Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติงานกระบวนการขนส่งนักกีฬามหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

คู่มือปฏิบัติงานกระบวนการขนส่งนักกีฬามหาวิทยาลัยเข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย

Published by nong-buu, 2019-05-13 01:03:08

Description: work_manual

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน การส่งนกั กีฬามหาวิทยาลัยบรู พาเข้าร่วมการแขง่ ขันกฬี ามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ความเป็นมา การกีฬามีความสาคัญต่อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน ทัง้ ในดา้ นสุขภาพพลานามัย และดา้ นจติ ใจ ซ่งึ เป็นปัจจยั สาคัญท่ีทาให้ประชาชนสามารถพัฒนาคุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคมได้ กีฬาถูกนาไปใช้เปน็ เคร่ืองมือเพื่อสร้างความเข้มแขง็ ของครอบครวั และชุมชน ในประเทศที่พัฒนาแล้วทัว่ โลกจะอาศัยกระบวนการของกีฬาเพื่อสร้างการมสี ว่ นร่วม เครือข่าย ชมุ ชน ตลอดจนการสร้างจติ สานึกในการดารงชีวิตทม่ี ีคุณธรรม มวี ินยั และมีความรับผิดชอบต่อหนา้ ที่ เคารพ สิทธขิ องตนเองและผูอ้ นื่ เปน็ รากฐานท่ีดีของสังคม จึงมีการสนับสนนุ ใหม้ ีการใชก้ ีฬา การออกกาลงั กาย และนันทนาการเป็นเครื่องมือในการส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ของประชาชนให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและ ใจสามารถใชช้ ีวติ ได้อย่างมีความสขุ (กองกีฬาและนนั ทนาการ, ๒๕๖๐) มหาวทิ ยาลัยบูรพา เป็นสถาบันอุดมศึกษาชนั้ นาในภาคตะวนั ออก ทเ่ี ลง็ เห็นความสาคญั ของการพฒั นาดา้ นกีฬาสคู่ วามเปน็ เลิศของนสิ ติ และการออกกาลงั กายเพ่ือสุขภาพของนสิ ิต บุคลากร และประชาชนทั่วไป ซึ่งเปน็ ไปตามพันธกจิ หลัก ของมหาวิทยาลยั บูรพา ได้แก่ ๑) ดาเนนิ การจัดการ ศกึ ษาอย่างเสมอภาคเทา่ เทียม ควบค่กู บั การเสรมิ สร้างเสรีภาพทางวชิ าการและการใฝ่เรยี นรู้ตลอด ชวี ิตบนพืน้ ฐานของหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๒) ดาเนนิ การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย เพือ่ สร้างและพฒั นา องค์ความรูใ้ นศาสตรแ์ ขนงต่าง ๆ และดาเนนิ การใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการ และการถ่ายทอดองค์ความรู้ เพอื่ การพฒั นาศักยภาพของหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจน สงั คมชมุ ชนใหส้ ามารถรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางดา้ นการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม ที่มีความเป็นพลวัตสูงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๓) ดาเนนิ การสง่ เสรมิ และสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ ในรปู แบบต่าง ๆ โดยครอบคลุมการทานุบารุงศลิ ปะ วัฒนธรรม ศาสนา และการกีฬา รวมทงั้ แสดง บทบาทนาในการพฒั นาสังคมชุมชนและส่ิงแวดลอ้ มอย่างต่อเนือ่ ง (มหาวิทยาลัยบรู พา, ๒๕๕๘) โดยมกี องกีฬาและนนั ทนาการ สานักงานอธกิ ารบดี เป็นหน่วยงานสนบั สนนุ ทางการศึกษา แก่นสิ ิต บุคลากรของมหาวทิ ยาลยั และประชาชนทว่ั ไป ในการให้บริการด้านการส่งเสริมสนับสนนุ การ พฒั นากีฬาของนสิ ิตให้ไปสู่ความเป็นเลศิ รวมท้ังการจัดบรกิ ารให้กบั นิสิตได้ออกกาลังกายเพื่อให้มี สุขภาพรา่ งกายทแ่ี ข็งแรงมีชีวิตอยอู่ ย่างเป็นสขุ ในมหาวทิ ยาลยั บรู พา ซึง่ เป็นไปตามพันธกิจของกองกีฬา และนันทนาการ ทม่ี ีการสนบั สนนุ การพัฒนาศักยภาพของนักกีฬามหาวทิ ยาลยั บูรพาให้ไปสู่ความเป็น เลศิ กองกฬี าและนันทนาการ มกี ารสง่ นกั กีฬามหาวิทยาลัยบูรพา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬามหาวทิ ยาลัย แหง่ ประเทศไทยเปน็ ประจาทุกปี ซงึ่ การแข่งขนั รายการน้ถี ือเป็นเวทีทสี่ าคัญที่นักกีฬา จะแสดง ความสามารถและศักยภาพทางกีฬาของตนเองให้เปน็ ท่ีประจักษ์ เน่ืองจากมีนักกฬี าทม่ี ีความสามารถ ทางกีฬาสูงจากมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ ท่สี ่งนักกฬี าเขา้ รว่ มการแข่งขันกีฬาในทุกปี จึงเป็นบททดสอบทดี่ ี ของนักกีฬามหาวทิ ยาลยั บรู พา ท่จี ะแสดงความสามารถทางกีฬาใหเ้ ต็มศักยภาพของตนเอง สามารถ

๒ สรา้ งชอ่ื เสียงใหก้ บั ตนเองและมหาวทิ ยาลัยบรู พา ซงึ่ สามารถพฒั นาต่อยอดไปส่กู าร เป็นนกั กฬี าทีมชาติ ไทยไดต้ อ่ ไป ผเู้ ขยี นจึงได้รวบรวมองคค์ วามรู้และประสบการณ์จากการปฏิบตั งิ านท่ีเป็นกระบวนการ/ข้นั ตอน แรกท่ีสาคัญ กอ่ นการจะดาเนนิ งานในขน้ั ตอนอนื่ ตอ่ ไป ในการจดั สง่ นกั กฬี ามหาวทิ ยาลัยบรู พาเขา้ ร่วม การแขง่ ขนั กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โดยจัดทาเป็นคมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านขึ้นเพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ น การปฏิบัตงิ านต่อไป ๑. วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ ให้หน่วยงานมคี ู่มอื การปฏบิ ัตงิ านกระบวนการส่งแขง่ ขันกีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศ ไทย เพื่อใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานทราบขั้นตอนการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ๒. เพอ่ื เปน็ แนวทางสาหรบั ผู้ปฏิบัติงานใหม่ในการปฏิบัติงานการส่งนักกฬี ามหาวิทยาลัยบรู พา เขา้ ร่วมการแขง่ ขันกฬี ามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ๒. ขอบเขต คมู่ อื การปฏิบัติงานนี้ ครอบคลมุ ขั้นตอนการปฏิบัติงานตงั้ แต่ การจัดประชมุ ตัวแทนแต่ละชนดิ กฬี า การรวบรวมเอกสารของนกั กีฬาและเจา้ หนา้ ท่ที ีมแต่ละชนดิ กฬี า การบันทึกขอ้ มูลนักกีฬาและ เจา้ หนา้ ทที่ มี ในระบบสารสนเทศการแขง่ ขันกีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย การทาหนังสือขอ ใบรับรองผลการเรยี นเพ่ือเปน็ ขอ้ มลู ในการตรวจสอบนักกีฬากรณที ี่ไมเ่ ปน็ ไปตามคุณสมบัติที่กาหนด จนกระท่ังนักกีฬาสามารถเขา้ ร่วมการแข่งขันกีฬามหาวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทยได้ตามจานวนชนดิ กีฬาที่ มหาวิทยาลัยบรู พาส่งเขา้ ร่วมการแขง่ ขัน ๓. คาจากดั ความ ๑. กีฬามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย หมายถึง การแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยเร่มิ ตน้ จดั การแข่งขันครัง้ แรกเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ภายใต้การควบคุมดูแลของ คณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย (วิกพิ เี ดีย, ๒๕๖๒) ๒. คณะกรรมการบริหาร หมายถึง คณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย (ระเบียบคณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย, ๒๕๕๙) ๓. คณะอนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมกีฬาเพื่อความเปน็ เลิศ หมายถงึ คณะอนกุ รรมการฝา่ ย ส่งเสรมิ กฬี าเพื่อความเปน็ เลิศ ซง่ึ คณะกรรมการบริหารเป็นผู้แต่งตง้ั ๔. ข้อบังคบั คณะกรรมการบริหารกฬี ามหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย หมายถงึ ข้อบงั คบั คณะกรรมการบริหารกีฬามหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕

๓ ๕. ระเบียบคณะกรรมการบริหารกฬี ามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย หมายถึง ระเบยี บ คณะกรรมการบริหารกีฬามหาวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย วา่ ดว้ ย การจัดการแข่งขันกฬี ามหาวทิ ยาลัย แห่งประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๖. ประกาศคณะอนุกรรมการฝา่ ยส่งเสริมกฬี าเพื่อความเป็นเลศิ หมายถงึ ประกาศ คณะอนุกรรมการฝา่ ยส่งเสรมิ กฬี าเพ่อื ความเปน็ เลิศ ว่าด้วย การจดั การแขง่ ขนั กีฬาชนดิ ต่าง ๆ ตามที่มหาวิทยาลัยเจ้าภาพและคณะอนุกรรมการฝา่ ยส่งเสริมกีฬาเพ่ือความเปน็ เลิศ เป็นผูก้ าหนด ๗. ระบบสารสนเทศสมัครเข้าร่วมการแข่งขนั กีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย หมายถงึ ระบบสารสนเทศการสมัครเข้ารว่ มการแขง่ ขันกีฬามหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทยของนักกฬี า เจ้าหนา้ ที่ ทมี และ เจ้าหนา้ ทท่ี ี่เก่ียวขอ้ ง โดยตรวจสอบคณุ สมบัติของนกั กฬี าจากคลังข้อมูลอดุ มศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ๘. คลังข้อมูลอุดมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา หมายถึง ข้อมลู ของนสิ ิตท่ี มหาวทิ ยาลยั จะต้องสง่ ข้อมลู ของนสิ ติ ทุกชนั้ ปี เขา้ ไปในคลังขอ้ มูลอุดมศึกษา ตามระยะเวลาที่กาหนด ๙. กระบวนการสง่ นกั กีฬาเข้ารว่ มการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย หมายถึง การ จัดประชมุ ตวั แทนแตล่ ะชนิดกฬี า การแสดงความจานงเขา้ ร่วมการแขง่ ขันของชนดิ กีฬาและประเภทการ แขง่ ขนั กีฬา การบันทึกขอ้ มลู ในระบบสารสนเทศการสมัครแขง่ ขันของนักกีฬาและเจ้าหน้าท่ี และ นกั กฬี าสามารถเข้าร่วมการแขง่ ขันไดค้ รบทุกชนิดกีฬา ๔. หน้าท่คี วามรบั ผิดชอบ หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของงานพัฒนากีฬา งานพัฒนากีฬา มีหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบในการให้บริการหลัก ๒ ดา้ น ดงั นี้ ๑) การพฒั นากีฬาเพ่ือความเป็นเลิศของนิสิต มหี นา้ ท่ีในการให้บริการด้านการส่งเสริมใหน้ ักกีฬามหาวิทยาลัยบูรพาได้ แสดงศกั ยภาพทางกฬี า ในการเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ในรายการต่าง ๆ เพอ่ื ใหน้ กั กีฬาไดร้ บั ประสบการณ์ ดา้ นกฬี า สามารถวิเคราะหจ์ ุดออ่ นของตนเองเพ่ือนามาปรับปรุงพัฒนาให้ไปสคู่ วามเป็นเลศิ ได้ ซ่งึ รายการแขง่ ขนั ทีง่ านพฒั นากีฬา ส่งเข้ารว่ มการแขง่ ขันเป็นประจาทุกปี คือ การเข้ารว่ มการแข่งขนั กฬี า มหาวทิ ยาลัยแหง่ ประเทศไทย ถอื วา่ เปน็ เวทสี าคัญท่ีนักกีฬามหาวทิ ยาลัยบูรพา จะพิสูจน์ฝมี ือด้านกีฬา ได้อยา่ งเตม็ กาลงั ความสามารถของตนเอง เนอ่ื งจากมนี ักกีฬาจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วประเทศเข้า ร่วมการแขง่ ขันกีฬา ซงึ่ เปน็ เครือ่ งพสิ ูจน์ความสามารถของนักกีฬามหาวิทยาลัยบูรพาท่จี ะกา้ วไปสคู่ วาม เป็นเลิศได้ ท้งั ยังเป็นการสร้างช่อื เสียงใหก้ ับตนเองและมหาวทิ ยาลยั บูรพาอีกดว้ ย ๒) การส่งเสรมิ การออกกาลังกายเพอื่ สุขภาพของนิสิต บคุ ลากร และประชาชนทว่ั ไป มกี ารจดั กิจกรรมสง่ เสริมสุขภาพของนิสิต บคุ ลากร และประชาชนทัว่ ไป โดยมีจัดการแข่งขันกีฬาพืน้ บ้านภาคตะวนั ออก การจดั การแขง่ ขันกฬี าบุคลากรภายในมหาวทิ ยาลัย บูรพา การส่งแข่งขันกีฬาบุคลากรสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา การใหบ้ ริการยืมอุปกรณ์

๔ กีฬาสาหรับออกกาลังกาย การให้บรกิ ารเครื่องออกกาลังกายกลางแจง้ รอบสวนนนั ทนาการ ศนู ย์ออกกาลังกายมหาวิทยาลัยบูรพา (BUU FITNESS BURAPHA) กองกฬี าและนนั ทนาการ มีสายการบงั คับบัญชา ประกอบดว้ ย อธิการบดี เป็นผบู้ ังคบั บญั ชา สูงสดุ รองอธกิ ารบดฝี ่ายกิจการนิสติ ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝ่ายกจิ การนสิ ิต ผอู้ านวยการกองกีฬาและ นันทนาการ เปน็ ผบู้ ังคับบญั ชา ตามลาดับ และการดาเนนิ งานของกองกีฬาและนนั ทนาการ เป็นการ บริการดา้ นต่าง ๆ ทั้งการสง่ แขง่ ขนั กีฬา การจดั การแขง่ ขันกฬี า การบริการสนามกีฬาสาหรับการเรยี น การสอน การจัดกิจกรรมต่าง ๆ การออกกาลังกายเพอ่ื สุขภาพ ซ่งึ ครอบคลมุ ทงั้ นสิ ติ บุคลากร และ ประชาชนท่ัวไป (กองกีฬาและนันทนาการ, ๒๕๖๐) โครงสร้างองค์กรของกองกฬี าและนันทนาการ อธิการบดี รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกจิ การนสิ ิต ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายกจิ การนิสติ ผูอ้ านวยการกองกฬี าและนนั ทนาการ งานบริหารทัว่ ไป งานบรหิ ารสนามกีฬา งานพฒั นากีฬา ภาพท่ี ๑ โครงสร้างองค์กรของกองกีฬาและนนั ทนาการ สานักงานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั บูรพา (กองกีฬาและนันทนาการ, ๒๕๖๐) จากโครงสร้างองคก์ รของกีฬาและนันทนาการ ผู้เขียนได้ปฎบิ ัตงิ านอยูใ่ นงานพฒั นากฬี าและ เปน็ หวั หน้างานพฒั นากีฬา มีหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบในการใหบ้ รกิ ารทั้งกีฬาเพ่ือความเป็นเลศิ ของนิสิต และกีฬาเพ่ือสขุ ภาพของนสิ ติ บคุ ลากร และประชาชนท่ัวไป โดยเฉพาะกฬี าเพ่ือความเป็นเลศิ ของนสิ ิต

๕ จะดาเนนิ การสง่ นักกีฬามหาวิทยาลัยบูรพาเข้าร่วมการแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทยเป็น ประจาทกุ ปีตามรายละเอียดดังกล่าวข้างตน้ ๕. การตรวจเอกสาร ในการจดั ทาคมู่ ือการปฏิบัติงานเร่ืองกระบวนการสง่ นักกีฬามหาวทิ ยาลยั บูรพาเข้าร่วมการ แขง่ ขนั กฬี ามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทยในครัง้ น้ี เพอ่ื ให้ได้กระบวนการปฏิบัติงานทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถึงเพื่อให้ผู้ปฏิบัตงิ านใหม่ไดร้ บั ทราบ เป็นแนวทางการปฏบิ ตั งิ าน เสริมสมรรถนะองค์ความรูต้ าม สายงาน/ตาแหนง่ นี้ โดยมกี ารตรวจสอบแนวคดิ ทฤษฎี และเอกสารวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง ในประเด็นที่ เก่ยี วขอ้ งใหเ้ ห็นข้อกาหนดสาคญั การกาหนดขั้นตอน แนวทางปฏบิ ตั ิทมี่ ีคุณภาพในการพัฒนา กระบวนการ คุณภาพ/มาตรฐานในการปฏิบัติงานในกระบวนการที่เลอื กจดั ทาคมู่ ือปฏิบตั ิงานเปน็ สาคญั ประกอบด้วย ๑. แนวคดิ เกยี่ วกับการใหบ้ ริการท่ีเปน็ เลิศในดา้ น service mind ๒. การบริหารงานดว้ ยวงจรคุณภาพเดมมงิ่ (PDCA) ๑. แนวคิดเกย่ี วกบั การให้บริการทีเ่ ปน็ เลศิ ในดา้ น service mind ความสาคญั ของการบริการ การขายสนิ ค้าหรือผลิตภัณฑ์ใด ๆ ก็ตาม จะต้องมีการบริการรว่ มอยู่ดว้ ยเสมอ กรณีเป็นองคก์ ร หรือธุรกจิ บรกิ าร ตวั บริการ คือ สินคา้ การขายจะประสบความสาเร็จไดต้ ้องมกี ารบริการที่ดี ธรุ กจิ การคา้ ทั้งในภาคราชการหรือภาคธรุ กิจเอกชนจะอยู่ไดต้ ้องทาใหเ้ กดิ การขายซ้า คือ ตอ้ งรักษาลูกค้า กล่มุ เดิมไวแ้ ละเพิม่ ลูกคา้ รายใหม่ให้ได้การบริการท่ดี จี ะชว่ ยรักษาลูกค้าเดมิ ไวไ้ ด้ทาใหเ้ กิดการขายซ้า หรอื การกลับมาใชบ้ ริการ อีกและมีการชักนาใหม้ ีลูกคา้ หรือผ้มู าใช้บรกิ ารกลมุ่ ใหม่ ๆ เกิดข้นึ ตามมา ความสาคญั ของการบริการ (สมติ สชั ฌุกร, ๒๕๔๒, หนา้ ๑๔ – ๑๕) อาจพิจารณาไดใ้ น ๒ ดา้ น ดงั น้ี ๑. บรกิ ารที่ดีจะส่งผลใหผ้ รู้ ับบริการมคี วามรู้สึกชอบหรือพึงพอใจ ทง้ั ต่อตวั ผใู้ หบ้ ริการและ หน่วยงานที่ให้บรกิ าร ดงั น้ี ๑.๑) มีความชื่นชมในตัวผ้ใู ห้บรกิ าร ๑.๒) มคี วามนยิ มในหนว่ ยงานที่ให้บริการ ๑.๓) มีความระลกึ ถงึ และยนิ ดมี าขอรบั บริการอีก ๑.๔) มคี วามประทบั ใจทดี่ ีไปอกี นาน ๑.๕) มีการบอกตอ่ ไปยังผูอ้ ่ืนหรือแนะนาให้มาใช้บริการเพิ่มขน้ึ ๑.๖) มีความภักดตี อ่ หน่วยบริการท่ใี หบ้ ริการ ๑.๗) มีการพูดถึงผูใ้ ห้บรกิ ารและหน่วยงานในทางทด่ี ี

๖ ๒. บรกิ ารท่ไี มด่ ีจะสง่ ผลใหผ้ ้รู บั บริการมีความร้สู ึกไม่ชอบหรอื ไม่พึงพอใจ ทง้ั ต่อตัวผู้ให้บริการ และหนว่ ยงานท่ใี ห้บริการ ดงั นี้ ๒.๑) มคี วามรงั เกยี จตวั ผูใ้ ห้บรกิ าร ๒.๒) มคี วามเส่อื มศรัทธาในหน่วยงานท่ีให้บริการ ๒.๓) มีความผิดหวงั และไม่มาใช้บริการอีก ๒.๔) มคี วามรู้สึกทไ่ี มด่ ตี ่อการบรกิ ารของหน่วยงานไปอกี นาน ๒.๕) มีการบอกต่อไปยังผู้อน่ื หรอื แนะนาไม่ใหผ้ อู้ น่ื มาใชบ้ ริการ ๒.๖) มีการพดู ถึงผู้ให้บริการและหน่วยงานในทางทีไ่ มด่ ี ดังกลา่ วมาขา้ งต้นเป็นส่ิงที่ ช้ใี หเ้ หน็ ถึงความเจรญิ และความเสือ่ มอันเป็นผลมาจากการให้บริการทดี่ แี ละไมด่ ี ซง่ึ เปน็ ความสาคญั อยา่ งมากต่อการใหบ้ ริการ องคป์ ระกอบของระบบบรกิ าร มดี งั นี้ ๑. ผู้รบั บรกิ าร คอื ผ้ทู ี่เขา้ มาใชบ้ รกิ ารและแจ้งความจานงในเร่ืองบริการต่าง ๆ ๒. ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านบรกิ าร คือ ผ้ทู ่ีให้บรกิ ารหรือผทู้ ่รี ับความจานงนน้ั ๆ ไปปฏบิ ัตใิ ห้ตรง ความตอ้ งการมากที่สุด ๓. องค์การบริการ คือ หนว่ ยงาน ส่วนงานทใ่ี ห้บรกิ าร ๔. ผลิตภัณฑ์บรกิ าร คอื ส่ิงท่ีจบั ต้องไดแ้ ละเปน็ ส่งิ ท่ีจบั ต้องไมไ่ ด้ ๕. สภาพแวดล้อมของการบริการ คอื องคป์ ระกอบด้านตา่ ง ๆ ทมี่ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งในการ ให้บรกิ าร ๖. ลกั ษณะของการบริการ ดังนี้ ๖.๑) สาระสาคัญของความไวว้ างใจ (trust) ๖.๒) ส่งิ ทีจ่ บั ต้องไมไ่ ด้ (intangibility) ๖.๓) ลกั ษณะท่ีแบง่ แยกออกจากกนั ไม่ได้ (inseparability) ๖.๔) ลกั ษณะที่แตกตา่ งไม่คงท่ี (heterogeneity) ๖.๕) ลกั ษณะที่ไม่สามารถเก็บรักษาไวไ้ ด้ (perish ability) ๖.๖) ลักษณะท่ีไม่สามารถแสดงความเปน็ เจา้ ของได้ (non-ownership) ลักษณะของการให้บริการ องค์กรสามารถใหก้ ารบริการแกล่ ูกค้า ผู้มาใชบ้ รกิ ารโดยอาศยั วธิ กี ารหรอื เครื่องมือต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. การใหบ้ รกิ ารโดยอาศยั คนเปน็ หลกั หรือแบบพบหนา้ (Face to Face) เปน็ วิธีการ ท่ีดีกวา่ วธิ ีอน่ื เพราะการใช้คนในการให้บรกิ ารสามารถปรบั เปล่ียนการบริการให้เหมาะสมกับลูกค้าหรือ ผรู้ ับบรกิ ารแต่ละคนได้ และลักษณะของการบรกิ ารจะเปน็ แบบใกลช้ ดิ ดงั นั้น หากองค์ใดมีเจ้าหนา้ ที่ท่ี ให้บริการได้ดกี บั ลกู คา้ ผรู้ ับบริการจะประทบั ใจ ก็จะทาให้องค์กรนัน้ ประสบความสาเรจ็ ได้ไมย่ าก แต่ วิธีการน้ีมขี อ้ จากัดในเร่ืองของความแตกต่างในการให้บริการ ณ เวลาทต่ี ่างกัน เนอื่ งจากการให้บรกิ าร จะไม่เหมือนกันมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารในแตล่ ะครั้งกไ็ ม่เทา่ กนั

๗ ๒. การให้บริการดว้ ยอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ปัจจุบันนับวา่ มีความสาคัญมากเน่ืองจาก การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีตา่ ง ๆ ทีม่ ีการพฒั นาเพื่อสนองความต้องการให้ลกู ค้า ผรู้ ับบรกิ าร สามารถบริการไดด้ ้วยตนเอง (Self Service) และมีตน้ ทุนการใหบ้ รกิ ารตา่ กวา่ การใชค้ นใหบ้ ริการ ซึ่ง การใหบ้ รกิ ารแตล่ ะครง้ั จะมมี าตรฐานเท่ากนั แต่การใหบ้ ริการด้วยวิธีน้มี ขี อ้ จากดั ในเรื่องการปรับรูปแบบ การใหบ้ รกิ ารตามความตอ้ งการของลูกค้าแต่ละรายไดย้ าก (สพุ รรณี อนิ ทร์แกว้ , ๒๕๔๙) การใหบ้ ริการลูกค้ามีความสาคัญมาก องค์กรจะใหค้ วามสาคัญกบั การให้บรกิ ารเพ่ือ สร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า ผู้รบั บริการต้ังแตต่ ้นจนจบกระบวนการ ซ่งึ ต้องสรา้ งความประทับใจทุก ๆ สว่ นของการบริการทงั้ วธิ กี ารใหบ้ ริการทีใ่ ชค้ น และการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสโ์ ดยเฉพาะการให้บรกิ าร ที่ใช้คนเป็นหลกั จะมผี ลกระทบตอ่ ความพึงพอใจหรอื ไม่พึงพอใจได้มากกว่าบริการท่ีพักอาศัย อปุ กรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์ในการให้บริการ ศลิ ปะการใหบ้ รกิ ารทค่ี วรยดึ ถือปฏิบตั ิ คอื “SERVICE MIND” สูก่ ารบริการที่เป็นเลิศ SERVICE MIND ตรงกับภาษาองั กฤษส่ือความหมายได้ดังน้ี S = Smile แปลวา่ ยมิ้ แยม้ E = enthusiasm แปลว่า ความกระตอื รือร้น R = rapidness แปลวา่ ความรวดเร็ว ครบถ้วน มคี ณุ ภาพ V = value แปลวา่ มคี ุณค่า I = impression แปลว่า ความประทบั ใจ C = courtesy แปลว่า มีความสขุ ภาพออ่ นโยน E = endurance แปลว่า ความอดทน เกบ็ อารมณ์ สาหรับคาว่า “Mind” ได้ใหค้ วามหมายได้ดังน้ี M = make believe แปลวา่ มีความเชอื่ I = insist แปลว่า ยืนยัน/ยอมรบั N = necessitate แปลวา่ การใหค้ วามสาคญั D = devote แปลว่า อุทศิ ตน การเป็นผใู้ หบ้ รกิ ารทเ่ี ปน็ เลศิ การเปน็ ผใู้ หบ้ รกิ ารที่เป็นเลิศนนั้ ผ้ปู ฏิบตั งิ านทุกท่านทกุ ส่วนงานตอ้ งคานงึ ถึงข้ออื่นอกี ดังนี้ ๑) มคี วามรูใ้ นงานทใ่ี ห้บริการ (Knowledge) ผูใ้ ห้บรกิ ารต้องมีความร้ใู นงานทต่ี นเอง รบั ผดิ ชอบทส่ี ามารถตอบขอ้ ซักถามจากผรู้ บั บริการได้อยา่ งถูกต้องและแมน่ ยา ในเร่ืองของสนิ ค้าท่ี นาเสนอ ประวตั อิ งค์กร ระเบียบ นโยบาย และวิธกี ารต่าง ๆ ในองค์กร เพ่ือมิใหเ้ กิดความผดิ พลาด เสียหาย และต้องขวนขวายหาความรู้จากเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิม่ ข้ึนอยา่ งสมา่ เสมอ ๒) มคี วามชา่ งสังเกต (Observe) ผู้ทางานบริการจะต้องมลี ักษณะเฉพาะตวั เป็นคนมี ความช่างสังเกต เพราะหากมีการรบั รวู้ ่าบรกิ ารอย่างไรจึงจะเป็นที่พอใจของผรู้ ับบริการก็จะพยายาม

๘ นามาคดิ สรา้ งสรรค์ใหเ้ กดิ บริการทด่ี ีย่งิ ข้นึ เกดิ ความพอใจและตอบสนองความตอ้ งการของลูกค้าหรือ ผ้รู ับบริการไดม้ ากยง่ิ ขน้ึ ๓) มคี วามกระตือรือรน้ (Enthusiasm) พฤติกรรมความกระตอื รือร้น จะแสดงถึง ความมจี ติ ใจในการต้อนรับให้การชว่ ยเหลอื แสดงความห่วงใย จะทาใหเ้ กิดภาพลักษณ์ท่ีดใี นการ ชว่ ยเหลอื ผรู้ ับบรกิ าร ๔) มีกิริยาวาจาสภุ าพ (Manner) กิรยิ าวาจาเปน็ สง่ิ ท่ีแสดงออกจากความคิด ความรสู้ กึ และส่งผลใหเ้ กิดบุคลิกภาพท่ีดี ดังนน้ั ทาให้ลูกค้าหรอื ผูร้ ับบรกิ ารมคี วามสบายใจท่จี ะตดิ ต่อขอรับบรกิ าร ๕) มีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ (Creative) ผูใ้ ห้บรกิ ารควรมีความคดิ ใหม่ ๆ ไม่ควรยดึ ติดกบั ประสบการณห์ รือบริการทีท่ าอยู่ เคยปฏิบัติมาอยา่ งไรกท็ าไปอยา่ งนน้ั ไม่มกี ารปรับเปลี่ยน วธิ ีการ ใหบ้ ริการจงึ ควรมีความคิดใหม่ ๆ ในการปฏิรูปงานบริการไดด้ ี ๖) สามารถควบคุมอารมณ์ได้ (Emotional control) งานบริการเปน็ งานท่ีใหค้ วาม ช่วยเหลอื จากผู้อื่น ต้องพบปะผู้คนมากมาย การศึกษาทตี่ ่างกัน ดงั น้นั กริ ิยามารยาทจากผรู้ บั บริการจะ แตกตา่ งกนั เมื่อผรู้ บั บรกิ ารไม่ได้ต้ังใจ อาจจะถูกตาหนิพูดจาก้าวรา้ ว กิริยามารยาทไมด่ ีซ่ึงผ้ใู ห้บริการ ต้องสามารถควบคุมสติอารมณไ์ ดเ้ ป็นอย่างดี ๗) มีสตใิ นการแก้ปญั หาทีก่ ิดขึน้ (Calmness) ผรู้ ับบรกิ ารส่วนใหญ่จะตดิ ต่อขอความ ชว่ ยเหลอื ตามปกติ แตบ่ างกรณลี กู ค้าท่ีมีปัญหาเร่งด่วน ผู้ใหบ้ รกิ ารจะต้องสามารถวิเคราะหถ์ งึ สาเหตุ และคดิ หาวิธีในการแก้ไขปัญหาอย่างมสี ติ อาจจะเลือกทางเลือกท่ีดีทสี่ ุดจากหลายทางเลือกในการ ใหบ้ รกิ ารแกล่ ูกค้า ๘) มีทศั นคตติ ่องานบริการดี (Attitude) การบริการเป็นการช่วยเหลอื ผูท้ างานบริการ เปน็ ผใู้ หจ้ ึงต้องมคี วามคดิ ความรู้สกึ ตอ่ งานบรกิ ารในทางทช่ี อบ และเต็มใจทีจ่ ะให้บริการ ถา้ ผู้ใดมี ความคิดความรสู้ กึ ไม่ชอบงานบริการ แมจ้ ะพอใจในการรบั บรกิ ารจากผู้อืน่ ก็ไม่อาจจะทางานบริการให้ เปน็ ผลดไี ด้ ถ้าบุคคลใดมีทศั นคตติ อ่ งานบริการดีกจ็ ะใหค้ วามสาคัญต่องานบริการ และปฏบิ ตั ิงานอย่าง เต็มท่ี เปน็ ผลใหง้ านบริการมีคณุ คา่ และนาไปสคู่ วามเป็นเลิศ ๙) มีความรบั ผิดชอบต่อลูกค้าหรือผรู้ ับบริการ (Responsibility) ในงานดา้ นการตลาด การขายและงานบริการ การปลูกฝังทัศนคติให้เห็นความสาคญั ของลกู ค้าหรือผูร้ ับบริการด้วยการยกยอ่ ง ว่า ลูกคา้ คือ บุคคลทส่ี าคญั ท่ีสุด ทงั้ นเี้ พ่ือให้ผใู้ ห้บริการมีความรบั ผดิ ชอบต่อลกู ค้าอย่างดีท่สี ุด การสรา้ งความประทบั ใจในงานบรกิ าร ความคาดหวงั โดยทัว่ ไปของผู้รับบรกิ าร ไดแ้ ก่ การต้อนรับทอ่ี บอ่นุ ใหค้ วามสนใจและความเอาใจ ใส่ พูดจาสภุ าพไพเราะ ซง่ึ จะทาใหผ้ ู้รับบริการรู้สกึ วา่ เขามีความสาคญั เปน็ ผลให้เขาเกิดความพอใจ แต่ การที่จะทาใหเ้ กดิ ความประทับใจได้น้ัน ต้องทาให้ถงึ ขน้ั ทผ่ี ู้รับบรกิ ารเกดิ ปิติยนิ ดี คอื ต้องใหบ้ รกิ ารท่ี บรรลคุ วามคาดหวังและเหนอื ความคาดหวังข้ึนไป การปฏิบัตติ นของผู้ใหบ้ รกิ ารดว้ ยไมตรีตอ่ ผรู้ บั บริการ และความประทบั ใจจากการต้อนรับของเราย่อมจะเป็นผลใหเ้ ขามาใช้บริการของเราอีก แล้วตวั เราและ องค์กรของเราย่อมจะประสบความก้าวหน้า เราสามารถเติมไมตรีเข้าไปในทุกงานท่ีทา เรมิ่ ต้งั แต่การรัก

๙ การมไี มตรตี ่อผรู้ บั บริการ คือ ตอ้ งเอาใจเขามาใสใ่ จเรา และใหบ้ รกิ ารตรงตามความต้องการ ความมี อัธยาศยั ไมตรี เป็นส่งิ สาคญั ในการให้บริการเพราะความมีอธั ยาศยั ไมตรีจะทาให้ผูร้ บั บริการรู้สกึ อบอุน่ และประทบั ใจ ผู้รบั บริการทุกคนที่มาใช้บริการของเราเขาต้องการให้เรา แสดงออกดังต่อไปนี้ ๑) บริการท่มี ีไมตรีจติ หมายถึง การใหบ้ ริการทดี่ ีบวกกบั องค์ประกอบอน่ื ๆ ก็มี ความสาคัญเช่นกัน แตบ่ รกิ ารทีม่ ีอธั ยาศยั ไมตรจี ิตจะทาใหผ้ ู้รบั บรกิ ารรสู้ ึกอบอนุ่ และประทับใจทไ่ี ดร้ บั การตอ้ นรบั อยา่ งมีอัธยาศยั ๒) ย้มิ เปน็ สิ่งจาเป็นอันดับแรกในการทกั ทายบุคคล เพราะจะทาใหเ้ ขารูส้ ึกอบอนุ่ ใจ และในคาพูดทเี่ ราทักทาย เราสามารถใช้น้าเสียงและท่วงทานองท่เี ป็นธรรมชาตใิ หผ้ ูร้ บั บริการรู้สกึ พอใจ ท่ีมาใชบ้ ริการของเรา ๓) คาพูดทวี่ เิ ศษ คือ คาพดู เหลา่ นี้ “ขอบคุณค่ะ” “ดฉิ ันเสียใจ” “ขอโทษค่ะ” “มอี ะไร ใหด้ ฉิ นั ช่วยไหมค่ะ” ซ่ึงเป็นคาพูดท่ีวิเศษเม่ือคุณใช้กับผรู้ บั บริการ ๔) ใหค้ วามช่วยเหลือและแสดงไมตรีจิตทีจ่ ะทาให้เขาอบอุ่นใจหมายความว่า เรา จะต้องเรียนรู้ ปฏกิ ิรยิ าของผู้อ่นื ตัวอย่างเช่น ถา้ เรารู้วา่ ผรู้ ับบรกิ ารเปน็ คนแปลกหนา้ เราจะตอ้ งเอาใจใส่ เขาเป็นพิเศษต่อความต้องการ ชว่ ยเหลอื ในเร่อื งงานที่มาติดตอ่ สถานท่ีและคาแนะนาอน่ื ๆ เป็นตน้ ๕) ถ้าหากเราใส่ “ยิ้ม” ลงไปในนา้ เสียง หมายความถึง การพูดด้วยนา้ เสยี งท่มี ีไมตรจี ิต และพร้อมท่จี ะให้ความชว่ ยเหลอื อยา่ งไรกต็ ามเราควรหลกี เลีย่ งท่ีจะสัญญาถ้าเราไมแ่ นใ่ จวา่ เราจะทาได้ ๖) พนักงานทกุ คนสามารถแสดงความมีอธั ยาศยั ในการทางานของตนเองให้ดีท่ีสดุ ไม่ ว่าพนักงานผนู้ น้ั จะต้องตดิ ต่อกบั ผรู้ ับบริการโดยตรงหรือไม่ ๗) เราควรทจี่ ะชว่ ยเหลอื ผู้รบั บรกิ าร แมว้ ่าเราเองสามารถช่วยไดเ้ พียงเล็กน้อยใน ปญั หาน้ันแต่ เราอาจขอให้คนอ่ืนช่วยได้แต่อย่างไรก็ตามอย่าพยายามปัดความผิดให้พ้นตัวเอง ควร ยอมรับอย่างอ่อนน้อมและดาเนินการบางอยา่ งเพอื่ แก้ไขความผิดพลาดนั้น ๘) เราควรจะตอ้ งมีอธั ยาศัยไมตรีตอ่ เพื่อนร่วมงานของเราด้วย ทกุ คนจะทางานร่วมกัน ไดด้ ีกวา่ ถา้ ทกุ คนมีไมตรจี ิตต่อกนั ผรู้ ับบริการจะสงั เกตเหน็ ไดช้ ัดวา่ บรรยากาศในการทางาน โดย สว่ นรวมมีอัธยาศัยไมตรีต่อกันมาใชเ่ ฉพาะทเ่ี หน็ ไดจ้ ากคนใดคนหน่ึง ๙) ผู้รบั บริการมเี หตุผลหลายอยา่ งท่ีมาทาการติดต่อกงั องค์กรของเราแตส่ ง่ิ หน่ึงท่ี ผูร้ ับบรกิ ารคาดหวังเสมอวา่ จะได้รับการต้อนรับอยา่ งอบอุ่น และมไี มตรีจิตจากพนักงาน ถา้ เราให้การ ตอ้ นรับเชน่ น้นั ผู้รบั บริการก็จะมคี วามรู้สึกที่ดีต่อองค์กร โดยส่วนรวมและเกิดความไว้วางใจตามมา ความ พอใจในท่สี ดุ การบริหารงานด้วยวงจรคุณภาพเดมมิง่ (PDCA) ในปัจจบุ นั เปน็ ทยี่ อมรบั กนั ทวั่ โลกว่า กลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารทด่ี ที ี่สุด คือ การมงุ่ เนน้ คุณภาพ และในปัจจุบันคุณภาพเป็นเรื่องความพอใจของลูกคา้ หรือผู้รับบริการ ความหมายของคุณภาพจงึ มุ่งให้ ลูกคา้ พึงพอใจหรือตรงตามความตอ้ งการของลกู ค้าทางการศกึ ษา ลกู ค้า หมายถึง ผเู้ รยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง (กรมวิชาการ, ๒๕๔๔)

๑๐ การปรบั ปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) หมายถึง การยกระดับคุณภาพในมุมมองของ ลกู ค้าให้สูงขึน้ มีคุณค่า (Value) ตอ่ ลูกค้ามากข้ึน เชน่ ราคาสนิ คา้ ลดลง ขณะทีค่ ุณภาพยังดีเหมือนเดิม ราคาสนิ ค้าเทา่ เดมิ ขณะทส่ี ินค้ามสี มรรถนะในการใชง้ านมากข้นึ ราคาสินค้าสูงขน้ึ เล็กน้อย แต่สมรรถนะ หรอื หนา้ ท่ีการใช้งานสรา้ งความพงึ พอใจ หรือเกิดคุณคา่ ต่อลูกคา้ มากกวา่ เงินท่จี า่ ยไปน่ันเอง P – D – C – A หรอื วงจรคุณภาพเดมมิง่ คือ ขั้นตอนการพฒั นางาน พัฒนาหนว่ ยงาน พัฒนา องค์กร โดยมีการพัฒนาทักษะของบคุ ลากรควบคู่กนั ไป เริ่มจากการวางแผน/กาหนดเป้าหมาย ( P : Plan ) แล้วนาแผนงานไปปฏบิ ตั ิ ( D : DO ) ทาการตรวจสอบผลการปฏิบตั วิ า่ บรรลุเปา้ หมายทว่ี าง ไว้หรอื ไม่ ( C : Check) ถา้ ยังไม่บรรลุเปา้ หมายก็ทาการแก้ไข/ปรบั ปรุงวิธีการปฏบิ ตั ิหรือทบทวน เป้าหมาย แต่ถา้ บรรลุเปา้ หมายแล้ว กส็ ามารถปรับปรงุ ค่าเป้าหมายท่ที า้ ทายมากย่ิงขึ้นต่อไป (A : Act ) ความหมายของวงจรคุณภาพเดมม่ิง วรภัทร ภ่เู จริญ (๒๕๔๑) กลา่ วว่า วงจรคุณภาพ หมายถงึ ระบบการบรหิ ารงานท่ีมีคุณภาพ เป็นท่รี ู้จกั แพร่หลายระบบหนึ่ง ประกอบดว้ ย ขัน้ ตอนการวางแผน (Plan) การปฏบิ ตั ติ ามแผน (Do) การตรวจสอบหรอื ประเมิน (Check) การนาผลการประเมินยอ้ นกลบั ไปปรบั ปรุงแกไ้ ขการทางาน (Act) การใชว้ งจรคุณภาพต้องดาเนินการอย่างมีวนิ ยั ให้ครบวงจรหมุนเวยี นไปไม่มีหยุดหย่อน วรี พงษ์ เฉลิมจริ ะรัตน์ (๒๕๔๑) ได้ใหค้ วามหมายหารควบคุมคุณภาพ คือ เทคนิคในเชิงระดับ ปฏิบัติการและกิจกรรมเกี่ยวเนือ่ งอืน่ ๆ ที่จัดทาหรือนามาใช้เพือ่ เปน็ การบรรลขุ ้อกาหนดทางดา้ น คุณภาพ จากความหมายดังกล่าว สรุปไดว้ า่ ความหมายของวงจรคุณภาพ หมายถึง กระบวนการ บรหิ ารงานหรือการจดั ระบบการทางาน มีประสิทธภิ าพเพ่ือให้ผลผลิตทอ่ี อกมามคี ุณภาพได้มาตรฐาน ตามเปา้ หมายทีก่ าหนด ขนั้ ตอนการบริหารงานตามวงจรคณุ ภาพเดมม่งิ เดมมงิ่ (Deming, ๑๙๕๐ อ้างถึงใน ชนินทร์ แสงแกว้ , ๒๕๔๖) ไดเ้ สนอข้ันตอนงานบริหารงาน คณุ ภาพ “วงจรเดมม่งิ ” (Deming Cycle) ไว้ ๔ ขน้ั ตอน คอื ๑. การจดั ทาและวางแผน (Plan) ๑.๑) ทาความเขา้ ใจวัตถปุ ระสงคใ์ ห้ชัดเจนแล้วกาหนดหัวข้อควบคมุ ๑.๒) กาหนดคา่ เปา้ หมายทต่ี ้องการบรรลใุ ห้แกห่ ัวข้อควบคุมแตล่ ะข้อ ๑.๓) กาหนดวิธีการดาเนินการเพ่อื ให้บรรลเุ ปา้ หมาย ๒. การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) ๒.๑) หาความรเู้ กีย่ วกบั วธิ ดี าเนินการนน้ั ด้วยวิธีการฝึกอบรมหรอื ศึกษาด้วยตนเอง ๒.๒) ดาเนินการตามวิธที ่กี าหนด ๒.๓) เก็บรวมบันทกึ ข้อมูลทเี่ ก่ียวขอ้ งและผลลพั ธ์ของหัวข้อควบคมุ

๑๑ ๓. การตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผล (Check) ๓.๑) ตรวจสอบวา่ การปฏบิ ตั งิ านเป็นไปตามวธิ กี ารทางานมาตรฐานหรือไม่ ๓.๒) ตรวจสอบว่า ค่าที่วัดได้ (ของตวั แปรทีเ่ กี่ยวข้อง) อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ ๓.๓) ตรวจสอบว่าหวั ขอ้ ควบคุมแตล่ ะข้อได้ตามเป้าหมายท่วี างไวห้ รือไม่ ๔. กาหนดมาตรฐานแก้ไขปญั หาและข้อเสนอแนะที่ทาให้ไม่เป็นไปตามแผน (Act) ๔.๑) ถ้าการปฏบิ ัตงิ านไมเ่ ป็นไปตามวิธกี ารทางานมาตรฐาน ก็หามาตรการแก้ไข ๔.๒) ถ้าผลลัพธ์ทีไ่ ดไ้ ม่เป็นไปตามท่คี าดหวัง กค็ น้ หาสาเหตุและแก้ไขทตี่ ้นตอ เพ่ือไมใ่ ห้ เกดิ ปัญหาซา้ ซากขนึ้ อีก ๔.๓) ปรับปรงุ ระบบการทางานและเอกสารวิธีการดาเนินงานมาตรฐาน สมศกั ดิ์ สินธรุ ะเวชญ์ (๒๕๔๑) ได้กลา่ วไวว้ า่ วงจรคุณภาพมี ๔ ขั้นตอน ดังน้ี ๑. การวางแผน (Plan) จะชว่ ยพัฒนาความคิดตา่ ง ๆ เพือ่ นาไปสู่รูปและแบบที่เปน็ จริงข้ึนมาใน รายละเอยี ดทพี่ ร้อมในการเร่ิมต้นลงมือทา (Do) ๒. ปฏบิ ตั ิ (Do) ประกอบดว้ ย การทางาน ๓ ระยะคือ ๑) การวางแผนกาหนดการโดยแยกแยะ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ๒) การจัดการแบบเมทริกซ์ (Matrix Management) ซึ่งสามารถดึงเอาผู้เชย่ี วชาญ หลายแขนงจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาได้ ๓) การพัฒนาขีดความสามารถในการทางานของผรู้ ว่ มงาน ๓. การตรวจสอบ (Check) ทาใหร้ บั รู้สภาพการณ์ของการทางานทเ่ี ปน็ อยู่เปรียบเทยี บกับ สงิ่ ทีว่ างไว้ ๔. การแกไ้ ขปญั หา (Act) ผลของการตรวจสอบหากพบวา่ เกดิ ข้อบกพรอ่ งข้นึ ทาให้งานทไ่ี ด้ไม่ ตรงตามเป้าหมายหรือผลงานไม่ไดม้ าตรฐาน ให้ปฏิบตั กิ ารแก้ไขปญั หาตามลกั ษณะปัญหาที่พบ วรี ะพล บดรี ฐั (๒๕๔๓) ได้เสนอขัน้ ตอนวงจรคุณภาพไวด้ ังนี้ ๑. การวางแผน (Plan) เป็นจดุ เร่มิ ต้นที่สาคญั ของวงจรเป็นขน้ั ตอนท่ีตอ้ งใชเ้ วลาเพราะจะช่วย ใหข้ ้ันตอนต่อไปดาเนินไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย เนอ่ื งจากไดค้ าดการณ์ส่งิ ที่จะเกิดข้นึ ล่วงหน้าเอาไว้ก่อนแล้ว การ วางแผนเพอ่ื ให้เกดิ การปรับปรงุ งาน การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้ดีขนึ้ อย่างต่อเนอื่ ง จาเป็นต้องเขียนแผนให้ สมบูรณ์ทส่ี ุด ดงั รายละเอียดดังนี้ เลือกเรื่องท่ีต้องการปรับปรุงหรือระบปุ ญั หาทเ่ี กิดขึน้ ต้องเขา้ ใจสภาวะ ในปจั จบุ นั ดว้ ยการเกบ็ ขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วข้องและพยายามคน้ หาสาเหตุของปัญหา กาหนดเป้าหมายท่ตี ้องการ และตัวชี้วดั ความสาเร็จ และเขยี นแผน ๒. การปฏบิ ัตติ ามแผน (Do) ทาตามแนวทางท่ีไดค้ ิดและวางแผนไว้ตั้งแต่ต้น และก่อนท่ีลงมือ ปฏบิ ัติตามแผนนน้ั ควรได้รบั การฝกึ ฝนเพ่ือให้มีความรู้หรือทักษะในวธิ ีการปฏบิ ตั ใิ ห้ถูกต้องเสยี ก่อน และ ถ้าหากเวลาปฏิบัตจิ รงิ มีเหตุการณ์ผิดปกติ ซ่งึ ไมส่ ามารถควบคมุ ได้ การรปรับเปลย่ี นแผนก็เปน็ อีก แนวทางหน่ึงท่ีสามารถนามาใช้ได้เรียกว่า PDCA ย่อย ๆ ใน Do ได้ ๓. การตรวจสอบ (Check) คอื การเทียบคูณผลลพั ธ์กบั แผนทไ่ี ดป้ ฏบิ ัตหิ รอื เปน็ การประเมนิ ทางออกของปัญหาและอุปสรรคที่ได้ลองหาทางแก้ไข ว่าวิธีที่เลือกนน้ั เหมาะสมมากน้อยเพยี งใด การ ตรวจสอบใหไ้ ดผ้ ลดนี ัน้ ควรทาดังนี้ เปรยี บเทียบผลจากการปฏบิ ัติงานจรงิ กับแผนงานที่วางไว้ ตรวจสอบ

๑๒ วา่ มขี ้อมลู อะไรใหม่ ๆ เกดิ ข้ึนบา้ ง รวบรวมและบันทกึ ขอ้ มูลท่จี าเปน็ เพื่อประโยชนใ์ นการวิเคราะห์และ การปรบั ปรุงใหด้ ีขน้ึ ต่อไป ๔. การดาเนนิ การให้เหมาะสม (Act) กรณีผลท่ีเกดิ ขึน้ เป็นไปตามแผนท่วี างไว้ นาวธิ กี ารหรือ กระบวนการปฏบิ ตั ิน้ันมาปรับใชใ้ ห้กลายเป็นนสิ ยั หรอื เป็นมาตรฐาน สาหรบั ใชป้ ฏบิ ัติกบั แผนอ่ืนท่มี ี ลกั ษณะเดียวกนั นอกจากทาเปน็ มาตรฐานแลว้ ยังต้องคดิ หาทางปรบั ปรงุ กระบวนการหรือวธิ ีการทจ่ี ะทา ใหบ้ รรลุแผนน้นั ๆ ใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ ไปอีก กรณีทผ่ี ลกับแผนไมเ่ ป็นไปตามท่ีตอ้ งการไม่วา่ จะมากหรือน้อยให้นา ข้อมลู มาวเิ คราะห์มองหาแนวทางใหม่ ใช้ความพยายามเพิ่มมากขน้ึ ขอความช่วยเหลือจากผอู้ ืน่ หรือ ปรบั เปล่ยี นเปา้ หมายใหม่ และยงั ได้กลา่ วว่า วงจรคณุ ภาพทีส่ มบรู ณน์ ้นั จะเกดิ ข้นึ เม่ือนาผลที่ไดจ้ าก ขัน้ ตอนการดาเนินงานใหเ้ หมาะสมไปสู่กระบวนการวางแผนอีกคร้ังหนึ่ง และจะเป็นวงจรเชน่ น้ตี อ่ ไป เร่อื ย ๆ ไม่มที ีส่ น้ิ สดุ จากการศึกษาเกีย่ วกบั วงจรคุณภาพ สรุปได้วา่ วงจรคณุ ภาพเดมม่ิง (PDCA) ประกอบด้วย ขนั้ ตอนสาคัญ ๔ ขนั้ ตอน คือ ข้นั ท่ี ๑ การวางแผน ข้นั ที่ ๒ การดาเนินงานตามแผน ข้ันท่ี ๓ การ ตรวจสอบประเมนิ ผล และข้ันท่ี ๔ การนาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุง ลกั ษณะของวงจรคุณภาพเป็นการ ดาเนนิ กิจกรรมแบบต่อเนอ่ื ง ครบทกุ ข้ันตอนจะดาเนนิ การเร่อื ย ๆ ไมห่ ยุดนิ่ง ซ่งึ จะทาให้เกดิ การ ปรบั ปรงุ งานและการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ให้ดีข้นึ อยา่ งตอ่ เนื่อง ท้ังน้ี งานพฒั นากีฬาไดน้ าวงจรคุณภาพเดมม่ิง (PDCA) มาใช้ในการปฏิบตั งิ านในกระบวนการ สง่ นักกฬี ามหาวทิ ยาลยั บูรพาเขา้ ร่วมการแข่งขนั กฬี ามหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทย เรมิ่ จากการ ปรกึ ษาหารือเพื่อวางแผนงานในกระบวนการแตล่ ะขัน้ ตอนและรายละเอียดต่าง ๆ ท่สี อดคล้องกับ แผนการปฏบิ ัตกิ ารของคณะอนกุ รรมการฝ่ายสง่ เสรมิ กีฬาเพ่ือความเป็นเลศิ (กกมท.) รวมท้ังการแบ่ง หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของเจ้าหน้าที่งานพฒั นากีฬา แล้วสรุปแผนงานนาเสนอผู้อานวยการกองกีฬา และนนั ทนาการ พิจารณาเห็นชอบใหเ้ หมาะสม และดาเนินการตามแผนงานแต่ละขัน้ ตอน ซึง่ จะมี การตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านใหถ้ กู ต้องทุกขั้นตอน เม่ือพบปัญหาในขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานจะรว่ มกัน หาแนวทางการแก้ไขปญั หาใหด้ าเนินการต่อไปจนเสรจ็ สิ้นกระบวนการ โดยมีการสรุปปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ ทุกข้ันตอนเพอ่ื มาปรกึ ษาหารือหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขปัญหาหรอื หาวธิ ีการใหม่ ๆ สาหรับการ ปฏบิ ัติงานในปีต่อไป เพราะกระบวนการน้เี ป็นกระบวนการแรกและเป็นเรือ่ งท่ีสาคัญท่ีตอ้ งใชค้ วาม รอบคอบไม่ใหเ้ กดิ ขอ้ ผดิ พลาด เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายและสาเรจ็ ตามแผนงานที่กาหนดไว้ และทาให้ กระบวนการอ่นื ดาเนนิ ต่อไปได้

๑๓ ๖. ผังกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน (Work Flow) ๖.๑ ผงั กระบวนการปฏิบตั ิงานภาพรวม (Work Flow) กระบวนการส่งนักกฬี า มหาวิทยาลัยบูรพาเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั กฬี ามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ผ้เู ขียนออกแบบข้ันตอนกระบวนการส่งนกั กีฬามหาวทิ ยาลัยบรู พาเข้าร่วมการแขง่ ขันกีฬา มหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย เพอื่ ใหม้ ีความชัดเจน สามารถเข้าใจง่าย โดยมสี ญั ลักษณ์ ดังน้ี จุดเรมิ่ ตน้ และสนิ้ สุดกระบวนการ กิจกรรมและการปฏิบตั งิ าน การตัดสนิ ใจ เช่น การตรวจสอบ การอนมุ ตั ิ และการเห็นชอบ เปน็ ตน้ แสดงทิศทางหรือการเคลื่อนไหวของงาน จุดเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งขนั้ ตอน เช่น กรณีการเขียน กระบวนการ ไมส่ ามารถจบได้ภายในหน่งึ หน้า

๑๔ จัดประชุมตัวแทนแต่ละชนิดกฬี า รวบรวมเอกสารของ นักกฬี าและเจ้าหน้าทท่ี ีมแต่ละชนิดกฬี า บันทึกข้อมลู นักกีฬา และเจา้ หนา้ ทีใ่ นระบบสารสนเทศ การแข่งขนั กีฬามหาวทิ ยาลยั แห่งประเทศ ทาหนงั สือขอใบรบั รองผลการเรียน คณะอนุกรรมการฝา่ ยส่งเสริม กฬี าฯ (กกมท.) ตรวจสอบ คุณสมบัติของนักกีฬา สง่ เอกสารเพ่ิมเติมของ นักกฬี าตรวจสอบ ความถูกตอ้ งตาม คุณสมบัตทิ ่ีกาหนด เจา้ หน้าที่งานพฒั นากีฬา ตรวจสอบสถานะการเขา้ รว่ ม แข่งขันของนกั กีฬา นักกีฬามหาวทิ ยาลยั บูรพาเข้าร่วมการแข่งขัน กีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ภาพท่ี ๒ ผังกระบวนการปฏบิ ัติงานภาพรวมกระบวนการกระบวนการสง่ นักกีฬามหาวิทยาลยั บรู พา เข้าร่วมการแขง่ ขนั กีฬามหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทย

๖.๒ ผงั แสดงรายละเอียดกระบวนการปฏิบัติงาน (Work Flow) ชอ่ื กระบวนการ : กระบวนการสง่ นกั กีฬามหาวทิ ยาลัยบรู พาเขา้ ร่วมการแข่ง ขอ้ กาหนดสาคญั ของกระบวนการ : นกั กฬี ามหาวิทยาลัยบูรพา สามารถผา่ น แห่งประเทศไทย (กกมท.) เข้าร่วมการแ ตัวชว้ี ัดสาคญั ของกระบวนการ : ร้อยละของจานวนนกั กีฬาทีผ่ ่านตามเกณฑ ของคณะกรรมการบริหารกีฬามหาวทิ ยาล ตารางท่ี ๑ ผงั กระบวนการปฏิบตั ิงานการสง่ นักกีฬามหาวิทยาลยั บูรพาเข้าร ลาดบั ท่ี ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด ๑ ภายใน ๑.เจา้ หน้าท่งี านพฒั นา ๓ เดอื น เรื่องกาหนดวนั เวลา จ จัดประชมุ ตัวแทนแต่ละชนิดกฬี า กอ่ นการ รายละเอียดวาระการป แข่งขนั ประชมุ ตวั แทนแตล่ ะชน ๒.เจา้ หน้าท่ีงานพัฒนา ดาเนนิ การขอใชห้ ้องปร สารสนเทศของกลมุ่ งาน กองกลาง (e-booking) ๓.เจา้ หน้าทง่ี านพฒั นา เชญิ ประชมุ ตวั แทนแตล่ ๔.เจา้ หน้าท่ีงานพฒั นา ระเบียบวาระการประช ๕.เจา้ หนา้ ท่ีงานพัฒนา ตัวแทนแตล่ ะชนดิ กฬี า

งขนั กีฬามหาวิทยาลัยแหง่ ประเทศไทย นเกณฑค์ ุณสมบตั ิท่ีกาหนดของคณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวิทยาลัย แข่งขันกฬี ามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครบทกุ คน ฑ์คุณสมบัติฯครบถว้ นถูกต้องและตรงตามเวลาทกี่ าหนด ลยั แห่งประเทศไทย (กกมท.) (ร้อยละ ๑๐๐) รว่ มการแข่งขนั กฬี ามหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ดงาน มาตรฐานคุณภาพงาน เอกสารทเี่ ก่ียวข้อง ผู้รบั ผิดชอบ ากีฬา หารอื ใน ๑.เจ้าหนา้ ทง่ี านพฒั นากฬี า ๑.บนั ทึกข้อความ เรื่อง ขอ เจ้าหน้าที่ จัดประชุมและ ดาเนินการพมิ พ์หนงั สอื เชิญ เชิญประชุมแต่ละชนดิ กีฬา งานพฒั นากีฬา ประชมุ เพ่อื ประชมุ โดยมรี ายละเอยี ดขอ้ มลู ๒.แบบฟอร์มใบเซ็นรับ นดิ กีฬา ระบวุ นั เวลาทจ่ี ดั การแขง่ ขัน หนงั สอื ของกองกฬี าและ ากีฬา กฬี ามหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศ นันทนาการ ระชมุ ในระบบ ไทย และวนั เวลา สถานที่ ๓. เอกสารวาระประชมุ นการประชมุ ประชุม พร้อมส่งหนงั สอื เชิญ ประชมุ ตัวแทนแตล่ ะชนดิ ) ประชมุ ครบทกุ ชนดิ กฬี า กฬี า พรอ้ มเอกสารแนบดังนี้ ากีฬาทาหนงั สอื ๒.เจ้าหน้าที่งานพฒั นากีฬา - ระเบยี บคณะกรรมการ ละชนดิ กีฬา ดาเนนิ การจองห้องประชมุ ใน บริหารกฬี ามหาวิทยาลยั ากีฬา จดั ทา ระบบสารสนเทศของงานการ แห่งประเทศไทย วา่ ดว้ ย ชุม ประชมุ กองกลาง (e-booking) การจดั การแข่งขันกีฬา ากีฬา จดั ประชุม พร้อมพมิ พ์เอกสารขอใชห้ อ้ ง มหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศ า โดยมี ประชุมจากระบบสารสนเทศ ไทย ๑๕

ตารางท่ี ๑ กระบวนการส่งนกั กฬี ามหาวทิ ยาลยั บรู พาเขา้ ร่วมการแขง่ ขันกีฬามหาวิท ลาดับที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด รายละเอยี ดดังนี้ - ตรวจสอบความพร้อม ระบบปรับอากาศ และ ภายในหอ้ งก่อนการปร ๓๐ นาที - จดั เก้าอ้ีน่ังให้ครบต ผูเ้ ข้ารว่ มประชมุ และเต สารองสาหรับผตู้ ิดตาม เก้าอใ้ี ห้เรียบรอ้ ย - เตรยี มเอกสารต่าง แยกตามชนิดกีฬา เพอ่ื ประชมุ หลงั จากลงทะเบ เข้าประชุม - จดบนั ทกึ รายละเอียด ประชุมและสรปุ วาระก ๒ รวบรวมเอกสารของ ๑ เดอื น ๑. ตัวแทนแตล่ ะชนดิ ก นกั กฬี าและเจา้ หน้าท่ที นักกฬี าและเจ้าหน้าท่ีทีม เวลาท่ี กาหนดให้กับเจ แต่ละชนดิ กีฬา งานพัฒนากฬี า ๒. เจ้าหนา้ ทงี่ านพัฒนา ดาเนนิ การตรวจสอบห นักกีฬาและเจา้ หน้าท่ที

ทยาลัยแหง่ ประเทศไทย (ต่อ) เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ผรู้ ับผดิ ชอบ ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน - ประกาศคณะกรรมการ เจา้ หน้าที่ มระบบไฟฟา้ ของงานการประชมุ กองกลาง บริหารกีฬามหาวทิ ยาลยั แห่ง งานพัฒนากฬี า ะไมโครโฟน (e-booking) และส่งเรือ่ ง ประเทศไทย ว่าด้วย การจดั การ ระชมุ อย่างนอ้ ย ให้กบั งานการประชุม แข่งขนั แตล่ ะชนิดกฬี า กองกลางและพิมพ์วาระ - ประกาศร่นุ อปุ กรณ์กีฬา ทใี่ ช้ ตามจานวน ประชมุ พร้อมตรวจสอบ ในการจัดการแข่งขัน ตรยี มเก้าอ้ี เอกสารใหถ้ ูกต้อง หลงั ผา่ น กีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย ม พรอ้ มสารวจ ความเหน็ ชอบจาก ๔.แบบฟอรม์ รายช่ือของนกั กฬี า ผู้อานวยการกองกีฬาและ และเจา้ หนา้ ท่ีทีม ๆ ให้พร้อม นันทนาการในเรอื่ งวนั เวลา ๕. เอกสารขอใชห้ ้องประชุม อใหผ้ ู้เขา้ ร่วม และรายละเอยี ดของวาระการ โดยพมิ พ์จากระบบสารสนเทศ บยี นเซ็นชื่อ ประชุมเรยี บรอ้ ยแลว้ ของงานการประชุม กองกลาง ๓. ห้องประชุม มีความพรอ้ ม (e-booking) ดตามวาระการ ทัง้ ระบบไฟฟ้า ระบบปรับ ๖. ใบเซน็ ชือ่ ผ้เู ขา้ ร่วมประชมุ การประชมุ อากาศ ไมโครโฟนและเกา้ อี้ ๔. เอกสารตา่ ง ๆ ของแต่ละ ๑.แบบฟอรม์ ส่งรายชือ่ ของ กฬี าส่งเอกสาร ชนิดกฬี า ถูกตอ้ งครบถว้ น เจ้าหนา้ ท่ที มี และนักกีฬา ทมี ตามวัน ๒.สาเนาบตั รประชาชน พร้อม จ้าหน้าที่ ๑.เจ้าหนา้ ทีง่ านพัฒนากีฬา รบั รองสาเนาถูกตอ้ ง ของนักกฬี า ตรวจสอบหลักฐานเอกสาร และเจา้ หน้าทที่ ีม ากีฬา ตามแบบฟอรม์ ส่งรายชือ่ ของ ๓.สาเนาบัตรนสิ ติ พรอ้ มรบั รอง หลกั ฐานของ นักกีฬาและเจา้ หน้าที่ทมี สาเนาถกู ต้อง ของนักกฬี า ทมี ให้ครบถ้วน ใหถ้ กู ตอ้ งครบถ้วน และ ตามเวลาท่ีกาหนด ได้แก่ ๑๖

ตารางที่ ๑ กระบวนการส่งนกั กีฬามหาวทิ ยาลยั บูรพาเข้าร่วมการแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ลาดบั ที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด และถกู ต้อง ๓.เจ้าหนา้ ทง่ี านพัฒนากีฬ เก่ียวกบั รายละเอยี ดกับต กรณนี ักกฬี าไมผ่ า่ นเกณฑ ทกี่ าหนดของคณะกรรมก มหาวิทยาลยั แห่งประเทศ

ทยาลยั แห่งประเทศไทย (ตอ่ ) เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ผู้รบั ผดิ ชอบ ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน เอกสารของนกั กีฬา ๔. รูปถา่ ย ๑ นิว้ ๑ รปู พร้อม ฬาช้ีแจง ประกอบดว้ ย เขยี นชอื่ ด้านหลงั รูปถา่ ยของ ตัวแทนชนิดกีฬา - ชื่อ – สกุล นักกีฬาและเจา้ หนา้ ท่ที ีม ฑ์คณุ สมบตั ิ - สาเนาบตั รประชาชน พร้อม ๕. ผลงานแขง่ ขันกฬี าของ การบรหิ ารกฬี า รับรองสาเนาถกู ต้อง นกั กฬี าใหม่ ศไทย(กกมท.) - สาเนาบัตรนสิ ิต พร้อม รับรองสาเนาถูกตอ้ ง - รูปถ่าย ๑ น้ิว ๑ รูป พร้อมเขยี นชือ่ ดา้ นหลงั รปู ถา่ ย - ไซต์และเบอร์เส้อื ชุดแข่งขนั - เกรดเฉลยี่ สะสม เอกสารของเจา้ หนา้ ทีท่ ีม ประกอบด้วย - ชื่อ – สกุล - สาเนาบัตรประชาชน พร้อม รับรองสาเนาถูกต้อง - รูปถา่ ย ๑ นิว้ ๑ รปู พร้อมเขยี นช่ือดา้ นหลังรูปถ่าย - สงั กดั คณะ/หน่วยงาน ๑๗

ตารางท่ี ๑ กระบวนการสง่ นกั กฬี ามหาวิทยาลยั บูรพาเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ลาดับท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียดง ๓ วนั ละ ๑. เจา้ หน้าที่งานพฒั นากฬี บันทกึ ข้อมลู นักกีฬา ๕ ช่ัวโมง การส่งข้อมูลของนสิ ติ มหาว และเจา้ หน้าทใี่ นระบบ (๒๕ วัน) เขา้ คลงั ข้อมลู อดุ มศึกษา ข สารสนเทศ คณะกรรมการการอดุ มศึกษ กบั เจา้ หนา้ ทผ่ี รู้ ับผดิ ชอบกอ การแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ยาลัย ๒. เจ้าหนา้ ท่งี านพัฒนากีฬ แห่งประเทศไทย รูปถ่ายของนักกฬี าและเจา้ แยกตามชนิดกีฬา เพื่อใชแ้ ในระบบสารสนเทศสมคั รเข กฬี าฯ ๓. เจ้าหนา้ ท่ีงานพฒั นากฬี สมคั รแขง่ ขนั กีฬาของนักกฬี เจา้ หน้าที่ทมี ในระบบสารส แขง่ ขนั กฬี ามหาวทิ ยาลัยแห ๔.เจา้ หนา้ ท่งี านพฒั นากฬี า สถานะสมคั รแขง่ ขันกฬี ามห ประเทศไทย ของนักกีฬาแ กฬี า

ทยาลยั แหง่ ประเทศไทย (ตอ่ ) เอกสารท่เี กี่ยวข้อง ผูร้ บั ผิดชอบ งาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน เจ้าหน้าที่ ฬาประสานงาน ๑.เจ้าหนา้ ท่ีงานพัฒนากฬี า ๑.ขอ้ มลู นสิ ิตของมหาวทิ ยาลยั งานพฒั นากีฬา วทิ ยาลยั บูรพา ประสานงานกบั เจ้าหนา้ ที่ บรู พาส่งเข้าคลงั ขอ้ มลู อดุ มศกึ ษา ของ สานักงาน ผู้รบั ผดิ ชอบของกองทะเบียนฯ ของสานกั งานคณะกรรมการการ ษา (สกอ.) เรียบรอ้ ย ทาให้มีข้อมูลของ อดุ มศกึ ษา (สกอ.) องทะเบยี นฯ นิสิตมหาวทิ ยาลยั บรู พาท่ี ๒.ระบบสารสนเทศสมคั รเขา้ ร่วม ฬาสแกน ถูกตอ้ ง ในคลังขอ้ มลู การแขง่ ขนั กฬี ามหาวิทยาลยั แห่ง าหนา้ ทท่ี มี อุดมศึกษา ของ สานักงาน ประเทศไทย แนบไฟลร์ ูปถา่ ย คณะกรรมการการอดุ มศึกษา (http://202.44.139.39/sport_ ข้าร่วมแขง่ ขัน (สกอ.) สามารถตรวจสอบ student/) ขอ้ มลู ของนกั กฬี าในการสมคั ร ๓.ไฟล์รปู ภาพของนักกีฬา และ ฬาบันทกึ ข้อมูล แข่งขนั กฬี ามหาวทิ ยาลยั แห่ง เจา้ หน้าทีท่ ีม แยกตามชนิดกฬี า ฬาและ ประเทศไทยไดค้ รบทุกคน ๔.รายชื่อนักกีฬามหาวิทยาลยั สนเทศการ ๒.เจ้าหนา้ ทงี่ านพฒั นากีฬา บูรพา แยกตามชนิดกฬี า โดยพิมพ์ ห่งประเทศไทย สแกนรูปภาพของนักกีฬาและ จากระบบสารสนเทศสมัครเขา้ า ตรวจสอบ เจา้ หน้าทที่ มี แยกตามชนิด รว่ มการแข่งขันกีฬามหาวทิ ยาลยั หาวิทยาลัยแห่ง กฬี าครบทุกคน แห่งประเทศไทย แยกตามชนิด ๑๘

ตารางท่ี ๑ กระบวนการสง่ นักกฬี ามหาวทิ ยาลัยบรู พาเข้ารว่ มการแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ลาดบั ท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอยี ด ๔.เจา้ หนา้ ท่งี านพัฒนา ตรวจสอบสถานการณส์ กฬี ามหาวิทยาลยั แหง่ ป ของนกั กีฬาแยกตามชน

ทยาลัยแห่งประเทศไทย (ต่อ) เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง ผรู้ ับผิดชอบ ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน ากฬี า ๓.เจ้าหนา้ ที่งานพฒั นากีฬา สมัครแข่งขัน บันทกึ ข้อมูลสมคั รแขง่ ขันกฬี า ประเทศไทย ของนกั กฬี าและเจา้ หน้าทที่ ีมใน นดิ กฬี า ระบบสารสนเทศการแข่งขนั กีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศ ไทยได้ถูกตอ้ งและครบทุกคน ๔. เจา้ หน้าทง่ี านพฒั นากฬี า รบี ดาเนินการประสานงานกับ เจา้ หนา้ ท่ีทีมกีฬา กรณนี ักกฬี า ไมผ่ า่ นเกณฑค์ ณุ สมบตั ิ ทีก่ าหนดของคณะกรรมการ บรหิ ารกฬี ามหาวทิ ยาลัยแห่ง ประเทศไทย (กกมท.) ทนั ทแี ละ จะดาเนนิ การส่งหลักฐานของ นักกีฬาใหก้ บั คณะอนุกรรมการ ฝ่ายสง่ เสรมิ กฬี าเพ่ือความเปน็ เลศิ เพือ่ ตรวจสอบคณุ สมบัติ ของนักกีฬาตามระยะเวลาที่ กาหนด เพอื่ ใหน้ ักกฬี าไดเ้ ข้า รว่ มการแขง่ ขันกีฬาครบทกุ คน ๑๙

ตารางท่ี ๑ กระบวนการสง่ นักกีฬามหาวิทยาลัยบรู พาเข้ารว่ มการแข่งขนั กีฬามหาวิท ลาดบั ที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด ๔ ทาหนงั สอื ขอใบรับรอง ไมเ่ กนิ ๑. พิมพ์รายชอื่ นกั กีฬา ผลการเรยี น ๒ วัน แยกตามชนิดกีฬา ในก ตามคณุ สมบัติทก่ี าหนด ร่วมการแขง่ ขนั กฬี ามห แห่งประเทศไทย ๒.ทาบนั ทึกข้อความ เร อนุเคราะห์ใบรบั รองผล พร้อมแนบรายชือ่ นักกีฬ ทะเบยี นและประมวลผ ๕ ไม่เกนิ ๑. รวบรวมเอกสารของ คุณสมบัตไิ มเ่ ปน็ ไปตาม ๓ วนั แขง่ ขันแยกตามชนดิ กฬี สง่ เอกสารเพมิ่ เติม ๒. นาเอกสารของนักก ของนกั กฬี า ตามคณุ สมบตั ิทกี่ าหนด คณะอนกุ รรมการฝา่ ยส ตรวจสอบความ เพ่ือความเปน็ เลิศ คณะ ถกู ตอ้ งตาม บริหารกีฬามหาวิทยาล คุณสมบัติท่กี าหนด ไทย (กกมท.) เพือ่ ตรว ของนักกีฬา

ทยาลยั แหง่ ประเทศไทย (ต่อ) เอกสารท่เี กี่ยวข้อง ผู้รบั ผิดชอบ ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน เจา้ หน้าที่ าและรหสั นสิ ิต ๑.เอกสารใบรบั รองผลการเรยี น ๑.เอกสารสรปุ รายชอ่ื นักกีฬา งานพัฒนากีฬา กรณีไมเ่ ปน็ ไป ด ในการเขา้ และใบเสรจ็ รับเงนิ ค่าลงทะเบียน กรณไี ม่เป็นไปตามคณุ สมบตั ทิ ่ี เจ้าหนา้ ท่ี หาวิทยาลยั งานพฒั นากีฬา เรียนของนักกฬี า มีความ กาหนดในการเข้าร่วมแข่งขัน ร่ือง ขอความ ลการเรยี น ถูกตอ้ งครบถว้ น กีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศ ฬาส่งกอง ผลการศกึ ษา ไทย ๒.บันทึกขอ้ ความ เรือ่ ง ขอความ อนเุ คราะหใ์ บรับรองผลการ เรียน งนักกีฬา กรณี ๑. เอกสารของนกั กีฬาครบถ้วน ๑. สาเนาบัตรประชาชน พร้อม มระเบยี บการ ถูกต้องตามที่กาหนดแยกตาม รับรองสาเนาถกู ต้อง ฬา ชนิดกีฬา ๒.สาเนาบตั รนสิ ติ พรอ้ มรับรอง กีฬาทไ่ี มเ่ ปน็ ไป สาเนาถูกต้อง ด สง่ ถึงฝ่าย ๓. ใบแสดงผลการเรยี น สง่ เสริมกีฬา (Transcript) ะกรรมการ ๔. ใบเสรจ็ รบั เงนิ คา่ ลงทะเบยี น ลยั แห่งประเทศ เรยี น วจคณุ สมบตั ิ ๕. บันทึกข้อความภายนอก เรอ่ื ง ขอส่งเอกสารนักกฬี ากรณี ทีไ่ ม่เปน็ ไปตามคณุ สมบตั กิ าร เข้ารว่ มแขง่ ขนั กฬี า มหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย ๒๐

ตารางท่ี ๑ กระบวนการสง่ นักกีฬามหาวทิ ยาลัยบรู พาเข้าร่วมการแขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ลาดับที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด ๖ ไมเ่ กิน ๑. ตรวจสอบผลการพจิ คณุ สมบตั ขิ องนกั กฬี าก นักกฬี ามหาวทิ ยาลัยบูรพาเข้า ๓ สปั ดาห์ ตามคณุ สมบัติฯ ให้เขา้ รว่ มการแขง่ ขันกีฬามหาวทิ ยาลยั กีฬาฯ ๒.ประสานงานกับผู้จัด แห่งประเทศไทย ชนดิ กฬี าเพอ่ื แจง้ ผลพจิ ร่วมแข่งขันกฬี ามหาวทิ ประเทศไทยของนักกีฬ

ทยาลยั แห่งประเทศไทย (ต่อ) เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ผรู้ ับผิดชอบ ดงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน ๖.ซองใสเ่ อกสารนกั กฬี าพร้อม เจา้ หนา้ ที่ จารณา ๑.นักกีฬามหาวิทยาลยั บรู พา งานพัฒนากฬี า กรณที ่ีไมเ่ ปน็ ไป มรี ายชอ่ื ส่งเขา้ รว่ มการแข่งขัน พิมพ์ชือ่ -สกุล ท่อี ยขู่ องผสู้ ่งและ ารว่ มการแขง่ ขนั กฬี ามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศ ไทย สามารถผา่ นเกณฑ์ ผู้รบั ดการทีมแตล่ ะ คณุ สมบตั ทิ ีก่ าหนดของ จารณาการเข้า คณะกรรมการบรหิ ารกฬี า ๑.ระบบสารสนเทศสมคั รเขา้ รว่ ม ทยาลัยแหง่ มหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ฬา (กกมท.) ครบทกุ คนและทกุ ประเทศไทย ชนิดกีฬา (http://202.44.139.39/sport_ student/) ๒๑

๒๒ ๗. ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน กระบวนการสง่ นักกีฬามหาวิทยาลัยบรู พาเข้ารว่ มการแขง่ ขนั กีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศ ไทย มรี ายละเอียดการดาเนินการ ดงั นี้ ขัน้ ตอนที่ ๑ จัดประชมุ ตัวแทนแตล่ ะชนิดกฬี า มรี ายละเอยี ดงาน ดงั นี้ ๑. กาหนดวนั เวลา ประชุมตัวแทนแตล่ ะชนิดกีฬา ๑.๑) หารือในงานพัฒนากีฬา เกย่ี วกับเร่อื งวนั เวลา และรายละเอียดเน้ือหาในแตล่ ะวาระ ประชมุ ท่ีจะแจง้ ให้ท่ปี ระชมุ รับทราบข้อมูล รวมท้งั เร่ืองพจิ ารณาตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง ๑.๒) พิมพร์ ายงานสรุปผลวัน เวลา และรายละเอยี ดเน้ือหาในแตล่ ะวาระประชุม เขา้ ปรึกษาผูอ้ านวยการกองกีฬาฯ เพ่ือขอความเหน็ ชอบ ก่อนพิมพ์รายละเอียดในวาระการประชมุ ๒. ดาเนินการขอใช้ห้องประชุม ในระบบสารสนเทศของงานการประชุม กองกลาง (e-booking) ๒.๑) เขา้ เว็บไซต์มหาวทิ ยาลัยบรู พา www.buu.ac.th ๒.๒) เลือกหวั ข้อ คณะ/หน่วยงาน เลอื ก สานักงานอธิการบดี กองกลาง ๒.๓) ไปลงิ กท์ เี่ กี่ยวข้อง เลอื กระบบใหบ้ ริการหอ้ งประชุม กองกลาง สานักงานอธกิ ารบดี ๒.๔) เข้าสู่ระบบ ใส่ชือ่ ผูใ้ ช้ และรหัสผ่าน กดเขา้ สู่ระบบ ๒.๕) ตรวจสอบรายงานการจองหอ้ งประชมุ ที่มกี ารจองแล้ว ๒.๖) ดาเนนิ การกรอกข้อมูลไปทีเ่ มนูหลกั บันทึกการจอง ให้ครบแลว้ กดบันทึก ๒.๗) พมิ พบ์ ันทึกการจอง ผู้จองเซ็นชอื่ และให้ผอู้ านวยการกองกีฬาและนันทนาการ ลงนามกากับหลังชอ่ื ผจู้ อง ๒.๘) ถา่ ยสาเนาบนั ทกึ การจอง ๑ ฉบบั ปั๊มตรายางดา้ นหลงั เขยี นชอ่ื หนว่ ยงานทสี่ ง่ เอกสาร ๒.๙) ส่งบนั ทกึ ารจองใชห้ ้องประชมุ ทช่ี ้นั ๒ งานการประชมุ และพิธกี าร กองกลาง พร้อม เซน็ ช่ือผรู้ บั บนั ทกึ ารจองใช้ห้องประชมุ ๒.๑๐) เก็บเอกสารบันทกึ ารจองใช้หอ้ งประชุม เพอื่ เกบ็ เป็นขอ้ มลู การปฏบิ ัตงิ าน ๓. ทาหนงั สอื เชญิ ประชุมตัวแทนแตล่ ะชนดิ กฬี า ๓.๑) พมิ พห์ นงั สือเชิญประชมุ เป็น บนั ทึกข้อความ เร่ือง ขอเชิญประชุม โดยในเนือ้ หาให้ ระบวุ ัน เวลา สถานที่ประชุมใหช้ ัดเจน ๓.๒) นาหนังสอื เชญิ ประชุมตัวแทนแต่ละชนิดกฬี า ใส่แฟ้มเสนอ ผู้อานวยการกองกีฬาและ นันทนาการ ลงนาม ๓.๓) ออกเลขท่หี นังสอื เชิญประชุมเป็นหนังสือเวยี น ในเล่มทะเบยี นสง่ หนังสือ ศธ ๖๒๐๒.๔/ ป.ี ..... ซ่ึงจะตอ้ งเขยี นอกั ษร ว หน้าเลขทีห่ นงั สือ โดยเลขที่หนังสือนจี้ ะใสใ่ นหนังสอื เชญิ ประชมุ เปน็ เลขที่หนังสือเหมอื นกนั พร้อมลงวนั ทีท่ กุ ฉบบั

๒๓ ๓.๔) ใส่เลขที่หนังสอื เวียน ที่ ศธ ๖๒๐๒.๔/ ว.......... วนั ท.่ี ...................ในหนงั สอื เชิญ ประชุมตัวแทนแต่ละชนิดกีฬา ๓.๕) พิมพใ์ บเซ็นรบั หนงั สือ โดยใส่ ที่ ศธ ๖๒๐๒.๔/ ว.......... วนั ท.ี่ ...................พรอ้ มระบุ ชือ่ – สกลุ และหนว่ ยงานที่รับหนงั สือเชญิ ประชมุ ๓.๖) นาหนงั สือเชญิ ประชมุ พรอ้ มใบเซน็ รับหนงั สือส่งให้งานบรหิ ารทัว่ ไป ดาเนนิ การส่ง หนงั สือเชญิ ประชมุ ตามระบบงานสารบรรณ ๔. จดั ทาระเบียบวาระการประชมุ ๔.๑) ดาเนนิ การพมิ พร์ ายละเอียดเนื้อหาวาระการประชมุ ท่ผี า่ นการพจิ ารณาจาก ผู้อานวยการกองกีฬาและนนั ทนาการ ๔.๒) พมิ พเ์ อกสารวาระประชุม ๑ ชุด เป็นตน้ ฉบบั แลว้ นาไปถ่ายเอกสารให้ครบตาม จานวนหนงั สอื เชิญประชุม ๔.๓) พมิ พป์ กเรื่องการประชมุ วนั เวลา สถานท่ี แล้วปรน๊ิ ดว้ ยกระดาษสี ๑ แผ่น เป็น ต้นฉบับ แลว้ นาไปถา่ ยเอกสารให้ครบตามจานวนหนังสือเชิญประชุม ๔.๔) จดั เรียงเป็นเลม่ พร้อมเยบ็ มมุ ตามแนวกระดาษและติดแล็คซีนให้เรยี บร้อย ๔.๕) พมิ พ์ใบเซน็ ช่ือผ้เู ข้าร่วมประชุม ทาเปน็ ตารางใสร่ ายละเอยี ดเรยี งตามลาดับแตล่ ะช่อง (ลาดับที่ ชื่อ – สกลุ ชนดิ กฬี า เบอรโ์ ทรศัพท์ และลงลายมอื ชอื่ ) ๕. ประชมุ ตวั แทนแตล่ ะชนดิ กีฬา ๕.๑) ตรวจสอบความพรอ้ มของระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ เครื่องฉายภาพ ๓ มติ ิ โน๊ตบุค๊ ไมโครโฟนภายในห้องประชุมก่อนการประชมุ อย่างนอ้ ย ๓๐ นาที ๕.๒) จัดเก้าอี้นั่งให้เพยี งพอตามจานวนผูเ้ ข้าร่วมประชมุ (สารองเกา้ อ้ีท่ีนงั่ สาหรับผตู้ ิดตาม) ๕.๓) ประสานงานกับผู้รบั ผดิ ชอบจัดอาหารว่างและเครื่องดมื่ ในการบรกิ ารผเู้ ขา้ ร่วม ประชมุ ๕.๔) ต้อนรับผ้เู ข้ารว่ มประชมุ โดยให้เซน็ ช่ือทโี่ ต๊ะลงทะเบียนพรอ้ มรับเอกสารการประชมุ ๕.๕) ประธาน เรมิ่ เปดิ ประชมุ จะจดบนั ทึกรายละเอยี ดต่าง ๆ ตามวาระการประชุม ๕.๖) ประสานงานกับเจา้ หนา้ ทีด่ แู ลหอ้ งประชุม หลังเสร็จส้ินการประชมุ เพ่ือปดิ ระบบ ไฟฟา้ ระบบโสตทัศนูปกรณ์ และระบบปรับอากาศ ๕.๗) สรุปวาระการประชุม ตามรายละเอยี ดทบี่ ันทึกในท่ีประชุม

๒๔ ข้ันตอนท่ี ๒ รวบรวมเอกสารของนกั กีฬาและเจ้าหนา้ ทท่ี ีมแตล่ ะชนดิ กฬี า มีรายละเอยี ดงาน ดังนี้ ๑. ตวั แทนแตล่ ะชนิดกีฬาส่งเอกสารนกั กีฬาและเจ้าหนา้ ท่ีทมี ตามวัน เวลาท่ีกาหนดใหก้ บั เจา้ หน้าที่พฒั นากฬี า ๑.๑) เจ้าหน้าท่ีงานพัฒนากีฬา รบั เอกสารใบส่งรายชอื่ ของนกั กีฬาและเจา้ หนา้ ท่ีทีม (เอกสารท่แี จกวนั ประชุม) พร้อมกบั สาเนาบัตรประชาชน สาเนาบัตรนิสติ รปู ถ่าย และผลงานการ แข่งขันของนักกีฬาใหมแ่ ตล่ ะชนดิ กฬี า ๑.๒) ประสานงานกบั ชนดิ กีฬาทยี่ ังไม่สง่ เอกสารใบสง่ รายชอ่ื และหลักฐานแนบของนกั กีฬา และเจ้าหนา้ ท่ีทีม (หลงั จากเกินวันทก่ี าหนด) ๒. เจ้าหนา้ ทีง่ านพัฒนากีฬา ดาเนินการตรวจสอบหลักฐานของนักกีฬาและเจา้ หน้าทท่ี ีมให้ ครบถว้ นและถกู ต้อง ๒.๑) ตรวจสอบรายละเอียดในใบสง่ รายชอื่ ของนักกีฬาและเจา้ หนา้ ทที่ ีม ประกอบดว้ ย ชอ่ื – สกลุ ไซต์เสื้อ เบอร์เส้ือแขง่ ขัน เกรดเฉลย่ี สะสม และหน่วยงานทสี่ ังกัด (สาหรับเจา้ หนา้ ทที่ ีม) ๒.๒) ตรวจสอบหลักฐานแนบของนักกีฬาและเจา้ หน้าท่ีทีม ดงั นี้ - รูปถา่ ย ๑ นว้ิ ๑ รปู (พรอ้ มเขยี นชื่อ-สกลุ ด้านหลงั ) - สาเนาบตั รประชาชน พรอ้ มรบั รองสาเนาถูกต้อง - สาเนาบัตรนิสติ พรอ้ มรบั รองสาเนาถูกต้อง - ผลงานแข่งขนั กีฬาของนักกีฬาใหม่ ๓. เจ้าหนา้ ท่งี านพัฒนากีฬา ช้แี จงเกี่ยวกบั รายละเอียดกบั เจ้าหนา้ ทีท่ มี กรณนี ักกีฬาไมผ่ ่าน เกณฑ์คณุ สมบัตทิ ีก่ าหนดของคณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย (กกมท.) ๓.๑) เมื่อตรวจสอบหลักฐานเอกสารใบส่งรายช่ือแลว้ พบว่า นักกฬี าคนใดที่มเี กรดเฉล่ยี สะสม ต่ากว่า ๒.๐๐ และการลงทะเบียนเรียนของนักกีฬาที่ไมเ่ ป็นไปตามข้อกาหนดของผู้สมัครเข้า ร่วมแข่งขนั ของ ระเบยี บคณะกรรมการบรหิ ารกีฬามหาวิทยาลยั แหง่ ประเทศไทย วา่ ด้วย การจดั การ แข่งขันกฬี ามหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ จะประสานงานกบั เจ้าหนา้ ทมี แตล่ ะชนดิ กีฬาทนั ที เพ่ือเปลยี่ นตัวนกั กีฬาของชนิดกีฬานั้น ข้ันตอนท่ี ๓ บันทึกขอ้ มลู นักกีฬาและเจา้ หน้าทใี่ นระบบสารสนเทศการแขง่ ขันกีฬา มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย มีรายละเอียดงาน ดังน้ี ๑. เจา้ หนา้ ท่งี านพัฒนากีฬา ประสานงานการส่งขอ้ มลู ของนิสิตมหาวิทยาลยั บูรพาเข้า คลังข้อมลู อดุ มศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา(สกอ.) กบั เจา้ หน้าที่ผรู้ ับผิดชอบของ กองทะเบยี นและประมวลผลการศึกษา ๑.๑) ประสานงานกับเจ้าหนา้ ที่ผูร้ ับผิดชอบของกองทะเบยี นฯ สอบถามเกีย่ วกับวนั เวลา ทจ่ี ะสง่ ข้อมูลของนสิ ติ เข้าคลังข้อมูลอุดมศึกษาของ สกอ. เนอื่ งจากคณะกรรมการฝา่ ยส่งเสริม

๒๕ กีฬาเพอื่ ความเปน็ เลศิ (กกมท.) ตอ้ งใช้ข้อมูลนิสิตในคลังข้อมลู อุดมศึกษาของ สกอ. ในการตรวจสอบ คณุ สมบัติของนักกีฬาตามระเบียบการจดั การแข่งขันกีฬามหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย ซึง่ จาเป็น จะตอ้ งสอดคล้องกนั ระหว่างวัน เวลา และการใช้ขอ้ มลู นิสติ ในคลงั ข้อมลู อุดมศึกษาของ สกอ. ๒. เจา้ หนา้ ทง่ี านพัฒนากีฬา สแกนรปู ถา่ ยของนักกีฬาและเจา้ หน้าที่ แยกตามชนดิ กีฬา เพอื่ ใช้แนบไฟลร์ ปู ถ่ายในระบบสารสนเทศสมัครเข้ารว่ มการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ๒.๑) นารูปถา่ ยของนักกีฬาและเจา้ หน้าทท่ี ีม วางในเคร่ืองสแกนเนอรป์ ระมาณ ๖ – ๗ รปู (ตามความเหมาะสมของขนาดรปู ถ่าย) ๒.๒) กดปมุ่ สญั ลักษณบ์ ันทกึ รปู ภาพ (เครอื่ งจะทางานอตั โนมัติ ห้ามเปิดเครอ่ื ง สแกนเนอรจ์ นกว่าเครอื่ งจะหยดุ ทางาน) ๒.๓) ไฟล์รปู ภาพจะแสดงในไฟล์ Documents ให้ copy ไฟล์รปู ภาพมาไว้หน้า Desktop ๒.๔) คลกิ๊ ขวา สรา้ ง Folder ของแต่ละชนดิ กีฬา สาหรับเก็บรูปภาพของนักกีฬาและ เจ้าหน้าทีท่ ีม ๒.๕) ปรบั แต่งขนาดของรูปภาพ ความคมชัด โดยคล๊ิกขวาที่รปู ภาพ แลว้ เลอ่ื นไปท่ี open with และไปที่ Microsoft Office 2010 ๒.๖) เลอื กแก้ไขรูปภาพ (Edit Pictures) ไปท่ีครอบตัดรปู ภาพ (Crop) เสร็จแลว้ กด OK และกลบั ไปท่แี ก้ไขรปู ภาพ (Edit Pictures) เลือก ปรับขนาดรปู ภาพไมเ่ กิน ๔๕ % (Resize) แล้วกด SAVE รูปภาพ ๒.๗) คลกิ๊ ขวาท่รี ปู ภาพ (Rename) เปล่ยี นเป็นช่ือนักกีฬา แล้ว copy รปู ภาพไปใส่ใน Folder แตล่ ะชนดิ กฬี าจนครบทกุ ชนดิ กีฬา ๓. เจ้าหนา้ ท่ีงานพัฒนากีฬา บนั ทกึ ข้อมูลสมัครแข่งขนั กีฬาของนักกีฬาและ เจา้ หนา้ ทใ่ี น ระบบสารสนเทศการแข่งขันกีฬามหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย

๓.๑) เปดิ เขา้ ระบบสารสนเทศใน Google Chrome พมิ ภาพที่ ๓ การเข้าระบบสารสนเทศ

มพ์http://202.44.139.39/sport_student จะขึ้นหนา้ จอตามรปู น้ี ศสมคั รแข่งขันกฬี ามหาวิทยาลยั แห่งประเทศไทย ๒๖

๓.๒) ใส่ username และ password ตามหนังสอื ทีไ่ ด้แ ภาพท่ี ๔ หน้าจอการใส่ username แล

แจง้ ข้อมูลจากคณะกรรมการบรหิ ารกฬี ามหาวทิ ยาลัยแห่งประเทศไทย (กกมท.) ละ password ในระบบสารสนเทศสมัครแข่งขนั กฬี า ๒๗

๓.๓) เลือกลงทะเบียนนักกีฬาและเจ้าหน้าทต่ี าม ภาพที่ ๕ หนา้ จอการลือกลงท

มชนิดกีฬา ทะเบียนนักกีฬาและเจ้าหนา้ ที่ตามชนิดกีฬา ๒๘

๓.๔) ใสข่ ้อมลู เลขบัตรประชาชน ๑๓ หลัก แล้วคลกิ๊ ถดั ไ ภาพที่ ๖ หน้าจอการลงทะเบียน

ไป นนักกีฬาและเจ้าหนา้ ท่ดี ว้ ยเลขบัตรประชาชน ๒๙

๓.๕) หน้าจอแสดงข้อมลู ของนักกฬี า และขน้ึ สถานะการส ระบบจะตรวจสอบคณุ สมบัติของนักกีฬาจากคลังข้อมูลอุดมศึกษาของ สก ในหัวขอ้ เปน็ นกั กฬี าทมี ชาติตามระเบียบหมวด ๓ ข้อ ๘.๓ หรือไม่ แลว้ เล ภาพท่ี ๗ หน้า

สมคั ร Approve (ผ่านคุณสมบัติ) / Pending (อยรู่ ะหวา่ งตรวจสอบคณุ สมบตั ิ) กอ. แล้วคลิก๊ เลือกรูปภาพนักกีฬา จาก File รปู ภาพนักกีฬา และเลอื ก เคย / ไมเ่ คย ลือกถดั ไป าจอแสดงข้อมูลของนักกีฬา ๓๐

๓.๖) หนา้ จอจะแสดงข้อมลู ท้ังหมดของนกั กฬี า ให้คลิ๊กเ ภาพท่ี ๘ หนา้ จอการ

เลือกรายการแขง่ ขันของนกั กีฬา แล้วกด SAVE รเลอื กรายการแข่งขันของนักกีฬา ๓๑

๓.๗) บันทกึ ข้อมลู ของเจา้ หน้าทท่ี ีม โดยใสข่ ้อมลู เลขบัตร ภาพท่ี ๙ หน้าจอการลงทะเ

รประชาชน ๑๓ หลกั และใส่ขอ้ มลู ของเจ้าหน้าท่ีให้ครบจะขนึ้ หนา้ จอตามรปู นี้ บยี นเจ้าหนา้ ที่ทมี ด้วยเลขบัตรประชาชน ๓๒

๓.๘) บนั ทึกขอ้ มลู ของนักกีฬาและเจ้าหน้าท่ีทมี แตล่ ะชน ภาพที่ ๑๐ หนา้ จอแสดงข้อมูลของน

นิดกฬี าให้ครบ จะข้ึนหน้าจอตามรปู นี้ นักกีฬาและเจา้ หน้าที่ทมี ตามชนิดกีฬา ๓๓

๓.๙) เมือ่ บนั ทึกข้อมูลของนักกฬี าและเจ้าหนา้ ท่ีทมี ทุกช (Fn + Print Screen) พร้อมกนั และคลิ๊กไปที่ Photo Scape ไปที่แกไ้ ขร สง่ ขอ้ มูลแตล่ ะชนดิ กีฬาให้กับเจา้ หน้าท่ีทมี ตรวจสอบขอ้ มลู การสมคั รแขง่ ข ภาพท่ี ๑๑ หนา้ จอแสดงข้อ

ชนดิ กีฬาเรยี บร้อยแล้ว ใหป้ รนิ๊ สกรนี หน้าจอทุกชนดิ กีฬา โดยกดปุม่ รปู ภาพ กด (Ctrl+V ) แก้ไขรูปภาพ แล้วกดบนั ทึก เม่ือทาครบทกุ ชนิดกีฬา ขันของนกั กีฬา แล้วส่งคนื เจา้ หนา้ ที่งานพัฒนากีฬา ตามวนั เวลาที่กาหนด อมูลทั้งหมดของนักกีฬาและเจ้าหน้าทท่ี มี ๓๔