แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ก
คำนำ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2562 ลงวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2562 กำหนดให้คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใช้กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เป็นหลัก ในการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ ซึ่งปัจจุบันคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้ประกาศกำหนดเกณฑ์มาตราฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการไว้แล้ว และเพื่อให้ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีมาตรฐานสอดคล้องกับคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ และเกณฑ์มาตรฐาน คณุ วุฒอิ าชีวศึกษาแต่ละระดับ จึงมีประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรอ่ื ง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวภิ าคี พ.ศ. 2563 ลงวนั ท่ี 22 มถิ ุนายน พ.ศ. 2563 เพื่อให้การจดั การศกึ ษามคี ณุ ภาพและประสิทธภิ าพ ย่งิ ข้ึน ตามมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีดังกล่าวมีความเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย เช่น สถานศึกษา สถานประกอบการ ครู อาจารย์ ผู้เรียน และผู้ปกครอง ดังนั้น เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในแนวทางและ วิธีปฏิบัติที่ชัดเจน สำนักงานคณกรรมการการอาชีวศึกษาจึงมอบหมายให้ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี สำนักความร่วมมือ จัดทำแนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาและ สถานประกอบการนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดำเนินงาน และให้ครู อาจารย์ ผู้เรียน ตลอดจนผปู้ กครอง มคี วามรู้ ความเข้าใจได้ดียิ่งข้ึน พร้อมที่จะให้ความร่วมมือและสนับสนุนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีให้มีคุณภาพ และมีมาตราฐานตามประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคี สำนักความร่วมมือ ดำเนินการจัดทำแนวทางปฏิบตั ิการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563 ซึ่งคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องร่วมประชุมหารือจัดทำขึ้น เพื่อให้สถานศึกษาและสถานประกอบการ นำไปใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างถูกต้องตามมาตรฐานการจัดการ อาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563 ใหม้ คี ุณภาพอยา่ งยงั่ ยนื ตอ่ ไป ศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคี สำนักความรว่ มมือ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ก
สารบัญ เรือ่ ง หน้า คำนำ……………………………………………………………………………………………………….………………………………… ก สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข สารบัญตัวอยา่ ง………………………………………………………………………………………………………………………….. ง ความเปน็ มาของการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าค.ี ............................................................................... 1 พระราชบญั ญตั ิการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑.............................................................................................. ๑ ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เรอื่ ง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓....... ๒ คำนยิ ามศัพท์.............................................................................................................................................. ๓ พัฒนาการของการศึกษาระบบทวภิ าค.ี ...................................................................................................... 4 การจัดต้ังศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวิภาคีเขตพนื้ ที่................................................................................................. 7 มาตรฐานการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี........................................................................................... ๑0 ๑. หลกั การจัดอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี....................................................................................... ๑0 ๒. คุณภาพของผู้สำเรจ็ การศึกษาอาชวี ศกึ ษา............................................................................... ๑0 ๓. การจดั การศึกษาระบบทวิภาคี………………………………………………….………….……………………… ๑2 ๔. การจัดเตรียมความพร้อม………………………………………………………….………………………………… ๑2 ๕. การดำเนนิ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี…………..……………………………….………………… ๑3 ๖. ครฝู กึ ในสถานประกอบการ………………………………………………………………….……………………… ๑3 ๗. ผู้เรียน………………………………………………………………………………………………………………………. ๑4 ๘. การจัดการเรยี นการสอนและการฝึกอาชพี ของสถานประกอบการ…………………………………… ๑4 ๙. การนเิ ทศผูเ้ รียนในสถานประกอบการ………………………………………………….………………………. ๑4 ๑๐. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนและการสำเรจ็ การศกึ ษา………………….…........................ ๑4 ๑๑. การประกนั คุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอน................................................... ๑5 ปัจจัยแห่งความสำเรจ็ ในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาค.ี ................................................................... ๑5 ประโยชน์จากการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี..................................................................................... 17 หลกั เกณฑก์ ารใชห้ ลักสูตร ระเบียบการจัดการศึกษา และการประเมินผลการเรยี น.................................. 18 ผสู้ อนและบุคลากรสนับสนุนการจดั อาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี.................................................................... ๒2 สถานศึกษาหรือสถาบันอาชวี ศึกษาที่จดั อาชีวศกึ ษาระบบทวิภาค.ี ............................................................ ๒3 การจัดแผนการจัดการเรยี นรแู้ ละแผนการฝึกอาชีพ………………….............................................................. ๒5 ความเชอื่ มโยงงานในสถานประกอบการกับรายวิชาในสถานศกึ ษา............................................................ 27 การกำหนดสมรรถนะของสถานประกอบการ…………………………………………………………………………………. 28 แนวทางปฏิบัติของขัน้ ตอนการดำเนินการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าครี ะหวา่ งสถานศกึ ษากับสถาน ประกอบการ............................................................................................................................................... 51 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................................. 114 แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ข
สารบัญ (ต่อ) เร่ือง หนา้ ภาคผนวก................................................................................................................................................... 115 คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแนวปฏิบัติ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี………………………………………………………….……. 116 กฏหมายและระเบยี บที่เกีย่ วขอ้ งกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี…………………………………. 119 แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ค
สารบัญตวั อย่าง หนา้ ตวั อย่างที่ 1 ใบเกยี รตบิ ตั รการอบรมหลักสูตร การพัฒนาครูฝกึ ในสถานประกอบการ (DVE 0๑)….. 66 ตวั อยา่ งที่ 2 คำสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนินการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี (DVE 0๒)…….. 67 ตวั อยา่ งท่ี 3 แบบสำรวจความพร้อมของสถานประกอบการ (DVE 03)………………………………………. 69 ตวั อย่างที่ 4 แบบสำรวจความตอ้ งการผู้เรยี นตามลกั ษณะงานของสถานประกอบการ (DVE 04)….. 70 ตัวอย่างที่ 5 แบบสรปุ รายชอื่ สถานประกอบการและรายวชิ าฝึกอาชีพ (DVE 05)……………………….. 71 ตัวอยา่ งที่ 6 หนังสือเชญิ เข้ารว่ มจัดอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี (DVE 06)…………………………………….. 72 ตัวอยา่ งท่ี 7 แบบสรุปผลการสำรวจรายช่ือสถานประกอบการท่ีมคี วามประสงค์เข้าร่วมการจดั การ อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี (DVE 07)…………………………………………………………………….. 73 ตวั อย่างท่ี 8 บันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (DVE 08)………………………………………………………………. 74 ตวั อยา่ งท่ี 9 บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื การจัดการศึกษาดา้ นอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี (DVE 09).. 76 ตัวอยา่ งที่ 10 สญั ญาการฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ (DVE 10)…………………………….……………….. 78 ตัวอยา่ งท่ี 11 สัญญาการฝึกอาชีพ (DVE 11)……………………………………………………………………………. 80 ตวั อย่างที่ 12 แผนการเรยี น แผนการฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ (DVE 12)………………..………….. 82 ตัวอยา่ งท่ี 13 คมู่ ือการฝึกอาชพี (DVE ๑3)…………………………………….………………………………………… 88 ตวั อยา่ งท่ี 14 บทพจิ ารณาความผิด และพจิ ารณาโทษของผูเ้ รยี นท่กี ระทำความผดิ หรอื ขอย้าย สถานประกอบการในระหว่างออกฝกึ อาชพี (DVE ๑4)…………………………………………. 90 ตัวอย่างที่ 15 สมดุ บันทึกการฝกึ อาชีพ (DVE ๑5)……………………………………………………………………… 92 ตวั อยา่ งที่ 16 แฟม้ สะสมผลงานผู้เรียน (DVE ๑6)……………………………………………………………………… 100 ตัวอยา่ งท่ี 17 คำสงั่ แต่งตัง้ ครูทำหน้าทน่ี เิ ทศการฝึกอาชพี ของนักเรียน นกั ศกึ ษาในสถานประกอบการ (DVE ๑7)…………………………………………………………………………………………………………. 104 ตวั อย่างที่ 18 แผนการนเิ ทศ/ปฏิทินการนิเทศติดตามผลการฝกึ อาชีพรายวิชา (DVE 18)…………………. 106 ตัวอยา่ งท่ี 19 รายงานการนเิ ทศผเู้ รยี นฝกึ งานหรอื ฝึกอาชีพ (DVE 19)………………………………………… 107 ตวั อย่างท่ี 20 แบบนิเทศติดตามประเมนิ ผลการฝึกอาชพี (DVE 20)……………………………..…………….. 110 ตวั อย่างที่ 21 แบบประเมินผลการฝกึ อาชพี (DVE 21)………………………………………………………………. 112 แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ง
การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ความเป็นมาของการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดำเนินการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรอ่ื ง มาตรฐานการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ ดังนั้นการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จึงเป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังคนที่มี คุณภาพตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการ สามารถพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะเท่าทันเทคโนโลยี ปจั จบุ นั และเชอื่ มโยงองค์ความรู้ เพอื่ พัฒนาการทำงานใหส้ อดคล้องกบั การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีในอนาคต พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และ ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ตามมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษา การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีจงึ เป็นการจัดการศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มาตรฐาน การศึกษาของชาติกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ ตลอดจน ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ สร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการที่มีศักยภาพเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี สง่ เสริมการทำงานร่วมกนั อย่างใกล้ชิดระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ เกิดความร่วมมือ ในการผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผูส้ อนทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมถึงการสรา้ งแรงจงู ใจใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียน พัฒนา กำลังคนให้มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ รองรับความต้องการกำลังคนในการพัฒนาประเทศ การจัด การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีจึงเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาที่กำหนดสมรรถนะของผู้สำเร็จการศึกษา จากความต้องการของสถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐอย่างแทจ้ รงิ พระราชบญั ญัตกิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ การจดั การอาชีวศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ให้จดั ไดโ้ ดยรปู แบบดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) การศึกษาในระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบนั เป็นหลัก โดยมีการกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาการวัดและ การประเมนิ ผลทีเ่ ปน็ เงื่อนไขของการสำเรจ็ การศกึ ษาท่แี น่นอน (๒) การศึกษานอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนด จดุ มงุ่ หมาย รูปแบบ วิธกี ารศกึ ษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เปน็ เง่ือนไขของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แตล่ ะกลุ่ม (๓) การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน กับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจดั หลักสูตรการเรยี นการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา หรอื สถาบนั และเรียนภาคปฏบิ ตั ิในสถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานของรฐั เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากำลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัด การศึกษาตามวรรคหนึง่ ในหลายรูปแบบรวมกันกไ็ ด้ ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันนัน้ ต้องมุ่งเนน้ การจัดการศึกษาระบบทวภิ าคเี ปน็ สำคญั แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๑
มาตรา ๙ การจดั การอาชีวศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ตามมาตรา ๖ มาตรา ๗ และมาตรา ๘ ใหจ้ ดั ตามหลกั สตู รทีค่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ดังต่อไปนี้ (๑) ประกาศนยี บตั รวิชาชพี (๒) ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สงู (๓) ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั กิ าร คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจกำหนดหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู้ หรือทักษะในการประกอบ อาชพี หรือการศกึ ษาต่อ ซ่ึงจัดข้นึ เปน็ โครงการหรอื สำหรับกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะได้ มาตรา ๕๑ ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันและสถานประกอบการ ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและ สถานประกอบการ มาตรา ๕๔ สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือในการจัด การอาชวี ศึกษา และการฝึกอบรมวชิ าชพี อาจไดร้ ับสทิ ธแิ ละประโยชนด์ งั ต่อไปนี้ (๑) การสนบั สนนุ ด้านวิชาการและทรัพยากรตามสมควรแกก่ รณี (๒) การเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือ ในการจัดการอาชวี ศึกษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี มาตรา ๕๕ ครูฝึกในสถานประกอบการตามมาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ต้องมีคุณสมบัติอย่างใด อยา่ งหนง่ึ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาและผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมวิชาการ ศึกษาด้านอาชพี (๒) เป็นผู้ชำนาญการด้านการอาชีพโดยสำเร็จการศึกษาวิชาชีพไม่ต่ำกว่าระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือมาตรฐานอื่นตามที่ คณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด (๓) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีพเฉพาะสาขาซึ่งสำเร็จการศึกษาวิชาชีพไม่ต่ำกว่าระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ทีม่ ปี ระสบการณ์ในสาขาอาชพี น้นั ไมน่ อ้ ยกว่าห้าปี หรือสำเร็จการศกึ ษาวิชาชีพระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงที่มีประสบการณ์ในสาขาอาชีพนั้นไม่น้อยกว่าสามปี หรือผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาตแิ ละมีประสบการณใ์ นการทำงาน ในสาขาอาชพี นั้นไม่นอ้ ยกว่าห้าปี (๔) เป็นผู้มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในอาชีพเฉพาะสาขามีผลงานเป็นที่ ยอมรับในสงั คมและทอ้ งถน่ิ และสามารถถา่ ยทอดความรู้ได้ หลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งการทดสอบ การฝึกอบรม และการออกใบรับรองการเป็นครูฝึก ในสถานประกอบการ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ เนื่องจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ กำหนดให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ส่งผลให้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ถูกยกเลิกไปโดยปริยาย และในข้อ ๖ ของประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง กรอบคุณวุฒิอาชีวศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ กำหนดให้ คณะกรรมการการอาชีวศึกษาใช้กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติดังกล่าวเป็นหลักในการกำหนดเกณฑ์ มาตรฐานคุณวฒุ ิอาชวี ศึกษาแต่ละระดบั โดยให้ทำเปน็ ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อให้สำนกั งาน แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี หน้า ๒
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา นำไปเป็นแนวทางในการพัฒนา หรอื ปรบั ปรุงหลกั สูตรการจดั การเรียนการสอน และการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการอาชีวศกึ ษา ประกอบกับใน ปัจจุบัน คณะ กรร มก ารก าร อ าชีว ศึก ษาไ ด้ ประ ก าศก ำหน ดเก ณฑ ์ม าตร ฐาน คุ ณว ุฒิ อ าชีว ศึกษ าร ะ ดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบัติการไว้ ดังนั้น จึงต้องกำหนดมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้สอดคล้องกับ กรอบคุณวฒุ ิอาชวี ศึกษาแห่งชาติและสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒอิ าชวี ศกึ ษาในแตล่ ะระดับเพือ่ ให้มี คุณภาพและประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน คำนยิ ามศัพท์ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลง ระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการในเรื่องการจัดหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดการฝึก อาชพี การวัดและการประเมินผล สถานศึกษา หมายความว่า สถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา สถานประกอบการ หมายความว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วน ร้าน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ ที่ร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันการอาชีวศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เพ่อื จัดการอาชวี ศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑ์ ทคี่ ณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ผู้เรียน หมายความวา่ ผเู้ รียนในหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั สงู หลกั สตู รปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หมายความว่า หนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติ อย่างหนึ่งอย่างใดและตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่งโดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญา ผูกมัด แตแ่ สดงความตอ้ งการอันแนว่ แนข่ องผู้ลงชอ่ื ว่าจะปฏิบัติดงั ท่ไี ดร้ ะบุไว้ แผนการฝึกอาชีพ หมายความว่า แผนงานของสถานประกอบการในการฝึกอาชีพให้กับผู้เรียน ระบบทวิภาคีให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในอาชีพ และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามลักษณะงานของ สถานประกอบการ สอดคลอ้ งกับหลักสูตรแตล่ ะระดับ โดยจดั ทำเป็นเอกสารใบงาน แผนการฝกึ อาชีพรายวิชา หมายความว่า เปน็ เอกสาร ท่คี รูฝึกร่วมกับครใู นสถานศึกษาหรอื สถาบัน การอาชีวศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อกำหนดขั้นตอนการพัฒนาผู้เรียนที่เข้ารับการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ไวล้ ่วงหน้าตามลกั ษณะงานของสถานประกอบการ และผลลพั ธก์ ารเรยี นรตู้ ามสาขาวชิ าทีผ่ เู้ รยี นกำลงั ศึกษาอยู่ สัญญาการฝึกอาชีพ หมายความว่า สัญญาข้อตกลงในการฝึกอาชีพระบบทวิภาคีระหว่าง สถานประกอบการกบั ผูเ้ รยี นระบบทวิภาคี การฝึกงาน หมายความว่า การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพและ/หรือการฝึกอาชีพ รูปแบบ การศึกษาระบบทวิภาคีของผ้เู รยี นหลกั สูตรการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชีพในสถานประกอบการ การฝกึ อาชีพ หมายความว่า การฝกึ ภาคปฏิบตั ิในสถานประกอบการตามแผนการฝึกอาชีพ ครนู เิ ทศก์ หมายความว่า ครทู ส่ี ถานศึกษาหรอื สถาบันการอาชีวศกึ ษามอบหมายให้ทำหน้าท่ีนิเทศ ให้คำแนะนำและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ขณะที่ผู้เรียนฝึกงานหรือฝึกอาชีพในสถานประกอบการมีการนิเทศ ตดิ ตามความก้าวหน้าของผูเ้ รียนตลอดจนการวดั ประเมนิ ผลการฝึกงานตามรายวิชาน้ันๆ ครูฝึก หมายความว่า ผู้ทำหน้าที่สอน ฝึกอบรมผู้เรียนในสถานประกอบการ ตามหลักเกณฑ์ ทค่ี ณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี หน้า ๓
ผู้ควบคุมการฝึก หมายความว่า ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทำหน้าที่ประสานงานกับสถานศึกษา ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี และรับผดิ ชอบ ดูแลการฝกึ อาชพี ของผเู้ รียนในสถานประกอบการ ผู้ปกครอง หมายความว่า บดิ า มารดา หรือบุคคลทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้ความอุปการะเล้ียงดผู เู้ รียน เบี้ยเลี้ยง หมายความว่า ค่าตอบแทนที่สถานประกอบการจ่ายให้ผู้เรียนที่เข้ารับการฝึกงานหรือ ฝกึ อาชีพ พฒั นาการของการศกึ ษาระบบทวิภาคี การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ไดเ้ ริม่ ต้นดำเนินการตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๗ จนถึงปัจจุบนั มีพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงตามบรบิ ท ๔ ระยะ ดงั นี้ ระยะที่ ๑ โครงการโรงเรียน-โรงงาน (Dual System) พ.ศ. ๒๕๒๗ – ๒๕๓๗ การจัดการอาชีวศึกษาตามโครงการโรงเรียน-โรงงาน ในระยะที่ ๑ นั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึก ชา่ งฝีมือ ที่มคี ณุ ภาพตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ และประหยัดงบประมาณของรัฐบาล พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยกรมอาชีวศึกษา (ชื่อหน่วยงานในขณะนั้น) ได้รับความช่วยเหลือ ทางวิชาการจากรฐั บาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ไดเ้ ร่มิ ดำเนินการอยา่ งเป็นระบบ โดยบริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกดั (ช่ือบรษิ ทั ในขณะนั้น) ไดม้ อบโรงเรียนซีเมนตไ์ ทยอปุ ถัมภ์ใหก้ รมอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และ ได้ประกาศจัดตั้งวิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซีเมนต์ไทยอนุสรณ์ เพื่อเป็นวิทยาลัยต้นแบบในการจัดอาชีวศึกษา ระบบโรงเรียน โรงงาน โดยได้รับความเห็นชอบและความช่วยเหลือทางวิชาการ จากรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี พ.ศ. ๒๕๓๒ กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติให้ทดลองใช้หลักสูตรช่างชำนาญงาน สาขาช่างซ่อมบำรุงโรงงานอุตสาหกรรม ภายใต้ความช่วยเหลือด้านการจัดระบบและรูปแบบการฝึกหัด องค์การจากสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี GTZ (German Technical Cooperation ; Gesellschaft fur Technische Zusammenarbeit) พ.ศ. ๒๕๓๔ สถานศึกษาทจ่ี ัดการอาชีวศกึ ษาระบบโรงเรียน โรงงานน้ันมีจำนวนเพ่ิมข้ึน อกี ๓ แห่งคอื วทิ ยาลยั เทคนิคมีนบรุ ี วทิ ยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม และวทิ ยาลัยเทคนิคระยอง พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้เปลยี่ นช่ือการจัดการศึกษาระบบโรงเรียน โรงงานเป็นการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคี (Dual Vocational Training: DVT) เมอ่ื สำเร็จการศกึ ษา ไดร้ ับประกาศนียบตั รชา่ งชำนาญงาน สามารถทำงานใหก้ ับสถานประกอบการได้ และส่วนมากจะได้เงนิ เดอื นสูงกว่าผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) แต่ถ้าจะศึกษาต่อ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สูง (ปวส.) จะตอ้ งเรยี นเพม่ิ ให้ได้ครบตามโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ขณะนนั้ ระยะที่ ๒ โครงการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี (Dual Vocational System) พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๑ รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีให้ความช่วยเหลือเน้น ด้านการประชาสมั พันธส์ ร้างความเข้าใจการพฒั นาครู อาจารย์ ครูฝึกของสถานประกอบการและผเู้ ช่ยี วชาญ พ.ศ. ๒๕๓๘ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๓๘ โดยสาระสำคัญในหลักสูตรได้กำหนดวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบหลากหลาย นอกเหนือจากระบบปกติ สืบเนื่องจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของ แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๔
เอกชน สถานประกอบการ หรอื โดยความรว่ มมือระหวา่ งสถานศึกษากับสถานประกอบการ ท้ังน้ใี หเ้ ป็นไปตาม กฎหมาย ว่าดว้ ยการอาชีวศกึ ษาและกฎหมายที่เก่ียวข้อง สำนักง านคณะกรรมการการอาชีวศึกษาดำเนินการพัฒนาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๖) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๔๖ เพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ การจัดการศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๖) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๔๖ เป็นการจัดอาชีวศึกษาโดยความร่วมมือกับ สถานประกอบการกำหนดให้จัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริงสามารถนำรายวิชาชีพไปจัดฝึก ในสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า ๑ ภาคเรียนเพื่อให้เกิดความรู้จริงจากการปฏิบัติงาน สถานศึกษา จัดแผนการเรียน โดยนำรายวิชาชีพหรือบูรณาการรายวชิ าชีพร่วมกับสถานประกอบการให้ผู้เรียนไปฝึกงาน ในสถานประกอบการ ระยะที่ ๓ การปฏิรปู การศกึ ษา : การปฏริ ปู การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๐ สืบเนื่องจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้มีการปฏิรูปการศึกษาครัง้ สำคญั ของประเทศ ทั้งทางด้านโครงสร้างการบริหารจัดการครูและบุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรและการปฏิรูป การเรียนรู้ ในส่วนของกรมอาชีวศึกษานั้น ได้มีการเปล่ียนแปลงทางด้านการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี โดยมกี ารปฏริ ปู หลักสูตร และในปกี ารศึกษา ๒๕๔๕ กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้หลักสตู รประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๔๖ ได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๔๕ (ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๖) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๔๖ ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการฝึกงาน โดยมีสาระสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาระบบทวิภาคี ดังน้ี ๑. ด้านหลักการของหลักสูตร หลักสูตรใหม่นี้เป็นหลักสูตรที่เน้นความชำนาญ เฉพาะด้านด้วยการปฏิบัติจริง เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้หลากหลายวิธีอย่างกว้างขวาง สามารถเลือกวิธี การเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน ถ่ายโอนผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบความรู้และ ประสบการณ์ จากแหล่งวิทยากร สถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระได้ ที่สำคัญคือเป็นหลักสูตร ที่สนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครฐั และเอกชน ๒. ด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน จากแนวทางของการปฏริ ูปการอาชีวศึกษา โดยมี ปรัชญาว่าผู้สำเร็จการศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่ รู้จริง ทำได้ เข้าใจชีวิต แนวทางการปฏิรูปหลักสูตรและการจัด การเรียนการสอนจึงเน้นเรียนรู้จากสถานที่จริง เรียนรู้จากผู้ปฏิบัติจริง และเรียนรู้ในวัฒนธรรมจริง การจัด การเรียนการสอนตามหลกั สูตรใหม่จงึ ให้ความสำคัญกับการเรียนร่วมกับสถานประกอบการ เนน้ ความร่วมมือกับ สถานประกอบการ เน้นการปฏิบัติจริง ให้สามารถนำรายวิชาชีพและรายวิชาในหมวดไปจัดการเรียนและ การฝึกงานในสถานประกอบการ เพื่อให้เกดิ การเรียนรูจ้ ากการปฏิบัติงาน (On the Job Training) โดยจัดได้ ๒ รูปแบบ คือ ๒.๑ การฝึกงาน ใหส้ ถานศึกษานำรายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการ ไม่นอ้ ยกว่า ๑ ภาคเรยี น ๒.๒ ทวิภาคี หรือฝึกงานครึ่งหลักสูตร หลักสูตรใหม่นี้ให้สถานศึกษานำรายวิชา ในหมวดวิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า ๓ ภาคเรียน ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและ ๒ ภาคเรยี นในระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๕
ระยะที่ ๔ การศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๕๑ - ปจั จุบนั (Dual Vocational Education: DVE) จากพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึก อบรมวชิ าชีพใหจ้ ดั ได้ ๓ รูปแบบ คือ ๑. การศกึ ษาในระบบ ๒. การศกึ ษานอกระบบ ๓. การศึกษาระบบทวิภาคี การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากขอ้ ตกลงระหว่างสถานศึกษา หรือ สถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและ เรยี นภาคปฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หน่วยงานของรัฐ เพ่ือประโยชน์ในการผลิตและพฒั นากำลงั คนสามารถจัดการศึกษาไดห้ ลายรูปแบบรวมกัน ทง้ั น้ีต้อง ม่งุ เน้นการจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคีเปน็ สำคัญโดยได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๒ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๓ และหลักสูตรปริญญาตรี สายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดตั้งศูนย์ อาชีวศึกษาทวิภาคีขึ้นเป็นหน่วยงานภายใน ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เชื่อมโยงเพื่อผลักดันนโยบายรัฐบาลสู่สถานศึกษาในสังกัด ประสานความรว่ มมือภาคีเครือข่ายในการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยจัดตั้งคณะอนุกรรมการการอาชีวศึกษาด้านความร่วมมือและการจัดการ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีขึ้นจากการดำเนินการที่ผ่านมาถือว่าประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง จากตัวชี้วัด จำนวนผเู้ รยี นระบบทวภิ าคแี ละสถานประกอบการมีจำนวนเพมิ่ มากขึ้นอย่างตอ่ เนื่อง จากความสำคญั ดังกล่าว ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศ เรื่อง มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ โดยได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๒๓๙ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ให้สถานศึกษาและสถานประกอบการที่ร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ใชเ้ ป็นหลกั และแนวทางในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีให้มคี ณุ ภาพและประสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๖
การจดั ตั้งศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคเี ขตพ้นื ท่ี พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ กำหนดการจัดการอาชีวศึกษา และ การฝึกอบรมวิชาชีพจดั ได้ ๓ รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาระบบทวิภาคี ทั้งนี้ สถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัดการศึกษา เพื่อผลิตกำลังคนให้มีคุณภาพตรงตามความต้องการของ สถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ และหนว่ ยงานของรฐั เป็นการพัฒนากำลงั คนใหม้ ีสมรรถนะเท่าทันเทคโนโลยี สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ความสามารถ ทักษะ และเจตคติตามมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละระดับ การศึกษา ส่งผลให้ผู้สำเร็จการศึกษาแต่ละระดับมีคุณภาพตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ มีทักษะ ท่จี ำเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จงึ เป็นการจัดการศึกษาที่สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการที่มี ศักยภาพเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ส่งเสริมการทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสถานศกึ ษา และสถานประกอบการ เกิดความร่วมมือในการผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การพัฒนา หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้สอนทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการตอบ โจทยค์ วามตอ้ งการกำลงั คนของผูป้ ระกอบการทุกภาคส่วนรองรบั การพัฒนาประเทศ สำนกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ได้ดำเนนิ การจัดการศกึ ษาดา้ นอาชีวศกึ ษาตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่แี ก้ไขเพ่มิ เติม พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่องมาตรฐานการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ การจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ เป็นการสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาการจัดการ อาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาอย่างทั่วถึง ในทุกพน้ื ทข่ี องประเทศ โดยศูนย์อาชวี ศึกษาทวภิ าคเี ขตพ้ืนทจ่ี ะมีบทบาทในการสง่ เสริม สนบั สนุน สรา้ งความเข้าใจ เกีย่ วกบั กระบวนการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีให้กับผู้มีสว่ นไดเ้ สยี และผ้เู กยี่ วข้องทุกภาคสว่ น จัดระบบ ฐานข้อมลู ความต้องการรับผู้เรียนเขา้ ฝกึ งานและฝึกอาชพี ของสถานประกอบการ จัดระบบการบริหารจัดการ ภายในศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ในการให้คำปรึกษา สนับสนุน ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา และอำนวย ความสะดวก ในทุกๆ ด้านให้กับสถานศึกษาและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ช่น ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และสถาน ประกอบการในเขตพื้นที่รบั ผิดชอบ เพอ่ื ใหก้ ารจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีมีคุณภาพและประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการ กำลังคนในเขตพื้นที่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงประกาศจัดตั้งศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี เขตพนื้ ที่ โดยใชส้ ถานศกึ ษาเปน็ ท่ีตัง้ จำนวน ๑๕ แห่ง ไดแ้ ก่ ๑. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีภาคตะวนั ออก ๑ ๒. ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีภาคตะวนั ออก ๒ ๓. ศูนย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคภี าคกลาง ๑ ๔. ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีภาคกลาง ๒ ๕. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคีภาคเหนอื ๑ ๖. ศนู ยอ์ าชีวศึกษาทวภิ าคภี าคเหนือ ๒ ๗. ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคภี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๑ ๘. ศนู ย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๒ ๙. ศนู ย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคีภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ๓ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๗
๑๐. ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวภิ าคภี าคใต้ ๑ ๑๑. ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคีภาคใต้ ๒ ๑๒. ศูนย์อาชีวศกึ ษาทวภิ าคภี าคใต้ ๓ ๑๓. ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวภิ าคปี รมิ ณฑล ๑ ๑๔. ศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคปี ริมณฑล ๒ ๑๕. ศูนย์อาชีวศกึ ษาทวิภาคกี รุงเทพมหานคร แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๘
แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๙
มาตรฐานการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มีประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อใช้เป็น กรอบแนวทางในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติและเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาวิชาชพี ของแตล่ ะสาขาวชิ า โดยมีสาระสำคญั ดังน้ี ๑. หลักการจัดอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี จากพระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันกับ สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนการวัดผล และการประเมินผลโดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติ ในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ โดยมีการจัดแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ การวัดผลและการประเมินผล เพื่อมุ่งเน้นผลิตผู้สำเร็จการศึกษาในระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี ให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพและกิจนิสัย ที่เหมาะสม ปฏิบัติงานได้จริง ใช้เทคนิคในการทำงาน สร้างและพัฒนางาน วางแผนจัดการพัฒนาตนเองและ ทำงานร่วมกับผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ มคี วามก้าวหน้าทางวิชาการและวชิ าชพี มสี มรรถนะนำไปปฏบิ ตั ิงานหรือ ประกอบอาชีพอสิ ระได้ตามมาตรฐานการศกึ ษาวิชาชีพและมาตรฐานสมรรถนะของสาขาอาชพี สอดคล้องกับ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ในการดำเนินการ ดงั น้ี ๑.๑ เพื่อจัดเตรียมกำลงั คนดา้ นอาชีวศึกษาในระดบั ฝีมือ ระดับเทคนคิ และระดับเทคโนโลยี เข้าสตู่ ลาดแรงงาน ๑.๒ เพื่อผลิตกำลังคนอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ครอบคลุมทง้ั 4 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ ด้านความสามารถในการประยกุ ต์ใชแ้ ละความรบั ผดิ ชอบ ๑.๓ เพื่อผลิตกำลังคนอาชีวศึกษาที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการและ ตลาดแรงงานสอดคลอ้ งกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ๑.๔ เพื่อสร้างระบบการศึกษาวิชาชีพที่ให้โอกาสในการศึกษาวิชาชีพแก่เยาวชนที่สำเร็จ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ๑.๕ เพอ่ื ให้ผู้เรียนอาชวี ศึกษาไดเ้ รยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจริง ได้รบั ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ การใชเ้ ทคโนโลยีทที่ ันสมัยจากสถานประกอบการ ๑.๖ เพอ่ื ลดปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณในการจดั การศกึ ษาดา้ นอาชีวศกึ ษา ๑.๗ เพื่อส่งเสริมใหบ้ ุคคลในวยั เรียนและวัยทำงานพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพ การจ้างงาน และอาชพี อสิ ระ ๑.๘ เพื่อใชท้ รพั ยากรและสร้างพลังเครือข่ายทางสังคมทีม่ ีส่วนร่วมในการจดั การอาชวี ศึกษา ๑.๙ เพื่อปฏิรูปการศึกษา การจัดการอาชีวศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ๒. คณุ ภาพของผู้สำเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา ผู้สำเร็จการศึกษาในแต่ละดับต้องมีคุณภาพครอบคลุมอย่างน้อย ๔ ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๑๐
ความรับผิดชอบ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับ และตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ของประเภทวชิ า สาขาวชิ า และสาขางานทีเ่ รียน โดยผูเ้ รียนในอาชีวศึกษาระบบทวิภาคจี ะมีคุณลักษณะพิเศษ คือ สามารถปฏบิ ัติงานในสาขาวิชาทฝ่ี กึ อาชีพไดท้ ันที ๒.๑ คุณภาพของผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ๒.๑.๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี เจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ีดี ภมู ิใจและรักษาเอกลกั ษณ์ของชาตไิ ทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีจติ สาธารณะและมีจิตสำนกึ รกั ษส์ ่ิงแวดล้อม ๒.๑.๒ ดา้ นความรู้ ไดแ้ ก่ ความร้ใู นหลักการทว่ั ไปของงานอาชพี เฉพาะและการวิเคราะห์ เบอ้ื งตน้ รวมท้งั มคี วามรภู้ าษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศทสี่ ามารถใช้การส่อื สารเบือ้ งต้นได้ ๒.๑.๓ ด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะการเลือกและประยุกต์ใช้วิธีการ เครื่องมือและวัสดุ ขั้นพื้นฐานในการปฏิบัตงิ าน ทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะ การคิดวเิ คราะหแ์ ละการแก้ปัญหา และทักษะดา้ นสขุ ภาวะและความปลอดภัย ๒.๑.๔ ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ สามารถ ปฏิบัติงานตามแบบแผน ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ซับซ้อน ให้คำแนะนำพื้นฐานที่ต้องใช้การตัดสินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาโดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมในบางเรื่อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานในบริบทใหม่ รวมทั้งรับผิดชอบ ต่อตนเองและผู้อ่นื ๒.๒ คณุ ภาพของผูส้ ำเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) ๒.๒.๑ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ได้แก่ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพ สิทธิของผู้อืน่ มคี วามรบั ผดิ ชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ มีจิตสาธารณะ และมจี ิตสำนกึ รกั ษส์ งิ่ แวดล้อม ๒.๒.๒ ดา้ นความรู้ ได้แก่ ความรู้ทางทฤษฎีและเทคนคิ เชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพ รวมทงั้ ความรู้ภาษาองั กฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในระดบั ทีเ่ ชือ่ มโยงกับการทำงาน ๒.๒.๓ ด้านทักษะ ไดแ้ ก่ ทกั ษะในการปรับใช้กระบวนการปฏิบตั งิ านให้เหมาะสม ทักษะ ด้านความปลอดภัยที่เชื่อมโยงกันในการทำงานที่หลากหลาย ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิด วิเคราะห์และการแก้ปัญหา ทักษะในการวางแผน การบริหารจัดการ การประสานงาน และการประเมินผล ในการปฏบิ ัตงิ านดว้ ยตนเอง ๒.๒.๔ ด้านความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้และความรับผิดชอบ ไดแ้ ก่ สามารถปฏิบัติงาน ตามแบบแผนและปรับตัวภายใต้ความเปลย่ี นแปลง สามารถแกป้ ัญหาท่ไี ม่คุ้นเคยหรอื ซับซ้อน และเป็นนามธรรม เปน็ บางครงั้ ๒.๓ คุณภาพของผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัติการ ๒.๓.๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคตแิ ละกจิ นิสัยทีด่ ี ภูมิใจและรกั ษาเอกลกั ษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ มีจติ สาธารณะและมีจิตสำนึกรกั ษส์ ิง่ แวดล้อม แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๑๑
๒.๓.๒ ด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้ทางทฤษฎีและเทคโนโลยีเฉพาะทางอย่างกว้างขวาง และเปน็ ระบบในการพฒั นางานอาชพี ๒.๓.๓ ด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะในการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และเปรียบเทียบปัญหา ทกั ษะการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ๒.๓.๔ ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ ความสามารถ ในการแกป้ ัญหาท่ีซับซอ้ นและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สามารถริเรม่ิ ปรบั ปรุง วางแผนกลยุทธใ์ นการแกป้ ญั หา ท่ซี บั ซ้อนและเป็นนามธรรมในการปฏบิ ัตงิ าน รวมท้ังวางแผนการบรหิ ารและการจดั การในสาขาอาชพี ๓. การจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี การจดั การศึกษาระบบทวิภาคี ตอ้ งเปน็ ไปตามโครงสรา้ งหลักสตู ร จำนวนหนว่ ยกิต รูปแบบ และ ระยะเวลาที่กำหนดตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ และแต่ละสาขาวิชาโดยกำหนด ระยะเวลาของการฝึกอาชีพในสถานประกอบการของแต่ละหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๒ ภาคเรียน หรือ ๑ ปี การศกึ ษา ๔. การจดั เตรียมความพรอ้ ม สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านผู้สอน บุคลากรและ ทรัพยากรสนับสนนุ การจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ดังนี้ ๔.๑ จัดให้มีครูผู้สอนวิชาชีพในสาขาวิชาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบ และต้องได้รับการพัฒนาวิชาชีพที่สอนไม่น้อยกว่าแปดสิบชั่วโมงต่อคนต่อปีการศึกษา จากสถานประกอบการที่ร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพื่อให้ครูผู้สอนในสถานศึกษาได้เรียนรู้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในสถานประกอบการ และสามารถวิเคราะห์งานนำมาพัฒนารายวชิ าในหลกั สูตรสามารถ จัดทำแผนการฝึกอาชีพและแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ คุณสมบัติของครูในสาขาที่ต้องพัฒนา ดา้ นวชิ าชีพ จงึ ควรเปน็ ครูผู้สอนในสาขาวิชา ที่ดำเนนิ การจัดสอนระบบทวิภาคีกับสถานประกอบการที่ร่วมลงนาม ความรว่ มมือและร่วมจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี หรือมีแผนการดำเนินการจดั การศกึ ษาในอนาคตรว่ มกัน ๔.๒ คุณสมบัติผู้สอน เป็นผู้มีวุฒิการศึกษา มีความรู้ความสามารถที่ตรงหรือเหมาะสมกับ วิชาที่สอนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาของแต่ละระดับ ๔.๓ สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดให้มีผู้มีประสบการณ์ มีความชำนาญ และ ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ มาถ่ายทอดทักษะ ประสบการณ์ และความรู้แก่ผู้เรียน ผู้สอน ไม่น้อยกว่า ปลี ะสองครั้งๆ ละไม่ตำ่ กว่าสองชั่วโมงตอ่ สาขาวิชาตอ่ ภาคเรียน โดยผู้มปี ระสบการณ์และประสบความสำเร็จ ในอาชพี เฉพาะสาขา มผี ลงานเป็นทย่ี อมรบั ในสังคมและทอ้ งถ่นิ และสามารถถ่ายทอดความรไู้ ด้ตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยการอาชวี ศึกษา ๔.๔ สถานศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการที่ร่วมกันจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ร่วมกันในการจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ พื้นที่ และอุปกรณ์การศึกษาสำหรับผู้เรียนให้เพียงพอ ตอ่ การจัดการเรียนการสอนและการฝกึ อาชีพ ๔.๕ สถานศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา จัดให้มีครูนิเทศก์ที่มคี ุณสมบัติเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ และผู้ประสานงาน กบั สถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรือหนว่ ยงานของรฐั ๔.๖ สถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานของรฐั จดั ใหม้ คี รฝู กึ ทมี่ คี ุณสมบัติเป็นไปตาม ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๑๒
๕. การดำเนนิ การจัดอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ๕.๑ สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีจะต้องปฏิบัติ ตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้ ๕.๑.๑ ผ้บู ริหารและบุคลากรในสถานศึกษาหรือสถาบนั การอาชวี ศึกษาตอ้ งส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคอี ย่างเปน็ ระบบและต่อเนือ่ ง ๕.๑.๒ จดั การเรียนในสาขาวชิ าท่ตี รงความต้องการของสถานประกอบการ ๕.๑.๓ จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษา กบั สถานประกอบการ ๕.๑.๔ จดั ทำสญั ญาการฝึกอาชพี ระหว่างผู้เรยี นกับสถานประกอบการ ๕.๑.๕ จัดทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการ ตลอดหลกั สตู ร ๕.๑.๖ จัดใหม้ กี ารปฐมนิเทศก่อนการฝึกอาชพี และปัจฉิมนเิ ทศหลงั เสร็จสน้ิ การฝึกอาชีพ ๕.๑.๗ เตรยี มความพรอ้ มผ้เู รียนกอ่ นการฝึกอาชพี ๕.๑.๘ จดั ให้มีครนู ิเทศก์การฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ ๕.๑.๙ มกี ารกำกับ ติดตาม และประเมินผลการฝกึ อาชพี รว่ มกับสถานประกอบการ ๕.๑.๑๐ ประชาสัมพันธ์การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับสถานประกอบการ ผู้เรียน และผูป้ กครองทราบ ๕.๒ สถานประกอบการที่จดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคีต้องให้ความร่วมมอื ดังน้ี ๕.๒.๑ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ ท่พี ึงประสงค์ ๕.๒.๒ จัดลักษณะงานทีฝ่ กึ อาชพี ให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในสาขาวิชาทผี่ ู้เรียนกำลังศกึ ษา ๕.๒.๓ จัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา หรือ สถาบันการอาชวี ศกึ ษา ๕.๒.๔ ทำสัญญาการฝกึ อาชพี ระหวา่ งผู้เรียนกับสถานประกอบการ ๕.๒.๕ ทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพและแผนการนิเทศร่วมกับสถานศึกษาหรือ สถาบันการอาชีวศกึ ษาตลอดหลักสูตร ๕.๒.๖ ประเมินการฝึกอาชีพรว่ มกบั สถานศึกษาหรอื สถาบันการอาชีวศกึ ษา ๕.๒.๗ จัดใหม้ ีครฝู ึกในสถานประกอบการ ๕.๒.๘ จัดให้มีผู้ประสานงานและผู้ควบคุมการฝึกอาชีพ การจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวภิ าคขี องสถานประกอบการ ๕.๒.๙ ประชาสัมพันธ์การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และ ชมุ ชนทราบ ๕.๒.๑๐ จัดใหม้ สี วสั ดกิ ารและหรือเบ้ยี เลีย้ งท่เี หมาะสมใหก้ บั ผู้เรียนตามขอ้ ตกลง ๖. ครฝู ึกในสถานประกอบการ ต้องมีคณุ สมบตั ิและเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี ๖.๑ มีคณุ สมบตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชวี ศกึ ษา ๖.๒ มจี ำนวนครฝู ึกในสถานประกอบการเพอื่ การฝึกอาชพี แตล่ ะระดบั ดงั นี้ ๖.๒.๑ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ต้องมีครูฝึกหนึ่งคน ตอ่ ผู้เรียนไมเ่ กินสิบคน แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๑๓
๖.๒.๒ ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร ตอ้ งมคี รฝู กึ หนึง่ คนต่อผ้เู รียนไมเ่ กิน แปดคน ๖.๓ ไดร้ ับการแตง่ ตง้ั ให้เป็นครฝู ึกตามหลกั เกณฑ์ที่คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด ๗. ผู้เรียน ต้องมคี ณุ สมบัตแิ ละเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้ ๗.๑ มีพื้นความรู้และคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าดว้ ยการจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการศึกษา ๗.๒ เปน็ ผ้ไู ด้รบั การคัดเลือกจากสถานศกึ ษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ ๘. การจดั การเรียนการสอนและการฝกึ อาชีพของสถานประกอบการ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี ๘.๑ การจัดการเรียนการสอนและการฝึกอาชีพ ต้องเป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชาและ มาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ของสาขาวิชาและสาขางาน ๘.๒ ผู้เรียนมีการบันทึกการฝึกอาชีพ แฟ้มสะสมผลงาน บันทึกคุณธรรม จริยธรรม และ จิตอาสา ใหเ้ ป็นไปตามแบบทส่ี ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด ๙. การนิเทศผเู้ รียนในสถานประกอบการ แบ่งเป็นสองกรณีและให้ดำเนนิ การตามหลกั เกณฑ์ ดังนี้ ๙.๑ กรณที ี่ ๑ การนิเทศในประเทศ ใหด้ ำเนินการนเิ ทศ ดงั น้ี ๙.๑.1 ให้ครูนเิ ทศก์ไปนิเทศในสถานประกอบการอยา่ งน้อย ๓ ครัง้ ต่อ ๑ ภาคเรยี น ๙.๑.๒ ให้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนิเทศในประเทศอย่างสม่ำเสมอ และ ใหร้ ายงานผลการนเิ ทศต่อผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือสถาบนั การอาชีวศกึ ษาทราบ ๙.๑.๓ ให้ใช้วิธกี ารนเิ ทศทีห่ ลากหลาย ๙.๒ กรณีที่ ๒ การนิเทศในต่างประเทศ ให้ดำเนินการนิเทศด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกวา่ ดังน้ี ๙.๒.๑ ใหค้ รูนิเทศกไ์ ปนิเทศอย่างน้อยหนึ่งครัง้ ตอ่ ภาคเรยี น ๙.๒.๒ ใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยในต่างประเทศเป็นผ้นู ิเทศแทนในทกุ ภาคเรียน ๙.๒.๓ ใหใ้ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนิเทศตา่ งประเทศอย่างสมำ่ เสมอ ๙.๓ การไปนิเทศในตา่ งประเทศต้องไดร้ บั อนญุ าตจากผู้มีอำนาจตามระเบยี บกอ่ นการเดนิ ทาง ๙.๔ การไปนิเทศการฝึกอาชีพให้เป็นไปตามแผนการฝึกอาชีพที่จัดทำขึ้น หากการฝึกอาชีพ ไมค่ รบถ้วนสถานศึกษาหรือสถาบนั การอาชวี ศึกษาตอ้ งจดั การฝกึ อาชพี ให้เป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชา ๙.๕ ครูนเิ ทศก์ต้องผ่านการอบรมการนิเทศการฝึกอาชีพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรอื ผู้ไดร้ ับมอบหมาย ๙.๖ ชัว่ โมงนเิ ทศการฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ ให้คดิ เปน็ เวลาชวั่ โมงสอนปกติ หากชวั่ โมงสอน เกนิ ภาระงานท่ีกำหนดสามารถเบิกค่าสอนเกินภาระงานได้ตามระเบียบ ๙.๗ การเดนิ ทางไปนเิ ทศให้เบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการได้ตามระเบียบ ๑๐. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนและการสำเรจ็ การศึกษา ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ให้มีการวัดผลและประเมินผลการเรียน และ การสำเร็จการศึกษาเป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษา และการประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแต่ละระดับ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และ ใช้วิธีการประเมินอย่างหลากหลายตามสภาพจริง สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรและกิจกรรมการเรียน การสอน การฝึกอาชีพ โดยคำนึงถงึ พัฒนาการของผู้เรียนและสมรรถนะท่ตี ้องการ แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๑๔
๑๑. การประกันคุณภาพหลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอน การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทุกหลักสูตรต้องกำหนดระบบ การประกันคุณภาพไวใ้ ห้ชดั เจนตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดับ ดงั น้ี ๑๑.๑ กำหนดสมรรถนะรายวิชา โดยปรบั ปรงุ รายวิชาเดมิ หรือพัฒนารายวชิ าใหม่ให้สอดคล้อง กับความต้องการของสถานประกอบการ ๑๑.๒ ผู้สำเร็จการศึกษาต้องมีคณุ วฒุ ิตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง เกณฑ์มาตรฐาน คณุ วุฒิอาชีวศึกษาแตล่ ะระดับ มีคณุ ลักษณะและสมรรถนะทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ๑๑.๓ มีใบรับรองการฝึกอาชีพจากสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ที่นกั เรยี นหรอื นักศึกษาได้ไปฝึกอาชีพดว้ ย ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี มีองค์ประกอบต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ ๑. นโยบาย ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และเป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่ต้องการให้คนไทยทุกคนได้รับ การศกึ ษาและเรียนรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งมีคุณภาพ ดำรงชวี ติ อย่างเปน็ สุข สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทีม่ ีคุณภาพและประสิทธภิ าพ เพ่ือให้สามารถพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็นพลเมือง ดมี ีคณุ ลักษณะและสมรรถนะทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม ของประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ผลิตและพัฒนากำลังคน ด้านอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ดังกล่าว ทั้งด้านปริมาณและดา้ นคุณภาพ จึงได้ดำเนินการขยาย และยกระดับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการร่วมมือด้วยมาตรการ ต่างๆ เช่น สิทธิประโยชน์ทางภาษี ยกย่องเชิดชูเกียรติ จัดทำประกาศ ระเบียบ กฎหมาย ข้อกำหนดต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงกระทรวงและหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีของสถานศึกษา ในสังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาบรรลุตามวตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งมีคุณภาพ ๒. สถานศึกษา ครผู สู้ อน และบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง สถานศึกษาต้องจัดทำหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน การพัฒนา หลกั สูตรตอ้ งอยู่บนฐานความตอ้ งการของสถานประกอบการ และความตอ้ งการของประเทศ เนอ้ื หาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ต้องเป็นแบบฐานสมรรถนะ เน้นภาคปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ทางทฤษฎี และ มที ักษะในทางปฏิบัติ สามารถปฏบิ ัติงานได้มีความยืดหยนุ่ เปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างต่อเนื่อง ตลอดชวี ิต สถานศึกษามีการสนับสนุนทรัพยากร มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนและบุคลากร ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในสาขาวิชาชพี ไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีคณุ ภาพ เพิ่มสมรรถนะทว่ั ไปและสมรรถนะดา้ นวชิ าชีพให้แก่ครู แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิทยาการเทคโนโลยีที่ทันสมัยจากสถานประกอบการนำมาประยุกต์ใช้พัฒนารูปแบบ การเรียนการสอนให้ทันต่อสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบันมีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ แบบเครือข่ายการประสานงานร่วมกับสถานประกอบการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัย สร้างนวัตกรรมและ งานวิจัยที่เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาประเทศ สถานศึกษาสนบั สนนุ ด้านส่อื การศึกษาใหม้ ีความหลากหลายและพอเพยี งสำหรับการให้ผู้เรียน สามารถเรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองได้ เปิดโอกาสให้ผ้สู นใจสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สร้างโอกาสทางการศึกษา ลดข้อจำกัดด้านเวลา สถานที่ และค่าใช้จ่ายในการศึกษา แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๑๕
โดยใช้การศึกษาทางไกลในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้สถานประกอบการทุกภาคส่วนเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านอาชีพ ๓. สถานประกอบการ สถานประกอบการต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีมีส่วนร่วม ในการคัดเลือกผู้เรียนระบบทวิภาคี ตามสมรรถนะที่สถานประกอบการต้องการ ส่งเสริม สนับสนุนครูฝึก ในสถานประกอบการ สนับสนุนทรัพยากรการจัดการศึกษา โดยร่วมมือให้สถานศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ เพอื่ ถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หม่ๆ ใหแ้ กผ่ ู้เรียน จดั สวัสดิการทีจ่ ำเปน็ รวมทัง้ จดั สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ของ ผู้เรียน การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน กับสถานประกอบการ ตอ้ งเป็นไปตามข้อตกลงท่ีทงั้ สองฝ่ายลงนามในบันทึกความรว่ มมอื แสดงความสมัครใจ ต้องปฏิบตั ติ ามเงอ่ื นไขท่ีปรากฏในหนงั สือฉบับน้นั โดยที่หนังสอื นีไ้ ม่ถอื ว่าเปน็ สญั ญาผูกมัด โดยสถานประกอบการ มกี ารเตรียมความพร้อมด้านตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี ๓.๑ เปน็ ผู้ประกอบการท่ีดำเนินการฝกึ อาชพี ให้สอดคลอ้ งกับผูเ้ รียนในสาขาวิชาที่เก่ยี วข้อง ๓.๒ มคี วามพรอ้ มในการฝกึ อาชพี ตามสาขาวชิ าน้ัน ๓.๓ จัดให้มคี รูฝึกทีม่ ีคุณสมบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา ทำหน้าทส่ี อนการปฏบิ ัตงิ านจริง ในสถานประกอบการ ทั้งน้ีการฝึกอาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ต้องมีครูฝึกหนึ่งคนต่อผู้เรียนไม่เกินสิบคน การฝึกอาชีพระดับปริญญาตรีต้องมีครูฝึกหนึ่งคนต่อผู้เรียนไม่เกิน แปดคน ๓.๔ จัดให้มีผู้ควบคุมการฝึกทำหน้าที่ประสานงานกับสถานศึกษาในการจัดฝึกอาชีพ และ รับผดิ ชอบดูแลการฝึกอาชพี ของผ้เู รยี นในสถานประกอบการ ๓.๕ จัดส่ิงแวดลอ้ มที่เออ้ื อำนวยตอ่ การฝึกอาชพี ได้ ๓.๖ จดั ฝกึ อาชีพใหก้ ับผเู้ รยี นได้ตามบันทึกข้อตกลงท่ีทำไว้ร่วมกนั ๓.๗ จัดสง่ บคุ ลากรเข้ารว่ มประชุมสมั มนากับสถานศึกษาได้ ๓.๘ จดั สวสั ดิการ ตลอดจนมาตรการเกี่ยวกับสวสั ดิภาพให้แก่ผูเ้ รียนทีเ่ ข้ารบั การฝึกอาชพี ได้ ในการเลือกสถานประกอบการเขา้ ร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สถานศึกษาจะต้องวิเคราะห์ การประกอบกิจการความพร้อมของสถานประกอบการ และความพร้อมของสถานศึกษา ก่อนกำหนดสาขา วิชาชีพที่จะร่วมกันฝึก จะต้องทำความเข้าใจร่วมกันในหลักการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและหน้าที่ ความรบั ผิดชอบของแตล่ ะฝ่าย ๔. ผเู้ รยี น สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ รว่ มกนั ประชาสมั พันธ์ แนะแนวใหค้ วามรู้ความเข้าใจกับผู้เรียน ที่ศึกษาระบบทวิภาคี และคัดเลือกผู้เรียนตามความต้องการของสถานประกอบการพัฒนาผู้เรียนทั้งความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีสมรรถนะวิชาชีพ พอเพียงสำหรับการปฏิบัติงาน และให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษา แห่งชาติ และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยยึดตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ สำคัญ ๕. ผูป้ กครอง ผู้ปกครองควรมีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติต่อการศึกษาอาชีวศึกษาเป็นเชิงบวก ส่งเสริม สนับสนุนให้ผูเ้ รยี นเลือกเรียนสายอาชพี ในระบบทวิภาคี ใหค้ วามร่วมมือกับสถานศึกษาและสถานประกอบการ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๑๖
มคี วามเช่อื มน่ั ในการจัดการเรียนการสอน การฝึกอาชพี ประโยชน์ท่ีได้รบั และการมงี านทำหลังผู้เรียนสำเร็จ การศึกษา ประโยชน์จากการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีเป็นการจดั การศึกษาท่ีให้ประโยชนก์ บั ผู้เรียน ผปู้ กครอง สถานศึกษา และสถานประกอบการ ดงั นี้ ๑. ประโยชนท์ ่ีผู้เรยี นได้รบั จากการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ผู้เร ียน อาชีว ศึกษาร ะบบทวิภาคีที่เร ียนและ ฝึกอาชีพใน สถานประ กอบการ ที่ร ่ว มมือกับ สถานศึกษาและมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการและตามที่สถานประกอบการต้องการ ผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคจี ะไดร้ ับประโยชน์ ดงั นี้ ๑.๑ นำความรู้ และทกั ษะ จากการเรยี นในสถานศกึ ษา ไปประยกุ ต์ใช้ในการฝึกอาชพี ในสถาน ประกอบการ ส่งผลใหม้ สี มรรถนะในอาชพี สามารถทำงานได้ทนั ทีเม่อื สำเร็จการศึกษา ๑.๒ มีทักษะการปฏบิ ัตงิ านในวชิ าชีพที่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ ๑.๓ ได้รับเบ้ียเลี้ยงและสวัสดิการอื่นๆ ตามสัญญาการฝึกอาชีพ ๑.๔ ไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนใ์ นระหว่างการฝกึ อาชีพจากสถานศกึ ษา สถาบันและสถานประกอบการ ตามกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การส่งเสรมิ การฝกึ อาชพี ๑.๕ ไดร้ บั โอกาสในการเข้าทำงานในสถานประกอบการทีฝ่ กึ อาชพี เม่อื สำเรจ็ การศึกษา ๑.๖ ไดร้ บั ใบรบั รองการฝึกอาชีพจากสถานประกอบการ ผูส้ ำเร็จการศกึ ษาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการสมัครงาน ๑.๗ ได้รับการปลูกฝังคุณลักษณะที่สถานประกอบการต้องการ เช่น ความรับผิดชอบ ความตรง ตอ่ เวลา ความอดทน บุคลิกภาพทีด่ เี หมาะสมกับงาน ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ การแกป้ ัญหา เฉพาะหนา้ เปน็ ตน้ ๒. ประโยชนท์ ี่สถานประกอบการไดร้ ับจากการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี สถานประกอบการที่ร่วมจัดอาชีวศึกษาทวิภาคีกับสถานศึกษา จะได้รับสิทธิประโยชน์ ดังตอ่ ไปน้ี พระราชบัญญัติการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘ (๓) การศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัด การศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่องการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั และเรียนภาคปฏบิ ัตใิ นสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกิจ หรอื หน่วยงานของรฐั มาตรา ๕๔ สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือในการจัดการ อาชวี ศึกษาและการฝกึ อบรมวชิ าชีพ อาจได้รบั สิทธแิ ละประโยชน์ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) การสนับสนุนด้านวิชาการและทรพั ยากรตามสมควรแก่กรณี (๒) การเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอ่ืน ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชีพ พระราชบญั ญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๕๑ สถานประกอบการใดท่ีประสงค์จะดำเนินการ จัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตามพระราชบัญญัตินี้ให้ยื่นคำขอต่อเลขาธิการคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาเพ่ือให้ไดร้ ับการรับรองประโยชน์ตามกฎหมาย ในการร่วมมือจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี มีดงั น้ี แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๑๗
๒.๑ ไดบ้ ุคลากรด้านวิชาชีพทม่ี ีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และทศั นคติ ในการทำงานตรงตาม ที่ตอ้ งการของตลาดงาน ๒.๒ วางแผนการรับคนเขา้ ทำงานในสาขางานท่ีขาดแคลน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ และความคมุ้ คา่ ๒.๓ บุคลากรของสถานประกอบการท่ีเป็นครฝู ึกไดร้ ับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดทำ แผนการเรยี นและหลกั เกณฑ์การวัดและประเมินผล เพ่อื ร่วมกบั สถานศกึ ษาจดั ทำแผนการฝึกอาชพี ๒.๔ ผ้เู รยี นท่ีผา่ นการฝึกอาชีพมีความผูกพันกบั สถานประกอบการ และสำนกึ รักองค์กร ๒.๕ ลดตน้ ทนุ ค่าใชจ้ า่ ยและประหยัดเวลาในการฝึกอบรมพนักงานใหม่ ๒.๖ ได้รบั สิทธิประโยชนใ์ นการนำค่าใชจ้ า่ ยจากการฝึกอาชีพไปหักลดหย่อนภาษี ๓. ประโยชนท์ ่ีสถานศึกษาได้รบั จากการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี สถานศึกษาอาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษาที่ร่วมมือกับสถานประกอบการจัดการ อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีไดร้ บั ประโยชน์ดังนี้ ๓.๑ ผลิตกำลงั คนด้านอาชีวศกึ ษาให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ และหน่วยงานของรฐั ๓.๒ ประหยัดงบประมาณในการจัดหาเครื่องมือเครื่องจักร เทคโนโลยีใหม่ที่ทันสมัยมาใช้ ในการจัดการเรียนการสอน ๓.๓ ลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความชำนาญ และมีประสบการณ์ในวิชาชพี ท่จี ะมาเป็นครผู สู้ อน ๓.๔ บคุ ลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองโดย ครูผสู้ อนวิชาชพี ในสถานศกึ ษา ต้องเขา้ รับการพัฒนา วิชาชีพที่สอนไม่น้อยกว่า ๘๐ ชั่วโมงต่อคนต่อปีการศึกษา จากสถานประกอบการที่ร่วมจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ๔. ประโยชน์ที่ผูป้ กครอง ไดร้ บั จากการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ๔.๑ ลดค่าใชจ้ ่ายของครอบครัว ๔.๒ เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาแล้ว จะมีความรู้ความสามารถและมีทักษะที่พร้อมจะทำงาน กับสถานประกอบการนน้ั ๆ ได้ทนั ที ๔.๓ เป็นการฝกึ ให้ผู้เรียนท่ีอย่ใู นการปกครอง มีความรับผิดชอบและมีวนิ ัยในการทำงาน หลกั เกณฑ์การใชห้ ลักสูตร ระเบียบการจัดการศกึ ษา และการประเมินผลการเรียน หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศักราช ๒๕๖๒ หลักเกณฑ์การใชห้ ลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สูง พุทธศักราช ๒๕๖๓ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาและ ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ทั้งสองฉบับในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี มีสาระ สำคญั ดังน้ี ๑. การจดั การเรยี นการสอน การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี เปน็ การจดั การศกึ ษา เพ่อื ให้ผูส้ ำเรจ็ การศึกษา มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ อย่างน้อย ๔ ด้าน สอดคล้องกับความต้องการ กำลงั คนของตลาดแรงงาน ชมุ ชน สงั คม และสามารถประกอบอาชพี อสิ ระได้ ๑.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นการจัดการเรียนการสอน ที่มงุ่ เน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายรปู แบบเพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการวิธกี ารและการดำเนินงาน มีทักษะการปฏิบัตงิ านตามแบบแผนในขอบเขตสำคัญและบริบทต่างๆ ทส่ี ัมพนั ธก์ ันซงึ่ สว่ นใหญ่เป็นงานประจำให้คำแนะนำพื้นฐานท่ีต้องใช้ในการตัดสินใจวางแผนและแก้ไขปัญหา แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๑๘
โดยไมอ่ ย่ภู ายใต้การควบคมุ ในบางเรื่อง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทกั ษะทางวิชาชพี เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานในบริบทใหม่ รวมทั้งรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ตลอดจน มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี เจตคติและกิจนสิ ยั ทเี่ หมาะสมในการทำงาน ๑.๒ หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู (ปวส.) พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นการจดั การเรยี นการสอน เน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายรูปแบบเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการ วิธีการ และการดำเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติงานตามแผนและปรับตัวได้ภายใต้ความเปลี่ยนแปลง สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะทางวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการตัดสินใจวางแผนแก้ปัญหาบริหารจัดการประสานงาน และประเมินผลการดำเนนิ งาน ได้อย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการวางแผนและพัฒนาริเริ่มสิ่งใหม่ มีความรับผิดชอบต่อตนเองผู้อื่น และ หมูค่ ณะรวมท้งั มคี ุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวชิ าชพี เจตคตแิ ละกจิ นิสัยที่เหมาะสมในการทำงาน ๑.๓ หลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ เป็นการจัดการเรียน การสอนเน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายรูปแบบ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ทางทฤษฎีและเทคโนโลยีเฉพาะทางอย่างกวา้ งขวาง และเป็นระบบในการพฒั นางานอาชีพ มที กั ษะในการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และเปรียบเทียบปัญหา ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ เจตคติและกิจนิสยั ทีด่ ีในการทำงาน มีความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรบั ผิดชอบ สามารถ แก้ปัญหาที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สามารถริเริ่ม ปรับปรุง วางแผนกลยุทธ์ ในการแก้ปญั หา ทีซ่ บั ซ้อนและเปน็ นามธรรมในการปฏิบตั ิงาน รวมทั้งวางแผนการบรหิ ารและการจัดการในสาขาอาชีพ ๒. การจัดการศึกษา โครงสร้างหลักสูตร เวลาเรยี นและจำนวนหน่วยกติ มีหลกั เกณฑด์ ังน้ี ๒.๑ หลักสูตรระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒.๑.๑ การจัดการศึกษาในระบบปกติและระบบทวิภาคี ใช้ระยะเวลา ๓ ปีการศึกษา ในปกี ารศกึ ษาหน่งึ ๆ ใหแ้ บง่ ภาคเรียนออกเปน็ ๒ ภาคเรียนๆ ละ ๑๘ สัปดาห์ รวมเวลาการวัดผล โดยมเี วลาเรียน และจำนวนหน่วยกิตตามที่กำหนด และสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน อาจเปิดสอนภาคเรียน ฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร การเรียนในระบบชั้นเรียนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเปิดทำ การสอนไม่นอ้ ยกวา่ สัปดาหล์ ะ ๕ วนั วนั ละไมเ่ กนิ ๗ ชวั่ โมง โดยกำหนดให้จัดการเรยี นการสอนคาบละ ๖0 นาที ๒.๑.๒ โครงสรา้ งหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ แบง่ เป็น ๓ หมวดวิชา และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้ หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง รวมไมน่ ้อยกว่า ๒๒ หนว่ ยกิต หมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชีพ รวมไมน่ ้อยกวา่ ๗๑ หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ย ๕ กล่มุ ดงั น้ี - กลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพพ้นื ฐาน ไมน่ ้อยกวา่ ๒๑ หนว่ ยกติ - กล่มุ สมรรถนะวชิ าชีพเฉพาะ ไมน่ อ้ ยกว่า ๒๔ หน่วยกติ - กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี เลอื ก ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘ หนว่ ยกติ - ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชพี จำนวน ๔ หน่วยกิต - โครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี จำนวน ๔ หนว่ ยกติ หมวดวชิ าเลอื กเสรี รวมไมน่ ้อยกว่า ๑๐ หนว่ ยกติ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร รวมไม่น้อยกว่า ๒ ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ การยกเว้นการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพและ หมวดวิชาเลือกเสรี สามารถทำได้โดยการเทียบโอนผลการเรียน หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เข้าส่หู นว่ ยกติ ตามหลักสตู ร ตามหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ตั ทิ ีค่ ณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๑๙
จำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมระหว่าง ๑๐๓ - ๑๑๐ หน่วยกติ ใช้ระยะเวลาการศึกษา ๖ ภาคเรียน ทั้งนีใ้ ห้เรียนได้ไม่เกิน ๑๒ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนแบบเตม็ เวลา และไม่เกิน ๑๖ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนแบบไม่เต็มเวลา การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ ภาคทฤษฎตี ่อภาคปฏิบัตใิ นหมวดวิชาเฉพาะ ประมาณ ๒๐ ตอ่ ๘๐ ท้งั นี้ ขนึ้ อยูก่ บั ลกั ษณะหรือกระบวนการ จดั การเรยี นรขู้ องแตล่ ะสาขาวิชา ๒.๑.๓ การคดิ หนว่ ยกิตตอ่ ภาคเรยี น ๑) รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรอื ๑๘ ช่วั โมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผลมีค่าเทา่ กับ ๑ หนว่ ยกิต ๒) รายวิชาปฏบิ ัติท่ีใชเ้ วลาในการทดลองหรือฝกึ ปฏิบัติในห้องปฏิบัติ ๒ ช่ัวโมง ต่อสปั ดาห์หรือ ๓๖ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมีคา่ เทา่ กบั ๑ หน่วยกติ ๓) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบตั ิในโรงฝึกงานหรือภาคสนามปฏบิ ัติ ๓ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์หรอื ๕๔ ชัว่ โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมีค่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกติ ๔) การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคีที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกติ ๕) การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลา ไม่นอ้ ยกวา่ ๕๔ ชัว่ โมง ต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผลมคี ่าเทา่ กับ ๑ หนว่ ยกิต ๖) การทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรยี นรวมเวลาการวัดผลมีค่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกิต ๒.๒ หลกั สตู รระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ๒.๒.๑ การจัดการศึกษาในระบบปกติและระบบทวิภาคี ใช้ระยะเวลา ๒ ปีการศึกษา ในปีการศึกษาหนึ่งๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น ๒ ภาคเรียนๆ ละ ๑๘ สัปดาห์ ๑๘ สัปดาห์ รวมเวลา การวัดผลโดยมเี วลาเรียนและจำนวนหน่วยกติ ตามท่ีกำหนดและสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา หรือสถาบนั อาจเปิดสอน ภาคเรียนฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร การเรียนในระบบชั้นเรียนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน เปิดทำการสอนไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ ๕ วัน วันละไม่เกิน ๗ ชั่วโมง โดยกำหนดให้จัดการเรียนการสอน คาบละ ๖0 นาที ๒.๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๖๓ แบ่งเป็น ๓ หมวดวชิ า และกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร ดังนี้ หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง รวมไมน่ ้อยกวา่ ๒๑ หนว่ ยกิต หมวดวชิ าสมรรถนะวชิ าชีพ รวมไมน่ อ้ ยกว่า ๕๖ หนว่ ยกิต ประกอบด้วย ๕ กลมุ่ ดงั น้ี - กล่มุ สมรรถนะวิชาชีพพ้นื ฐาน ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ หนว่ ยกิต - กลมุ่ สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๑ หน่วยกติ - กล่มุ สมรรถนะวชิ าชีพเลอื ก ไมน่ ้อยกวา่ ๑๒ หนว่ ยกิต - ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพ จำนวน ๔ หน่วยกติ - โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพ จำนวน ๔ หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื กเสรี รวมไมน่ ้อยกวา่ ๑๐ หนว่ ยกติ กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร รวมนอ้ ยกวา่ ๒ ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๒๐
การยกเว้นการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ และ หมวดวิชาเลือกเสรี สามารถทำได้โดยการเทียบโอนผลการเรยี น หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เข้าสูห่ นว่ ยกติ ตามหลักสตู รตามหลกั เกณฑ์ และแนวปฏิบัตทิ ี่คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด จำนวนหน่วยกติ รวมและระยะเวลาการศกึ ษา ใหม้ ีจำนวนหนว่ ยกติ รวมระหว่าง ๘๓ - ๙๐ หนว่ ยกติ ใช้ระยะเวลาการศึกษา ๔ ภาคเรียน ทั้งนี้ให้เรียนได้ไม่เกนิ ๘ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนแบบเต็มเวลา และไม่เกิน ๑๒ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนแบบไม่เต็มเวลา การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดวิชาเฉพาะ ประมาณ ๔๐ ต่อ ๖๐ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือกระบวนการ จัดการเรียนรู้ของแตล่ ะสาขาวชิ า ๒.๒.๓ การคิดหนว่ ยกติ ตอ่ ภาคเรยี น ๑) รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ ๑๘ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เท่ากบั ๑ หนว่ ยกติ ๒) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ๒ ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ หรือ ๓๖ ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มีคา่ เท่ากบั ๑ หนว่ ยกิต ๓) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรอื ๕๔ ชวั่ โมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มีค่าเทา่ กบั ๑ หน่วยกิต ๔) การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเท่ากบั ๑ หนว่ ยกติ ๕) การฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ทีใ่ ช้เวลาไมน่ ้อย กวา่ ๕๔ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผล มคี า่ เท่ากบั ๑ หน่วยกติ ๖) การทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี า่ เท่ากับ ๑ หนว่ ยกติ จำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา ใหม้ ีจำนวนหนว่ ยกติ รวมระหว่าง ๘๓ - ๙๐ หนว่ ยกติ ใช้ระยะเวลาการศึกษา ๔ ภาคเรียน ทั้งนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน ๘ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนเรียน แบบ เต็มเวลา และไมเ่ กนิ ๑๒ ภาคเรยี น สำหรบั การลงทะเบยี นเรียนแบบไมเ่ ตม็ เวลา กรณีหลักสูตรสาขาวิชาที่มีความจำเป็นต้องกำหนดจำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา เกินกวา่ ท่ีกำหนด ใหน้ ำเสนอขออนุมตั ติ อ่ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาเปน็ กรณไี ป ๒.๓ หลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ อาชวี ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั กิ าร พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๒.๓.๑ โครงสร้างหลกั สูตร หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป รวมไมน่ ้อยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ หมวดวิชาเฉพาะ รวมไมน่ อ้ ยกว่า ๔๘ หน่วยกติ (ก) วิชาเฉพาะพน้ื ฐาน ไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกติ (ข) วชิ าเฉพาะด้าน ไมน่ ้อยกว่า ๒๑ หน่วยกิต - กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยีเฉพาะสาขา ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ - กลมุ่ วิชาโครงงาน ไมน่ ้อยกวา่ ๓ หน่วยกิต (ค) ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ ไม่นอ้ ยกว่า ๓ หน่วยกิต หมวดวิชาเลอื กเสรี รวมไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๒๑
การยกเว้นการเรียนรายวิชา สามารถทำได้โดยการเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หน่วยกติ ตามหลักสูตร ตามระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาและการประเมินผล การเรียนตามหลกั สตู รปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั ิการ การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดวิชาเฉพาะ ประมาณ ๔๐ ตอ่ ๖๐ ท้งั น้ี ข้ึนอยู่กบั ลกั ษณะหรือกระบวนการจดั การเรียนร้ขู องแต่ละสาขาวิชา ๒.๓.๒. การคดิ หน่วยกติ ต่อภาคเรยี น ๑) รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ ๑๘ ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กับ ๑ หนว่ ยกติ ๒) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ๒ ชัว่ โมงตอ่ สัปดาห์ หรือ ๓๖ ชัว่ โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี ่าเท่ากบั ๑ หนว่ ยกิต ๓) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ๓ ชัว่ โมงต่อสปั ดาห์ หรอื ๕๔ ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กบั ๑ หน่วยกติ ๔) การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเทา่ กบั ๑ หน่วยกติ ๕) การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อย กว่า ๕๔ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเทา่ กับ ๑ หน่วยกิต ๖) การทำโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ชั่วโมง ต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีคา่ เท่ากบั ๑ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกติ รวมและระยะเวลาการศึกษา ให้มีจำนวนหนว่ ยกิตรวมระหว่าง ๗๒-๘๒ หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาการศึกษา ๔ ภาคเรียน ทั้งนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน ๘ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนเรียนแบบ เต็มเวลา และไม่เกิน ๑๒ ภาคเรียน สำหรับการลงทะเบียนเรียน แบบไม่เต็มเวลา กรณีหลักสูตรสาขาวิชาที่มี ความจำเป็นต้องกำหนดจำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษาเกินกว่าที่กำหนด ให้นำเสนอขออนุมัติ ต่อคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเปน็ กรณไี ป ในการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ภาคเรียนหรอื ๑ ปีการศึกษา ของหลักสตู รแต่ละระดับ คือระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ฝึกอาชีพ ไม่น้อยกว่า ๒ ภาคเรียนจากทั้งหมด ๖ ภาคเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ฝึกอาชีพไมน่ ้อย กว่า ๒ ภาคเรียนจากทั้งหมด ๔ ภาคเรียน และระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.) ฝึกอาชพี ไม่นอ้ ยกว่า ๒ ภาคเรยี นจากทง้ั หมด ๔ ภาคเรยี น (โดยไม่นับรวมภาคฤดรู ้อน) หมายเหตุ : ๑. การนบั ภาคเรยี นใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การใชห้ ลักสตู รของแตล่ ะระดบั ๒. ลักษณะงานที่ฝึกอาชีพต้องสอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพของการเรียนรู้ใน สาขาวิชาทผ่ี ู้เรยี นกำลังศกึ ษา ผสู้ อนและบคุ ลากรสนับสนุนการจัดอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ๑. คณุ สมบตั ิผู้สอนเป็นผูม้ ีวุฒิการศกึ ษา มคี วามรู้ความสามารถที่ตรงหรือเหมาะสมกับวิชาที่สอน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาของแต่ละระดบั ๒. ครูผู้สอนวิชาชีพในสาขาวิชาของสถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ต้องได้รบั การพฒั นาด้านวชิ าชพี ท่ีสอนไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐ ชั่วโมงต่อคน ต่อปกี ารศกึ ษาจากสถานประกอบการ ทร่ี ่วมจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๒๒
๓. สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดให้มีผู้มีประสบการณ์ มีความชำนาญและ ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพมาถ่ายทอดทักษะประสบการณ์และความรู้แก่ผู้เรียน ผู้สอน ไม่น้อยกว่าปีละ สองครั้งๆ ละไม่ต่ำกว่า สองชั่วโมงต่อสาขาวิชาต่อภาคเรียน โดยผู้มีประสบการณ์ และประสบความสำเร็จ ในอาชพี เฉพาะสาขามีผลงาน เป็นท่ยี อมรับในสงั คมและท้องถิ่น และสามารถถ่ายทอดความรไู้ ด้ตามกฎหมาย ว่าด้วยการอาชีวศึกษา สถานศกึ ษาหรอื สถาบันอาชีวศกึ ษาท่จี ัดอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ๑. สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคีจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี ๑.๑ ผู้บริหารและบุคลากรในสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องส่งเสริมและ สนบั สนุนการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื ง ๑.๒ จดั การเรยี นในสาขาวชิ าตรงความตอ้ งการของสถานประกอบการ ๑.๓ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษากับ สถานประกอบการ ๑.๔ ทำสัญญาการฝกึ อาชพี ระหวา่ งผู้เรียนกับสถานประกอบการ ๑.๕ ทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการ ตลอดหลกั สตู ร ๑.๖ จัดให้มกี ารปฐมนเิ ทศก่อนการฝึกอาชีพ และปัจฉมิ นิเทศหลังเสร็จสน้ิ การฝกึ อาชพี ๑.๗ เตรียมความพรอ้ มผู้เรียนก่อนการฝึกอาชพี ๑.๘ จัดให้มคี รูนเิ ทศกก์ ารฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ ๑.๙ มีการกำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลการฝึกอาชพี ร่วมกับสถานประกอบการ ๑.๑๐ ประชาสัมพันธ์การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับสถานประกอบการ ผู้เรียน และผู้ปกครองทราบ ๒. สถานประกอบการทจี่ ดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคีตอ้ งให้ความรว่ มมอื ดังน้ี ๒.๑ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ ทพี่ งึ ประสงค์ ๒.๒ จดั ลักษณะงานท่ฝี กึ อาชพี ใหส้ อดคล้องกบั การเรียนรู้ในสาขาวิชาท่ีผเู้ รยี นกำลังศึกษา ๒.๓ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชวี ศกึ ษา ๒.๔ ทำสัญญาการฝึกอาชีพระหว่างผู้เรียนกับสถานประกอบการ ๒.๕ ทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพและแผนการนิเทศร่วมกับสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชีวศึกษาตลอดหลกั สูตร ๒.๖ ประเมนิ การฝกึ อาชีพรว่ มกับสถานศึกษาหรอื สถาบันการอาชีวศึกษา ๒.๗ จัดให้มีครฝู ึกในสถานประกอบการ ๒.๘ จัดให้มผี ู้ควบคุมการฝกึ อาชีพเป็นผู้ประสานงานในการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ๒.๙ ประชาสัมพนั ธก์ ารจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคใี หก้ บั ผ้เู รียน ผูป้ กครอง และชุมชนทราบ ๒.๑๐ จัดใหม้ สี วัสดกิ ารและหรอื เบยี้ เล้ียงท่เี หมาะสมใหก้ ับผู้เรียนตามขอ้ ตกลง ๓. ครฝู ึกในสถานประกอบการตอ้ งมีคณุ สมบัติและเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี ๓.๑ มีคณุ สมบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศกึ ษา แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๒๓
๓.๒ จำนวนครูฝึกในสถานประกอบการเพื่อการฝึกอาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง ตอ้ งมีครฝู กึ หนึง่ คนต่อผเู้ รียนไมเ่ กินสิบคน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ สายปฏิบตั กิ าร ตอ้ งมีครฝู ึกหนง่ึ คนต่อผู้เรียนไม่เกนิ แปดคน ๓.๓ ไดร้ บั การแต่งตงั้ ให้เปน็ ครฝู กึ ตามหลกั เกณฑท์ ่ีคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด ๓.๔ ครูฝึกในสถานประกอบการเป็นผู้ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดทักษะในการทำงานได้ มีความรับผิดชอบ มีจรรยาบรรณ มีความรู้ความสามารถในงานที่ปฏิบตั ิ มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีใจรัก ในการสอนงาน มีมนุษยสมั พนั ธแ์ ละบุคลกิ ภาพท่ีดี ๓.๕ ครูฝึกต้องมีลำดับขั้นการสอนงาน โดยเริ่มต้นจากการวิเคราะห์งานที่รับผิดชอบ การวางแผนงาน วิเคราะห์งานเป็นรายชิ้น มีการเตรียมการสอนงานตามลำดับขั้นตอนการทำงาน สามารถ วเิ คราะหง์ านเป็นรายชนิ้ เลือกวธิ กี ารสอน ส่อื อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ ท่ใี ช้ในการสอนงานได้อยา่ งเหมาะสม ๓.๖ ครูฝึกควรมีวิธีการสอนที่หลากหลาย เหมาะสมกับเนื้อหาและความแตกตา่ งของผู้เรียน เพื่อให้สามารถสอนผู้เรียนให้บรรลุวัตถุประสงค์ การเรียนรู้โดยทั่วไปจะมี ๔ ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นสนใจ ปญั หา (Motivation) ข้นั การให้เนอ้ื หา (Information) ขน้ั พยายาม (Application) ขนั้ สำเร็จผล (Progress) ๓.๖.๑ แบบครูพ่ีเล้ียง (Tutorial Method) เหมาะกับการใช้สอนผ้เู รียนท่ีมกี ลมุ่ เล็กๆ ๓.๖.๒ แบบบรรยาย (Lecture Method) เหมาะสำหรับวิชาที่มีเนื้อหามากต้องทำ ความเข้าใจใชก้ ับกลุ่มผู้เรียนทีม่ จี ำนวนมาก ๓.๖.๓ แบบสาธติ (Demonstration Method) เหมาะสำหรบั สอนการทำงาน กระบวนการ ทำงานของสิง่ ตา่ งๆ การควบคมุ เคร่อื งจักร การทำงานร่วมกนั ๓.๖.๔ แบบศกึ ษาด้วยตนเอง (Self-Study Method) เหมาะสำหรับการส่งเสริมให้ผู้เรียน รบั ผดิ ชอบดว้ ยตวั เอง ๓.๖.๕ แบบศึกษาดว้ ยตนเอง (Self-Study Method) เหมาะสำหรบั การส่งเสริมให้ผู้เรียน รับผิดชอบตอ่ ตนเอง สรา้ งความสำเร็จโดยทีค่ รทู ำหนา้ ทชี่ ่วยส่งเสริมการเรียนของผ้เู รียนใหเ้ กดิ ผล ๓.๖.๖ แบบแก้ปัญหา(Problem Solving Method) เหมาะสำหรับการสอนที่ต้องใช้ ประสบการณ์เดิมกับสภาพปัญหาเข้าด้วยกัน ซึ่งนำไปสู่จุดหมาย ส่งเสริมให้ผู้เรียนตื่นตัวในการเรียนรู้ และ สรา้ งความม่ันใจในตนเอง ๓.๖.๗ แบบโครงการ (Project Method) เหมาะสำหรับการสอนที่สอดคล้องกับ สภาพจริง ผู้เรียนจะทำงานด้วยการตั้งปัญหาดำเนินการแก้ปัญหาโดยการใช้ความคิดและการลงมือทำจริง ฝึกการรับผิดชอบในการทำงานต่างๆ ตามความมุ่งหมายทตี่ ง้ั ไว้ ๔. ผู้เรยี นตอ้ งมีคุณสมบัตแิ ละเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี ๔.๑ มีพื้นฐานความรู้และคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ระเบียบ กระทรวงศึกษาธกิ ารว่าดว้ ยการจัดการศกึ ษาและการประเมนิ ผลการศกึ ษา ๔.๒ เป็นผู้ไดร้ ับการคดั เลือกจากสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ๕. การจัดการเรียนการสอนและการฝึกอาชีพของสถานประกอบการต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี ๕.๑ การจัดการเรียนการสอนและการฝึกอาชีพต้องเป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชาและ มาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชีพของสาขาวชิ าและสาขางาน ๕.๒ ผู้เรียนมีการบันทึกการฝึกอาชีพ แฟ้มสะสมผลงาน บันทึกคุณธรรม จริยธรรมและ จิตอาสา ให้เป็นไปตามแบบท่สี ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากำหนด แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๒๔
การจัดแผนการเรียนและแผนการฝึกอาชพี การจัดการเรียนแต่ละรายวิชา คือการจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลในรายวิชา นั้นโดยคำนึงถึงการลำดับรายวิชาตามความยากง่าย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ และทรัพยากรทุกประเภท เพอ่ื ใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผเู้ รยี นมีสมรรถนะตามจุดประสงค์รายวิชา ที่กำหนด แผนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาในสถานศึกษา หรือแผนการจัดการเรียนรู้ โดยครูผู้สอน ที่รับผิดชอบรายวิชาเป็นผู้จัดทำ ส่วนแผนการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทวิภาคีในการฝึกอาชีพในสถาน ประกอบการ หรอื แผนการฝกึ อาชีพ จดั ทำขึน้ โดยครูผู้สอนของสถานศกึ ษารว่ มกับครฝู กึ ในสถานประกอบการ การจัดแผนการเรียนในการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการดำเนินการร่วมกันระหว่างสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาหรือสถาบัน กบั สถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานของรัฐท่ีตกลงจัดการศึกษาร่วมกัน เพื่อจัดรายวิชาในแต่ละภาคเรียน โดยจัดการฝึกอาชีพให้สอดคล้องกับสมรรถนะงานและลักษณะงาน ของสถานประกอบการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถนะและคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐาน การศกึ ษาวชิ าชีพของสาขาวชิ าและสาขางานที่เรียน มรี ายละเอียดดงั นี้ การจัดแผนการเรียนและแผนการฝึกอาชีพ สถานศกึ ษา กำหนดรูปแบบการเรยี นและเลอื กรายวชิ า สถาน จดั ทำแผนการเรยี นตลอดหลักสูตร ประกอบการ จัดทำแผนการเรยี นประจำภาคเรียน จดั ทำแผนการฝึกอาชีพตลอดหลักสูตร จดั ทำแผนการฝกึ อาชีพรายวิชา/รายหนว่ ย 1. ข้อมูลทคี่ วรทราบในการจัดทำแผนการฝกึ อาชีพ 1.๑ ระดบั การศึกษา (ปวช./ปวส./ป.ตรี) และสาขางาน 1.๒ จำนวนของผเู้ รยี นฝึกอาชีพของแต่ละสาขางาน 1 ๓ ระยะเวลาการฝกึ อาชีพ (จำนวนภาคเรียน จำนวนสปั ดาห์ จำนวนวันฝึก/สัปดาห)์ 1.๔ สมรรถนะทก่ี ำหนด 1.๕ การประเมินผล ๔ ดา้ น คือ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความสามารถ (Ability) พฤติกรรม (Attitude) โดยกำหนดสดั ส่วนการวัดและประเมินผล ดังนี้ 1.5.1 สถานประกอบการ 70 คะแนน 1) ครฝู ึกประเมินสมรรถนะ ๕๐ คะแนน แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๒๕
2) ครูฝกึ ประเมินพฤตกิ รรม ๑๐ คะแนน 3) ครฝู ึกประเมนิ รายงานประจำหนว่ ยฝกึ ๑๐ คะแนน 1.5.2 สถานศึกษา ๓๐ คะแนน 1) ครูประจำวิชาฝึกอาชีพประเมินรายงานสรุป (Summary Report) โดยมี (Small Report) ทุกหน่วยฝึกเปน็ ภาคผนวก ๒๐ คะแนน 2) การนำเสนอ ๑๐ คะแนน ทงั้ น้ีสามารถปรบั ใช้การกำหนดสดั ส่วนคะแนนตามบรบิ ทของสถานศึกษา 2. การจัดทำแผนการเรียน การจดั ทำแผนการเรียนมีความสำคญั ต่อการจัดการศึกษา และการสำเร็จการศึกษาของผู้เรียน อย่างมาก ดังนั้นสถานศึกษาและสถานประกอบการ ที่ร่วมจัดการศึกษาระบบทวิภาคีจะต้องศึกษาทำ ความเข้าใจหลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน ตามสมรรถนะวิชาชีพ เพื่อการกำหนดรูปแบบ การเรียน และเลือกรายวชิ าที่จะนำมาจัดแผนการเรียนได้ถูกต้องตามเงื่อนไขของหลักสูตร มีการกำหนดวิชา ที่ต้องเรยี น ก่อน - หลัง รวมทั้งต้องศึกษาระเบียบ หลักเกณฑ์ และมาตรฐานทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคี รูปแบบการเรียนและการฝึกอาชีพนั้น สามารถจัดได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับความต้องการ และความพร้อมของสถานศึกษาและสถานประกอบการที่ร่วมจัด ในการจัดแผนการเรียนสำหรับนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ในปีการศึกษาแรกควรจัดให้เรียนและฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะ พื้นฐานของผู้เรียนก่อนไป ฝึกอาชีพในสถานประกอบการ สำหรับการจัดแผนการเรียนระดบั ประกาศนียบัตร วชิ าชีพชน้ั สูง ควรจดั ให้เรียนและฝึกปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษาอย่างนอ้ ย 1 ภาคเรียน ก่อนออกไปฝกึ อาชพี ในสถาน ประกอบการ โดยกำหนดระยะเวลาของการฝึกอาชีพในสถานประกอบการของแต่ละหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน หรือ 1 ปีการศึกษา ตามมาตรฐานการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ทั้งนี้ การกำหนดภาคเรียน การฝกึ อาชีพควรพิจารณารว่ มกนั ถงึ ความพรอ้ มของทง้ั สองฝา่ ย 3. การจดั ทำแผนการฝกึ อาชพี การจัดทำแผนการฝกึ ทำให้การจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี มคี ุณภาพสอดคลอ้ งกบั กรอบคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแห่งชาติและเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษามีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของสาขาวิชาและสาขางานที่เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย ประกอบด้วย สถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ครูนิเทศก์ บุคลากรสนับสนุน การศกึ ษาท่ีเกี่ยวขอ้ ง และสถานประกอบการ ไดแ้ ก่ ผู้บริหาร ผคู้ วบคุมการฝึกอาชีพ ครฝู ึก ซ่ึงบุคคลดังกล่าว ขา้ งต้นจำเปน็ จะต้องมกี ารวางแผนการดำเนินงานร่วมกันในส่วนท่ีเป็นหัวใจสำคญั ของการศกึ ษาระบบทวิภาคี คือ แผนการฝึกอาชีพ ซึ่งเป็นการจัดเตรียมเอกสารการฝึกอาชีพไว้ล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร โดยครูฝึก ในสถานประกอบการร่วมกับครูในสถานศึกษา กำหนดขั้นตอนการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม สอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพและเป็นไปตามจุดประสงค์ของหลักสูตร ตามสภาพของผู้เรียน เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ในการจัดทำแผนการฝึกอาชีพ จึงจำเป็นจะต้องสร้าง ความเข้าใจใหต้ รงกนั ทกุ ฝา่ ย ซ่งึ มีแนวทางดังนี้ แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๒๖
แนวทางการจัดทำแผนการฝกึ อาชพี รายวชิ าทวิภาคี ศึกษาสมรรถนะที่กำหนด เลือกงานที่สอดคล้องกับสมรรถนะทก่ี ำหนด งานหลัก วิเคราะหง์ าน งานย่อย ระยะเวลา จุดประสงคก์ ารฝกึ จัดทำเกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถนะ 3.1 แผนการฝกึ อาชพี ตลอดหลักสูตร เป็นการจัดทำแผนงานของสถานประกอบการ เพื่อจัดเตรียม บุคลากร สถานท่ีฝกึ วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื ในการฝกึ อาชีพใหแ้ กผ่ เู้ รยี นระบบทวภิ าคี ตลอดระยะเวลาการฝึก อาชีพในสถานประกอบการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดการฝึกอาชีพ เพื่อทราบว่าผู้เรียนจะฝึกอาชีพหน่วยงาน ใดบ้าง จำนวนกค่ี น เป็นระยะเวลาเท่าไร และครบตามสมรรถนะที่กำหนด ๓.2 แผนการฝกึ อาชีพรายวชิ า/รายหนว่ ย เป็นการจดั ทำแผนงานของครฝู ึกเพ่อื จัดเตรยี มเนื้อหา วิธีสอน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ การวัดและประเมินผลในการฝึกอาชีพให้แก่ผู้เรียนระบบทวิภาคี เพื่อให้มี ระดบั ความรู้ ความสามารถตามจุดประสงค์ที่กำหนดในแตล่ ะงานที่ทำการฝกึ อาชีพ เพ่ือให้ทราบเนื้อหาที่ต้อง สอนงานให้ผูเ้ รียน รวมทั้งการจัดเตรียมสิง่ ตา่ งๆ เช่น ตารางงานประจำวัน วัสดุ อุปกรณ์ สื่อเพื่อการเรยี นร้งู าน และฝกึ อาชพี ๔ ขออนมุ ัตแิ ละนำแผนการฝึกอาชพี รายวิชาไปใชห้ ลังจากจดั ทำรายละเอียดของแผนการฝึกอาชีพ ครบทุกหน่วยการฝึกแล้ว ควรมีการดำเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการใดๆ เช่น การสังเกต การตรวจสอบ การประเมิน การสัมภาษณ์ ฯลฯ เพื่อยืนยันพิสูจน์ว่า สิ่งที่กำหนดขึ้นนั้น ได้มีการดำเนินการและบรรลุ เป้าหมายตามวัตถุประสงค์ ให้ถูกต้อง แล้วดำเนินการนำเสนอขออนุมัติผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคีทั้งฝ่ายสถานศึกษาและฝ่ายสถานประกอบการ ก่อนนำไปใช้ในการจัดการฝึกอาชีพและนิเทศ ตดิ ตามการฝึกอาชีพตอ่ ไป ความเช่อื มโยงงานในสถานประกอบการกับรายวชิ าในสถานศกึ ษา การจัดทำแผนการฝึกอาชีพ ต้องทำการวิเคราะห์งานที่เป็นสมรรถนะอาชีพในสถานประกอบการ เพื่อนำมาทำการเปรียบเทียบกับสมรรถนะของรายวิชาตามหลักสูตรอาชีวศึกษา โดยใช้การวิเคราะห์หน้าที่ (Functional Analysis) ซึ่งจะวิเคราะห์เป็นระดับช้ันของหน้าที่โดยเริ่มต้นจากการหาความมุ่งหมายหลัก (Key Purpose) ของสาขาอาชีพแล้วแยกย่อยเป็นบทบาทหลัก (Key Roles) วิเคราะห์บทบาทหลักแต่ละบทบาท แยกย่อยเป็นหน้าที่หลัก (Key Functions) จากนั้นวิเคราะห์หน้าที่หลักแต่ละหน้าที่แยกย่อยเป็นหน่วยสมรรถนะ (Units of Competence) จากนั้นจะวิเคราะห์หาหน่วยย่อยสุดท้ายของแผนผังแสดงหน้าที่คือ สมรรถนะย่อย (Elements of Competence) สำหรับการเปรียบเทียบสมรรถนะอาชีพในสถานประกอบการจะนำหน้าที่หลัก (Key Functions) หน่วยสมรรถนะ (Units of Competence) และสมรรถนะย่อย (Elements of Competence) หรือทักษะย่อยเปรียบเทียบกับสมรรถนะรายวิชาตามหลักสูตรอาชีวศึกษา ส่วนรายวิชาทวิภาคีซึ่งให้นำ สมรรถนะย่อยของสถานประกอบการนั้นๆ มากำหนดเป็นสมรรถนะรายวิชาและคำอธิบายรายวิชาของ แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หน้า ๒๗
สถานประกอบการที่ต้องการพัฒนาให้เป็นเฉพาะของตนเอง และให้สามารถเชื่อมโยงระหว่างสมรรถนะอาชีพ ในสถานประกอบการกับสมรรถนะรายวิชาในหลักสตู ร สถานประกอบการ สถานศกึ ษา หน้าทีห่ ลัก เทยี บ/หาความ หมวดวิชาทกั ษะวิชาชีพ (Key Function) ตา่ ง ของหลกั สตู ร ปวช. ปวส. ป.ตรี หน่วยสมรรถนะ ๑ สมรรถนะยอ่ ย สมรรถนะรายวิชา วิชากลุ่มทกั ษะ เกณฑป์ ระเมนิ รายวชิ า วชิ าชพี เลือก/ เกณฑ์ปฏิบตั งิ าน วิชาทวิภาคี สมรรถนะย่อย สมรรถนะรายวชิ า วชิ ากลุม่ ทักษะ วิชาชพี เลอื ก/ วิชาทวิภาคี เกณฑป์ ฏิบัติงาน เกณฑ์ประเมนิ รายวิชา การกำหนดสมรรถนะของสถานประกอบการ 1. การกำหนดสมรรถนะของสถานประกอบการโดยใช้การวิเคราะห์หน้าที่ (Functional Analysis) โดยปกติสถานประกอบการที่ใช้ระบบ ISO ในการประกันคุณภาพจะมีขอ้ กำหนดหน้าที่ (Function) ของสถานประกอบการ คำอธิบายงาน (Job Description) และขั้นตอนการทำงาน (Work Instruction) ซึ่งเราสามารถนำมาเทียบกับสมรรถนะของหลักสูตรและรายวิชาได้ทันที จากนั้นจัดทำข้อกำหนดโมดูล เพื่อนำไปจัดทำเป็นเครื่องมือประเมินสมรรถนะต่อไป ส่วนสถานประกอบการที่ยังไม่มีข้อกำหนดหน้าท่ี คำอธิบายงาน และขน้ั ตอนการทำงานจะตอ้ งเรม่ิ วิเคราะหห์ นา้ ท่ไี ปจนถงึ สดุ ทา้ ย การวิเคราะห์หน้าที่จำเป็นต้องเข้าใจคำว่า “สมรรถนะ” ก่อนเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของงานในสถานประกอบการและสว่ นตา่ งๆ ของผังแสดงหนา้ ที่ (Functional Map) สมรรถนะ (Competence) ในความหมายของงานอาชีพหรือวิชาชพี หมายถงึ ความสามารถในการปฏิบัติ งานอาชีพ โดยใช้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่น เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ของงาน ท่มี ีคุณภาพตรงตามขอ้ กำหนดของอาชพี แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๒๘
โครงสร้างของอาชีพและระดับงานของงาน ความมงุ่ หมายหลกั บทบาทหลัก หน้าทีห่ ลัก หนว่ ยสมรรถนะ สมรรถนะยอ่ ย (Key Purpose) (Key Roles) (Key Function) (Units of (Elements of Competence) ความมงุ่ หมายหลกั ๑๐ บทบาทหลกั ๑๐๑ หนา้ ท่ีหลกั Competence) ๑๐๑๑ หนว่ ยสมรรถนะ ๑๐๑๑.๑ สมรรถนะย่อย ๑๐๒ หนา้ ท่ีหลัก ๑๐๑๑.๒ สมรรถนะย่อย ๑๐๑๒ หน่วยสมรรถนะ ๑๐๑๒.๑ สมรรถนะย่อย ๒๐ บทบาทหลัก ๒๐๑ หน้าที่หลกั ๑๐๑๒.๒ สมรรถนะย่อย ๑๐๒๑ หนว่ ยสมรรถนะ ๑๐๒๑.๑ สมรรถนะย่อย ๑๐๒๑.๒ สมรรถนะย่อย ๑๐๒๒ หนว่ ยสมรรถนะ ๑๐๒๒.๑ สมรรถนะย่อย ๒๐๑๑ หน่วยสมรรถนะ ๑๐๒๒.๒ สมรรถนะย่อย ๒๐๑๑.๑ สมรรถนะย่อย ๒๐๑๑.๒ สมรรถนะย่อย แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๒๙
โครงสรา้ งผังแสดงหนา้ ที่ (Functional Map) ความมุ่งหมายหลัก เป็นการระบุใหเ้ ห็นเปน็ รูปธรรมว่าอาชีพนี้ทำอะไรบ้างโดยระบุในรปู ของผลลัพธ์ ที่เกดิ ขึ้นจรงิ ภายในองค์กร ข้อความของความมุ่งหมายหลกั คล้ายกับข้อความของภาระหนา้ ที่ (Mission Statement) ซ่งึ เขยี นในรูปของ “กริยา-กรรม-เงอ่ื นไข” ดังนี้ - กรยิ า คือ คำทแี่ สดงการกระทำ ซึง่ แสดงการปฏิบตั ิการผลิตหรือบริการ - กรรม คือ สง่ิ ท่ีถกู กระทำ อาจเป็นบคุ คล ส่งิ ของ ผลติ ภณั ฑห์ รอื ขอ้ มลู เพอ่ื การตัดสนิ ใจ - เง่อื นไข คือ บริบทสถานการณ์ ใช้ระบุการดำเนนิ การใหเ้ กิดสมรรถนะให้ชดั เจน บทบาทหลักและหน้าที่หลัก เกิดจากการแยกย่อยความมุ่งหมายหลักให้เกิดระดับชั้น ถัดลงไป ในลักษณะของงานที่ต้องปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ตามความมุ่งหมายหลัก บทบาทหลักประกอบด้วยหน้าที่ หลักหลายหน้าที่ เขียนในรูปของ “กริยา-กรรม-เงื่อนไข”ซึ่งในแต่ละระดับชั้นเมื่อรวมกันแล้วต้องสนอง ข้อกำหนดระดับชนั้ ทส่ี งู กวา่ หน่วยสมรรถนะ เป็นการรวมสมรรถนะยอ่ ยต่างๆ ท่ีสัมพนั ธก์ ันเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใช้แสดงเป็นรายการ ของมาตรฐานสมรรถนะ เขียนในรูปของ “กริยา-กรรม-เงื่อนไข” ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของสมรรถนะย่อย ที่มีคุณค่าและอิสระในการจ้างงาน รับรองผลหรือเทียบโอนได้โดยเป็นสิ่งหรืองานที่สามารถทำสำเร็จได้ด้วย รายบุคคลจะทำงานคนเดียวหรอื เป็นสว่ นหนง่ึ ของกลุม่ สมรรถนะย่อย เป็นลำดับชั้นสุดทา้ ยของผังวเิ คราะหห์ น้าที่เป็นผลลัพธข์ องงานซ่ึงแต่ละบุคคลต้อง ทำสำเร็จได้ด้วยรายบุคคล เขียนในรปู ของ “กรยิ า-กรรม-เงื่อนไข” มอี งคป์ ระกอบสนบั สนนุ คือ เกณฑ์การปฏิบัติงาน ขอบเขตหลกั ฐานดา้ นทกั ษะ ดา้ นความร้แู ละแนวทางการประเมิน ความมุง่ หมายหลัก บทบาทหลกั หน้าท่หี ลัก (Key Purpose) (Key Role) (Key Function) ๑๐ วิจยั พัฒนา และ ๗๐ บรกิ ารและซอ่ มยานยนต์ ๗๐๑ บำรงุ รกั ษายานยนต์ ออกแบบยานยนต์ ๗๐๒ ซอ่ มยานยนต์ ๗๐๓ ตรวจรบั รองสภาพยานยนต์ แนวทางปฏิบัติการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๓๐
ตวั อย่าง การเขยี นแผนภาพแสดงหน้าที่ อาชีพบรกิ ารเครื่องกล หน้าทีห่ ลัก หน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย (Key Function) (Unit of Competence) (Element of Competence) ๗๐๑ บำรุงรกั ษายานยนต์ ๗๐๑๑ บำรุงรกั ษาตัวถงั ยานยนต์ ๗๐๑๑.๑ ทำความสะอาดตวั ถงั ภายในและภายนอก ๗๐๒ ซอ่ มยานยนต์ ๗๐๑๒ บำรงุ รักษายานยนตต์ าม ๗๐๑๑.๒ ขดั มนั สแี ละเคลอื บสี ระยะทางหรอื ระยะเวลา ๗๐๑๒.๑ บริการเปลีย่ นวัสดอุ ปุ กรณต์ ามระยะทาง/ระยะเวลา ๗๐๑๓ บำรงุ รักษาระบบเคร่อื งลา่ ง ๗๐๑๒.๒ บริการปรับตงั้ ชนิ้ ส่วนอปุ กรณเ์ ครอื่ งยนต์ และส่งกำลัง ๗๐๑๓.๑ บริการระบบเคร่ืองล่าง ๗๐๑๔ บำรงุ รักษาระบบไฟฟ้า/ ๗๐๑๓.๒ บริการระบบสง่ กำลัง ระบบปรับอากาศ ๗๐๑๔.๑ บำรุงรักษาระบบไฟฟา้ ๗๐๒๑ ซอ่ มระบบไฟฟ้า ยานยนต์ ๗๐๑๔.๒ บำรุงรกั ษาระบบปรับอากาศ ๗๐๒๒ ซ่อมระบบเชื้อเพลิง ๗๐๒๑.๑ ตรวจซ่อมระบบไฟจดุ ระเบดิ ๗๐๒๑.๒ ตรวจซอ่ มระบบควบคุมการฉีดเชือ้ เพลิง ๗๐๒๓ ซอ่ มระบบหลอ่ ลนื่ / ๗๐๒๑.๓ ตรวจซอ่ มระบบประจไุ ฟและสตาร์ท ระบบระบายความรอ้ น ๗๐๒๑.๔ ตรวจซ่อมระบบไฟส่องสวา่ งและไฟสญั ญาณ ๗๐๒๒.๑ ตรวจซอ่ มระบบนำ้ มนั เชื้อเพลงิ ดเี ซล ๗๐๒๒.๒ ตรวจซ่อมระบบนำ้ มนั เชือ้ เพลิงแก๊สโซลีน ๗๐๒๓.๑ ตรวจซ่อมระบบหล่อล่ืน ๗๐๒๓.๒ ตรวจซ่อมระบบระบายความรอ้ น การจดั ทำขอ้ กำหนดโมดลู (Module Specifications) หรอื รายละเอียดสมรรถนะยอ่ ย การจัดทำข้อกำหนดโมดูล เป็นการวิเคราะห์ว่าผู้ปฏิบัติงานที่มีสมรรถนะตามข้อกำหนดนี้ จะต้อง ปฏิบัติงานแล้วผลลัพธ์ของงานมีปริมาณและคุณภาพเป็นย่างไร (Performance Criteria) ระดับของงาน ยากง่ายเพียงไรใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุที่มีเทคโนโลยีพื้นฐาน หรือสูงอย่างไร (Range) ต้องใช้ความรู้ และทักษะในเรื่องใดบ้าง (Evident) และมีแนวทางการประเมินผลงานนั้นอย่างไร (Assessment Guidance) โดยจะทำการวเิ คราะหส์ มรรถนะยอ่ ยแต่ละสมรรถนะออกมา ดังน้ี 1) เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เป็นหัวใจของการประเมินหรือเป็นมาตรฐาน ด้านผลลพั ธ์ของการปฏิบตั ิงาน เขียนในรปู ของผลลัพธ์ ข้อกำหนดการประเมิน คำท่ไี มใ่ หเ้ ขียนแสดงไวใ้ นเกณฑ์ การปฏิบัติงาน เช่น รู้ เข้าใจ ตระหนักถึง หรือมีความซาบซึ้ง คำที่ไม่สื่อความหมาย เช่น ถูกต้อง เหมาะสม หากจะใช้ตอ้ งนยิ ามให้ชดั เจนวา่ ถูกตอ้ งหรอื เหมาะสมอย่างไร 2) ขอบเขต (Range) ขอบเขตเป็นการแสดงระดับความยากง่ายของงานซ่งึ แสดงได้หลายอย่าง เชน่ ลกั ษณะ ชนดิ ของงาน ขนาด ปรมิ าณ เครอ่ื งมอื เคร่ืองจักรท่ใี ช้ วสั ดทุ ่ใี ชเ้ ทคนคิ วิธีการหรือเทคโนโลยที ่ีใช้ 3) หลกั ฐานที่ตอ้ งการ (Evidence) มหี ลักฐานด้านทักษะ เปน็ ทักษะท่ีจำเป็นต้องใช้ในการทำงานนั้นๆ ให้สำเร็จ หลักฐานด้านความรู้ เป็นความรู้ที่จำเปน็ ในการทำงานนนั้ ๆ 4) แนวทางการประเมิน (Assessment Guidance) เป็นการวิเคราะห์ในเบื้องต้นว่าเกณฑ์ ปฏบิ ัติงานของสมรรถนะย่อยจะต้องใช้เครื่องมือประเมินชนิดใดบ้าง หลักฐานด้านทักษะหลักฐานด้านความรู้ จะต้องใชเ้ คร่อื งมอื ประเมินชนดิ ใดบ้าง แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๓๑
ตัวอยา่ ง การวิเคราะห์หนว่ ยย่อย/ข้อกำหนดโมดลู หน้าท่ีหลกั (Key Function) ๗๐๑ บำรุงรกั ษายานยนต์ หนว่ ยสมรรถนะ (Unit of Competence) ๗๐๑๑ บำรุงรกั ษาตวั ถงั ยานยนต์ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competence) ๗๐๑๑.๑ ทำความสะอาดตวั ถังภายในและภายนอก คร้ังที่ / จำนวนชวั่ โมงปฏิบัติ ๑ / ๖ ชวั่ โมง เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) 1. เคร่ืองมอื อุปกรณ์ ล้าง ปรบั ตั้ง ตรวจสภาพ และคู่มอื การใหบ้ รกิ ารยานยนต์เตรยี มมาครบตาม ข้อกำหนด 2. ตวั ถงั ภายนอกและภายในยานยนต์ได้รบั การลา้ ง เช็ด แหง้ สะอาดและตรวจสอบสภาพชิ้นส่วน ตา่ งๆ ให้อย่ใู นสภาพพร้อมใช้งานตามขัน้ ตอนตามขอ้ กำหนด 3. ล้อและยางทุกล้อ น้ำล้างกระจกได้รับการตรวจสอบและเติมให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ตามข้อกำหนด ขอบเขต (Range) ๑. ใชเ้ ครอ่ื งปมั๊ นำ้ แรงดันสงู ๒. ใชผ้ ลิตภณั ฑ์ล้างทำความสะอาดท่ีไมก่ ่อมลพิษ หลักฐานดา้ นทักษะ (Performance Evidence) ๑. เตรยี มเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ วัสดุทำความสะอาดตวั ถงั รถยนต์ตามข้อกำหนด ๒. ปรับต้ังเครอื่ งป๊ัมน้ำแรงดันสูงไดต้ ามข้อกำหนด ๓. บนั ทกึ ใบตรวจรายการเตรียมงานและรายงานผลการบรกิ ารรถ หลักฐานด้านความรู้ (Knowledge Evidence ) ๑. การจำแนกและเลอื กใช้ผลติ ภัณฑท์ ำความสะอาดและบรกิ ารยานยนต์ ๒. วิธกี ารใช้และบำรุงรกั ษาเคร่อื งมอื อปุ กรณก์ ารทำความสะอาดและบริการยานยนต์ ๓. ลำดบั ข้นั ตอนการทำความสะอาดและบริการยานยนต์ แนวทางการประเมิน (Assessment Guidance) ๑. ตรวจรายการเตรียมงานและรายงานผลการใหบ้ รกิ าร ๒. ประเมินการเตรียม การดำเนินการ การสง่ มอบงาน การจัดเกบ็ เครอ่ื งมืออุปกรณ์ ๓. ประเมินความปลอดภยั ในการทำงานและความพึงพอใจของผ้ใู ช้บริการ แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๓๒
2. การนำงานยอ่ ย (Task) มาจดั เรียงให้ไดค้ รบตามระยะเวลาที่ฝึกอาชพี หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ฝกึ อาชีพไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ภาคเรียน ระยะเวลาระหวา่ งวันท่ี.....................ถึงวันที.่ ....................... ภาคเรียนท่.ี ................. ภาคเรยี นท่ี.................. ภาคเรยี นท.ี่ ................. Job... /(Key Role) Job... /(Key Role) Job/(Key Role) Duty/(Unit of Competence) Duty/(Unit of Competence) Duty/(Unit of Competence) Task/(Element Task/(Element Task/(Element Task/(Element Task/(Element Task/(Element Task/(Element Task/(Element of of Competence) Competence) of of of of of of Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Competence) Competence) Competence) Competence) Competence) Competence) Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… Subject.… 3. การนำรายวิชามาจัดทำแผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร โครงสรา้ งหลักสตู ร ภาคเรยี นที่............................/................................. รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกิต ช่ัวโมง สมรรถนะแกนกลาง .......................... ......................... สมรรถนะวชิ าชพี .......................... ......................... - วิชาชพี พื้นฐาน .......................... ......................... - วชิ าชพี เฉพาะ .......................... ......................... - วิชาชพี เลอื ก .......................... ......................... ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี .......................... ......................... โครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี .......................... ......................... วิชาเลอื กเสรี .......................... ......................... กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร .......................... ......................... รวม แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หนา้ ๓๓
ตัวอ แบบวิเคราะห์งาน ของผ้เู รียนระบบทวภิ าคี วิทยาลยั ระดับชัน้ ปวส.๒ สาขาวิชา เทคน ท่ี สมรรถนะ หน่วยงาน งานหลัก 1 ชา่ งแม่พมิ พโ์ ลหะ แผนก Tooling ๑.๑ ปรับแปรรปู ขึน้ รปู ชน้ิ สว่ นแม่พมิ พโ์ ล ๑.๒ ปรบั แปรรปู ขน้ึ รูปช้นิ ส่วนแม่พมิ พ์ ด้ ๑.๓ ประกอบแม่พมิ พโ์ ลหะและการทดสอ ๑.๔ ซอ่ มและบำรงุ รกั ษาแม่พิมพโ์ ลหะ ๑.๕ สรา้ งกระสวนแม่พมิ พ์โลหะในการทำ ๑.๖ ตรวจสอบวัดขนาดของช้ินส่วนของแ ๑.๗ ออกแบบแม่พิมพ์โลหะ ดว้ ยโปรแกร แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี
อยา่ ง นเทยี บกบั รายวิชา ย……………..ปีการศกึ ษา………………… นคิ การผลติ สาขางาน แม่พมิ พ์โลหะ งานเทคนิคการผ ิลต เวลาฝกึ แ ่มพิมพ์โลหะ ๑ งานเทคนิคการผ ิลต แ ่มพิมพ์โลหะ ๒ งานเทคนิคการผ ิลต แ ่มพิมพ์โลหะ ๓ งานเทคนิคการผ ิลต แ ่มพิมพ์โลหะ ๔ ลหะ ด้วยเครื่องจกั รกลเล็ก ๘ วยเคร่ืองมือกลซเี อ็นซี ๘ ๘ อบแมพ่ ิมพโ์ ลหะ ๘ ๘ ๔ ๔ ำแบบ Pattern Foam ๔๘ แม่พมิ พ์โลหะดว้ ยเครอ่ื ง CMM รมคอมพิวเตอรช์ ่วย รวมระยะเวลาการฝกึ ตลอดหลกั สูตร (๔๘ สัปดาห)์ หน้า ๓๔
ตัวอยา่ ง การนำรายวชิ าทวิภาคี สาขาวิชา เทคนิคเครือ่ งกล สาขางาน เทคนิคยานยนต์ ไปฝกึ ในสถานประกอบการ จำนวน 6 รายวชิ า รหัสวชิ า ๓๐๑๐๑-๕๑xx ชอ่ื วชิ า งานเทคนิคยานยนต์ ๑ ท-ป-น (*-*-*) จดุ ประสงค์รายวิชา เพื่อให้ ๑. เข้าใจหลกั การและกระบวนการปฏบิ ตั งิ านอาชีพทางดา้ นเทคนิคยานยนต์ ๒. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในการวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติการและแก้ไขปัญหา ในการดำเนินงานอาชีพระดบั เทคนคิ ทางด้านเทคนิคยานยนต์ในสถานประกอบการตามภาระงานทร่ี ับผิดชอบ ๓. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ปลอดภัย มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา ขยนั ซ่อื สตั ย์ อดทนและสามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ สมรรถนะรายวชิ า ๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการปฏิบัติงานอาชีพทางด้านเทคนิคยานยนต์ เตรียมความพร้อมส่วนบุคคลในการปฏิบตั ิงานอาชีพตามขอ้ กำหนด ๒. วางแผนเตรยี มการดำเนินงานทางดา้ นเทคนคิ ยานยนต์ตามหลกั การและกระบวนการ ๓. ปฏิบัติงานระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ตามหลักการ กระบวนการ และภาระงาน ทร่ี ับผดิ ชอบ 4. บนั ทกึ สรุป รายงานประสบการณ์และผลการปฏิบัติงานตามหลักการ คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงานอาชีพระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ในสถานประกอบการ การเตรียมความพร้อมส่วนบุคคล การวิเคราะห์งาน การวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผลและแก้ไข ปญั หาในการดำเนินงาน การบันทึก สรปุ จดั ทำรายงานและนำเสนอผลการปฏิบตั งิ านอาชีพ (ใหส้ ถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน สมรรถนะที่ตอ้ งการและเวลา ที่ใช้ฝึก เพื่อจัดทำรายละเอียดของรายวิชา วางแผนและกำหนดขอบเขตการฝึกอาชีพ รวมทั้งแนวทางการวัด และประเมินผลในสอดคล้องกบั สมรรถนะวชิ าชพี สาขางาน) แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี หน้า ๓๕
รหสั วชิ า ๓๐๑๐๑ – ๕๑xx ชอื่ วชิ า งานเทคนคิ ยานยนต์ ๒ ท-ป-น (*-*-*) จุดประสงคร์ ายวิชา เพือ่ ให้ ๑. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการปฏิบตั งิ านอาชีพทางด้านเทคนคิ ยานยนต์ ๒. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในการวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติการและแก้ไขปัญหา ในการดำเนินงานอาชพี ระดบั เทคนิคทางดา้ นเทคนคิ ยานยนต์ในสถานประกอบการตามภาระงานทร่ี ับผดิ ชอบ ๓. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ปลอดภัย มีวินัย ตรงตอ่ เวลา ขยนั ซือ่ สัตย์ อดทนและสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู น่ื ได้ สมรรถนะรายวิชา ๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการปฏิบัติงานอาชีพทางด้านเทคนิคยานยนต์ เตรยี มความพรอ้ มส่วนบคุ คลในการปฏิบตั งิ านอาชีพตามข้อกำหนด ๒. วางแผนเตรยี มการดำเนนิ งานทางด้านเทคนคิ ยานยนต์ตามหลักการและกระบวนการ ๓. ปฏิบัติงานระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ตามหลักการ กระบวนการ และภาระงาน ท่รี ับผดิ ชอบ 4. บนั ทกึ สรุป รายงานประสบการณ์และผลการปฏิบัติงานตามหลักการ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงานอาชีพระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ในสถานประกอบการ การเตรียมความพร้อมส่วนบุคคล การวิเคราะห์งาน การวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผลและแก้ไข ปัญหาในการดำเนินงาน การบนั ทึก สรุป จดั ทำรายงานและนำเสนอผลการปฏบิ ัตงิ านอาชีพ (ให้สถานศกึ ษาร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะห์งาน ลักษณะงาน สมรรถนะทีต่ อ้ งการและเวลา ที่ใช้ฝึก เพื่อจัดทำรายละเอียดของรายวิชา วางแผนและกำหนดขอบเขตการฝกึ อาชีพ รวมทั้งแนวทางการวัด และประเมนิ ผลในสอดคล้องกบั สมรรถนะวิชาชพี สาขางาน) แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หน้า ๓๖
รหัสวชิ า ๓0๑๐๑- ๘๐๐๒ ชอ่ื วิชา ฝึกงาน ๑ ท-ป-น (*-*-๒) จุดประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้ ๑. เขา้ ใจขนั้ ตอน และกระบวนการปฏบิ ัตงิ านอาชีพอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. สามารถปฏิบัติงานอาชีพในสถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระหรือแหลง่ วิทยาการ จนเกดิ ความชำนาญ มีทักษะและประสบการณ์ นำไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั งิ านอาชพี ระดบั เทคนคิ ๓. มีเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรมจริยธรรม ความคิดสรา้ งสรรค์ ขยัน อดทน และสามารถทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืน สมรรถนะรายวิชา ๑. เตรยี มความพร้อมของร่างกาย และเครื่องมือ อุปกรณ์ตามลักษณะงาน ๒. ปฏิบตั งิ านอาชีพตามขั้นตอน และกระบวนการทีส่ ถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระ หรือแหลง่ วิทยาการกำหนด ๓. พฒั นาการทำงานท่ปี ฏบิ ตั ใิ นสถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระหรอื แหล่งวิทยาการ ๔. บนั ทึกและรายงานผลการปฏิบตั ิงาน คำอธบิ ายรายวชิ า ปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับลักษระของงานในสาขาวิชาชีพในสถานประกอบการ สถานประกอบ อาชีพอิสระ หรือแหล่งวิทยาการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ชั่วโมง ให้เกิดความชำนาญ มีทักษะ และ ประสบการณง์ านอาชีพในระดับเทคนิค โดยผ่านความเหน็ ชอบรว่ มกันของผูร้ บั ผดิ ชอบการฝึกงานในสาขาวิชา นั้นๆ บันทกึ และรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตลอดระยะเวลาการฝกึ งาน แนวทางปฏิบตั ิการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หนา้ ๓๗
รหัสวชิ า ๓๐๑๐๑- ๘๐๐๓ ช่อื วิชา ฝกึ งาน ๒ ท-ป-น (*-*-๒) จุดประสงคร์ ายวิชา เพอ่ื ให้ ๑. เขา้ ใจขั้นตอน และกระบวนการปฏบิ ัตงิ านอาชพี อยา่ งเปน็ ระบบ ๒. สามารถปฏิบัติงานอาชีพในสถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระหรอื แหล่งวิทยาการ จนเกดิ ความชำนาญ มที ักษะและประสบการณ์ นำไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติงานอาชพี ระดับเทคนคิ ๓. มีเจตคติที่ดีต่อการปฏิบัติงานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ความคิดสรา้ งสรรค์ ขยัน อดทน และสามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ่นื สมรรถนะรายวชิ า ๑. เตรยี มความพร้อมของรา่ งกาย และเคร่ืองมือ อุปกรณ์ตามลักษณะงาน ๒. ปฏบิ ัตงิ านอาชีพตามข้ันตอน และกระบวนการทสี่ ถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระ หรอื แหล่งวิทยาการกำหนด ๓. พฒั นาการทำงานท่ีปฏิบัติในสถานประกอบการ สถานประกอบอาชพี อสิ ระหรือแหล่งวิทยาการ ๔. บนั ทึกและรายงานผลการปฏบิ ัติงาน คำอธิบายรายวชิ า ปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับลักษระของงานในสาขาวิชาชีพในสถานประกอบการ สถานประกอบ อาชีพอิสระ หรือแหล่งวิทยาการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๑๖๐ ชั่วโมง ให้เกิดความชำนาญ มีทักษะ และ ประสบการณง์ านอาชพี ในระดบั เทคนิค โดยผา่ นความเห็นชอบร่วมกันของผู้รบั ผดิ ชอบการฝกึ งานในสาขาวิชา น้ันๆ บันทึกและรายงานผลการปฏิบตั งิ านตลอดระยะเวลาการฝกึ งาน (ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานใหม่ หรืองานที่ต่อเนื่องจากรายวิชา ๓๐๑๐๑-๘๐๐๒ ในสถาน ประกอบการ สถานประกอบอาชีพอสิ ระหรอื แหลง่ วทิ ยาการแหลง่ เดมิ หรอื แหล่งใหม)่ แนวทางปฏบิ ตั ิการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๓๘
รหัสวิชา ๓๐๑๐๑ -5๑xx ชื่อวิชา งานเทคนคิ ยานยนต์ 3 ท-ป-น (*-*-*) จุดประสงคร์ ายวชิ า เพอ่ื ให้ ๑. เข้าใจหลักการและกระบวนการปฏิบตั งิ านอาชพี ทางด้านเทคนิคยานยนต์ ๒. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในการวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติการและแก้ไขปัญหา ในการดำเนินงานอาชีพระดบั เทคนิคทางด้านเทคนคิ ยานยนตใ์ นสถานประกอบการตามภาระงานที่รบั ผดิ ชอบ ๓. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ปลอดภัย มวี นิ ยั ตรงตอ่ เวลา ขยัน ซือ่ สัตย์ อดทนและสามารถทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ สมรรถนะรายวชิ า ๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการปฏิบัติงานอาชีพทางด้านเทคนิคยานยนต์ เตรยี มความพร้อมสว่ นบคุ คลในการปฏบิ ัติงานอาชีพตามข้อกำหนด ๒. วางแผนเตรยี มการดำเนินงานทางดา้ นเทคนคิ ยานยนต์ตามหลักการและกระบวนการ ๓. ปฏิบัติงานระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ตามหลักการ กระบวนการ และภาระงาน ที่รับผิดชอบ 4. บันทกึ สรุป รายงานประสบการณ์และผลการปฏิบตั ิงานตามหลกั การ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงานอาชีพระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ในสถานประกอบการ การเตรียมความพร้อมส่วนบุคคล การวิเคราะห์งาน การวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผลและแก้ไข ปญั หาในการดำเนินงาน การบันทกึ สรุป จัดทำรายงานและนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิงานอาชพี (ใหส้ ถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะหง์ าน ลักษณะงาน สมรรถนะท่ตี ้องการและเวลา ที่ใช้ฝึก เพื่อจัดทำรายละเอียดของรายวชิ า วางแผนและกำหนดขอบเขตการฝึกอาชีพ รวมทั้งแนวทางการวัด และประเมินผลในสอดคล้องกบั สมรรถนะวชิ าชพี สาขางาน) แนวทางปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หน้า ๓๙
รหสั วิชา ๓๐๑๐๑ -5๑xx ช่ือวชิ า งานเทคนคิ ยานยนต์ 4 ท-ป-น (*-*-*) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ ๑. เข้าใจหลักการและกระบวนการปฏิบตั ิงานอาชีพทางดา้ นเทคนคิ ยานยนต์ ๒. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในการวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติการและแก้ไขปัญหา ในการดำเนินงานอาชพี ระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนตใ์ นสถานประกอบการตามภาระงานท่รี ับผดิ ชอบ ๓. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ปลอดภัย มีวนิ ัย ตรงตอ่ เวลา ขยนั ซ่อื สัตย์ อดทนและสามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้ สมรรถนะรายวชิ า ๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการปฏิบัติงานอาชีพทางด้านเทคนิคยานยนต์ เตรยี มความพร้อมส่วนบุคคลในการปฏิบัตงิ านอาชีพตามขอ้ กำหนด ๒. วางแผนเตรียมการดำเนินงานทางดา้ นเทคนคิ ยานยนต์ตามหลกั การและกระบวนการ ๓. ปฏิบัติงานระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ตามหลักการ กระบวนการ และภาระงาน ท่รี บั ผดิ ชอบ 4. บนั ทกึ สรุป รายงานประสบการณแ์ ละผลการปฏิบตั งิ านตามหลกั การ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับงานอาชีพระดับเทคนิคทางด้านเทคนิคยานยนต์ ในสถานประกอบการ การเตรียมความพร้อมส่วนบุคคล การวิเคราะห์งาน การวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผลและแก้ไข ปญั หาในการดำเนินงาน การบันทกึ สรปุ จัดทำรายงานและนำเสนอผลการปฏิบัตงิ านอาชพี (ให้สถานศกึ ษาร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะหง์ าน ลกั ษณะงาน สมรรถนะทต่ี อ้ งการและเวลา ที่ใช้ฝึก เพื่อจัดทำรายละเอียดของรายวชิ า วางแผนและกำหนดขอบเขตการฝกึ อาชีพ รวมทั้งแนวทางการวัด และประเมนิ ผลในสอดคลอ้ งกับสมรรถนะวิชาชีพสาขางาน) แนวทางปฏบิ ัติการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี หนา้ ๔๐
ตวั อ แผนการฝกึ อาชีพ การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ระหวา่ ง วิทยาลัย.........(ช่ือสถานศึกษ ปกี ารศกึ ษา .................... หลักสูตร ปวช. ปวส. ปริญ ฝึกอาชพี ปีการศกึ ษา................... ระหวา่ งวันที่...................................ถงึ วนั อาชพี / ตำแหนง่ งาน งานหลกั / สมรรถนะ ช่างซอ่ มรถยนต์ 1. งานซ่อมเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี และ 1.๑ งานซ (วชิ า งานเทคนิคยานยนต์ 1-4, เครือ่ งยนต์ดีเซล 1.๒ งานซ วิชา ฝึกงาน 1-2) 2. งานซอ่ มระบบเคร่ืองลา่ งและส่งกำลัง 2.๑ งานซ ยานยานยนต์ 2.๒ งานซ 2.๓ งานซ 2.๔ งานซ ๓. งานซ่อมไฟฟา้ ยานยนต์ ๓.๑ งานซ ๓.๒ งานซ ๓.๓ งานซ ๓.๔ งานซ ๔. งานซ่อมระบบปรับอากาศยานยนต์ ๔.๑ งานต ๔.๒ งานซ ๕. ตรวจเช็ครายการตามคูม่ อื 5.1 เช็คร (วิชา ฝกึ งาน ๑) 5.2 เช็คร 5.3 เชค็ ร 5.4 เชค็ ร ๖. ตรวจเช็ครายการตามคูม่ อื 6.1 เช็คร (วิชา ฝกึ งาน ๒) ๖.2 เช็คร ๖.3 เช็คร รวมระยะเวลาการฝึกอาชพี 36 แนวทางปฏบิ ตั ิการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
อยา่ ง พตลอดหลกั สูตร ษา)........ กับ บริษทั ...............(ชอ่ื สถานประกอบการ)................. ญญาตรี สาขาวชิ า ......................เทคนิคเครอ่ื งกล....................... นท.ี่ .............................. (36...สปั ดาห์)……………………………….…. งานย่อย ครูฝึก เวลาฝกึ (ชั่วโมง) ซอ่ มเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี นาย ก 120 ซ่อมเครื่องยนตด์ ีเซล 120 ซอ่ มระบบรองรับน้ำหนกั และระบบกนั สะเทอื น นาย ข ๘0 ซอ่ มระบบบงั คบั เลีย้ ว 80 ซ่อมระบบเบรก ๔0 ซ่อมเกยี รแ์ ละเฟอื งทา้ ย 80 ซอ่ มระบบไฟฟา้ ตัวถัง นาย ค ๔0 ซ่อมระบบไฟฟ้าอำนวยความสะดวก ๔0 ซอ่ มระบบไฟฟา้ เครื่องยนต์ 80 ซอ่ มระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ควบคมุ เครื่องยนต์ ๘๐ ตรวจสอบการรวั่ ระบบปรับอากาศยานยนต์ นาย ง 80 ซอ่ มระบบปรบั อากาศยานยนต์ 160 ระยะตามคมู่ อื 1,000 กิโลเมตร นาย จ ๔๐ ระยะตามคู่มือ 10,000 กิโลเมตร ๖0 ระยะตามคูม่ ือ 20,000 กิโลเมตร ๖0 ระยะตามคู่มือ 40,000 กโิ ลเมตร ๘๐ ระยะตามคูม่ ือ 80,000 กโิ ลเมตร นาย ฉ 80 ระยะตามค่มู ือ 120,000 กิโลเมตร 80 ระยะตามคมู่ อื 150,000 กโิ ลเมตร 80 6 สปั ดาห์ 14๘0 หน้า ๔๑
ตวั อ แผนการฝกึ อา การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ระหวา่ ง วิทยาลัย.........(ช่อื สถานศ ปีการศกึ ษา .................... หลักสูตร ปวช. ปวส. ป อาชีพ / ตำแหน่งงาน. ..........................................................................ช่างซ่อ งานหลกั 1 ...งานซอ่ มเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลีนและเครอ่ื งยนต์ดเี ซล............. งานยอ่ ย 1.1 ...งานซอ่ มเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน.......................................... 1.2 ...งานซอ่ มเคร่ืองยนตด์ ีเซล.................................................. เวลาฝกึ ...240...ชว่ั โมง ครูฝกึ .........................นาย ก.................................... ตำแหนง่ .................หัวห ระดับความสามารถทีต่ อ้ งการ ท่ี จดุ ประสงค์ ความรู้ ทกั ษะ เจตคติ การ ประยุกตใ์ ช้ 1 อธบิ ายโครงสร้างและหลักการทำงานของ เค รื่องย นต์ แ ก๊สโซลีนแ ละเค รื่ องย นต ์ด ีเ ซ ล ไ ด้ ๑. โ ถูกตอ้ ง ✓ โซล 2 อธิบายการตรวจสอบการทำงานของเครื่องยนต์ แก๊สโซลีนและเคร่ืองยนต์ดีเซลได้ตามข้อกำหนด ๒. ก คู่มือซ่อม 3. ก 3 วเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปัญหาข้อขัดขอ้ งของเครอื่ งยนต์ แก๊สโซลีนและเครือ่ งยนต์ดีเซลได้ถูกต้อง ✓ เคร 4 ซ่อม/เปลี่ยนชิ้นส่วนเครื่องยนต์แก๊สโซลีนและ ๓. ก เครื่องยนต์ดีเซลไดต้ ามขอ้ กำหนดคู่มือซ่อม ✓ ๔. . 5 ทดสอบการทำงานของเคร่ืองยนตแ์ ก็สโซลีนและ ๕. . เครอ่ื งยนตด์ เี ซลได้ตามข้อกำหนดคูม่ ือซอ่ ม ✓ 6 มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัย และ ✓ รักษาสภาพแวดล้อม ✓ แนวทางปฏิบตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี
อย่าง าชีพรายหนว่ ย ศึกษา)........ กับ บริษัท...............(ช่ือสถานประกอบการ)........................ ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา…...............เทคนคิ เครอื่ งกล................................... อมรถยนต์........................................................................................................ ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ........................................................................................................................ หนา้ ชา่ งซ่อมรถยนต์.................. หนว่ ยงาน.............ฝา่ ยซอ่ มรถยนต์……........... หัวข้อเรอื่ ง วธิ ีสอน เครอื่ งมือ/ วิธีการประเมิน อปุ กรณ์/ โครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊ส - บรรยาย สอ่ื การสอน - แบบสงั เกต ลีนและเคร่อื งยนต์ดีเซล - สาธติ - แบบสัมภาษณ์ การใช้เครอ่ื งมือวเิ คราะห์สภาพเคร่อื งยนต์ - ปฏบิ ัติ - ช้ินงานจรงิ - แบบทดสอบ การวิเคราะห์ปัญหาของเครื่องยนต์แก๊สโซลีนและ - ใช้กรณตี วั อย่าง - ใบงาน - ทดสอบปฏบิ ัติ รอื่ งยนต์ดีเซล - ใช้การจำลอง - มัลตมิ เี ดยี การซ่อมเครือ่ งยนตต์ ามข้อกำหนดคูม่ อื ซ่อม .................................................................................... .................................................................................... หน้า ๔๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139