สติ มเอคงลด็ดา้ ลนบั ใน พระพทุ ธยานันทภกิ ขุ เ ห็ น ตั ว เ อ ง รู้ จั ก ตั ว เ อ ง เ ข้ า ใ จ ตั ว เ อ ง
สติ มเอคงลดด็ ้าลนับใน วัดป่ าโสมพนัส น้ อมถวายเป ็นอาจริยบูชา เนื่องในงานพระราชทานเพลิง สลายสรีระสังขาร พระพุทธยานันทภิกขุ (หลวงพ ่อมหาดิเรก พุทธยานันโท) ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑
วธิ ีการเจรญิ สตแิ บบเคลอ่ื นไหว เป็นรูปแบบเฉพาะ มภี าษาใชไ้ ม่เรียงล�ำดับขน้ั ตอนของปรยิ ัติ เพราะเป็นวธิ แี บบลดั ตรง ไปสู่การดับทกุ ข์ทางใจอย่างทนั ทีทนั ใด ไมม่ รี ปู แบบและพธิ รี ตี องทางศาสนาทส่ี ลบั ซบั ซอ้ น ไมม่ ีภาษาบรรยายความรอู้ ยา่ งวิจิตรและไพเราะ แตเ่ ป็นภาษาของหลวงพอ่ เทียน ซึง่ เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจได ้ และใชแ้ ก้ปญั หาได้อยา่ งชะงดั ซงึ่ ท่านมกั ใชค้ �ำวา่ ‘ธรรมอดึ ใจเดยี ว’
พจนานิเทศ (ในการพิมพ์คร้ังที่ ๓) “สติ เคลด็ ลบั มองดา้ นใน เลม่ ท่ ี ๑” พมิ พค์ รงั้ ท ี่ ๓ เม่ือได ้ อ่านต้นฉบับท่ีพระอาจารย์สุริยาส่งมาให้อ่านแล้วก็อดที่จะเปล่ียน ค�ำปรารภใหม่ไม่ได้ เพราะเม่ือได้อ่านประสบการณ์ของนักปฏิบัต ิ รนุ่ ใหมท่ เี่ พมิ่ เตมิ เขา้ มาดา้ นทา้ ยแลว้ รสู้ กึ วา่ สต ิ เคลด็ ลบั ฯ ไดส้ รา้ ง นกั ปฏิบัตริ ุน่ หลาน-เหลนขึน้ มาอีกหลายคน นี่คือวิธีการถ่ายทอดธรรมแบบหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ในวิธีการปฏิบัติเจริญสติปัฏฐาน ๔ แบบเคล่ือนไหว คือเล่า ประสบการณ์ตรงสู่กันฟัง ประสบการณ์ตรงของนักปฏิบัติน้ันคือ สัจธรรมสดๆ จากผู้ปฏิบัติ ซึ่งเป็นสัจธรรมที่สัมผัสได้ มิใช่ต�ำรา หรือทฤษฎีอันเลื่อนลอย แต่เป็นมรรควิธีท่ีเราท่านสามารถเดิน ร่วมกันได้ การเจริญสติแบบเคล่ือนไหวเป็นประตูสู่พุทธธรรมของคน รุ่นใหม่ ท่ีชอบพิสูจน์ ท้าทาย และอยู่เฉยไม่เป็น จึงกล่าวได้ว่า ยุคท่ีเจริญด้วยเทคโนโลยีระดับต่างๆ ธรรมวิธีย่อมต้องปรับตัวเอง ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง พุทธธรรมในแง่มุมที่หลวงพ่อเทียน ค้นพบจึงเป็นเส้นทางใหม่บนเส้นทางเก่าที่พระพุทธองค์เคยเสด็จ ด�ำเนินไปดีแล้วนน้ั ดงั นนั้ ขา้ พเจา้ จงึ ไมล่ งั เลทจ่ี ะกลา่ ววา่ กรรมฐานแบบเคลอ่ื นไหว ได้ช่วยให้พระพุทธศาสนาในประเทศไทยมีชีวิตจริงขึ้นมาอีกคร้ัง
หลงั กงึ่ พทุ ธกาล คอื ในป ี พ.ศ. ๒๕๐๐ เปน็ ปที ห่ี ลวงพอ่ เทยี น จติ ตฺ สโุ ภ ได้เข้าถึงธรรมด้วยวิธีการแบบน้ี แล้วน�ำมาเผยแผ่ ก็ปรากฏว่า ไดร้ บั การต้อนรับอย่างกวา้ งขวางจากนักศึกษาปัญญาชนทงั้ หลาย หลังจากนั้นเป็นเวลา ๔๕ ปี กรรมฐานรูปแบบนี้ ก็เจริญ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งไมเ่ คยหยดุ ยงั้ และยงั สามารถแตกกง่ิ กา้ นสาขาออกไป ยังต่างประเทศอีกหลายประเทศ โดยเฉพาะที่สหรัฐอเมริกา การ เจรญิ สตแิ บบนไ้ี ดแ้ ผข่ ยายออกไปไมต่ ำ่� กวา่ ๑๐ รฐั ตามทข่ี า้ พเจา้ ไดอ้ อกไปเผยแผแ่ ละสัมผสั มา นักภาวนารุ่นใหม่ท่ีได้เคยสัมผัสการภาวนาแบบก�ำหนด ลมหายใจมาแลว้ และไดม้ าทดสอบปฏบิ ตั แิ บบนด้ี บู า้ งนนั้ ตา่ งกม็ ี ความรู้สึกเหมือนกันว่า นี่คือทางออกที่ถูกต้องในการภาวนาของ คนรุ่นใหม่ คืออาศัยตัวการกระท�ำเป็นตัวกรรมฐานได้ตลอดเวลา เพียงแต่มสี ติรสู้ กึ ตวั อยกู่ บั การกระท�ำน้นั ๆ เท่าน้นั เอง และเป้าหมายของการภาวนาแบบน้ี มิได้มีอยู่ในความหวัง ของอนาคตทยี่ าวไกล แตเ่ ปน็ เปา้ หมายทสี่ ามารถลถุ งึ ไดต้ ลอดเวลา คอื เป้าหมายท่ีไมม่ ีอดตี อนาคต แตม่ ปี จั จุบนั เป็นเปา้ หมาย ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทเ่ี ราจะตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจและพสิ จู น ์ กรรมฐานแบบน้ีดูว่าเป็นความจริงเพียงใด และมีผู้พิสูจน์ส�ำเร็จ มาแลว้ มากนอ้ ยแคไ่ หน เพราะหลวงพอ่ เทยี นทา่ นไดก้ ลา่ วไวเ้ สมอวา่ วธิ กี ารนท้ี า่ นมไิ ดส้ อนใหเ้ ชอ่ื แตส่ อนใหพ้ สิ จู นท์ กุ แงท่ กุ มมุ แลว้ เรา จะไดค้ ำ� ตอบดว้ ยตนเอง แต่อย่างไรก็ตาม ก็ให้เข้าใจเอาไว้อย่างหนึ่งว่า กรรมฐาน แบบเคลอื่ นไหวไมไ่ ดเ้ นน้ ใหห้ วงั ผลของการปฏบิ ตั ิ วา่ เปน็ ความสงบ หรอื ความสขุ ทขี่ าดญาณปญั ญา แตม่ งุ่ ใหร้ สู้ กึ ตวั เอง ใหร้ จู้ กั ตวั เอง และให้เข้าใจตัวเอง จิตของเราจะสงบหรือไม่ก็ตาม อันนี้คือสิ่งที ่
เราเขา้ ใจยากในกรรมฐานแบบน ี้ เพราะกรรมฐานทวั่ ไปมวี า่ ตอ้ งสงบ ต้องมีปีติและสุขอย่างมากมาย นั่นมิใช่เป้าหมายของการเจริญสต ิ แบบน้ี และต้องจำ� พทุ ธพจนไ์ วบ้ ทหนึ่งว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย การบรรลุธรรมอันเลิศด้วยการกระทำ� อันเลวย่อมมีไม่ได้เลย แต่การบรรลุธรรมอันเลิศด้วยการกระท�ำ อันเลิศยอ่ มมีไดแ้ ล” การบรรลสุ ขุ อนั สงู สดุ ของชวี ติ นน้ั ตอ้ งผา่ นการกระทำ� อนั เลศิ นน้ั คอื สจั ธรรมทเ่ี ราตอ้ งยอมรบั ไมว่ า่ จะเปน็ ความสขุ ในโลกยี ธรรม หรือโลกุตรธรรมก็ตาม ต้องอาศัยการกระท�ำอันเลิศท้ังน้ัน เพราะ ฉะน้นั ตอ้ งไม่ลืมสัจธรรมบทนีด้ ้วย การอา่ นหนงั สอื ธรรมะในบางโอกาสนน้ั มสี ว่ นส�ำคญั ยงิ่ ทจ่ี ะ ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติของเราให้ก้าวหน้า แต่ถ้าเป็นการอ่าน แบบพรำ�่ เพรอื่ กไ็ มด่ ี เพราะจะทำ� ใหฟ้ น่ั เฝอื ไดใ้ นบางโอกาสทเี่ ราอย ู่ หา่ งไกลกลั ยาณมติ รและครบู าอาจารย ์ เมอ่ื เราหยบิ หนงั สอื ขน้ึ มาอา่ น กเ็ สมอื นหนงึ่ วา่ ไดส้ นทนาธรรมกบั ทา่ นเลยทเี ดยี ว การอา่ นจงึ เปน็ ส่วนเสรมิ ก�ำลงั ใจให้นักปฏบิ ัติได้ดำ� เนนิ ไปอย่างมัน่ ใจ ดงั นน้ั “สต ิ เคลด็ ลบั มองดา้ นใน” เลม่ นจ้ี ะเปน็ กญุ แจดอกหนงึ่ ทจ่ี ะชว่ ยไขขอ้ ขอ้ งใจในการปฏบิ ตั ขิ องทา่ นได ้ ในยามทขี่ าดกลั ยาณ- มติ ร จงึ ขออนโุ มทนาทกุ ทา่ นทม่ี สี ว่ นในการพมิ พห์ นงั สอื เลม่ นเ้ี ปน็ ครั้งที่ ๓ ขอให้บรรลุผลส�ำเร็จในการปฏิบัติธรรมแบบเคล่ือนไหว ได้ตลอดเวลาดว้ ยกนั ทกุ ทา่ นเทอญ ขอเจรญิ พร พระพุทธยานันทภกิ ขุ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๕
8 ๑๕ ๑๖ ส ต ิ เ ค ล ็ ด ลั บ ม อ ง ด้ า น ใ น ๑๖ ๑๘ ส า ร บั ญ ๑๙ ๒๑ ๑Part ๒๒ สติ เคล็ดลับมองด้านใน ๒๓ ความเขา้ ใจกอ่ นการเจริญสติ ๒๔ ส�ำหรบั ผมู้ อี ินทรยี อ์ ่อน ๒๕ วิธจี ิตสจู่ ิต ๒๗ สต ิ กับการวางใจทถ่ี ูกตอ้ ง ๒๘ อปุ สรรคเบ้อื งตน้ ของการเจริญสติ ๒๙ สติภาวนา กับการเรม่ิ ต้น ๓๕ ก�ำหนดอยา่ งไรในอาการของรปู -นาม ๓๗ รปู -นามปรากฏ อาการอยา่ งไร ๓๘ เมอ่ื อาการรปู นามปรากฏ ๔๑ การเห็นไตรลกั ษณ์ หรอื อารมณ์สอง การเกบ็ อารมณค์ ือการทำ� อยา่ งไร ทำ� อะไรบ้างขณะเก็บอารมณ์ การเห็นขันธห์ ้า และสมมตุ ิ ร้จู ักสมมตุ ิในแบบเคลื่อนไหว พึงระวังวิปัสสน ู เม่อื รู้สมมตุ ิใหมๆ่ วปิ ัสสนู คืออาการอย่างไร วิปสั สนูตามตำ� รา
ความเป็นปรมตั ถใ์ นแบบเคล่ือนไหว ๔๖ มอี ะไรในปรมตั ถ์ ๔๘ ปรมตั ถแ์ ท้ยอ่ มรักษาตวั มันเอง ๔๙ การเหน็ การเกดิ ดบั ๔๙ อาการเกดิ ดบั ทีเ่ ป็นจรงิ ๕๑ จิตเปลย่ี นหลังอาการเกิด-ดบั ปรากฏ ๕๓ การทำ� ลายอาสวะ เกดิ ขน้ึ เม่ือใด ๕๔ งานอนั สดุ ท้าย ๕๕ ๒Part ๖๓ ประสบการณ์การปฏิบัติธรรม ๗๙ น�้ำเปลี่ยนใจปลา ความเพียรเปลย่ี นใจคน ๘๙ ประสบการณป์ ฏบิ ตั ิธรรม ๙๙ ปิดเทอม...เตมิ สติ ๑๐๔ สมมุติ ๑๑๓ ท�ำเพ่อื เงิน แต่เผอญิ ไดธ้ รรม ๑๒๘ ๑๕ วนั กบั การมองดา้ นใน ๑๓๔ ธรรมที่เกิดจากทำ� ๑๔๐ สจั จะแท้ท่ผี มเข้าใจ ๑๖๖ ร้รู ปู นาม หยุดความกลวั ผี วธิ เี จรญิ สตใิ นอริ ยิ าบถนง่ั
ตามหลกั ของหลวงพ่อเทยี น จิตตฺ สโุ ภ ถอื วา่ บาปกด็ ี บุญกด็ ี นรก-สวรรคก์ ด็ ี เราท�ำตอนไหน ก็ได้ตอนน้ัน ไม่ได้เกาะเกยี่ วกับจิตตลอดเวลา บาปกรรมทีท่ �ำมา ก็ไมไ่ ด้มตี ลอดเวลา บญุ วาสนา บารม ี ก็เช่นกัน ชวี ติ ของเราขน้ึ อยกู่ บั จติ หนงึ่ ๆ เทา่ นน้ั ขณะใดจติ ประกอบดว้ ยธรรมฝา่ ยด ี ชวี ติ กด็ ี ขณะใดจิตประกอบด้วยธรรมฝ่ายช่ัว ชีวติ กช็ ว่ั ดงั นัน้ การเจรญิ สติแบบเคลอื่ นไหว ยกมอื สรา้ งจังหวะ เดินจงกรม จงึ เป็นวธิ หี นึง่ ทชี่ ักจิต เขา้ สู่ปจั จุบนั ธรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง
11 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ
กรรมฐานแบบเคลื่อนไหว ไมไ่ ด้เนน้ ใหห้ วังผลของการปฏิบัต ิ วา่ เปน็ ความสงบ หรือความสขุ ทีข่ าดญาณปญั ญา แต่มุ่งให้รสู้ กึ ตวั เอง ให้รจู้ กั ตัวเอง และใหเ้ ข้าใจตัวเอง
๑P a r t สติ เคล็ดลับมองด้านใน ความเข้าใจก่อนการเจริญสติ ตามท่ีได้ปรารภไว้แต่แรกว่า จะมีการเรียงล�ำดับอารมณ ์ กรรมฐานแบบหลวงพ่อเทียน เพื่อท�ำความรู้สึกของเราให้ชัดเจน ตามขั้นตอนของการปฏิบัติที่นักปฏิบัติเคยผ่านมาแล้ว การปฏิบัติ แบบนี้จ�ำเป็นต้องก�ำหนดรู้อารมณ์ให้แม่นย�ำ จ�ำอารมณ์ปฏิบัติ ทผี่ า่ นมาแลว้ ได ้ ถา้ เรายดึ เหนยี่ วอารมณป์ จั จบุ นั ไมช่ ดั เจนเลอะเลอื น สับสน ท�ำให้เราไม่เห็นความก้าวหน้าของการปฏิบัติแบบนี้ การ เจรญิ สตแิ บบน ้ี ถา้ หากเราไมท่ อ้ ถอย เราจะไดอ้ ารมณเ์ รอ่ื ยๆ การ ไดอ้ ารมณค์ อื ยงิ่ ปฏบิ ตั ยิ ง่ิ สนกุ เราสามารถเจรญิ สตเิ ปน็ ชวี ติ ประจำ� วนั ไดเ้ รอ่ื ยๆ ไมร่ สู้ กึ เบอื่ หนา่ ยทอ้ ถอย จติ ใจกส็ มั ผสั ธรรมะตลอดเวลา ความเศรา้ หมองทางอารมณท์ จี่ ะท�ำใหเ้ กดิ อกศุ ลจติ กไ็ มค่ อ่ ยปรากฏ
16 ส ติ เ ค ล ็ ด ลั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น ส�ำหรับผู้มีอินทรีย์อ่อน แตส่ ำ� หรบั คนทมี่ อี ารมณป์ ฏบิ ตั ยิ งั ออ่ น ควรประคบั ประคอง อารมณ์ให้อยู่กับการปฏิบัติให้มาก ตามท่ีรูปแบบก�ำหนดไว้ คือ การสรา้ งจงั หวะและเดนิ จงกรมแบบหลวงพอ่ เทยี น (ในทน่ี จี้ ะไมน่ �ำ มากล่าวซ้�ำอีก เพราะเป็นท่ีรู้จักกันแพร่หลายแล้ว) ทางที่ดีที่สุด ควรอยู่ใกล้กัลยาณมิตร คือ พ่ีเลี้ยง ให้เข้าใจวิธีการอย่างชัดเจน เสียก่อน จากน้ันอาจจะเรียนรู้ ความเข้าใจและภาษาท่ีใช้ในการ ทำ� กรรมฐานแบบหลวงพอ่ เทยี น ซง่ึ มคี วามเปน็ เอกลกั ษณท์ ไ่ี มค่ อ่ ย เหมือนสำ� นักกรรมฐานทัว่ ไป คำ� วา่ “อนิ ทรยี อ์ อ่ น” ในทนี่ ้ี หมายถงึ ยงั ไมแ่ นใ่ จในวธิ กี าร ปฏิบัติ ขณะปฏิบัติก็มักอ่อนแอหวั่นไหวง่าย มีใครมาพูดในทาง ไม่เห็นด้วยกับการปฏิบัติก็เกิดความรู้สึกไม่แน่ใจ ไขว้เขว เป็นต้น แต่การเตรียมตัวเข้ามาปฏิบัติน้ัน ไม่ต้องเตรียมตัวมาก ไม่ต้องม ี พิธีรีตองอะไรทั้งน้ัน เม่ือฟังการแนะน�ำวิธีปฏิบัติแล้ว ลงมือท�ำได้ เลย ขดั ข้องไมเ่ ข้าใจตรงไหนก็ปรึกษาพระพเ่ี ลี้ยงได้ วิธีจิตสู่จิต ตามทศั นะชวี ติ ของชาวพทุ ธทถี่ กู ตอ้ ง ตอ้ งยดึ หลกั สมั มาทฏิ ฐ ิ ไมห่ ลงเอาสสั สตทิฏฐเิ ข้ามาปนเป คอื ตามหลักของหลวงพ่อเทยี น จิตฺตสุโภ ถือว่าบาปก็ดี บุญก็ดี นรก-สวรรค์ก็ดี เราท�ำตอนไหน ก็ได้ตอนน้ัน ไม่ได้เกาะเก่ียวกับจิตตลอดเวลา บาปกรรมท่ีท�ำมา
17 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภิ ก ขุ กไ็ มไ่ ดม้ ตี ลอดเวลา บญุ วาสนา บารม ี กเ็ ชน่ กนั ชวี ติ ของเราขน้ึ อยกู่ บั จติ หนงึ่ ๆ เทา่ นนั้ ขณะใดจติ ประกอบดว้ ยธรรมฝา่ ยด ี ชวี ติ กด็ ี ขณะใดจิตประกอบดว้ ยธรรมฝ่ายช่วั ชีวิตกช็ ั่ว ดังนัน้ การเจรญิ สติ แบบเคล่ือนไหว ยกมือสร้างจังหวะ เดินจงกรมจึงเป็นวิธีหนึ่งท ี่ ชกั จติ เขา้ สปู่ จั จบุ นั ธรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ปจั จบุ นั ธรรมในทน่ี ห้ี มายเอา สติปัฏฐาน ๔ กำ� หนดร้กู าย เห็นอาการของกายต้งั แตห่ วั จรดเทา้ ก�ำหนดรู้เวทนา เห็นอาการเวทนา คือ เห็นความรู้สึกที่ด ี ไมด่ ี และความรสู้ กึ เฉยๆ แล้วสลดั ทิ้งไปส�ำหรบั ผ้เู รมิ่ ตน้ ฝกึ ใหม่ ก�ำหนดรู้จิต เห็นอาการของจิต คือ เห็นอาการท่ีมันคิด มันนึก ปรุงแต่งเป็นเร่ืองราวต่างๆ ก�ำหนดรู้มันเฉยๆ ไม่เผลอคิด ตดิ ตามมนั ไป กำ� หนดรธู้ รรม คอื รจู้ กั เรอ่ื งทม่ี นั คดิ คดิ วา่ เปน็ เรอ่ื งด ี เรอื่ งไมด่ ี แล้วปล่อยวาง ไม่ส�ำคัญม่ันหมายเรื่องราวท่ีมันคิดว่าเป็นตัวตน เมอ่ื คดิ ขน้ึ มาครง้ั ใด กส็ ลดั ทง้ิ เรอื่ ยไป แลว้ กำ� หนดสต-ิ ใจอยทู่ รี่ ปู นาม เสมอไป ไม่ให้ตามความคิดไป อันน้ีเป็นหลักเบื้องต้นส�ำหรับ ผู้ปฏิบตั ิใหม่ ส�ำหรับผู้เคยปฏิบัติมาบ้างแล้ว ย่อมเกิดความช�ำนาญใน อารมณ ์ จะพลกิ แพลงปฏบิ ตั ิอยา่ งไรกไ็ ด้ ขอให้มีสติอยกู่ ับรปู นาม เปน็ ใชไ้ ด ้ ถา้ จะวา่ กนั ใหถ้ กู ตอ้ ง เรยี กวา่ เจรญิ สตเิ พอ่ื เฝา้ ดอู าการ ของจติ ใหเ้ หน็ ความคดิ ทกุ ขนั้ ตอน จนกเิ ลสหลอกจติ ไมใ่ หห้ ลงคดิ ปรงุ แตง่ อกี ตอ่ ไป เพราะความทกุ ขท์ งั้ หลายทง้ั ปวงมาจากความคดิ ทข่ี าดสตินน่ั เอง
18 ส ติ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด้ า น ใ น สติ กับการวางใจที่ถูกต้อง ชว่ งใด เวลาใด จติ ของเราประกอบพรอ้ มดว้ ยสตสิ มั ปชญั ญะ ขณะเวลานน้ั จติ ของเราไมเ่ ป็นบญุ ไมเ่ ป็นบาป จติ อยู่อยา่ งอิสระ เปน็ จติ ทซี่ อื่ ๆ เฉยๆ เมอ่ื ใดถกู กระทบอารมณ ์ สตมิ าไมท่ นั ปรงุ แตง่ ไปทางดกี เ็ ปน็ บญุ ปรงุ แตง่ ไปทางไมด่ กี เ็ ปน็ บาป นคี่ อื ลกั ษณะของ ค�ำสอนที่เป็น “ขณิกวาท” คือก�ำหนดเป็นเร่ืองๆ ไป ไม่น�ำมา คละเคลา้ ปนเปกนั แตค่ นสว่ นใหญไ่ มเ่ ขา้ ใจหลกั อนั น ี้ มกั จะพดู ดว้ ย ความทอ้ ใจวา่ เราทำ� บาปทำ� กรรมมามาก กเิ ลสหนา ตณั หาหยาบ เรายงั เขา้ วดั ไมไ่ ด ้ เปน็ ตน้ นถี่ อื วา่ เปน็ ความเขา้ ใจไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั ของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนาถอื วา่ สงิ่ หลากหลายเกดิ แตเ่ หตุ ถา้ สรา้ งเหตถุ กู ทกุ อยา่ งกถ็ กู ถา้ สรา้ งเหตผุ ดิ ทกุ อยา่ งกผ็ ดิ ความ ช่ัวผิดท้ังหลายจะส้ินสุดลงเพราะมีการเปล่ียนแปลงท�ำให้ถูกต้อง ปรบั ความเหน็ ใหถ้ ูกตอ้ ง ดงั นน้ั ไมว่ า่ ใครจะเคยเปน็ อะไรมาจากไหน กส็ ามารถเรม่ิ ตน้ การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวได้ทั้งนั้น แม้แต่พระองคุลีมาล ตาม ประวัติว่า ฆ่าคนมาเป็นร้อยๆ พันๆ ก็ยังสามารถปฏิบัติธรรมจน บรรลุได้ เพียงได้ฟังค�ำสอนจากพระพุทธองค์ แล้วท�ำใจเสียใหม่ คอื กลบั มาเขา้ ใจเรอื่ งราวชวี ติ เสยี ใหม ่ จากมจิ ฉาทฏิ ฐเิ ปน็ สมั มาทฏิ ฐ ิ ทา่ นกบ็ ริสุทธ์ิได้ เปน็ พระอรหนั ตร์ ปู หนึ่งในพทุ ธศาสนา
19 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ อุปสรรคเบ้ืองต้นของการเจริญสติ ผู้เข้ามาปฏิบัติใหม่ ท่านจะต้องต่อสู้กับอารมณ์ของตนเอง อยา่ งชา้ ๓ วนั ตอ้ งหนกั หนว่ งพอสมควร ถา้ เจรญิ สตอิ ยา่ งเตม็ ท่ ี เคล่ือนไหวอย่างต่อเน่ืองแล้ว สามวันผ่านไปแล้วจะรู้สึกเบาสบาย ระยะแรกต้องวุ่นวายไปกับความคิดและอารมณ์ เพราะคนเราม ี การกระทบอารมณ์อยู่เกือบตลอดเวลา มีการกระทบมาทางตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ทางใดทางหนง่ึ เขา้ มาเปน็ รปู เสยี ง กลน่ิ รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ส่วนใหญ่ถึงกับกล่าวว่ามันเป็นไปไม่ได้ท่ีจะ ไม่ให้มีความคดิ ความจรงิ เรอื่ งน ้ี การเจรญิ สต ิ ทา่ นไมไ่ ดห้ า้ มความคดิ แต่ เรามารู้เสียใหม่ว่า เราก�ำลังคิดอะไร คิดอย่างไร คิดไปเพ่ืออะไร ความคดิ เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร แลว้ เรากค็ อยดมู นั ไปเรอ่ื ยๆ แตใ่ นขณะท่ี เฝา้ ดมู นั เราไมอ่ ยเู่ ฉยๆ เรายกมอื สรา้ งจงั หวะ หรอื เดนิ จงกรมไปมา ตลอดเวลา ขณะทเ่ี ราทำ� อยา่ งน ี้ แนน่ อนตอ้ งมอี ปุ สรรคหลายอยา่ ง มากนั้ ใจไมอ่ ยากใหเ้ ราทำ� สง่ิ น ้ี เรยี กวา่ “นวิ รณ”์ คอื ธรรมขวางกนั้ ไม่ให้จิตของเราดำ� เนินไปสู่ทางท่ีดีท่ีสูงกว่า เราเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า “เสนามาร” มอี ยู่ ๕ ลกั ษณะ คือ ๑. กามฉนั ทะ ความขเี้ กยี จ ตดิ สนกุ รกั สบาย ความหมกมนุ่ มวั เมาในความสะดวกสบาย ไมอ่ ยากทำ� อะไรใหล้ ำ� บาก ความกำ� หนดั รักใครใ่ นอารมณ์ท่กี ระทบแลว้ สลัดไม่หลดุ ๒. พยาปาทะ ความหงดุ หงดิ งนุ่ งา่ น รำ� คาญใจ ความอดึ อดั ขดั แยง้ ไมป่ ลอดโปรง่ ไมม่ กี �ำลงั ใจ ไมอ่ ยากท�ำ นำ� เรอ่ื งไม่พอใจ ในอดตี มาปรุงแตง่ แล้วเกิดรสู้ ึกเคียดแคน้
20 ส ติ เ ค ล็ ด ลั บ ม อ ง ด้ า น ใ น ๓. ถนี มทิ ธะ ความงว่ งเหงาหาวนอน สะลมึ สะลอื เหนอ่ื ย หน่าย เบ่ือ เซ็ง หดหู่ ท้อถอย ตีนอ่อน มืออ่อน หมดก�ำลังใจ มีแตค่ วามอยากหลับอยากนอน ขี้เกียจ ไมก่ ระปรก้ี ระเปร่า ๔. อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ ความฟงุ้ ซา่ น เลอ่ื นลอย สรา้ งจนิ ตนาการ วาดวิมาน ฟุ้งฝัน วิตกกังวลถึงเร่ืองไม่เป็นเร่ือง จับจด คิดอะไร เพ้อเจ้อ แล้วแต่อารมณ์จะพาไป ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ไม่แน่ใจ ความไม่รู้จะเอา อย่างไหนดี ตัดสินใจไม่ได้ สงสัยเร่ืองไร้สาระ เปรียบเทียบหา ขอ้ ถกู ข้อผิดเอากบั คัมภีร ์ ต�ำรา ครูบาอาจารย์ นค่ี อื โฉมหนา้ ผพู้ ชิ ติ ความตงั้ ใจดขี องผตู้ อ้ งการความดที งั้ หลาย แต่แล้วก็ไปไม่ค่อยรอด นิวรณธรรมเข้ามาขัดขวางจนล่าถอย เว้นไว้แต่บุคคลนั้นมีความต้ังใจเด็ดเด่ียว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น ก้มหน้าก้มตาปฏิบัติอย่างเดียว คนๆ นั้นก็ผ่านอุปสรรคทั้งปวง ได้อย่างสบาย ดังน้ันท่ีว่าก่อนตรัสรู้พระพุทธเจ้าทรงผจญมารและ เสนามาร ก็ได้แก่มารท้ัง ๕ ตัวน้ีแหละ ตัวพญาของมันมาทีหลัง คือจิตที่ติดข้องในราคะ โทสะ โมหะ หรือชาวบ้าน เรียกมันว่า ความโลภ ความโกรธ ความหลง สามตวั นค้ี อื พญามาร พระองค ์ ทรงชนะได้ทง้ั ตัวพญาและตัวเสนามารจงึ ไดต้ รสั รู้ ผเู้ จรญิ สตกิ ต็ อ้ งผา่ นมารเหลา่ นที้ กุ คน โบราณวา่ “มารไมม่ ี บารมีไม่แก่กล้า การเอาชนะทุกอย่างในโลกน้ี ไม่ประเสริฐเท่ากับ เอาชนะมารในตวั เอง” เพราะมนั หมายถงึ การเอาชนะทกุ ขไ์ ด ้ ดบั ทกุ ข์ ได้ และเป็นการชนะที่ไม่ต้องแพ้อีกต่อไป มันเป็นการท�ำสงคราม กับตวั เอง เป็นสงครามเยน็ เปน็ การรบทีโ่ หดรา้ ยทารณุ ทส่ี ุด ดงั นน้ั ผหู้ วงั สนั ตภิ าพ คอื นพิ พาน ซง่ึ เปน็ สนั ตภิ าพทถ่ี าวร จ�ำเปน็ ต้องรบกบั กเิ ลสมารทั้งหลายให้ชนะจงได้
21 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ สติภาวนา กับการเร่ิมต้น การเรมิ่ ตน้ เจริญสต ิ หลังจากทฝี่ กึ ท�ำจงั หวะและเดนิ จงกรม เป็นแล้ว ระยะแรกๆ ควรน่ังสร้างจังหวะให้มาก จะท�ำให้จิต ไม่ปรุงแต่งมากเกินไป การสร้างจังหวะท�ำอย่างสบายๆ ระวังอย่า ให้จิตเพ่งจ้อง หรือก�ำหนดจริงจังเกินไป พยายามท�ำให้รู้สึก เบาโปรง่ ไมร่ สู้ กึ วา่ ตนเองถกู บงั คบั ใหท้ �ำ แตร่ สู้ กึ วา่ ตนเองทำ� ดว้ ย ศรัทธา เต็มใจท�ำเพราะเห็นประโยชน์ คือความสิ้นทุกข์ส้ินปัญหา รอเวลาอยขู่ า้ งหนา้ ทำ� ใจเหมอื นเรากำ� ลงั จะไดพ้ บกบั สง่ิ มคี า่ สงู สดุ สำ� หรบั ชวี ติ แลว้ เราจะไมเ่ บอื่ หนา่ ยทอ้ ถอย สำ� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ใิ หมม่ กั เดินจงกรมมาก เพราะเป็นการเริ่มต้นที่ง่ายไม่เคอะเขิน การสร้าง จงั หวะสำ� หรับผู้ปฏบิ ัตใิ หม่ มกั รู้สกึ ฝนื ๆ เพราะไม่เคย ภาพพจน์ของการท�ำกรรมฐานส�ำหรับคนไทย เราคุ้นเคย กับการน่ังหลับตาไม่ต้องรับรู้อะไร แต่วิธีการของหลวงพ่อเทียน ไมน่ ยิ มนงั่ นงิ่ แลว้ หลบั ตา แตใ่ หน้ งั่ ลมื ตา ก�ำหนดสตกิ บั การเคลอื่ น ไหวตลอดเวลา นง่ั ทา่ ไหนกไ็ ด ้ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งนงั่ ขดั สมาธ ิ คอื กำ� หนด การเคลอื่ นไหวทกุ สว่ น ในอรยิ าบถ ๔ คอื ยนื สรา้ งจงั หวะ นง่ั สรา้ ง จงั หวะ นอนสรา้ งจงั หวะกไ็ ด ้ เวน้ ไวแ้ ตเ่ ดนิ ไมต่ อ้ งสรา้ งจงั หวะไป ตาม เวลาเดนิ กใ็ หเ้ กบ็ มอื ใหเ้ รยี บรอ้ ยไมป่ ลอ่ ยมอื หรอื แกวง่ แขนเดนิ อาจจะเก็บไว้ข้างหน้า กอดอกหรือไขว้หลังก็ได้ การเดินก็ไม่ช้า เกินไป ไม่เร็วเกินไป พอดีกับท่ีเราเดิน ไม่ก�ำหนดทีละก้าว ไม่ม ี การใช้ค�ำบริกรรมประกอบรูปแบบโดยประการทั้งปวง เพราะ นักปฏิบัติท่ีเป็นคนไทยมักติดการบริกรรมจนกลายเป็นธรรมเนียม วิธีการแบบนี้ให้ตัดท้ิงท้ังหมด การเดินจงกรมก็เดินประมาณ ๑๐-๑๒ กา้ วพอด ี เดนิ สั้นเกนิ ไปเวยี นหัว เดนิ ยาวเกนิ ไปมกั ทำ� ให้
22 ส ต ิ เ ค ล็ ด ลั บ ม อ ง ด้ า น ใ น เพลิน แล้วคิดออกไปโดยไม่รู้สึกตัว การเดินก็เดินเป็นทางตรง ไม่เดินเป็นวงกลม เรามักจะเข้าใจผิดๆ ว่า การเดินจงกรมต้อง เดินเป็นวงกลมน้ันเข้าใจภาษาผิด คำ� ว่า “จงกรม” เป็นภาษาบาล ี แปลว่า “การก้าวไปข้างหน้าและถอยกลับอย่างมีสติสัมปชัญญะ” ไม่ได้หมายถึงเดินเป็นวงกลมตามเสียงภาษาไทย ต้องเข้าใจอย่าง ถกู ต้องด้วย แต่บางคนก็ดันทรุ งั ท�ำไปท้ังทร่ี ู้ว่ามันผิด ก�ำหนดอย่างไรในอาการของรูป-นาม เม่ือสร้างจังหวะเดินจงกรมต่อกันไปเรื่อยๆ ท่านจะบอกให ้ ก�ำหนดรู้รูปและนาม คือ ให้ก�ำหนดรู้การกระท�ำของเราให้แคบ เขา้ มาใหเ้ หลอื นอ้ ยทส่ี ดุ เพอ่ื งา่ ยแกก่ ารก�ำหนดร ู้ ในรา่ งกาย จติ ใจ ของเรา ไมว่ า่ มนั จะมมี ากขนาดไหน ไมว่ า่ จะเปน็ ธาต ุ ๔ ขนั ธ ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาต ุ ๑๘ อนิ ทรยี ์ ๒๒ อรยิ สจั ๔ ปฏจิ จสมปุ บาท ๑๒ กต็ าม แตว่ ธิ แี บบเคลอ่ื นไหว ใหก้ ำ� หนดรสู้ ว่ นหลกั ๆ เพยี ง ๒ สว่ น กพ็ อ เพอื่ ปอ้ งกนั ความยงุ่ ยาก สบั สนในเรอื่ งของภาษา ใหก้ ำ� หนดร ู้ กายทงั้ หมดทง้ั อาการ ๓๒ วา่ เปน็ เพยี ง “รปู ” เทา่ นน้ั และกำ� หนดร้ ู ความรู้สึกนึกคิดทั้งหมดว่าเป็นเพียง “นาม” เท่าน้ัน และไม่ต้อง ไปคิดแยกแยะเสียเวลาว่า รูปเกิดจากอะไร นามเกิดจากอะไร ไม่ต้องไปรู้
23 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภิ ก ขุ รูป-นามปรากฏ อาการอย่างไร เมอื่ การกำ� หนดรใู้ นปจั จบุ นั มากขน้ึ ๆ สตกิ เ็ ขม้ แขง็ เหน็ อาการ ของรปู ชัดเจน เห็นอาการของนามชัดเจน สามารถแยกออกได้ว่า อะไรเป็นรูป อะไรเป็นนาม อะไรคือความรู้สึกท่ีเป็นสติ อะไรคือ ความรู้สึกท่ีเป็นเวทนา ไม่สับสนเอาสติเป็นความคิด เอาความคิด เป็นสต ิ เหมือนเมอ่ื ยงั ไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ อาการรรู้ ปู รนู้ าม นนั้ ไมเ่ หมอื นกนั บางคนรขู้ ณะสรา้ งจงั หวะ บางคนเดนิ จงกรมอยกู่ ร็ ู้ หรอื บางคนกอ็ ยใู่ นอริ ยิ าบถตา่ งๆ กนั แต ่ มบี างรายมารอู้ ยทู่ บี่ า้ น คอื ขณะทปี่ ฏบิ ตั อิ ยกู่ บั หมคู่ ณะ ไมป่ รากฏ แตก่ ลบั ไปบา้ นไปแอบทำ� อยคู่ นเดยี วเงียบๆ กลบั รู้รูป รนู้ ามก็มี การรรู้ ปู นาม ไมเ่ หมอื นกบั เรยี นปรยิ ตั ิ คอื ไมไ่ ดน้ กึ คดิ เอา ถึงจะรู้ แต่มันรู้ของมันเอง ถ้านึกคิดเอาก็รู้ได้เหมือนกัน แต่มัน รไู้ มจ่ รงิ รแู้ ลว้ ลมื ไมแ่ นใ่ จ รรู้ ปู นามอยา่ งนใี้ ชไ้ มไ่ ด ้ เพราะเกดิ ขนึ้ โดยคาดคะเน หรอื นกึ เดาจากภาวะทร่ี จู้ กั รปู นามตามความเปน็ จรงิ (ประจกั ษร์ ดู้ ว้ ยอาการทเี่ ปน็ เอง) อาการคลา้ ยๆ กบั เราเดนิ ไปตามทาง แล้วเกิดสะดุดตอหรือเท้ากระทบเข้ากับอะไรสักอย่างอย่างรุนแรง แลว้ เกดิ ตนื่ โพลง ห ู ตา สวา่ งขนึ้ มาอยา่ งทนั ทที นั ใด ภาวะอยา่ งนี ้ ยากแก่การอธิบาย แต่เป็นที่รู้กันในหมู่ผู้ปฏิบัติ เพราะมีอาการ เหมอื นๆ กนั ตา่ งแตบ่ างคนเปน็ ชา้ บางคนเปน็ ไว บางคนชดั เจน บางคนไม่ชัดเจน บางคนรู้ไปทีละน้อยๆ บางคนประจักษ์ทีเดียว ชดั เจน จำ� เหตุการณข์ ณะเปน็ ได ้ ไมเ่ ลอะเลือน
24 ส ติ เ ค ล ็ ด ลั บ ม อ ง ด้ า น ใ น เมื่ออาการรูปนามปรากฏ วธิ กี ารเจรญิ สตแิ บบเคลอ่ื นไหว เปน็ รปู แบบเฉพาะ มภี าษาใช้ ไม่เรียงล�ำดับขั้นตอนของปริยัติ เพราะเป็นวิธีแบบลัดตรงไปสู่การ ดบั ทกุ ขท์ างใจอยา่ งทนั ทที นั ใด ไมม่ รี ปู แบบและพธิ รี ตี องทางศาสนา ทสี่ ลบั ซบั ซอ้ น ไมม่ ภี าษาบรรยายความรอู้ ยา่ งวจิ ติ รและไพเราะ แต่ เปน็ ภาษาของหลวงพอ่ เทยี น ซง่ึ เปน็ ทเี่ ขา้ ใจได ้ และใชแ้ กป้ ญั หาได ้ อย่างชะงัด ซึ่งท่านมักใช้ค�ำว่า “ธรรมอึดใจเดียว” ดังนั้นอารมณ ์ รูปนาม ท่านเรียกว่า “อารมณ์เบื้องต้น หรืออารมณ์ท่ี ๑” การ เจรญิ สตปิ ฏั ฐานตามวธิ นี ้ี ตอ้ งเรยี งตามอารมณ ์ เมอื่ รอู้ ารมณร์ ปู นาม แนน่ อนแลว้ การปรงุ แตง่ ของความคดิ กป็ รากฏชดั เจน เหน็ ความคดิ ชัด เมื่อก่อนไม่รู้รูปนาม เรามักถูกความคิดลักพาไปบ่อยๆ กว่า จะรวู้ า่ ความคดิ กผ็ า่ นไปหลายเรอ่ื งแลว้ รรู้ ปู นามแลว้ กย็ งั ปรงุ แตง่ อย่ ู แตเ่ รากำ� หนดรไู้ ดไ้ วขน้ึ คอื สตมิ าไวขน้ึ เรอื่ งทจ่ี ะปรงุ แตง่ กส็ นั้ เขา้ ๆ การก�ำหนดร้อู ิรยิ าบถย่อยก็ทำ� ไดม้ าก เมื่อก่อนรู้ทันแต่อิริยาบถหยาบๆ พอรู้จักอารมณ์น้ี สติก ็ จะเฝ้าดูท้ังกายและใจได้มาก กระพริบตา อ้าปาก กลืนน้�ำลาย หายใจเขา้ -ออก เรากำ� หนดรไู้ มค่ อ่ ยทัน ต่อเมอ่ื เห็นอารมณน์ ้ีแลว้ จะรู้ได้ง่ายและไว การก�ำหนดรู้ลมหายใจเข้า-ออกก็ท�ำได้ง่ายๆ เพราะมันไปรู้ของมันเอง แต่การปฏิบัติก็ทำ� เหมือนเดิมคือ สร้าง จังหวะ เดินจงกรมไปเร่ือยๆ สติ ความรู้สึกระลึกได้ก็ว่องไว ทัน ตอ่ การปรงุ แตง่ มากขน้ึ เมอ่ื เหน็ และรมู้ าถงึ ตรงน ี้ การปฏบิ ตั จิ ะสนกุ เรยี กวา่ “ไดอ้ ารมณ”์ จติ เรมิ่ เบาสบาย ไมห่ นกั หนว่ ง สบั สนเหมอื น ตอนปฏิบัติระยะแรกๆ สติย่ิงถี่มากเท่าใดก็ทันต่อความคิดมากขึ้น เทา่ นนั้ ทำ� ใหอ้ าการทางรปู ปรากฏชดั เจนเรอ่ื ยๆ ท�ำใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ริ จู้ กั
25 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า นั น ท ภิ ก ขุ รปู โรค นามโรค รจู้ กั รปู ธรรม นามธรรม ตามลำ� ดบั ไมส่ งสยั เรอื่ ง รปู -นาม ทำ� ใหส้ มาธจิ ติ ตงั้ มน่ั ในรปู นามปจั จบุ นั เปน็ เวลานาน นค่ี อื ผลการเหน็ รปู นามตามแบบการเคลอ่ื นไหว ไมใ่ ชร่ ปู นามทก่ี ำ� หนดร้ ู แบบทอ่ งในใจ หรือในอิริยาบถแล้วนกึ ไปตามอาการ การเห็นไตรลักษณ์ หรืออารมณ์สอง เม่ือรูปนามปรากฏ ผู้ปฏิบัติก็เฝ้าดูความคิดเป็นส่วนใหญ ่ ประมาณ ๗๐-๘๐% เมอื่ รรู้ ปู นามแลว้ กลบั เขา้ มาดคู วามคดิ มนั จะ ไม่เครียดหรือปวดหัว ต่างกับผู้ปฏิบัติแรกๆ ถ้าเข้าไปดูความคิด มนั จะเวยี นหวั เครยี ด เพราะความคดิ มนั ไวและรนุ แรงอย ู่ เมอื่ สมั ผสั รรู้ ปู นามแลว้ ความคดิ จะออ่ นตวั เพราะจติ มารอู้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั จติ มี ท่ีอยู่อาศัย ไม่เร่ร่อนไปไกล เมื่อสติกับจิตตามกันทัน ความทุกข ์ ทเ่ี กดิ จากการปรงุ แตง่ กล็ ดลงเรอ่ื ยๆ จติ ปรงุ แตง่ ขนึ้ เมอื่ ใด สตกิ ต็ าม เขา้ ไปรเู้ มอ่ื นน้ั สตเิ ขา้ ไปรเู้ มอ่ื ใด ความคดิ ปรงุ แตง่ กข็ าดสะบน้ั ลง กลางคันทันที ก�ำหนดเช่นน้ีเร่ือยไป ตามภาษาปริยัติ เรียกว่า “นามรปู ปรเิ ฉทญาณ” เปน็ ญาณแรกของวปิ สั สนาญาณ ๑๖ เมอ่ื มา กำ� หนดรคู้ วามคดิ ไดแ้ ลว้ ความเพยี รคอื การก�ำหนดรกู้ ารเคลอ่ื นไหว ในอิริยาบถต่างๆ โดยเฉพาะการสร้างจังหวะ เดินจงกรม ต้องทำ� อย่างต่อเนื่องและจริงจัง แต่เข้าใจแก้อารมณ์ของตัวเอง รู้จัก ผ่อนหนักผอ่ นเบา ไม่ใช่ทำ� ไปตามอารมณ์ มาถึงจุดน้ี ผู้ปฏิบัติบางท่านจะเกิดความรู้สึกเบ่ือหน่าย ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง อยา่ งไมม่ เี หตผุ ล เหน็ ความทกุ ขข์ องรา่ งกาย เบอื่ ตวั เองอยา่ งไมเ่ คยเปน็ มากอ่ น ทำ� ใหน้ กั ปฏบิ ตั ทิ ไี่ มร่ เู้ ทา่ ทนั อารมณน์ ้ี
26 ส ต ิ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด้ า น ใ น อยากจะหนไี ปไกลๆ ไมอ่ ยากพบใคร อยากอยคู่ นเดยี วเงยี บๆ การ เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยเชน่ น ี้ เรยี กวา่ “ตดิ อารมณ”์ (ตามภาษาทร่ี กู้ นั เขา้ ใจกนั ในวธิ ปี ฏบิ ตั แิ บบน)้ี พระพเ่ี ลย้ี งหรอื ครบู าอาจารยต์ อ้ งสงั เกต และแก้อารมณ์ให้กับผู้ปฏิบัติ อาจจะพูดให้ฟัง หรือให้เทคนิค การแกอ้ ารมณต์ ามแบบฉบับของอาจารยท์ ่านนัน้ ๆ ถา้ อยู่ในสำ� นกั ปฏิบตั ิ ท่านก็จะใหเ้ ขา้ เก็บอารมณ์ การที่จิตมาเป็นอารมณ์นี้ เรียกว่า การปรากฏของอารมณ ์ “ไตรลักษณ์” คือ อาการของอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่เป็นอาการ จรงิ ๆ สมั ผสั จรงิ ๆ ชนดิ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ไ็ มเ่ ฉลยี วใจวา่ ตนเองเปน็ อารมณน์ ้ี จนกวา่ มนั จะผา่ นไปแลว้ ไมเ่ หมอื นกบั การปฏบิ ตั ใิ นบางวธิ ี การเหน็ ไตรลักษณ์ต้องน้อมเอา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มาพิจารณาอยู่ เป็นประจ�ำ ซึ่งผู้ปฏิบัติหารู้ไม่ว่า การท�ำเช่นนั้น ก็เป็นการสร้าง จิตปรุงแต่งอีกแบบหน่ึง เรียกว่า “ปุญญาภิสังขาร” คือปรุงแต่ง ในทางดหี รอื ฝา่ ยเปน็ บญุ เพราะสงั ขารทป่ี รงุ แตง่ จติ ทกุ รปู แบบไมว่ า่ ฝ่ายดี-ไม่ดี หรือปรุงแต่งในเร่ือง ศีล สมาธิ ปัญญา ในรูปปริยัต ิ ก็ตาม ต้องสลัดทิ้งไปทันที ก�ำหนดรู้แต่รูปนามปัจจุบันก็พอ เม่ือ ญาณปญั ญามนั ถงึ ทแี่ ลว้ มนั จะรเู้ รอื่ งอะไร มนั กร็ ขู้ นึ้ เองโดยไมต่ อ้ ง เสียเวลาปรุงแต่งนึกคิด เพราะน่ันไม่ใช่ลักษณะของปัญญาญาณ ตามความเป็นจริง เพราะนักปฏิบัติมักเข้าใจตรงนี้ผิดพลาด มักจะสอนกันว่า ต้องใช้ปัญญาพิจารณาธรรมหมวดต่างๆ อารมณ์กรรมฐานจะได ้ กา้ วหนา้ แตแ่ บบหลวงพอ่ เทยี นจะไมท่ �ำอยา่ งนนั้ มหี นา้ ทกี่ ำ� หนดร้ ู ดูกาย ดูใจ ให้เห็นกายตามความเป็นจริง ไม่เป็นทุกข์กับเร่ือง ที่คิด ให้ก�ำหนดรู้เฉยๆ รู้ซื่อๆ รู้ตรงๆ รู้ชัดๆ เบาสบายๆ ไม่รู้ แบบเพ่งจ้อง กดข่ม หรือบังคับใจไม่ให้คิดก็ไม่ท�ำ ถ้ามันคิด ก็รู้
27 พ ร ะ พุ ท ธ ย า นั น ท ภิ ก ขุ วา่ มนั คดิ เทา่ นนั้ อยา่ ไปตามมนั ไป รแู้ ลว้ ปลอ่ ยๆ มนั ไปใหเ้ หลอื แต ่ อาการรลู้ ว้ นๆ เรยี กวา่ “รสู้ กั แตว่ า่ ร ู้ ไมใ่ ชส่ ตั ว ์ บคุ คล ตวั ตน เรา เขา” มารนู้ เี้ รยี กวา่ มารอู้ ารมณส์ อง อนั เปน็ เรอ่ื งของการดกู ายดใู จ ด้วยสติ การเก็บอารมณ์คือการท�ำอย่างไร “เก็บอารมณ์” เป็นภาษาปฏบิ ตั ิแบบเคลือ่ นไหว เมือ่ เอ่ยถงึ คำ� น ี้ นกั ปฏบิ ตั แิ บบเคลอื่ นไหวจะเขา้ ใจความหมายทแี่ ทท้ นั ท ี ตาม ภาษากรรมฐานทวั่ ไป หมายถึง การเข้าห้องกรรมฐานนนั่ เอง แต่ การเก็บอารมณ์มีความลึกซ้ึง จะจริงจังในภาคปฏิบัติมาก ถ้าเป็น นกั วทิ ยาศาสตรก์ ค็ อื การเขา้ หอ้ งแลบ็ นนั่ เอง ผทู้ จี่ ะเขา้ เกบ็ อารมณ ์ ต้องมีความเข้าใจเร่ืองรูปนามพอสมควร อาจจะยังไม่รู้รูปนาม ทเ่ี ปน็ จรงิ แตร่ จู้ กั ลกั ษณะโดยทว่ั ไปของรปู นาม และรวู้ า่ ความรสู้ กึ แบบไหนเปน็ สต ิ แบบไหนเปน็ ความคดิ ตอ้ งรกู้ อ่ นวา่ ส�ำหรบั ผทู้ ย่ี งั ไม่เคยเก็บอารมณ์มาก่อนเลย ต้องมีครูอาจารย์ หรือกัลยาณมิตร ผชู้ ำ� นาญในการแกอ้ ารมณค์ อยดแู ลดว้ ย ระเบยี บการเขา้ เกบ็ อารมณ์ กไ็ มม่ อี ะไรยงุ่ ยาก เพยี งแตแ่ จง้ ใหพ้ เี่ ลย้ี งทราบ เพอ่ื เราจะไดป้ รกึ ษา ทา่ น เมื่อเราพร้อมแล้ว ก็เข้าอยู่ในห้องเป็นเอกเทศส่วนตัว งดกิจกรรมต่างๆ ท่ีเคยท�ำมาท้ังหมด เหลือส่วนท่ีจ�ำเป็น คือ มา รับอาหาร เข้าห้องน�้ำห้องส้วม แม้แต่การออกมาจากกุฏิ ก็เลือก ออกคราวที่จ�ำเป็นจริงๆ ในที่บางแห่งมีกุฏิท่ีอ�ำนวยความสะดวก ทุกอย่าง ก็ไม่ต้องออกมาเลย แม้แต่อาหาร ถ้าตกลงกับเพื่อนท่ี อยู่ในส�ำนักเดียวกันได้ เขาก็ยินดีน�ำมาให้
28 ส ต ิ เ ค ล็ ด ลั บ ม อ ง ด้ า น ใ น ท�ำอะไรบ้างขณะเก็บอารมณ์ ผู้ปฏิบัติต้องตั้งใจอย่างเด็ดเด่ียวว่า ตนเองจะท�ำอย่าง ต่อเน่ืองและจริงจัง เช่นเดียวกับพระพุทธองค์ที่ทรงอธิษฐานก่อน ตรัสรู้ว่า “แม้เลือดเนื้อ เหง่ือ เอ็น จะเหือดแห้งไปก็ตามที แม้กระดูก ผม ขน เล็บ จะผุพังไปก็ตามที ถ้าไม่ได้บรรล ุ พระโพธญิ าณ จะไมล่ กุ จากทปี่ ระทบั ” ซง่ึ เปน็ อภสิ วาจาทเ่ี ดด็ เดย่ี ว กล้าหาญ พระองค์ต้องทรงแน่พระทัย เพราะการเห็นแจ้งใน อุบายวิธีท่ีจะให้ตรัสรู้พระโพธิญาณได้ ต้องไม่เป็นการท�ำอย่าง งมงาย หรือเช่ือในอ�ำนาจบุญวาสนาของพระองค์ ในต�ำราคัมภีร์ มักอ้างถึงบุญญาภินิหารของพระองค์มากมาย ความจริงเป็น อยา่ งไร ไมม่ ใี ครทราบไดแ้ นน่ อน นอกจากพระพทุ ธองคเ์ องเทา่ นน้ั การเข้าเก็บอารมณ์ ก็คล้ายๆ กับเป็นการอธิษฐานความ ต้ังใจของผู้ปฏิบัติ แต่อาจจะไม่ถึงกับเอาชีวิตเป็นประกันเช่น พระพทุ ธเจา้ แตผ่ ทู้ สี่ ามารถอธษิ ฐานเชน่ นน้ั ได ้ และทำ� อยา่ งถกู ตอ้ ง กส็ ามารถรธู้ รรมะไดท้ กุ คน สว่ นจะรมู้ ากหรอื นอ้ ย ดบั ทกุ ขไ์ ดส้ น้ิ เชงิ หรอื ไมก่ ต็ าม อยา่ งนอ้ ยกไ็ มม่ คี วามสงสยั เกยี่ วกบั เรอ่ื งราวของชวี ติ อีกตอ่ ไป วธิ กี ารเกบ็ อารมณอ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง ถา้ ผปู้ ฏบิ ตั เิ ขา้ ใจรปู นามแลว้ เพราะนิวรณธรรมหยาบๆ ไม่รบกวนอีกแล้ว การท�ำความเพียรก็ ทำ� ตามรปู แบบตลอดเวลา คอื เดนิ จงกรม สรา้ งจงั หวะ ไมอ่ ยนู่ ง่ิ เฉย ใหเ้ คลอ่ื นไหวตลอดเวลา เอาสตมิ ากำ� หนดอยทู่ ร่ี ปู นาม ทำ� อยา่ งน้ ี ทง้ั วนั เรมิ่ ตง้ั แตเ่ วลาต ี ๓ หรอื ต ี ๔ เปน็ ตน้ ไป จนไปพกั ประมาณ ๓-๔ ทมุ่ สว่ นจะทำ� ไดต้ อ่ เนอื่ งมากนอ้ ยแคไ่ หน ขน้ึ อยกู่ บั ความวริ ยิ - อตุ สาหะของผปู้ ฏบิ ตั ิ เมอื่ อปุ สรรค คอื นวิ รณ ์ (เสนามาร) มารบกวน
29 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภิ ก ขุ นักปฏิบัติต้องใช้สติปัญญาทั้งหมดท่ีมีอยู่แก้ไขให้หลุดรอดไปให้ได ้ ก็คือการใช้คุณธรรมในบารมีทั้ง ๑๐ ที่พระพุทธเจ้าเคยบ�ำเพ็ญ เข้ามาช่วย ดังนั้นการเก็บอารมณ์ก็คือ การบ�ำเพ็ญบารมีธรรม อย่างอกุ ฤษฏเ์ ขม้ ขน้ ในระยะ ๓ วนั แรก เราจะตอ่ สกู้ บั นวิ รณช์ นดิ ตา่ งๆ ทโี่ จมต ี เข้ามาอย่างหนักหน่วงรุนแรงเป็นช่วงๆ แต่ส�ำหรับบางคนก็ผ่าน นิวรณธรรมได้อย่างง่ายดาย เม่ือพ้น ๓ วันแรก การเก็บอารมณ์ ก็ง่ายข้ึน เพราะสติสัมปชัญญะเริ่มมีก�ำลัง จิตใจเริ่มแช่มชื่นและ เบาโปร่ง บางรายก็เกิดปีติ เกิดความสงบสุขอย่างไม่เคยปรากฏ มาก่อน องค์ธรรมในสัมโพชฌงค์ก็เกิดข้ึนตามล�ำดับ บางกลุ่ม ก็ผ่านไปอย่างรวดเร็ว เพราะการรู้ภาวะท่ีเกิดขึ้นแต่ละคนช้า-เร็ว ไม่เหมือนกัน แล้วแต่สติ สมาธิ ปัญญาของใครจะพร้อมก่อน ท่ี กลา่ วล�ำดับกเ็ พ่อื ถือเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ การเห็นขันธ์ห้า และสมมุติ การปฏิบัติแบบเคลื่อนไหว ถ้ามีโอกาสเก็บอารมณ์ มีผล ให้การปฏิบัติก้าวไปสู่อารมณ์สูงได้เร็ว เพราะเรามีโอกาสเฝ้าดูจิต อย่างใกลช้ ิด แนบแน่น และยาวนาน ถ้าเก็บอารมณอ์ ย่างถูกตอ้ ง จะท�ำให้เห็นขันธ์ห้าอย่างชัดเจน ท�ำให้ผู้ปฏิบัติเห็นกระบวนการ ทำ� งานของความคดิ เหน็ รปู ขนั ธ ์ ไมเ่ ปน็ ทกุ ขเ์ พราะรปู เหน็ เวทนา ไม่เป็นทุกข์เพราะเวทนา เห็นสัญญา ไม่เป็นทุกข์เพราะสัญญา เห็นสังขาร ไม่เป็นทุกข์เพราะสังขาร เห็นวิญญาณ ไม่เป็นทุกข์ เพราะวญิ ญาณ สตสิ มั ปชญั ญะเขา้ ไปดแู ลขนั ธ ์ ๕ เขา้ ไปชำ� ระขนั ธ ์ ๕
30 ส ติ เ ค ล็ ด ลั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น ใหบ้ ริสุทธิ์ผุดผอ่ ง เมอ่ื รู้จักความคิดวา่ มันเกิดเพราะขนั ธ์หา้ น่ันเอง ทำ� ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั เิ รมิ่ ถอนอปุ าทานออกจากความคดิ ได ้ เมอื่ รจู้ กั อปุ าทาน กร็ จู้ กั เหตเุ กดิ อปุ าทาน การดบั อปุ าทาน รวู้ ถิ ที างทำ� ใหอ้ ปุ าทานสน้ิ ไป วธิ กี ารปฏบิ ตั แิ บบเคลอ่ื นไหว เปน็ วธิ กี ารถอนอปุ าทานออก จากความคดิ ไดอ้ ยา่ งแนน่ อนทสี่ ดุ ในทส่ี ดุ กม็ ารตู้ ามความเปน็ จรงิ วา่ ขันธ์ห้าเกิดแล้ว ขาดสติเข้าไปรู้เท่าทัน จึงเกิดภพ เกิดชาติ ไป จนสุดสายของกระบวนการปฏิจจสมุปบาท วันหน่ึงๆ เราจึงเกิด วันละนับครั้งไม่ถ้วน เป็นอเนกอนันตชาติ เป็นหลายๆ อสงไขย ตอ่ วนั เดอื น ป ี นคี่ อื การเกดิ แบบชาวพทุ ธ ไมต่ อ้ งรอใหต้ ายเสยี กอ่ น คือเกิดอุปาทานในขันธ์ห้า เป็นการเกิดของสังสารวัฏ ดังนั้น เราจึงว่า “สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา” เป็นต้น คือ ว่าโดยย่อการยึดม่ันในขันธ์ห้า เป็นตัวทุกข์... รูปูปาทานักขันโธ เวทะนปู าทานกั ขนั โธ วญิ ญาณปู าทานกั ขนั โธ...ฯลฯ “การไปยดึ วา่ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เปน็ ตวั เปน็ ตนนัน่ เป็นทกุ ข์” เม่ือรู้ความจริงเป็นเช่นนี้ เราเลิกเอาจริงเอาจังกับความคิด คิด ขึ้นมาคราวใดก็ปล่อยวางๆ เร่ือยๆ ไป นึกอยู่เสมอว่า ข้าไม่เอา กะเอ็งอีกแล้ว เมื่อเห็นจริงอย่างน้ี ผู้ปฏิบัติจะเห็น “สมมุติ” ใน ทุกสิ่งทุกอย่างว่าล้วนแต่อุปโลกน์ขึ้นมาด้วยอ�ำนาจของอุปาทาน ทงั้ นนั้ แลว้ มาทกึ ทกั กนั วา่ เปน็ จรงิ (สมมตุ สิ จั จะ) แลว้ เขา้ ไปวงิ่ เปน็ บา้ กบั ความคดิ ไปวันๆ จากนน้ั ยิ่งเหน็ ความคิดกย็ ง่ิ เห็นทกุ ขเ์ รอื่ ยไป
31 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ
32 ส ต ิ เ ค ล ็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น
33 การเจริญสต ิ ท่านไม่ได้หพ้า รม ะ พค ุท ธว ย าา นมั น ทค ภิดิ ก ข ุ แต่เรามารเู้ สยี ใหม่วา่ เราก�ำลังคดิ อะไร คดิ อย่างไร คดิ ไปเพื่ออะไร ความคดิ เกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร แลว้ เรากค็ อยดมู นั ไปเรอ่ื ยๆ แตใ่ นขณะทเ่ี ฝา้ ดมู นั เราไมอ่ ยเู่ ฉยๆ เรายกมอื สรา้ งจงั หวะ หรอื เดนิ จงกรมไปมาตลอดเวลา
34 ส ติ เ ค ล ็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น ผู้เห็น “สมมุต”ิ จะเหน็ วา่ ทุกสง่ิ ทกุ อยา่ ง ลว้ นแตอ่ ปุ โลกน์ข้นึ มา ดว้ ยอ�ำนาจของ อุปาทานทั้งน้ัน
35 พ ร ะ พุ ท ธ ย า นั น ท ภิ ก ขุ รู้จักสมมตุ ิในแบบเคลื่อนไหว การรู้จักสมมุติในวิธีการแบบหลวงพ่อเทียน เป็นส่ิงท่ีม ี ความหมายต่อการเปล่ียนแปลงทางจิตใจอย่างกว้างขวางลึกซึ้ง เรียกว่าท�ำให้ผู้รู้สมมุติจริง เห็นสมมุติจริง มีการเปลี่ยนทัศนคต ิ จากโลกและสังคมชนิดกลับหัวเรือ ทัศนะต่อศาสนาท่ีเคยเชื่อ พิธีรีตองที่เคยท�ำ สิ่งศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายท่ีเคยนับถือ จะมีเหตุผล และความจรงิ ทางปรมตั ถเ์ ขา้ มาตรวจสอบอยา่ งผตู้ น่ื แลว้ ถา้ วา่ กนั ตามองคธ์ รรมทางปรยิ ตั ิ กเ็ รยี กวา่ เปน็ ผถู้ อนเสยี ไดซ้ ง่ึ สกั กายทฏิ ฐิ วจิ กิ จิ ฉา และสลี พั พตปรามาส เพราะถอนอปุ าทานจากจติ ไดอ้ ยา่ ง ไม่สงสยั ตามแบบการเคลื่อนไหว เรียกวา่ จติ เปล่ยี นครงั้ ที่สอง ครงั้ ทห่ี นงึ่ จติ เปลย่ี นตอนรรู้ ปู นาม ยงั ไมร่ อู้ ะไรมากไปกวา่ เรื่องกาย-ใจ ไม่สงสัยส่ิงท่ีเกิดขึ้นในกายในใจเท่าน้ัน และท�ำให้ ก�ำหนดรู้ปัจจุบันธรรมได้อย่างชัดเจน จิตเปล่ียนคร้ังที่สองน้ี ถ้า เปรยี บกบั วปิ สั สนาญาณทางปรยิ ตั ิ กไ็ ดแ้ กจ่ ติ ของผปู้ ฏบิ ตั ทิ ผี่ า่ นมา ถึงสงั ขารุเปกขาญาณและยถาภูตญาณ เมอ่ื มาถงึ จดุ น ี้ ผปู้ ฏบิ ตั กิ ท็ ำ� ความเพยี รตามปกต ิ การสรา้ ง จังหวะ เดินจงกรมก็ท�ำอย่างต่อเน่ือง ค�ำกล่าวท้ังหมดจะรู้ด้วย การนึกเดาเอาเองไม่ได้เลย จะรู้ข้ึนในขณะก�ำหนดรู้อยู่กับกาย-ใจ หรือก�ำหนดรูปนามอยู่อย่างไม่ขาดสาย ซ่ึงมีหลักยืนยันไว้ใน พระไตรปิฎกว่า ผู้ใดเจริญสติปัฏฐาน ๔ อย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่ ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างถูกต้อง อย่างไวท่ีสุด ๗ วัน ถึง ๑๕ วัน อย่างกลาง ๑ เดือน ถึง ๗ เดือน อย่างช้าที่สุด ๑ ป ี ถึง ๗ ปี มีอานิสงส์สองประการคือ เป็นพระอรหันต์ในปัจจุบัน ชาตนิ ้ี ถา้ ปญั ญาบารมยี งั ไมถ่ งึ ทส่ี ดุ อยา่ งต่�ำตอ้ งเปน็ พระอนาคามี
36 ส ติ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น ในปัจจุบันชาตินี้แน่นอนที่สุด อันน้ีเป็นหลักประกันของผู้เจริญ สตปิ ฏั ฐาน ๔ อยา่ งถกู ต้อง ปรากฏตามต�ำรา แตห่ ลกั สตปิ ฏั ฐาน ๔ แบบเคลอ่ื นไหว เจา้ ของสตู รผคู้ น้ พบ ไดย้ นื ยนั เอาไวต้ รงกบั ตำ� ราพระไตรปฎิ ก แตท่ า่ นกำ� หนดอยา่ งสงู สดุ ใช้เวลาเพียง ๓ ปี ต�่ำสุดจาก ๑ วัน ถึง ๙๐ วัน ได้อานิสงส์ ๒ ประการเชน่ กนั หลวงพอ่ เทยี นเอาชวี ติ เปน็ เดมิ พนั เอาหวั ประกนั เลยทเี ดยี ว สำ� หรบั ผบู้ รรยายเองไดป้ ฏบิ ตั ติ ามหลกั ของทา่ น ใชเ้ วลา ปฏิบัติอย่างจริงจังเพียง ๓ เดือนกับ ๑๑ วัน หรือ ๑๐๑ วัน กห็ ายสงสยั เรอ่ื งของชวี ติ จติ ใจ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๙ เปน็ ตน้ มา แต่ความจริงมารู้จักหลวงพ่อเทียนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ตอนน้ันยังไม่ศรัทธาท่านอย่างเต็มท่ี เพราะท่านเป็นพระหลวงตา ธรรมดา ไม่รู้จักปริยัติ เขียนหนังสือไทยไม่ได้ พูดภาษาไทย ไม่ชัด สื่อความหมายภาษาไทยไม่น่าดึงดูดใจ และท่านเฉยเมย อยา่ งเดด็ ขาดนา่ กลวั จงึ ยงั ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามทา่ น แตก่ ท็ ำ� บา้ ง ไมจ่ รงิ จงั อะไร ตอ่ มาเมอ่ื มาถงึ ป ี พ.ศ. ๒๕๒๙ จงึ ตดั สนิ ใจเขา้ จำ� พรรษาและ เก็บอารมณ์กับท่านอย่างเต็มอกเต็มใจ แล้วก็หมดปัญหาชีวิตมา ต้ังแต่บัดนั้นจนถึงปัจจุบัน ความจริงกว่าตนเองจะมารู้จริง ไม่ใช่ เวลาเพยี ง ๑๐๑ วัน แตเ่ ป็นเวลาเกือบ ๘ ปี
37 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ พึงระวังวิปัสสนู เม่ือรู้ สมมุติใหมๆ่ เม่ือรู้จักสมมุติแล้ว มันเกิดความรู้แปลกๆ ชนิดท่ีไม่เคยรู้ มากอ่ น จะเรยี กวา่ เกดิ ธรรมจกั ษกุ ค็ งไมผ่ ดิ เพราะรอู้ อกไปในเรอ่ื ง สมมตุ ทิ ง้ั หลายทง้ั ปวง คดิ ออกไปทางไหนกไ็ ด ้ ไมข่ ดั ขอ้ ง มคี วาม ม่ันใจในส่ิงที่รู้ท่ีเห็นอย่างประหลาด สามารถท่ีจะพูดหรือเทศน์ให้ ใครฟงั กไ็ ดท้ ง้ั นน้ั ไมเ่ กรงกลวั ครนั่ ครา้ ม แมแ้ ตค่ รอู าจารยท์ เ่ี คยเคารพ นบั ถอื กส็ ามารถจะถกเถยี งโตต้ อบเรอ่ื งธรรมะและมกั เตลดิ ไปถงึ วา่ ไมม่ ใี ครรมู้ ากเทา่ เราในขณะนนั้ แมแ้ ตส่ งั ฆราชกจ็ ะสอนได ้ มองเหน็ คนอน่ื ผดิ พลาดไปหมด ไมเ่ หน็ ใครทจี่ ะดไี ปกวา่ ตนเอง ความเปน็ ไป แบบน้ี เรียกว่า “ติดอารมณ์วิปัสสนู” ซึ่งมักจะเกิดกับบางคน ทีป่ ฏิบัตเิ กินพอด ี ไม่ค่อยอยใู่ กล้พระพเี่ ล้ยี งหรือครบู าอาจารย์ วิธีการน้ี สามารถท�ำให้เกิดวิปัสสนูได้ไวกว่าวิธีอื่น เพราะ ผู้ปฏิบัติเร่งตัวเองให้อยากรู้อยากเห็น เพราะมีศรัทธาแก่กล้าต่อ การปฏบิ ตั มิ ากเกนิ อกี ประการหนง่ึ การปฏบิ ตั แิ บบนมี้ งุ่ เนน้ ความ ตอ่ เนอื่ งเปน็ หลกั แตบ่ างคนตอ่ เนอ่ื งจนไมย่ อมหลบั นอน โดยเฉพาะ ตอนไดอ้ ารมณ ์ จะรสู้ กึ สนกุ กบั การปฏบิ ตั ิ ไมเ่ บอื่ หนา่ ย ห-ู ตาสวา่ ง อยากท�ำอยู่เสมอๆ หมายถึงตอนนี้ถ้าอาจารย์คอยสังเกตเห็น ความผดิ ปกตดิ สู หี นา้ ทา่ ทางเครง่ เครยี ด จรงิ จงั ทา่ นจะตอ้ งใหเ้ พลา การปฏิบัติลง ผ่อนความเพียรให้น้อยลง แต่ถ้าผู้ปฏิบัติไม่เช่ือฟัง ขืนท�ำมากข้ึนเร่ือยๆ จะเกิดอาการผิดปกติข้ึนจริงๆ อันน้ีแหละ เรียกว่า อาการของวิปัสสนูเข้าแทรก บางคนมีพื้นจิตที่เคยเป็น โรคจติ ประสาทมากอ่ น อาการวปิ สั สนกู จ็ ะก�ำเรบิ ไวขน้ึ หรอื บางคน มอี าการทางจติ ประสาทสบื มาแตก่ รรมพนั ธ ์ุ หรอื บรรพบรุ ษุ เคยเปน็ อาการของวปิ สั สนูและจนิ ตญาณก็เข้าแทรกไดง้ า่ ยเชน่ กัน
38 ส ต ิ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น ดังน้ันอาจารย์ผู้ดูแลการปฏิบัติ ต้องเป็นผู้ช�ำนาญในการ แกอ้ ารมณ ์ มจี ติ ทม่ี เี มตตาตอ่ นกั ปฏบิ ตั สิ งู มญี าณปญั ญารเู้ ทา่ ทนั อาการเปลย่ี นแปลงทางจติ ใจของนกั ปฏบิ ตั แิ ละรบี แกไ้ ขใหท้ นั การณ์ มิฉะน้ันจะท�ำให้นักปฏิบัติคนอ่ืนๆ เกิดความหวาดกลัว ท้อถอย เพราะเกรงว่าอาการเช่นนั้นจะเกิดกับตนเอง การเป็นอาจารย์ กรรมฐานจงึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ กนั งา่ ยๆ ตอ้ งชำ� นาญในอารมณจ์ รงิ ๆ เพราะ การแก้เม่ือเกิดแล้วจะล�ำบาก ควรดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและ ศึกษาพื้นฐานอารมณ์ของนักปฏิบัติให้ชัดเจน ซ่ึงอันนี้เป็นเทคนิค ของแต่ละอาจารย์ ช�ำนาญไม่เหมอื นกัน วิปัสสนู คืออาการอย่างไร คำ� เตม็ มาจากคำ� วา่ “วปิ สั สนปู กเิ ลส” คอื ธรรมเปน็ เครอ่ื ง เศร้าหมองของวิปัสสนา หรืออุปสรรคของวิปัสสนาก็เรียก พระ เกจิอาจารย์ทางวิปัสสนาก�ำหนดไว้ ๑๐ ประการ ในท่ีน้ีจะยกมา โดยย่อๆ เพ่ือผู้เริ่มต้นปฏิบัติจะได้ศึกษาไว้เพ่ือป้องกันตนเอง ไมใ่ หเ้ ป็น หรอื ผา่ นมนั ไปอยา่ งรวดเร็ว เพราะมนั จะท�ำให้เสียเวลา ในการเขา้ สตู่ วั มรรค-ผล เรยี กวา่ ธรรมเปน็ เครอื่ งเนนิ่ ชา้ ของวปิ สั สนา บางทา่ นตดิ วปิ สั สนอู ยนู่ านหลายป ี เพราะไมร่ วู้ า่ ตนเองเปน็ วปิ สั สนู และนกั ปฏบิ ตั เิ หลา่ น ้ี ไมค่ อ่ ยเหน็ ความส�ำคญั ของครบู าอาจารยห์ รอื กัลยาณมิตร ติดๆ ไปทางจะต้ังตนเป็นครูอาจารย์เสียเอง เพราะ อำ� นาจแหง่ ตณั หามานะทฏิ ฐขิ องตนนน่ั เอง ในวธิ กี ารของหลวงพอ่ เทยี นทา่ นจะใชค้ ำ� เหลา่ นร้ี ว่ มกบั คำ� อนื่ ๆ อกี ๒ คำ� คอื จนิ ตญาณ วปิ ลาส และวิปัสสนู
39 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า นั น ท ภ ิ ก ขุ ผู้เป็นวิปัสสนูอ่อนๆ ท่านมักจะใช้ค�ำว่าเป็นจินตญาณ เป็น ศัพท์ท่ีท่านคิดข้ึนเอง หมายถึงอาการที่ผู้ปฏิบัติกรรมฐานติดใน ความคิด ออกจากความคิดไม่ได้ มีอาการเหมือนคนจิตผิดปกติ เป็นอาการคล้ายคนขาดสติ หรือสติเล่ือนลอย ควบคุมตนเอง ไมค่ อ่ ยได ้ มอี ารมณไ์ มแ่ นน่ อน คมุ้ ดคี มุ้ รา้ ย บางครง้ั มอี าการคลา้ ย ประสาทหลอน พูดคนเดียว เทศน์คนเดียว อาการเหล่าน้ีเรียกว่า จนิ ตญาณ อาจไมใ่ ชอ่ าการของวปิ สั สนโู ดยตรง ครบู าอาจารยผ์ ดู้ แู ล การปฏิบัติของคนๆ นั้น ต้องรีบแก้ไขให้ทันการณ์ มิฉะนั้นอาจ เป็นไปมากได้ ในสมยั แรกๆ สอนทส่ี �ำนกั วดั ปา่ พทุ ธยาน เมอื งเลย ตามท่ ี ผู้บรรยายได้รับการบอกเล่าจากครูอาจารย์รุ่นแรกๆ สมัยน้ันมี คนเป็นวิปัสสนูกันมาก และเป็นอย่างรุนแรงและฉับพลันด้วย ตอ่ มาสมยั หลงั ๆ นไ้ี มค่ อ่ ยเปน็ จนิ ตญาณวปิ ลาสกนั มากนกั เพราะ มกี ารไดย้ นิ ไดฟ้ งั มาก อกี อยา่ งในสมยั แรกๆ การพดู การสอนมนี อ้ ย หลวงพอ่ ไมค่ อ่ ยใชค้ ำ� บรรยาย มแี ตบ่ อกสนั้ ๆ ใหไ้ ปทำ� เอาเอง การ สอบอารมณ์ก็ไม่ละเอียดเหมือนทุกวันน้ี การบรรยายธรรมก็เพิ่ง มมี าในสมยั หลัง เพราะหลวงพ่อท่านไมช่ ำ� นาญในการใช้ภาษา เมื่อสอนแรกๆ ท่านจะพูดแต่ภาษาเมืองเลย ภาษากลาง เพิ่งมาฝึกใช้เมื่อมาอยู่วัดชลประทานรังสฤษดิ์ วัดสวนแก้ว และ วดั สนามในตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๘ เปน็ ตน้ มา นค่ี อื ความเปน็ มาของ การใช้ภาษา จินตญาณ วิปัสสนู วิปลาสของหลวงพ่อเทียน ซ่ึง ในเวลาต่อมาท่านก็ใช้ภาษากลางได้เป็นอย่างดี ทั้งฟังง่ายและ ชดั เจนไม่ฟุ่มเฟือย
40 ส ต ิ เ ค ล ็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น
41 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ วิปัสสนูตามต�ำรา ท่ีแล้วมา ครูบาอาจารย์ท่านสังเกตเห็นผู้ปฏิบัติมีอาการ ผดิ ปกต ิ นอกลนู่ อกทาง กม็ กั จะเหมาไวก้ อ่ นวา่ วปิ สั สนเู ขา้ แตก่ ย็ งั ไม่ค่อยจ�ำแนกแจกแจงกันอย่างละเอียดว่า วิปัสสนูปกิเลสคืออะไร บา้ ง อาการอยา่ งนตี้ ดิ วปิ สั สนตู วั ไหน แลว้ จะแกอ้ ยา่ งไร วปิ สั สนปู - กิเลสท้ังหมดมีถึง ๑๐ ลักษณะอาการด้วยกัน แต่ดูจะเป็นเรื่อง เลก็ นอ้ ย ไมค่ วรแกก่ ารสนใจ ดงั นน้ั เพอื่ ความไมป่ ระมาท ผบู้ รรยาย จะน�ำมาประมวลไว้ให้เป็นที่ศึกษากัน ส�ำหรับผู้ท่ีจะเป็นครูบา- อาจารยต์ อ่ ไปจะไดร้ ะวงั และแกไ้ ขไดท้ นั การณ ์ ทงั้ หมดม ี ๑๐ อยา่ ง คือ ๑. โอภาส ๒. ญาณ ๓. ปีติ ๔. ปัสสัทธิ ๕. สุข ๖. อธิโมกข ์ ๗. ปคั คาหะ ๘. อปุ ฏั ฐานะ ๙. อเุ บกขา ๑๐. นกิ นั ต ิ ในแตล่ ะอยา่ ง มอี าการท่เี ป็นดงั น้ี ๑. โอภาส คอื แสงสวา่ ง ขณะทผี่ ปู้ ฏบิ ตั ติ งั้ สตกิ ำ� หนดรปู นาม อยา่ งใจจดใจจอ่ หลายวนั ตอ่ หลายวนั เขา้ กเ็ กดิ อาการสวา่ งโพลงขนึ้ มา อยา่ งสวา่ งไสว สวา่ งทง้ั ภายนอกภายใน ถา้ เปน็ กลางคนื กท็ �ำใหเ้ รา ส�ำคัญตัวไปว่าเราเกิดคุณวิเศษมีแสงสว่างในตัวเอง บางคนสว่าง มาก บางคนสว่างน้อย บางคนเป็นนาน บางคนเป็นเด๋ียวเดียวก็ หาย วธิ แี ก ้ ไมต่ อ้ งไปสนใจกบั แสงสวา่ งนน้ั กลบั มาอยกู่ บั ปจั จบุ นั ๒. ญาณ คอื ความร ู้ (จนิ ตญาณ ในภาษาหลวงพอ่ เทยี น) คือขณะก�ำหนดรู้รูปนามอย่างต่อเน่ืองน้ันเอง มันรู้สึกเกิดความรู ้ แปลกๆ คดิ อะไรกไ็ มต่ ดิ ขดั คลอ่ งแคลว่ การก�ำหนดรปู นามกไ็ มฝ่ ดื ไมฝ่ นื อกี ตอ่ ไป มกี ำ� ลงั ใจปฏบิ ตั ติ ลอดทงั้ วนั ทงั้ คนื เกดิ มสี ตปิ ญั ญา มากมาย อยากเทศนอ์ ยากสอนผอู้ นื่ เปน็ กำ� ลงั นกึ ถงึ พอ่ -แม ่ พน่ี อ้ ง นกึ ถงึ ไปหมด อยากใหม้ าปฏบิ ตั ธิ รรมะวธิ นี ้ี พาลเหน็ คนอนื่ ไมเ่ ขา้ ทา่
42 ส ติ เ ค ล็ ด ลั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น สวู้ ธิ ีน้ีไม่ได้ ท่เี ป็นหนักกว่าน้ัน กค็ ิดวา่ ตนเองสำ� เร็จกิจแล้ว บรรลุ มรรคผลนิพพานแล้ว จึงท้ิงความเพียร บางรายก็เกิดปีติอย่าง ไมเ่ คยเปน็ มากอ่ น การแก ้ ใหส้ ลดั ความรตู้ า่ งๆ ออก ทำ� ใจเหมอื น ไมร่ ู้อะไรเลย จติ จะปลอ่ ยวางเอง ๓. ปตี ิ คอื ความเคลบิ เคลม้ิ เมอื่ เจรญิ สตอิ ยนู่ านหลายวนั เขา้ อยา่ งนอ้ ยสามวนั ผา่ นไปแลว้ กเ็ กดิ อาการซาบซา่ นขนลกุ ขนชนั บางคนเปน็ แนน่ หนา้ อก มอี าการคลา้ ยจะลอยได ้ ผบู้ รรยายเคยเปน็ บางรายเปน็ แลว้ รอ้ งไหเ้ พราะนกึ ถงึ บญุ คณุ พอ่ แม ่ บางรายเปน็ แลว้ นอนไมห่ ลบั ห ู ตา สวา่ งไสว อนิ ทรยี ท์ กุ สว่ นของรา่ งกายดเู หมอื น มนั ตน่ื ไมม่ คี วามเหนด็ เหนอ่ื ยเมอ่ื ยลา้ เหลอื อยเู่ ลย บางรายไปเหน็ รูปร่างกายของตนเองแสดงรูปออกมาถึงอาการต่างๆ เราก็นึกว่า ถอดรา่ งได้ กท็ ำ� ให้สำ� คัญผดิ ได้ ๔. ปัสสัทธิ คือ ความสงบเย็นอย่างไม่เคยประสบมาก่อน แล้วท�ำให้นักปฏิบัติหลงใหลว่าเป็นผลอันสูงสุดของการเจริญสต ิ เกิดความกระหยิ่มภาคภูมิใจในการปฏิบัติของตน จึงลืมคิดไปว่า มนั เปน็ เพยี งปรากฏการณต์ ามธรรมชาตขิ องวปิ สั สนา เปน็ อานสิ งส ์ เล็กๆ น้อยๆ ที่เป็นรางวัล ถ้าไม่รู้เท่าทันอาการอันน้ีก็จะหลงใหล อยนู่ าน เปน็ เหตใุ หต้ ดิ อารมณอ์ ยนู่ าน หากผเู้ จรญิ สตเิ ทา่ ทนั อาการน้ี แลว้ สลดั ทงิ้ ไป แลว้ กลบั มาอยกู่ บั ความรสู้ กึ ตวั ใหม ่ อาการดงั กลา่ ว กห็ ายไปเอง ให้เฝ้าดูและศกึ ษาอาการท่ีมนั เปน็ ๕. สุข อันเป็นวิปัสสนูอีกตัวหนึ่ง ท่ีจะท�ำให้วิปัสสนาเศร้า หมองได้ เพราะมีความพอใจในสุขนั้น มันเป็นความสุขที่ไม่ใช ่ สามัญชนจะสัมผัสได้ เป็นความสุขที่เกิดจากวิปัสสนาโดยเฉพาะ เรยี กวา่ เปน็ ความสขุ ของพระพรหมทเี ดยี ว เปน็ ความสขุ ทไ่ี มเ่ จอื ดว้ ย อามิสหรือวัตถุกามใดๆ เลย ผู้ไม่เคยประสบมาก่อนก็ต้องติดใจ
43 พ ร ะ พ ุ ท ธ ย า น ั น ท ภิ ก ขุ หลงใหลเปน็ ธรรมดา เมอ่ื กำ� หนดรมู้ นั แลว้ กป็ ลอ่ ยการยดึ สขุ นน้ั ๆ ผา่ นไป อาการสตกิ ำ� หนดรรู้ ปู นามกก็ ลับมารู้ปจั จบุ นั ใหม่ ๖. อธิโมกข์ คือ เกิดศรัทธาแก่กล้า เป็นศรัทธาท่ีรุนแรง เมอ่ื ผเู้ จรญิ สตไิ ประยะหนง่ึ จนไดส้ มั ผสั ความสงบในวปิ สั สนา แลว้ ท�ำให้คิดถึงผู้อ่ืนท่ียังไม่ได้มาปฏิบัติ อยากให้มาปฏิบัติ คิดถึง ผมู้ พี ระคณุ ทง้ั หลายทล่ี ม้ หายตายจากไป วา่ ไมไ่ ดส้ มั ผสั มรรคผลแลว้ รบี ตาย คดิ ถงึ อปุ ชั ฌายอ์ าจารยท์ ไ่ี มไ่ ดม้ าปฏบิ ตั ิ เผลอคดิ เตลดิ ไป ถงึ เรอื่ งสรา้ งสำ� นกั กรรมฐานวา่ ทเี่ หมาะๆ สกั แหง่ แลว้ รวบรวมคน ทงั้ หลายมาเจรญิ สตอิ ยา่ งถว้ นหนา้ แมพ้ ระสงั ฆราชกจ็ ะไปนมิ นตม์ า สรา้ งวมิ านอาจารยก์ รรมฐานขนึ้ มาอยา่ งงดงาม สรา้ งสำ� นกั ออกแบบ ตวั เองอยา่ งวเิ ศษ อนั นแ้ี หละเรยี กวา่ โนม้ ใจเชอื่ ในผลทปี่ รากฏแลว้ เกดิ วิปัสสนูครอบอกี ชั้นหน่ึง ๗. ปคั คาหะ คอื มคี วามเพยี รอยา่ งแรงกลา้ ขณะเจรญิ สต ิ อยู่อย่างไม่แน่ใจว่าไปรอดหรือไม่รอด ยังคิดหน้าคิดหลังอยู่น้ัน บังเอิญเกิดได้อารมณ์อย่างเหมาะเจาะ เร่งความเพียรอย่างไม่รู้ เหน็ดเหน่ือย ไม่รู้ว่าก�ำลังใจมาจากไหน จากความลังเลไม่แน่ใจ เปน็ ความปกั ใจมน่ั เกดิ ความขยนั ขนั แขง็ เปน็ พเิ ศษ ไมอ่ ยากหลบั อยากนอน สามารถทำ� ความเพยี รไดท้ งั้ วนั ทง้ั คนื ลกั ษณะความเพยี ร ทเ่ี กดิ เปน็ มากมายเชน่ น ้ี กท็ �ำใหว้ ปิ สั สนาเศรา้ หมองได ้ ถา้ ก�ำหนด รเู้ หน็ ความผดิ ปกตอิ นั นแ้ี ลว้ คอ่ ยประคบั ประคองใหอ้ อ่ นเบาลง แต ่ ไม่ถึงกับทิ้งความเพียรเลยทีเดียว ก็สามารถผ่านอารมณ์วิปัสสนู ตัวนี้ไปได้งา่ ยๆ ๘. อปุ ฏั ฐาน ไดแ้ ก ่ สตทิ ม่ี สี ภาพทดี่ กี วา่ ปกต ิ ซงึ่ กอ่ นหนา้ นน้ั กำ� หนดไมค่ อ่ ยได ้ สตใิ นอารมณก์ รรมฐานส ี่ กวา่ จะไดแ้ ตล่ ะอยา่ ง ยากเย็นแสนเข็ญ แต่ตกมาช่วงหนึ่งสามารถก�ำหนดรู้ได้ว่องไว
44 ส ติ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น รู้เท่ารู้ทันอาการของกายของใจอย่างไม่ติดขัด รู้ตัวท่ัวพร้อมอย่าง ละเอียดลออ อิริยาบถย่อยและหยาบสามารถรู้ได้อย่างไม่มีอะไร ขัดข้อง จนส�ำคัญตัวเองไปว่า ถือว่าเราได้ส�ำเร็จแล้วหนอ อันน้ี ก็คือลักษณะหนึ่งของวิปัสสนู นักปฏิบัติรู้เท่าทันอาการที่ปรากฏ แลว้ ไมห่ ลงไปตามอาการเช่นนน้ั คอยเฝ้าดูอาการต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น อยา่ งศึกษาและสังเกต จนกวา่ จะแน่ใจ ๙. อุเบกขา อาการที่จิตวางเฉยอย่างประหลาด หลังจาก เจริญสติไประยะหน่ึง เกิดความม่ันคงทางอารมณ์ ไม่หวั่นไหว ไมว่ า่ จะไดร้ บั การกระทบกบั รปู เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั ธรรมารมณ ์ กเ็ ฉยได ้ ไมร่ สู้ กึ อะไรเลย มอี ารมณแ์ จม่ ใส เฉยเหมอื นพระพทุ ธรปู เดินได้แต่ก็ไม่ตาย ท�ำให้เจ้าตัวคิดม่ันใจว่า เอาล่ะต่อไปน้ีไม่ว่า จะเกิดอะไรข้ึน เราสู้ได้สบายมาก มีอาการอันสงบน่าเลื่อมใส ดูอาการเดินเหินก็ดูองอาจเรียบร้อย การพูดจาก็นุ่มนวลเยือกเย็น เป็นที่ดึงดูดศรัทธายิ่งนัก อันน้ีก็เป็นลักษณะหนึ่งของวิปัสสน ู ซง่ึ ถา้ แหลมคมจรงิ ๆ เทา่ นนั้ จงึ จะสงั เกตไดว้ า่ อะไรเปน็ อะไร ดงั นน้ั ตอ้ งระวงั สงั เกตตนเอง แกไ้ ขตนเองไปเรอื่ ยๆ จนตวั ตณั หา มานะ ทิฏฐิ เข้าแทรกไม่ได ้ จึงค่อยแนใ่ จว่าเปน็ อเุ บกขาตัวจริง ๑๐. นิกันติ คือ ความยินดีพอใจ ความใคร่ติดอกติดใจ ในผลท่ีกล่าวมาท้ัง ๙ ประการ ว่าเป็นคุณวิเศษท่ีตนเองสัมผัสได ้ เกิดความภาคภูมิใจ น�ำไปแสดง อวด สอน จนท�ำให้คนอื่นหลง เขา้ ใจผดิ ได ้ สว่ นใหญน่ กั ปฏบิ ตั ใิ หมๆ่ มกั เปน็ กนั มาก แลว้ ตงั้ ตวั เปน็ ครูอาจารย์ ต้ังส�ำนัก เผยแพร่วิปัสสนากันอย่างกว้างขวาง อันน ี้ กต็ อ้ งระวงั อยา่ ทำ� ไปดว้ ยอำ� นาจของวปิ สั สน ู พยายามเชอ่ื ฟงั และ แกไ้ ขตนเอง
45 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ ความจริงวิปัสสนูท้ัง ๙ ประการเป็นธรรมฝ่ายกุศล เพราะ วปิ สั สนไู มใ่ ชเ่ กดิ ไดง้ า่ ยนกั ผปู้ ฏบิ ตั ติ อ้ งมอี ารมณว์ ปิ สั สนาพอสมควร ดงั นน้ั คณุ วเิ ศษทง้ั ๙ ประการจะเกดิ จรงิ ๆ กต็ อ่ เมอื่ ไดร้ จู้ กั อารมณ ์ ของไตรลักษณ์ หรืออารมณ์สองผ่านไปแล้ว แต่อารมณ์วิปัสสนา ทงั้ หมดเกดิ เศรา้ หมองขนึ้ มา กเ็ พราะในแตล่ ะตวั นน้ั มตี ณั หา มานะ ทิฏฐิ เกิดแทรกเข้ามาในระหว่างปฏิบัติ แล้วนักปฏิบัติไม่รู้เท่าทัน จึงหลงในความรู้สึกน้ันๆ ต่อเม่ือเกิดญาณปัญญาขึ้นมารับรู้แล้ว ปล่อยวางได้ทัน ก็กลายเป็นผลของวิปัสสนา แต่ตัวท่ี ๑๐ คือ นกิ นั ตนิ นั้ เปน็ ผอู้ ยเู่ บอ้ื งหลงั ชกั ใยใหต้ ณั หา มานะ ทฏิ ฐ ิ เขา้ มา ทำ� ให้เปน็ วปิ ัสสนู นี่คือลักษณะของวิปัสสนาตัวจริง ใครเคยเป็นตัวไหนก็จะ รู้เอง ความจริงวิปัสสนูปกิเลส หลวงพ่อเทียนท่านเปรียบเหมือน นำ้� ขุ่นท่ีปนออกมากับน�ำ้ ใส เมอื่ เราขุดบอ่ น้�ำใหมๆ่ เม่อื พบน�้ำแลว้ นำ�้ ทอ่ี อกมาทแี รกจะขนุ่ ขน้ ดว้ ยตะกอน เลน ตม ทต่ี ดิ อยขู่ า้ งๆ บอ่ เราจะต้องตักน�้ำนั้นท้ิงไปๆ จนกว่าน�้ำจะใสจนกวนแล้วไม่ขุ่นอีก นนั่ แหละจงึ หยดุ ตกั ฉนั ใด การปฏบิ ตั ธิ รรมแบบเจรญิ สตกิ ท็ ำ� อยา่ งนน้ั คอื ในระยะแรกของการปฏบิ ตั ิ พยายามสลดั ความคดิ ออกไปๆ ไมว่ า่ ความคดิ นนั้ ดหี รอื ไมด่ กี ต็ าม ตดั ทง้ิ ไปกอ่ น มงุ่ หนา้ จบั ความ รสู้ กึ กบั การเคลอื่ นไหวอยา่ งเดียว แตค่ วามคดิ มนั ท�ำหนา้ ทค่ี ดิ ของ มันเรื่อยไป เราก็สลัดมันออก เหมือนเราตักนำ้� ขุ่นออก เพราะน้�ำ ท่ีออกมาคร้ังแรกจากตานำ�้ น้ันมันจะเป็นนำ�้ ใสเสมอ จิตเราเดิมแท้ ก็เช่นกัน มันเป็นจิตบริสุทธ์ิสะอาด ต่อเมื่อถูกกระทบแล้วจาก อายตนะภายนอกและภายใน จิตนั้นขาดการฝึกฝน ขาดการสดับ เป็นจิตท่ีขาดสติปัญญาเข้าไปอบรม ขาดศีล สมาธิเข้าไปรักษา จติ นน้ั จงึ ถกู อวชิ ชา ตณั หา อปุ าทาน กรรม เขา้ ปรงุ แตง่ ใหเ้ ปน็ ไปตาม
46 ส ต ิ เ ค ล ็ ด ลั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น จิตนั้นจึงขุ่นมัวด้วยอ�ำนาจของกุศลกรรมบ้าง อกุศลกรรมบ้าง ต่อเม่ือจิตนั้นเกิดญาณปัญญา เพราะถูกน�ำมาอบรม ฝึกฝนให้ บริสุทธ์ิด้วยศีล สมาธิ ปัญญา อันมีสติปัฏฐาน ๔ เป็นประธาน พรอ้ มดว้ ยองคธ์ รรมตา่ งๆ ทปี่ ระกอบกนั เขา้ จติ นนั้ กส็ ะอาดบรสิ ทุ ธิ์ เปน็ ศลี ขนั ธ ์ สมาธขิ นั ธ ์ ปญั ญาขนั ธ ์ ไมเ่ ปน็ ขนั ธ ์ ๕ ของอปุ าทาน อีกต่อไป ความเป็นปรมัตถ์ในแบบเคลื่อนไหว เม่ือสติสัมปชัญญะเกิดข้ึนเห็นจิตเห็นใจน้ัน ต้องเป็น สตสิ มั ปชญั ญะทเ่ี กดิ จากสมั มาสตหิ รอื สตปิ ฏั ฐาน ๔ เทา่ นน้ั ไมใ่ ช ่ สตสิ มั ปชญั ญะทน่ี กึ คดิ เทยี บเคยี งเอาตามอาการ แตเ่ ปน็ ตวั สตทิ ม่ี นั “เป็น” เอง หลังจากได้ปฏิบัติเจริญสติมาจน เห็น รู้ เข้าใจ สต ิ ตามความเปน็ จรงิ หรอื ประจกั ษแ์ จง้ ตวั สตดิ ว้ ยตนเอง ไมโ่ นม้ ใจ เชื่อตามต�ำราหรือครูอาจารย์พูด ลักษณะท่ีเป็นเองของสติท�ำให ้ รู้จักรูปนามจนหมดทุกแง่มุม ไม่สงสัยความเป็นไปของรูปนาม และสติลักษณะน้ี จะไม่ลืมรูปนามอย่างเด็ดขาด และจะเข้าใจ อารมณ์ท่ีอยู่ในกลุ่มของรูปนามไปตลอดสาย เรียกว่าจบอารมณ ์ รปู นามและนามรูป และเริม่ เขา้ ใจปรมัตถเ์ บ้อื งต้น การเขา้ ใจปรมตั ถเ์ บอื้ งตน้ เกดิ จากการผา่ นอารมณต์ า่ งๆ ที่ ผ่านเข้ามาในรูปและในนามอย่างช�ำนาญ ชนิดว่าจะไม่หลงใหลใน รปู และนามอยา่ งแนน่ อน ความทจ่ี ติ ไดค้ ลกุ คล ี สอดสอ่ ง พจิ ารณา เพ่งพินิจ ในรูปนามอย่างทะลุปรุโปร่งอย่างต่อเน่ืองยาวนานนี้เอง หลวงพ่อเทียนท่านเรียกว่า “ฌาน” ตามภาษาของท่าน ฌาน
47 พ ร ะ พุ ท ธ ย า น ั น ท ภ ิ ก ขุ แปลว่า คลุกคลี เข้าไปดู เข้าไปเพ่ง แนบสนิทภายในใจ เพราะ เมอื่ จติ ไปอยกู่ บั รปู นามปจั จบุ นั ตลอดเวลาแลว้ จติ กส็ นิ้ การปรงุ แตง่ เปน็ วติ กวจิ าร ปลอ่ ยวางในปตี แิ ละสขุ จติ เปน็ เอกคั คตา คอื เปน็ หนงึ่ ละสขุ และทกุ ข ์ เหลอื แตส่ ตแิ ละอเุ บกขาอยปู่ ระจำ� อารมณ ์ แตฌ่ าน เช่นน้ีแตกต่างจากรูปแบบที่เข้าใจกันทั่วไป คือเป็นฌานท่ีเข้าออก ได้ตลอดเวลา ไม่ต้องไปน่ังหลับตาหรือนั่งตัวแข็งใดๆ ทั้งส้ิน แต ่ เป็นฌานอยู่ในขณะพูด เข้าใจอารมณ์ท่ีอยู่ในกลุ่มของรูปนาม ไปตลอดสาย เรียกว่าจบ ไม่ต้องบังคับหรือระมัดระวังใดๆ แต ่ ตัวญาณน้ันมันจะบังคับตัวมันเอง มันจะรักษาตัวมันเอง อันน ี้ มันเป็นกฎของธรรมชาติมันเกิดเป็น “วสี” คือ เกิดความช�ำนาญ คล่องแคลว่ เปน็ อตั โนมัติ เมอื่ จติ ไดส้ มั ผสั คลกุ คลอี ยกู่ บั ปจั จบุ นั เชน่ นน้ี านเขา้ ๆ ปญั ญา- ญาณกเ็ กดิ (วปิ สั สนาญาณ หลวงพอ่ เทยี นไมค่ อ่ ยใชเ้ พราะไมช่ ำ� นาญ ในทางปริยัติมาก่อน) ตัวปัญญาญาณชนิดนี้เองท่ีเข้าไปสัมผัส ตัวจิตตัวใจชนิดเดิมแท้ บริสุทธ์ิ เป็นเอง ประกอบด้วยศีล สมาธิ ปัญญา ท่ีถูกสัมมาสติอบรมมาดีแล้ว ก็เริ่มเห็นแจ้งรู้จริงในธรรม ทงั้ หลายทค่ี วรรคู้ วรเหน็ คอื การเหน็ นรก สวรรค ์ บญุ บาป กศุ ล อกุศล สมถะ วิปัสสนา ตามความเป็นจริง เห็นขันธ์ ๕ เห็น อริยสัจ ๔ ปฏจิ จสมปุ บาท หรืออทิ ปั ปจั จยตา ตามความเป็นจรงิ ชนดิ ไมส่ งสยั ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าทงั้ หลายอกี ตอ่ ไป
48 ส ติ เ ค ล็ ด ล ั บ ม อ ง ด ้ า น ใ น มีอะไรในปรมัตถ์ การเห็นปรมัตถ์มี ๒ ช่วง คือ ปรมัตถ์เบื้องต้น คือ รู้จัก “วตั ถ ุ ปรมตั ถ ์ อาการ” (เปน็ ศพั ทเ์ ฉพาะทหี่ ลวงพอ่ เทยี นบญั ญตั )ิ หลังจากแจ่มแจ้งเร่ืองของสมมุติแล้ว ไม่สงสัยในเรื่องตัวตน (สกั กายทฏิ ฐ)ิ ไมส่ งสยั เรอ่ื งพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ์ ไมส่ งสยั เรอ่ื งบญุ บาป นรก สวรรค ์ ชาตนิ ้ี ชาตหิ นา้ (วจิ กิ จิ ฉา) ไมส่ งสยั เรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ความขลังคงกระพัน ไม่ติดในคุณงามความดี ในตนเอง และไมเ่ คลบิ เคลม้ิ หลงใหลในวาสนาบารม ี หรอื คณุ วเิ ศษ ของผู้อ่ืน เพราะเห็นความเป็นธรรมดา รู้เหตุรู้ผลของส่ิงเหล่าน ้ี อยา่ งมน่ั ใจ (สลี พั พตปรามาส) สำ� หรบั ผทู้ เ่ี คยตดิ สง่ิ เสพตดิ มากอ่ น ไม่ว่าชนิดหรือแบบไหนก็ตาม ต้องเลิก ละให้หมด ไม่ว่าจะเป็น หมาก บุหรี่ ยานัตถุ์ กาแฟ ฯลฯ ตลอดถึงยาบ้ายาขยันทุกชนิด ความจริงสิ่งเสพติดทั้งหลายสามารถท้ิงได้ต้ังแต่เห็นรูปเห็นนาม ครั้งแรก แต่ก็เป็นท่ีน่าแปลกใจว่า พระเกจิอาจารย์ทางวิปัสสนา บางทา่ นยงั เลกิ ละสง่ิ เสพตดิ แบบหยาบๆ ยงั ไมไ่ ด ้ แตส่ อนวปิ สั สนา จนเปน็ ระดบั อาจารย ์ อนั นมี้ นั ผดิ พลาดมาตง้ั แตต่ น้ จนจบเลยทเี ดยี ว การรปู้ รมตั ถ ์ วตั ถ ุ อาการ เปน็ การไดต้ น้ ทางของวปิ สั สนา แบบหลวงพอ่ เทยี น หรอื วา่ ตามปรยิ ตั ิ เรยี กวา่ ไดต้ น้ ทางอรยิ มรรค คร้ังแรก เป็นการจบอารมณ์สมถะและอารมณ์รูปนาม ต่อแต่น ี้ จะเปน็ ทางวปิ สั สนาโดยตรง จะไมห่ ลงเอาความสงบแบบฤๅษชี ไี พร หรอื แบบพราหมณเ์ ขา้ มาผกู มดั ตนเอง ตอ่ ไปไมห่ ลงตดิ การเสพสขุ ในสมาธแิ บบตา่ งๆ ไมห่ ลงงมงายในอำ� นาจของอทิ ธฤิ ทธป์ิ าฏหิ ารยิ ์ ในสมาธิจิตท่ีเคยมีมา เรียกว่าเป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน พอสมควร จะไม่ถูก อ�ำนาจลึกลับทางจิตระดับต่างๆ หลอกหลอนอกี ตอ่ ไป
49 พ ร ะ พุ ท ธ ย า นั น ท ภ ิ ก ขุ ปรมัตถ์แท้ย่อมรักษาตัวมันเอง สิ่งท่ีรู้อย่างชัดเจนต่อมาก็คือ เห็นแจ้งในอ�ำนาจของราคะ โทสะ โมหะ (โลภ โกรธ หลง) ตามความเปน็ จรงิ สามารถเลกิ ละ เบาบางไดต้ ามลำ� ดบั ตณั หา อปุ าทาน กรรม กป็ รากฏชดั ในวถิ จี ติ สามารถระลึกรู้และสลัดท้ิงได้ ไม่ถูกครอบง�ำปั่นป่วนให้เป็นทุกข์ เหมือนก่อน แต่ยังไม่ขาดโดยทันที ตามภาษาปริยัติท่ีรู้จักกัน โดยทั่วไปเรียกว่า “จิตตกกระแส” เมื่อมาถึงตรงนี้เราก็ยังไม่ทิ้ง การปฏิบัติ การท�ำความเพียรก็เป็นไปอย่างเข้มแข็งต่อเนื่อง ได้อารมณ์ไม่ขาดสาย อินทรีย์ห้าก็เข้มแข็งสมบูรณ์พร้อม จิตจึง จะมกี ารเฝา้ ดตู วั มนั อยา่ งใกลช้ ดิ แตไ่ มใ่ ชก่ ารเพง่ ไมใ่ ชก่ ารกดขม่ หรือการมุ่งหวังใดๆ แต่เป็นความเข้าใจในทิศทางตามหลักของ อรยิ มรรคมอี งค ์ ๘ เมอื่ รวู้ า่ ทางนเ้ี ปน็ ทางตรงทน่ี �ำไปสกู่ ารดบั สนทิ ของสงั ขารทง้ั หลาย เปน็ ทางเพกิ ถอนความยดึ มน่ั ถอื มนั่ เปน็ ทาง สลัดคืนราคะ โทสะ โมหะ เมื่อจิตถึงความสมดุลพอเหมาะพอด ี ในวันใดวันหน่ึง ก็เกิดภาวะท่ีแปลกประหลาดอีกคร้ังหน่ึงคือ “ประจกั ษ์แจง้ การเกิดดับ” การเห็นการเกิดดับ การเห็นการเกิดดับในอาการดับ คือ เห็นอาการดับใน อาการเกิด ดูจะถูกและใกล้เคียงในภาษาอาการเกิดดับแบบ เคลอื่ นไหว เพราะศพั ทน์ มี้ าจากศพั ทใ์ นคมั ภรี ว์ า่ “จตุ ปู ปาตญาณ” คือแปลว่า รู้อาการดับท่ีเกิดข้ึนแล้ว หรือรู้อาการดับท่ีปรากฏแล้ว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170