Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 22 กค 65การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบผิวหนัง

22 กค 65การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบผิวหนัง

Published by mickyloveu, 2022-07-21 11:16:07

Description: 22 กค 65การพยาบาลผู้ใหญ่ระบบผิวหนัง

Search

Read the Text Version

การพยาบาลผใู้ หญร่ ะบบผิวหนัง และการดูแลผู้ปว่ ยทมี่ ปี ญั หาการแพ้ยา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์วรางคณา สายสทิ ธ์ิ อาจารย์อนัญญา โสภณนาค

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายการเกดิ โรค อาการและอาการแสดง และการจัดการโรคผิวหนังอักเสบ โรค สะเก็ดเงนิ กลุ่มอาการสตีเวนส์จอหน์ สัน โรคผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรีย โรคผิวหนัง ตดิ เชอื้ ไวรัสได้ 2. วางแผนการพยาบาลผปู้ ่วยโรคผิวหนังอักเสบ โรคสะเกด็ เงนิ กลมุ่ อาการสตีเวนส์ จอหน์ -สนั โรคผิวหนังติดเช้อื แบคทีเรีย โรคผิวหนงั ตดิ เช้อื ไวรัสได้ 3. อธบิ ายการเกดิ แผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้

วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ 4. วิเคราะหผ์ ลกระทบจากแผลไฟไหมน้ ้ารอ้ นลวกได้ 5. วเิ คราะหร์ ะดบั ความลึก ขนาดพ้นื ท่ี และความรนุ แรงของแผลไฟไหม้น้ารอ้ นลวกได้ 6. อธบิ ายการจดั การแผลไฟไหม้นา้ ร้อนลวกได้ 7. วางแผนการพยาบาลผูป้ ่วยแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้

โรคผิวหนังอกั เสบ (Dermatitis / Eczema) ไม่ใชภ่ าวะคุกคามต่อชีวติ ผู้ป่วยจะรู้สึกไม่สุขสบาย เน่ืองจากมี และไมแ่ พรก่ ระจายเชือ้ หรือ อาการคันหรือปวดแสบบริเวณท่เี ปน็ ติดต่อได้ดว้ ยการสมั ผสั ซง่ึ โรคผวิ หนงั อักเสบแบง่ ตามลักษณะ ระยะเฉยี บพลัน (acute eczematous inflammation) ทางคลินกิ ได้เป็น 3 ระยะ คอื ระยะกึง่ เฉยี บพลนั (sub-acute eczematous inflammation) และระยะเร้ือรัง (chronic eczematous inflammation)

ตาราง ระยะและลักษณะทางคลินกิ ของโรคผวิ หนัง ระยะ ลกั ษณะ / อาการและอาการแสดง ผิวหนังอักเสบรุนแรง มีผื่นแดงนูน (erythema and ระยะเฉียบพลนั edema) ขอบเขตผ่ืนอาจไม่ชัดเจน หรือบางคร้ังมีตุ่มแดง หรอื ตมุ่ น้าใส (vesicles / blisters) ร่วมด้วย บางรายอาจมี ระยะกึง่ เฉียบพลนั สิ่งคัดหล่ังไหลซึมออกมา (weeping / oozing) จากตุ่มน้า ระยะเรื้อรงั แตก (eruption)และมอี าการคันมาก (pruritus / itching) ผิวหนังอักเสบน้อยลง แต่ยังคงมีอาการคันอยู่ มีผ่ืนแดงนูน แต่บวมลดลง และผื่นเร่ิมเป็นขุยแห้ง หรือมีลักษณะเป็นป้ืน แขง็ (scaling patches) ผู้ป่วยจะคันและเกาเป็นเวลานาน ท้าให้ผิวหนังมีลักษณะ เปน็ ผ่ืนแดง ขุยแห้ง นนู หนา (lichenification) อาจร่วมกับ เห็นร่องผวิ หนงั ชดั เจน

โรคผิวหนงั อักเสบทพ่ี บบอ่ ย คือ โรคผวิ หนงั อกั เสบจากการสมั ผสั (contact dermatitis) โรคผิวหนงั อักเสบจาก โรคผิวหนงั อกั เสบจาก การสมั ผัสส่งิ ระคายเคอื ง การสมั ผัสสง่ิ ที่กอ่ ให้เกดิ การแพ้ (irritant contact dermatitis) (allergic contact dermatitis)



อุบตั กิ ารณ์ Irritant contact dermatitis การสมั ผสั สิง่ ระคายเคือง Allergic contact dermatitis การสมั ผสั สิง่ ทีก่ อ่ ให้เกดิ การแพ้ (Incident) พบได้บ่อยที่สดุ ประมาณ 80% และเกดิ จากการประกอบอาชีพ พบได้จากการแพ้โลหะต่างๆ น้าหอม และการทายาปฏิชีวนะที่ (occupational contact dermatitis) ผวิ หนัง (topical antibiotics) พยาธสิ รรี วิทยาของการเกิดโรค (Pathophysiology) การสัมผัสกับสารหรือวัตถุท่ีมีฤทธิ์เป็นกรดหรือด่าง ที่ไม่ท้าให้เกิดการ เป็นการตอบสนองทางภมู คิ ุ้มกนั ของรา่ งกาย โดยเมื่อรา่ งกายได้รบั อาการและ ตอบสนองทางระบบภูมิคุ้มกัน แต่ท้าให้การปกป้องช้ันผิวหนัง (skin สารที่ก่อใหเ้ กดิ การแพ้ (allergen) สารน้นั จะซึมเขา้ สูผ่ วิ หนัง ท้า อาการแสดง (Sign and Symptom) barrier) เสียไป ส่งผลให้สารน้ันเข้าสู่ช้ันผิวหนังท่ีลึกลงไปได้ ก่อให้เกิด ใหร้ ะบบภมู คิ มุ้ กันท้างานโดยเม็ดเลอื ดขาวชนดิ ที (T lymphocyte) การวนิ ิจฉยั (Diagnostic) การทา้ ลายและการอกั เสบของช้นั ผวิ หนังตามมา ผลติ cytokines ออกมา ท้าให้เกดิ อาการและอาการแสดงของโรค ผวิ หนงั อักเสบชนดิ นี้ตามมา อาการท่ีพบบอ่ ย เช่น คันมาก ปวด และผิวหนังแดงมีลักษณะเหมือนโดน ระยะเฉียบพลนั จะมีผ่นื แดงนนู และต่มุ น้าใสขนึ้ อยู่บนผื่นนนั้ ความร้อน (burning) และมีลักษณะแห้งจนเห็นร่องผิวหนัง เป็นต้น ระยะเรอื้ รัง ผวิ หนงั จะเปน็ ลกั ษณะปน้ื หนา เห็นร่องผิวหนังชดั เจน และมกั เป็นทบ่ี ริเวณมือ และแขน เมื่อสัมผัสสารหรือสิ่งที่มีฤทธ์ิเป็นกรดหรือด่างอ่อน ผู้ป่วยจะมีอาการคัน ส่วนหนึ่งจะพิจารณาจากประวัติและอาการแสดงที่พบ เช่น บริเวณ มาก ปวดแสบ มีผื่นแดงบริเวณท่ีสัมผัส เป็นเวลาประมาณ 3 เดือน หรือ ทีส่ มั ผัส allergen ผิวหนงั จะมีตุ่มน้าใสอยู่บนผื่นแดงนูน และผู้ป่วย หากสมั ผสั สารหรือส่ิงท่ีมีฤทธิ์เป็นกรดหรือด่างรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการที่ จะคนั มาก ภายใน 10-14 วนั หลังการสัมผสั เป็นต้น รนุ แรงกว่าและเกดิ อยา่ งรวดเร็วหลงั การสมั ผัส

การจัดการโรคผิวหนังอักเสบ การจดั การโรคผิวหนงั อกั เสบ แบ่งออกเปน็ 2 ขัน้ ตอน คอื 1) การประเมนิ เพ่ือวินิจฉยั (investigation) และ 2) การรักษา (treatment) 1. การประเมินเพ่อื วินจิ ฉยั สา้ หรับโรคผิวหนงั อกั เสบ เปน็ การทดสอบผ่นื คนั แพส้ ัมผสั (skin patch testing หรือ patch testing) โดยแพทยจ์ ะน้าสารท่ตี อ้ งการทดสอบ มาปดิ ไวท้ ี่ บริเวณทีไ่ ม่เป็นผ่ืนหรือไม่มีอาการแพ้ ส่วนมากจะเป็นผิวหนงั บรเิ วณสว่ นหลังหรอื ตน้ แขน ซง่ึ แพทยจ์ ะขูดผิวหนังช้ันบน (superficial) ออกก่อนแล้วจงึ ปิดแผ่นทดสอบ หากพบวา่ มีรอยนนู เล็กน้อยสแี ดงหรือซีด ผิวเรียบเกดิ ขน้ึ รอบบรเิ วณท่ปี ิดแผน่ ทดสอบ แสดงวา่ ใหผ้ ลบวก หมายความวา่ ผู้ปว่ ยแพ้สารน้ัน ซึ่งจัดวา่ เปน็ allergic contact dermatitis จงึ แนะน้าให้ ผ้ปู ่วยหลีกเลีย่ งสารทีแ่ พ้และแพทย์จะใหย้ าเพอ่ื รกั ษาต่อไป แต่ irritant contact dermatitis(การสัมผัสสง่ิ ระคายเคือง) ผล patch test จะเปน็ ลบ

การท้าแผลเปียกหรือประคบเยน็ (wet to dry dressing / การรักษา cold compression) เหมาะส้าหรับระยะท่มี สี ่งิ คดั หลงั่ ซึม หรือมีอาการคันมากวธิ นี ี้เป็นการปิดบรเิ วณที่เป็นผ่นื อกั เสบ ดว้ ยก๊อซทีช่ บุ นา้ สะอาด น้ากลนั่ หรือน้าเกลือ ควรเป็น นา้ เย็น เนื่องจากความเยน็ จะชว่ ยใหห้ ลอดเลอื ดหดรัดตวั สง่ ผล ใหล้ ดอาการคันได้ ข้อดขี องวธิ นี ้ี คอื 1) บริเวณผน่ื อักเสบ สะอาดช่วยควบคุมการติดเชอื้ 2) ลดอาการคัน 3) รักษาความ ชมุ่ ชน้ื ของผวิ หนงั และ 4) ช่วยปอ้ งกันการเกา จึงทา้ ให้ บรเิ วณที่เป็นผน่ื อักเสบหายได้เร็วขึน้ เปา้ หมายทส่ี า้ คัญ คอื รักษาความชมุ่ ชื้นของผวิ หนงั ควบคมุ หรือป้องกันการติดเชอื้ และลดอาการคัน การทายาสเตอรอยดเ์ ฉพาะที่ (topical steroids / corticosteroids therapy) เปน็ การทายา ประเภทสเตอรอยด์บรเิ วณผ่นื อกั เสบ โดยสเตอรอยดน์ อ้ี อกฤทธ์ิ 4 กลไกหลัก คอื 1) ตา้ นการอักเสบ (anti-inflammatory) 2) กดระบบภูมคิ มุ้ กัน (immunosuppressive) 3) ต้านการแบ่งตัวของ เซลล์ (antiproliferative) และ 4) ทา้ ใหห้ ลอดเลอื ดหดตวั (vasoconstrictive effects) ซึ่งผล จากท้งั 4 กลไก ท้าให้ลดความรุนแรงของการเกิดผิวหนังอกั เสบได้

การพยาบาลผ้ปู ่วยผใู้ หญท่ ่เี ป็นโรคผิวหนงั อกั เสบ ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับการท้า wet to dry dressing วันละ 2-4 ครั้ง หรือบ่อยครั้งเท่าท่ีจ้าเป็น โดยการทา้ wet to dressing มีวธิ ีปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. น้าก๊อซขนาดพอเหมาะกบั บริเวณผิวหนังอกั เสบ ชุบนา้ สะอาด นา้ กลนั่ น้าเกลอื ที่มอี ณุ หภูมเิ ย็น บิดให้พอหมาด หลังจากน้ันวาง ก๊อซบนผิวหนังอักเสบ โดยห้ามเทน้าลงบน ก๊อซท่วี างบนผืน่ โดยตรง เพราะทา้ ให้ระคายเคืองเพม่ิ ข้ึนได้ กรณีที่ผิวหนังอักเสบมลี ักษณะเป็นตุ่มน้า ใสท่ีแตกแล้ว (eruption) หรือมีส่ิงคัดหล่ังซึมออกมาก ให้เช็ดออกก่อน เพ่ือลดการสะสมของเช้ือ โรค แล้วจงึ วางก๊อซชบุ น้าลงไป 2. วางก๊อซทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที โดยไม่จา้ เปน็ ต้องน้าก๊อซแหง้ ผ้า หรอื พลาสติกมาปิดทับ (occlusive dressing) เน่ืองจากจะท้าให้อุณหภูมิบริเวณผิวหนังอักเสบสูงขึ้น ส่งผลให้มีอาการคนั และเสีย่ งต่อการตดิ เชอ้ื เพ่มิ ได้

การพยาบาลผปู้ ่วยผใู้ หญ่ทีเ่ ปน็ โรคผิวหนงั อักเสบ ดูแลผปู้ ่วยใหไ้ ดร้ บั การท้า topical steroid / corticosteroid ตามแผนการรักษา ดงั น้ี 1. ทายาบางๆ บริเวณที่เป็นพร้อมกับนวดเบาๆ เพื่อให้ยาซึมเข้าสู่บริเวณที่อักเสบ โดยไม่ จา้ เปน็ ตอ้ งท้าความสะอาดกอ่ นทายาแต่ละครง้ั 2. กรณที ่ีผวิ หนังอักเสบมสี ่งิ คดั หลั่งซึมมากหรอื อยู่ในระยะ acute eczematous inflammation ควรท้า wet to dry dressing ก่อน หลังจากน้ันจึงท้า topical steroid ตามแผนการรักษา หรือท้า occlusive dressing หลังการทายา เพื่อเพิ่มการดูดซึมของยา แต่ไม่ควรปิด พลาสติกไว้เกิน 12 ชั่วโมง เน่ืองจากท้าให้อุณหภูมิบริเวณผิวหนังอักเสบสูงขึ้น ท้าให้มีอาการคันและเส่ียง ต่อการติดเช้อื เพิม่ ข้นึ 3. เฝ้าระวังผลขา้ งเคียงที่เกดิ จากการใช้ยา เช่น ผวิ หนงั แหง้ ผวิ หนังแตกลาย สีผิวเปล่ียนแปลง มีตุ่มน้าใสขึ้น เป็นต้น หากพบผลข้างเคียงจากการใช้ยา ควรแจ้งให้แพทย์ทราบ เพื่อให้ การรกั ษาอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป

การพยาบาลผูป้ ่วยผู้ใหญท่ ี่เปน็ โรคผิวหนังอักเสบ ดูแลหรือใหค้ ้าแนะนา้ ในการดูแลความชุ่มชืน้ ของผิวหนงั อักเสบ (moisturizer) ของ ผู้ป่วย ด้วยโลชั่นหรือครีมชนิดอ่อนโยน ที่ไม่มีส่วนประกอบของยาหรือน้าหอม เน่ืองจากอาจท้าให้เกิด การระคายเคืองซา้ ได้ ซง่ึ การดูแลความชมุ่ ชน้ื ของผิวหนงั อักเสบมดี ังน้ี 1. ทาโลชั่นหรอื ครมี หลงั จากทายาสเตอรอยดไ์ ปแลว้ 2-3 ชั่วโมง และ สามารถทาโลช่นั หรือครมี ไดบ้ ่อยคร้ังตลอดทั้งวนั 2. เม่อื ผิวหนงั อักเสบผ่นื หายแลว้ ควรทาโลช่ันหรือครีมอยา่ งตอ่ เน่อื ง ทกุ คร้งั หลังอาบน้า เพ่อื ให้ผิวหนังชุม่ ชนื้

การพยาบาลผูป้ ว่ ยผ้ใู หญ่ที่เป็นโรคผิวหนงั อกั เสบ 2. การดแู ลในระยะ chronic eczematous inflammation ทีส่ ้าคัญ คอื การตัดวงจรการ คันและเกา (itch-scratch cycle) โดยเป็นการบรรเทาอาการคันเพ่ือลดการเกาบริเวณผิวหนังอักเสบ ร่วมกบั การดแู ลผิวหนงั ให้ชุม่ ชื้น 3. ดูแลให้ไดร้ บั ยาปฏิชีวนะเพ่อื ป้องกนั การตดิ เชอื้ ซ้า เช่น ไดคล๊อกซาซลิ ลิน (dicloxacillin) เปน็ ตน้ และยาแกค้ นั เพอ่ื บรรเทาอาการคัน เชน่ อะทาแรกซ์ (atarax) เป็นตน้

ใหค้ า้ แนะน้าในการปฏบิ ตั ิตัวเม่ือกลบั บ้าน หลกี เลี่ยงสง่ิ ท่ีก่อใหเ้ กิดการแพ้ หลกี เลีย่ งการอาบนา้ ดว้ ยนา้ อุ่นจดั หลกี เลย่ี งการใสเ่ สือผา้ ทีเ่ ปน็ ผา้ ไหม ผ้าขนสตั ว์ ผา้ ฝา้ ย ควรเลือกใช้สบู่ ผงซกั ฟอก โลช่ัน ครมี รวมถึงเครือ่ งส้าอางที่ อ่อนโยน

ใหค้ า้ แนะน้าในการปฏิบตั ติ วั เมอ่ื กลบั บ้าน ใช้การประคบเยน็ ด้วยผา้ ชบุ นา้ สะอาด อุณหภมู เิ ย็น รับประทานยาตามแผนการรกั ษา สังเกตอาการผิดปกติทีค่ วรมาพบแพทย์ทนั ทเี พอ่ื รับการ รกั ษาท่เี หมาะสมตอ่ ไป



โรคสะเกด็ เงิน (Psoriasis)

โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) - เปน็ การอกั เสบเรอ้ื รังของผวิ หนงั ที่ไม่ใชโ่ รคตดิ ต่อ - เป็นโรคเกย่ี วกับระบบภูมคิ ุ้มกนั ทา้ ลายตนเอง หรอื โรคแพภ้ ูมติ นเอง (autoimmune disease) - มกั เป็นบริเวณศีรษะ แขน ขา และล้าตวั - ปัจจัยเสี่ยงท่ีกระตุ้นให้เกิดโรคสะเก็ดเงิน เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล การติดเช้ือ การเปล่ียนแปลงของฮอร์โมน การ เปลย่ี นแปลงฤดูกาล การโดนแสงแดดจดั เปน็ เวลานาน เปน็ ต้น - ปจั จยั เหล่านีท้ ้าใหร้ า่ งกายเกิดการตอบสนองของระบบภูมคิ ุ้มกนั ของรา่ งกายท่ที ้าให้มีการสรา้ งชน้ั ผิวหนังหนาตัวขนึ้

โรคสะเก็ดเงนิ (Psoriasis) พยาธิสรีรวทิ ยาของการเกิดโรค กลไกการเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด แต่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ (พันธุกรรม ควบคุมโรคสะเก็ดเงินจะแฝงมาตังแต่เกิด) ซ่ึงร่างกายจะคิดว่าเซลล์ผิวหนังเป็นสิ่ง แปลกปลอม จึงส่งสัญญาณไปท่ีระบบภูมิคุ้มกันจนเกิดการตอบสนองด้วยการแบ่งตัว ของเซลล์ผิวหนัง (keratinocyte)ที่เร็วกว่าปกติ 6-9 เท่า ท้าให้กระบวนการสร้างชัน ผวิ หนงั ชนั บนผิดปกติ ผิวหนงั จะหนาเปน็ ชันๆ แต่เซลล์ผิวหนังจะขาดแรงยดึ เหนี่ยว ท้า ให้เคอราติน (keratin)หลุดลอกออกเป็นแผ่นๆ และมีสะเก็ดจะหนาผิดปกติ (hyperkeratosis) หรือเป็นขุย (scale) รว่ มด้วย

โรคสะเกด็ เงิน (Psoriasis) ลักษณะทางคลนิ ิกของโรคสะเก็ดเงนิ จะแสดงออกทางผวิ หนงั เป็นผื่นแดง นนู มขี อบเขตชดั เจนและมีขยุ สขี าวเงนิ (silvery scale) ติดอยู่คอ่ นข้างแนน่ หาก silvery scale หลุดออกจะเห็นเปน็ พนื้ ผวิ สีแดงเข้มและมีเลอื ดออก เรียกวา่ Auspitz sign

ลักษณะทางคลินกิ และความรนุ แรงของโรคสะเกด็ เงนิ แบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะ ความผดิ ปกติ ลักษณะทางคลนิ กิ ความ ความหมาย ของผวิ หนงั รนุ แรง (โดยผน่ื ขนาดประมาณ 1 ฝา่ มอื ลกั ษณะที่ 1 ผน่ื แดง มี ขยุ สีขาวเงนิ ( silvery scale) เท่ากับ พน้ื ทปี่ ระมาณร้อยละ 1) ลักษณะที่ 2 ผ่ืนนูนแดงหยาบหนาและแห้งลอกมี ระดบั น้อย มีผื่นน้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นท่ี สะเกด็ ตึงและแตกเปน็ ร่องแผลเล็กๆ ผิวท่ัวรา่ งกาย ลักษณะที่ 3 ผิวหนังมีลักษณะเช่นเดียวกับ 1 หรือ 2 ระดับมาก มีผ่ืนมากกว่าร้อยละ 10 ของพื้นท่ี แตจ่ ะมีการติดเชอื เกดิ ขึน ผวิ ทว่ั รา่ งกาย

ชนดิ ของโรคสะเกด็ เงนิ (Classification of Psoriasis) ชนิด อาการทางคลนิ ิก plaque psoriasis เป็นชนิดท่ีพบบ่อย ผิวหนังมีลักษณะเป็นผ่ืนแดงหนา (erythematous plaque) มี silvery scale อยู่บนผื่นแดง และมีขอบเขตชัดเจน พบบ่อยท่ีบริเวณหนังศีรษะ ล้าตัว แขน ขา โดยเฉพาะบริเวณท่ีมีการเสียดสีบ่อยครัง เช่น รกั แร้ ขาหนบี ใต้ราวนม เป็นตน้ guttate psoriasis ผวิ หนงั มีลกั ษณะเปน็ ตุ่มแดงคลา้ ยหยดนา้ ขนาดเล็กไมเ่ กิน 1 เซนติเมตร pustule psoriasis ชนิดนพี บนอ้ ย ผวิ หนังจะมตี ุ่มหนองกระจายบนผวิ หนงั ท่มี กี ารอกั เสบและแดง หากเป็นมากอาจมไี ขร้ ว่ มด้วย erythrodermic ชนดิ นพี บน้อย เป็นสะเก็ดเงนิ ชนิดรนุ แรง ผวิ หนังจะมลี ักษณะแดงและมขี ยุ ลอกเกือบทว่ั รา่ งกาย psoriasis





โรคสะเกด็ เงิน (Psoriasis) • อาการและอาการแสดง 1. เจบ็ แสบผิวหนงั เน่ืองจากการอกั เสบของผิวหนัง ในรายท่ีอาการรุนแรง อาจพบมีรอยแตกของผิวหนังได้ 2. ตึงและคันผิวหนัง เนื่องจากเซลล์ผิวหนังมีการแบ่งตัวเร็วมากกว่าปกติ ท้าให้เกิดผ่ืนแดง มีสะเก็ดหนา การท้าหน้าที่ของ ผิวหนงั เส่อื มลง และมีการสญู เสียนา้ ในชันผวิ หนังมากกวา่ ปกติ ทา้ ให้มีอาการผวิ หนังแหง้ ตงึ และคนั ได้ ภาวะแทรกซอ้ น 1. ภาวะขาดน้าและสารอาหาร (dehydration and malnutrition) เนื่องจากการสูญเสียน้าทางผิวหนัง โดยเฉพาะชนิด pustule psoriasis ซึ่งผ้ปู ว่ ยมักจะมไี ข้สูงมากกวา่ 38.5 องศาเซลเซียส ทา้ ให้อตั ราการเผาผลาญเพ่ิมขึน และสูญเสียน้า ทางผิวหนงั เพิ่มขนึ โดยมอี าการและอาการแสดง เช่น อ่อนเพลีย หนา้ มดื เวยี นศีรษะ คล่ืนไส้อาเจียน ชีพจรเบาเร็ว หรือ มภี าวะชอ็ ก เป็นตน้ 2. ภาวะไข้สูง เป็นภาวะที่อุณหภูมิร่างกายสูงมากกว่า 38.5 องศาเซลเซียส เกิดจากการกระบวนการอักเสบ ติดเชือ หรือ ภาวะขาดนา้

การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคสะเก็ดเงิน 1. ดูแลผิวหนังบริเวณท่ีเป็นโรคสะเก็ดเงิน เพือ่ ลดการอกั เสบและอาการตึงคัน โดยดูแลให้ผู้ป่วยได้อาบน้าเพ่อื รักษาโรค (medical bath) โดยการแชต่ วั ลงในอ่างอาบนา้ ทผ่ี สมนา้ มนั ดิน ซึง่ มี 2 แบบ คือ การอาบน้าโดยแช่ในน้ามันดิน (coal tar bath) ในอตั ราส่วนของน้ามันดินต่อน้า เป็น 60 ml : 120 lit แช่นานประมาณ 15- 20 นาที เพอ่ื ลดอาการคัน และมักนิยมใช้ร่วมกับการฉายแสง UVB รวมเรียกว่า Goeckeman regimen เนื่องจากน้ามันดิบ ชว่ ยให้ผิวหนงั ไวตอ่ แสง เป็นการเสริมฤทธิ์ใหก้ ารฉายแสงมปี ระสิทธิภาพมากขึน การอาบน้าโดยใช้น้ายาท่ีท้าให้ผิวนุ่ม (emollient bath) ในอัตราส่วนของน้ายาต่อน้า เป็น 80 ml : 120 lit แช่นานประมาณ 10-30 นาที เพือ่ ช่วยลดการอักเสบ ลดอาการแหง้ ตงึ คัน และทา้ ใหผ้ วิ หนงั สะอาดนมุ่ ชมุ่ ชนื

การพยาบาลผูป้ ว่ ยโรคสะเกด็ เงิน 2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการทายาตามแผนการรกั ษา เพอ่ื ลดการอักเสบและละลายขุยสะเก็ด สะเก็ดหนา หลุดลอกงา่ ย ชว่ ยใหผ้ ิวหนงั อ่อนนุ่ม ป้องกันรอยแตกแยกของผิวหนัง และช่วยลดความตึงคันของผิวหนัง พยาบาลควรปฏิบัติหรอื ให้คา้ แนะนา้ ผู้ปว่ ย ดังนี 1. อาบนา้ ก่อนทายาทุกครัง เพ่ือให้รูขุมขนเปดิ ผิวหนังชุ่มชืน จะชว่ ยให้ยาดูดซึมไดด้ ี 2. ทายาในแนวนอนของเส้นขน ห้ามทาย้อนขนหรือทาขึน ๆ ลง ๆ เพ่ือป้องกันการเกิดรูขุมขน อักเสบ 3. ทาแป้งฝนุ่ ทบั เบาๆ บรเิ วณที่ทายา แลว้ จงึ สวมเสอื ผ้า โดยทายาทิงไว้ 15-30 นาที หรือไม่เกิน 2 ชวั่ โมง หลงั จากนนั เชด็ ออกดว้ ยน้ามนั มะกอกหรอื นา้ มนั พืช

การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคสะเก็ดเงิน 3.กรณที ี่ผปู้ ว่ ยมีผน่ื หรือสะเกด็ หนามากและเป็นบริเวณกว้าง ให้ทายารว่ มกับการท้า occlusive dressing ตามแผนการรักษา เพอื่ ช่วยใหย้ าดดู ซึมไดด้ ีและสะเกด็ หนาหลดุ ลอกได้งา่ ยขึน โดยเม่อื หลงั จากทายาแล้ว ให้ใช้แผ่นพลาสติกสะอาดปิดคลุมผิวหนังให้แนบสนิท แล้วใช้พลาสเตอร์ยึดติด ไว้ ทงิ ไว้ 2-8 ชว่ั โมง หรอื ตามแผนการรกั ษา แล้วจงึ แกะพลาสตกิ ออกแล้วทิงผิวหนงั ไวใ้ หแ้ ห้ง หลังจากนัน จึงให้ผู้ปว่ ยอาบน้า ซึง่ วิธกี ารนีมักท้าในเวลากอ่ นนอน 4. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการท้า wet to dry dressing เพือ่ ช่วยท้าความสะอาดผิวหนังท่ีมีตุ่มหนอง สะเก็ด หรือน้าเหลือง ใหห้ ลุดลอกและแหง้ ลง

การให้คาแนะนาแก่ผปู้ ว่ ยทีไ่ ด้รับการรักษาดว้ ย photochemotherapy กอ่ นการฉายแสง ขณะได้รบั การฉายแสง หลงั การฉายแสง 1. ควรหลีกเล่ียงการสัมผัสแสงแดดในวันท่ี 1. ควรสวมแว่นตาด้าขณะรับการฉายแสง 1. ควรทาครีมหรือโลชั่น เพ่ือให้ผิวชุ่มชื้น จะฉายแสง แต่หากจ้าเป็นต้องสัมผัส เพอ่ื ป้องกนั ดวงตาไม่ให้รับแสงโดยตรงและ และปอ้ งกันผวิ แห้ง แสงแดด ควรทาครีมกันแดดหรือสวม ป้ อ ง กั น ก า ร เ กิ ด เ บ่ื อ บุ ต า อั ก เ ส บ 2. หากเกดิ ผลขา้ งเคยี งจากการฉายแสง ให้ เสื้อผ้าแขนขายาว เพ่ือป้องกันไม่ให้ผ่ืนท่ี (conjunctivitis) ประคบเย็น โดยใช้ผ้าชุบน้าเย็น หรือ cold ได้รับการฉายแสงต้องโดนแสงแดดอีก 2. ปกปิดบริเวณผิวหนังปกติเพ่ือป้องกัน packหุ้มด้วยผ้าบางๆ แล้ววางบริเวณ เน่ืองจากอาจท้าใหเ้ กิดผลขา้ งเคียงจากการ ผลขา้ งเคียงจากการฉายแสง ฉายแสงรุนแรงข้นึ ผวิ หนงั ทม่ี อี าการคัน แสบ หรือผิวหนังแดง 3. หากพบว่าบริเวณท่ีฉายแสงมีอาการ ประมาณ 15-30 นาที เพื่อลดอาการคนั 2. หลีกเลี่ยงการทายา ครีม หรือโลชั่น แดงบวมและตึง ให้แจ้งเจ้าหน้าท่ีฉายแสง 3. แนะน้าให้มารับการฉายแสงตามนัดทุก ยกเว้นครีมกันแดด บริเวณที่เป็นผื่นก่อน เพื่อหยดุ การฉายแสงทนั ที การฉายแสง เพื่อให้การฉายแสงออกฤทธิ์ ค ร้ั ง เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร รั ก ษ า จ ะ ไ ด้ ผ ล ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ จ้าเปน็ ต้องได้รบั การฉายแสงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

ใหค้ า้ แนะน้าในการดแู ลตนเองเมอื่ กลบั บา้ น ดังนี้ - หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นที่ท้าให้เกิดโรคสะเก็ดเงิน เช่น ความเครียด ยาบางชนิด ฝุ่น ละออง การเกา เป็นต้น นอกจากนีควรหลีกเล่ียงการถูกแสงแดดเป็นเวลานาน หรือใส่ เสือผ้าปกปดิ ผวิ หนงั หรอื กางร่ม เพ่ือป้องกันการระคายเคอื งของผิวหนงั - หลีกเลี่ยงการแคะแกะเกา ขัดถูบริเวณผื่น และตัดเล็บให้สันอย่เู สมอ หากคนั ให้ใชม้ ือกด บรเิ วณที่คนั และลูบเบาๆ หรอื ใชค้ วามเย็นประคบความเยน็ เพอ่ื ลดอาการคัน

- ดแู ลความสะอาดของร่างกาย โดยปฏิบัติ ดังนี้ 1. อาบนา้ ด้วยนา้ อณุ หภูมิปกตหิ รอื น้าอ่นุ ทีอ่ ณุ หภูมิเท่ากบั ร่างกาย เพอ่ื รกั ษาความชุ่มชนื ของผิวหนังและผื่น 2. หลีกเล่ียงการใช้สบู่ท้าความสะอาดร่างกาย เน่ืองจากท้าให้เกิดการระคายเคืองมากขึน ยกเว้นตามบริเวณท่ีมี กลิน่ อับ เช่น รักแร้ ขาหนีบ เป็นต้น สามารถใช้สบู่ที่มีฤทธอ์ิ ่อน ๆ ทา้ ความสะอาดได้ 3. กรณีเป็นที่หนังศีรษะ ควรสระผมด้วยแชมพูผสมน้ามันดิน (tar-shampoo)และใช้หวีซี่ถ่ีๆ หวีเบาๆ เพื่อให้ สะเก็ดหลุดออก และนวดศีรษะด้วย triamcinolone lotion วันละ 2 ครัง เพ่ือลดการอักเสบ นอกจากนีควร ตดั ผมสนั เพื่อให้สามารถใหก้ ารดูแลไดง้ า่ ยขึน แชมพยู าทใ่ี ช้สา้ หรับรักษาภาวะเกีย่ วกบั ผวิ หนงั ที่เกดิ จากโรคสะก็ดเงินทห่ี นังศรี ษะ ในแชมพูน้ามันดนิ นจี้ ะมีสว่ นผสมของน้ามนั ดนิ ท่ไี ดจ้ ากการเผาถา่ นและไม้ ช่วยลดการ เจรญิ เติบโตของเซลลผ์ วิ หนงั

ใหค้ ้าแนะน้าในการดแู ลตนเองเมือ่ กลับบา้ น ดงั นี้ - ทาสารเพม่ิ ความช่มุ ชนื ทผ่ี วิ หนัง - รับประทานเพมิ่ โปรตีน เพ่อื ทดแทนการสญู เสยี โปรตีนจากสะเกด็ ทีห่ ลดุ ลอกออก - ดมื่ นา้ มากกวา่ 2 ลิตรต่อวัน กรณไี มม่ ีขอ้ หา้ ม เพ่ือทดแทนการสญู เสยี นา้ ทีอ่ อกทางรอยโรค - แนะน้าให้ทายา รับประทานยา และมารับการรักษาตามนัดอย่างสม้่าเสมอ กรณีผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยา methotrexate ควรแนะนา้ ใหผ้ ปู้ ่วยหลกี เลีย่ งการด่มื แอลกอฮอล์ เนื่องจากทา้ ใหต้ บั เสยี หน้าทีเ่ พ่มิ ขึน - ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับโรคสะเก็ดเงินว่าเป็นโรคไม่ติดต่อ รวมถึงส่งเสริมให้ญาติให้เข้าใจและให้ กา้ ลังใจผู้ป่วย เพื่อไม่ใหเ้ กดิ การรงั เกยี จจากคนรอบขา้ ง



กล่มุ อาการสตเี วนส์จอหน์ สัน (Stevens-Johnson Syndrome; SJS)

อุบัติการณ์นอ้ ย แตม่ ีความรุนแรงมาก เกดิ ความผดิ ปกตทิ ีผ่ วิ หนังและเยอ่ื บุ (mucous membrane) ซงึ่ เกดิ จากภูมิคุม้ กันไวตอ่ การตอบสนองต่อการการแพย้ าหรือการติดเช้อื ผู้ป่วยมักจะมีอาการทางผิวหนงั ร่วมกับในเยื่อบอุ ย่างนอ้ ย 2 แหง่ มกี ารหลุดลอกของผวิ หนงั ไม่เกนิ 10% ของพน้ื ทรี่ ่างกาย สาเหตุหลกั เกิดจากการแพย้ า ซึง่ ผู้ป่วยมกั มีประวตั ิไดร้ ับยาที่เสย่ี งตอ่ การ เกิดกล่มุ อาการสตีเวนสจ์ อห์นสัน เชน่ อัลโลพวิ รินอล (allopurinol)อะ เซตามิโนเฟน (acetaminophen) ไอบโู พรเฟน (ibuprofen) เป็นตน้

พยาธิสรีรวทิ ยาของการเกิดโรค การเกิด SJS มีความสัมพันธ์กับสาเหตุหลายประการ แต่สาเหตุหลักคือการแพ้ยา ซ่ึง ยงั ไม่สามารถอธิบายกลไกได้ชัดเจน แต่เช่ือว่าเกิดจากการขาดความสามารถในการก้าจัด พิษยาออกจากร่างกาย (inability to detoxify drugs metabolites) จึงท้าให้ร่างกาย เกดิ ปฏกิ ิรยิ าไวต่อการแพย้ า (delayed-type hypersensitivity) เกดิ ขึน

อาการและอาการแสดง อาการระยะแรก อาการระยะที่ 2 ระยะสุดทา้ ย อาการทีเ่ กิดภายใน 2-3 วันแรก เชน่ อาการหลังจากเกิดผืน่ แดงไม่นาน (ภายในเวลาเป็น เปน็ ระยะท่มี ีภาวะแทรกซอ้ นเกิดขึน้ เชน่ สี - ป ว ด แ ส บ ป ว ด ร้ อ น ที่ เ ย่ื อ บุ ต า ( conjunctiva นาทถี ึงชวั่ โมง ) ผวิ กระดา้ กระด่าง (hyper / burning) หรือคัน - เริ่มเกิดเป็นตุ่มน้าและหลุดลอกออกเป็นแผ่นใหญ่ hypopigmentation) เล็บเสยี รวมถงึ โดยมีการหลุดลอกของผิวหนังชั้นepidermis เปิด อาการทางตา ซง่ึ อาการทางตาทพ่ี บบ่อย - ผวิ หรือเย่ือบบุ วมตึง (cutaneous tenderness) ให้เหน็ ถงึ ช้ันdermis ท้าให้เสี่ยงตอ่ การตดิ เชอ้ื ได้ เช่น ตาแหง้ ขนตาใหมง่ อกท่ิมตา หนงั ตา - มไี ข้ ไอ เจบ็ คอ ปวดศีรษะ - ปวดแสบผิวหนังและรูส้ กึ ตึงทีผ่ ิวหนัง แบะเข้า ปิดตาไม่สนทิ แผลท่กี ระจกตา อาการหลงั จาก 2-3 วนั ต่อมา เช่น ปากแห้งเปน็ แผล เปน็ ต้น - กรณีทไี่ มเ่ กิดผิวหนังลอก ให้ใชห้ ลงั เลบ็ ขดู เบาๆ ท่ี - มีผ่ืนแดง (erythema) เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตาม ขา้ งผ่ืนแดง จะมผี ิวหนังหลุดลอกตามแรงขดู ผวิ หนังและเย่ือบุต่างๆ รวมถึงเย่ือบุช่องปาก เยื่อบุตา เรียกวา่ Nikolsky sign ให้ผลบวก (positive) เยื่อบุอวัยวะสืบพันธุ์ โดยผืน่ แดงท่ีเกิดขึ้นจะมีลักษณะ พเิ ศษคือตรงกลางเปน็ ตุ่มน้าหรือมีสีเข้มหรือมีการตาย - บางรายทมี่ ีอาการรุนแรงจะมอี าการของระบบอ่ืนๆ หลุดลอกของผิวหนัง ล้อมรอบด้วยผ่ืนแดงเรียบ รว่ มด้วย เช่น หายใจลา้ บาก ไอ มเี สมหะ เจบ็ อก หัว บางครั้งผ่ืนแดงอาจจะกลายเป็นตุ่มน้าขนาดใหญ่ ใจเต้นผิดจังหวะ ปวดท้อง เลือดออกในทางเดิน อาหาร ปสั สาวะเปน็ เลือด เปน็ ตน้ (bullous) และแตกออก (eruption)

การพยาบาลผู้ปว่ ยกลุม่ อาการสตเี วนสจ์ อห์นสัน 1. ดูแลใหไ้ ด้รบั ยาสเตอรอยดต์ ามแผนการรักษา เพอ่ื กดการท้างานของภูมิคุ้มกัน เพ่ือลดการตอบสนอง ตอ่ การแพ้ ท้าใหอ้ าการบวมของเยอื่ บตุ ่างๆ ในร่างกายลดลง 2. ดูแลเพื่อป้องกันการตดิ เชือซ้า ดังนี 1. ให้การพยาบาลตามหลกั ปราศจากเชอื (aseptic technique) 2. ใหย้ าปฏิชวี นะตามแผนการรักษา 3. หากญาติต้องการเข้าเย่ียม ควรแนะน้าญาติสวมเสือคลุม สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือก่อนและ หลังสัมผัสผู้ป่วย แต่หากผู้ป่วยมีการติดเชือเกิดขึน ควรงดการเข้าเย่ียม เพ่ือป้องกันการ แพรก่ ระจายเชือและการตดิ เชือซ้า

การพยาบาลผูป้ ่วยกลมุ่ อาการสตเี วนส์จอห์นสนั 3. ดูแลให้ได้รบั สารน้าทางหลอดเลือดดา้ ตามแผนการรักษา เพ่อื ทดแทนปรมิ าณนา้ ที่สญู เสียไปทางแผล 4.ดูแลการได้รับสารอาหาร ซึ่งควรเป็นอาหารที่มีพลังงานสูงและโปรตีนสูง เพ่ือเสริมสร้างผิวหนังท่ี สูญเสียไปและชดเชยโปรตีนท่ีสูญเสียไป โดยเร่ิมให้สารอาหารทางหลอดเลือดด้า (parenteral nutrition) ก่อน 5. ท้าความสะอาดแผลแบบ wet to dry dressing และการก้าจดั เนือตาย (debridement) โดยใช้ผ้า ก๊อซชุบน้าเกลือ บิดหมาดๆ ปิดทิงไว้ 5-10 นาทีแล้วเอาออก ท้าวันละ 4 ครัง หรือกรณีที่มีเนือตาย บรเิ วณกว้าง แพทย์จะท้าการตัดผิวหนังที่ตายออกและฟอกล้างแผลซึ่งจะท้าในห้องผ่าตัด หลังจากนันจะ ปิดแผลดว้ ยกอ๊ ซชบุ ยาปฏิชวี นะและห่อบรเิ วณแผลดว้ ยกอ๊ ซแหง้ อีกครงั

การพยาบาลผู้ปว่ ยกลมุ่ อาการสตเี วนส์จอห์นสัน 6. ดแู ลอณุ หภมู ิของหอผูป้ ว่ ย ให้อยใู่ นอุณหภมู ิ 30-32 องศาเซลเซยี ส เพือ่ ลดการสญู เสยี น้าและโปรตนี ทางผวิ หนงั 7. ตดิ ตามเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกิดขึน เชน่ - ภาวะแทรกซ้อนทางตา เช่น เยื่อบุตาดึงรัง (conjunctiva retraction) รอยแผลเป็นที่ดวงตา (corneal lesion) เป็นต้น จึงควรตรวจดูดวงตาผู้ป่วยทุกวันเพื่อประเมินอาการและอาการแสดง เช่น คัน ปวดแสบ ปวดร้อนบรเิ วณตา ตาแห้ง เป็นต้น - ภาวะติดเชอื ในกระแสเลอื ด (sepsis) อาการและอาการแสดง เชน่ มีไข้ อณุ หภูมิ ร่างกาย > 38 องศาเซลเซียส ชีพจร > 90 ครัง/นาที อัตราการหายใจ > 20 ครัง/นาที ผลตรวจนับเม็ดเลือด (complete blood count ; CBC) พบคา่ เมด็ เลือดขาว (white blood count ; WBC) > 12,000 หรือน้อยกว่า 4,000/ลบ.มม. และบริเวณแผลมีลักษณะของการอักเสบติดเชอื เปน็ ตน้ - ภาวะเซลล์ผิวหนังอักเสบ (cellulitis) อาการและอาการแสดง เช่น ผิวหนังรอบๆแผลมีรอยผ่ืนแดงนูน ขอบเขตไม่ชัดเจน กดเจ็บหรอื ปวด สัมผัสร้อน มไี ข้ เป็นตน้

การพยาบาลผ้ปู ว่ ยกลมุ่ อาการสตเี วนส์จอห์นสนั 8. กรณีผู้ป่วยมีแผลที่ปาก ควรดูแลให้ได้รับการทาวาสลีนที่ปาก หรือหากผู้ป่วยมีอาการเจ็บบริเวณปากมาก อาจ ให้ยาชาชนิดพน่ ตามแผนการักษา 9. กรณีที่ผ้ปู ่วยมีภาวะแทรกซอ้ นทางตา เชน่ เยือ่ บุตารงั เปน็ ตน้ แนวทางการให้พยาบาลมี ดังนี - ทายาอิริโทรมัยซิน (erythromycin ointment) ตามแผนการรักษา เพ่ือป้องกันการเกิดพังผืดท่ีตา (ocular adhesion) และดวงตาแห้ง - ปิดตาด้วยแผ่นปิดตาเย็นหรือชุบด้วย sterile water หมาดๆ (cool or damp cloth) เพื่อลดอาการแสบ รอ้ นบริเวณดวงตา - ดูแลดวงตาให้สะอาดอยู่เสมอ และสังเกตลักษณะสิ่งคัดหล่ังท่ีออกมา หากมีอาการตาแห้ง ให้ทาด้วยยา หลอ่ ลนื่ ตามแผนการรักษาและปดิ ตาด้วยกอ๊ ซหรอื แผน่ ปดิ ตา (eye pad) - แนะน้าใหห้ ลกี เล่ียงการขยีตา เพ่ือปอ้ งกนั การเกิดอนั ตรายเพม่ิ ขนึ และป้องกันดวงตาตดิ เชอื - หากมอี าการทางตาท่รี นุ แรง ควรรายงานแพทยร์ ับทราบ เพอ่ื ให้การรกั ษาทีเ่ หมาะสมต่อไป

การพยาบาลผปู้ ่วยกลุ่มอาการสตเี วนสจ์ อห์นสนั 10. ให้คา้ แนะน้าแก่ผูป้ ว่ ยและญาติ เมือ่ กลบั ไปอยบู่ ้าน ดงั นี - รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และออกก้าลังกายอย่างสม้่าเสมอ เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านของร่างกาย และส่งเสรมิ การหายของแผล - แนะน้าการกลับมาพบแพทย์ หากเกิดกลุ่มอาการสตีเวนส์จอห์นสันขึนอีก โดยให้น้ายาที่ได้รับประทาน ไปในช่วง 3 สปั ดาห์ก่อนเกิดอาการมาพบแพทยด์ ้วย เพอื่ ค้นหาสาเหตุของการเกิดต่อไป

เซลลผ์ ิวหนงั อกั เสบ (Cellulitis)

เซลล์ผิวหนงั อกั เสบ (Cellulitis) สาเหตุ ส่วนมากเกิดจากการติดเช้ือแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Streptococcus group A หรอื B ปัจจยั เส่ยี ง การได้รับอุบัติเหตุ หรือมีบาดแผล การผ่าตัดต่างๆ โรค เรื้อรังของหลอดเลือดด้าหรือหลอดเลือดแดง การได้รับยา ทางหลอดเลือดดา้ ภาวะภูมิต้านทานต่้า

เซลลผ์ ิวหนังอกั เสบ (Cellulitis) พยาธิสรีรวทิ ยา เม่ือร่างกายได้รับเช่ือโรคเข้าไปทางแผลหรือได้รับเชื้อปนเป้ือนจากการ ได้รับยาหรือสารน้าทางหลอดเลือด ท้าให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย จนช้ัน ผวิ หนังเกิดการ ตดิ เชื้อเกดิ ขึน้ อาการและ ผื่นแดง บางรายอาจเกิดเป็นตุ่มน้าใส รู้สึกปวด สัมผัสอุ่นหรือร้อน และ อาการแสดง บวมเน่ืองจากหลอดเลือดขยายตัวและมีการยอมผ่านของสารน้าเพิ่มขึ้น นอกจากน้ีอาจมไี ขห้ รือตอ่ มน้าเหลืองโต (lymphadenopathy) รว่ มดว้ ย ภาวะแทรกซอ้ น การตดิ เช้อื ซ้า (secondary infection)

เซลล์ผวิ หนังอักเสบ (Cellulitis) การประเมินเพอ่ื วนิ ิจฉยั - จากอาการและอาการแสดง บางรายอาจมไี ข้ หรอื หนาวสน่ั การรกั ษา -การส่งชิ้นเนื้อหรือดูดของเหลวในตุ่มน้าใสไปเพาะเช้ือ จะพบเช้ือ Staphylococcus aureus และ Streptococcus group A หรือ B ทา้ ลายเชื้อโรคทเ่ี ป็นสาเหตุ ใหย้ าปฏิชวี นะ

การพยาบาลผปู้ ่วยเซลลผ์ ิวหนังอักเสบ 1. ดแู ลเพ่ือกา้ จัดเชอื โรคทเี่ ปน็ สาเหตุและลดการสะสมของเชือโรค ดังนี 1. ให้ยาปฏชิ ีวนะตามแผนการรักษา เพ่ือรกั ษาการติดเชือตน้ เหตุ 2. ท้า wet to dry dressing เพ่ือท้าความสะอาดแผลและลดการสะสมของเชือ โรค 2. ดแู ลเพอื่ บรรเทาอาการปวดและบวมของอวัยวะท่ีเปน็ เซลลผ์ วิ หนงั อักเสบ ดังนี 1. ยกแขนหรือขาท่มี ีพยาธิสภาพขึนสูงกวา่ ระดบั หัวใจ 2. บรรเทาความปวดดว้ ยวธิ ีการไมใ่ ช้ยา และใช้ยาตามแผนการรักษา

การพยาบาลผู้ป่วยเซลล์ผิวหนังอักเสบ 3. ดแู ลลดไข้ โดยการเชด็ ตวั เพ่ือลดไข้ (tepid sponge) หรือ ดูแลใหไ้ ด้รบั ยาลดไข้ตามแผนการรักษาร่วมกับการเช็ดตัว ลดไข้ 4.ติดตามอาการและอาการแสดงบริเวณที่เป็นซ้า เช่น การวัดอุณหภูมิร่างกาย การสังเกตบริเวณที่เกิดพยาธิสภาพ เป็น ต้น เพ่ือใหก้ ารพยาบาลที่เหมาะสมตอ่ ไป 5. คา้ แนะน้าในการดูแลตนเองเมอ่ื กลบั ไปอย่บู า้ น ดังนี - การปอ้ งกนั การกลบั เป็นซ้า เช่น รับประทานยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ป้องกันการเกิดบาดแผลหรือแมลง กัดต่อย หรือเม่อื เกดิ บาดแผลควรรีบท้าความสะอาด หากเปน็ บาดแผลขนาดใหญ่ ควรไปพบแพทย์ เปน็ ต้น - แนะนา้ อาการท่คี วรรบี มาพบแพทย์ เช่น ไข้สงู หนาวสัน่ คลนื่ ไส้อาเจียน บรเิ วณท่เี กดิ บาดแผลบวมแดงและปวด มากขึน เปน็ เพ่อื ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมตอ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook