Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลวงพ่อแดง นนฺทิฺโย พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน

หลวงพ่อแดง นนฺทิฺโย พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน

Published by PRASIT P., 2022-06-06 16:31:00

Description: หลวงพ่อแดง นนฺทิฺโย
พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน

Search

Read the Text Version

หลพวระงสพงฆอ่ ์ไมแ่ทด้งิ งปรนะชนาชทฺ นิโย พระครพู ิศษิ ฏ์ประชานาถ, ดร.

พหลระวสงงพฆ์่อไมแ่ทดิง้ งปรนะชนาทฺชนิโย พระครพู ิศษิ ฏ์ประชานาถ, ดร. วัดอนิ ทาราม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม ISBN : 978-616-590-894-8 พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1 : พฤษภาคม 2565 จ�ำ นวน 500 เลม่ ท่ีระลึก อายุวฒั นมงคลครบ 6 รอบ อายุ 72 ปี พระครพู ศิ ษิ ฎป์ ระชานาถ,ดร. เจ้าอาวาสวดั อินทาราม รองเจ้าคณะอ�ำ เภออมั พวา จ.สมุทรสงคราม บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ : พระครพู ิศษิ ฏ์ประชานาถ, ดร. บรรณาธกิ าร : รศ.ดร.สรุ พล สุยะพหรม กองบรรณาธิการ : พระปลัดระพนิ พทุ ฺธสิ าโร, ผศ.ดร. • พระมหากฤษฎา กติ ตฺ ิโสภโณ, ผศ.ดร. พระมหาสนุ นั ท์ สนุ นฺโท, ผศ.ดร. • พระครูสังฆรกั ษเ์ อกลักษณ์ อชโิ ต, ดร. รศ.ดร.พิเชฐ ทง่ั โต • รศ.ดร.วาสนา แกว้ หล้า • รศ.ดร.ภทั รพล ใจเยน็ ดร.สภุ ทั รชยั สีสะใบ • ดร.นิกร ศรรี าช • ผศ.ดร.ประเสรฐิ ธลิ าว • สมชาย ลำ�ภู ออกแบบปก : ผศ.ดร.ประสทิ ธิ์ พทุ ธศาสน์ศรทั ธา จดั รูปเล่ม : พระปลัดระพิน พทุ ธฺ สิ าโร, ผศ.ดร., ผศ.ดร.ประสทิ ธิ์ พุทธศาสนศ์ รัทธา ผู้รบั ผิดชอบการจัดพมิ พ์ : พระครพู ศิ ษิ ฏป์ ระชานาถ, ดร. วัดอนิ ทาราม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม พิมพ์ที่ โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 79 หมู่ 1 ตำ�บลลำ�ไทร อำ�เภอวงั นอ้ ย จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา 13170 โทรศพั ท์ 0-3524-8000

คำนำ หนงั สอื น้ีมาจากรวมบทความ งานวิจยั เรือ่ ง พลงั บวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพ่ือลดปัจจัยเส่ียง ตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวดั สมทุ รสงคราม* ขณะท่ีคณะนักวิจัยซ่งึ เป็นบุคลากรของหลกั สตู รบณั ฑิตศกึ ษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ได้เก็บข้อมูลและขับเคลื่อนกิจกรรมในแต่ละ ช่วงตามกรอบการวจิ ัย ได้มกี ารบันทกึ ถอดความรู้ในแตล่ ะชว่ งเวลา พรอ้ มพมิ พ์เผยแผ่ รายงานผลความคืบหน้าของการทำวจิ ยั ในแต่ละช่วงกิจกรรมขับเคล่อื น เช่น (1) ถอด บทเรียนจากพน้ื ที่วจิ ยั : การเสริมสรา้ งเครอื ขา่ ยทางสังคมเพ่อื ลดปจั จยั เสย่ี ง ตามแนว พระพุทธศาสนาในชุมชนคลองกระทิง (2) ถอดบทเรียนจากพื้นท่ีวิจัย : บวชใจ อธษิ ฐานบารมี ลดละเลิกเหลา้ บุหรี่ ตลอดพรรษา รณรงคล์ ดปัจจยั เสยี่ งด้านสุขภาวะ ชุมชนบ้านคลองกระทิง (3) ยุวชนคุณธรรม : แนวทางลดปัจจัยเส่ียงของชุมชน กระทิง (4) การพัฒนาเครือข่ายเยาวชนในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างเครือข่ายลด ปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จนกระท่ังได้รายงานการวิจัยที่สรุปผลการวิจัย เร่ือง (5) พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อลด ปัจจัยเสี่ยง ตามแนวพระพทุ ธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม ซ่ึงได้นำมาพิมพ์ร่วมเล่ม ไวด้ ังปรากฏเปน็ หนังสอื ที่ยู่ในมือท่านนี้ หลักสูตรบัณฑติ ศกึ ษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ เห็นประโยชน์ ของการวิจัย จึงสนับสนุนคณะนักวิจัยบุคลากรบัณฑิตศึกษาดังปรากฏในแต่ละ บทความได้ทำวิจัยและพัฒนางานในรูปแบบวิชาการร่วมกับพระสงฆ์นักพัฒนาในแต่ ละพื้นท่ีรวมทั้งหลวงพ่อแดง นนฺทิโย แห่งวัดอินทาราม จ.สมทุรสงคราม ด้วย ป ร ะ ห นึ่ งเป็ น ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร อี ก แ บ บ ห นึ่ ง ต า ม ภ า ร ะ กิ จ ข อ งม ห า วิ ท ย า ลั ย *สว่ นหนึ่งของโครงการวิจยั เรื่องพลงั บวรพิทักษค์ ลองกระทงิ : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสงั คมเพ่ือ ลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงาน กองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ประจำปี 2563

นอกจากนี้หลวงพ่อแดง นนฺทิโย (พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ,ดร.) ที่มีหลายสถานะคือ เป็นดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ (พธ.ด.) อาจารย์พิเศษภาควิชา รฐั ศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ รวมท้งั เปน็ นิสติ ระดบั ดษุ ฎบี ัณฑิตหลกั สูตรบัณฑติ ศกึ ษา สาขาวิชารัฐศาสตร์ (ปร.ด.) นิสิตนิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) ในภาควิชานิติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ที่สะท้อนให้เห็นว่าท่านพระสงฆ์นักพัฒนาที่พัฒนาตนเองด้าน การศึกษาให้เป็นแบบอย่างแก่คนรุ่นต่อไป เป็นพระเถระที่มีพฤฒพลัง (Active Ageing) ในตนเองแบบของพระเถระผู้มีพรรษากาล เป็นพระสงฆ์นักพัฒนาท่ีทำงาน การบริการชว่ ยเหลอื สังคมจำนวนมากเพอ่ื เขา้ ไปขับเคลอื่ นคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ในองค์รวม ภายใต้สโลแกน “พระสงฆ์ไม่ทิ้งประชาชน” ทำงานด้านสาธารณ สงเคราะห์ช่วยเหลือสังคมในภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในเขตวัดอินทาราม จังหวัด สมทุ รสงคราม และท่ัวประเทศในภาพพระสงฆ์สาธารณสงเคราะห์เพอื่ ประชาชน เช่น ธนาคารน้ำใต้ดิน ธนาคารโคกระบือ การจัดมอบโรงสขี ้าว ประหนึง่ เปน็ ภาพแทนของ พระสงฆ์ทั่วประเทศ กับงานสังคมสงเคราะห์ตามหลัก “สังคหวัตถุ” หลักการ เสยี สละแบง่ ปัน เก้อื กูล เอือ้ อาทร ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา หนังสือรวมเลม่ บทความวิจัยนห้ี วังว่าจะมปี ระโยชนต์ ่อการศึกษาค้นคว้าใน แวดวงของพระสงฆ์สาธารณสงเคราะห์ พระสงฆ์นักพัฒนา และจะเป็นแบบอยา่ ง ต้น ธารให้เครือข่ายพระสงฆ์สาธารณสงเคราะห์ พระสงฆ์นักพัฒนาได้นำไปศึกษาเรียนรู้ และพัฒนางานสืบสาน รกั ษาพระพทุ ธศาสนาร่วมกนั ตอ่ ไป รศ.ดร.สรุ พล สยุ ะพรหม บรรณาธิการ ผูอ้ ำนวยการหลกั สตู รบณั ฑติ ศึกษา ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ รองอธกิ ารบดฝี ่ายกจิ การทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

สารบญั เร่อื ง หนา้ ถอดบทเรียนจากพื้นท่ีวิจัย : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคม 7 เพือ่ ลดปัจจัยเส่ยี ง ตามแนวพระพทุ ธศาสนาในชุมชนคลองกระทงิ จงั หวดั สมุทรสงคราม ถอดบทเรียนจากพ้ืนที่วิจัย : บวชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิก 37 เหล้า บุหร่ี ตลอดพรรษา รณรงค์ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาวะ ชมุ ชนบ้านคลองกระทงิ จังหวดั สมทุ รสงคราม ยวุ ชนคณุ ธรรม : แนวทางลดปจั จยั เส่ียงของชมุ ชนกระทิง อำเภอ 63 อมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม การพฒั นาเครอื ขา่ ยเยาวชนในการจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างเครอื ข่าย 89 ลดปจั จัยเสย่ี งตามแนวพระพทุ ธศาสนา จังหวัดสมทุ รสงคราม พลังบวรพิทกั ษ์คลองกระทงิ : การเสริมสร้างเครือข่ายทางสงั คม 113 เพื่ อ ล ด ปั จ จั ยเส่ี ย ง ต าม แน วพ ระพุ ท ธศาส น า จังห วัด สมุทรสงคราม

6 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน

ถอดบทเรียนจากพื้นทีว่ จิ ยั : การเสรมิ สรา้ งเครือขา่ ยทางสังคมเพ่อื ลด ปจั จัยเสีย่ ง ตามแนวพระพุทธศาสนาในชุมชนคลองกระทงิ จงั หวดั สมุทรสงคราม* Lesson Learned From The Research Area: Strengthening Social Network to Recluse Risk Factors According to Buddhism in Klong Krathing Community, Samut Songkram Province ------------------------------------------- สภุ ัทรชัย สีสะใบISuphattharachai Sisabai พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณIPhramaha Krisada Kittisobhano, ประเสริฐ ธิลาวIPrasert Thiloa พระปลัดระพนิ พทุ ธสิ าโรI Phrapalad Rapin Bhuddhisaro, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางและกลไกของการ เสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา ในชุมชนคลองกระทิง จังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ *ตพี มิ พ์ในวารสารพทุ ธนวัตกรรมและการจัดการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2564 หนา้ 75-90

8 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง การสังเกตภาคสนาม และการ สัมภาษณแ์ บบเจาะจง ในพนื้ ท่วี ิจัย และนำเสนอแบบความเรยี ง ผลการวิจัยพบว่า การเสรมิ สร้างเครือข่ายทางสงั คมเพ่ือลดปจั จัย เสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนาในชุมชนคลองกระทงิ จังหวดั สมุทรสงคราม ดำเนินการภายใต้แนวคิด พลังบวร “บ้าน-วัด-โรงเรียน-ชุมชน-รัฐ” เป็น กลไกขับเคล่ือนรณรงค์ร่วมกัน โดยมีพระสงฆ์ที่เป็นผู้นำชุมชนทางความ เชอื่ กรณีวัดอินทารามท่ีรณรงค์ผ่านกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนา วนั พระ วนั ศีลอโุ บสถ และการเขา้ ร่วมโครงการหมู่บ้านศีล 5 ใชก้ ิจกรรมและการ รณรงค์ผ่านเกณฑ์ศีล และจริยธรรมทางศาสนา ร่วมมือกับชุมชนในการ กำกับให้ดูแลลูกหลานใกล้ชิด รวมทั้งกลไกต่างๆ ทั้งภาครัฐและตำรวจใน ก าร ก วด ขั น ก า รขา ย เห ล้ าขา ย บุ ห รี่ กั บ เย าวชน ใน ส ถา น ป ร ะ ก อ บ ก า ร หน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลในการให้ ความรู้ในวัด สถานศึกษา และชุมชนในเรอ่ื งพิษภัยของเหล้า บุหร่ี จากน้ัน ชมุ ชน (บ้าน-วัด-โรงเรียน) เข้ามาช่วยรณรงค์ส่งเสริมใหเ้ กิดการตระหนัก และเห็นความสำคัญในการให้ความรู้ เป้าหมายโดยรวม เป็นการสร้าง ความรว่ มมือ เครอื ข่ายในการบรกิ ารจัดการชุมชนรว่ มกันของพลงั “บวร” เพือ่ ลดปัจจัยเสี่ยง ตามแนวพระพุทธศาสนาในชมุ ชนคลองกระทิง จังหวัด สมทุ รสงครามดังมีผลเชงิ ประจักษ์เปน็ อัตราผู้ตดิ สารเสพติด บุหรี่ เหล้า มี สถิติน้อยมาก คำสำคัญ: การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคม; ลดปัจจัยเสี่ยงตามแนว พระพุทธศาสนา; ชุมชนคลองกระทิง จงั หวดั สมทุ รสงคราม

พระครููพิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 9 Abstract This article aims to study the approaches and mechanisms of strengthening social networks to reduce risk factors according to Buddhism in Klong Krathing Community, Samut Songkram Province. Using a qualitative study method. Study from the document related research field observation and a specific interview in the research area. And presented in an essay format. The results of the research found that Strengthening social networks to reduce risk factors according to Buddhism in Klong Krathing Community, Samut Songkram Province is an action under the concept of the power of the spirit of \"Ban- Temple-School-Community-Government\" as a mechanism to drive the campaign together with monks who are leaders of the faith community, such as the case of Intharam Temple that campaigned through Buddhist activities. Buddhist precepts day and participation in the 5 Precepts Village Project, using activities and campaigns to pass the precept criteria and religious ethical. To cooperate with the community in the supervision of children closely. Including various mechanisms, Both the government and the police in tackling the sale of

10 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน alcohol and smoking to youth in establishments. Public health agency and Tambon Health Promoting Hospital provided knowledge in temples, schools and communities regarding the danger of alcohol drinking and smoking. After that, the community (Ban, Temple, School) came to help campaign to promote awareness and awareness of the importance of educating. The overall goal is to create cooperation and network for community management services together of the power \"Bowon\" to reduce risk factors according to the Buddhism in Klong Krating community, Samut Songkhram Province. As an empirical result, the rate of drug addicts, smoking and alcohol has very little statistics. Keywords: Strengthening social networks; reducing risk factors according to the Buddhism; Khlong Krating community Samut Songkhram Province บทนำ เม่ือวันที่ 29 พฤษภาคม 2563 คณะนักวิจัยร่วมได้เดินทางลง พื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม บุคคลที่ไปพบคือพระสงฆ์ ผู้นำชุมชน และ ชาวบ้านในเขตรอบชุมชนรอบวดั อินทาราม ซ่ึงถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่วจิ ัย ภายใต้แนวคิดลดปัจจัยเสี่ยง เหล้าบุหร่ี เหล้า สุราและแอลกอฮอล์ทุก

พระครููพิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 11 ชนดิ มีผลต่อร่างกายทกุ ๆ สว่ น อาทิ สมอง ตับ ระบบทางเดินอาหาร ระบบ สบื พันธ์ุ ผลต่อทารกในครรภ์ ผลต่อการเกดิ โรคจติ ผลตอ่ วงจรการนอน ดังมีข้อมลู วา่ \"โรคมะเร็งปอด\" ซงึ่ เป็นโรคร้ายท่ีคร่าชีวติ คนไทยเป็นอันดับ ตน้ ๆ และส่วนใหญ่แลว้ ผูป้ ่วยมะเรง็ ปอดร้อยละ 90 มสี าเหตุมาจากการ สบู บุหร่ี ในความหมายถ้าประชากรแห่งรัฐ มีความทุลพลภาพ จากเหล้า บุหร่ี ก็จะกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ตอ้ งหาทนุ รอนมาดแู ลรักษาโรคท่เี กิด จากพิษภัยเหล่าน้ี หรือสญู เสียประชากรในวัยแรงงาน คนหนุ่มสาว ส่งผล ปัญหาต่อระบบสาธารณสุขในองค์รวม เช่น ระบบสุขภาวะทางจิต ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว นอกจากนี้เหล้า บุหร่ถี ูกจัดเป็น “ภัย” คุกคาม สุขภาพของมวลมนุษยชาติ มีรายงานฉบับปี 2018/2561 ขององค์การ อนามัยโลก (World Health Organization) ท่ีเปิดเผยว่า แอลกอฮอล์ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของผู้คนราว 1 ใน 20 คนทั่วโลกทุกปี หรือ เท่ากับร้อยละ 5 ซึง่ รวมท้ังการเมาแล้วขับ การใช้ความรุนแรงหรือทำรา้ ย ร่างกาย ในส่วนบุหรี่ก็ถูกจัดให้เป็นสาเหตุของความเจ็บป่วยท่ีเนื่องด้วย ระบบทางเดินหายใจ เช่น มะเร็ง ดังมผี ู้ทำการศึกษาไว้วา่ “ควันบุหร่ีมีพิษ ต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่ต้องสูดดมควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อม นิโคตินมีผลท้ัง ทางตรงและทางออ้ ม สารพิษในควันบุหร่มี ีท้งั ชนิดทเ่ี ป็นสารก่อมะเร็งและ สารก่อให้เกิดการอักเสบ ควันบุหร่ีมีผลต่อเมตาโบลิซึมของไขมัน และใน หญิงขณะตัง้ ครรภ์ควันบุหรี่มีผลเสียต่อพัฒนาการของทารกในครรภ์ การ สูบบุหรี่ไม่ทำให้ความสามารถในการจดจำดีข้ึน การสูบบุหรี่ปรุงแตง่ กลิ่น และรส บุหรี่ก้นกรอง และบุหร่ีท่ีมีนิโคตินน้อยไม่ทำให้ได้รับพิษลดลง”

12 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน (วรี วรรณ เล็กสกุลไชย, 2007) ดังน้ัน สาเหตุความเจบ็ ป่วยจากเหล้าบหุ ร่ี จึงเป็นความตระหนกของประชาคมโลก ตามท่ีองค์การอนามัยโลกได้ ประกาศแจ้งและช้ีชวน เม่ือเฉพาะมายังประเทศไทย ได้ส่งเสริมและ รณรงค์ให้เกิดการเลิกใช้สง่ิ เสพตดิ ท้ัง 2 ประเภท ส่วนในประเทศไทย ผล การสำรวจจากสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติต่อพฤตกิ รรมการสบู บหุ รแ่ี ละการดื่ม สุราของประชากร พ.ศ. 2560 พบว่า จากจำนวนประชากรอายุ 15 ปีข้ึน ไปท้ังสน้ิ 55.9 ล้านคน เปน็ ผู้ท่ดี ม่ื สรุ าหรอื เครื่องดมื่ แอลกอฮอลใ์ นรอบปที ่ี แล้วประมาณ 15.9 ล้านคน (รอ้ ยละ 28.4) โดยเปน็ ผทู้ ่ีดม่ื สม่ำเสมอ 6.98 ล้านคน (ร้อยละ 12.5) และเป็นผู้ท่ีด่ืมนานๆครั้ง 8.91 ล้านคน (ร้อยละ 15.9) กลมุ่ อายุ 25-44 ปี มอี ัตราการด่ืมสุราสูงสุด (ร้อยละ36.0) กล่มุ อายุ 20-24 ปี และ 45-49 ปี มีอัตราการด่ืมสุราใกล้เคียงกัน (ร้อยละ 33.5 และ 31.1 ตามลำดับ) กลุ่มผู้สูงวัย (อายุ 60 ปีขึ้นไป) มีอัตราการด่ืมสุรา ร้อยละ 15.2 สำหรับกลุ่มเยาวชน (อายุ 15-19 ปี) มีอัตราการด่ืมสุรา ต่ำสุด (ร้อยละ 13.6) จังหวัดท่ีมีอัตราผู้ด่ืมสุราหรือเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ สม่ำเสมอ เกินกว่าร้อยละ 40 มีจำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย (รอ้ ยละ 45.3) จังหวัดลำพูน (รอ้ ยละ 44.1) จังหวัดพะเยา (ร้อยละ 44.0) จังหวดั น่าน (รอ้ ยละ 42.4) และ จังหวดั สุรนิ ทร์ (ร้อยละ 40.6) ในส่วนบุหรี่การบริโภคยาสบู ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2560 พบว่า ประชากรท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป เปน็ ผู้สูบบุหร่ี 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 19.1) อัตราการ บริโภคยาสูบตามกลุ่มอายุ15-18 ปีเท่ากับร้อยละ 7.8 โดยใน ภาพรวม อัตราการสบู บุหรี่มีแนวโน้มลดลง ยกเวน้ กลมุ่ อายุ 19-24 ปี จาก

พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 13 ปี พ.ศ.2534-2560 อัตราการบริโภคยาสูบของประชากรเพศชายมีอัตรา การเปล่ียนแปลงที่ลดลงน้อยกวา่ เพศหญงิ คอื รอ้ ยละ 36.42 และรอ้ ยละ 66 และเพศหญิงมีอัตราการบรโิ ภคยาสบู ตำ่ สุดจากทุกปีที่ผา่ นมา คือรอ้ ย ละ 1.7 ในปี พ.ศ.2560 10 จังหวัดทม่ี ีอตั ราการบริโภคยาสูบสูงสุด ได้แก่ 1) กระบี่, 2)นครศรีธรรมราช, 3) สตลู , 4) สกลนคร, 5) ระนอง, 6) สงขลา , 7) อุดรธานี, 8) สุราษฎร์ธานี, 9) พัทลุงและ 10) ตรัง ตามลำดับ โดย จังหวดั ที่มีอัตราลดลงจากปีพ.ศ.2554 คือ สตูล ลดลงจากร้อยละ29.42 เป็น 26.9, ระนอง ลดลงจาก 27.64 เป็น 25.5, สุราษฎร์ธานี ลดลงจาก 26.97 เป็น 24.4, และ ตรัง ลดลงจาก 26.39 เป็น 24.2 ท่ีเหลืออีก 6 จังหวัด เพ่ิมขนึ้ อัตราการได้รับควันมือสองรายจังหวัดสงู สุดสิบอันดับ ส่วน ใหญ่ ก็สอดคล้องกับอัตราบริโภคยาสูบรายจังหวัด (ศูนย์วิจยั และจัดการ ความรู้เพื่อควบคุมยาสูบ, 2019, รายงานสถิติการบริโภคยาสูบของ ประเทศไทย พ.ศ.2561) เหล้าบุหรี่เป็นปัญหาที่ต้องได้รับการจัดการ รวมท้งั เขา้ ไปแกไ้ ขเพื่อลดปัจจยั เส่ียงตอ่ การเสพ และใช้สิ่งเสพติดประเภท เหล้าและบุหร่ี โดยมีผลปลายทางเป็นสุขภาวะองค์รวมของประชากรใน ประเทศ เม่ือจำเพาะไปเฉพาะพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสงคราม ได้มีความ ตระหนกั และเห็นความสำคัญดังกล่าวไดม้ ีการดำเนนิ การวิจัยเพ่ือศกึ ษาถึง แนวทางในการการเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพ่ือลดปัจจัยเส่ียงตาม แนวพระพุทธศาสนาในชมุ ชนคลองกระทิง จังหวัดสมทุ รสงคราม และใน การเขียนบทความนี้เป็นการสังเกตผ่านคณะนักวิจัย และนำมาบันทึก สะท้อนคิดถึงแนวคิด ข้อมูลเชิงพื้นท่ี เชิงประจักษ์ สะท้อนคิดถึงแนวคิด

14 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ถอดบทเรียนจากพน้ื ที่วิจัยของชุมชนคลองกระทิง อำเภออัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม นำมาเป็นชุดข้อมูลความรู้ท่ีเก่ียวข้องเพื่อประโยชน์ในการ เสริมสร้างเครอื ขา่ ยทางสังคมเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพุทธศาสนา ในชมุ ชนคลองกระทิง จงั หวดั สมทุ รสงคราม การเสริมสร้างเครือข่ายทางสังคมเพ่ือลดปัจจัยเส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนา ในการลงพ้ืนที่วิจัย เพื่อสำรวจข้อมูล พบผู้นำชุมชน ผู้นำทาง ศาสนาอนั หมายถึงพระสงฆ์ เช่น หลวงพอ่ แดง นนฺทโิ ย (เจา้ อาวาสวดั อิน ทาราม) หลวงพี่เอกลักษณ์ อชิโต ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และผู้นำชุมชน ใน ระดับท้องถ่ิน คือผู้ใหญ่บ้าน หน่วยราชการสถานศึกษาโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (รพสต.) ในการเย่ียมพบปะ ทำให้ได้ข้อมูล ความโดดเด่นในพ้ืนที่คลองกระทิง ด้วยเป็นชุมชนขนาดไม่ใหญ่นัก มี สถานภาพทางเศรษฐกิจท่ดี ี เป็นชุมชนเกษตร ที่มีความโดดเด่นโดยมีการ พัฒนาให้เป็นการท่องเท่ยี วเชงิ เกษตร มจี ดุ ขายเป็นตลาดสินคา้ เกษตรและ การท่องเท่ียวทางน้ำ มีการบริหารพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวทั้งในส่วน โบราณสถานคือวัดในพระพุทธศาสนา จัดให้มีการดำเนินเครือข่ายทาง พระพุทธศาสนา ใช้เป็นกลไกรณรงค์รว่ มผ่านโครงการหมบู่ ้านศลี 5 คณะ นักวิจัยจึงได้ลงพื้นที่สัมภาษณ์ เก็บข้อมูล และทวนสอบกิจกรรมท่ี เก่ยี วเนอ่ื งกันระหวา่ งวดั ชุมชน พระสงฆ์ ผ้นู ำชุมชน ชาวบ้าน ตอ่ กิจกรรม ท่มี เี ป้าหมาย และสง่ ผลเปน็ การขับเคล่ือนรณรงค์ลดปจั จัยเส่ียงเกี่ยวกับส่ิง

พระครููพิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 15 เสพติด ที่เกิดข้ึนในชมุ ชน ภาคเี ครือข่าย จากการสัมภาษณ์และเกบ็ ข้อมูล ได้ข้อสรุปในบทบาทของวดั พระสงฆ์ และผู้นำชุมชนว่าไดเ้ ข้าไปมีส่วนต่อ การแสดงออกในเรอ่ื งของการเขา้ ไปรณรงคล์ ดปจั จยั เสี่ยงได้ คอื ภาพท่ี 1 คณะนักวจิ ยั ลงพืน้ ทเี ก็บข้อมลู วจิ ัย จากผนู้ ำชุมชนฝ่ายศาสนา และบ้านเมือง และประชาชนในเขตชุมชนคลองกะทิง จงั หวดั สมุทรสงคราม ทม่ี า: ผเู้ ขียน (2563) 1. พระสงฆ์กับการรณรงคล์ ดปัจจัยเส่ียงผ่านโครงการหมู่บ้าน ศีล 5 หมายถึง วดั อนิ ทาราม ที่เป็นวัดแกนนำทเี่ ข้ารว่ มโครงการหมูบ่ า้ นศลี 5 ด้วยเจ้าอาวาสเป็นฝ่ายกครองคณะสงฆ์ระดับอำเภอ จึงได้รับเป็น นโยบายดำเนนิ การขบั เคลือ่ นร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยในนามโครงการหมบู่ ้าน ศีล 5 ร่วมกับคณะสงฆ์ระดับวัด ตำบล อำเภอ และจังหวัดภายในเขต จังหวัดสมุทรสงคราม โดยเป็นการรณรงค์ภายใต้กรอบของโครงการ หมู่บ้านศลี 5 อันหมายถึง (ก) ใช้วิธกี ารทางศาสนา หรือวัด หรือพระสงฆ์ เปน็ ส่วนสนับสนนุ รณรงค์ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติ (ข) การส่งเสริมให้เกิด อาชีพและรายได้ (ค) การส่งเสรมิ ผ่านกจิ กรรมพเิ ศษในรปู แบบของวดั และ ศาสนา เช่น สนับสนุนทุนการศึกษาแก่พ่อแม่ครอบครัวท่ีปลอดอบายมุข การจัดอุปสมบท บรรพชาสามเณรเพื่อเปน็ การรณรงค์ร่วมกนั ภายในชมุ ชน

16 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ในการจดั กจิ กรรมโครงการหมู่บ้านศลี 5 เฉพาะกรณขี องการลดเหล้า ตาม หลกั ศีลข้อท่ี 5 ท่ตี ้องส่งเสรมิ ผ่านการให้ศีล กำหนดกระตุ้นเปน็ นโยบายว่า เป็นขอ้ ห้ามในวดั ต่าง ๆ ในกิจกรรมที่เป็นบุญพิธี วิถีทางศาสนา เช่น งาน บวช งานแต่ง งานศพ หรืองานที่เน่ืองด้วยบุญพิธี ศาสนพิธีจึงต้องมีการ ห้ามหรือห้ามเก่ียวข้องต่ออบายมุกทุกชนิดโดยเฉพาะเหล้าบุหรี่ เป็นต้น เป็นการห้ามในฐานะเป็นพิธีทางศาสนา (๒) ใช้ศีลเป็นเง่ือนไขไปสู่การ รณรงค์ภายใต้กรอบเป็น “บัญญัติ” หรอื เกณฑ์ทางจรยิ ธรรมในศาสนา ท่ี หา้ มชาวพุทธดื่ม บริโภค รวมไปถึงการค้า ขาย จนกระทั่งไม่ให้มใี นชุมชน เป็นต้น ภาพท่ี 2 เกบ็ ข้อมลู วจิ ัย สมั ภาษณผ์ ู้นำชมุ ชน ประชาชน โดยคณะนักวิจยั ในพื้นท่ี วจิ ยั ตำบลเหมืองใหม่ จงั หวดั สมุทรสงคราม พร้อมรณรงค์ลดปัจจยั เส่ยี งจากเหลา้ บุหร่ี ในสถานการณโ์ ควดิ 19 ด้วย ที่มา: ผูเ้ ขยี น (2563) 2. พระสงฆ์กับการส่งเสริมผ่านวิถีประเพณีบุญทานในทาง ศาสนา หมายถึง ในกรณีที่บ้านใด มีงานบุญท่ีต้องนิมนต์พระเข้าไป ใน บ้านก็รณรงค์ให้ชาวบ้านเลิกการใส่บุหรี่ ให้พระหรือถวายพระ ซ่ึงใน ปัจจุบันไม่มีการถวายพานหมากพลูบุหร่ีในแบบเดิม ซ่ึงนัยหนึ่งเป็นการ รณรงค์ผ่านบุญพิธี บุญประเพณี เทศกาลทางศาสนา ในกรณีของการจัด

พระครููพิิศิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 17 งานในวัด หรือบ้านต้นแบบ จะไม่ให้มีการดื่มสุรา หรือเคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์ ทุกชนิด เป็นต้น ซ่ึงจะมีบางส่วนท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ รณรงค์นี้ แต่ก็มีบางบ้านที่อาจจะดว้ ยความเคยชินยังไม่ได้เข้าร่วม แตก่ ็ให้ เกียรติต่อวัด พระสงฆ์ไม่ได้ให้มีในช่วงพิธกี าร แต่กินหรือด่ืมเม่ือพระสงฆ์ กลับวัดไปแล้ว เปน็ ต้น ภาพที่ 3 เก็บขอ้ มูลวจิ ัยในพน้ื ท่ีวจิ ัย ผนู้ ำชุมชน ผูป้ กครองภายในชมุ ชน ตำบลเหมอื งใหม่ จงั หวัดสมุทรสงคราม ท่มี า: ผเู้ ขยี น (2563) 3. พระสงฆ์กบั การรณรงค์ในเทศกาลเข้าพรรษา ภายใต้แนวคิด “งดเหล้าเข้าพรรษา” ซึง่ ใชเ้ ทศกาลวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา คือวัน เข้าพรรษาท่ีมีช่วงเวลา 3 เดอื นในชว่ งฤดูฝนมาเป็นกลไกในการเลิกเหล้า หรอื ใช้เป็นเวลาและเงื่อนไขในการกำหนดมาแนวทางในการส่งเสริม หรือ รณรงค์ แม้แนวคิดเร่ืองงดเหลา้ เขา้ พรรษา จะเป็นแนวคิดที่ถกู รณรงคจ์ าก ภาคส่วนอื่น ๆ ภายใต้งบประมาณ หรือการสนับสนุนเชิงระบบ แต่คำว่า

18 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน “เขา้ พรรษา” เป็นคำในพระพุทธศาสนา และแนวคดิ เรื่องศีล แนวคิดเรื่อง อบายมุข หรือแนวคดิ ส่ิงเสพติดเป็นยาพิษ (น้ำเมา-มิจฉาวาณิชา) ให้บุหรี่ เหลา้ เทา่ กับให้ยาพษิ เป็นแนวทางหรือวิถีในทางพระพทุ ธศาสนาที่รณรงค์ ส่งเสริมในองคร์ ่วมมาอย่างต่อเนื่องอยู่แลว้ จงึ ทำให้เกิดภาวการณร์ ณรงค์ กลาย ๆ อีกแบบหนึ่ง พระสงฆ์ วดั ทม่ี ีแผน่ ป้ายประชาสัมพนั ธร์ ณรงค์ จงึ มี สถานะของการลดเหลา้ เข้าพรรษาดว้ ย ภาพท่ี 4 บทบาทของวดั อินทาราม ในฐานะตวั แทนฝา่ ยพระสงฆ์ ฝ่าย ศาสนากบั การรณรงค์สง่ เสรมิ ผ่านวถิ ที างศาสนาในการลดปจั จัยเส่ียง ท่ีมา: ผเู้ ขียน (2563) 4. พระสงฆ์กับการรณรงค์ในความเป็นแบบอย่าง หมายถึง วิถี ชวี ิตของพระมีภาพลักษณ์ที่เป็นแบบอยา่ งภายใต้แนวคิด “พูดได้ สอนได้ เปน็ แบบอย่างได้” (ยถา วาที ตถา การี- สอนอยา่ งไรปฏิบตั ิอย่างน้ัน) การ ท่นี ักบวชพระพทุ ธศาสนา สกู่ ารรณรงคง์ ดเหลา้ บุหรี่ เช่น ในวัดมีหลวงพ่อ ทเ่ี คยเมาตอนก่อนบวช พอบวชได้ ก็เลิก และสุขภาพดีขึ้น และได้รับการ ยอมรบั ว่าพฤตกิ รรมเปล่ียน การยอมรบั ในเชงิ สังคมกก็ ลบั คนื มา แบบอย่าง เหล่านี้เป็นส่ิงสะท้อนสอนคนในชุมชนได้ในอีกแบบหน่ึง นับเป็น

พระครููพิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 19 ปรากฏการณ์รว่ มของการลงพนื้ ทวี่ ิจยั เม่อื สมั ภาษณ์จากข้อมลู ของสมาชิก ในชุมชน จะใหข้ ้อมลู คล้ายกันว่าหลวงพ่อเทศน์สอน และให้คำสอนในทุก วนั พระเม่ือตัวเองไปบวชศีลอุโบสถ ในวัด ถึงแม้จะเป็นผูส้ ูงอายุ แตส่ ะทอ้ น ใหเ้ ห็นวา่ เปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ในเชงิ ปฏิบัตติ ่อบทบาทของพระ ท่ีไม่ไดท้ ำทางตรง ก็ทำหรือดำเนนิ การในทางออ้ มด้วยเชน่ กัน ตาราง 1 กรอบการทำงานลดปัจจัยเสี่ยงจากเหล้าบุหร่ี ในเขตจังหวัด สมทุ รสงคราม พืน้ ที่ กระบวนการทำงาน ผลลัพธ์ วดั ในเขตจงั หวดั 1.การรณรงคโ์ ครงการหมบู่ ้าน 1.การปฏบิ ัติตามแนวทาง สมุทรสงคราม ศลี 5 ผา่ นวัดพระสงฆ์ และผนู้ ำ ของวัด พระสงฆ์ ผนู้ ำด้าน พระสงฆแ์ กนนำ ชุมชน สาธารณสุข อนั หมายถงึ วดั 2.การรณรงคผ์ า่ นการส่อื สาร 2.ประชากรลดเหลา้ เลิก พระสงฆ์ ใน ธารณะ ในรูปของแผ่นโปสเตอร์ บุหรี่ มีสัดสว่ นลดลงตาม กิจกรรมโครงการ รณรงค์ การพูด การแสดงธรรม การรณรงค์ หมู่บา้ น ศีล 5 ในโอกาสต่าง ๆ ภายใต้กรอบ 3.สุขภาพองคร์ วมของ ของศลี ประชาชนในชุมชนคลอง 3.การรณรงคผ์ า่ นบญุ ประเพณี กระทิงและชมุ ชนรอบวดั บวชงดเหล้า งานศพงดเหล้า ในเขตจงั หวดั (รวมทั้งบุหรี่ การพนันฯ) สมุทรสงครามดีขึ้น มี 4.การบทบาทของพระสงฆ์ใน สุขภาพองคร์ วมดีข้นึ ทั้ง การทำกจิ กรรมเชิงรณรงค์ จัด สขุ ภาพกาย จิต เป็นตน้ บวชสามเณร อุปสมบท อบรม

20 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน สมาชิกในชุมชนคลองกระทิง และชมุ ชนรอบวัดในเขตจงั หวดั สมทุ รสงคราม ดงั น้ันจากภาพรวมพระสงฆ์ วัด และเครือข่าย จงึ เข้าไปมีบทบาท ในการรณรงค์ส่งเสริมให้เกิดการขบั เคล่ือนภายใต้แนวคิด ห่างไกลสิ่งเสพ ติด เหล้า บุหร่ี และอบายมุข เพื่อสุขภาพและสุขภาวะ อนามัยของ ประชาชนในเขตชมุ ชนคลองกระทิง จงั หวัดสมุ ทรสงคราม ชุมชนคลองกระทิง จังหวัดสมุทรสงคราม กับเครือข่ายเพ่ือลด ปจั จยั เสย่ี งตามแนวพระพทุ ธศาสนา นอกจากนี้ในสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นเก่ียวกับเหล้า บุหร่ี เมื่อต้อง จำเพาะไปทีจ่ ังหวดั สมุทรสงคราม พบวา่ ประชากรจงั หวดั สมทุ รสงครามท่ี มีอายุ 15 ปีขนึ้ ไปท่สี บู บุหร่ี รอ้ ยละ 17.29 ซึ่งลดลงจากเดิมเม่อื เทียบกับปี พ.ศ. 2554 ทีพ่ บอัตราการสบู บหุ รี่ของประชากร รอ้ ยละ 18.32 (ศูนย์วิจัย และจดั การความรเู้ พื่อควบคุมยาสูบ, 2561) จากอตั ราท่ีลดลง มีการเข้าไป ดำเนนิ การและพยายามเพอื่ ลดปัจจัยเส่ียงจากเหลา้ บหุ ร่ี โดยส่วนหนึ่งเป็น ผลมาจากการลงพืน้ ทอ่ี ย่างจริงจังของสาธารณสขุ จงั หวัดร่วมกับเครอื ขา่ ย อสม. ในการรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักรู้ถึงพิษภัยของบุหรี่และเหล้า อย่างจริงจัง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ อาทิเช่น กระบวนการสร้าง ความเชื่อม่ัน เป็นตน้ ซ่งึ กระบวนการในชว่ งแรกเน้นไปทกี่ ารลงพนื้ ทจี่ ดั เวที สร้างความเข้าใจให้กับคนในชุมชน เพ่ือให้เข้าถึงเป้าหมายของการทำ

พระครูพู ิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 21 โครงการ แต่ด้วยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุทำให้การลงไปชวนคุยเรื่อง เหล้า บุหร่ีโดยตรงไม่ประสบความสำเร็จ ดังน้ันจึงมีการนำเคร่ืองมือ ประวัติศาสตร์ของชุมชนเข้ามาใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ ซ่ึง “การ พูดคุยในเร่ืองความสุขของอดีต ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดี ของคนใน ปัจจุบัน” ทำให้กระบวนการในการพูดคุยมีบรรยากาศที่เป็นมิตรและ พร้อมพูดคุยในทกุ เรือ่ ง เป็นการจัดเวทีที่เน้นกระบวนมีสว่ นรว่ มไม่ใช่การ ลงไปสัมภาษณ์เพ่ือมุ่งหวังข้อมูล แต่เป็นเวทีพูดคยุ ทเี่ นน้ ความสุขและเปิด พื้นท่ีใหท้ ุกคนได้เล่า และแสดงความคิดเห็นของตนเอง เมื่อทำบ่อย ๆ เข้า จึงกลายเป็นความคุ้นเคย เม่ือเปลี่ยนจากเวทีประวัติศาสตร์เป็นการเก็บ ขอ้ มูลสถานการณ์เร่อื งบุหร่ี เหล้า ก็ไม่ใช่ปัญหา เมื่อทุกคนพร้อมท่ีจะเล่า อย่างเปดิ ใจ ในสว่ นสถานการณ์พืน้ ฐานในหมบู่ ้านคลองกระทงิ ซ่ึงเป็นหมู่บา้ น ขนาดเลก็ ต้ังอยู่ในตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ประกอบด้วย 85 ครวั เรอื น มีประชากรทัง้ สน้ิ 375 คน ประชาชนสว่ นใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดต้ัง กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลติ ยามว่างชาวบ้านมกั รวมกลุ่มกันเป็นจิตอาสา พัฒนาสังคม ตามโครงการลงแขกลงคลอง มีการจัดตั้งชุดรักษาความ ปลอดภัยของหมู่บ้าน กลุ่มอาสาสมคั รสาธารณสุข (อสม.) และกลุ่มพัฒนา เด็กและเยาวชน (พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ, 2563) สำหรับสถานการณ์ ดา้ นบุหร่ีและเหล้าพบว่า ประชาชนทต่ี ิดบุหรี่ หรอื เหล้า เปน็ สัดสว่ นที่น้อย จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏ ประกอบกับชุมชนเป็นชุมชนท่ีอยู่ด้วยวิถีทาง

22 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน เศรษฐกิจชุมชน มวี ัด พระสงฆ์ และพระพทุ ธศาสนาเป็นฐานของชุมชน มี สถาบันการศึกษา โรงเรยี นเป็นหนว่ ยร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ ดังนัน้ ใน การวจิ ัยนี้จึงมีแนวคิดในเรื่องการ “บวร/บวช : บ้าน/ชมุ ชน-วดั -โรงเรียน/ ราชการ” 4 ประสาน มาเป็นฐานสร้างกลไกลดความเสีย่ งจากการส่ิงเสพ ติดทง้ั เหล้าบุหร่ีในชุมชนหมบู่ ้านกระทงิ ด้วยตระหนักว่า วดั พระสงฆ์ ชาว พทุ ธ พุทธศาสนาเป็นหน่วยทางสังคม ซ่ึงประกอบด้วยคน มีระเบียบแบบ แผนการปฏิบัติ ท่ีมีการจัดต้ังเป็นกิจจะลักษณะและเป็นทางการ ท่ี ประกอบด้วย นักบวช คฤหัสถ์ คณะสงฆ์ วัด และกลุ่มบุคคลที่รวมตัวกัน เพื่อดำเนินการทางพุทธศาสนารูปแบบต่างๆ ทั้งเป็น “สถาบัน” ที่มี กฎ กติกา มีจุดมุ่งหมาย และมีความชอบธรรมในการดำรงอยู่และการทำ กิจกรรม ตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับพุทธศาสนา หรือ อาศัยหลักธรรมในพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนไปสู่ เป้าหมายของตน นอกจากนี้ยังปรากฏงานวิจัยท่ีสะท้อนถึงบทบาทของ พระสงฆ์ วดั และพระพุทธศาสนาต่อชมุ ชน ทเ่ี ข้าไปมบี ทบาทพัฒนาชมุ ชน ดังปรากฏในงานวิจัย เชน่ บทบาทพระสงฆ์กบั การพฒั นาชมุ ชนต้นแบบวถิ ี พทุ ธ : กรณีศึกษาหลวงพ่อแดง วัดอนิ ทาราม จังหวัดสมุทรสงคราม (พระ ปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, 2561) บทบาทการพัฒนาชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยูร), 2560) ท้ังมีการเข้าไปรณรงค์สง่ เสริมการลดเหล้า บุหรี่ และสิ่ง เสพติดอ่นื ๆ ผ่านแนวคิดเรื่องศีลในพระพุทธศาสนา ดงั ปรากฏโครงการ หมู่บ้านศีล 5 กับงานวิจัยที่ให้ผลการศึกษา เร่ือง “แนวคิด ตัวช้ีวัด

พระครูพู ิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 23 องค์ประกอบ บทเรียน และบูรณาการตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5” (พระมหายทุ ธนา นรเชฏโฐ (ศิรวิ รรณ) และจุฑารัตน์ ทองอนิ จันทร์, 2561) วิเคราะห์กิจกรรมเชิงพุทธตามโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 กับการหนุน เนอ่ื งคุณคา่ นิยม 12 ประการ (สมคดิ พุ่มทุเรยี นและคณะ, 2562) รูปแบบ การขบั เคลอื่ นนโยบายหมบู่ า้ นรกั ษาศีล 5 ให้ประสบความสำเรจ็ (วณิฎา ศิ รวิ รสกุล และวัชรินทร์ อินทพรหม, 2561) รวมท้ังการใช้บทบาทนำของ พระสงฆ์ เปน็ ปัจจยั สำคญั ในการรณรงค์ส่งเสริม ดงั ปรากฏในงานวจิ ัย เช่น การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการเสริมสร้างสุขภาวะและเครือข่ายทาง สังคม เพอ่ื ลดเหล้าบุหรี่เชงิ พุทธบรู ณาการในจังหวัดนนทบรุ ี (พระอุดมสทิ ธิ นายก (กำพล คณุ งฺกโร) และพระมหานกิ ร ฐานุตตฺ โร, 2562) กระบวนการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของพระสงฆ์สู่การเป็นต้นแบบปลอด บุหรี่ จังหวัดเลย (พระครูปริยัติสาทร, 2562) รูปแบบการมีส่วนร่วมของ พระสงฆใ์ นการแกไ้ ขปญั หาการติดยาเสพติด ในเขตปกครองคณะสงฆภ์ าค 2 (พระครูพินิตปริยัติกิจ (สมบัติ วรธมฺโม), 2561) ซึ่งจากข้อมูลวิจัยจะ พบวา่ พระพุทธศาสนา คำสอนทางพระพทุ ธศาสนา วัด และพระสงฆ์ ยังคง มบี ทบาทนำในการส่งเสรมิ กระตุ้น หรอื รณรงค์ ให้เกดิ การปฏบิ ตั ิ หรือไม่ ปฏิบัติโดยมีกรอบ ของบุญ ทาน ศีล ภาวนา เป็นฐานในการขับเคลื่อน ดังน้นั กระบวนการในการลดปจั จยั เส่ียงจากการด่ืมแอลกอฮอล์และการสบู บุหรี่ ตามหลักพระพุทธศาสนา จึงจะเป็นแนวทางหน่ึงในการลด ละ เลิก หรือยุติการใช้ เสพ โดยมีแนวทางที่เป็นกลไกการปฏิบัติจากการต้ังจิต อธษิ ฐานบวชใจ (จิตตสังวร) สมาทานถือเวน้ โดยสง่ เสริมให้เกิดการทำทาน

24 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน (ทาน-จาคะ) ท่ีหมายถึงการให้ เสียสละแก่คนรอบข้างด้วยการควบคุม ตนเอง โดยมีบุญและบารมีทางพระพุทธศาสนาเป็นเป้าหมายปลายทาง เพ่ือยกจิตพัฒนาใจ ลด ละ เลิก (เหล้า-บุหรี่) โดยมีบุญ ทาน เป็น เป้าประสงค์นำจิตไปสู่ปลายทางตามคติทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็น รูปแบบและกระบวนการที่สามารถลดปัจจัยเส่ียงจากการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และการสูบบุหร่ีได้ จากการทบทวนเอกสาร รายงานวิจัยท้ัง จากกรณีประเทศไทย และต่างประเทศ พบว่าในกระบวนการเพ่ือการ บำบัดฟื้นฟูหรือการใช้โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ จะมีวิธีการใช้วิธี เจริญ สมาธิภาวนาร่วมด้วย การใช้สมาธิเป็นตัวช่วยกระตุ้นท่ีสำคัญและใช้การ ภาวนาหรอื การสรา้ งวิธีการ ตระหนกั รู้ดา้ นในอยา่ งจรงิ จงั จนกระทั่งตนเอง สัมผัสและรบั รูไ้ ด้ถึงโทษการดม่ื เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอลแ์ ละการสูบบุหร่ี การ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการแบบ ผสมผสานเพ่ือให้เกิดแรงบันดาลใจ สร้างความตระหนักรู้ผ่านบุคคลากร ทางพระพุทธศาสนาและบุคคลท่ีเก่ียวข้องเป็นรูปแบบที่อาจเรียกว่ าการ “ผนึก ผสาน” ระหวา่ ง พระสงฆ์ บุคลากรสาธารณสุข ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น กิจกรรมท่ีโครงการได้เลือกใช้ให้ เหมาะสมกับผู้เข้าร่วมโครงการ ส่วน แนวทางกระบวนการท่ีใช้เพ่ือลดปัจจัยเส่ียงในกรณีศึกษาในต่างประเทศ น้ัน เน้นกระบวนการเชิงวิจัยและอาศัยนักบำบัดที่เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และดูแลกำกับตลอดโปรแกรมอย่างเข้มข้น จริงจัง (กลไกไตรพัฒน์-ศีล/ สมาธิ/ปัญญา) โดยมีวิธีเจริญสติเป็นเครื่องมือ และกลไกหลั กใน กระบวนการ ท้ังวิธีการอธิษฐานบวชใจ (สมาทาน-ยกจิต-ต้ังใจ) ที่มี

พระครููพิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 25 ผลการวิจัยยืนยันว่าเป็นเง่ือนไขหรือ องค์ประกอบสำคัญที่สามารถลด ปจั จัยเส่ียงในการด่ืมเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลแ์ ละการสูบบุหรี่ได้ ในบางกรณี สามารถทำใหผ้ ้รู บั การบำบดั ฟน้ื ฟไู มก่ ลบั มาดืม่ หรือสูบซ้ำได้ เพราะเหตุน้ีเพื่อเป็นการถอดองค์ความรูแ้ ละกระบวนการในการ ลดปัจจัยเส่ียงของหมู่บ้านคลองกระทิง ตำบลเหมืองใหม่ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม นำไปสกู่ ารจัดกจิ กรรมเชิงสรา้ งสรรคข์ องพลงั “บวร- บวช” บ้าน-วัด-โรงเรียน-ชุมชน ในการลดปัจจยั เสี่ยงของหมู่บ้าน ผวู้ ิจยั จึง สนใจศึกษาวิจัยเรื่อง พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้าง เครือข่ายลดปัจจัยเส่ียงตามแนวพระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม เพ่ือนำเสนอโมเดลต้นแบบในการลดปัจจัยเสี่ยงแก่หมู่บ้านในการแก้ไข ปัญหา เป็นชุมชนต้นแบบในการแก้ปัญหาลดปัจจัยเส่ียงให้เป็นชุมชน ต้นแบบตามแนวพระพทุ ธศาสนาต่อไป การลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลวิจัยชุมชนคลองกระทิง จังหวัด สมุทรสงคราม เม่ือวันท่ี 29 พฤษภาคม 2563 ได้เป็นคณะนักวิจัยร่วม และ เดินทางร่วมกับคณะในการลงพ้ืนที่จังหวัดสมุทรสงคราม และพ้ืนที่ในการ เดินทางเป็นวัดอนิ ทาราม อ.อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม บุคคลที่ไปพบ คือพระสงฆ์และชาวบ้านในเขตรอบชุมชนรอบวัด ซึ่งถูกกำหนดให้เป็น พ้ืนที่วิจัย การเดินทางก็เร่ิมแต่เช้าของวัน มีผู้ร่วมเดินทางประกอบด้วย พระมหากฤษฏา กิตติโสภโณ, ผศ.ดร. ผศ.ดร.ประเสรฐิ ธิลาว ดร.สุภัทรชัย

26 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน สสี ะใบ เพอื่ ไปรว่ มทีมกับ ดร.พระครูพิศษิ ฏ์ประชานาถ (แดง นนฺทิโย) รอง เจ้าคณะอำเภออัมพวา และหลวงพ่ีเอกลักษณ์ อชิตโต ท่ีวัดอินทาราม จุด ตั้งต้นของการทำวิจัย เร่ิมด้วยการลงพื้นท่ี การนำส่ิงของเคร่ืองอุปโภค บริโภค ไปจัดมอบช่วยเหลือใหก้ ับประชาชนในสถานการณ์โควิด 19 ด้วย เพ่อื เชื่อมประสานเป็นบทบาทของพระสงฆ์กับการช่วยเหลือประชาชนใน สถานการณ์ยากลำบาก เป็นการเชื่อมประสานผ่านแนวคิด “ททมาโน ปิ โยโหติ” ผูใ้ ห้ย่อมเป็นท่ีรักของผถู้ ูกให้ ใชก้ ารให้เป็นแนวทางการประสาน เชื่อมระหวา่ งชุมชน ซงึ่ ตรงกับหลกั สงั คหวตั ถุ (ทาน) เครื่องผกู นำ้ ใจของคน ในชุมชน เกิดคำถามวา่ ทำไมต้องรณรงค์เหล้าบุหรี่กันล่ะ ก็ต้องตอบไปว่า สุราและแอลกอฮอล์ทุกชนิดมีผลต่อร่างกายทุกๆ ส่วน อาทิ สมอง ตับ ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ผลต่อทารกในครรภ์ ผลต่อการเกิด โรคจิต ผลต่อวงจรการนอน ดังมขี ้อมลู ว่า \"โรคมะเร็งปอด\" ซง่ึ เปน็ โรครา้ ย ทคี่ รา่ ชวี ิตคนไทยเป็นอันดับต้น ๆ และสว่ นใหญแ่ ล้ว ผ้ปู ว่ ยมะเร็งปอดรอ้ ย ละ 90 มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ ในหลักการถ้าประชากรในรัฐใด มี ความทุลพลภาพ จากเหลา้ บุหรี่ กจ็ ะกระทบต่อระบบเศรษฐกจิ ต้องหาทนุ รอนมาดูแลรักษาโรคท่ีเกิดจากพิษภัยเหล่าน้ี หรือสูญเสียประชากรในวัย แรงงาน คนหนุ่มสาว ส่งผลปัญหาต่อระบบสาธารณสุขในองค์รวม เช่น ระบบสุขภาวะทางจิต ปฏิสัมพนั ธ์ในครอบครวั และอกี หลายสถาน จึงเป็น ที่ ม า ข อ ง ห น่ วย ง า น ท่ี เกี่ ย วข้ อ ง จ ะ ต้ อ ง ศึ ก ษ า แ ล ะ เส น อ แ น วท า งแ ล ะ มาตรการในการป้องกัน แก้ไข หรือปรับปรุงให้ดีข้ึนโดยมีเป้าหมายเพื่อ สุขภาพในองค์รวม ดังนั้นการทำวิจัย การเก็บข้อมูลวิจัยในเรื่องนี้ จึงอยู่

พระครููพิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 27 ภายใตเ้ ง่อื นไขน้ดี ้วย ท้ังในการเขยี นบทความนจ้ี ะได้นำมาเล่าแบ่งปนั ถอด องค์ความรู้จากพื้นท่ีวิจัย เพ่ือประโยชน์เป็นองค์ความรู้ และนำไปใช้ ประโยชน์เสนอเป็นแนวปฏิบัติสื่อสารต่อสาธารณะ เพื่อหวังผลเป็นการ ปรับเปลย่ี นพฤติกรรม “ลดปจั จัยเสี่ยง” จากเหล้าและบุหร่ี จนกระท่งั มี สขุ ภาวะที่ดใี นองค์รวม ผลการเก็บข้อมูลวิจัยในพื้นท่ีวิจัยชุมชนคลองกระทิง จังหวัด สมทุ รสงคราม ในการเก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ภายใต้สถานการณ์โควิด วิธกี ารเข้าไปชุมชน คณะนกั วิจยั ได้ลงเกบ็ ข้อมลู โดยมีพระภกิ ษสุ งฆจ์ ากวัด อินทาราม ในฐานะเป็นเจ้าของพ้ืนท่ีภายในชมุ ชนชน และมคี วามสมั พันธท์ ่ี ดกี ับชุมชนอยู่แล้ว โดยทางวัดได้มีเครือ่ งอุปโภค บริโภคไป จัดมอบให้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ดังนั้นความสัมพันธ์ เชิงความเชือ่ และปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างชุมชนกับพระสงฆ์ จึงทำให้ เราไปพบกับแพทย์สาธารณสุข อสม พระสงฆ์ และผู้นำชุมชนที่เป็น กลุ่มเป้าหมายในการเก็บขอ้ มูลสัมภาษณ์ สนทนาแลกเปลยี่ น เช่น (1) นาง ลาภ สุทธิแสง (2472) อายุ 92 ปี (2) นางสาวอารยี ์ สุทธแิ สง (2498) (3) น.ส.บุบผา แดงสกุล (2497) (4) นางไพลิน ม่วงศรี (2497) (5) นางสาว เฟือน จงจุดเทียน (2480) (6) นายสมัย ลัดดาวัลย์ (2487) (7) นายญา วัชร์ วรรณสกุล (2519) (8) นางสาวศิริพร ปุณยเวชสุนทร (2538) (9) นางสาวพิลาวรรณ เกิดสมบูรณ์ (2528) และอีกหลายท่าน เป็นต้น โดย

28 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน เปน็ การพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ และเย่ียมพบปะ โดยเป็นกจิ กรรมแจก เครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภค สมั ภาษณ์เกบ็ ข้อมลู สังเกตการณต์ อ่ สถานการณข์ อง สิ่งเสพติดภายในชมุ ชน “คลองกระทิง” ดังนน้ั ประชาชนทส่ี อบถามจงึ เป็น เสมือนหน่งึ ตวั แทนของชุมชน สองส่วนคอื วดั พระสงฆ์ และชาวบา้ น ทำให้ ได้ข้อมูลเกยี่ วกบั สถานการณ์สง่ิ เสพติดภายในชุมชน เม่ือได้ขอ้ มลู ภาพรวม นอกจากนี้จากการสัมภาษณ์ ผู้ใหญบ่ ้านในฐานะผูน้ ำชุมชนในฐานะตวั แทน ภาครัฐ ที่เชื่อมกับประชาชนในพื้นที่ทำหน้าท่ีประสานและให้ข้อมูลวา่ ใน ชมุ ชนมีคนสูบบหุ ร่ี กินเหลา้ หรือไม่ก็ตอ้ งตอบวา่ มี มีจำนวนน้อยเม่ือเทียบ กับสัดส่วนประชากร นอกจากนี้ผูใ้ ห้ข้อมูลสะท้อนผลการรณรงค์ส่งเสริม ภายในชุมชนท่ีมีท้ังพระสงฆ์ วัด ผู้นำชุมชน หรือหน่วยสุขภาพชมุ ชนในเขต พื้นที่ อสม หรือโรงพยาบาลได้เข้ามารณรงค์ส่งเสริมลดปัจจัยเส่ียงตาม โอกาส จากภาพรวมเม่อื ไดข้ อ้ มูลจึงนำไปสกู่ ารออกแบบกำหนดกิจกรรมใน เชิงปฏบิ ตั ใิ นชุมชน เพ่อื จัดกิจกรรมรณรงค์ ลดปจั จยั เสย่ี งในการไม่กินเหลา้ ไม่สูบบุหรี่ในชุมชน ที่จะจัดข้ึน “เลิกดื่ม เลิกสูบ ลดเส่ียง” ในวันท่ี 3 กรกฎาคม 2563 นอกจากนี้ ข้อมูลเหลา่ น้ีจะถูกนำไปสูก่ ารออกแบบหรือ กำหนดกจิ กรรมในเชิงปฏิบัติตอ่ ไป แต่ส่ิงที่สำคัญและเห็นผลเชงิ ประจักษ์ คือ (1) พระสงฆท์ ำงานงานในระดับปฏิบัติการ ผ่านแนวคดิ ทางศาสนา ศีล ธรรม และธรรมเนียมประเพณี วิถีปฏิบัติ วันพระ วันสำคัญ ทาง พระพุทธศาสนา และโครงการหมู่บ้านศีล 5 ภายในพื้นท่ีในระดับวัดอยู่ แล้ว (2) หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องระดับปฏิบัติการ อสม โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล ก็เข้ามีส่วนร่วมในการดูแลด้านสุขภาวะ และปัจจัยเสี่ยง

พระครูพู ิิศิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 29 ร่วมกันอยู่แล้ว (3) หน่วยงานภาคีร่วมผู้ใหญ่บ้าน ตำรวจ หรือส่วน เก่ียวข้อง อบต. ทำงานในเชิงพ้ืนท่ีประสานข้อมูล ตรวจสอบ เป็นภาคี เครือข่ายร่วม หรือเข้าระงับเหตุอันไม่พึงประสงค์ท่ีเป็นปัจจัยเกี่ยวเน่ือง จากเหล้าบุหรี่ มั่วสุ่ม หรือก่อวิวาท ซ่ึงเป็นแนวทางที่เกิดขึ้น ซึ่งผู้ใหญ่ให้ ข้อมูลวา่ บางคร้ังกม็ ีการเขา้ ไปห้ามปรามวยั รุน่ ตอ่ การสบู บุหร่ี หรือนกั เรยี น ที่เป็นวัยเสี่ยงด้วยการห้ามปราม บอกพ่อแม่ผู้ปกครอง ในฐานะเป็นกลไก การเฝา้ ระวงั เชิงปฏิบัติ เป็นตน้ ท้งั หมดเป็นแนวทางจากสถานการณจ์ รงิ ใน ชมุ ชนคลองกระทิง จังหวดั สุมทรสงคราม ทลี่ งพ้ืนที่วจิ ัยและเกบ็ ขอ้ มลู มา เป็นฐานในการทำวจิ ัย ภาพที่ 5 ภาพรณรงค์ในกิจกรรมของโครงการวจิ ัย ที่คณะนกั วจิ ยั นำไปจัด มอบ แจก และรณรงค์ผ่านการเกบ็ ข้อมลู ในภาคพ้ืนจงั หวัดสมทุ รสงคราม ทม่ี า: ผเู้ ขยี น (2563)

30 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน จากขอ้ มลู ทพ่ี บจากพ้ืนท่ีวจิ ัยจะพบว่ามีความเก่ียวข้องสอดคล้อง มีผลต่อแนวทางในการแกป้ ญั หารณรงค์ในหลายพน้ื ที่ ดังงานวิจยั เรอื่ ง การ สำรวจตดิ ตามสภาพฝนุ่ ควนั จากบุหรใ่ี นสิ่งแวดล้อมรอบตัวผสู้ ูบบุหร่ี และผู้ สมั ผัสควันบุหรมี่ ือสองในโรงพยาบาล (ผ่องศรี ศรีมรกต และอิทธิพล พ่อ อามาตย์, 2557) งานวิจัยเรอื่ ง การพัฒนาแนวปฏิบัติในการสนบั สนุนการ เลิกบุหรีข่ องผใู้ ชบ้ รกิ ารคลกิ นิกอดบหุ ร่ี (ศิริพร จนิ ดารตั น์และคณะ, 2554) งานวจิ ัยเรอื่ ง ผลของการให้บริการเลิกบุหร่ีโดยคลินิกเลิกบุหรี่ ในร้านยา มหาวทิ ยาลัยและโรงพยาบาลมหาสารคาม (กนกพร ดา่ นศกั ดช์ิ ัยและคณะ, 2014) งานวิจัยเรื่อง ผลของโปรแกรมป้องกันการเร่ิมต้นสูบบุหรี่ท่ีใช้ โรงเรียนเป็นฐานต่อการทดลองสูบบุหรี่ในวัยรุ่นตอนต้น (รุ่งรัตน์ ศรีสุริย เวศน์ และพรนภา หอมสินธ์ุ, 2558) งานวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรแู้ ละทัศนคติของผสู้ ูบบหุ รใ่ี นการป้องกันการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง ให้กับสมาชิกในครอบครัว (วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะและคณะ, 2556) งานวิจัยเรอื่ ง ช่องทางการส่ือสาร, งดเหล้าเข้าพรรษา การวิเคราะห์ช่อง ทางการส่ือสารโน้มนา้ วใจในการณรงคง์ ดเหล้าเข้าพรรษาของหนว่ ยงานรัฐ ในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน (สมคิด นันต๊ะและ บัณฑิกา จารุมา, 2562) งานวิจยั เรือ่ ง การศึกษาสถานการณ์ การตดิ ตามการเปล่ียนแปลง หลังการบังคับใช้กฎหมาย และผลกระทบของร้านเหล้ารอบสถานศึกษา ในกรุงเทพมหานคร (ศรีรชั ลอยสมทุ ร, 2561) งานวิจัยเร่ือง รูปแบบการ แข่งเรือปลอดเหล้าในจังหวัดน่าน (วรานิษฐ์ ลำไย และคณะ, 2561) งานวิจยั เรื่อง กระบวนการปรบั แปลงความหมายของ “เหล้า” ในพธิ กี รรม

พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 31 งานศพ (บุษยากร ตีระพฤติกลุ ชัย และกาญจนา แกว้ เทพ, 2555) งานวิจัย เร่ือง กลยุทธ์ร้านเหล้ารอบรั้วมหาวิทยาลัยในการกระตุ้นอุปสงค์ของ นักศึกษา (เบญจพร บัวสำลี, 2561) งานวิจัยเรื่อง สวัสดีค่ะ...1413 สาย ด่วนเลิกเหล้า Hello...1413 Helpline for Stop Drink (พจนา เปลี่ยน เกิด และคณะ, 2557) จากผลการวจิ ัยทีพ่ บและวัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั ท่ี ยกมาอ้างอิงเป็นกรณีศึกษา จะเป็นไปเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ การ เลิก และการยุติการใช้ส่ิงเสพติดท้ังเหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติดอ่ืน ๆ และการ พนนั โดยมีผลคาดหวงั เป็นการ “ลด-ละ-เลิก” ซึง่ ผลปลายทางเป็นสขุ ภาพ และสุขภาวะองค์รวม ท้ังกาย จิต ปัญญา และสถานะทางเศรษฐกิจของ ประชากรในประเทศเป็นสำคัญ ด้วยเหน็ พิษภยั ของเหลา้ บุหรี่ อบายมุขอื่น ๆ ล้วนมผี ลตอ่ สขุ ภาวะของประชาชนพลเมอื งในประเทศ สรปุ ในการเดนิ ทางเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ พื้นทค่ี ร้ังนนั้ ทำใหไ้ ดข้ อ้ มูลนำไปส่กู าร ออกแบบกิจกรรม โดยพบข้อสรุปว่า (1) ชุมชนคลองกระทิง จังหวัด สมุทรสงครามมีชาวพุทธเป็นส่วนใหญ่หรือเกือบท้ังหมด (2) ชุมชนมี กิจกรรมร่วมกับทางวดั พระสงฆ์ และผนู้ ำชมุ ชน หมายถึงมคี วามเคารพใน ตวั หลวงพ่อแดง นนทฺ ิโย หรอื พระสงฆ์ในวดั อยู่จงึ ปฏิบตั ิตามแนวทางทที่ าง วัด หรือพระสงฆ์ส่งเสริมรณรงค์เรื่องเหล้า บุหรี่ หรือปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ รวมทั้งผู้นำชุมชน ผู้นำด้านสาธารณสขุ ให้คำแนะนำเกย่ี วกับการลดปจั จัย เสี่ยง (3) หลวงพ่อ พระสงฆ์ ผู้นำชุมชน ผู้นำระบบสาธารณสุข ได้ใช้วัด

32 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน เป็นช่องทางในการทำกิจกรรมเชิงหมบู่ ้านศีล 5 ดังน้นั การรณรงค์จงึ เกดิ ข้ึน อย่างต่อเน่ือง หมายถึงทุกวันพระ วันสำคัญของพระพุทธศาสนา วัน เข้าพรรษา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและวันสำคญั โดยใชว้ ันดังกลา่ ว เปน็ เงือ่ นไขรณรงค์ ดำเนินกิจกรรม ส่งเสรมิ ลดปัจจัยเส่ียงให้เกิดขึ้นอยา่ ง ตอ่ เน่ืองด้วย (4) ความเคารพผ้ใู หญ่ตามหลกั ความเคารพหรอื คารวตาเป็น แนวทางหรือเป็นกลไกในการรณรงค์ส่งเสริม กลไกเชิงเครือข่ายภายใน ชุมชน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน ผ้ใู หญ่บา้ น ครู พระสงฆ์ วัด เป็น ส่วนสำคัญในการควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ช่วยให้สามารถขับเคล่ือนลด ปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับเหล้าบุหรี่ สิ่งเสพติด ชนิดอ่ืน ๆ ในชุมชนด้วย (5) ความเช่อื ต่อผนู้ ำทางด้านระบบสาธารณสขุ เช่น โรงพยาบาล หมอ แพทย์ พยาบาล และอสม. ท่ีเข้าไปรณรงค์ในช่วงที่ผ่านมา ส่งเสริมให้เกิดผลต่อ การปฏิบตั ิหรอื ความเชอื่ ต่อการปฏิบัติ รวมท้ังการสร้างความตระหนัก เห็น ความสำคัญและนำไปสกู่ ารปฏิบัติตาม (5) ความเป็นวิถชี ุมชนเกษตรแบบ ชาวสวน และสถานบันเทิง และสิ่งที่จะเป็นปัจจัยนำไปสู่การสร้างความ เสีย่ งด้านส่ิงเสพตดิ จงึ น้อยไปด้วย ดงั น้นั ส่ิงท่ปี รากฏและพบเห็น สมั ภาษณ์ เก็บขอ้ มลู เชงิ พ้ืนท่จี ึงนำมาถอดเป็นข้อมูลเพ่อื ประโยชน์ในความรู้ แนวทาง วิธกี าร ทง้ั ก่อใหเ้ กิดการขับเคลอ่ื นการลดปจั จัยเสีย่ งในภาพกว้างต่อชุมชน คลองกระทงิ จงั หวดั สมทุ รสงครามได้ เอกสารอา้ งองิ

วิธกี าร ทง้ั ก่อใหเ้ กิดการขับเคลื่อนการลดปัจจัยเสี่ยงในภาพกว้างตอ่ ชุมชน คลองกระทงิ จังหวัดสมุทรสงครามได้ พระครููพิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 33 เอกสารอา้ งอิง กนกพร ด่านศักด์ิชัยและคณะ. (2014). ผลของการให้บริการเลิกบุหรี่โดย คลินิกเลิกบุหรี่ ในร้านยามหาวิทยาลัยและโรงพยาบาล มหาสารคาม. วารสารเภสัชศาสตร์อสี าน, 9(3), 174. บษุ ยากร ตีระพฤติกลุ ชยั และกาญจนา แก้วเทพ. (2555). กระบวนการปรับ แปลงความหมายของ “เหล้า” ในพิธีกรรมงานศพ. วารสารนิเทศ ศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 30(2), 34- 50. เบญจพร บัวสำลี. (2561). กลยุทธ์ร้านเหล้ารอบร้ัวมหาวิทยาลัยในการ กระตุ้นอุปสงค์ของนักศึกษา. วารสารสังคมภิวัฒน์ คณะสังคม สงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกยี รติ, 9(3), 48-57. ผอ่ งศรี ศรีมรกต และอิทธพิ ล พอ่ อามาตย์. (2557). การสำรวจติดตามสภาพ ฝุ่นควันจากบุหร่ีในส่ิงแวดล้อมรอบตัวผู้สูบบุหรี่ และผู้สัมผัสควัน บุหรีม่ ือสองในโรงพยาบาล. วารสารการพยาบาล, 63(1),48-54. พจนา เปลี่ยนเกิด และพิชัย แสงชาญชัย. (2557). สวัสดีค่ะ...1413 สาย ด่วนเลิกเหล้า Hello...1413 Helpline for Stop Drink. วารสาร พยาบาลทหารบก, 15(3), 91-96. พระครปู ริยัตสิ าทร. (2562). กระบวนการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมการสบู บุหรี่ ของพระสงฆ์สู่การเป็นต้นแบบปลอดบุหร่ี จังหวัดเลย. วารสาร สถาบนั วิจยั ญาณสงั วร, 10(2), 12-24. พระครูพินิตปริยัติกิจ (สมบัติ วรธมฺโม) และคณะ. (2561). รูปแบบการมี ส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติด ในเขต

34 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน ปกครองคณะสงฆ์ภาค 2. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7(3), 1-14. พระครูพิศิษฏ์ประชานาถ (นนฺทิโย ประยูร). (2560). บทบาทการพัฒนา ชุมชนของวัดอินทาราม อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม . วารสาร มจร สงั คมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2 ฉบับพเิ ศษ), 439-455. พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (2561). บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาชุมชน ต้นแบบวิถีพุทธ : กรณีศึกษาหลวงพ่อแดง วัดอินทาราม จังหวัด สมุทรสงคราม. พระนครศรีอยุธยา: งานประชุมวิชาการการพฒั นา ชุมชนท้องถิ่นและสังคม (CSDสัมพันธ์) ระดับชาติ คร้ังที่ 17 และ นานาชาติ ครง้ั ที่ 1 “คุณธรรมจริยธรรมกับการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ”. พระมหายทุ ธนา นรเชฏโฐ (ศิริวรรณ) และจุฑารัตน์ ทองอินจันทร์. (2561). แนวคิด ตวั ชวี้ ัด องคป์ ระกอบบทเรียน และบูรณาการตามโครงการ หมบู่ า้ นรกั ษาศลี 5”. วารสารชมุ ชนวิจยั , 12(2), 204-214. พระอุดมสิทธินายก (กำพล คุณงฺกโร) และพระมหานกิ ร ฐานุตฺตโร. (2562). การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการเสรมิ สร้างสุขภาวะและเครอื ขา่ ย ทางสังคม เพ่ือลดเหล้าบุหร่ีเชิงพุทธบูรณาการในจังหวัดนนทบุรี. วารสาร มจร สังคมศาสตรป์ รทิ รรศน์, 8(4), 1-16. รุ่งรตั น์ ศรีสรุ ยิ เวศน์ และพรนภา หอมสินธ์ุ. (2558). ผลของโปรแกรมป้องกนั การเร่ิมต้นสูบบุหรี่ที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานต่อการทดลองสูบบุหรี่ใน วัยรุ่นตอนต้น. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 27(3), 50-67.

พระครููพิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 35 วณิฎา ศิริวรสกุล และวชั รินทร์ อินทพรหม. (2561). รูปแบบการขับเคลื่อน นโยบายหมู่บ้านรกั ษาศีล 5 ให้ประสบความสำเรจ็ .วารสารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ธนบรุ ี, 12(29), 203-209. วรานิษฐ์ ลำไยและเชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล. (2561). รูปแบบการแข่งเรือ ปลอดเหล้าในจังหวดั นา่ น. วารสารคณุ ภาพชวี ติ กับกฎหมาย, 14(2), 66-76. วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะและคณะ. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และทศั นคติของผูส้ ูบบุหรี่ในการปอ้ งกันการสัมผสั ควันบุหรี่มอื สอง ใหก้ ับสมาชิกในครอบครวั .วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสมี า, 19(1), 31-41. วรี วรรณ เล็กสกุลไชย. (2007). พิษของควนั บุหรี่. วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์ การแพทย์, 21(4), 287-292. ศรีรัช ลอยสมุทร. (2561). การศึกษาสถานการณ์ การติดตามการ เปลีย่ นแปลงหลงั การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย และผลกระทบของร้านเหลา้ รอบสถานศกึ ษา ในกรุงเทพมหานคร. วารสารกฎหมายสขุ ภาพและ สาธารณสุข, 4(3), 417-430. ศริ พิ ร จินดารัตน์ และคณะ. (2554). การพัฒนาแนวปฏบิ ัติในการสนับสนุน การเลกิ บุหรี่ของผู้ใช้บริการคลิกนิกอดบหุ ร่ี. วารสารการพยาบาล, 26(3), 64-77. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อควบคุมยาสูบ. (2561). รายงานสถิติการ บริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ. 2561. สืบค้น 30 ธันวาคม 2563, จาก http://www.trc.or.th/th/

36 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน สมคดิ นนั ตะ๊ และบัณฑกิ า จารุมา. (2562). ช่องทางการสือ่ สาร, งดเหล้าเข้า พร การวเิ คราะหช์ อ่ งทางการส่ือสารโนม้ นา้ วใจในการณรงค์งดเหล้า เข้าพรรษาของหน่วยงานรัฐในอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน . วารสาร มจร มนุษยศาสตรป์ ริทรรศน์, 5(2), 97-106. สมคิด พมุ่ ทุเรยี นและคณะ. (2562). วิเคราะหก์ ิจกรรมเชงิ พุทธตามโครงการ หมู่บ้านรักษาศีล 5 กับการหนุนเนื่องคุณค่านิยม 12 ประการ. วารสารบัณฑิตปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, 7 (1), 225- 238.

พระครูพู ิิศิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 37 ถอดบทเรยี นจากพ้ืนที่วิจยั : บวชใจอธษิ ฐานบารมี ลดละเลกิ เหลา้ บหุ ร่ี ตลอดพรรษา รณรงค์ลดปจั จยั เสย่ี งด้านสขุ ภาวะ ชมุ ชนบา้ นคลอง กระทงิ จังหวดั สมทุ รสงคราม* Lesson Learned from the Research Area: Ordain the Heart, Pray for Glory, Reduce Alcohol and Smoking throughout the Buddhist Lent, Campaign to Reduce Health Risk Factors at Ban Khlong Krating Community, Samut Songkhram Province ------------------------------------------- พระมหากฤษฎา กติ ตโิ สภโณ, พระครพู ศิ ษิ ฎป์ ระชานาถ(ประยูร นนฺทิโย), พระมหาสุนนั ท์ สุนนโฺ ท, ประเสริฐ ธลิ าว, นิกร ศรรี าช, สุภทั รชัย สีสะใบ, พระปลัดระพิน พุทธิสาโร Phramaha Krisada Kittisophano, Phrakhrupisitphachanat , Phramaha Sunun Sunundho, Prasert Thiloa, Nigorn Sriraj, Suphattharachai Sisabai, Phrapalad Raphin Buddhisaro วัดอนิ ทาราม จงั หวัดสมทุ รสงคราม Wat Intharam, Samut Songkhram Province E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ บทความน้ีเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึ ก ษ า ถึ ง แ น ว ท า งวิ ธี ก า ร ร ณ ร ง ค์ ส่ ง เ ส ริ ม ภ าย ใต้ กิ จ ก ร ร ม ต า ม แ น ว *รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติคร้ังที่ 3 พ.ศ. 2564 การประชุมวิชาการ ระดบั ชาติ ครั้งที่ 1 ภายใตแ้ นวคดิ “พระพุทธศาสนาและปรัชญา : แนวคดิ มมุ มอง สงั คมยคุ หลงั โค วิด 19” (Buddhis and Philosophy : Concept and Perspective of the Post-COVID-19 Society) จัดโดยคณะศาสนาและปรชั ญา มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั หนา้ 853-865.

38 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน พระพุทธศาสนา ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสัมภาษณ์ การ สงั เกต และนำเสนอในรูปแบบบทความ ผลการศกึ ษาพบว่า กิจกรรมอธิษฐานจติ บวชใจอธิษฐานบารมี ลดละเลิกเหล้า บุหร่ี ตลอดพรรษา เทเหล้า เผาบุหร่ี “เลิกดื่ม เลิกสูบ ลดเส่ียง” เป็นการใช้ “วันอาสาฬหบูชา-วันเข้าพรรษา” วันสำคัญทาง พระพุทธศาสนามาเป็นเครือ่ งหมายของการเร่ิมต้น ตลอด 3 เดือนระหว่าง พรรษา รณรงค์ตั้งใจทำส่ิงดี ยืนยันเจตนารมณ์ที่มีประโยชน์เพ่ือสุขภาพ ตัวเองและคนรอบขา้ ง โดยใช้วดั อินทารามเป็นศูนยก์ ลางชุมชน ในการทำ กิจกรรม ขบั เคล่ือนใหเ้ กิดการยอมรับและนำไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ เป็นแบบอยา่ ง เป็นเครือขา่ ย และทำให้เกิดพลังในการสรา้ งสรรค์ พรอ้ มนำภาพกิจกรรม ส่อื สารสาธารณะ ผ่านการประชาสัมพนั ธ์ รณรงค์ส่งเสรมิ จะทำใหเกิดการ ตระหนัก สร้างความสำนึก ให้เกิดการปฏิบัติตาม จนไปสู่ภาวะลดปัจจัย เสี่ยงจากเหล้าบุหร่ี ตามแนวทางคาดหวังจาก พลังบวรพิทักษ์คลอง กระทิง : การเสริมสร้างเครือขา่ ยทางสังคมเพ่ือลดปัจจัยเส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นพลังบวร บ้าน วัด โรงเรียน ราชการ ชุมชน เป็นกลไกร่วมกนั ในการลดเหล้า บุหรี่ ลดปัจจัยเสย่ี งตอ่ ไป นับเป็นสว่ นสำคัญและผลไดจ้ ากการดำเนินกจิ กรรมโครงการในคร้งั น้ี คำสำคัญ : บวชใจอธิษฐานบารมี, ลดละเลิกเหล้า บุหร่ี ตลอดพรรษา, รณรงคล์ ดปจั จยั เสี่ยงด้านสุขภาวะ,ชมุ ชนบ้านคลองกระทงิ

พระครููพิศิ ิิษฏ์์ประชานาถ, ดร. 39 ABSTRACT This article is part of a research project. The objective is to study the methods of campaigning for promotion under the activities of Buddhism. Using a document study method. Research, interviews, observations and presentations in article format. The results of the study found that Mental prayer activity, ordain the heart, pray for glory, Reduce alcohol and smoking throughout the Buddhist lent, pouring alcohol, burning cigarettes, \"stop drinking, quitting smoking, reducing risk\" is the use of \"Asarnha Bucha Day - Buddhist Lent Day\", An important Buddhist day is a mark of the beginning of the three months during the lent. Campaign intends to do good things, confirming intentions useful for the health of yourself and those around you. By using Wat Intharam is a community center in doing activities, driving adoption and action a model, a network and cause the power to create. Along with bringing pictures of public communication activities through public relations promotion campaign will raise awareness create awareness to achieve compliance until leading to reducing risk factors from alcohol and smoking. As expected from Palang

40 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน Bowon Pitak Khlong Krating: Strengthening social networks reduce risk factors according to Buddhism, Samut Songkhram Province. It is the power of Banworn, village ( Ban) , temple (Wat), school, community, as a joint mechanism for reducing alcohol and smoking and further reducing risk factors. It is an important part and the results obtained from the implementation of this project activity. Keywords : Ordain the heart, pray for glory, Reduce alcohol and smoking throughout the Buddhist lent, Campaign to reduce health risk factors, Ban Khlong Krating Community บทนำ บทความน้เี กิดจากการลงพื้นที่วิจัย ในการดำเนนิ กจิ กรรมบวชใจ อธิษฐานบารมี ลดละเลิกเหล้า บุหรี่ ตลอดพรรษา รณรงค์ลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาวะ จ.สมุทรสงคราม และเม่ือวันท่ี 3 กรกฎาคม 2563 ได้จัด กจิ กรรมท่ีเรยี กวา่ อธษิ ฐานจติ ต้ังจติ ต้ังใจเพ่ือกระทำการลดเหลา้ เลิกบหุ รี่ โดยมีเป้าหมายทำให้เกิดการขับเคลือ่ นและเหน็ ความสำคญั ของการ “ลด ปจั จยั เสยี่ งจากเหลา้ บุหรี่” ดงั น้ันกิจกรรมน้ีจึงเกิดขน้ึ ซงึ่ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของ โครงการวจิ ัยการเสริมสรา้ งเครือขา่ ยทางสังคมเพ่อื ลดปจั จยั เส่ียงตามแนว พระพุทธศาสนาในชมุ ชนคลองกระทงิ จังหวดั สมทุ รสงคราม ซงึ่ ในงานได้มี การเชิญบุคคลสำคัญเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าว ทั้งในส่วนของ

พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 41 คณะสงฆ์ ไดม้ กี ารกราบนมิ นตพ์ ระพรหมบณั ฑิต,ศร.ดร. (กรรมการมหาเถร สมาคม) มาเปน็ ประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมดว้ ยเจา้ คณะจงั หวดั สมุทรสงคราม เจ้าของพ้ืนท่ี ในส่วนราชการมีผวู้ ่าราชการ มีสาธารณสุขจังหวัด ในส่วน ของ สสส. มีพระสงฆน์ ักวิจัย เปน็ ผูป้ ระสานงาน พรอ้ มทีมงาน ในส่วนของ มหาวิทยาลัย ได้มีผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยเข้าร่วมกิจกรรม โครงการส่กู ารลงมือปฏิบัติอยา่ งเป็นระบบ โดยเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการ ภายใน 1 วันก่ อน เข้าพ รรษาป ระจำปี 2563 ใช้วัน สำคั ญ ท าง พระพุทธศาสนาเป็นกลไกลดปัจจัยเส่ียงจากเหล้าบุหร่ี อบายมุขทุกชนิด เพื่อรณรงค์สื่อสารกระตุ้นการรับรู้ ส่งเสริม รณรงค์ให้เกิดการปฏิบัติ ตระหนักเห็นความสำคัญต่อการเลิกเหล้าบุหรี่ ซึ่งในการเขียนถอด ประสบการณ์บทเรียน จะได้นำมาแบง่ เป็นเป็นข้อการเรียนรู้จากกิจกรรม ในคร้งั น้ันได้ดังน้ีคอื ภาพที่ 1 กิจกรรมบวชใจ อธิษฐานบารมี เลกิ เหล้า บหุ ร่ี ตลอดเขา้ พรรษาน้ี โดยมพี ระ พรหมบัณฑติ ,ศ.ดร. เปน็ ประธาน ณ วัดอนิ ทาราม ต.เหมอื งใหม่ จ.สมุทรสงคราม (ภาพคณะนักวิจัย , 3 กรกฎาคม 2563)

42 หลวงพ่อ่ แดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ความสำคญั ลดปัจจัยเส่ยี งของการเลิก เหลา้ บุหรี่ สิ่งเสพติดทุกชนิด จัดเป็นอบายมุขในทางพระพุทธศาสนา กรณี เหล้า บุหรี่ ส่งผลกระทบต่อสังคม ประเทศชาตใิ นวงกว้าง (บุษยากร ตีระ พฤติกุลชัย,กาญจนา แก้วเทพ,2555;ผ่องศรี ศรีมรกต,อิทธิพล พ่ออา มาตย์,2557) กรณีเมาแล้วขับทำให้เกิดอุบัติเหตุ ส่งผลทำให้เกิดความ สญู เสีย ทรัพย์สนิ และโอกาสของผปู้ ระสบอุบัตเิ หตุ หรือบุหรี่ ทำใหเ้ กดิ ผล กระทบต่อสุขภาวะ ดังท่ีมีข้อมูลว่ามีผู้ป่วยด้วยโรคระเร็ง ถุงลมโป่งพอง หรือกลายเปน็ ผปู้ ว่ ยท่ีรัฐจะต้องเขา้ ไปดูแลรักษา จนกระท่ังกลายเป็นภาระ แห่งรัฐ ดังปรากฏเป็นข้อมูลในงานวิจัยของ วีรวรรณ เล็กสกุลไชย (2007,287-292) เรื่อง พิษของควันบุหร่ี หรือข้อมูลจากศูนย์วิจัยและ จัดการความรู้เพื่อควบคุมยาสูบ (2561) ท่ีให้ข้อมูลเป็น รายงานสถิติการ บรโิ ภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2561 ท่นี ำเสนอข้อมลู จำนวนของผูส้ ูบ บหุ ร่ีรวมทั้งผลกระทบจากพิษและโทษของบหุ รี่ด้วย ดังนน้ั เหลา้ บุหรี่ หรอื อบายมขุ อ่ืน ๆ (การพนนั และสิง่ เสพติดชนดิ อืน่ ๆ) มีผลเป็นการสร้างภาวะ ชะงักงันให้กบั คน หรือบุคลากรในชุมชนสังคม เกิดข้ึน ดังน้ันทกุ ภาคส่วน เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้พยายามสร้างความตระหนัก การท่ีจะให้ ลดละเลิก ดังข้อมูลท่ีกล่าวรายงานของประธานในพิธี ที่สะท้อนให้เห็นถึง ข้อมูลของผู้ติดเหลา้ ติดบหุ รี่ และการติดสิ่งเสพติด ทำให้เกิดสภาพปญั หา ของชุมชนและสงั คมในภาพกวา้ งด้วย

พระครููพิศิ ิษิ ฏ์์ประชานาถ, ดร. 43 ภาพที่ 2 พิธีบวชใจอธษิ ฐานบารมี ลดละเลกิ เหลา้ บหุ ร่ี ตลอดพรรษา ของ เครอื ข่ายรณรงค์ ลดปจั จัยเส่ยี ง เหลา้ บหุ ร่ี โดยคณะสงฆ์ ผนู้ ำภาครฐั สถาบันการศึกษา ทชี่ มุ ชนคลองกระทงิ ต.เหมืองใหม่ จ.สมทุ รสงคราม (ภาพคณะนักวิจัย, 3 กรกฎาคม 2563)

44 หลวงพ่่อแดง นนฺฺทิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้ง� ประชาชน แนวคิดเครอื ข่ายตอ่ การมีส่วนรว่ มในการลดเหล้า บหุ รี่ สง่ิ เสพตดิ ทกุ ชนดิ ในการจดั กิจกรรม \"พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง :การเสริมสรา้ ง เครือข่ายทางสงั คมเพอ่ื ลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัด สมุทรสงคราม” ของคณาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา การจัดการเชิงพุทธ (พระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ,ผศ.ดร. หัวหน้า โครงการวิจัย/ ผศ.ดร.ประเสริฐ ธิลาว/ พระมหานิกร ฐานิุตฺโร นักวิจัย) ภายใต้งบประมาณสนบั สนนุ ประจำปี 2563 ของสถาบันวจิ ยั พุทธศาสตร์ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ร่วมกับ สำนักงานกองทุน สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) โดย รศ.ดร.สรุ พล สุยะพรหม (รอง อธิการบดีฝ่ายกิจการท่ัวไป/ผู้อำนวยการหลักสูตรบัณฑิตศึกษา) เป็นท่ี ปรึกษาโครงการวจิ ัย โดยได้มีประสานเครือข่ายผ่านชุมชนท่ีกำหนดเป็น กลุ่มเป้าหมาย คือวัดอินทาราม จ.สมุทรสงคราม มีพระครพู ิศิษฎ์ประชา นาถ,ดร. เป็นต้นธารร่วมเริ่มต้นโครงการ จากนนั้ ประสานเครอื ข่ายกำหนด กลุ่มเป้าหมายตามกรอบการวิจัยในฐานะเป็นพื้นท่ีวิจัย กำหนดกิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ประสานเครือข่ายให้เกดิ การรณรงคแ์ ละสง่ เสริมให้ เกิดขึ้นภายใต้แนวคิด สร้างการรบั รู้ ให้เห็นความสำคัญ ตระหนักรู้ สร้าง ภาพจำ นำไปสูป่ ฏิบตั ิตาม โดยใช้กิจกรรมในวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา มา เป็นหมุดหมายการจัดงาน มีการประสานนิมนต์พระพรหมบัณฑิต,ศ. ดร. มาเป็นประธานเปิด และกล่าวให้โอวาท บรรยายธรรม ประสาน เครอื ข่ายภายในจังหวดั ท้ัง โดยใช้กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา “วันอาสาฬหบูชา-วันเข้าพรรษา” ตามทมี่ ีเคยมีการรณรงค์แตร่ ณรงคซ์ ้ำ

พระครููพิศิ ิษิ ฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 45 อีก เพือ่ ให้เกิดการปฏบิ ตั ิ เป็นภาคเี ครือข่ายในกจิ กรรม ใจสะอาด กายเปน็ สุข บวชใจ อธิษฐานบารมี เลิกบุหร่ี เลิกเหล้า ตลอดเข้าพรรษาน้ี 2563 กิจกรรมน้ีเริ่มข้ึนโดย ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นประธานนำ อธิษฐานจิตบวชใจ งดเหล้า เลิก บุหร่ี ตลอดพรรษา พร้อมภาคีเครือข่าย เช่น (1) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ.พระนครศรีอยุธยา โดย รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม (2) สำนักงาน สสส โดย พระศรีสมโพธิ และคณะ (3) คณะสงฆจ์ งั หวดั สมุทรสงคราม โดย พระภาวนาวิสทุ ธโิ สภณ (สุรศักด์ิ อติสกฺโข) เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสงคราม (4) คณะสงฆ์อำเภอ อัมพวา จ.สมุทรสงคราม (5) คณะสงฆ์ ประชาชนวัดอินทาราม อำเภอ อมั พวา นำโดยพระครูพิศิษฎ์ประชานาถ (แดง นนฺทิโย) เจ้าอาวาสวัดอิน ทาราม และรองเจ้าคณะอำเภออัมพวา (6) ผู้ว่าราชการจังหวัด สมุทรสงคราม โดย นายชรัส บุญณสะ (7) สำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวดั สมุทรสงคราม (8) สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สมทุ รสงคราม โดย นายแพทย์สันทิต บุณยะส่ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม และภาคีเครือข่ายอ่ืน ๆ ท้ังระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น (9) องค์การ บริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม (10) หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา การจัดการเชิงพุทธ โดยพระอุดมสิทธินายก (11) ตำรวจภูธรจังหวัด สมุทรสงคราม (12) ชุมชนคลองกระทิง อำเภออัมพวา จ.สมุทรสงคราม และภาคเี ครอื ข่ายอีกจำนวนมาก ฯลฯ ทงั้ หมดมีเป้าหมายเดียวกนั คือการ ขับเคล่ือนกิจกรรมให้เกิดข้ึนภายใต้แนวคิด การสื่อสารรณรงค์ ผ่านการ รับรู้ คุณโทษ ประโยชน์ (ปริยัติ) และทำให้เกิดการขับเคล่ือนไปสู่การ

46 หลวงพ่่อแดง นนฺทฺ ิิโย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน ปฏิบัติ ลดละเลิก จนกระทั่งไม่แตะต้อง (ปฏิบัติ) และนำไปสู่การส่ือสาร อย่างต่อเน่ือง จนกลายเป็นเห็นความสำคัญส่งต่อโดยมีเป้าหมายเป็นสุข ภาวะในองค์ของชาวพุทธประชาชนคนในสังคมองค์รวม (ปัญญา-ปฎิเวธ) กลายเป็นแนวคิดจาก พลังบวรพิทักษ์คลองกระทิง : การเสริมสร้าง เครอื ข่ายทางสังคมเพอ่ื ลดปัจจัยเสี่ยงตามแนวพระพทุ ธศาสนา จงั หวัด สมุทรสงคราม สู่การส่งตอ่ แนวทางดังกลา่ วส่ือสารสาธารณะในภาพกว้าง ต่อไป ภาพที่ 3 การจดั งานรณรงค์สง่ เสริมลดปจั จัยเส่ียงในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ภายใต้เปา้ หมาย “เลิกด่มื เลกิ สูบ ลดเส่ียง” พลังบวรพิทกั ษ์คลองกระทิง จงั หวัด สมุทรสงคราม (ภาพคณะนักวิจยั , 3 กรกฎาคม 2563)

พระครูพู ิศิ ิิษฏ์ป์ ระชานาถ, ดร. 47 ภาพที่ 4 สัญลกั ษณ์การจัดงานรณรงคส์ ง่ เสริมลดปจั จัยเส่ียงในวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา ภายใต้เปา้ หมาย “เลกิ ดม่ื เลกิ สูบ ลดเสี่ยง” (ภาพคณะนักวจิ ยั , 3 กรกฎาคม 2563) การส่ือสารลดปจั จัยเสย่ี งผา่ นชมุ ชนคลองกระทิง อ.อมั พวา จ. สมุทรสงคราม ในการจัดกิจกรรมในวันดังกล่าว เป้าหมายคือเป็นการรณรงค์ใน ชุมชน เป้าหมายเป็นการสื่อสารเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการส่งเสริม กิจกรรมพระพุทธศาสนา มีเป้าหมายเปน็ การรณรงค์ส่งเสริมให้เกิดความ ตระหนัก (สติ) ระมัดระวังผ่านการไมใ่ ช้ ไมใ่ ช่เสพ ไม่บรโิ ภค (หิริโอตัปปะ) คือมกี ารรณรงค์แล้ว มีการยอมตามให้เกดิ การปฏบิ ัติแล้ว จะตอ้ งรณรงค์ ให้เกิดการยอมรับ และในเวลาเดียวกันสร้างแบบอย่างให้เกดิ ข้ึนในชุมชน

48 หลวงพ่อ่ แดง นนฺฺทิโิ ย พระสงฆ์์ไม่ท่ิ้�งประชาชน (ยถาวาที ตถาการี) ทำให้เกิดขึ้นเป็นจิตสำนึกในการปฏิบัติ ดังน้ันใน กิจกรรมดังกล่าวจึงมีภาคีเครือข่าย เข้าร่วมงานจากภาคส่วนต่าง ๆ ท้ัง คณะนักวิจัย อันประกอบด้วยพระมหากฤษฎา กิตติโสภโณ หัวหน้า โครงการวิจัย ภาคีเครือข่ายจากภาคส่วนต่าง ๆ ตามท่ีกล่าวมา และ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ วิทยากรบรรยายพิเศษ ซ่งึ ในแตล่ ะทา่ นได้สะท้อนคิดผา่ นการ บรรยาย การให้สัมภาษณ์ผา่ นส่อื เป้าหมายเพื่อการรณรงค์ สง่ เสริม ท้งั ให้ ข้อมูล เป็นแนวทาง วิธีการสำหรับการลดปัจจัยเส่ียง ในบวชใจอธิษฐาน บารมี ลดละเลิกเหล้า บหุ รี่ ตลอดพรรษา ไดค้ ือ วัดอินทารามเป็นต้นแบบท่ีดีในการดึงพลัง \"บวร\" และ \"บวช\" คือ บ้าน-วดั -โรงเรยี น-ชุมชน” 4 ประสาน มาเป็นฐานสร้าง กลไกลดความเส่ียงจากการส่ิงเสพติดทั้งเหล้าบุหรี่ อย่างไรก็ตาม การลดละเลิก เหล้าบุหรี่ตลอดพรรษา นอกจากจะดีต่อสุขภาพ ของตนเอง ดตี อ่ ครอบครัวชมุ ชน แล้ว ยงั เป็นการปอ้ งกันการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ด้วย เพราะเมื่อไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบ บุหร่ี ก็มีสติท่ีจะไม่ทำตัวเสี่ยงต้องการติดเช้ือด้วย ต้องระวังให้ดี ถ้าการด์ ตกเด๋ียวจะถกู นอ๊ ค เหลา้ -บหุ ร่ี เป็นความเสีย่ งในชวี ิตของ มนุษย์อย่างหนึ่ง \".. สุขกามานิ ภูตานิ ..\" สัตว์ทั้งหลายย่อม ต้องการความสุข, ความสุขในที่นี้คือ ทั้งสุขกาย และสุขใจ เมื่อ ความสุขคอื เป้าหมายของมนุษย์ เราควรพิจารณาวา่ สง่ิ ใดคือส่งิ ที่ ขัดขวางนั้นคือความเสี่ยง เช่น เราไปด่ืมสุรา สูบบุหร่ี หรือติดยา เสพติด การสร้างเครอื ข่ายการลดปัจจัยเสีย่ งดังที่ทำในวนั น้ี จะมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook