Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐(โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง)

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐(โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง)

Published by arawan0101, 2021-02-19 08:31:35

Description: หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐(โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง)

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ฉบบั ปรับปรุง ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านทับกุมารทอง ตำบลท่าขา้ วเปลือก อำเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งราย สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการมีคําสั่งที่ สพฐ. ๑๒๒๓ /๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อให้สถานศึกษาหรือ สถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด นําหลักสูตรไปใช้โดยให้ ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั เดก็ และสภาพท้องถน่ิ โรงเรียนบ้านทับกุมารทองจัดการศึกษาปฐมวัย โดยยึดนโยบายการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการเป็นกรอบ ทิศทางในการพัฒนาการจัด การศึกษามาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ดังนั้นจากคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ โรงเรียนจึงแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํา หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านทับกุมารทอง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ขึ้น เพือ่ ดําเนนิ การจัดทํา หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ตามจุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กําหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม เป็นคนดี มีวินัย มี สํานึกความเป็นไทย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในอนาคตโดยพิจารณา ถึงความสอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความเจริญการหน้าทาง เทคโนโลยีรวมถึง สภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อให้เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมกับ เปา้ หมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สอดคลอ้ งและทนั ตอ่ สภาพการเปลย่ี นแปลงได้อย่างแท้จรงิ โรงเรียนบ้านทับกุมารทองขอขอบคุณ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการศกึ ษาปฐมวัย ศกึ ษานเิ ทศก์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผบู้ ริหารโรงเรียน ครปู ฐมวยั ตัวแทน ผปู้ กครอง ตวั แทนชุมชน ตลอดจนบุคลกรทุกคนที่มสี ่วนรว่ มในการจัดทําหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรยี นบา้ นทบั กมุ ารทองปีการศึกษา ๒๕๖๓ ใหม้ ีความเหมาะสมต่อการนําไปใช้จัดการศึกษาปฐมวัย (นายเอราวรรณ์ ขัตติวัง) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทบั กมุ ารทอง

ประกาศโรงเรยี นบ้านทบั กุมารทอง เรอื่ ง ให้ใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยโรงเรียนบา้ นทับกุมารทอง ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ………………………………………… ด้วยกระทรวงศึกษาธิการมีคําสั่ง ที่๑๒๒๓ /๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพื่อให้การจัดการศึกษาปฐมวัยที่ต้องพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิด ถึง 5 ปี ให้มี พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถ และ ความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียมความพร้อมที่จะ เรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิต ให้พัฒนา เด็กปฐมวัยไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมี ความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ และโดยอาศัยอํานาจความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่๒) พ.ศ.๒๕๔๕ กระทรวงศึกษาธิการจึงให้ใช้หลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เพื่อให้สถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็ก ปฐมวัยทุกสังกัด นําหลักสูตรไปใช้ โดยให้ปรับปรงุ ให้เหมาะสมกบั เด็กและสภาพท้องถิน่ โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต ๓ จึงดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยพัฒนา ปรบั ปรงุ หลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับเด็ก สภาพท้องถนิ่ ความตอ้ งการของชุมชน และ สอดคล้องกับสภาพแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อนําไปใช้จัดการศึกษาระดับปฐมวัย ให้เด็กได้รับการพัฒนาให้บรรลุวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามท่ี หลักสูตรกําหนด อาศัยมิตขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน โรงเรยี นบา้ นทบั กมุ ารทองในคราวประชุม ครั้งที่๑ /๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๑๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เห็นชอบให้ประกาศใช้หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง ปีการศึกษา ๒๕๖๓ แทนหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบ้านทับกมุ ารทอง ต้ังแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ (นายเอราวรรณ์ ขตั ติวัง) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทับกุมารทอง

ความนำ สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐- ๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)นำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญสำหรับเด็กในศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีความสำคัญใน การกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี ความสอดคล้องและทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทุกด้าน โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต ๓ มีนโยบายให้มีการพัฒนา การศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเนื่องโดยได้แต่งตั้งคณะทำงาน พิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อปรับปรุง ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว หลักสูตรสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นหลกั สูตรสถานศึกษา ที่สถานศึกษา นำมาใช้เป็นกรอบ และทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน ตามจุดหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี พัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ในอนาคต

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข ประกาศ ค ความนำ ๑ ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย ๑ วสิ ัยทัศน์ ๑ พันธกจิ ๑ เป้าหมาย ๒ จดุ หมาย ๒ มาตรฐานคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๔ ๑๒ มาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตวั บ่งชี้ และสภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๑๒ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑๓ ระยะเวลาเรยี น ๔๕ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๖๓ การจดั ภาพแวดล้อม สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ ๘๑ การประเมินพฒั นาการ ๘๕ การบริหารจัดการหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ๘๘ การเชือ่ มต่อของการศกึ ษาระดับปฐมวัย กบั ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๘๙ ภาคผนวก ๙๑ กำหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ช้ันอนบุ าล๒(4-5ปี) ๙๓ กำหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ ชัน้ อนบุ าล๓(5-6ปี) คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั

ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยโรงเรยี น โรงเรียนบ้านทับกุมารทอง จัดการศึกษาให้เด็กระดับปฐมวัยตั้งแต่อายุ ๔-๕ ปี โดยมุ่งสร้าง พื้นฐานความพร้อมทางพัฒนาการต่าง ๆ ให้ครบทุกด้านบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่ สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ตามศักยภาพภายใต้บริบท ของสงั คม วฒั นธรรมทเ่ี ดก็ อาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทรและความเขา้ ใจของทุกคน เพื่อสร้าง รากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ วสิ ัยทัศน์ ภายในปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นบ้านทบั กุมารทองมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนา ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา อย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง มีทักษะชีวิตสามารถ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข เป็นคนดี มีวินัย อนุรักษ์ความเป็นไทยและมีนิสัยรัก การอ่าน ปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยความ รว่ มมือระหว่าง โรงเรียน บา้ นชุมชน และทกุ หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาเด็ก พนั ธกจิ ๑. มุ่งพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ให้มคี วามพร้อมทางด้านรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา อยา่ งสมดลุ และเต็มศักยภาพ ๒. พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามสามารถดา้ นการจัดประสบการณเ์ พ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ๓. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายและน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดสภาพแวดลอ้ ม ส่ือ เทคโนโลยี ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ๔. สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครอง ชุมชน ในการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั เป้าหมาย ๑.เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านคือ ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา อยา่ งสมดลุ และเต็มศกั ยภาพ ๒. ครแู ละบคุ ลากรทุกคนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการจัดประสบการณเ์ พ่ือพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ๓. ทุกห้องเรียนจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกได้หลากหลาย เหมาะสมกับการ จดั การเรียนรู้และตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. ผ้ปู กครองหรือชมุ ชน ร้อยละ 80 ให้ความรว่ มมือในการสนบั สนนุ และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

จุดม่งุ หมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพและเมื่อมีความ พร้อมในการเรยี นรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพอ่ื ให้เกิดกับเด็กเม่ือเด็กจบการศึกษาระดับปฐมวัย ดังนี้ ๑. มรี า่ งกายเจริญเตบิ โตตามวยั แขง็ แรง และมีสขุ นิสัยที่ดี ๒. มสี ุขภาพจติ ดี มสี ุนทรยี ภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจทด่ี งี าม ๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับ ผอู้ ื่นได้อย่างมีความสขุ ๔. มีทักษะการคิด การใชภ้ าษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย ๑.พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมีสุขนิสยั ที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ ประสาน สัมพนั ธก์ ัน ๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข มาตรฐานท่ี ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานท่ี ๕ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจทดี่ งี าม ๓.พฒั นาการดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏบิ ัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคมใน ระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ๔.พฒั นาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอื่ สารได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานท่ี ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ปน็ พน้ื ฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกบั วัย

เปา้ หมายเชิงปริมาณ มาตรฐานที่ ๑ รอ้ ยละ ๘๐ ของเดก็ ปฐมวัยร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั และมีสุขนิสยั ที่ดี มาตรฐานที่ ๒ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรงใชไ้ ด้ อยา่ ง คล่องแคลว่ และประสานสมั พันธ์กนั มาตรฐานที่ ๓ ร้อยละ ๘๐ ของเดก็ ปฐมวยั มสี ขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ มาตรฐานที่ ๔ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และ การเคลอื่ นไหว มาตรฐานท่ี ๕ ร้อยละ ๘๐ ของเดก็ ปฐมวยั มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจทีด่ งี าม มาตรฐานที่ ๖ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง มาตรฐานที่ ๗ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และ ความเปน็ ไทย มาตรฐานที่ ๘ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติ ตนเป็นสมาชิกที่ ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมขุ มาตรฐานท่ี ๙ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวยั ใช้ภาษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกับวัย มาตรฐานที่ ๑๐ ร้อยละ ๘๐ ของเด็กปฐมวัยมีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานการ เรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๑๑ ร้อยละ๘๐ ของเด็กปฐมวยั มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานท่ี ๑๒ รอ้ ยละ๘๐ ของเด็กปฐมวัยมีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้และมีความสามารถ ในการแสวงหาความร้ไู ดเ้ หมาะสมกับวัย เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ เด็กปฐมวยั มีรา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมีสขุ นิสัยท่ดี ีในระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๒ เด็กปฐมวัยมีกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่าง คล่องแคล่วและประสานสัมพนั ธ์กนั ในระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๓ เด็กปฐมวยั มสี ุขภาพจติ ดแี ละมคี วามสขุ ในระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๔ เด็กปฐมวัยชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหวใน ระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี ๕ เดก็ ปฐมวัยมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจทด่ี ีงามในระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๖ เด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งในระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๗ เด็กปฐมวัยรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทยใน ระดบั คุณภาพ ดี มาตรฐานที่ ๘ เด็กปฐมวัยอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของสงั คมในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขในระดับคุณภาพ ดี

มาตรฐานท่ี ๙ เดก็ ปฐมวยั ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ในระดับคุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี ๑๐ เด็กปฐมวัยมีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ในระดับ คุณภาพ ดี มาตรฐานท่ี ๑๑ เด็กปฐมวยั มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในระดับคณุ ภาพ ดี มาตรฐานที่ ๑๒ เด็กปฐมวัยมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหา ความรู้ได้ เหมาะสมกบั วัยในระดบั คณุ ภาพ ดี มาตรฐานคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ตัวบ่งช้ีและสภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ตวั บง่ ชี้ ตัวบ่งชี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาเด็กทีม่ ีความสัมพนั ธ์สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่ พงึ ประสงค์ สภาพท่พี ึงประสงค์ สภาพที่พึงประสงค์เป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยทีค่ าดหวังให้เด็กเกิด บนพื้นฐาน พัฒนาการตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแตล่ ะระดับอายุเพื่อนำไปใชใ้ นการกำหนดสาระ เรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ กิจกรรมและประเมินพัฒนาการเด็กโดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ตวั บง่ ชี้ และสภาพท่พี ึงประสงคด์ ังนี้ ๑. พฒั นาการด้านร่างกาย มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยเดก็ มสี ขุ นิสยั ทดี่ ี ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑.๑ มีน้ำหนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑.๑.๑ น้ าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรม ๑.๑.๑ น้ าหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรม อนามยั อนามัย ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั สขุ นสิ ยั ทด่ี ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑.๒.๑ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และดื่ม ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ได้หลาย น้ำสะอาดดว้ ยตนเอง ชนดิ และด่ืมน้ำสะอาดได้ดว้ ยตนเอง ๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและ ๑.๒.๒ ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและ หลังจาก ใชห้ อ้ งน้ำห้องส้วมด้วยตนเอง หลังจากใช้หอ้ งน้ำหอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง ๑.๒.๓ นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา ๑.๒.๓ นอนพกั ผอ่ นเปน็ เวลา ๑.๒.๓ ออกกำลงั กายเป็นเวลา ๑.๒.๓ ออกกำลังกายเป็นเวลา

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั ของตนเองและผ้อู ื่น สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วย ๑.๓.๑ เล่นและทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อ่ืน ตนเอง อยา่ งปลอดภยั มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สมั พันธก์ นั ตวั บ่งช้ที ี่ ๒.๑ เคล่อื นไหวร่างกายอยา่ งคล่องแคลว่ ประสานสัมพันธแ์ ละทรงตัวได้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๒.๑.๑ เดนิ ตอ่ เทา้ ไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้โดย ๒.๑.๑ เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเสน้ ตรงได้โดยไม่ ไมต่ ้องกางแขน ตอ้ งกางแขน ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียวอยกู่ บั ท่ไี ดโ้ ดยไม่เสียการ ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้อย่าง ทรงตวั ต่อเนือ่ ง โดยไม่เสียการทรงตวั ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลกี ส่ิงกดี ขวางได้ ๒.๑.๓ วิ่งหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลไดด้ ้วยมือท้งั สองข้าง ๒.๑.๔ รับลูกบอลทีก่ ระดอนขึ้นจากพนื้ ได้ ตัวบง่ ชที้ ่ี ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสานสมั พันธก์ ัน สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเส้นตรง ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเส้นโค้งได้ ได้ ๒.๒.๒ เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุม ๒.๒.๒ เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมี ชัดเจน มุมชดั เจน ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูจนาดเส้นผ่านศูนย์ ๐.๕ ๒.๒.๓ ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ซม.ได้ ๐.๒๕ ซม.ได้

๒.พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมีความสุข ตัวบ่งชี้ท่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณอ์ ยา่ งเหมาะสม สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ตาม ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้องกับ สถานการณ์ สถานการณอ์ ย่างเหมาะสม ตัวบ่งชี้ท่ี ๓.๒ มีความรู้สึกทดี่ ตี ่อตนเองและผอู้ นื่ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๓.๒.๑ กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม บางสถานการณ์ ตามสถานการณ์ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเอง ความสามารถของตนเองและผู้อนื่ มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๑ สนใจและมีความสขุ และแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคล่ือนไหว สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๔.๑.๑ สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่าน ๔.๑.๑สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่าน งานศลิ ปะ งาน ศลิ ปะ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน ๔.๑.๒ สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน เสียงเพลงดนตรี เสยี งเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ ๔.๑.๓ สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ เคล่อื นไหว ประกอบเพลง จงั หวะและดนตรี เคล่อื นไหว ประกอบเพลง จงั หวะและดนตรี มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจท่ดี ีงาม ตัวบ่งชท้ี ี่ ๕.๑ ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการ ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการ ส่ิงของของผูอ้ ่นื เมื่อมีผูช้ แี้ นะ สิ่งของของผู้อ่นื ดว้ ยตนเอง

ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลอื แบง่ ปัน สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์ ๕.๒.๑ แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตาสัตว์ เลี้ยง เล้ียง ๕.๒.๒ ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้เมื่อมีผู้ ๕.๒.๒ ช่วยเหลอื และแบ่งปันผู้อน่ื ได้ดว้ ยตนเอง ชแ้ี นะ ตัวบง่ ชี้ที่ ๕.๓ มีความเหน็ อกเห็นใจผู้อ่นื สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึก ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึก ผู้อื่น ผูอ้ ่ืน อย่างสอดคลอ้ งกบสถานการณ์ ตวั บง่ ชี้ที่ ๕.๔ มคี วามรบั ผิดชอบ สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๕.๔.๑ ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมี ๕.๔.๑ ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จด้วย ผ้ชู ี้แนะ ตนเอง ๓. พัฒนาการดา้ นสังคม มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชวี ิตและปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตวั บง่ ชี้ที่ ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวนั สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๖.๑.๑ แตง่ ตัวด้วยตนเอง ๖.๑.๑ แตง่ ตัวด้วยตนเองได้อย่างคลอ่ งแคล่ว ๖.๑.๒ รบั ประทานอาหารด้วยตนเอง ๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถกู วิธี ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งน้ำหอ้ งส้วมด้วยตนเอง ๖.๑.๓ ใช้และทำความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำ ห้องสว้ ม ดว้ ยตนเอง

ตัวบ่งชที้ ี่ ๖.๒ มีวินยั ในตนอง สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๖.๒.๑ เก็บของเลน่ ของใช้เขา้ ท่ดี ว้ ยตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อย ด้วยตนเอง ๖.๒.๒ เขา้ แถวตามลำดับก่อนหลงั ไดด้ ้วยตนเอง ๖.๒.๒ เขา้ แถวตามลำดับกอ่ นหลังได้ด้วยตนเอง ตวั บง่ ชที้ ี่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพยี ง สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและ ๖.๓.๑ ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและ พอเพยี งเมื่อมีผู้ชี้แนะ พอเพยี งดว้ ยตนเอง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย ตัวบง่ ช้ที ี่ ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๗.๑.๑ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติ ๗.๑.๑ มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มเม่ือมผี ชู้ แี้ นะ และสงิ่ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง ๗.๑.๒ ทงิ้ ขยะไดถ้ ูกท่ี ๗.๑.๒ ทงิ้ ขยะได้ถกู ท่ี ตัวบง่ ช้ีที่ ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็นไทย สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๗.๒.๑ ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยได้ดว้ ยตนเอง ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้ตาม กาลเทศะ ๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคุณและขอโทษด้วยตนเอง ๗.๒.๒ กลา่ วคำขอบคณุ และขอโทษดว้ ยตนเอง ๗.๒.๓ หยุดเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลง ๗.๒.๓ ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและ สรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี

มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข ตัวบง่ ช้ีที่ ๘.๑ ยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๘.๑.๑ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเด็กที่ ๘.๑.๑ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่ แตกต่างไปจากตน แตกต่างไปจากตน ตวั บง่ ชี้ที่ ๘.๒ มีปฏิสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั ผู้อน่ื สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๘.๒.๑ เลน่ หรือทำงานร่วมกับเพอ่ื นเปน็ กลุ่ม ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมี เป้าหมาย ๘.๒.๒ ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ ๘.๒.๒ ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ บุคคลที่คนุ้ เคยไดด้ ว้ ยตนเอง บุคคลท่ีคุ้นเคยไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ตัวบง่ ช้ีท่ี ๘.๓ ปฏิบัติตนเบอ้ื งต้นในการเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๘.๓.๑ มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตาม ๘.๓.๑ มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตาม ขอ้ ตกลงเมอื่ มีผชู้ ้แี นะ ข้อตกลงด้วย ตนเอง ๘.๓.๒ ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้ด้วย ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผนู้ ำและผู้ตามไดเ้ หมาะสม ตนเอง กับสถานการณ์ ๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปั ญหาโดย ๘.๓.๓ ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโ ดย ปราศจากการ ใช้ความรุนแรงเมือ่ มผี ้ชู แ้ี นะ ปราศจากการใช้ความรุนแรงดว้ ยตนเอง ๔. พฒั นาการดา้ นสติปัญญา มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกับวยั ตวั บง่ ช้ีที่ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอื่ งใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ สอดคล้องกบั เรอื่ งทีฟ่ ัง อย่างต่อเน่ืองเชือ่ มโยงกับเรอื่ งท่ฟี ัง ๙.๑.๒ เล่าเรื่องเป็นประโยคอย่างตอ่ เนือ่ ง ๙.๑.๒ เลา่ เป็นเร่ืองราวต่อเน่อื งได้

ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙.๒ อ่าน เขยี นภาพ และสัญลักษณไ์ ด้ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมทั้งชี้หรือ ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้ หรือ กวาดตา มองขอ้ ความตามบรรทัด กวาดตามองจุดเร่มิ ตน้ และจดุ จบของข้อความ ๙.๒.๒ เขียนคล้ายตัวอกั ษร ๙.๒.๒ เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียน ขอ้ ความด้วยวธิ ที ี่คิดข้ึนเอง มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่ีเป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้ ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะและส่วนประกอบของ ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ ส่วนประกอบการ สิ่งของต่างๆ จากการสังเกตโดยใช้ประสาท เปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธ์ของสิ่งของต่างๆ สัมผสั จากการสังเกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผัส ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่าง ๑๐.๑.๒ จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่าง หรือความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ หรือความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะท่ี สงั เกตพบเพียงลักษณะเดยี ว สังเกตพบสองลกั ษณะข้ึนไป ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ อย่างน้อยหนงึ่ ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ ต้ังแตส่ องลักษณะขนึ้ ไปเป็นเกณฑ์ ๑๐.๑.๔ เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่าง ๑๐.๑.๔ เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่าง นอ้ ย ๔ ลำดบั น้อย ๕ ลำดบั ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้นใน ๑๐.๒.๑ อธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตุและผลท่ีเกิดข้ึน เหตุการณ์หรอื การกระทำเมื่อมผี ู้ชแ้ี นะ ในเหตุการณห์ รือการกระทำดว้ ยตนเอง ๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะ ๑๐.๒.๒ คาดคะเนส่ิงที่อาจจะเกิดข้ึนและมีส่วน เกิดขึ้นหรือมีส่วนร่วมในการลงความเห็นจาก ร่วมในการลงความเห็นจากขอ้ มลู อย่างมเี หตุผล ข้อมูล

ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตดั สินใจ สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๐.๓.๑ ตดั สินใจในเรือ่ งงา่ ยๆและเริ่มเรียนรู้ผล ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและยอมรับผลที่ ท่ีเกิดขนึ้ เกดิ ขนึ้ ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหาและแก้ปัญหาโดยลองผิด ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวิธี ลองถูก แกป้ ัญหา มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ตัวบ่งชีท้ ่ี ๑๑.๑ ทำงานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ๑๑.๑.๑ สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงและ ความรู้สึกของตนเองโดยมีการดัดแปลงและ แปลกใหม่จากเดิมหรอื มรี ายละเอียดเพ่มิ ขึ้น แปลกใหม่จากเดมิ และมรี ายละเอียดเพม่ิ ขึน้ ตัวบง่ ชี้ที่ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคล่อื นไหวตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ๑๑.๒.๑ เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายหรือ ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและ แปลกใหม่ แปลกใหม มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสม กบั วยั ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรียนรู้ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๒.๑.๑ สนใจซักถามเกี่ยวกับสัญลักษณ์หรือ ๑๒.๑.๑ หยิบหนังสือมาอ่านและเขียนส่ือ ตัวหนังสือทพ่ี บเห็น ความคดิ ด้วยตนเองเปน็ ประจำอย่างตอ่ เน่ือง ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน้ ในการเข้ารว่ มกิจกรรม ๑๒.๑.๒ กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ ต้นจนจบ

ตัวบ่งชที้ ่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตาม ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตาม วิธกี ารของตนเอง วธิ ีการที่หลากหลายด้วยตนเอง ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคคำถามว่า “ทไี่ หน” “ทำไม” ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยคคำถามว่า “เมื่อไร” ในการคน้ หาคำตอบ อยา่ งไร” ในการคน้ หาคำตอบ โครงสร้างหลกั สูตร เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายที่กำหนดสถานศึกษาควรกำหนด โครงสร้างดงั นี้ โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖0 ประสบการณ์สำคญั สาระการเรียนรู้ - ด้านร่างกาย - เรื่องราวเกยี่ วกบั ตัวเดก็ ชว่ งอายุ 4 – 6 ปี - ด้านอารมณ์ จติ ใจ - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและ สถานท่แี วดล้อมเด็ก - ด้านสงั คม - ธรรมชาติรอบตัว - ด้านสติปญั ญา - สิ่งตา่ งๆรอบตัวเดก็ ระยะเวลาเรียน หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยกำหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณใ์ ห้กบั เด็ก ๑-๓ ปีการศึกษาโดยประมาณทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็ก ปฐมวัย เวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยขึ้นอยู่กับสถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วันต่อ ๑ ปีการศึกษา ในแต่ละวันจะใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕ ชั่วโมง โดยสามารถปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาและสถาบันพัฒนาเดก็ ปฐมวยั อายุ ช่วงอายุ 4-6 ปี ระยะเวลา โครงสร้างในการจัดประสบการณ์ 1-2 ปีการศึกษาโดยมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วนั ต่อ ๑ ปกี ารศกึ ษา แบง่ เป็น 2 ภาคเรียนต่อ 1 ปกี ารศึกษา ในแต่ละวนั จะใชเ้ วลาไมน่ ้อยกว่า ๕ ชัว่ โมง

สาระการเรยี นรรู้ ายปี สาระการเรียนรู้ใช้เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทุกด้านให้เป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรที่กำหนดประกอบด้วย ประสบการณ์สำคัญ และสาระท่ีควรเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ประสบการณส์ ำคญั ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เดก็ ปฐมวยั เรียนรู้ ลงมือปฏบิ ตั ิและไดร้ บั การส่งเสริมพัฒนาการครอบคลุมทุกดา้ น ดงั น้ี ๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มี โอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็กและการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อและ ระบบประสาทในการทำกิจวัตรประจำวันหรือทำกิจกรรมต่างๆและสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแล สขุ ภาพและสุขอนามัยและการรกั ษาความปลอดภัย ดังนี้ ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ ๑.๑.๑.๑ การเคล่อื นไหวอยกู่ ับที่ ๑.๑.๑.๒ การเคลื่อนไหวเคลือ่ นท่ี ๑.๑.๑.๓ การเคลื่อนไหวพร้อมวสั ดุอุปกรณ์ ๑.๑.๑.๔ การเคลอื่ นไหวที่ใช้การประสานสัมพนั ธข์ องการใช้กล้ามเน้ือมัดใหญ่ใน การขว้าง การจับ การโยน การเตะ ๑.๑.๑.๕ การเล่นเครื่องเล่นสนามอยา่ งอสิ ระ ๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเน้อื เลก็ ๑.๑.๒.๑ การเลน่ เครือ่ งเล่นสัมผสั และการสรา้ งจากแท่งไม้บล็อก ๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเล่นกับสี ๑.๑.๒.๓ การป้นั ๑.๑.๒.๔ การประดิษฐ์สิง่ ตา่ งๆด้วย เศษวัสดุ ๑.๑.๒.๕ การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉีก การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ ๑.๑.๓ การรักษาสขุ ภาพอนามยั สว่ นตัว ๑.๑.๓.๑ การปฏิบัตติ นตามสุขอนามยั สุขนิสยั ทด่ี ใี นกจิ วตั รประจำวนั ๑.๑.๔ การรักษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๑ การปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภยั ในกิจวตั รประจำวนั ๑.๑.๔.๒ การฟังนิทาน เรื่องราว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการป้องกนั และรกั ษาความ ปลอดภัย ๑.๑.๔.๓ การเลน่ เคร่อื งเล่นอย่างปลอดภัย ๑.๑.๔.๔ การเลน่ บทบาทสมมตเิ หตุการณต์ า่ งๆ

๑.๑.๕ การตระหนักรเู้ กี่ยวกับร่างกายตนเอง ๑.๑.๕.๑ การเคลื่อนไหวเพือ่ ควบคมุ ตนเองไปในทศิ ทางระดับและพ้ืนที่ ๑.๑.๕.๒ การเคลือ่ นไหวข้ามสิง่ กีดขวาง ๑.๒ ประสบการณส์ ำคัญทสี่ ง่ เสริมพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจเป็นการสนับสนุนให้เด็กได้ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลักษณะพิเศษเฉพาะที่ เป็นอัตลักษณ์ ความเป็นตัวของตัวเอง มีความสุขร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม สุนทรียภาพ ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง และความเชื่อมั่นในตนเองขณะปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ ดงั นี้ ๑.๒.๑ สนุ ทรียภาพดนตรี ๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ าโตต้ อบเสียงดนตรี ๑.๒.๑.๒ การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑.๓ การเลน่ บทบาทสมมติ ๑.๒.๑.๔ การทำกิจกรรมศิลปะตา่ งๆ ๑.๒.๑.๕ การสรา้ งสรรคส์ ิ่งสวยงาม ๑.๒.๒ การเล่น ๑.๒.๒.๑ การเล่นอสิ ระ ๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบคุ คล กล่มุ ย่อย กล่มุ ใหญ่ ๑.๒.๒.๓ การเล่นตามมมุ ประสบการณ์ ๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกห้องเรียน ๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๓.๑ การปฏบิ ตั ิตนตามหลักศาสนาที่นบั ถือ ๑.๒.๓.๒ การฟงั นิทานเกี่ยวกบั คุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเชิงจรยิ ธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๒.๔.๑ การสะทอ้ นความรสู้ กึ ของตนเองและผอู้ ื่น ๑.๒.๔.๒ การเลน่ บทบาทสมมติ ๑.๒.๔.๓ การเคลอื่ นไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี ๑.๒.๔.๔ การร้องเพลง ๑.๒.๔.๕ การทำงานศิลปะ ๑.๒.๕ การมีอัตลกั ษณเ์ ฉพาะตนและเชอ่ื ว่าตนเองมคี วามสามารถ ๑.๒.๕.๑ การปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆตามความสามารถของตนเอง ๑.๒.๖ การเหน็ อกเห็นใจผอู้ ืน่ ๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดเี มือ่ ผอู้ ่นื มคี วามสุข เห็นอกเห็นใจเมอ่ื ผอู้ น่ื เศร้าหรือ เสยี ใจและการชว่ ยเหลือปลอบโยนเม่ือผูอ้ ื่นได้รับบาดเจ็บ

๑.๓ ประสบการณส์ ำคญั ท่ีส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสังคมเป็นการสนบั สนุนให้เด็กได้มีโอกาส ปฏสิ ัมพันธ์กบั บุคลและสิ่งแวดล้อมตา่ งๆรอบตวั จากการปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆผ่านการเรียนรู้ทางสังคม เชน่ การเล่น การทำงานกับผอู้ นื่ การปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจำวนั การแก้ปญั หาข้อขัดแยง้ ตา่ งๆ ๑.๓.๑ การปฏิบตั กิ จิ วัตรประจำวัน ๑.๓.๑.๑ การช่วยเหลือตนเองในกจิ วัตรประจำวนั ๑.๓.๑.๒ การปฏิบตั ติ นตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑.๓.๒ การดแู ลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ๑.๓.๒.๑ การมีส่วนร่วมรบั ผดิ ชอบดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก หอ้ งเรียน ๑.๓.๒.๒ การทำงานศิลปะที่ใช้วัสดุหรือสิ่งของที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำหรือแปรรูปแลว้ นำกลับมาใช้ใหม่ ๑.๓.๒.๓ การเพาะปลูกและดูแลตน้ ไม้ ๑.๓.๒.๔ การเลี้ยงสตั ว์ ๑.๓.๒.๕ การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ชวี ิตประจำวนั ๑.๓.๓ การปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมท้องถน่ิ ที่อาศัยและความเป็นไทย ๑.๓.๓.๑ การเลน่ บทบาทสมมุติการปฏบิ ตั ติ นในความเปน็ คนไทย ๑.๓.๓.๒ การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ทอี่ าศัยและประเพณีไทย ๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย ๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานที่ ๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พื้นบา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ มวี ินยั มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสงั คม ๑.๓.๔.๑ การร่วมกำหนดข้อตกลงของหอ้ งเรียน ๑.๓.๔.๒ การปฏิบัตติ นเป็นสมาชทิ ่ดี ขี องห้องเรียน ๑.๓.๔.๓ การให้ความรว่ มมอื ในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ ๑.๓.๔.๔ การดูแลหอ้ งเรยี นร่วมกนั ๑.๓.๔.๕ การร่วมกจิ กรรมวนั สำคัญ ๑.๓.๕ การเล่นแบบรว่ มมือร่วมใจ ๑.๓.๕.๑ การรว่ มสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ๑.๓.๕.๒ การเล่นและท างานรว่ มกับผอู้ ืน่ ๑.๓.๕.๓ การทำศลิ ปะแบบรว่ มมอื ๑.๓.๖ การแกป้ ญั หาความขดั แย้ง ๑.๓.๖.๑ การมีส่วนร่วมในการเลอื กวธิ ีการแก้ปญั หา ๑.๓.๖.๒ การมสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หาความขดั แย้ง ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ๑.๓.๗.๑ การเล่นหรอื ทำกิจกรรมร่วมกบั กลมุ่ เพอื่ น

๑.๔ ประสบการณ์สำคัญทส่ี ง่ เสริมพัฒนาการดา้ นสติปัญญาเปน็ การสนบั สนุนใหเ้ ด็กได้รับรู้ เรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ด้วยกระบวนการ เรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่ง ต่างๆ รอบตัวและมีความคิดรวบ ยอดทางคณิตศาสตรท์ ีเ่ ปน็ พ้นื ฐานของการเรยี นรู้ในระดับทส่ี ูงขน้ึ ต่อไป ๑.๔.๑ การใชภ้ าษา ๑.๔.๑.๑ การฟงั เสียงตา่ งๆ ในสิ่งแวดล้อม ๑.๔.๑.๒ การฟงั และปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำ ๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นทิ าน คำคลอ้ งจอง บทรอ้ ยกรงหรอื เรอื่ งราวตา่ งๆ ๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความร้สู กึ และความต้องการ ๑.๔.๑.๕ การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือพูดเล่าเรื่องราว เกยี่ วกบั ตนเอง ๑.๔.๑.๖ การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่ง ตา่ งๆ ๑.๔.๑.๗ การพูดอยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นการเลน่ และการกระทำตา่ งๆ ๑.๔.๑.๘ การรอจงั หวะทีเ่ หมาะสมในการพดู ๑.๔.๑.๙ การพูดเรยี งลำดับเพอ่ื ใชใ้ นการสื่อสาร ๑.๔.๑.๑๐ การอ่านหนังสอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รปู แบบ ๑.๔.๑.๑๑ การอ่านอิสระตามลำพงั การอ่านรว่ มกนั การอา่ นโดยมผี ชู้ แ้ี นะ ๑.๔.๑.๑๒ การเหน็ แบบอยา่ งของการอ่านท่ีถูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๑๓ การสังเกตทิศทางการอ่านตวั อักษร คำ และขอ้ ความ ๑.๔.๑.๑๔ การอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง ๑.๔.๑.๑๕ การสงั เกตตวั อกั ษรในช่อื ของตน หรือคำคุน้ เคย ๑.๔.๑.๑๖ การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่านการอ่านหรือเขียนของ ผใู้ หญ่ ๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ที่มีโครงสร้างซ้ำๆกัน จากนิทาน เพลง คำคล้องจอง ๑.๔.๑.๑๘ การเล่นเกมทางภาษา ๑.๔.๑.๑๙ การเหน็ แบบอย่างของการเขียนที่ถูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๒๐ การเขยี นรว่ มกนั ตามโอกาสและการเขยี นอิสระ ๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคำท่ีมีความหมายกบั ตวั เดก็ /คำค้นุ เคย ๑.๔.๑.๒๒ การคดิ สะกดคและเขียนเพื่อสื่อความหมายด้วยตนเองอย่างอิสระ ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตุผล การตัดสินใจและแกป้ ัญหา ๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ ของสงิ่ ต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผสั อยา่ งเหมาะสม

๑.๔.๒.๒ การสงั เกตสิ่งต่างๆ และสถานท่จี ากมุมมองทีต่ ่างกัน ๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตำแหน่ง ทศิ ทางและระยะทางของส่ิงตา่ งๆด้วยการ กระทำ ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ ๑.๔.๒.๔ การเล่นกับสื่อต่างๆที่เป็นทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ รปู รา่ ง รูปทรง ๑.๔.๒.๖ การตอ่ ของชน้ิ เลก็ เตมิ ในชิ้นใหญใ่ หส้ มบูรณ์และการแยกช้ินสว่ น ๑.๔.๒.๗ การทำซ้ำ การตอ่ เตมิ และการสร้างแบบรูป ๑.๔.๒.๘ การนับและแสดงจำนวนของสงิ่ ตา่ งๆในชวี ติ ประจำวัน ๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทยี บและเรียงลำดบั จำนวนของสิ่งตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสงิ่ ต่างๆ ๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอนั ดบั ท่ีของสงิ่ ตา่ งๆ ๑.๔.๒.๑๒ การชั่ง ตวง วัดสิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไม่ใช่หน่วย มาตรฐาน ๑.๔.๒.๑๓ การจับคู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลำดับสิ่งต่างๆ ตามลักษณะ ความยาว/ความสงู น้ำหนกั ปริมาตร ๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรยี งลำดบั กิจกรรมหรือเหตูการณต์ ามชว่ งเวลา ๑.๔.๒.๑๕ การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตุการณ์ในชวี ิตประจำวัน ๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ กระทำ ๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสง่ิ ทอี่ าจเกิดข้ึนอย่างมีเหตุผล ๑.๔.๒.๑๘ การมสี ่วนร่วมในการลงความเห็นจากข้อมลู อยา่ งมเี หตุผล ๑.๔.๒.๑๙ การตดั สนิ ใจและมสี ว่ นร่วมในกระบวนการแกป้ ญั หา ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๑.๔.๓.๑ การรบั ร้แู ละแสดงความคดิ ความรู้สกึ ผา่ นสอื่ วสั ดุ ของเล่นและชิ้นงาน ๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหวและ ศิลปะ ๑.๔.๓.๓ การสรา้ งสรรคช์ ้นิ งานโดยใชร้ ูปร่างรปู ทรงจากวัสดทุ ่หี ลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคติท่ีดีตอ่ การเรียนรู้และการแสวงหาความรู้ ๑.๔.๔.๑ การสำรวจส่งิ ต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตวั ๑.๔.๔.๒ การตง้ั คำถามในเรื่องท่สี นใจ ๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรู้เพื่อคน้ หาคำตอบของขอ้ สงสยั ต่างๆ ๑.๔.๔.๔ การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจากการ สบื เสาะหาความรู้ในรูปแบบ ต่างๆและแผนภูมอิ ย่างงา่ ย

๒. สาระท่ีควรเรียนรู้ สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเรื่องราวรอบตัวเด็กที่นำมาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิด แนวคิดหลงั จากนำสาระการเรียนรู้น้ัน ๆ มาจดั ประสบการณใ์ ห้เด็ก เพอ่ื ให้บรรลุจดั หมายท่ีกำหนดไว้ ทัง้ น้ี ไมเ่ นน้ การท่องจำเน้อื หา ครูสามารถกำหนดรายละเอียดขึน้ เองให้สอดคล้องกับวัย ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์สำคัญ ทั้งนี้ อาจยืดหยุ่นเนื้อหาได้โดย คำนึงถงึ ประสบการณ์และสง่ิ แวดลอ้ มในชีวติ จริงของเด็ก ดังนี้ ๒.๑ เรื่องราวเกีย่ วกับตัวเดก็ เด็กควรรู้จักช่ือ นามสกุล รูปร่างหนา้ ตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธี ระวังรักษา ร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การ ระมดั ระวังความปลอดภยั ของ ตนเองจากผ้อู น่ื และภยั ใกลต้ ัว รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ่อผู้อ่นื อย่างปลอดภัย การรู้จักความเป็นมาของตนเองและ ครอบครัว การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและ โรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น การรู้จักแสดง ความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น การกำกับตนเอง การเล่นและทำสิ่งต่างๆด้วยตนเองตามลำพังหรือกับผู้อื่น การตระหนักรู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึก ของตนเองและผู้อื่น การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทที่ดี การมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัว สถานศกึ ษา ชุมชน และบุคคลต่างๆ ท่เี ดก็ ตอ้ งเกย่ี วข้องหรือใกล้ชดิ และมีปฏสิ ัมพันธใ์ นชีวิตประจำวัน สถานที่สำคัญ วันสำคัญ อาชีพของ คนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญ ของชาติไทยและการปฏิบัตติ ามวัฒนธรรมท้องถิ่น และความเปน็ ไทย หรือแหล่งเรยี นรู้จากภูมิปัญญา ท้องถน่ิ อนื่ ๆ ๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัย ธรรมชาติ แรง และพลังงานใน ชีวิตประจำวันที่แวดลอ้ มเด็ก รวมทั้งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการ รกั ษาสาธารณสมบตั ิ ๒.๔ สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายใน ชีวิตประจำวัน ความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้ าหนัก จำนวน ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ ของสิ่งต่างๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวันอยา่ ง ประหยัด ปลอดภัยและ รักษาส่ิงแวดล้อม

คำอธิบายการวเิ คราะห์สาระการเรยี นร้รู ายปี พฒั นาการ มาตรฐาน ตวั บ่งข้ี สภาพทพี่ งึ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ประสงค์ ประสบการณ์ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ สำคญั ระบุ พฒั นาการ ระบมุ าตรฐาน ระบุตัวบง่ ช้ีที่ เปน็ ระบุสภาพทีพ่ ึง กำหนด กำหนดสาระทค่ี วร ว่า เป็นดา้ น คุณลักษณะที่ ตัวช้วี ัด ตาม ประสงค์ ซึง่ เปน็ ประสบการณท์ ่ี เรียนรซู้ ง่ึ เป็น รา่ งกายหรือ พงึ ประสงค์ให้ มาตรฐาน พฤตกิ รรม หรือ สำคญั ท่ีคาดวา่ จะ เสมือนท่นุ หรือ ดา้ นอารมณ์ สอดคล้องกบั คณุ ลักษณะที่ พึง ความสามารถท่ี เป็นแนว ทางการ สอื่ กลางในการจดั จติ ใจหรอื ดา้ น พฒั นาการดา้ น ประสงคโ์ ดย คาดหวงั ในแต่ ละ จดั กจิ กรรมให้เด็ก ประสบการณ์ให้ สังคม หรอื ด้าน ร่างกาย ดา้ น นำมาจาก ช่วงวยั โดยนำมา เกดิ พฤตกิ รรม เดก็ มี พฤติกรรม สตปิ ัญญา อารมณ์ จติ ใจ หลกั สตู ร จากหลกั สตู ร หรอื มี และ ด้านสงั คมหรือ การศึกษา ปฐมวยั การศกึ ษาปฐมวัย ความสามารถ ความสามารถตาม ดา้ นสตปิ ัญญา พุทธศกั ราช พุทธศักราช ตามสภาพท่พี ึง สภาพ ท่พี ึง โดยนำมาจาก ๒๕๖๐ ทงั้ น้ี ๒๕๖๐ ทัง้ น้ี ประสงค์ ตวั บ่งชี้ ประสงค์ ตวั บ่งชี้ หลกั สตู ร สถานศกึ ษา สถานศึกษา และมาตรฐานที่ และมาตรฐาน โดย การศกึ ษา สามารถ กำหนด สามารถ กำหนด สถานศกึ ษา นำมาจากสาระที่ ปฐมวยั ตัวบง่ ชี้ เพิ่มเติมได้ ตัวบง่ ช้ี เพ่ิมเตมิ ได้ กำหนดโดยเลอื ก ควรเรียนรู้ทัง้ ๔ พุทธศักราช ตามอตั ลกั ษณ์ ตามอตั ลกั ษณ์ จากประสบการณ์ เร่ืองที่ กำหนดไว้ ๒๕๖๐ หรือเอกลกั ษณ์ หรือเอกลักษณ์ สำคัญทร่ี ะบุไว้ใน ในหลกั สตู ร ของ สถานศึกษา ของสถานศกึ ษา หลกั สตู ร การศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษา ปฐมวยั พทุ ธศกั ราช พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และ ๒๕๖๐ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ และสภาพที่พึง ประสงคท์ ง้ั นี้ สถานศกึ ษา สามารถ เพิ่มเตมิ สาระที่ควร เรียนรู้ ไดใ้ หส้ อดคล้องกับ ความสนใจความ ต้องการ ตามอตั ลกั ษณ์ เอกลักษณ์ และภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถ่ินโดย คำนงึ ถึงความ เหมาะสม ตามวยั ของเด็ก ข้อสังเกตุ เนื่องจากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กำหนดจุดหมายไว้แล้ว สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยต้องใช้ตาม แต่สามารถเพิ่มตัวบ่งชี้และสภาพที่พึงประสงค์ จากที่หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กำหนด

การวิเคราะหส์ าระ ๑. พฒั นาการ มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเติมโตตามวยั และมีสขุ นสิ ยั ท่ีดี ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ช้ันอนุบาล 2(4-5ป)ี ชนั้ อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๑.๑ น้ำหนัก ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และส่วนสูงตาม ๑.๑.๑ น้ำหนกั และส่วนสงู ตาม - การปฏบิ ัตติ สขุ อนามัย สุข และส่วนสูง เกณฑ์ของกรมอนามยั เกณฑข์ องกรมอนามัย กิจวัตรประจำ ตามเกณฑ์ ๑.๒ มสี ขุ ภาพ ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารที่มี ๑.๒.๑.รับประทานอาหารที่มี - การปฏิบัตติ อนามัยและ ประโยชน์และดม่ื น้ำสะอาดด้วย ประโยชนไ์ ดห้ ลายชนิดและดม่ื สขุ อนามัย สุข สขุ นสิ ัยทด่ี ี ตนเอง น้ำสะอาดไดด้ ว้ ยตนเอง กจิ วัตรประจำ ๑.๒.๒ ลา้ งมือกอ่ นรับประทาน ๑.๒.๒ ลา้ งมอื กอ่ นรับประทาน - การปฏบิ ัตติ อาหารและหลังจากใช้หอ้ งนำ้ อาหารและหลงั จากใช้หอ้ งนำ้ ในกิจวัตรประ ห้องสว้ มด้วยตนเอง ห้องสว้ มด้วยตนเอง - การเลน่ อสิ ร ๑.๒.๓ นอนพักผ่อนเป็นเวลา ๑.๒.๓ นอนพักผอ่ นเป็นเวลา - การเล่นตาม ๑.๒.๔ ออกกำลังกายเป็นเวลา ๑.๒.๔ ออกกำลังกายเปน็ เวลา ประสบการณ

ะการเรียนร้รู ายปี รด้านร่างกาย สาระการเรียนรรู้ ายปี ช่ือหน่วย การณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ อนบุ าล 2 หน่วย ปฐมนเิ ทศ ตนตาม -การรับประทานอาหารท่เี ปน็ หน่วย อาหารดมี ีประโยชน์ หน่วย ร่างกายของหนู ขนสิ ยั ทด่ี ใี น ประโยชน์ หนว่ ย ตัวเรา อนุบาล ๓ ำวัน หนว่ ย วัยทเี่ ปลย่ี นแปลง หน่วย อาหารดมี ปี ระโยชน์ ตนตาม - การรับประทานอาหารที่เป็น หน่วย เรียนรู้ร่างกาย ขนสิ ัยทด่ี ีใน ประโยชน์ อนุบาล 2 ำวัน - การรกั ษารา่ งกายใหส้ ะอาด หน่วย ปฐมนิเทศ ตนให้ปลอดภัย และ มสี ขุ ภาพอนามยั ทดี่ ี หนว่ ย ร่างกายของหนู ะจำวัน - อาหารหลัก ๕ หมู่ หน่วย ตัวเรา ระ - มารยาทในการรับประทาน หน่วย อาหารดมี ปี ระโยชน์ มมุม อาหาร หน่วย ผักสดสะอาด ณ์ - ประโยชนข์ องการนอนหลบั หน่วย ข้าวแสนวเิ ศษ พกั ผ่อน หน่วย ผลไม้ดมี ีประโยชน์ - ประโยชนข์ องการออกกำลงั อนบุ าล ๓ กาย หนว่ ย วัยที่เปลีย่ นแปลง หนว่ ย อาหารดมี ีประโยชน์ หนว่ ย เรยี นรรู้ า่ งกาย

มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติมโตตามวัยและมีสขุ นสิ ัยทีด่ ี ตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2 (4-5ป)ี ชั้นอนบุ าล 3 (5-6ป)ี ประสบก ๑.๓ รักษา ๑.๓.๑ เลน่ และทำกจิ กรรมอยา่ ง ๑.๓.๑ เล่นและทำกจิ กรรมและ - การเล่นเคร ปลอดภัย ความ ปลอดภยั ด้วยตนเอง ปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ น่ื อยา่ งปลอดภยั - การปฏิบตั ิต ในกจิ วตั ร ปร ปลอดภยั ของ ตนเองและ ผูอ้ ่นื

สาระการเรียนรรู้ ายปี ชื่อหน่วย การณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ อนบุ าล 2 หนว่ ย ปลอดภยั ไวก้ ่อน ร่อื งเล่น อย่าง - การระมดั ระวังความ ปลอดภัย หน่วย ของเล่นของใช้ อนบุ าล 3 ของตนเองจากผอู้ ื่นและภัยใกล้ หนว่ ย หนทู ำได้ หนว่ ย ของเลน่ ของใช้ ตนให้ปลอดภัย ตัว หนว่ ย ปลอดภยั ไวก้ ่อน หนว่ ย เครอื่ งมือ เครอ่ื งใช้ ระจำวนั - การปฏบิ ตั ิต่อผู้อน่ื อยา่ ง ปลอดภัย -การเลือกใชส้ ่งิ ของเครอื่ งใช้ อย่างปลอดภยั

มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนอื้ ใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเล็กแขง็ แรงใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วและป ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้นั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๒.๑ ๒.๑.๑ เดินต่อเทา้ ไปขา้ งหน้า ๒.๑.๑ เดนิ ต่อเทา้ ถอยหลังเปน็ - การเคลือ่ นไ เคล่อื นไหว เป็นเสน้ ตรง ไดโ้ ดยไมต่ ้องกาง เสน้ ตรงได้ โดยไมต่ ้องกางเกง - การเคล่อื นไ ร่างกายอยา่ ง แขน ๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี ว ไป -การเคล่ือนไห คล่องแคลว่ ๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี วอยู่กบั ที่ ขา้ งหน้าได้ อยา่ งตอ่ เน่ืองโดยไม่ อุปกรณ์ ประสาน ไดโ้ ดยไม่ เสยี การทรงตัว เสียการทรงตัว -การเคลือ่ นไห สมั พันธแ์ ละ ๒.๑.๓ วงิ่ หลบหลกี ส่ิงกดี ขวาง ๒.๑.๓ วง่ิ หลบหลีกส่งิ กดี ขวาง สมั พันธ์ของก ทรงตัวได้ ได้ ได้อย่าง คล่องแคล่ว มดั ใหญ่ในกา ๒.๑.๔ รับลกู บอลไดด้ ว้ ยมือทั้ง ๒.๑.๔ รับลูกบอลท่กี ระดอนขนึ้ การ โยน การ สองขา้ ง จากพนื้ ฃได้ -การเคลอื่ นไห ขวาง -การเคลือ่ นไห

ประสานสัมพนั ธ์กนั สาระการเรยี นรูร้ ายปี ช่อื หนว่ ย การณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ อนุบาล ๒ หน่วย ร่างกายของหนู ไหวอยู่กบั ท่ี - การเล่นและกระท าส่ิงตา่ ง ๆ หน่วย ตัวเรา หนว่ ย ประสาทสมั ผสั ท้งั ห้า ไหว เคลอ่ื นท่ี ดว้ ย ตนเองตามล าพงั หรอื กับ หนว่ ย ของเลน่ ของใช้ อนบุ าล ๓ หวพรอ้ มวสั ดุ ผอู้ ่นื หนว่ ย วัยทีเ่ ปลยี่ นแปลง หนว่ ย หนทู ำได้ หวทใี่ ช้ประสาน หนว่ ย ประสาทสมั ผัส การใชก้ ล้ามเน้ือ หน่วย ของเล่นของใช้ ารขว้าง การจบั รเตะ หวขา้ มสง่ิ กีด หวเพอื่ ควบคมุ

มาตรฐานท่ี ๒ กล้ามเน้ือใหญ่และกลา้ มเนอ้ื เล็กแขง็ แรงใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และป ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ชนั้ อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชนั้ อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๒.๒ ใช้มือ - ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตดั กระดาษ ๒.๒.๑ ใชก้ รรไกรตดั กระดาษ - การเขียนภา ตา ประสาน ตามแนวเส้นตรงได้ ตามแนวเส้น โค้งได้ กับสี สัมพนั ธก์ ัน ๒.๒.๒. เขยี นรปู สเ่ี หลยี่ มตาม ๒.๒.๒.เขยี นรูปสามเหลย่ี มตาม - การหยบิ จับ แบบไดอ้ ย่างมมี มุ ชัดเจน แบบได้ อย่างมีมมุ ชัดเจน การฉีก การต ๒.๒.๓. ร้อยวสั ดุท่ีมรี จู นาดเส้น ๒.๒.๓.รอ้ ยวัสดทุ มี่ รี ขู นาดเส้น และ การรอ้ ย ผา่ นศนู ย์ ๐.๕ ซม.ได้ ผ่าน ศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้ -การประดิษฐ เศษ วสั ดุ -การป้นั -การเล่นเครอ่ื

ประสานสัมพนั ธก์ ัน สาระการเรียนรรู้ ายปี ชอื่ หนว่ ย การณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ อนุบาล 2 หนว่ ย หนทู ำได้ าพและการเลน่ - การเลน่ และกระท าส่ิงต่าง ๆ หน่วย คณิตศาสตรแ์ สนสนุก หนว่ ย สสี ันมหศั จรรย์ ดว้ ยตนเองตามลำพังหรอื กับ หนว่ ย ประสาทสมั ผสั ทง้ั ห้า อนบุ าล 3 บ การใช้กรรไกร ผู้อ่ืน หน่วย หนทู ำได้ หนว่ ย ประสาทสมั ผัส ตดั ตดั การปะ - การเลือกใช้ส่งิ ของเคร่ืองใช้ - หน่วย ของเลน่ ของใช้ หนว่ ย คณิตศาสตร์น่ารู้ ยวสั ดุ การรู้จักช่อื ลกั ษณะ สี ผวิ สัมผัส หนว่ ย ดอกไม้หลากสี ฐ์ส่ิงต่างๆด้วย รปู รา่ ง รูปทรง จำนวน ส่วนประกอบ อง

๒. พัฒนาการด้า มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดแี ละมีความสชุ ตวั บ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๓.๑ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึก ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ - การพดู สะท ของตนเองแล แสดงออกทาง ได้ตามสถานการณ์ ได้ สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ - การปฏิบัติก ตามความสาม อารมณ์อยา่ ง อยา่ งเหมาะสม ตนเอง - การแสดงคว เหมาะสม ผู้อื่นมคี วามส ใจเม่อื ผอู้ ื่นเศ และการชว่ ยเ ปลอบโยนเมื่อ บาดเจ็บ

านอารมณ์ จิตใจ สาระการเรยี นรู้รายปี ชื่อหน่วย การณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ อนบุ าล 2 หน่วย อารมณข์ องฉัน ทอ้ นความร้สู กึ - การกำกับตนเอง หน่วย พระคณุ แม่ หนว่ ย วันชาติ ละผอู้ ่ืน - การแสดงออกทาง อารมณ์ หนว่ ย สวสั ดีปีใหม่ หน่วย วนั เด็ก วนั ครู กจิ กรรมตา่ งๆ และความรสู้ ึกอยา่ งเหมาะสม อนุบาล 3 หนว่ ย วันแม่ มารถของ หนว่ ย วนั พ่อ หน่วย วันขนึ้ ปใี หม่ วามยนิ ดีเม่อื หนว่ ย วนั เดก็ วันครู สุข เห็นอก เห็น หนว่ ย ต่างความคดิ ต่างความตอ้ งการ ศร้าหรือ เสียใจ เหลือ อผู้อื่นได้รับ

มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดแี ละมีความสุช ตวั บ่งชี้ สภาพที่พงึ ประสงค์ ช้นั อนุบาล 2(4-5ป)ี ช้ันอนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๓.๒ มี ๓.๒.๑ กลา้ พดู กล้าแสดงออก ๓.๒.๑ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก - การพูดสะท ความรสู้ กึ ที่ดี อย่าง เหมาะสมบางสถานการณ์ อยา่ ง เหมาะสมตามสถานการณ์ ของตนเองแล ตอ่ ตนเองและ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจใน ๓.๒.๒ แสดงความพอใจใน - การแสดงคว ผู้อ่ืน ผลงานและความสามารถของ ผลงานและ ความสามารถของ ผ้อู ่ืน มีความส ตนเอง ตนเองและ ผู้อ่ืน ใจเม่อื ผู้อื่นเศ และการ ช่วย ปลอบโยนเมื่อ บาดเจ็บ

สาระการเรยี นร้รู ายปี ช่อื หนว่ ย การณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ ท้อนความรสู้ กึ - การสะทอ้ น อนบุ าล ๒ ละผู้อน่ื - การรับร้อู ารมณแ์ ละ ความรสู้ ึก หน่วย หนูทำได้ วามยนิ ดีเมอื่ ของตนเองและผ้อู นื่ หนว่ ย ร่างกายของหนู สุข เหน็ อกเหน็ - การแสดงออกทางอารมณ์ หนว่ ย เดก็ ดมี ีคุณธรรม ศร้าหรอื เสียใจ และความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม หน่วย หนนู ้อยมารยาทดี ยเหลือ อนบุ าล ๓ อผอู้ น่ื ได้รบั หน่วย เดก็ ดมี ีคุณธรรม หนว่ ย มารยาทไทย

มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรแี ละการเคลื่อนไหว ตวั บ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ช้ันอนบุ าล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๔.๑ สนใจ ๔.๑.๑ สนใจและมีความสุข ๔.๑.๑ สนใจและมีความสขุ และ - การทำกิจก และมี และแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ต่างๆ ความสุข และ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๒ สนใจ มคี วามสุขและ - การฟงั เพลง แสดงออกผ่าน แสดงออกผ่านเสยี งเพลง ดนตรี แสดงออกผา่ นเสียงเพลงดนตรี และการแสดง งานศิลปะ ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และ โตต้ อบเสียงด ดนตรีและการ แสดงท่าทาง/เคล่ือนไหว แสดงท่าทาง/เคลอื่ นไหว - การเคลอื่ นไ เคลอ่ื นไหว ประกอบเพลง จงั หวะและ ประกอบเพลง จงั หวะและ เสยี งเพลง/ดน ดนตรี ดนตรี - การเล่นเคร ประกอบจังห - การเลน่

สาระการเรยี นรรู้ ายปี ชอื่ หน่วย การณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ อนุบาล 2 หนว่ ย สีสันมหศั จรรย์ กรรม ศลิ ปะ สาระการเรียนรเู้ รือ่ งตวั เด็ก หน่วย บ้านแสนสขุ หน่วย ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ๑.การสะท้อนการรับรูอ้ ารมณ์ หนว่ ย โรงเรยี นของเรา อนุบาล 3 ง การรอ้ งเพลง และความรสู้ ึก หนว่ ย ของเลน่ ของใช้ หน่วย โรงเรยี นแสนสุข ง ปฏิกริ ยิ า ๒.การแสดงออกทางอารมณ์ หน่วย บา้ นแสนสขุ หน่วย การอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม ดนตรี และความร้สู ึกอยา่ งเหมาะสม ไหวตาม นตรี รื่องดนตรี หวะ

มาตรฐานท่ี ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจท่ดี ีงาม ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ชนั้ อนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้นั อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๕.๑ ซื่อสัตย์ ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรือรอคอย ๕.๑.๑ ขออนญุ าตหรือรอคอย - การฟังนทิ า คุณธรรม จรยิ สุจรติ เม่อื ตอ้ งการสง่ิ ของ ของผอู้ ื่นเมื่อ เมอ่ื ต้องการสิ่งของของผ้อู ืน่ ด้วย - การร่วมสน แลกเปลย่ี นค มผี ูช้ แ้ี นะ ตนเอง จรยิ ธรรม - การเลน่ บท - การปฏบิ ตั ิต ดขี องห้องเรีย

สาระการเรยี นรรู้ ายปี ชอ่ื หน่วย การณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ อนุบาล ๒ หน่วย เดก็ ดมี ีคุณธรรม านเกย่ี วกับ สาระการเรียนรเู้ รอื่ งตวั เดก็ หนว่ ย หนูนอ้ ยมารยาทดี หนว่ ย วันเด็ก วนั ครู ยธรรม ๑.การปฏิบัตติ นเปน็ สมาชิกที่ดี หนว่ ย โรงเรยี นของเรา หน่วย ครอบครวั แสนสุข นทนา ของครอบครัวและโรงเรียน หน่วย บา้ นแสนสุข อนบุ าล ๓ ความคดิ เห็นเชงิ ๒.การเคารพสทิ ธขิ องตนเองและ หน่วย เด็กดมี ีคุณธรรม หนว่ ย มารยาทไทย ผู้อน่ื หน่วย โรงเรยี นแสนสุข หน่วย สายใยครอบครวั ทบาท สมมติ - - ๓.การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตนเปน็ สมาชกิ ท่ี ยน

มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจทด่ี ีงาม ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ ชน้ั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชน้ั อนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๕.๒ มคี วาม ๕.๒.๑ แสดงความรักเพ่อื นและ ๕.๒.๑ แสดงความรกั เพื่อน และ - การฟังนิทา เมตตากรณุ า มเี มตตาสตั ว์เล้ยี ง มเี มตตาสตั ว์เลี้ยง คณุ ธรรม จรยิ มนี ้ำใจและ ๕.๒.๒ ชว่ ยเหลอื และแบ่งปนั ๕.๒.๒ ชว่ ยเหลือและแบ่งปัน กรุณา) ช่วยเหลือ ผูอ้ ่นื ไดเ้ มื่อมผี ูช้ แี้ นะ ผูอ้ ื่นไดด้ ว้ ยตนเอง - การเลน่ บท แบง่ ปนั - การเลยี้ งส - การฟังนิทา คณุ ธรรม จรยิ (ช่วยเหลือ แบ

สาระการเรยี นรูร้ ายปี ช่อื หนว่ ย การณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ อนุบาล 2 หนว่ ย เดก็ ดมี ีคุณธรรม าน เก่ยี วกบั สาระเก่ียวกบั ตวั เด็ก หน่วย สตั ว์โลกนา่ รกั หนว่ ย ของเลน่ ของใช้ ยธรรม(เมตตา ๑.การมคี ณุ ธรรม จริยธรรม หนว่ ย ผเี ส้ือแสนสวย หน่วย หนนู อ้ ยมารยาทดี ๒.การแสดงออกทางอารมณ์ หนว่ ย ธรรมชาติและส่งิ มีชีวติ อนุบาล 3 ทบาทสมมติ และความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม หน่วย เด็กดมี คี ณุ ธรรม หนว่ ย มารยาทไทย สตั ว์ สาระเกยี่ วกบั ตวั เด็ก หน่วย ผเี ส้อื หน่วย สตั ว าน เกย่ี วกับ ๑. การมคี ุณธรรม จริยธรรม ยธรรม ๒. การแสดงออกทางอารมณ์ บ่งปัน) และความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม

มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ ใจท่ีดีงาม ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ช้นั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชัน้ อนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๕.๓ มี ๕.๓.๑ แสดงสีหนา้ หรอื ท่าทาง ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าหรือทา่ ทาง - การแสดงคว ผู้อื่นมคี วามส ความเหน็ อก รบั รคู้ วามรูส้ กึ ผ้อู ื่น รับรู้ ความรสู้ กึ ผ้อู น่ื อยา่ ง ใจเมอื่ ผอู้ ื่นเศ และการชว่ ยเ เห็นใจผ้อู ่ืน สอดคล้องกบั สถานการณ์ ปลอบโยนเมอ่ื บาดเจ็บ - การฟังนิทา คุณธรรม จรยิ - การร่วมสน แลกเปลย่ี นค จรยิ ธรรม

สาระการเรียนร้รู ายปี ชื่อหน่วย การณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หน่วย เด็กดมี ีคณุ ธรรม วามยนิ ดีเม่อื สาระเก่ยี วกับตัวเด็ก หน่วย ของเลน่ ของใช้ หนว่ ย หนนู ้อยมารยาทดี สุข เหน็ อกเห็น ๑.การมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม อนบุ าล ๓ หน่วย เดก็ ดมี คี ณุ ธรรม ศรา้ หรือเสียใจ ๒.การรับรอู้ ารมณ์และความรสู้ ึก หน่วย มารยาทไทย เหลอื ของตนเองและผู้อืน่ อผูอ้ ื่นไดร้ ับ ๓.การแสดงมารยาททดี่ ี าน เกี่ยวกบั ยธรรม นทนา ความคดิ เหน็ เชงิ

มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและมีจติ ใจท่ีดงี าม ตวั บง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ช้นั อนบุ าล 2(4-5ป)ี ช้ันอนบุ าล 3(5-6ป)ี ประสบก ๕.๔ มคี วาม ๕.๔.๑ ทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ๕.๔.๑ ทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย - การทำงาน รับผดิ ชอบ จนสำเรจ็ เมื่อมผี ู้ชแ้ี นะ จนสำเรจ็ ดว้ ยตนเอง การดูแลห้องเ - การเป็นสมา ห้องเรยี น - การมสี ่วนร ดูแลรักษา ส่ิง ภายใน ภายน -การร่วมกัน ก ข้อตกลงของห - การให้ความ ปฏบิ ตั ิกจิ กรร

สาระการเรียนรรู้ ายปี ช่อื หนว่ ย การณส์ ำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ อนุบาล ๒ หนว่ ย เด็กดมี คี ุณธรรม ศลิ ปะต่างๆ - สาระการเรียนรเู้ ร่อื งตวั เด็ก หน่วย ครอบครัวแสนสขุ หน่วย โรงเรยี นของเรา เรยี น รว่ มกัน ๑. คุณธรรม จริยธรรม หนว่ ย บา้ นแสนสุข หน่วย หนูทำได้ าชิก ทด่ี ีของ ๒. ความรบั ผิดชอบ ความอดทน อนุบาล ๓ หนว่ ย หนูทำได้ มุ่งมน่ั ความเพยี ร หน่วย สายใยครอบครัว หนว่ ย โรงเรยี นแสนสุข รว่ ม รับผดิ ชอบ หน่วย เดก็ ดมี ีคุณธรรม หน่วย ฉนั รกั เมอื งไทย งแวดล้อมทั้ง นอกห้องเรียน กำหนด ห้อง มร่วมมอื ในการ รมต่างๆ

๓. พัฒนากา มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชีวิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตวั บง่ ช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ ชนั้ อนบุ าล 2(4-5ป)ี ชั้นอนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๖.๑ ชว่ ยเหลอื ๖.๑.๑ แต่งตัวดว้ ยตนเอง ๖.๑.๑ แต่งตวั ด้วยตนเองได้ - การชว่ ยเหล ตนเองในการ ๖.๑.๒ รับประทานอาหารด้วย อยา่ งคลอ่ งแคล่ว กิจวัตรประจำ ปฏบิ ตั กิ ิจวตั ร ตนเอง ๖.๑.๒ รับประทานอาหารดว้ ย - การปฏิบตั ิก ประจำวนั ๖.๑.๓ ใชห้ อ้ งน้ำหอ้ งสว้ มดว้ ย ตนเองอยา่ งถกู วิธี ตามความสาม ตนเอง ๖.๑.3ใชแ้ ละทำความสะอาด ตนเอง หลังใชห้ อ้ งนำ้ ห้องส้วมดว้ ย - การช่วยเหล ตนเอง กิจวัตรประจำ - การปฏบิ ตั ติ ในกจิ วตั รประ - การชว่ ยเหล กจิ วตั รประจำ

ารดา้ นสงั คม สาระการเรียนร้รู ายปี ชื่อหน่วย การณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ อนบุ าล ๒ หน่วย ตวั เรา ลือ ตนเองใน สาระการเรียนรเู้ ร่ืองตัวเด็ก หนว่ ย รา่ งกายของหนู หน่วย ครอบครัวแสนสุข ำวัน ๑.วธิ รี ะวังรกั ษาร่างกายให้ หน่วย ปลอดภยั ไวก้ อ่ น หนว่ ย อาหารดมี ีประโยชน์ กิจกรรมตา่ งๆ สะอาด และมสี ขุ อนามัยทดี่ ี หนว่ ย หนูทำได้ หน่วย ผักสดสะอาด มารถของ ๒.การรบั ประทานอาหารทม่ี ี หน่วย ผลไม้ดมี ปี ระโยชน์ อนุบาล ๓ ประโยชน์ หนว่ ย หนูทำได้ หนว่ ย เรียนร้รู า่ งกาย ลือตนเองใน ๓.ปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกทดี่ ขี อง หน่วย สายใยครอบครัว หน่วย อาหารดมี ปี ระโยชน ำวัน ครอบครวั และโรงเรียน ตนให้ปลอดภัย ๔.การรักษาความปลอดภยั ของ ะจำวนั ตนเอง ลอื ตนเองใน ๕.วิธีระวงั รักษาร่างกายให้ ำวนั สะอาดและมสี ุขอนามัยทดี่ ี

มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบ่งชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ช้ันอนบุ าล 2(4-5ป)ี ชั้นอนุบาล 3(5-6ป)ี ประสบก ๖.๒ มีวินยั ใน ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ี ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้เข้าที่ - การดูแล หอ้ ตนเอง ด้วยตนเอง อย่างเรยี บร้อยดว้ ยตนเอง - การใหค้ วาม ๖.๒.๒ เขา้ แถวตามลำดบั ๖.๒.๒ เขา้ แถวตามลำดบั กจิ กรรมตา่ งๆ กอ่ นหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง ก่อนหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง - การปฏิบตั ติ ดขี อง ห้องเรยี

สาระการเรยี นรูร้ ายปี ชือ่ หนว่ ย การณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ อนบุ าล ๒ หนว่ ย โรงเรยี นของเรา องเรียนรว่ มกนั สาระการเรยี นรเู้ รือ่ งตัวเดก็ หนว่ ย ครอบครวั แสนสุข หนว่ ย หนูนอ้ ยมารยาทดี ม รว่ มมอื ใน ๑. เรยี นร้ขู ้อตกลงตา่ งๆ หนว่ ย เด็กดมี คี ุณธรรม อนบุ าล ๓ ๆ ๒. การปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ที่ดี หน่วย โรงเรยี นแสนสขุ หนว่ ย เด็กดมี ีคณุ ธรรม ตนเป็นสมาชิกท่ี ของครอบครวั และโรงเรียน หนว่ ย มารยาทไทย ยน ๓. การมมี ารยาทท่ีดี ๔. การมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ๕.เรยี นรขู้ อ้ ตกลงต่างๆ ๖.การปฏบิ ตั ติ นเปน็ สมาชิกท่ดี ี ของครอบครัวและโรงเรยี น