ส่งิ มีชวี ติ กับสิ่งมชี วี ิต และ ความสมั พนั ธ์ ระหว่างส่ิงมีชวี ติ กบั สิง่ ไม่มชี วี ิต เพือ่ ประโยชน์ต่อการดา รงชวี ติ 3. เขียนโซอ่ าหารและระบบุ ทบาท หน้าที่ของสง่ิ มชี วี ติ ทีเ่ ปน็ ผู้ผลติ และ ผ้บู ริโภคในโซอ่ าหาร 4. ตระหนักในคณุ ค่าของ ส่งิ แวดลอ้ มท่มี ี ตอ่ การดำรงชวี ติ ของ สิ่งมชี วี ติ โดยมสี ่วนร่วมในการดูแล รักษาสงิ่ แวดลอ้ ม ม.1 ม.2 ม.3 - - 1. อธิบายปฏสิ ัมพันธ์ของ องค์ประกอบของระบบนเิ วศท่ไี ด้จาก การสำรวจ

ม.4 ตวั ช้วี ัดชนั้ ปี 17 1. สบื ค้นขอ้ มูลและอธบิ าย ม.5 2. อธบิ ายรปู แบบความสมั พนั ธ์ ความสัมพนั ธข์ องสภาพทาง - ระหว่างสิง่ มีชีวิตกบั สิง่ มชี ีวติ รปู แบบ ภมู ศิ าสตรบ์ นโลกกบั ความ ตา่ งๆ ในแหล่งท่อี ยเู่ ดียวกนั ท่ีไดจ้ าก หลากหลายของไบโอม และ การสำรวจ ยกตวั อยา่ งไบโอมชนดิ ตา่ งๆ 3. สร้างแบบจำลองในการอธิบาย 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย การถ่ายทอดพลงั งานในสายใยอาหาร สาเหตุ และยกตัวอย่าง การ 4. อธบิ ายความสมั พันธ์ของผผู้ ลิต ผ้บู รโิ ภค และผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรยี ์ เปล่ียนแปลงแทนทข่ี อง ในระบบนเิ วศ ระบบนิเวศ 5. อธิบายการสะสมสารพิษใน 3. สืบค้นข้อมูล อธิบายและ สง่ิ มชี วี ติ ในโซ่อาหาร ยกตวั อย่างเกย่ี วกบั การ 6. ตระหนักถึงความสมั พันธข์ อง เปล่ียนแปลงของ ส่ิงมีชวี ิต และสิ่งแวดลอ้ มในระบบ องค์ประกอบทางกายภาพ นเิ วศ โดยไม่ทำลายสมดุลของระบบ และทางชีวภาพทม่ี ีผลต่อ นิเวศ การเปลย่ี นแปลงขนาดของ ประชากรสิ่งมีชีวติ ในระบบ ม.6 นิเวศ - 4. สืบค้นขอ้ มูลและ อภปิ รายเก่ยี วกับปญั หาและ ผลกระทบทีม่ ีต่อ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

18 ตวั ชี้วัดช้นั ปี สง่ิ แวดลอ้ ม พรอ้ มทง้ั นำเสนอแนวทางในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแกไ้ ขปญั หา ส่ิงแวดล้อม สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชวี ิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวช้วี ัดชนั้ ปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. ระบุชือ่ บรรยาย ลกั ษณะ 1. ระบุวา่ พืชตอ้ งการแสงและ 1. บรรยายส่ิงที่ จำเปน็ ตอ่ การ และบอก หน้าที่ของสว่ นตา่ งๆ นำ้ เพอื่ การเจรญิ เติบโต โดยใช้ ดำรงชีวติ และการเจริญเติบโตของ ของร่างกายมนษุ ย์ สตั ว์ และพชื ข้อมูลจาก หลักฐานเชิง มนุษย์และสตั ว์ โดยใชข้ อ้ มลู ที่ รวมทงั้ บรรยายการทำหนา้ ท่ี ประจกั ษ์ รวบรวมได้ ร่วมกนั ของ ส่วนต่าง ๆ ของ 2. ตระหนกั ถึงความจำเป็นที่ 2. ตระหนกั ถึง ประโยชนข์ อง รา่ งกายมนษุ ย์ใน การทำ พชื ตอ้ งได้รับนำ้ และแสงเพอ่ื อาหาร นำ้ และ อากาศ โดยการ กิจกรรม ต่าง ๆ จากขอ้ มูลที่ การเจรญิ เตบิ โต โดยดแู ลพชื ให้ ดูแลตนเองและ สัตว์ให้ได้รับ สง่ิ รวบรวมได้ ไดร้ บั สิง่ ดงั กล่าวอยา่ งเหมาะสม เหล่านีอ้ ย่าง เหมาะสม 3. ตระหนกั ถึง ความสำคัญ 3. สร้างแบบจำลองทบ่ี รรยาย 3. สรา้ งแบบจำลองท่ีบรรยายวฏั ของสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย วฎั จกั รชวี ติ ของพชื ดอก จกั ร ชวี ติ ของสตั ว์และ เปรียบเทยี บ ตนเอง โดยการดแู ล สว่ นตา่ งๆ วฏั จักรชีวิตของ สัตวบ์ างชนดิ อย่าง ถูกตอ้ ง ใหป้ ลอดภัยและ 4. ตระหนักถึงคุณคา่ ของชวี ติ สัตว์ รักษาความ สะอาดอยู่เสมอ โดยไม่ทำให้วฏั จักรชีวติ ของสัตว์ เปลยี่ นแปลง ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. บรรยายหน้าท่ี ของราก ลำ 1. ระบสุ ารอาหารและบอก ตน้ ใบและดอกของพชื ดอกโดย ประโยชนข์ อง สารอาหารแต่ละ ใชข้ ้อมลู ที่รวบรวมได้ ประเภทจากอาหารที่ตนเอง รับประทาน 2. บอกแนวทางในการเลอื ก รับประทาน อาหารให้ไดส้ ารอาหาร ครบถ้วนในสัดสว่ นท่ี เหมาะสมกบั

19 ตัวชี้วัดชน้ั ปี เพศและวยั รวมทงั้ ความปลอดภยั ต่อ สุขภาพ 3. ตระหนักถึงความสำคญั ของ สารอาหาร โดยการเลือกรบั ประทาน อาหารท่ีมสี ารอาหาร ครบถ้วนใน สัดสว่ นท่เี หมาะสมกับเพศ และวัย ป. 4 ป. 5 ป. 6 รวมท้ัง ปลอดภยั ต่อสุขภาพ 4. สร้างแบบจำลอง ระบบยอ่ ย อาหาร และบรรยายหนา้ ที่ของ อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร รวมทง้ั อธิบายการยอ่ ย อาหารและการ ดูด ซึมสารอาหาร 5. ตระหนักถงึ ความสำคัญของ ระบบยอ่ ยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะใน ระบบยอ่ ยอาหารให้ทางานเปน็ ปกติ ม. 1 ม. 2 ม. 3 1. เปรยี บเทียบรปู รา่ ง ลักษณะ 1. ระบอุ วยั วะและบรรยาย - และโครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและ หน้าท่ขี องอวัยวะท่เี กี่ยวข้องใน เซลลส์ ัตว์ รวมทงั้ บรรยายหนา้ ท่ี ระบบหายใจ ของผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซ 2. อธิบายกลไกการหายใจเข้า โทพลาซึม นิวเคลยี ส แวควิ โอล และออกโดยใช้แบบจำลอง ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพ รวมท้งั อธบิ ายกระบวนการ ลาสต์ แลกเปลี่ยนแก๊ส 2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สง 3. ตระหนักถงึ ความสำคัญของ ศึกษาเซลล์และโครงสร้างตา่ งๆ ระบบหายใจ โดยการบอก ภายในเซลล์ แนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะ 3. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ในระบบหายใจ ให้ทำงานเป็น รปู รา่ งกับการทำหน้าทขี่ องเซลล์ ปกติ 4. อธบิ ายการจัดระบบของ 4. ระบอุ วยั วะและบรรยาย สง่ิ มีชวี ติ โดยเร่มิ จากเซลล์ หน้าทีข่ องอวยั วะในระบบ เน้ือเยื่อ อวยั วะ ระบบอวยั วะ ขบั ถา่ ยในการกำจัดของเสยี ทาง จนเปน็ สง่ิ มชี วี ติ ไต 5. อธิบายกระบวนการแพร่และ 5. ตระหนักถึงความสำคญั ของ ออสโมซิสจากหลกั ฐานเชิง ระบบขบั ถ่ายในการกำจัดของ

20 ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี ประจกั ษ์ และยกตวั อยา่ งการ เสียทางไต โดยการบอกแนวทาง แพรแ่ ละออสโมซิสใน ในการปฏิบตั ิตนท่ชี ว่ ยใหร้ ะบบ ชวี ิตประจำวัน ขบั ถ่ายทำหน้าที่ได้อย่างปกติ 6. ระบปุ ัจจยั ทจี่ ำเป็นในการ 6. บรรยายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงและผลผลิตที่ ของหัวใจ หลอดเลอื ด และเลือด เกดิ ขึน้ จากการสังเคราะหด์ ้วย 7. อธิบายการทำงานของระบบ แสงโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ หมุนเวียนเลือดโดยใช้ 7. อธบิ ายความสำคัญของการ แบบจำลอง สงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื ตอ่ 8. ออกแบบการทดลองและ สง่ิ มีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม ทดลองในการเปรยี บเทียบอตั รา 8. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของพชื ที่มี การเตน้ ของหัวใจ ขณะปกติและ ต่อสง่ิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดล้อม โดย หลังทำกิจกรรม การรว่ มกนั ปลกู และดูแลรักษา 9. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของ ตน้ ไม้ในโรงเรียนและชมุ ชน ระบบหมุนเวียนเลือด โดยการ 9. บรรยายลักษณะและหน้าท่ี บอกแนวทางในการดูแลรกั ษา ของไซเล็มและโฟลเอม็ อวยั วะในระบบหมนุ เวยี นเลอื ด 10. เขียนแผนภาพที่บรรยาย ใหท้ ำงานเป็นปกติ ทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเล็ม 10. ระบุอวัยวะและบรรยาย และโฟลเอม็ ของพชื หนา้ ทข่ี องอวยั วะในระบบ 11. อธิบายการสบื พนั ธแุ์ บบ ประสาทส่วนกลางในการ อาศัยเพศ และไมอ่ าศัยเพศของ ควบคมุ การทำงานตา่ ง ๆ ของ พชื ดอก ร่างกาย 12. อธบิ ายลักษณะโครงสร้าง 11. ตระหนกั ถงึ ความสำคัญ ของดอกทมี่ สี ว่ นทำให้เกดิ การ ของระบบประสาทโดยการบอก ถา่ ยเรณู รวมท้งั บรรยายการ แนวทางในการดแู ลรกั ษา ปฏสิ นธขิ องพืชดอก การเกิดผล รวมถงึ การป้องกนั และเมล็ดการกระจายเมลด็ แล กระทบกระเทือนและอันตราย การงอกของเมลด็ ตอ่ สมองและไขสนั หลัง 13. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั 12.ระบอุ วัยวะและบรรยาย ของสัตวท์ ่ชี ่วยในการถ่ายเรณู หนา้ ทขี่ องอวัยวะในระบบ ของพืชดอก โดยการไม่ทำลาย สบื พนั ธขุ์ องเพศชายและเพศ ชีวิตของสตั ว์ท่ีช่วยในการถ่าย หญิงโดยใชแ้ บบจำลอง เรณู 13.อธบิ ายผลของฮอรโ์ มนเพศ 14. อธิบายความสำคญั ของธาตุ ชายและ เพศหญงิ ทค่ี วบคุมการ อาหารบางชนดิ ทีม่ ีผลตอ่ การ เปล่ียนแปลงของร่างกายเม่อื เขา้ เจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ิต ส่วู ัยหนุม่ สาว ของพชื

ตวั ชว้ี ัดช้นั ปี 21 15. เลอื กใช้ปุย๋ ท่ีมีธาตอุ าหาร 14.ตระหนกั ถงึ การ ม.6 - เหมาะสมกับพืชในสถานการณท์ ่ี เปลีย่ นแปลงของรา่ งกายเมื่อเขา้ กำหนด สู่วยั หนุ่มสาว โดยการดูแลรักษา 16. เลือกวิธีการขยายพนั ธพ์ุ ชื ร่างกายและจิตใจของตนเอง ให้เหมาะสมกับความต้องการ ในช่วงท่มี กี ารเปล่ยี นแปลง ของมนุษย์ โดยใชค้ วามรู้ 15. อธิบายการตกไขก่ ารมี เกย่ี วกับการสบื พนั ธ์ขุ องพืช ประจำเดือน การปฏิสนธิ และ 17. อธบิ ายความสำคัญของ การพัฒนาของ ไซโกต จน เทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่ือ คลอดเปน็ ทารก พชื ในการใช้ประโยชนด์ ้านต่างๆ 16. เลือกวธิ กี ารคุมกำเนิดท่ี 18. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ อง เหมาะสมกบั สถานการณ์ท่ี การขยายพนั ธุพ์ ชื โดยการนำ กำหนด ความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 17.ตระหนักถึงผลกระทบของ การตง้ั ครรภก์ ่อนวยั อนั ควร โดย การประพฤตติ นให้เหมาะสม ม.4 ม.5 1. อธิบายโครงสร้างและสมบัติ - ของเยอ่ื หมุ้ เซลล์ท่ีสมั พันธก์ บั การลำเลียงสาร และ เปรียบเทยี บการลำเลียงสารผ่าน เยือ่ หมุ้ เซลล์แบบตา่ งๆ 2. อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพ ของน้ำและสารในเลือดโดยการ ทำงานของไต 3. อธิบายการควบคุมดุลยภาพ ของกรด-เบสของเลอื ดโดยการ ทำงานของไตและปอด 4. อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพ ของอุณหภูมภิ ายในรา่ งกายโดย ระบบหมุนเวยี นเลือด ผวิ หนัง และกล้ามเน้ือโครงรา่ ง 5. อธบิ าย และเขยี นแผนผงั เก่ียวกับการตอบสนองของ รา่ งกายแบบไม่จำเพาะ และ แบบจำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม ของร่างกาย

22 ตวั ชีว้ ัดชั้นปี 6. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และ ยกตัวอย่างโรคหรอื อาการทเี่ กิด จากความผิดปกตขิ องระบบ ภมู คิ มุ้ กัน 7. อธบิ ายภาวะภูมคิ มุ้ กนั บกพรอ่ งท่มี ีสาเหตมุ าจากการ ตดิ เชอื้ HIV 8. ทดสอบ และบอกชนิดของ สารอาหารทีพ่ ืชสังเคราะห์ได้ 9. สืบคน้ ขอ้ มูล อภิปราย และ ยกตัวอยา่ งเกี่ยวกบั การใช้ ประโยชน์จากสารต่างๆ ท่พี ืช บางชนิดสร้างขึ้น 10. ออกแบบการทดลอง ทดลองและอธบิ ายเก่ยี วกับ ปัจจัยภายนอกที่มีผลตอ่ การ เจริญเติบโตของพืช 11. สบื ค้นขอ้ มูลเกีย่ วกบั สาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ที่มนุษย์สงั เคราะหข์ ้ึนและ ยกตวั อยา่ งการนำมาประยกุ ต์ใช้ งานด้านการเกษตรของพืช 12. สังเกต และอธิบายการ ตอบสนองของพืชตอ่ สง่ิ เร้าใน รปู แบบต่างๆ ทีม่ ีผลต่อการ ดำรงชวี ิต สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของสง่ิ มีชวี ติ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้ีวัดชั้นปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 - 1. เปรียบเทยี บ ลักษณะของ - สิง่ มีชีวิต และส่งิ ไม่มีชวี ติ จากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ ป. 4 ป. 5 ป. 6

23 ตัวชี้วัดชั้นปี 1. จำแนกสง่ิ มชี ีวติ โดยใช้ความ 1. อธบิ ายลักษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีมี - เหมือนและความแตกต่างของ การถ่ายทอดจากพ่อแมส่ ลู่ ูกของพชื ลักษณะของสิ่งมีชวี ิต ออกเป็น สตั ว์ และมนุษย์ กลุ่มพืช กลมุ่ สตั ว์ และกล่มุ ที่ 2. แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดย ไมใ่ ชพ่ ืชและสตั ว์ การถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะท่ี 2. จำแนกพชื ออกเป็นพชื ดอก คล้ายคลึงกนั ของตนเองกบั พอ่ แม่ และพชื ไมม่ ีดอก โดยใช้การมี ดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ 3. จำแนกสัตวอ์ อกเป็นสัตวม์ ี กระดกู สันหลงั และสัตว์ไมม่ ี กระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กระดกู สันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ 4. บรรยายลักษณะ เฉพาะท่ี สงั เกตไดข้ องสัตวม์ กี ระดูกสัน หลังในกลุ่มปลา กล่มุ สตั ว์ สะเทนิ นา้ สะเทินบก กลุ่ม สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน กลมุ่ นก และ กลมุ่ สัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยน้ำนม และ ยกตวั อยา่ งสง่ิ มชี ีวิตในแตล่ ะ กลุม่ ม.1 ม.2 ม.3 - - 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดเี อน็ เอ และโครโมโซม โดยใช้ แบบจำลอง 2. อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทาง พนั ธุกรรมจากการผสมโดยพจิ ารณา ลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอล ลลี ดว้ ยอยา่ งสมบูรณ์ 3. อธิบายการเกดิ จีโนไทปแ์ ละฟโี น ไทป์ของลกู และคำนวณอัตราส่วน การเกดิ จโี นไทปแ์ ละฟโี นไทปข์ องร่นุ ลูก 4. อธบิ ายความแตกต่างของการ แบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิสและไมโอซสิ

ม.4 ตวั ช้วี ัดช้นั ปี 24 1. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่าง ม.5 5. บอกไดว้ า่ การเปลี่ยนแปลงของ ยีน การสังเคราะหโ์ ปรตนี และ - ยีนหรือโครโมโซมอาจทำใหเ้ กิดโรค ลกั ษณะทางพันธกุ รรม ทางพันธกุ รรม พรอ้ มทง้ั ยกตัวอย่าง โรคทางพันธุกรรม 6. ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรู้ เรอื่ งโรคทางพนั ธกุ รรม โดยรวู้ า่ ก่อน แต่งงานควรปรกึ ษาแพทย์เพอ่ื ตรวจ และวนิ ิจฉัยภาวะเสย่ี งของลกู ท่อี าจ เกิดโรคทางพันธุกรรม 7. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จาก สงิ่ มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และ ผลกระทบท่ีอาจมีตอ่ มนุษยแ์ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวม ได้ 8. ตระหนักถงึ ประโยชน์และ ผลกระทบของสง่ิ มีชีวติ ดัดแปร พนั ธุกรรมทีอ่ าจมตี ่อมนษุ ย์และ สง่ิ แวดล้อมโดยการเผยแพร่ความรู้ท่ี ไดจ้ ากการโตแ้ ย้งทางวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ มขี อ้ มลู สนับสนุน 9. เปรยี บเทยี บความหลากหลาย ทางชีวภาพในระดบั ชนดิ สง่ิ มีชีวติ ใน ระบบนเิ วศตา่ งๆ 10. อธบิ ายความสำคัญของความ หลากหลายทาชีวภาพทมี่ ีต่อการ รกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศและต่อ มนษุ ย์ 11. แสดงความตระหนกั ในคุณคา่ และความสำคญั ของความ หลากหลายทางชีวภาพ โดยมสี ว่ น ร่วมในการดูแลรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ ม.6 -

25 ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี 2. อธิบายหลกั การถา่ ยทอด ลักษณะที่ถกู ควบคุมดว้ ยยนี ที่ อย่บู นโครโมโซมเพศและมัลติ เปิลแอลลีล 3. อธบิ ายผลท่ีเกดิ จากการ เปล่ยี นแปลงลำดบั นวิ คลีโอไทด์ ในดเี อ็นเอตอ่ การแสดงลกั ษณะ ของสง่ิ มชี ีวิต 4. สบื คน้ ขอ้ มูล และยกตวั อยา่ ง การนำมิวไปใช้ประโยชน์ 5. สบื คน้ ขอ้ มูล และอภิปราย ผลของเทคโนโลยีทางดีเอน็ เอท่ี มตี ่อมนษุ ย์และสิง่ แวดล้อม 6. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และ ยกตวั อย่างความหลากหลาย ของสงิ่ มีชีวิต ซ่งึ เปน็ ผลมาจาก วิวฒั นาการ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสสาร กบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. อธิบายสมบัติทสี่ งั เกตไดข้ อง 1. เปรยี บเทียบสมบัติการดดู ซับนำ้ 1. อธิบายวา่ วตั ถุประกอบขึ้นจาก วัสดุทใ่ี ช้ทำวัตถุซึ่งทำจากวัสดุ ของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ช้นิ สว่ น ย่อย ๆ ซง่ึ สามารถแยก ชนดิ เดียวหรือหลายชนดิ และระบุการนำสมบตั ิการดูดซบั น้ำ ออกจากกนั ไดแ้ ละประกอบกัน ประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ของวสั ดไุ ปประยุกตใ์ ช้ในการทำวตั ถุ เป็นวัตถุชิน้ ใหม่ได้ โดยใช้หลกั ฐาน ประจกั ษ์ ในชีวิตประจำวนั เชงิ ประจกั ษ์ 2. ระบชุ นิดของวัสดแุ ละจัดกลุ่ม 2. อธบิ ายสมบตั ิท่ีสังเกตไดข้ องวสั ดุ 2. อธิบายการเปลย่ี นแปลงของ วัสดตุ ามสมบตั ิท่สี ังเกตได้ ทีเ่ กดิ จากการนำวัสดุมาผสมกนั โดย วัสดุเมอ่ื ทำใหร้ อ้ นข้นึ หรอื ทำให้ ใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐานเชิง 3. เปรียบเทยี บสมบัตทิ ่ีสงั เกตได้ ประจักษ์ ของวัสดเุ พื่อนำมาทำเป็นวตั ถใุ นการ ใชง้ านตามวตั ถุประสงค์ และอธบิ าย การนำวัสดุท่ีใช้แลว้ กลับมาใชใ้ หม่ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

26 ตวั ช้วี ัดชนั้ ปี 4. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการนำ วสั ดุท่ใี ชแ้ ล้วกลับมาใช้ใหม่ โดยการ นำวัสดุทีใ่ ช้แล้วกลับมาใชใ้ หม่ ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. เปรยี บเทยี บสมบัติทาง 1. อธบิ ายการเปล่ียนสถานะ ของ 1. อธบิ ายและเปรยี บเทียบการ กายภาพ ด้านความแขง็ สภาพ สสารเมื่อทำให้สสารร้อนข้ึนหรือเย็น แยกสารผสมโดยการหยบิ ออก ยดื หยุน่ การนำความร้อน และ ลง โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ การรอ่ น การใช้แม่เหลก็ ดงึ ดดู การนำไฟฟ้าของวสั ดโุ ดยใช้ 2. อธบิ ายการละลายของสารในนำ้ การรนิ ออก การกรอง และการ หลักฐานเชงิ ประจักษจ์ ากการ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ตกตะกอน โดยใชห้ ลักฐานเชิง ทดลองและระบกุ ารนำสมบัติ 3. วเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงของ ประจักษ์ รวมทง้ั ระบวุ ธิ ีแก้ปัญหา เรื่องความแข็ง สภาพยืดหยุ่น สารเมอื่ เกดิ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี ในชวี ติ ประจำวนั เกย่ี วกับการแยก การนำความรอ้ น และการนำ โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ สาร ไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน 4. วิเคราะห์และระบุการ ชวี ติ ประจำวัน ผา่ นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงที่ผันกลบั ได้และการ ออกแบบช้ินงาน 2. แลกเปล่ยี น เปลย่ี นแปลงที่ผันกลบั ไมไ่ ด้ ความคิดกบั ผ้อู ่ืนโดยการอภิปราย เกี่ยวกบั สมบตั ิทางกายภาพของ วสั ดุอยา่ งมีเหตุผลจากการ ทดลอง 3. เปรียบเทยี บสมบัติของสสาร ทง้ั 3 สถานะ จากขอ้ มูลท่ีได้จาก การสงั เกตมวล การต้องการท่ีอยู่ รปู ร่างและปริมาตรของสสาร 4. ใชเ้ ครื่องมือเพ่ือวัดมวล และ ปริมาตรของสสารทงั้ 3 สถานะ ม.1 ม.2 ม.3 1. อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพ 1.อธิบายการแยกสารผสมโดยการ 1. ระบสุ มบัตทิ างกายภาพและ บางประการของธาตโุ ลหะ ระเหยแหง้ การตกผลึก การกลนั่ การใช้ประโยชนว์ ัสดปุ ระเภทพอลิ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้ อยา่ งง่าย โครมาโทกราฟีแบบ เมอร์ เซรามิก และวัสดุผสมโดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ทีไ่ ดจ้ าก กระดาษ การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย หลักฐานเชิงประจกั ษ์ และ การสงั เกตและการทดสอบและ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ สารสนเทศ ใช้สารสนเทศทไี่ ดจ้ าก 2.แยกสารโดยการระเหยแห้ง การ 2. ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของการใช้ แหล่งขอ้ มลู ต่างๆ รวมทั้งจดั กลมุ่ ตกผลกึ การกล่นั อย่างง่าย โคร วสั ดุประเภทพอลเิ มอร์ เซรามกิ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึง่ มาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัด และวสั ดผุ สมโดยเสนอแนะแนว โลหะ ด้วยตัวทำละลาย ทางการใช้วสั ดุอย่างประหยดั และ 2. วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตุ 3. นำวิธกี ารแยกสารไปใช้แกป้ ญั หา คุม้ คา่ โลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ และธาตุ ในชวี ติ ประจำวันโดยบูรณาการ

27 ตัวช้วี ัดชัน้ ปี กัมมนั ตรังสี ทมี่ ตี ่อสิ่งมชี ีวติ วทิ ยา-ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ 3. อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี รวมถงึ การจดั เรยี งตัวใหมข่ อง สิ่งแวดล้อมเศรษฐกจิ และสังคม เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ อะตอมเมอื่ เกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีโดยใช้ จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ 4. ออกแบบการทดลองและทดลอง แบบจำลองและสมการขอ้ ความ 4. อธบิ ายกฎทรงมวลโดยใช้ 3. ตระหนักถงึ คุณค่าของการใช้ ในการอธบิ ายผลของชนดิ ตัวละลาย หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุ ชนดิ ตัวทำละลาย อุณหภมู ทิ ี่มีต่อ 5. วิเคราะหป์ ฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏกิ ิริยาคายความร้อน จาก กมั มันตรงั สี โดยเสนอแนว สภาพละลายได้ของสาร รวมทัง้ การเปลย่ี นแปลงพลงั งานความ ทางการใช้ธาตุอย่างปลอดภยั อธิบายผลของความดันทม่ี ตี ่อสภาพ ร้อนของปฏกิ ริ ยิ า คมุ้ คา่ ละลายได้ของสาร โดยใช้สารสนเทศ 6. อธบิ ายปฏกิ ิรยิ าการเกิดสนิม ของเหลก็ ปฏิกิรยิ าของกรดกับ 4. เปรยี บเทียบจดุ เดอื ด จุด โลหะ ปฏกิ ริ ิยาของกรดกบั เบส หลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิ และ และปฏกิ ิริยาของเบสกบั โลหะ โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ และ สารผสม โดยการวดั อุณหภมู ิ อธบิ ายปฏกิ ริ ิยาการเผาไหม้ การ เขียนกราฟ แปลความหมาย เกดิ ฝนกรด การสงั เคราะหด์ ้วย แสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทัง้ ขอ้ มลู กราฟ หรือสารสนเทศ เขียนสมการข้อความแสดง 5. อธิบายและเปรยี บเทียบความ ปฏิกิริยาดังกลา่ ว หนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสาร 7. ระบุประโยชนแ์ ละโทษของ ปฏกิ ิริยาเคมีทมี่ ีต่อสิ่งมชี ีวิตและ ผสม ส่ิงแวดล้อม และยกตวั อยา่ ง 6. ใช้เคร่ืองมอื เพอื่ วดั มวลและ วิธกี ารป้องกันและแกป้ ญั หาทีเ่ กิด จากปฏิกิริยาเคมีทพี่ บใน ปริมาตรของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสาร ชีวิตประจำวนั จากการสืบค้น ผสม ขอ้ มลู 8. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาใน 7. อธิบายเกี่ยวกบั ความสัมพนั ธ์ ชวี ติ ประจำวัน โดยใช้ความรู้ ระหว่างอะตอม ธาตแุ ละ เกีย่ วกบั ปฏกิ ิริยาเคมี โดยบูรณา สารประกอบ โดยใช้แบบจำลอง การวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ และสารสนเทศ 8. อธิบายโครงสรา้ งอะตอมที่ ประกอบดว้ ยโปรตรอน นิวตรอน และอิเลค็ ตรอนโดยใช้ แบบจำลอง 9. อธบิ ายและเปรียบเทียบการ จัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหนยี่ ว ระหวา่ งอนภุ าค และการ เคลอ่ื นท่ีของอนุภาคของสสาร ชนิดเดียวกันในสถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส โดยใช้ แบบจำลอง 10. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ ระหว่างพลงั งานความร้อนกบั การเปล่ียนสถานะของสสาร โดย

ใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์และ ตัวชี้วัดชนั้ ปี 28 แบบจำลอง ม.5 ม.6 ม.4 1. ระบุว่าสารเปน็ ทาสหรือ - สารประกอบ และอยู่ในรปู อะตอม - โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี 2. เปรียบเทียบความเหมอื นและ ความแตกต่างของแบบจำลอง อะตอมของโบร์กบั แบบจำลอง อะตอมแบบกลมุ่ หมอก 3. ระบจุ ำนวนโปรตรอน นวิ ตรอน และอเิ ลค็ ตอนของอะตอม และ ไอออนทเี่ กดิ จากอะตอมเดียว 4. เขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ องธาตุ และระบุการเป็นไอโซโทป 5. ระบหุ มู่และคาบของธาตุ และ ระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ กลมุ่ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือ กลมุ่ ธาตุแทรนซชิ ันจากตารางธาตุ 6. เปรยี บเทียบสมบัติการนำไฟฟา้ การใหแ้ ละรับอเิ ลก็ ตรอนระหว่าง ธาตใุ นกลุ่มโลหะกบั อโลหะ 7. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอยา่ ง ประโยชน์และอันตรายทเ่ี กดิ จากธาตุ เรพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรนซิชนั 8. ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เปน็ พันธะ เดีย่ ว พันธะคู่ หรือพนั ธะสาม และ ระบจุ ำนวนคู่อเิ ลก็ ตรอน ระหว่าง อะตอมครู่ ว่ มพนั ธะ จากสูตร โครงสรา้ ง 9. ระบุสภาพขั้วของสารทโี่ มเลกุล ประกอบด้วย 2 อะตอม 10. ระบุทีเ่ กดิ พนั ธะไฮโดรเจนเจน ไดจ้ ากสูตรโครงสร้าง 11. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งจุด เดอื ดของศาลโคเวเลนต์กับแรงดงึ ดูด

29 ตัวชี้วัดชนั้ ปี ระหวา่ งโมเลกุลตามสภาพข้วั หรือ การเกิดพันธะให้โดรเจน 12. เขียนสตู รเคมีของไอออนและ สารประกอบไอออนกิ 13. ระบวุ า่ เกิดการละลายแบบแตก ตวั หรือไมแ่ ตกตัว พร้อมให้เหตุผล และระบวุ า่ สารละลายที่ได้เป็น สารละลายอิเล็กโทรไลตห์ รือนอน อเิ ล็คโทรไลต์ 14. ระบสุ ารประกอบอินทรยี ์ ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอ่มิ ตัว หรือไมอ่ ่ิมตัวจากสูตรโครงสรา้ ง 15. สบื คน้ ขอ้ มูลและเปรยี บเทียบ สมบัตทิ างกายภาพระหวา่ งพอลิเมอร์ และมอนอเมอรข์ องพอลิเมอร์ชนดิ น้ัน 16. ระบสุ มบัติความเป็นกรด-เบส จากโครงสร้างของสารประกอบ อินทรยี ์ 17. อธิบายสมบตั ิการละลายในตวั ทำละลายชนดิ ตา่ งๆของสาร 18. วเิ คราะหแ์ ละอธิบาย ความสมั พันธ์ระหวา่ งโครงสร้างกับ สมบัตเิ ทอมอพลาสติกและเทอมอ เซตของพอลิเมอร์ และการนำพอลิ เมอร์ไปใชป้ ระโยชน์ 19. สบื คน้ ขอ้ มูลและนำเสนอ ผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑพ์ อลิ เมอร์ท่ีมตี อ่ ส่ิงมชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม พรอ้ มแนวทางปอ้ งกนั หรือแกไ้ ข 20. ระบุสตู รเคมขี องสารต้ังต้น ผลิตภัณฑ์ และแปลความหมายของ สัญลักษณ์ในสมการเคมขี องปฏกิ ิริยา เคมี 21. ทดลองและอธิบายผลของความ เขม้ ข้นพน้ื ทผ่ี ิว อณุ หภมู ิ และตัวเร่ง

30 ตวั ชวี้ ัดชั้นปี ปฏิกิรยิ าทม่ี ีผลตอ่ อตั ราการ เกิดปฏิกริ ิยาเคมี 22. สืบค้นข้อมูลและอธบิ ายปัจจัยที่ มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีที่ ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั หรอื ใน อุตสาหกรรม 23. อธิบายความหมายของปฏกิ ริ ิยา รดี อกซ์ 24. อธิบายสมบตั ิของสาร กัมมนั ตรงั สี และคำนวณครงึ่ ชวี ิต และปรมิ าณของสารกมั มนั ตรังสี 25. สบื ค้นขอ้ มูลและนำเสนอ ตวั อยา่ งประโยชนข์ องสาร กัมมันตรังสีและการป้องกันอนั ตราย ทเี่ กดิ จากกัมมันตรังสี สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงที่กระทาตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะการ เคลื่อนทีแ่ บบ ต่างๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ตวั ชว้ี ัดชน้ั ปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 - - 1. ระบุผลของแรงที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลง การเคล่อื นที่ของวตั ถุ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. เปรียบเทยี บและยกตวั อย่างแรง สัมผัสและแรงไม่สัมผสั ที่มีผลตอ่ การเคล่อื นที่ของวัตถุโดยใช้ หลักฐานเชิงประจกั ษ์ 3. จำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดดู กบั แม่เหล็กเป็นเกณฑ์จากหลกั ฐานเชิง ประจกั ษ์ 4. ระบุขวั้ แม่เหล็กและพยากรณ์ ผลที่เกดิ ขึน้ ระหว่างขวั้ แมเ่ หล็กเมอื่ นำมาเข้าใกลก้ ันจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

31 ตัวช้วี ัดช้ันปี ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. ระบผุ ลของแรงโนม้ ถว่ งทม่ี ีต่อ 1. อธบิ ายวธิ กี ารหาแรงลพั ธข์ องแรง 1. อธบิ ายการเกิดและผลของแรง วตั ถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ หลายแรงในแนวเดยี วกนั ท่ีกระทำตอ่ ไฟฟา้ ซ่ึงเกดิ จากวัตถทุ ี่ผ่านการ ขัด 2. ใชเ้ ครอื่ งชั่งสปริงในการวัด วัตถุในกรณีท่วี ตั ถอุ ยู่นิ่งจากหลักฐาน ถโู ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ น้ำหนักของวตั ถุ เชิงประจกั ษ์ 3. บรรยายมวลของวตั ถุท่ีมีผล 2. เขยี นแผนภาพแสดงแรงทีก่ ระทำ ต่อการเปลยี่ นแปลงการเคล่อื นที่ ตอ่ วัตถทุ อ่ี ยู่ในแนวเดียวกนั และแรง ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชิง ลัพธ์ทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ประจกั ษ์ 3. ใช้เครอ่ื งช่งั สปรงิ ในการวดั แรงท่ี กระทำต่อวัตถุ 4. ระบุผลของแรงเสยี ดทานทีม่ ีต่อ การเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนที่ของ วตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ 5. เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียด ทานและแรงท่ีอยใู่ นแนวเดยี วกนั ท่ี กระทำตอ่ วตั ถุ ม.1 ม.2 ม.3 1. สรา้ งแบบจำลองท่อี ธิบาย 1.พยากรณ์การเคล่อื นท่ขี องวัตถุท่ี - ความสมั พนั ธ์ระหว่างความดนั เปน็ ผลของแรงลพั ธท์ เ่ี กดิ จากแรง อากาศกับความสงู ของพนื้ โลก หลายแรงทก่ี ระทำต่อวัตถุในแนว เดียวกนั จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2.เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรง ลพั ธท์ ีเ่ กิดจากแรงหลายแรงทกี่ ระทำ ต่อวตั ถุในแนวเดยี วกัน 3.ออกแบบการทดลองและทดลอง ด้วยวธิ ีทเี่ หมาะสมในการอธบิ าย ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ ความดนั ของ ของเหลว 4.วเิ คราะหแ์ รงพยุงและการจม การ ลอยของวัตถุในของเหลวจาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ 5. เขียนแผนภาพแสดงแรงทก่ี ระทำ ตอ่ วตั ถใุ นของเหลว 6.อธบิ ายแรงเสียดทานสถิตและแรง เสยี ดทานจลน์จากหลักฐานเชิง ประจักษ์

32 ตัวชี้วัดช้นั ปี 7.ออกแบบการทดลองและทดลอง ด้วยวธิ ที เ่ี หมาะสมในการอธบิ าย ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ ขนาดของแรงเสียด ทาน 8. เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสยี ด ทานและแรงอนื่ ๆ ทก่ี ระทำต่อวัตถุ 9. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรู้ เรือ่ งแรงเสยี ดทาน โดยวิเคราะห์ สถานการณ์ ปัญหาและเสนอแนะ วิธีการลดหรอื เพิม่ แรงเสียดทานท่ี เปน็ ประโยชน์ต่อการทำกจิ กรรมใน ชวี ิตประจำวัน 10.ออกแบบการทดลองและทดลอง ด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสมในการอธิบาย โมเมนต์ของแรงเมอ่ื วัตถอุ ยู่ในสภาพ สมดุลต่อการหมนุ และคำนวณการ ใชส้ มการ M = Fl 11. เปรียบเทยี บแหล่งของ สนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟา้ และสนาม โนม้ ถ่วง และทศิ ทางของแรงท่ี กระทำตอ่ วตั ถทุ ี่อยูใ่ นแต่ละสนาม จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ 12.เขยี นแผนภาพแสดงแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟา้ และแรงโนม้ ถว่ งท่ีกระทำ ต่อวตั ถุ 13วเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหว่าง ขนาดของแรงแมเ่ หลก็ แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงทก่ี ระทำต่อวตั ถุที่อยู่ ในสนามน้ัน ๆ กับระยะหา่ งจาก แหลง่ ของสนามถึงวตั ถุจากข้อมูลท่ี รวบรวมได้ 14.อธบิ ายและคำนวณอตั ราเร็วและ ความเร็วของการเคล่อื นที่ของวัตถุ โดยใชส้ มการ v=s/t และ v ⃑=s ⃑/t จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

ตัวช้ีวัดช้ันปี 33 15.เขียนแผนภาพแสดงการกระจัด ม.6 และความเรว็ - ม.4 ม.5 - 1. วิเคราะห์และแปลความหมาย ข้อมูลความเรว็ กบั เวลาของการ เคลื่อนที่ของวตั ถุ เพ่อื อธบิ าย ความเร่งของวตั ถุ 2. สังเกตและอธบิ ายการหาแรงลพั ธ์ ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงทอ่ี ยู่ใน ระนาบเดยี วกันท่กี ระทำต่อวตั ถโุ ดย การเขยี นแผนภาพการรวมแบบ เวกเตอร์ 3. สังเกต วเิ คราะห์ และอธิบาย ความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเร่งของ วตั ถกุ บั แรงลัพธ์ท่ีกระทำต่อวัตถุและ มวลของวตั ถุ 4. สังเกตและอธบิ ายแรงกริ ิยาและ แรงปฏิกริ ิยาระหว่างวตั ถุคู่หนงึ่ ๆ 5. สังเกตและอธบิ ายผลของ ความเร่งที่มตี อ่ การเคลอื่ นทแี่ บบ ต่างๆ ของวตั ถุ ได้แก่ การเคล่ือนที่ แนวตรง การเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจก ไทล์ การเคลื่อนทแ่ี บบวงกลม และ การเคล่ือนทแ่ี บบสัน่ 6. สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายแรงโนม้ ถ่วงท่ีเกย่ี วกบั การเคล่ือนที่ของวตั ถุ ต่างๆ รอบโลก 7. สงั เกตและอธบิ ายการเกดิ สนามแม่เหลก็ เนอ่ื งจากกระแสไฟฟา้ 8. สังเกตและอธบิ ายแรงแมเ่ หลก็ ที่ กระทำต่ออนุภาคท่มี ปี ระจุไฟฟ้าท่ี เคล่ือนทใ่ี นสนามแม่เหล็กและแรง แมเ่ หลก็ ท่กี ระทำต่อลวดตัวนำทม่ี ี กระแสไฟฟา้ ผา่ นในสนามแมเ่ หล็ก รวมทัง้ อธิบายหลักการทำงานของ มอเตอร์

34 ตัวชว้ี ัดช้นั ปี 9. สังเกตและอธบิ ายการเกิดอีเอม็ เอฟ รวมทง้ั ยกตวั อย่างการนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ 10. สบื ค้นข้อมูลและอธิบายแรงเขม้ และแรงออ่ น สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างสสาร และพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจาวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกยี่ วขอ้ ง กับเสยี ง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั ช้ีวัดช้ันปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. บรรยายการเกิดเสยี งและทิศ 1. บรรยายแนวการเคลอ่ื นที่ 1. ยกตัวอยา่ งการเปล่ยี นพลงั งานหนึง่ ไป ทางการเคล่อื นทขี่ องเสียงจาก ของแสงจากแหล่งกำเนิดแสง เปน็ อีกพลังงานหนง่ึ จากหลกั ฐานเชงิ หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และอธิบายการมองเหน็ วัตถุ ประจักษ์ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. บรรยายการทำงานของเครื่องกำเนิด 2. ตระหนกั ในคุณคา่ ของ ไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลติ ความรู้ของการมองเหน็ โดย ไฟฟ้าจากข้อมูลท่รี วบรวมได้ ๓. ตระหนกั เสนอแนะแนวทางการป้องกนั ในประโยชน์และโทษของไฟฟ้าโดย อนั ตรายจากการมองวัตถุท่อี ยู่ นำเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั และ ในบริเวณท่ีมีแสงสว่างไม่ ปลอดภัย เหมาะสม ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. จำแนกวตั ถเุ ปน็ ตวั กลาง 1. อธบิ ายการไดย้ นิ เสียงผา่ น 1. ระบสุ ่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ โปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และ ตัวกลางจากหลักฐานเชงิ ของแตล่ ะสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า วตั ถทุ บึ แสง จากลักษณะการ ประจักษ์ อย่างงา่ ยจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ มองเห็นสิง่ ต่าง ๆ ผ่านวตั ถุนนั้ 2. ระบุตวั แปร ทดลองและ 2. เขยี นแผนภาพและต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ ง เป็นเกณฑ์โดยใชห้ ลักฐานเชิง อธิบายลักษณะและการเกิด งา่ ย ประจกั ษ์ เสียงสูง เสยี งตำ่ 3. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย 3. ออกแบบการทดลองและ วธิ ที ี่เหมาะสมในการอธบิ ายวธิ ีการและผล อธิบายลักษณะและการเกดิ ของการต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรม 4. เสียงดัง เสยี งค่อย ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรูข้ องการ 4. วัดระดบั เสียงโดยใช้ ตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอก เคร่อื งมอื วดั ระดับเสียง ประโยชน์และการประยกุ ต์ใช้ใน 5. ตระหนักในคุณคา่ ของ ชวี ิตประจำวนั ความรูเ้ รื่องระดบั เสียงโดย เสนอแนะแนวทางในการ

35 ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี หลีกเลี่ยงและลดมลพิษทาง 5. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย เสียง วธิ ีท่เี หมาะสมในการอธิบายการต่อหลอด ไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน 6. ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรู้ของ การต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน โดยบอก ประโยชน์ ข้อจำกดั และการประยกุ ตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจำวนั 7. อธิบายการเกดิ เงามดื เงามวั จาก หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ 8. เขียนแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการ เกดิ เงามืดเงามวั ม.1 ม.2 ม.3 1. วเิ คราะห์ แปลความหมาย 1.วิเคราะห์สถานการณ์และ 1. วเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความ ข้อมูล และคำนวณปรมิ าณ คำนวณเกี่ยวกบั งาน และกำลัง ตา่ งศกั ยก์ ระแสไฟฟา้ และความต้านทาน ความร้อนท่ที ำให้สสารเปลย่ี น ทเี่ กดิ จากแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ และคำนวณปริมาณที่เกยี่ วข้องโดยใช้ อณุ หภูมิและเปลย่ี นสถานะ โดยใชส้ มการ สมการ V = IR จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. ใช้เทอมอมเิ ตอร์ในการวัด W = Fs และ P=w/t จาก 2. เขยี นกราฟความสมั พันธร์ ะหวา่ ง อณุ หภมู ขิ องสสาร ขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ กระแสไฟฟา้ และความต่างศักยไ์ ฟฟา้ 3. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบาย 2.วิเคราะห์หลกั การทำงานของ 3. ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวดั การขยายตัวหรอื หดตัวของ เครอื่ งกลอยา่ งงา่ ย จากขอ้ มูลที่ ปรมิ าณทางไฟฟ้า สสารเน่อื งจากได้รบั หรอื สูญเสยี รวบรวมได้ 4. วเิ คราะห์ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ และ ความรอ้ น 3.ตระหนักถึงประโยชน์ของ กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าเม่อื ต่อตัว 4. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของ ความรขู้ องเคร่ืองกลอย่างงา่ ย ตา้ นทานหลายตัวแบบอนุกรม และแบบ ความรขู้ องการโหดและขยายตัว โดยบอกประโยชนแ์ ละการ ขนานจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ สสารเนอื่ งจากความรอ้ น โดย ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั 5. เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการตอ่ วเิ คราะหส์ ถานการณ์ปัญหา 4.ออกแบบและทดลองด้วยวิธีท่ี ตวั ต้านทานแบบอนกุ รมและขนาน และเสนอแนะวธิ ีการนำความรู้ เหมาะสมในการอธิบายปจั จัยที่ 6. บรรยายการทำงานของชนิ้ ส่วน มาแกป้ ญั หาในชีวิตประจำวนั มผี ลต่อพลังงาน-จลนแ์ ละ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ยา่ งง่ายในวงจรจากขอ้ มูล 5. วิเคราะหส์ ถานการณก์ าร พลงั งานศักยโ์ นม้ ถ่วง ท่ีรวบรวมได้ ถา่ ยโอนความรอ้ นและคำนวณ 5.แปลความหมายข้อมลู และ 7. เขียนแผนภาพและตอ่ ชน้ิ ส่วน ปริมาณความรอ้ นท่ถี ่ายโอน อธิบายการเปล่ยี นพลังงาน อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ยา่ งง่ายในวงจรไฟฟา้ ระหว่างสสารจนเกิดสมดุลย์ ระหว่างพลังงานศักย์โนม้ ถว่ ง 8. อธิบายและคำนวณพลงั งานไฟฟ้าโดย ความร้อน และพลงั งานจลนข์ องวตั ถุ โดย ใชส้ มการ W = Pt รวมทง้ั คำนวณคา่ 6. สร้างแบบจำลองท่อี ธิบาย พลงั งานกลของวัตถุมีคา่ คงตวั ไฟฟา้ ของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ในบ้าน การถา่ ยโอนความรอ้ น โดยนำ จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ 9. ตระหนกั ในคุณค่าของการเลอื กใช้ เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ โดยนำเสนอวธิ ีการใช้

36 ตัวช้วี ัดชน้ั ปี ความร้อน การพาความรอ้ น 6.วิเคราะห์สถานการณ์และ เคร่อื งใช้ไฟฟ้าอยา่ งประหยดั และ ปลอดภยั การแผ่รังสีความรอ้ น อธิบายการเปลย่ี นและการถ่าย 10. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกิด 7. ออกแบบ เลือกใช้ และสร้าง โอนพลังงานโดยใช้กฎการ คลน่ื และบรรยายสว่ นประกอบของคล่นื 11. อธบิ ายคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและ อุปกรณ์ เพอ่ื แกป้ ัญหาใน อนุรักษพ์ ลังงาน สเปกตรมั คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากขอ้ มูลที่ ชีวติ ประจำวันโดยใช้ความรู้ รวบรวมได้ 12. ตระหนกั ถึงประโยชนแ์ ละอนั ตราย เกย่ี วกบั การถา่ ยโอนความร้อน จากคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าโดยนำเสนอการใช้ ประโยชนใ์ นด้านต่าง ๆ และอันตรายจาก คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าในชวี ติ ประจำวนั 13. ออกแบบการทดลองและดำเนินการ ทดลองดว้ ยวิธีทเ่ี หมาะสมในการอธบิ าย กฎการสะท้อนของแสง 14. เขยี นแผนภาพการเคลือ่ นที่ของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา 15. อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่าน ตัวกลางโปรง่ ใสท่แี ตกต่างกนั และอธิบาย การกระจายแสงของแสงขาวเม่ือผา่ น ปรซิ ึมจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ 16. เขยี นแผนภาพการเคลอ่ื นท่ีของแสง แสดงการเกิดภาพจากเลนสบ์ าง 17. อธิบายปรากฎการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการทำงานของทศั นอุปกรณจ์ าก ข้อมูลทร่ี วบรวมได้ 18. เขยี นแผนภาพการเคล่อื นทข่ี องแสง แสดงการเกดิ ภาพของทศั นอุปกรณแ์ ละ เลนสต์ า 19. อธิบายผลของความสวา่ งท่มี ีต่อ ดวงตาจากขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการสืบคน้ 20. วดั ความสวา่ งของแสงโดยใช้อปุ กรณ์ วัดความสว่างของแสง 21. ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้เรือ่ ง ความสว่างของแสงท่มี ตี ่อดวงตา โดย วเิ คราะหส์ ถานการณ์ปญั หาและ เสนอแนะการจัดความสวา่ งให้เหมาะสม ในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ

ตัวชวี้ ัดชน้ั ปี 37 ม.6 ม.4 ม.5 - 1. สืบค้นขอ้ มูลและอธิบาย พลงั งานนิวเคลียร์ฟชิ ชนั และซวิ ชัน และความสมั พันธร์ ะหว่าง มวลกับพลงั งานท่ีปลดปลอ่ ย ออกมาจากฟชิ ชันและฟิวชัน 2. สืบค้นขอ้ มูล และอธิบายการ เปล่ยี นพลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า รวมทงั้ สืบค้น และอภปิ รายเกยี่ วกบั เทคโนโลยี ทนี่ ำมาแกป้ ญั หาหรอื ตอบสนอง ความตอ้ งการทางดา้ นพลังงาน โดยเนน้ ด้านประสทิ ธิภาพและ ความคุ้มค่าด้านค่าใช้จา่ ย 3. สังเกต และอธบิ ายการ สะทอ้ น การหกั เหการเลยี้ วเบน และการรวมคล่นื 4. สังเกต และอธิบายความถ่ี ธรรมชาติ การส่นั พอ้ ง และผลที่ เกิดขน้ึ จากการสั่นพอ้ ง 5. สงั เกต และอธบิ ายการ สะท้อน การหกั เหการเล้ยี วเบน และการรวมคลื่นของคล่ืนเสียง 6. สบื คน้ ข้อมูล และอธบิ าย ความสัมพันธร์ ะหวา่ งความเขม้ เสยี งกับระดับเสยี งและผลของ ความถกี่ ับระดบั เสียงทีม่ ีต่อการ ได้ยิน 7. สงั เกต และอธิบายการเกิด เสยี งสะทอ้ นกลบั บีต ดอป เพลอร์ และการสั่นพอ้ งของ เสยี ง 8. สบื คน้ ข้อมูล และยกตวั อย่าง การนำความรูเ้ กย่ี วกบั เสยี งไปใช้ ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวัน

38 ตวั ช้วี ัดชน้ั ปี 9. สังเกต และอธิบายการ มองเห็นสีของวัตถแุ ละความ ผดิ ปกติในการมองเหน็ สี 10. สังเกต และอธิบายการ ทำงานของแผ่นกรอง แสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี และการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ น ชวี ิตประจำวัน 11. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายขึ้น แมเ่ หล็กไฟฟา้ ส่วนประกอบขนึ้ แม่เหลก็ ไฟฟ้า และหลกั การ ทำงานของอุปกรณ์บางชนิดที่ อาศยั ขนึ้ แมเ่ หล็กไฟฟ้า 12. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธบิ าย การส่อื สาร โดยอาศยั ข้ึน แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ในการส่งผา่ น สารสนเทศและเปรียบเทียบการ สือ่ สารดว้ ยสญั ญาณแอนะล็อก กับสัญญาณดจิ ิทัล สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี อวกาศ ตวั ชี้วัดช้ันปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1.ระบดุ าวท่ปี รากฏบนทอ้ งฟา้ ใน 1. อธบิ ายแบบรปู เส้นทางการข้ึน เวลากลางวนั และกลางคืนจาก และตกของ ดวงอาทิตย์โดยใช้ ข้อมลู ที่รวบรวมได้ หลักฐานเชิง ประจักษ์ 2. อธิบายสาเหตทุ ี่มองไม่เหน็ ดาว 2. อธิบายสาเหตกุ ารเกดิ ส่วนใหญใ่ นเวลากลางวนั จาก ปรากฏการณ์ การข้นึ และตกของดวง หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ อาทติ ย์ การเกิดกลางวัน กลางคืน และการ กำหนดทิศ โดยใช้ แบบจำลอง 3. ตระหนกั ถึง ความสำคัญของ ดวง อาทติ ย์ โดย บรรยายประโยชนข์ อง ดวงอาทิตย์ตอ่ สงิ่ มีชีวิต

39 ตวั ชี้วัดชน้ั ปี ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. อธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการข้นึ 1. เปรยี บเทียบความแตกต่าง 1. สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกิด และตกของ ดวงจันทร์ โดยใช้ ของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ และเปรยี บเทยี บ ปรากฏการณ์ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ จากแบบจำลอง สุริยุปราคาและ จันทรปุ ราคา 2. สรา้ งแบบจำลองท่ี อธบิ ายแบบ 2. ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่ง 2. อธบิ าย พัฒนาการ ของเทคโนโลยี รูป การเปลี่ยนแปลง รูปรา่ งปรากฏ และเสน้ ทาง การข้นึ และตกของ อวกาศ และ ยกตัวอย่างการนา ของดวงจันทร์ และพยากรณ์รปู รา่ ง กลุ่มดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ และ เทคโนโลยอี วกาศมาใช้ประโยชนใ์ น ปรากฏของดวงจนั ทร์ อธิบาย แบบรูปเสน้ ทางการข้ึน ชีวิตประจำวัน จากข้อมูลทร่ี วบรวม 3. สรา้ งแบบจำลอง แสดง และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์บน ได้ องค์ประกอบ ของระบบสุริยะ และ ท้องฟา้ ในรอบปี อธิบาย เปรยี บเทียบคาบ การโคจร ของ ดาวเคราะห์ ต่าง ๆ จากแบบจำลอง ม.1 ม.2 ม.3 - - ๑. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ รอบ ดวงอาทิตย์ดว้ ยแรงโนม้ ถว่ งจาก สมการ F = (Gm1 m2 )/r2 2. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการเกดิ ฤดูและ การเคล่อื นทีป่ รากฏของดวง อาทติ ย์ 3.สรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกิด ข้างขึน้ ข้างแรม การเปลีย่ นแปลง เวลาการขึ้นและตก ของดวงจันทร์ และการเกดิ น้ำขน้ึ นำ้ ลง ม.4 ม.5 ม.6 - - 1. อธิบายการกำเนิดและการ เปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมขิ องเอกภพหลงั เกดิ บกิ แบง ในช่วงเวลาต่าง ๆ ตามววิ ัฒนาการ ของเอกภพ 2. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนนุ ทฤษฎี บิกแบง จากความสมั พันธ์ระหวา่ ง ความเร็วกบั ระยะทาง ของกาแล็กซี รวมท้ังขอ้ มูลการคน้ พบไมโครเวฟ พนื้ หลงั จากอวกาศ 3. อธิบายโครงสรา้ งและ องคป์ ระกอบของกาแลก็ ซี ทาง

ตวั ช้วี ัดชนั้ ปี 40 ชา้ งเผอื ก และระบตุ ำแหนง่ ของระบบ สรุ ิยะ พรอ้ มอธบิ ายเช่ือมโยงกบั การ สังเกตเห็น ทางช้างเผอื กของคนบน โลก 4. อธิบายกระบวนการเกดิ ดาวฤกษ์ โดยแสดง การเปลีย่ นแปลงความดัน อณุ หภมู ขิ นาด จากดาวฤกษ์ก่อนเกดิ จนเปน็ ดาวฤกษ์ 5. ระบุปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ ความสอ่ ง สวา่ งของ ดาวฤกษแ์ ละอธิบาย ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ความส่องสวา่ ง กบั โชตมิ าตรของดาวฤกษ์ 6. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสี อุณหภูมิผวิ และสเปกตรัมของดาว ฤกษ์ 7.อธิบายลำดับววิ ฒั นาการทสี่ มั พันธ์ กับมวลตงั้ ต้น และวเิ คราะหก์ าร เปล่ยี นแปลงสมบัติบางประการ ของ ดาวฤกษ์ 8.อธิบายกระบวนการเกดิ ระบบ สุริยะ และการแบ่ง เขตบริวารของ ดวงอาทติ ยแ์ ละลกั ษณะของ ดาว เคราะหท์ ีเ่ อ้ือตอ่ การดำรงชีวิต 9.อธิบายโครงสร้างของดวงอาทติ ย์ การเกดิ ลมสรุ ิยะ พายุสรุ ยิ ะ และ สืบค้นข้อมลู วิเคราะห์ นำเสนอ ปรากฏการณ์หรือเหตกุ ารณ์ท่ี เกย่ี วขอ้ ง กบั ผลของลมสุรยิ ะ และ พายุสรุ ิยะที่มีต่อโลก รวมทั้งประเทศ ไทย 10.สบื คน้ ข้อมูล อธิบายการสำรวจ อวกาศ โดยใช้ กลอ้ งโทรทรรศน์ ในช่วงความยาวคลืน่ ตา่ ง ๆ ดาวเทยี ม ยานอวกาศสถานีอวกาศและนำเสนอ แนวคิดการนำความรูท้ างด้าน เทคโนโลยี อวกาศมาประยกุ ต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน หรือในอนาคต

41 สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ และความสมั พนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายใน โลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ภิ ยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู อิ ากาศโลก รวมทง้ั ผลตอ่ ส่งิ มชี วี ิต และส่ิงแวดล้อม ตัวชีว้ ัดชนั้ ปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. อธบิ ายลักษณะภายนอกของ 1. ระบสุ ว่ นประกอบของดิน 1. ระบุส่วนประกอบของ หินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ท่ี และจำแนกชนดิ ของดนิ โดยใช้ อากาศ บรรยายความสำคัญ สังเกตได้ ลักษณะเน้ือดินและการจับตัว ของอากาศ และผลกระทบของ เปน็ เกณฑ์ มลพษิ ทางอากาศ ต่อสิ่งมีชีวติ 2. อธิบายการใช้ประโยชนจ์ าก จากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ดนิ จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ 2. ตระหนักถึงความสำคัญของ อากาศ โดยนาเสนอแนว ทางการปฏิบตั ิตนในการลดการ เกดิ มลพษิ ทางอากาศ 3. อธบิ ายการเกดิ ลมจาก หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ 4. บรรยายประโยชนแ์ ละโทษ ของลมจากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ ป. 4 ป. 5 ป. 6 - 1. เปรยี บเทียบปริมาณน้ำใน 1. เปรยี บเทียบกระบวนการ แต่ละแหลง่ และระบุปริมาณนำ้ เกิดหินอัคนี หนิ ตะกอน และ ท่มี นุษยส์ ามารถนำมาใช้ หินแปร และอธิบาย วัฏจกั รหนิ ประโยชนไ์ ด้ จากขอ้ มูลท่ี จากแบบจำลอง รวบรวมได้ 2. บรรยายและยก ตัวอย่างการ ใช้ประโยชนข์ องหนิ และแร่ใน 2. ตระหนักถงึ คุณคา่ ของน้ำ ชีวิต ประจำวันจากขอ้ มูลที่ โดยนำเสนอแนวทาง การใช้นำ้ รวบรวมได้ อย่างประหยดั และการอนรุ ักษ์ 3. สร้างแบบจำลองที่อธิบาย น้ำ การเกิดซากดึกดำบรรพแ์ ละ 3. สร้างแบบจำลองทอี่ ธบิ าย คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีต การหมุนเวียนของน้ำในวฏั จักร ของซากดกึ ดำบรรพ์ น้ำ 4. เปรียบเทยี บการเกิดลมบก 4. เปรยี บเทยี บกระบวนการ ลมทะเล และมรสมุ รวมทง้ั เกดิ เมฆ หมอก นำ้ คา้ ง และ อธบิ ายผลทม่ี ตี ่อสิ่งมชี วี ิตและ น้ำคา้ งแข็ง จากแบบจำลอง สิง่ แวดลอ้ มจากแบบจำลอง

42 ตัวช้วี ัดช้ันปี 5. เปรยี บเทยี บกระบวนการ 5. อธิบายผลของมรสมุ ต่อการ เกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ จาก เกดิ ฤดขู องประเทศไทย จาก ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ ข้อมลู ที่รวบรวมได้ 6. บรรยายลักษณะและ ผลกระทบของน้ำท่วม การกดั เซาะชายฝ่ังดินถล่ม แผน่ ดินไหว สึนามิ 7. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของ ภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัติภยั โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้า ระวังและปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั จากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ิ ภยั ที่อาจเกิดในทอ้ งถน่ิ 8. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบาย การเกิดปรากฏการณ์เรือน กระจกและผลของปรากฏการณ์ เรอื นกระจกต่อสิ่งมชี วี ิต 9. ตระหนกั ถึงผลกระทบของ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกโดย นำเสนอแนวทาง การปฏิบตั ิตน เพ่ือลดกจิ กรรมทก่ี อ่ ให้เกิดแก๊ส เรือนกระจก ม.1 ม.2 ม.3 1. สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธิบาย 1.เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ - การแบง่ ชัน้ บรรยากาศ และ และการใช้ประโยชน์ รวมท้งั เปรยี บเทียบประโยชน์ของ อธิบายผลกระทบจากการใช้ บรรยากาศ แต่ละชน้ั เชอื้ เพลงิ ซากดกึ ดำบรรพจ์ าก 2. อธบิ ายปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ การ ข้อมลู ท่รี วบรวมได้ เปลีย่ นแปลง องคป์ ระกอบของ 2.แสดงความตระหนกั ถึงผล ลมฟ้าอากาศ จากขอ้ มูล ท่ี จากการใชเ้ ชือ้ เพลิงซากดกึ ดำ รวบรวมได้ บรรพ์โดยนำเสนอ แนว 3.เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ ทางการใช้เชอ้ื เพลิงซากดึกดำ พายฝุ นฟ้าคะนอง และพายุ บรรพ์ หมนุ เขตร้อน และผลทมี่ ีต่อ 3.เปรียบเทยี บข้อดีและ สง่ิ มีชีวิต และสง่ิ แวดลอ้ ม ขอ้ จำกัดของพลงั งานทดแทน รวมทั้งนำเสนอแนวทางการ แต่ละประเภทจากการรวบรวม ข้อมูลและนำเสนอแนวทาง การ

43 ตวั ช้วี ัดช้นั ปี ปฏิบัติตนให้เหมาะสมและ ใชพ้ ลงั งานทดแทนท่เี หมาะสม ปลอดภยั ในทอ้ งถ่นิ 4.อธบิ ายการพยากรณ์อากาศ 4.สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธบิ าย และพยากรณ์ อากาศอย่างงา่ ย โครงสรา้ งภายในโลกตาม จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ องค์ประกอบทางเคมีจากข้อมูล 5. ตระหนักถงึ คุณค่าของการ ท่ีรวบรวมได้ พยากรณอ์ ากาศ โดยนำเสนอ 5.อธิบายกระบวนการผพุ ังอยู่ แนวทางการปฏิบัติตนและการ กับท่ี การกรอ่ น และการสะสม ใช้ ประโยชนจ์ ากคำพยากรณ์ ตวั ของตะกอนจากแบบจำลอง อากาศ รวมทัง้ ยกตัวอย่าง ผลของ 6.อธิบายสถานการณแ์ ละ กระบวนการดงั กล่าวท่ีทำให้ ผลกระทบการเปลีย่ นแปลง ผวิ โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ภมู ิอากาศโลกจากข้อมูลที่ 6.อธบิ ายลกั ษณะของชัน้ หนา้ รวบรวมได้ ตัดดนิ และกระบวนการเกิดดิน 7. ตระหนักถึงผลกระทบของ จากแบบจำลอง รวมท้ังระบุ การเปลี่ยนแปลง ภูมอิ ากาศโลก ปจั จยั ที่ทำให้ดนิ มลี ักษณะและ โดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติ สมบตั แิ ตกตา่ งกนั ตน ภายใต้การเปลี่ยนแปลง 7.ตรวจวัดสมบัติบางประการ ภมู อิ ากาศโลก ของดิน โดยใช้เครือ่ งมือท่ี เหมาะสม และนำเสนอแนว ทางการใช้ประโยชน์ดนิ จาก ขอ้ มลู สมบัตขิ องดิน 8.อธิบายปจั จัย และ กระบวนการเกิดแหลง่ น้ำผวิ ดนิ และแหล่งนำ้ ใตด้ ิน จาก แบบจำลอง 9.สรา้ งแบบจำลองทอี่ ธิบายการ ใช้น้ำ และนำเสนอแนวทางการ ใช้นำ้ อยา่ งย่งั ยนื ในท้องถิ่นของ ตนเอง 10. สร้างแบบจำลองท่อี ธิบาย กระบวนการเกิดและผลกระทบ ของนำ้ ท่วมการกดั เซาะชายฝัง่ ดนิ ถลม่ หลุมยุบ แผ่นดินทรุด

44 ตวั ชี้วัดชัน้ ปี ม.4 ม.5 ม.6 - - 1. อธบิ ายการแบง่ ชน้ั และ สมบตั ขิ องโครงสรา้ งโลก พรอ้ ม ยกตวั อยา่ งขอ้ มลู ทีส่ นบั สนนุ 2.อธบิ ายหลกั ฐานทาง ธรณวี ทิ ยาทีส่ นับสนนุ การ เคลื่อนทข่ี องแผน่ ธรณี 3. ระบสุ าเหตุและอธิบาย รูปแบบแนวรอยต่อ ของแผ่น ธรณที ่สี มั พันธ์กบั การเคล่ือนที่ ของ แผ่นธรณพี ร้อมยกตัวอย่าง หลักฐาน ทางธรณวี ทิ ยาท่ีพบ 4.อธบิ ายสาเหตกุ ระบวนการ เกิดภูเขาไฟระเบิด รวมท้งั สบื คน้ ข้อมูลพน้ื ทเี่ ส่ียงภยั ออกแบบและ นำเสนอแนวทาง การเฝ้าระวังและการปฏบิ ตั ิตน ให้ปลอดภัย 5.อธิบายสาเหตกุ ระบวนการ เกิด ขนาดและ ความรนุ แรง และผลจากแผน่ ดินไหว รวมท้ัง สบื คน้ ขอ้ มูลพื้นที่เส่ียงภัย ออกแบบและ นำเสนอแนวทาง การเฝา้ ระวังและการปฏบิ ัติตน ให้ปลอดภัย 6.อธิบายสาเหตุกระบวนการ เกิดและผลจากสนึ ามิ รวมท้งั สืบค้นข้อมลู พื้นที่เสย่ี งภยั ออกแบบ และนำเสนอแนว ทางการเฝ้าระวังและการ ปฏิบัติตนใหป้ ลอดภัย 7.อธบิ ายปจั จยั สำคญั ท่ีมีผลต่อ การได้รบั พลงั งาน จากดวง อาทิตย์แตกต่างกนั ในแตล่ ะ บรเิ วณ ของโลก

ตวั ช้วี ัดชนั้ ปี 45 8. อธบิ ายการหมนุ เวียนของ อากาศ ที่เปน็ ผลมาจากความ แตกตา่ งของความกดอากาศ 9.อธบิ ายทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ ของอากาศ ที่เป็น ผลมาจาก การหมนุ รอบตัวเองของโลก 10.อธบิ ายทศิ ทางการเคล่ือนที่ ของอากาศ ทีเ่ ป็น ผลมาจาก การหมุนรอบตวั เองของโลก 11.อธบิ ายปจั จัยท่ีทำใหเ้ กดิ การหมุนเวียนของน้ำ ผิวหน้าใน มหาสมุทรและรูปแบบการ หมนุ เวยี น ของนำ้ ผิวหนา้ ใน มหาสมทุ ร 12.อธิบายผลของการ หมนุ เวยี นของอากาศ และน้ำ ผวิ หน้าในมหาสมุทรท่ีมีตอ่ ลักษณะ ภมู ิอากาศ ลมฟา้ อากาศ ส่ิงมชี วี ิต และ สง่ิ แวดล้อม 13.อธิบายปัจจัยที่มีผลตอ่ การ เปลยี่ นแปลง ภูมอิ ากาศของโลก พร้อมทงั้ นำเสนอแนวปฏบิ ตั ิ เพอื่ ลดกิจกรรมของมนุษยท์ ่ี สง่ ผลตอ่ การ เปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก 14.แปลความหมายสัญลกั ษณ์ ลมฟา้ อากาศ ท่ีสำคัญจากแผน ทีอ่ ากาศ และนำขอ้ มูล สารสนเทศตา่ ง ๆ มาวางแผน การดำเนนิ ชวี ติ ให้สอดคล้องกับ สภาพลมฟา้ อากาศ

46 สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอ่ ชวี ิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 --- ป. 4 ป. 5 ป. 6 --- ม. 1 ม. 2 ม. 3 --- ม. 4 ม. 5 ม. 6 --- สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาท่ีพบในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขั้นตอน และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทันและมจี รยิ ธรรม ตวั ช้ีวัดช้ันปี ป. 1 ป. 2 ป. 3 1. แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย โดยใช้ 1. แสดงลำดบั ข้นั ตอนการ 1. แสดงอัลกอรทิ มึ ในการทา การลองผดิ ลองถูก การ ทำงานหรอื การแกป้ ัญหาอยา่ ง งานหรือการแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย เปรียบเทียบ งา่ ยโดยใชภ้ าพ สญั ลักษณ์ หรือ โดยใช้ภาพ สญั ลักษณ์ หรอื 2. แสดงลำดับข้ันตอนการ ข้อความ ขอ้ ความ ทำงานหรอื การแก้ปญั หาอยา่ ง 2. เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย 2. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย งา่ ย โดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์ โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือสือ่ และ โดยใช้ซอฟตแ์ วรห์ รอื ส่ือ และ หรอื ข้อความ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของ 3. เขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โปรแกรม โปรแกรม โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรือส่อื 3. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด 3. ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ค้นหาความรู้ 4. ใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง หมวดหมู่ ค้นหา จดั เกบ็ 4. รวบรวม ประมวลผล และ จดั เก็บ เรียกใช้ขอ้ มูลตาม เรียกใชข้ อ้ มลู ตามวตั ถุประสงค์ นำเสนอข้อมูล โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ วัตถปุ ระสงค์ 4. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์ 5. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ อยา่ ง ปลอดภยั ปฏบิ ัติ ตาม อย่าง ปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตาม ขอ้ ตกลงใน การใช้คอมพิวเตอร์ 5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์ รว่ มกัน ดูแลรกั ษา อปุ กรณ์ อยา่ งปลอดภยั ปฏิบัติตาม รว่ มกันดูแลรกั ษาอปุ กรณ์ เบ้ืองตน้ ใช้งานอย่าง เหมาะสม ข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต เบ้ืองตน้ ใชง้ านอย่างเหมาะสม

47 ตวั ชีว้ ัดชัน้ ปี ป. 4 ป. 5 ป. 6 1. ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ 1. ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ 1. ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ แก้ปัญหา การอธิบายการ แกป้ ญั หา การอธบิ าย การงาน อธบิ ายและ ออกแบบวธิ ีการ ทำงาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ การคาดการณ์ผลลพั ธจ์ าก แก้ปญั หาทีพ่ บใน จากปญั หาอยา่ งง่าย ปญั หาอยา่ งงา่ ย ชวี ิตประจำวัน 2. ออกแบบ และเขยี น 2. ออกแบบและเขียน 2. ออกแบบและเขียนโปรแกรม โปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้ โปรแกรมทีม่ ีการใชเ้ หตผุ ลเชิง อย่างง่ายเพอ่ื แก้ปัญหาในชวี ิต ซอฟต์แวรห์ รอื สอ่ื และตรวจหา ตรรกะอย่างงา่ ย ตรวจหา ประจำวนั ตรวจหาข้อผิดพลาด ข้อผดิ พลาดและแก้ไข 3. ใช้ ขอ้ ผดิ พลาดและแกไ้ ข ของ โปรแกรมและแก้ไข อนิ เทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ และ 3. ใช้อินเทอรเ์ น็ตค้นหาขอ้ มูล 3. ใช้อินเทอร์เนต็ ในการค้นหา ประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ของ ติดต่อสอื่ สาร และทำงาน ข้อมูลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ข้อมลู ร่วมกัน ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื 4. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 4. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ของขอ้ มูล ทำงานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภัย ขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยใช้ 4. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ เข้าใจสทิ ธิและหนา้ ทขี่ องตน ซอฟต์แวร์ท่หี ลากหลาย เพือ่ ขอ้ มูลและสารสนเทศ ตาม เคารพในสิทธขิ องผู้อืน่ แจง้ แก้ปัญหาในชวี ิตประจำวัน วตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ผูเ้ กี่ยวขอ้ งเม่ือพบข้อมลู หรือ 5. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ หรือบริการบนอินเทอรเ์ นต็ ท่ี บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม อยา่ ง ปลอดภยั เข้าใจ สทิ ธแิ ละ หลากหลาย เพ่อื แก้ปญั หาใน หน้าท่ี ของตน เคารพใน สิทธิ ชวี ิตประจำวัน ของผอู้ ่ืน แจ้งผเู้ ก่ยี วข้องเม่ือพบ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ขอ้ มลู หรอื บุคคลที่ ไมเ่ หมาะสม อยา่ ง ปลอดภยั มีมารยาท เข้าใจสทิ ธิและหน้าท่ขี องตน เคารพในสิทธิ ของผู้อื่น แจ้ง ผ้เู ก่ียวข้อง เมื่อพบขอ้ มูลหรือ บุคคล ทีไ่ มเ่ หมาะสม ม.1 ม.2 ม.3 ๑.ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้ ๑.ออกแบบอัลกอรทิ มึ ท่ีใช้ ๑.พฒั นาแอปพลิเคชนั ท่มี กี าร แนวคดิ เชงิ นามธรรม เพือ่ แนวคิดเชงิ คำนวณในการ บูรณาการกับวิชาอ่นื อยา่ ง แกป้ ญั หาหรืออธบิ าย การ แกป้ ัญหา หรอื การทำงาน ท่ีพบ สรา้ งสรรค์ ทำงานทพ่ี บในชีวิตจรงิ ในชวี ติ จริง ๒.รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรม ๒.ออกแบบและเขียนโปรแกรม ประเมินผลนำเสนอ ข้อมลู และ อย่างง่ายเพอื่ แก้ปัญหาทาง ทใี่ ช้ตรรกะและฟังก์ชัน ในการ สารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์ คณติ ศาสตรห์ รือวทิ ยาศาสตร์ แกป้ ญั หา โดยใช้ ซอฟต์แวร์ หรือบรกิ าร ๓.รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิ ๓.อภิปรายองคป์ ระกอบและ บน อินเทอรเ์ นต็ ทีห่ ลากหลาย ประมวลผล ประเมนิ ผล หลกั การทำงานของระบบ ๓.ประเมนิ ความนา่ เชื่อถือ ของ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี ข้อมูล วเิ คราะห์สื่อ และ ตามวตั ถุประสงค์โดยใช้ การสอื่ สาร ผลกระทบจากการ ให้ข่าวสารที่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook