Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการสรุปผลนิเทศ (นโยบายเร่งด่วน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานการสรุปผลนิเทศ (นโยบายเร่งด่วน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Published by กศน.ตำบลท่าบุญมี, 2021-11-18 12:24:00

Description: รายงานการสรุปผลนิเทศ (นโยบายเร่งด่วน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Keywords: นิเทศเกาะจันทร์ 64,รายงานการสรุปผลนิเทศ (นโยบายเร่งด่วน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการนิเทศตามนโยบาย และจดุ เนน้ ของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ.2564 กศน.อาเภอเกาะจันทร์ สานกั งาน กศน.จงั หวัดชลบุรี สานกั งาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ค บทที่ 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของสถานศกึ ษา สถานศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเกาะจนั ทร์ ทต่ี ั้ง/ การตดิ ตอ่ เลขที่ 5 หมู่ท่ี 1 ตำบลเกาะจนั ทร์ อำเภอเกาะจันทร์ จงั หวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20240 หมายเลขโทรศัพท์ 0-3816-6327 โทรสาร 0-3816-6327 E-mail : [email protected] Website : http://202.143.146.67/nfekohjun/ สังกัด สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดชลบรุ ี สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา เนื่องจากกระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศจัดตั้งศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ เกาะ จันทร์ เป็นสถานศึกษาเพิ่มขึ้นจากอำเภอที่ตั้งขึ้นใหม่ในจังหวัดชลบุรี จำนวน 1 อำเภอ คือ อำเภอเกาะจันทร์ เมื่อ วนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2550 ทำให้มีสถานศึกษาเพ่มิ ขึ้นอีก 1 แห่ง และแต่งตง้ั มอบหมายให้ ผ้อู ำนวยการศูนย์บริการ การ ศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอพนัสนิคมไปรักษาการ ต่อมากระทรวงศกึ ษาธิการได้มีประกาศจดั ต้ังตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องบัญชีรายชื่อสถานศึกษาในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2551 ได้เปลี่ยนชื่อจาก ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเกาะจันทร์ เป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเกาะจันทร์ (เรียกโดยย่อว่า กศน.อำเภอเกาะจันทร์) เป็นสถานศึกษาสังกัดราชการบริหารส่วนกลาง สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร อาณาเขต ตดิ ตอ่ กบั ตำบลนาวงั หิน อำเภอพนัสนิคม และตำบลหนองไม้แกน่ ทศิ เหนอื อำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา ตำบลธาตุทอง, ตำบลวดั สุวรรณ และตำบลบอ่ กวางทอง ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อำเภอบ่อทอง จังหวดั ชลบุรี ตำบลคลองตะเกรา อำเภอทา่ ตะเกยี บ จังหวดั ฉะเชิงเทรา ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลนาเริก, ตำบลหนองเหียง อำเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั

สภาพชุมชน เดิมอำเภอเกาะจันทร์ เป็นส่วนหนงึ่ ของอำเภอพนสั นิคม ซ่งึ ทางราชการได้แยกพน้ื ที่การปกครองออกมาต้ัง เป็นกิ่งอำเภอเกาะจันทร์ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2540 โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2540 และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2550 ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอเกาะ จันทร์ โดยมีผลบังคบั ใชต้ ้งั แต่วนั ที่ 8 กันยายน 2550 ลกั ษณะทต่ี ้งั อำเภอเกาะจันทร์ ต้ังอยู่ทางทศิ ตะวนั ออกของจังหวัดชลบรุ ี อยหู่ ่างจากจังหวดั ชลบุรเี ป็นระยะทาง 52 กโิ ลเมตร (ตามเส้นทางถนนสายชลบุรี - พนัสนคิ ม – เกาะจนั ทร)์ เน้ือทแี่ ละประชากร อำเภอเกาะจันทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 233.20 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นเนื้อที่ 145,751 ไร่ พื้นที่ตำบล เกาะจันทร์ จำนวน 97,735 ไร่ พื้นที่ตำบลท่าบุญมี จำนวน 48,016 ไร่ ประชากรทั้งสิ้นจำนวน 35,075 คน แยก เปน็ ชาย 16,888 คน และหญงิ 18,187 คน ลักษณะภูมิประเทศ อำเภอเกาะจันทร์ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบ และที่เนินมีความลาดชัน 1-10 % ไม่มีแม่น้ำไหล ผ่าน มีเพียงคลองหลวง ซึ่งเป็นคลองสายสำคัญไหลมาจากอำเภอบ่อทอง ผ่านอำเภอเกาะจันทร์ ไปยังอำเภอพนัส นิคม ในฤดูฝนจะมีปริมาณน้ำมากทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่อำเภอเกาะจันทร์ อำเภอพนัสนิคม และอำเภอพาน ทอง ส่วนฤดูแล้งมปี รมิ าณนำ้ น้อย ลกั ษณะภมู อิ ากาศ โดยท่วั ไปมีลักษณะภูมิอากาศร้อนอบอ้าว อณุ หภูมเิ ฉล่ยี ตลอดปีประมาณ 32 องศาเซลเซียส ฤดูหนาว ส้ัน และอากาศเยน็ เล็กนอ้ ย ฝนตกชกุ เดอื น มถิ นุ ายน - ตุลาคม และแหง้ แลง้ ในเดอื นมีนาคม - พฤษภาคม การปกครอง อำเภอเกาะจนั ทร์ แบ่งเขตการปกครองตามพระราชบญั ญัติปกครองท้องที่ พ.ศ.2547 เป็น 2 ตำบล 27 หมู่บา้ น ดังน้ี 1. ตำบลเกาะจนั ทร์ จำนวน 15 หมู่บา้ น 2. ตำบลทา่ บญุ มี จำนวน 12 หมู่บา้ น การปกครองสว่ นท้องถนิ่ แบ่งเป็น 2 รปู แบบ มเี ทศบาล 3 แห่ง คือ 1. เทศบาลตำบลเกาะจันทร์ 2. เทศบาลตำบลท่าบุญมี 3. เทศบาลเมืองปรกฟา้ องคก์ ารบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง ดงั นี้ 1. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลทา่ บญุ มี

การประกอบอาชีพ 1. ดา้ นการเกษตร อำเภอเกาะจันทร์มีพื้นที่ทำการเกษตร 90,876 ไร่ ประชากรประกอบอาชีพทางการเกษตร 3,051 ครัวเรือน พื้นท่กี ารเกษตรปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน่ ออ้ ย มนั สำปะหลัง ยคู าลปิ ตัส ยางพารา ไม้ดอกไมป้ ระดับ และ พืชผักต่าง ๆ ไม่มีระบบชลประทาน อาศัยน้ำฝนและน้ำคลอง เกษตรกรอาศัยน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติและขุดสระ น้ำขนาดเลก็ ไว้ใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชีพการเกษตร พชื เศรษฐกจิ ท่ปี ลกู ในพ้นื ท่ี ได้แก่ 1. มนั สำปะหลัง 2. อ้อยโรงงาน 3. ขา้ ว 4. สับปะรด 5. ยคู าลปิ ตัส 6. ยางพารา 7. ไม้ผล เชน่ มะม่วง ขนุน มะพร้าว 8. พชื ผักสวนครวั 2. ดา้ นอตุ สาหกรรม การอตุ สาหกรรมของอำเภอเกาะจนั ทร์ ปจั จุบนั มีโรงงานอตุ สาหกรรม จำนวน 16 แหง่ ดังนี้ 1. บรษิ ัทรีไซเคลิ เอน็ จิเนยี รร่งิ จำกัด 2. บรษิ ทั ลาฟาร์จ เพรสเตีย จำกดั 3. บริษทั ยูบี - เฮาเวริ ท์ (ประเทศไทย) จำกดั 4. บรษิ ัท สยามวนิ อนิ ดัสทรี จำกดั 5. บรษิ ัท ย.ู พ.ี เอน็ .อนิ ดัสเทรียลเทค็ จำกดั 6. บริษัท เซิ่งไทอ่ ินดสั เทรยี ล (ประเทศไทย) จำกัด 7. บริษทั อาร์.เอส.เจ เฟอรน์ เิ จอร์ วู๊ดพารท์ จำกดั 8. บรษิ ัท เซ่ิงไท่บราซแวร์ (ประเทศไทย) จำกัด 9. บรษิ ทั เอสทที ี อินดสั ตรีส์ จำกดั 10. สยามเซน้ ทรัลอสุ าหกรรมเคร่อื งเรอื น จำกดั 11. บรษิ ัท เค.ท.ี คอนสดักช่นั แอนดซ์ พั พลาย จำกัด 12. บริษัทดลี ักซ์ จำกดั 13. ทองคำบรรจง จำกดั 14. บริษทั เอฟอาร์ พี โปรดกั ศ์ จำกดั 15. บริษัท ดี.บี.ไดมอนด์ (ประเทศไทย) 16. บรษิ ัท ทอร์ซ 2100 จำกัด 3. การพาณชิ ย์ และการบริการ ธนาคาร 3 แหง่ ได้แก่ 1.ธนาคารกสกิ รไทย

2.ธนาคารกรงุ ไทย 3.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธ.ก.ส) ไปรษณีย์ 1 แหง่ ได้แก่ ไปรษณียท์ า่ บญุ มี 4. ด้านการท่องเทยี่ ว สถานท่ีทอ่ งเท่ียว มี 4 แหง่ ได้แก่ 1. รอยพระพทุ ธบาทเขานางนม 2. อ่างเกบ็ น้ำสระตาพรม 3. หอพระพทุ ธเชยี งแสนมงิ่ มงคลเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 4. อา่ งเกบ็ นำ้ คลองหลวง รชั ชโลธร การศึกษา และศาสนา 1. ดา้ นการศึกษา 1.สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาชลบรุ ี เขต 2 จำนวน 15 โรงเรียน 2.สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา จำนวน 2 โรงเรยี น 3.สังกัดสำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 1 แหง่ 2. ดา้ นการศาสนา สว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ ประกอบดว้ ย - วดั จำนวน 13 แหง่ - สำนกั สงฆ์ศาสนาพทุ ธ จำนวน 3 แห่ง - มัสยิด จำนวน 2 แห่ง - ศาลเจา้ จำนวน 3 แห่ง การสาธารณสุข 1. โรงพยาบาลอำเภอเกาะจนั ทร์ 2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล มีจำนวน 4 แหง่ ได้แก่ - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลท่าบุญมี บา้ นเกาะโพธ์ิ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ท่าบุญมี - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลเกาะจันทร์ บา้ นปรกฟา้ - โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลเกาะจนั ทร์ บา้ นหนองชุมเหด็ 5. โครงสรา้ งสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเกาะจนั ทร์ แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน ออกเปน็ 3 กลุม่ งาน คือ กลุ่มงานอำนวยการ กลมุ่ งานจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และกลุ่ม งานภาคีเครือขา่ ยและกจิ การพิเศษ ดังแผนภมู ิตอ่ ไปนี้

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเกาะจันทร์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเกาะจันทร์ คณะกรรมการสถานศึกษา กลุ่มงานอำนวยการ กลุม่ การจัดการศึกษานอกระบบและ กล่มุ ภาคเี ครือขา่ ยและกิจการพเิ ศษ การศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานอาคารสถานที่ - งานบุคลากร งานประสานภาคเี ครือขา่ ย - งานประสานภาคีเครือข่าย - งานการเงนิ และบญั ชี - งานสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ - งานกิจการพิเศษ - งานพสั ดุ - งานจดั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน - งานสนบั สนนุ นโยบายพเิ ศษ - งานแผนงานโครงการ งานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ของรฐั บาล/กระทรวง - งานขอ้ มูลสารสนเทศ - งานการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ - งานประชาสัมพันธ์ - งานการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ - งานศนู ย์ราชการใสสะอาด - งานการศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน - งานประกนั คุณภาพภายใน - งานการศึกษาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ - งานนิเทศภายในสถานศึกษา พอเพียง งานศูนยใ์ หค้ ำปรึกษาแนะนำ - งานศูนย์ให้คำปรึกษาแนะนำ - งานกจิ การนกั ศึกษา งานพฒั นาสือ่ หลักสตู ร นวัตกรรมและ เทคโนโลยีการศึกษา - งานพัฒนาสื่อ หลักสตู ร นวตั กรรม และ เทคโนโลยีการศกึ ษา - งานวจิ ยั และพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี น การสอน งานการศึกษาตามอัธยาศยั

ทำเนียบผูบ้ รหิ าร ลำดับท่ี ช่ือ – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ำรงตำแหนง่ 1 นายธีรยล แสงอำนาจเจรญิ รักษาการ ผูอ้ ำนวยการ พ.ศ. 2550 – 2551 2 นางเสาวลักษณ์ บุพพาศริ ิกุล ผ้อู ำนวยการ 30 มถิ ุนายน 2551 – 1 เมษายน 2552 3 นายวิรชั ภทั รบูชา ผู้อำนวยการ 1 เมษายน 2552 – 1 เมษายน 2555 4 นางสุรสั วดี เลี้ยงสุพงศ์ ผอู้ ำนวยการ 15 พฤษภาคม 2555 – 28 กุมภาพนั ธ์ 2556 5 ว่าที่ ร.ต.อาศสิ เชยกลิ่น ผอู้ ำนวยการ 1 มีนาคม 2556 – 1 สิงหาคม 2556 6 นางนติ ยา เจริญสุข ผู้อำนวยการ 1 สิงหาคม 2556 – 17 กมุ ภาพันธ์ 2557 7 นายทศพล ทพิ ยไพฑรู ย์ รกั ษาการ ผอู้ ำนวยการ 1 มนี าคม 2556 – 17 กุมภาพนั ธ์ 2557 8 นางรุจิมา ปรัชญาโณทัย ผอู้ ำนวยการ 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 – 9 นายมาโนช ชลารกั ษ์ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2558 - พ.ศ.2561 10 นางณชั ธกัญ หมนื่ สา รกั ษาการ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2561 11 นางสาวกฤตตยิ า ชรารตั น์ ผู้อำนวยการ พ.ศ.2562-พ.ศ.2563 12 นางสภุ าภรณ์ อินทมาตย์ รกั ษาการ ผอู้ ำนวยการ มีนาคม 2563 - ตุลาคม 2563 13 นางสาวสุวิภา ขนชยั ภูมิ รักษาการ ผอู้ ำนวยการ พฤศจิกายน 2563 - ปจั จบุ นั จำนวนบคุ ลากร จำนวน - อัตรา จำนวน 2 อตั รา 1. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 2 อตั รา 2. ข้าราชการครู จำนวน 1 อัตรา 3. พนักงานราชการ จำนวน 1 อัตรา ๔. ครศู นู ย์การเรียนชุมชน ๕. บรรณารักษ์ (อตั ราจ้าง) ประเภท/ตำแหนง่ ตำ่ กว่า ป.ตรี ป.ตรี จำนวน รวมจำนวน ป.โท ป.เอก - ผู้บริหารสถานศกึ ษา - - 2 ขา้ ราชการครู - -- บคุ ลากรทางการศึกษา - 1 1- - พนกั งานราชการ - ครศู ูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน - - -- 2 บรรณารกั ษ์ (อตั ราจ้าง) - 1 2 -- 1 1 1 -- --

ทำเนยี บบุคลากร ตำแหนง่ วุฒิการศกึ ษา ท่ี ช่อื - สกลุ รกั ษาการ ผูอ้ ำนวยการ ปรญิ ญาโท (การบรหิ ารการศึกษา) 1. นางสาวสวุ ิภา ขนชยั ภมู ิ 2. นางสาวตวงพร ศรนศี กั ดา ครผู ู้ชว่ ย ปรญิ ญาตรี ศษ.บ. (การศกึ ษาตลอดชีวิต) 3. นางสาวแพรวลี วรรณศรี ครู กศน.ตำบล ปริญญาตรี บธ.บ (การจัดการ 4 นางสาวศรัณยา ชัยกจิ ครู กศน.ตำบล อุตสาหกรรม) 5. นายวีระชาติ ชัยศักดปิ์ ระเสริฐ ปรญิ ญาตรี วท.บ. (วิทยาศาสตร์บณั ฑิต) 6. นางสาวพัชราภรณ์ นามพนั ธ์ ครศู นู ย์การเรียนชมุ ชน ปริญญาตรี บรรณารักษ์ (อัตราจา้ ง) ปริญญาตรี บค.บ (คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ) ทำเนยี บครปู ระจำกลมุ่ สังกดั ท่ี ช่อื - สกลุ กองบัญชาการช่วยรบที่ 1 กองบัญชาการช่วยรบท่ี 1 1. จ.ส.อ.พนา บา่ ยคลอ้ ย กองบัญชาการช่วยรบท่ี 1 2. จ.ส.อ.แสนสุข พึง่ วาน กองบัญชาการชว่ ยรบที่ 1 3. จ.ส.อ.อมรพงษ์ มาลาธรรม กองบัญชาการช่วยรบท่ี 1 4 จ.ส.อ.ปานเพชร บวรรมั ย์ กองบัญชาการชว่ ยรบท่ี 1 5. จ.ส.อ.ธงชัย โลจายะ กองบัญชาการช่วยรบท่ี 1 6. ส.อ.เสกสรร เหล่อื มศรจี ันทร์ กองบัญชาการช่วยรบที่ 1 7. จ.ส.อ.ชวลติ ทองมณี กองบัญชาการชว่ ยรบท่ี 1 8. ส.ท.สมเกียรติ แกว้ วจิ ิตร กองบัญชาการชว่ ยรบท่ี 1 9. ส.ท.พีระพงษ์ วงษ์ละคร กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบท่ี 111 10. ส.ท.อภสิ ิทธ์ิ ขันเคน กองพนั ทหารราบท่ี 2 กรมทหารราบท่ี 111 11. ร.ต.มาณะชัย คิดไร กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบท่ี 111 12. ร.ต.บรรเจดิ สสี นั กองพนั ทหารราบท่ี 2 กรมทหารราบที่ 111 13. จ.ส.อ.สันติ โปธายะ กองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบท่ี 111 14. ส.ต.สทิ ธินนท์ เกยี รตธิ นาวรดา 15. ส.ต.จักรพงศ์ ใจแสวง

ที่ ช่ือ - สกุล สงั กดั กรมทหารราบท่ี 112 16. ร.ต.มณฑล หมทู อง กรมทหารราบที่ 112 17. ร.ต.ชานนท์ จำปารตั น์ กรมทหารราบท่ี 112 18. จ.ส.อ.กติ ติคณุ พนั ธ์พูล กรมทหารราบที่ 112 19. จ.ส.อ.ปิยฤทธ์ิ กุลบุตร กรมทหารราบที่ 112 20. จ.ส.อ.ถาวร อ่อนคำ กรมทหารราบที่ 112 21. จ.ส.อ.สพุ จน์ ใจจมุ ปู กรมทหารราบท่ี 112 22. ส.ท.ปณต เดชนู กรมทหารราบที่ 112 23. ส.ต.วศนิ ทวชิ ัย กรมทหารราบท่ี 112 24. ส.ต.ชนะพงค์ อนั ชนั กรมทหารราบที่ 112 25. ส.ต.นรากร อนิ นาค สำนกั งาน กศน.จังหวดั ชลบุรี 26. นางสาววาลิกา วรประดิษฐ์ ผรู้ ับผดิ ชอบ แหลง่ การเรียนร้แู ละภาคเี ครือขา่ ย นางสาวแพรวลี วรรณศรี นายวีระชาติ ชยั ศกั ดปิ์ ระเสริฐ ชือ่ กศน.ตำบล ท่ตี ้ัง นางสาวศรณั ยา ชยั กจิ กศน.ตำบลเกาะจนั ทร์ อาคาร เทศบาลตำบลเกาะจนั ทร์ ทีอ่ ยู่ 160/4 ม.10 ต.ทา่ บุญมี อ.เกาะจันทร์ กศน.ตำบลทา่ บญุ มี อาคาร อปพร. เทศบาลตำบลทา่ บญุ มี 038-209394 131 ม.5 ต.ท่าบุญมี อ.เกาะจันทร์ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ความสามารถ 080-1043020 น้ำพริกปรุงรส 97/1 ม.4 ต.ท่าบญุ มี อ.เกาะจนั ทร์ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน กลุ่มจกั สานวดั เขานางนม 087-5836587 นางบังอร วันน้อย (พรมเชด็ เท้า) 128 ม.3 ต.ท่าบญุ มี อ.เกาะจันทร์ กลุ่มสรุ าชมุ ชนเมืองพระรด 038-209277 นางบญุ เรือน อินสม กล่มุ เฟอร์นิเจอร์ไมจ้ ามจรุ ี นายชาตรี วฒั นโคกสนั นายประสงค์ สุริยะ

ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ความสามารถ ทีอ่ ยู่ นายทรงกลด ประทมุ วลั ย์ กลมุ่ ตะไคร้ปลอดสารพิษ 480 ม.1 ต.เกาะจนั ทร์ อ.เกาะจันทร์ นายสริ ภพ เหล่าตระกูล กลุ่มยางทอง (รวบรวมยางพาราจำหนา่ ย) 082-6032071 นางนกน้อย บญุ ก่อเกื้อ กล่มุ ตน้ กลา้ พอเพยี ง (ทำขนมชนิดตา่ งๆ) 6 ม.4 ต.เกาะจนั ทร์ อ.เกาะจันทร์ นายเบญจพงษ์ กฤตเิ กยี รตเิ สรี กลมุ่ ปลูกปาล์มน้ำมนั 080-5678089 นางอำนวย ใจดี กลุ่มไม้กวาดดอกหญ้า 17/2 ม.4 ต.เกาะจนั ทร์ อ.เกาะจนั ทร์ นางขนิษฐา รุ่งเสถยี ร กลุ่มผลิตข้าวชมุ ชน 084-3594606 นายปราโมทย์ สขุ นยิ ม กลุ่มผลติ มะม่วงโชคอนันต์คุณภาพ 123/5 ม.6 ต.เกาะจันทร์ นายเกยี รติศกั ดิ์ กอชะมาน กลุ่มผูเ้ ลย้ี งโค บา้ นโปร่งหนิ อ.เกาะจันทร์ 089-9887980 495 ม.9 ต.เกาะจันทร์ อ.เกาะจันทร์ 089-5158659 196/9 ม.12 ต.เกาะจันทร์ อ.เกาะจนั ทร์ 087-0260051 9/2 ม.3 ต.เกาะจันทร์ อ.เกาะจนั ทร์ 081-2442403 50 ม.5 ต.เกาะจันทร์ อ.เกาะจันทร์ 087-9008140 ภาคีเครอื ข่าย ช่อื ภาคีเครือขา่ ย ทต่ี งั้ /ที่อยู่ เทศบาลตำบลเกาะจนั ทร์ ม.1 ตำบลเกาะจันทร์ เทศบาลตำบลทา่ บญุ มี ม.4 ตำบลท่าบุญมี เทศบาลเมืองปรกฟา้ ม.1 ตำบลเกาะจนั ทร์ อบต.ทา่ บญุ มี ม.4 ตำบลท่าบญุ มี พัฒนาการอำเภอ ทวี่ ่าการอำเภอเกาะจันทร์ เกษตรอำเภอ ทวี่ ่าการอำเภอเกาะจันทร์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบญุ มี บ้านเกาะโพธิ์ ม.1 ตำบลท่าบญุ มี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบุญมี บา้ นสามแยก ม.4 ตำบลท่าบญุ มี โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเกาะจนั ทร์ บา้ นปรกฟ้า ม.7 ตำบลเกาะจนั ทร์ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลเกาะจนั ทร์ บา้ นหนองชุมเหด็ ม.2 ตำบลเกาะจนั ทร์ สถานตี ำรวจภูธรเกาะจันทร์ ม.4 ตำบลเกาะจันทร์ วดั เกาะจนั ทน์ ม.1 ตำบลเกาะจนั ทร์ วัดปรกฟ้า ม.7 ตำบลเกาะจันทร์

ช่ือภาคเี ครอื ข่าย ท่ตี ั้ง/ท่ีอยู่ วัดบา้ นแปลง ม.11 ตำบลเกาะจนั ทร์ วดั หนองยายหมาด ม.9 ตำบลเกาะจันทร์ วดั เขาสัตตาพรหม ม.3 ตำบลเกาะจนั ทร์ วดั หนองชมุ เหด็ ม.2 ตำบลเกาะจนั ทร์ วัดเขาวนาพุทธาราม ม.5 ตำบลท่าบญุ มี วัดหนองลำดวลพรมศรี ม.2 ตำบลท่าบุญมี วัดหนองงูเหลอื ม ม.7 ตำบลทา่ บุญมี วัดเกาะโพธธ์ิ าวาส ม.4 ตำบลทา่ บญุ มี วัดทา่ บุญมี ม.1 ตำบลท่าบญุ มี วดั หว้ ยหวาย ม.8 ตำบลท่าบญุ มี วดั ปา่ เลศิ รัตนาราม ม.4 ตำบลท่าบญุ มี วดั ทบั บริบรู ณ์ ม.6 ตำบลเกาะจนั ทร์ วัดกะบกคู่ ม.4 ตำบลท่าบญุ มี วัดสายวารี ม.15 ตำบลเกาะจันทร์ วดั เขาวังแกว้ ม.12 ตำบลเกาะจันทร์ วัดเจ็ดเนิน ม.4 ตำบลเกาะจนั ทร์ โรงเรยี นอนบุ าลเกาะจนั ทน์ ม.1 ตำบลเกาะจนั ทร์ โรงเรียนเกาะโพธ์ิ (วันครู 2500) ม.4 ตำบลทา่ บญุ มี โรงเรยี นเกาะจนั ทร์พทิ ยาคม ม.1 ตำบลเกาะจนั ทร์

วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ วสิ ยั ทศั น์ กศน.อำเภอเกาะจันทร์จัดกระบวนการเรียนรู้ นำชุมชนให้คิดเป็น มุ่งเน้นหลักสูตรที่หลากหลาย ตามแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกจิ 1. จดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยที่มคี ุณภาพ 2. ส่งเสริมสนับสนุน และประสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวติ ของชุมชน รวมทั้งการดำเนินกิจกรรมของศนู ย์ การเรยี น และแหล่งการเรยี นร้ใู นรปู แบบตา่ งๆ 3. จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการนำเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมา ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ให้กับประชาชนอย่าง ทว่ั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคโนโลยี สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทในปัจจบุ นั 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าลและการมีส่วนร่วม 6. จัดและสง่ เสริมการศกึ ษาดา้ นอาชีพเพื่อการมีงานทำส่อู าชพี ทพี่ อเพียงยั่งยืน 7. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับประชาชน ให้สามารถ แกป้ ัญหาและมที ักษะการดำเนินชวี ติ บนพน้ื ฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 8. พัฒนานวตั กรรมการบริหารจัดการที่เหมาะสมตอ่ การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษา 9. พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วนเพื่อการบริหารจัดการที่ตรงต่อความต้องการของ ผู้รบั บริการ

1 ประเดน็ รายงานการสรุปผลนเิ ทศ (นโยบายเร่งดว่ น) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเด็นการนิเทศ ข้อท่ี 1 เรอ่ื ง นอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาสู่การ ปฏบิ ัติ

3 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนิเทศ ข้อที่ 1 เร่ือง นอ้ มนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ 1.1 การสร้างและพฒั นาศนู ย์สาธิตและการเรียนรู้ (โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”) 1. เกริน่ นำ เรอ่ื งของนโยบาย จดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนบั สนุน และประสานงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในอันที่จะเพม่ิ และกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทาง หลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงาน กศน. นโยบายและจุดเน้น ไดก้ ําหนดการดาํ เนินงานภายใต้วิสัยทศั น์คือ “คนไทยทกุ ช่วงวยั ไดร้ ับ โอกาสทางการ ศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนา ประเทศ สามารถดํารงชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” โดยประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 คือ จดุ เน้นการดาํ เนินงานประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดแ้ ก่ 1) นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 1.1 การสร้างและพฒั นาศนู ย์สาธิตและการเรียนรู้ (โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”) 1.2 การสรา้ งกล่มุ จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน (โครงการจติ อาสาของสำนักงาน กศน.) กศน.อำเภอเกาะจันทร์ สังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี ได้นำนโยบาย และจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มาเป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อน กศน. อย่างเป็นรูปธรรม เพ่อื บรรลุวสิ ัยทศั น์ท่กี าํ หนดไวอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. สภาพที่พบ 1) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเกาะจนั ทร์ มกี ารดำเนินงานตามกรอบการ ดำเนนิ งานศนู ย์เรยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามทสี่ ำนักงาน กศน. กำหนด 2) มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม โดย ครู กศน.ตำบลจัดทำแผนการจดั การเรียนรตู้ ามหลักสูตร เพื่อจดั การเรียนรทู้ ่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและผู้เรยี น 3) มกี ารประสานงานภูมิปญั ญา/ปราชญช์ าวบา้ น โดยครมู กี ารวางแผนร่วมกับชมุ ชน ผู้เรยี น ดำเนนิ การ จัดกิจกรรมของศูนย์เรยี นรูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบล

4 4) เน้ือหาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เนือ้ หามีความสอดคล้องกบั สภาพบริบทในแตล่ ะพ้ืนท่ี โดยใช้ หลกั สูตรที่สถานศึกษา นำมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ และมีการนำหลกั สูตร ของสำนักงาน กศน. มาบูรณาการการ จดั กิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชนและบรบิ ทของแตล่ ะพ้ืนที่ 5) การดำเนนิ การจัดการเรยี นรู้ มกี ารดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามขอบข่ายเนื้อหาของเกษตร ทฤษฎใี หม่ ศาสตร์พระราชาและการดำเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ปัจจัยทสี่ ่งผลต่อความสำเร็จ - การรว่ มมือ การสนับสนุนของเครือขา่ ย / ชมุ ชน / หน่วยงานตา่ ง ๆ - ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือ คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์ การจบหลกั สูตร - ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของ สังคม - ผูจ้ บหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื งทน่ี ำความร้ไู ปใช้จนเหน็ เปน็ ประจักษ์หรือตวั อย่างที่ดี - เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นภมู ิคุ้มกนั ในการรับมือกับวิกฤตต่างๆ - เพ่อื ใหป้ ระชาชนกลุ่มเปา้ หมายได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและตามหลัก เกษตรทฤษฎีใหม่ ต่อยอดสู่ โคก หนอง นา โมเดล - วทิ ยากรมีองค์ความรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถถา่ ยทอดความรู้นำไปสกู่ าร ปฏบิ ัตจิ รงิ เป็นแบบอยา่ งในการดำเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - มีการบูรณาการการทำงานร่วมกันของหน่วยงานตา่ ง ๆ เช่น ภมู ิปัญญาและปราชญ์ชุมชน เกษตร เปน็ ตน้ 4. ปญั หาอปุ สรรค ไม่มี 5. ข้อนเิ ทศต่อผู้รบั การนิเทศ - ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ และ โคก หนอง นา โมเดล - ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ เกษตรทฤษฎีใหม่ และได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถนำไปปรบั ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิต ตอ่ ยอด สู่ โคก หนอง นา โมเดล ได้ - เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ ภมู ิคุ้มกันในการรบั มือกับวิกฤตต่างๆ

5 - ดำเนินการจัดในสถานที่ ที่เหมาะสมกับโครงการ และมีการจัดกิจกรรมตามพื้นที่สภาพจริง เพื่อพัฒนา ผู้เข้าร่วมโครงการให้มีความรู้ และความเข้าใจในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต และได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่และตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสามารถขยายผล ตอ่ ยอด สู่ โคก หนอง นา พ่ึงพาตนเองได้อยา่ งยงั่ ยืน - หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งมคี ณุ ภาพ - วทิ ยากรการศึกษาต่อเนื่อง มคี วามรู้ ความสามารถ หรอื ประสบการณ์ตรงตามหลักสตู รการศึกษา ตอ่ เนื่อง - มสี ือ่ ทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้ - การวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รียนการศกึ ษาต่อเน่อื ง - การจัดการกระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเนื่องท่มี ีคณุ ภาพ 6. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา สนับสนนุ สง่ เสรมิ กจิ กรรมต่าง ๆ ใหต้ ่อเนื่อง 6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จังหวดั ไมม่ ี 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน. ไม่มี 7. Best Practice ไมม่ ี 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ ควิ อารโ์ ค้ด ภาพเคล่อื นไหว (ถ้ามี) กจิ กรรมการเรยี นร้ภู าคทฤษฎี หัวเรอ่ื ง “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”และ “หลักกสิกรรมธรรมชาติ”

6 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งน้อย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ ควิ อารโ์ ค้ด ภาพเคลื่อนไหว (ถ้ามี) กิจกรรมการเรียนร้ภู าคปฏิบัติ วางแผนการปลูกปา่ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเยน็ ฝึกปฏบิ ัติการทำโคก หนอง นา โมเดล

7 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ ข้อที่ 1 เรอ่ื ง น้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ัติ 1.2 การสรา้ งกลมุ่ จิตอาสาพฒั นาชุมชน (โครงการจติ อาสาของสำนกั งาน กศน.) 1. เกร่นิ นำ เร่อื งของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในอนั ท่จี ะเพิม่ และกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทาง หลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงาน กศน. นโยบายและจุดเน้น ไดก้ ําหนดการดําเนนิ งานภายใต้วสิ ยั ทัศน์คือ “คนไทยทุกชว่ งวยั ได้รบั โอกาสทางการ ศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนา ประเทศ สามารถดํารงชวี ติ ได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยประกอบด้วย สว่ นที่ 1 คือ จดุ เน้นการดําเนินงานประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไดแ้ ก่ 1) นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ัติ 1.1 การสรา้ งและพัฒนาศูนย์สาธติ และการเรยี นรู้ (โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”) 1.2 การสรา้ งกล่มุ จิตอาสาพัฒนาชุมชน (โครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน.) กศน.อำเภอเกาะจันทร์ สังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี ได้นำนโยบาย และจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มาเป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อน กศน. อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือบรรลุวสิ ัยทศั น์ท่ีกาํ หนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. สภาพท่ีพบ มีการอบรมหลักสูตร “โครงการจิตอาสา” ของสำนักงาน กศน. ประเภทหลักสูตรปกติ ระดับพื้นฐาน ทำให้บุคลากรของกศน.อำเภอเกาะจันทร์สามารถเป็นวิทยากรขยายผล ได้โดยยึดตามหลักคือ การเป็นจิตอาสา มีจิตสารธารณะ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ในการมีความรู้ความเข้าใจต่อบ้านเมือง ยึดมั่นในศาสนา ความ มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตนเอง สังคม ชุมชนพร้อมทั้ง เผยแพร่ต่อคนอื่น ๆ ได้ต่อไป และจัดทำโครงการจิตอาสาสร้างจิตสาธารณะสำหรับนักศึกษา กศน.อำเภอ เกาะจันทร์ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถนำไปบริหารจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยผ่านกิจกรรมส่งเสริม

8 การเรียนรู้ภายในสถานศึกษา มุ่งเน้นให้นักศึกษาได้รับการปลูกฝัง ให้มีหัวใจอาสารับใช้เสียสละเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม กลา้ แสดงออกในสง่ิ ทคี่ วร ตลอดจนเป็นแบบอย่างทีด่ ีแกส่ งั คม 3. ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็ การรว่ มมือ การสนับสนุนของเครือข่าย / ชมุ ชน / หน่วยงานต่าง ๆ 4. ปญั หาอุปสรรค ไม่มี 5. ขอ้ นิเทศต่อผู้รับการนิเทศ มีการจัดส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเอง และจัดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนเพื่อเป็นการ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับบุคลากรและนักศึกษาพร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติซึ่งแสดงออกในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีพร้อมทั้งมีก ารติดตามผลสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาและมี การนำไปพฒั นาตนเอง 6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา 6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศึกษา สนบั สนุน สง่ เสรมิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้ตอ่ เน่ือง 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน.จังหวดั ไมม่ ี 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน. ไมม่ ี 7. Best Practice ไม่มี

9 8. ภาพกจิ กรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ ควิ อารโ์ คด้ ภาพเคล่ือนไหว (ถา้ มี) โครงการอบรมหลักสูตรจติ อาสา สำนักงาน กศน.จังหวดั ชลบรุ ี ประจำปี 2564 ระหวา่ งวนั ท่ี 27-28 พฤษภาคม 2564 ผา่ นระบบออนไลน์โปรแกรม Hangout Meet โครงการจิตอาสา สรา้ งจติ สาธารณะ สำหรับนกั ศึกษา กศน.อำเภอเกาะจันทร์

10 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนิเทศ ข้อที่ 2 เรอื่ ง ส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต สำหรับประชาชนท่เี หมาะสมกบั ทุกช่วงวัย

11 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนิเทศ ขอ้ ท่ี 2 เรือ่ ง สง่ เสริมการจดั การศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ สำหรับ ประชาชนทเ่ี หมาะสมกบั ทกุ ชว่ งวยั 2.1 การจัดการศกึ ษาเพื่อการมงี านทำในรปู แบบ “Re-Skill & Up-Skill” 1. เกริ่นนำ เรอื่ งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนบั สนุน และประสานงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ในอันที่จะเพม่ิ และกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทาง หลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นักงาน กศน. นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564 ส่งเสริมการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัย ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ “Re-Skill & Up-Skill” และการสร้างนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมีความหลากหลาย ทันสมัย และ ตอบสนองความต้องการของประชาชน ผรู้ บั บรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรู้ความสามารถเพื่อนำไปใช้ใน การพฒั นาอาชีพได้ 2. สภาพที่พบ - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเกาะจันทร์ มีการศึกษาสภาพบริบทหรือ ความต้องการหรือความจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการจัดจัดทำหลักสูตร การศึกษาต่อเน่ืองทุกหลักสูตรและจัดกจิ กรรมตามวัตถุประสงคข์ องการจัดกจิ กรรมและงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อผ้เู ข้ารับบรกิ าร - หลกั สตู รสงเสรมิ การจัดการศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทํา ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill ตอบสนอง ความตองการของประชาชนผูรับบรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพือ่ นําไปใชในการพัฒนา อาชพี ได้ - มีการจดั ทำหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองให้คณะกรรมการสถานศึกษาพจิ ารณาให้ความเห็นชอบและได้รับ อนมุ ตั ิใชโ้ ดยผบู้ ริหารสถานศึกษาก่อนนำไปใช้จัดกระบวนการเรยี นรู้

12 3. ปจั จัยที่สง่ ผลต่อความสำเรจ็ - หลักสูตรมคี วามสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย - วิทยากรมศี ักยภาพในการจัดกระบวนการเรียนรเู้ นน้ การฝึกปฏิบัติในการสื่อสาร - การรว่ มมอื การสนบั สนุนของเครือขา่ ย / ชมุ ชน / หนว่ ยงานตา่ ง ๆ - มกี ารใช้สอื่ มาประกอบการเรยี นการสอนทำให้เข้าใจได้ง่าย - มกี ารประเมินความพงึ พอใจผู้เรียนทุกครงั้ หลงั จบการเรยี นการสอน/อนมุ ัติการจบหลกั สตู ร 4. ปัญหาอุปสรรค ไม่มี 5. ข้อนเิ ทศต่อผ้รู บั การนิเทศ มีการจัดส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเอง และจัดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนเพื่อเป็นการ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับบุคลากรและนักศึกษาพร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติซึ่งแสดงออกในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีพร้อมทั้งมีการติดตามผลสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาและมี การนำไปพฒั นาตนเอง 6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา - 6.2 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน.จงั หวัด - 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสำนักงาน กศน. - 7. Best Practice - 8. ภาพกิจกรรม ภาพกจิ กรรม อยา่ งน้อย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ คิวอาร์โคด้ ภาพเคล่อื นไหว (ถา้ มี)

13 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเดน็ การนิเทศ ขอ้ ที่ 2 เรอ่ื ง ส่งเสริมการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ สำหรับ ประชาชนท่ีเหมาะสมกับทุกช่วงวยั 2.3 การสง่ เสริมการเรียนการสอนทเี่ หมาะสมกบั ผทู้ ีเ่ ขา้ สสู่ ังคมสูงวยั หลกั สตู รการพฒั นาคุณภาพ ชีวิตและสง่ เสริมสมรรถนะผ้สู งู วยั และหลักสูตรการดแู ลผู้สูงอายุ 1. เกริน่ นำ เรื่องของนโยบาย จุดเน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 จดุ เน้นการดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 2. สงสรมิ การจดั การศึกษาและการเรียนรูตลอดชวี ิตสำหรบั ประชาชนท่ีเหมาะสมกับทุกชวงวัย 2.3 สงเสริมการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมสำหรับผูทเี่ ขาสูสังคมสงู วัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพ ที่ เหมาะสมรองรับสังคมสูงวยั หลักสตู รการพัฒนาคุณภาพชวี ิตและสงเสรมิ สมรรถนะผูสูงวยั และหลักสูตร การดแู ล ผูสงู วัย โดยเนนการมสี วนรวมกับภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการเตรยี มความพรอมเขาสูสงั คมสูงวัย โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ กิจกรรมสุขสูงวัยสดใส แข็งแรง เพอ่ื คงพัฒนาทางกาย จิตและสมองของผสู้ ูงอายุ 2. สภาพที่พบ - ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเกาะจันทร์ มีการดำเนินกิจกรรม โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 - มีการจัดทำแผนงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตำบลและผู้นำชุมชนในการจัดทำแผนการจดั การ เรียนรู้ตามหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยจัดอบรมโดยมีการบูรณาการระหว่าง หนว่ ยงานในการถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั ประชาชน - มีการบันทกึ ข้อมูลแผนการดำเนนิ งานและผลการดำเนนิ งานในระบบฐานข้อมลู เพื่อการบรหิ าร จัดการ (DMIS) - เน้ือหาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เนื้อหามคี วามสอดคล้องกับสภาพบรบิ ทในแตล่ ะพ้นื ที่ โดยใช้ หลกั สูตรทส่ี ถานศกึ ษารว่ มกนั จดั ทำกับผู้นำชมุ ชน ใชใ้ นการจดั กิจกรรม - การดำเนินการจัดกิจกรรม โดยการบูรณาการการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายในการ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

14 3. ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อความสำเร็จ - วิทยากรมีองคค์ วามรสู้ ามารถถ่ายทอดความรนู้ ำไปสู่การปฏิบตั จิ ริง เป็นแบบอยา่ งในการ ดำเนนิ ชวี ิตได้ - มีการบรู ณาการการทำงานร่วมกับภาคีเครือขา่ ย เช่น โรงพยาบาล ผ้นู ำชมุ ชน เป็นตน้ 4. ปญั หาอปุ สรรค ไมม่ ี 5. ขอ้ นิเทศต่อผรู้ บั การนเิ ทศ มีการจัดส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเอง และจัดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนเพื่อเป็นการ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับบุคลากรและนักศึกษาพร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติซึ่งแสดงออกในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีพร้อมทั้งมีก ารติดตามผลสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาและมี การนำไปพัฒนาตนเอง 6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา - 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวดั - 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน. - 7. Best Practice - 8. ภาพกจิ กรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลงิ ค์ ควิ อาร์โค้ด ภาพเคลื่อนไหว (ถ้าม)ี

15 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลงิ ค์ คิวอารโ์ คด้ ภาพเคล่อื นไหว (ถา้ ม)ี

16 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนิเทศ ข้อท่ี 3 เรื่อง พัฒนาหลกั สตู ร ส่อื เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทาง การศึกษา แหล่งเรยี นรู้ และรปู แบบการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท

17 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ ข้อที่ 3 เรื่อง พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ และรูปแบบการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท 3.1 การพฒั นาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Learning Platform ทร่ี องรับ DEEP และชอ่ งการ เรียนรรู้ ูปแบบอน่ื ๆ (Online/On-site/On-air) 1. เกร่นิ นำ เรอื่ งของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในอนั ทจ่ี ะเพม่ิ และกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทาง หลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสํานักงาน กศน. นโยบายและจดุ เนน้ ได้กําหนดการดาํ เนนิ งานภายใต้วสิ ยั ทัศน์คือ “คนไทยทกุ ชว่ งวยั ได้รบั โอกาสทางการ ศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนา ประเทศ สามารถดาํ รงชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยประกอบดว้ ย สว่ นท่ี 1 คือ จดุ เนน้ การดําเนินงานประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ได้แก่ 3. พัฒนาหลักสตู ร สื่อ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้และรปู แบบการจัดการศึกษา และการเรียนรูใ้ นทกุ ประเภท 3.1 การพัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ที่รองรับ DEEP และช่องการเรียนรู้ รูปแบบอ่นื ๆ (Online/On-site/On-air) 3.2. การพฒั นาแหลง่ เรียนรูป้ ระเภทต่างๆ Digital Science Museum / Digital Science Center 3.3 ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อสามารถ “เรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง ทุกท่ี ทุก เวลา” กศน.อำเภอเกาะจันทร์ สังกัดสํานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี ได้นำนโยบาย และจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มาเป็นกรอบแนวทางการขับเคลื่อน กศน. อย่างเป็นรูปธรรม เพือ่ บรรลุวิสัยทัศน์ทีก่ าํ หนดไวอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

18 2. สภาพทีพ่ บ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการไดอ้ อก ประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กำหนดให้มีการเว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใชอ้ าคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรมหรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก การปิด สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกำหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบ ออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึงการ สื่อสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ในส่วนของสำนักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการและวิธีการดำเนินงานในภารกิจต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจำวัน และการจัดการ เรียนรู้เพื่อรองรับการใช้ชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญกับ การดำเนินงานตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) อาทิ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภทหากมีความจำเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมี มาตรการป้องกันท่ีเขม้ งวด มีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ผรู้ บั บรกิ ารตอ้ งใสห่ น้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการ เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คลเนน้ การใชส้ อื่ ดจิ ิทัลและเทคโนโลยอี อนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน กศน.อำเภอเกาะจันทร์ ได้ดำเนินการจัดการศึกษาและการเรียนรู้เพิ่มความยืดหยุ่นของเวลาเรียนและ ความหลากหลายของรูปแบบการเรียนรู้ทำให้ครูสามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เหมาะสมและส่งเสริมการ เรียนรู้รายบุคคล โดยได้มีช่องทางการเรียนรู้รูปแบบ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อการรับมือกับการแพร่ระบาด ระลอกใหม่นี้ คือ 1. On-air เรียนผ่านมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV 3.On-demand เรยี นผา่ นแอปพลิเคชนั ตา่ งๆ 4.On-line เรยี นผ่านอนิ เตอรเ์ น็ต และ 5.On-hand เรียนทบี่ ้านดว้ ย เอกสาร เชน่ หนงั สือ แบบฝึกหดั ใบงาน ในรูปแบบผสมผสาน 3. ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความสำเร็จ - หลกั สูตรมคี วามสอดคลอ้ งกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย - นวัตกรรมจัดการเรียนรขู้ องครู เช่น วิธกี ารสอน กจิ กรรมท่ีครูนำมาใช้กับผู้เรยี น และส่ือการสอนตา่ งๆ - นวัตกรรมการเรียนรขู้ องผ้เู รียน เชน่ แบบฝึกหดั ต่างๆที่ครสู รา้ งขน้ึ บทเรยี นสำเรจ็ รูป สอ่ื มัลตมิ ีเดีย - นวตั กรรมเพ่ือการบรหิ ารและพฒั นาการทำงานของครูและนกั เรียน 4. ปัญหาอุปสรรค - สัญญาณอนิ เตอร์ไม่ทว่ั ถึงกับผเู้ รียน

19 5. ข้อนิเทศต่อผู้รบั การนเิ ทศ - มแี ผนงาน/ โครงการ / กจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมการเรยี นที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของประชาชนและ ตลาดแรงงาน - มกี ารจัดทำแผนการจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู ร - วสั ดุ อุปกรณ์ มคี วามเพียงพอและสถานทมี่ ีความเหมาะสม - เทคนคิ วธิ กี าร วิธีการจดั กิจกรรมพฒั นา การจดั กจิ กรรมสำหรับผูเ้ รียน เช่น การจัดบรรยากาศใน หอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รียน และเหมาะกบั วธิ ีการสอนของครู - ส่อื การเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้เปน็ ตวั กลาง หรือเครื่องมือท่ีชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ สอื่ การ เรียนรแู้ บ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ - สอ่ื ประเภทวสั ดุ สอ่ื การเรียนรทู้ ่ีมลี ักษณะเก็บความรู้ หรือถ่ายทอดความรู้ โดยใช้ภาพ เสยี ง ตัวอักษร ในรูปแบบตา่ งๆ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ - วสั ดุทีเ่ สนอความรู้จากตวั สื่อ - วัสดทุ ตี่ อ้ งอาศยั สอ่ื ประเภทเคร่ืองกลเปน็ ตัวนำเสนอความรู้ - ส่อื ประเภทเคร่ืองมือหรือโสตทศั นูปกรณ์ เปน็ ส่อื ท่ีเปน็ ตัวกลางหรอื ตวั ผา่ นของความร้ทู ่ีถ่ายทอดไปยงั ผู้รบั เชน่ เครื่องช่วยสอน เครอ่ื งฉาย คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ฯลฯ 6. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา สนบั สนุน ส่งเสรมิ กจิ กรรมต่าง ๆ ใหต้ ่อเน่ือง 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวัด - 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน. - 7. Best Practice -

20 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลงิ ค์ คิวอารโ์ คด้ ภาพเคล่อื นไหว (ถา้ ม)ี

21 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ ขอ้ ท่ี 4 เรอ่ื ง พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทำงานของบุคลากร กศน.

22 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ ขอ้ ท่ี 4 เรื่อง พฒั นาศักยภาพและประสทิ ธิภาพในการทำงานของบุคลากร กศน. 4.1 พัฒนาศกั ยภาพและทกั ษะความสามารถดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั Digital Literacy & Digital Skill ใหก้ บั บุคลากรทุกประเภททกุ ระดับ 1. เกริน่ นำ เรอื่ งของนโยบาย จุดเน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากร กศน. 5.1 พัฒนาศกั ยภาพและทกั ษะความสามารถดานเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Literacy & Digital Skills) ใหกบั บคุ ลากรทุกประเภททกุ ระดบั รองรับความเปนรฐั บาลดิจทิ ลั อยางมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั พฒั นาครูให มที ักษะความรู และความชาํ นาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลติ ส่อื การเรียนรูและการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือฝ กทกั ษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบและมเี หตุผล เปนข้ันตอน 5.2 จดั กิจกรรมเสรมิ สรางความสัมพันธของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทาํ งานรวมกันในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาประสทิ ธิภาพ ในการทาํ งาน 2. สภาพทพ่ี บ - ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเขา้ รบั การอบรม เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพและศึกษาหาความร้เู พม่ิ เติม - หลักสูตรทใ่ี ชใ้ นการสอนได้พัฒนาขึ้นเองรอ้ ยละ 50 และนำมาจากสำนักงาน กศน.ร้อยละ50 - ศึกษาเน้ือหา และหลักสตู รทมี่ กี ารบูรณาการสภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรยี นชุมชนและแนวโนม้ การพัฒนา 3. ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความสำเร็จ (ถ้ามี) - ทำงานไดร้ วดเร็วลดขอ้ ผิดพลาดและมีความมั่นใจในการทำงานมากข้นึ - มีความภาคภูมใิ จในผลงานท่ีสามารถสรา้ งสรรค์ได้เอง - สามารถแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ขึ้นในการทำงานได้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน - สามารถระบทุ างเลอื กและตัดสนิ ใจไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน - สามารถบรหิ ารจัดการงานและเวลาไดด้ ีมากข้ึน และช่วยสร้างสมดุลในชวี ติ และการทำงาน - มเี คร่อื งมือช่วยในการเรยี นรู้และเตบิ โตอย่างเหมาะสม 4. ปญั หาอุปสรรค -

23 5. ข้อนเิ ทศต่อผรู้ ับการนเิ ทศ - ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ประสบการณ์ และมีความคดิ สรา้ งสรรค์ท่ีแปลกใหม่ - ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีเทคนิควิธกี าร วิธกี ารจัดกจิ กรรมพฒั นา การจดั กิจกรรมสำหรับผเู้ รยี น เชน่ การจัดบรรยากาศในห้องเรยี นให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียน และเหมาะกบั วธิ กี ารสอนของครู - ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสอ่ื การเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้เป็นตัวกลาง หรอื เครื่องมือทช่ี ่วยให้ผูเ้ รยี น เกิดความรู้ความเข้าใจ สื่อการเรียนรู้แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี - สือ่ ประเภทวสั ดุ สอื่ การเรียนรทู้ ี่มลี ักษณะเก็บความรู้ หรือถา่ ยทอดความรู้ โดยใช้ภาพ เสียง ตวั อักษร ในรปู แบบต่างๆ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ - วสั ดทุ ่เี สนอความรู้จากตวั ส่ือ - วสั ดุทตี่ อ้ งอาศยั สอื่ ประเภทเคร่ืองกลเปน็ ตัวนำเสนอความรู้ 6. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา (ถา้ ม)ี - 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวดั (ถา้ มี) - 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน. (ถ้าม)ี - 7. Best Practice (ถา้ มี) -

24 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลงิ ค์ คิวอารโ์ คด้ ภาพเคล่อื นไหว (ถา้ ม)ี

25 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเด็นการนเิ ทศ ข้อที่ 5 เรอ่ื ง ปรบั ปรงุ และพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการ องค์กรปัจจัยพนื้ ฐานในการจัดการศกึ ษาและประชาสัมพันธ์การสร้างการรบั รตู้ ่อ สาธารณะชน

26 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ ขอ้ ท่ี 5 เรื่อง ปรบั ปรงุ และพฒั นาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองคก์ ร ปจั จัยพ้นื ฐานในการจัดการศึกษาและประชาสัมพันธ์การสร้างการรบั รู้ต่อสาธารณะชน 5.1 การพฒั นาปรบั ปรุงซอ่ มแซม ฟ้นื ฟูอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ้ ม (กศน.งามตา ประชาชนื่ ใจ) 1. เกริ่นนำ เร่ืองของนโยบาย จดุ เน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 สํานักงาน กศน. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขึ้นตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดําเนินงาน ตามบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนนุ และประสานงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในอันทจี่ ะเพ่ิมและกระจายโอกาสทาง การศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ภายใต้กรอบทิศทางการพัฒนา ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายและแนวทาง หลักในการดําเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ และโครงการสําคัญตามแผนปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสาํ นกั งาน กศน. นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคาร สถานทแี่ ละสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงานสถานศึกษา และแหล่งเรยี นรูท้ กุ แห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พร้อม ให้บรกิ าร 2. สภาพทีพ่ บ - สถานศกึ ษามสี ภาพแวดล้อมท่สี ะอาด สวยงาม รม่ รื่น เอื้อต่อการเรยี นการสอนสง่ ผลใหผ้ ้เู รยี น ทกุ คน เกิดเรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ - อาคารเรยี นและส่ิงแวดล้อมทว่ั ไป มีคุณภาพ มีความปลอดภัย เพ่ือใหเ้ กดิ ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย สะอาด สวยงาม พร้อมใหบ้ ริการแก่เด็ก เยาวชน นักศึกษาและประชาชนทวั่ ไป ที่มาติดต่อราชการ และพร้อม ใชง้ านกิจกรรมต่างๆ ทเี่ ก่ียวกับการจดั การเรียนการสอน ท้ังในหอ้ งเรียนและนอกห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ - คณะครูนักศึกษา และบคุ ลากรสามารถ ใช้แหลง่ เรยี นรทู้ ั้งหมดภายในสถานศึกษาในการจดั กิจกรรม การเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 3. ปัจจัยท่สี ่งผลต่อความสำเรจ็ - การปฏบิ ัติงานของบุคลากรเพื่อให้สภาพหอ้ งเรียนและอาคารสถานท่ีได้รบั การดแู ลพร้อมใชง้ านอยูเ่ สมอ - การปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรเพ่อื พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา ใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี นรแู้ ละการ จดั การเรียนการสอน อย่างมีคุณภาพ บริเวณสถานศึกษาสะอาด รม่ รนื่ ปลอดภยั และเอ้ือตอ่ การจัดการเรียนรู้ การปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน - การปฏิบัตงิ านของบคุ ลากรเพอ่ื ใหส้ ภาพห้องเรียนและอาคารสถานท่ีไดร้ ับการดแู ลพร้อมใชง้ านอย่เู สมอ

27 4. ปัญหาอุปสรรค ไมม่ ี 5. ข้อนิเทศต่อผู้รบั การนเิ ทศ มีการจัดส่งเสริมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเอง และจัดโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนเพื่อเป็นการ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับบุคลากรและนักศึกษาพร้อมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติซึ่งแสดงออกในการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีพร้อมทั้งมีการติดตามผลสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาแ ละมี การนำไปพฒั นาตนเอง 6. ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา สนับสนุน ส่งเสริม กจิ กรรมต่าง ๆ ให้ต่อเน่ือง 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จังหวดั - 6.3 ข้อเสนอแนะต่อสำนกั งาน กศน. - 7. Best Practice - 8. ภาพกิจกรรม อยา่ งน้อย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ ควิ อารโ์ ค้ด ภาพเคล่ือนไหว (ถา้ มี)

28 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเดน็ การนเิ ทศ ขอ้ ท่ี 6 เรอื่ ง การจดั การศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) ของสำนกั งาน กศน.

29 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนเิ ทศ ขอ้ ที่ 6 เรอื่ ง การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) ของสำนักงาน กศน. 6.1 การพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ วิธีการดำเนินงานและการจัดการเรียนรู้เพ่ือ รองรับชีวิตแบบปกติใหม่ (New Normal) เช่น การฝึกอบรมการจัดทำหน้ากากผ้าอนามัย และ เจลแอกอฮอล์ ลา้ นเมล็ดพนั ธุส์ ้ภู ัยโควดิ 1. เกริ่นนำ เรอ่ื งของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ.2564 จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เมื่อเดอื นธันวาคม 2562 ส่งผลกระทบตอ่ ระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดบั ชั้น ซงึ่ รัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดออกประกาศและมมี าตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกนั การแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกล่าว อาทิ กำหนดใหม้ ี การเว้นระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) หา้ มการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและสถาบนั การศึกษา ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมาก การปดิ สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกำหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรูผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึงการ สอื่ สารแบบทางไกลหรือด้วยวธิ อี ิเล็กทรอนกิ ส์ 2. สภาพท่ีพบ การจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 1. ขัน้ เตรียมการ 1.1 มีการสำรวจและเตรยี มความพรอ้ มของครแู ละผ้เู รยี นในการศกึ ษาผ่านออนไลน์ 1.2 ครูผู้สอนจัดทำแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทั้งภาคเรียนตามระดับการศึกษา และจัดทำใบ ความรู้/แบบทดสอบ/แบบฝกึ หดั 1.3 บุคลากร กศน.อำเภอเกาะจนั ทร์ เขา้ รบั การอบรมในเรอ่ื ง Google Classroom และ Application เพอ่ื การศกึ ษา ผา่ นช่องทางออนไลนต์ า่ ง ๆ เช่น line, Facebook, QR Code, E-Book 2. ข้นั ดำเนินการ 2.1 นกั ศึกษาสมคั ร Gmail เพ่อื ขอ username /password 2.2 ครูชี้แจงกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Google classroom และ Application เพื่อการศึกษา ผา่ นช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เชน่ line, Facebook, QR Code, E-Book เปน็ ต้น 2.3 ครูสรา้ งห้องเรยี น Google classroom จำแนกตามระดบั การศกึ ษา 2.4 พัฒนาเน้ือหาความรู้ สื่อการเรยี นรู้ผ่านสือ่ ออนไลน์ โดยใช้ Google Drive 2.5 ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่าน Application เพื่อการศึกษา ผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น line, Facebook, QR Code, E-Book

30 3. ขั้นผลการดำเนินงาน 3.1 นักศึกษา เรียนผ่าน Google Classroom แต่มีการจัดกระบวนโดยใช้ Google Drive และผ่าน Application อื่น ๆ รวมถงึ ในรปู แบบของออฟไลน์ เพ่อื ชว่ ยเหลือผเู้ รยี นบางคนท่ีไมส่ ามารถเข้าถึงอินเทอรเ์ น็ตได้ 3.2 ครูช่วยกระตุ้นความสนใจของนักศึกษา ให้เกิดการเรียนรู้ โดยการหาสื่อออนไลน์ การทำ แบบทดสอบออนไลน์ 3.3 ครูผู้สอนสอดแทรกการกิจกรรมการเรียนรูมาตรการการป้องกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID -19) การสวมหนากากอนามยั มกี ารเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้สื่อดิจิทลั และ เทคโนโลยีออนไลน์ในการจดั การเรียนการสอน การจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง 1. จดั การศึกษา กลมุ่ สนใจ รปู แบบชนั้ เรียน ตามปกติ หลักสตู รวชิ าไมเ่ กิน 3- 5 ชม. ผเู้ รยี น 6 คน ขึ้นไป แต่ไม่เกิน 10 คน จำนวนช่ัวโมงเรยี นตอ่ วนั ไม่เกินวนั ละ 3 ชัว่ โมง 2. จัดการศึกษาวิชาชีพระยะสั้น รูปแบบชั้นเรียนตามปกติ ผู้เรียน 11 คนขึ้นไป แต่ไม่เกิน 15 คน จำนวนชั่วโมงเรยี นต่อวันไม่เกินวนั ละ 3 ชวั่ โมง 3. จัดการศึกษาต่อเนือ่ ง รูปแบบฝึกอบรมตามปกติ ผู้เรียน 15 คน จำนวนชั่วโมงเรียนตอ่ วันไม่เกนิ วันละ 3 ชว่ั โมง ใช้เวลา 1 วนั 4. สถานจัดฝึกอบรมการทำหน้ากากอนามัยแบบผ้า และเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ และกิจกรรมล้านเมล็ด พันธุ์สู้ภยั โควิด 5. สถานศึกษามีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด ตรวจวัดอุณหภูมิ มีเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ ผู้เรียนสวม หนา้ กากอนามัย เวน้ ระยะหา่ ง 3. ปจั จัยท่สี ง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็ (ถา้ ม)ี ครู และบุคลากรของ กศน.อำเภอเกาะจนั ทร์ ไดร้ บั การอบรม และเตรยี มความพร้อมในการจัดการเรียนรู เพอ่ื รองรับการชวี ิตแบบปกตวิ ถิ ใี หม่ (New Normal) 4. ปญั หาอุปสรรค 1. การจัดการศึกษาในรูปแบบออนไลน์ นักศึกษาบางคนยังมีปัญหาในการเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ต และ อุปกรณก์ ารส่ือสารทไ่ี ม่รองรบั 2. การจัดการศึกษาต่อเนื่อง ถ้าจัดในรูปแบบออนไลน์ ผู้เรียนมีข้อจำกัด และไม่มีความสะดวกที่จะเรียน แบบออนไลน์ 5. ข้อนิเทศตอ่ ผ้รู ับการนเิ ทศ ครู มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ และผู้เรียน นำเทคโนโลยีมาร่วมใช้ในการจดั กระบวนการการสอน

31 6. ข้อเสนอแนะเพอื่ การพฒั นา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถา้ ม)ี - 6.2 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน.จงั หวัด (ถ้าม)ี - 6.3 ขอ้ เสนอแนะต่อสำนักงาน กศน. (ถ้ามี) - 7. Best Practice (ถ้ามี) การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(Covid 19) สถานศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล คิดวิเคราะห์ และ แกป้ ญั ญาด้วยตนเองได้ โดยครูผ้สู อนใช้สือ่ ดจิ ิทลั และเทคโนโลยอี อนไลน์ ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ 8. ภาพกจิ กรรม อย่างนอ้ ย 4 – 6 ภาพ หรือ ลิงค์ คิวอารโ์ ค้ด ภาพเคลื่อนไหว (ถา้ ม)ี

32 ประเด็นรายงานการสรปุ ผลการนเิ ทศ (ภารกจิ ต่อเน่อื ง) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564

33 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเด็นการนเิ ทศ ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง ดา้ นที่ 1 Good Teacher การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

34 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเด็นการนเิ ทศ ภารกิจตอ่ เนือ่ ง ด้านที่ 1 Good Teacher 1.1 การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1.เกริ่นนำ เร่อื งของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนนิ งานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2564 ตามที่สำนักงาน กศน.ได้จัดทำนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 ข้ึน โดยเพ่อื เป็นกรอบทิศทางและเป็นเครื่องมือในการขับเคลอื่ น กศน.อยา่ งเป็นรูปธรรมและมีประสทิ ธิภาพ ซง่ึ ภารกิจ ตอ่ เนื่อง ด้านที่ 1 Good Teacher การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา เปน็ ภาระกจิ หน่ึงที่เป็นปัจจัยสำคัญ ในการขับเคล่ือนใหน้ โยบาย และจุดเน้นการดำเนนิ งานของ กศน. บรรลุวัตถุประสงค์ การพัฒนาครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ มีสมรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นจุดเน้นสำคัญในสร้างความเป็น ครูมือ อาชีพ สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาให้สูงขึ้น สอดคลอ้ งกบั ทศิ ทางในการพฒั นาประเทศ 2.สภาพท่ีพบ 1. ครูและบุคลากรของ กศน.เกาะจนั ทร์จัดปฐมนิเทศผ้เู รียน และเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการ ออกแบบการเรียนรู้ 2. ครทู กุ คนได้รับการพฒั นาศักยภาพ และนำความรมู้ าใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ได้แก่ เขา้ รว่ ม อบรมการพฒั นาตนเองจากชอ่ งทางตา่ งๆ เช่นการอบรมหลักสูตรการเรยี นการสอนออนไลน์ พฒั นาระบบ สารสนเทศเพ่ือการศึกษากิจกรรมการเรยี นรูผ้ ่านระบบออนไลน์ Google Classroom 3. ครูและบุคลากรของ กศน.เกาะจันทร์จดั สภาพแวดล้อมของ กศน.ตำบล ใหเ้ อื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 4. ครทู ุกคนทำหนา้ ทีใ่ ห้คำปรึกษาแนะนำ และชว่ ยแกไ้ ขปัญหาของผูเ้ รียน 5. ครจู ดั กิจกรรมนอกพ้นื ท่ี เพ่ือสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาดูงานจากแหล่งเรยี นรู้ /ภมู ิ ปญั ญา จดั อบรมนอกพืน้ ที่ 6. ครทู ำวจิ ัยชนั้ เรยี น เพื่อชว่ ยแกป้ ัญหาการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่ การอ่าน และการเขยี นหนังสอื ไม่คล่อง การเข้าเรยี นช้า การไม่มาพบกลมุ่ การพฒั นาทักษะการทำใบงาน ฯลฯ 7. ครทู ำบันทึกหลังการสอน เพอ่ื รับการนิเทศพ้นื ฐานและแก้ปัญหาการเรยี นการสอน 3. ปัจจัยท่สี ่งผลตอ่ ความสำเรจ็ (ถ้ามี) ได้รับการสนบั สนุนจากหนว่ ยงานตน้ สังกัด

35 4. ปัญหาอุปสรรค ในสถานการณ์การแพรร่ ะบายการติดเชื้อไวรสั โคโรนา่ ครูได้รับการพฒั นาผ่านการสอื่ สารออนไลน์เป็น ส่วนใหญ่ การรับส่งสญั ญาณในการอบรมบางครง้ั ไม่มคี วามชัดเจน ผู้เข้ารบั การอบรมผา่ นระบบออนไลนจ์ ะเปน็ ผู้รบั ฟงั มากกวา่ การไดร้ บั การฝกึ ทกั ษะ 5. ข้อนิเทศต่อผูร้ บั การนเิ ทศ ให้มกี ารขยายผลหลงั จากการเขา้ รับการพัฒนาตนเอง การอบรม ใหแ้ กบ่ คุ ลากรของ กศน. 6. ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา 6.1 ข้อเสนอแนะต่อสถานศึกษา (ถ้าม)ี - 6.2 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั (ถ้ามี) - 6.3 ข้อเสนอแนะตอ่ สำนักงาน กศน. (ถ้ามี) - มีช่องทางหลกั ของแตล่ ะวชิ าเพือ่ สะดวกในการรบั ชม ตามความสะดวกของแตล่ ะบุคคล เชน่ คลปิ วีดโี อ การสอนของวชิ าน้นั ๆ 7. Best practice(ถา้ ม)ี ครูทุกคนสามารถใช้เครอ่ื งมือสือ่ เทคโนโลยีได้ดี

36 8. ภาพกจิ กรรม อยา่ งน้อย 4-6 ภาพ หรือลง้ิ ค์ คิวอารโ์ คด้ ภาพเคลอื่ นไหว การอบรมและพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

37 แบบรายงานผลการนิเทศ ประเด็นการนิเทศ ภารกิจต่อเนื่อง ดา้ นที่ 2 Good Place – Best Check In

38 แบบรายงานผลการนเิ ทศ ประเดน็ การนเิ ทศ ภารกิจตอ่ เนอื่ ง ด้านท่ี 2 Good Place – Best Check In 2.1 เร่งยกระดบั กศน.ตำบล เป็น กศน. 5 ดี พรีเมย่ี ม 1. เกรนิ่ นำ เรอ่ื งของนโยบาย จุดเนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ.2564 เรง่ ยกระดบั กศน. ตำบลตน้ แบบ 5 ดี พรีเม่ียม โดยมวี ัตถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพ่อื สรา้ ง กศน. ตำบลต้นแบบ ให้เป็นต้นแบบในการพัฒนา กศน. ตำบล/แขวง ใหม้ ีประสิทธิภาพ อันเปน็ ประโยชนต์ ่อการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในชุมชน 2. เพ่อื เป็นแนวทางในการพัฒนาและปรบั ปรงุ กศน. ตำบล/แขวง ให้เปน็ แหล่งเรียนรู้ของชมุ ชนทีม่ ี ประสทิ ธิภาพ 3. เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรภู้ ายใน กศน. ตำบล/แขวง การเสริมสรา้ งและให้ความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ข่าย และการนำเทคโนโลยดี ิจิทลั เขา้ มาบูรณาการปรับ ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ในการพฒั นาและขยายบทบาทการดำเนนิ งานของ กศน. ตำบล/แขวง 2. สภาพทพ่ี บ ครูมสี มรรถนะในการจัดการเรยี นการสอนทีม่ คี ุณภาพในระดับต่าง ๆ (Good Teacher) 1. ครูจัดทำแผนแผนงาน/ โครงการพัฒนาครู เพื่อให้มีทักษะที่จำเป็นใน ศตวรรษที่ 21 ได้แก่ การเข้า อบรมการจดั กระบวนการเรยี นรู้รูปแบบออนไลน์ 2. กศน.อำเภอ มีการส่งเสริมให้ครูไปเข้ารับการอบรมพัฒนาจากหน่วยงาน สถานศึกษาอื่นๆ ในรูปแบบ ออนไลน์ 3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กศน.อำเภอเกาะจนั ทร์ มีแผนพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง 4. มกี ารจดั หา สอ่ื คู่มือ เอกสาร ที่หลากหลาย ทันสมัย สอดคลอ้ งกับความต้องการของครู 5. คณะครู และบุคลากร กศน.อำเภอเกาะจันทร์ การขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอมี ดำเนินการเดือนละ 1 ครั้ง โดยการนำผลการดำเนินงานแต่ละคร้ังมาร่วมวางแผน แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และเกิดเป็น แนวทางในการพัฒนาปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของ กศน.ตำบล ดึงดูดความสนใจและเอื้อต่อการเรียนรู้ (Good Place Best- Check in) 1. กศน.ตำบล เปน็ สดั ส่วน มพี ื้นที่จัดกิจกรรมทเ่ี หมาะสม 2. กศน.ตำบล อุปกรณ์ โตะ๊ เก้าอี้/ช้นั วาง/คอมพิวเตอร์ อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใชง้ านและเพยี งพอ 3. กศน.ตำบล สื่อ/หนังสอื /แบบเรยี น มคี วามหลากหลาย ทันสมยั พรอ้ มใหบ้ รกิ าร