Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียนกะดีจีน (e-book)

ถอดบทเรียนกะดีจีน (e-book)

Published by สสว ปทุมธานี, 2021-09-27 08:11:59

Description: ถอดบทเรียนกะดีจีน (e-book)

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 1 สำนักงำน ปลัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมนั่ คงของมนษุ ย์ มีบทบำท หน้ำท่ีพัฒนำงำนด้ำนวิชำกำรเกี่ยวกับกำรพัฒนำสังคมและควำม มั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับพื้นที่และกลุ่มเป้ำหมำย ส่งเสริม และสนับสนุนงำนด้ำนวิชำกำร องค์ควำมรู้ ข้อมูลสำรสนเทศ ให้คำปรึกษำแนะนำแก่หน่วยงำนบริกำรทุกกลุ่มเป้ำหมำยในพ้ืนที่ ให้บริกำรในควำมรับผิดชอบของกระทรวง รวมท้ังองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถ่นิ หน่วยงำนทเ่ี กีย่ วข้อง องค์กรภำคเอกชนและประชำชน ศึกษำ วิเครำะห์ สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อม เพ่ือคำดกำรณ์ แนวโน้ม ของสถำนกำรณ์ทำงสังคมและผลกระทบ รวมท้ังให้ ข้อเสนอแนะกำรพัฒนำสังคมและกำรจัดทำยุทธศำสตร์ในกลุ่ ม จังหวัด สนับสนุน กำรนิเทศงำน ติดตำมประเมินผลกำรดำเนินงำน เชิงวิชำกำรตำมนโยบำยและภำรกิจของกระทรวง โดยมีพ้ืนท่ี ปฏิบัติงำนในควำมรับผิดชอบ 8 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัด ปทุมธำนี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยำ สระบุรี นครนำยก อ่ำงทอง สมุทรปรำกำร และกรุงเทพมหำนคร กำรถอดบทเรียนชุมชนย่ำนกะดีจีน จัดทำขึ้นเพื่อศึกษำ แนวทำงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนสู่รูปแบบกำรนำไป ประยุกต์ใช้กับชุมชน ด้วยหลัก “บวร” มำใช้ในกำรสร้ำงควำม เข้มแข็งของชุมชนเพ่ือพัฒนำสังคม และดูแลประช ำช น กลุ่มเป้ำหมำยในทุกช่วงวัยให้มีคุณภำพชีวิตที่ดีขึ้น ประกอบด้วย

1) ปัจจัยด้ำนครอบครัวและชุมชน 2) ปัจจัยด้ำนเครือข่ำยชุมชน และ 3) ปัจจัยด้ำนวัฒนธรรมและศำสนำ รวมถึงผู้มบี ทบำทสำคัญที่ เป็นหวั ใจสำคญั ของควำมสำเร็จในกำรพัฒนำชุมชนยำ่ นกะดจี ีน สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 1 ขอขอบคุณ ผู้บริหำร ข้ำรำชกำร เจ้ำหน้ำท่ี และหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องในกำรช่วย สนับสนุนให้สำเร็จลุล่วง และหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำกำรถอดบทเรียน ชมุ ชนยำ่ นกะดีจีน จะเป็นขอ้ มลู สนับสนุนให้กับหน่วยงำนท่ีเกยี่ วข้อง ได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจต่อไป หำกกำรถอดบทเรียน ชุมชนย่ำนกะดีจีนเล่มน้ีมีข้อผิดพลำดประกำรใด ผู้จัดทำต้อง ขออภัยไว้ ณ ทน่ี ีด้ ว้ ย

สำรบญั หนำ้ 1 เรื่อง 18 ย้อนวนั วำนบรบิ ทพื้นท่ี ...... เก่ำแต่เกำ๋ 51 “ยำ่ นกะดีจีน” 63 บทเรียนชุมชนกะดีจนี .....จุดเปลี่ยนดว้ ย 66 “บวร” กำรถอดรหัสควำมสำเร็จของชมุ ชนยำ่ นกะดีจนี : ต้นแบบชมุ ชนเขม้ แขง็ ด้ำนกำรพฒั นำสังคมดว้ ยหลัก “บวร” แนวทำงกำรขบั เคลื่อนของกระทรวงกำรพฒั นำสังคม และควำมม่ันคงของมนษุ ย์ : สร้ำงชุมชนเข้มแข็ง ด้วยหลัก “บวร” ปญั หำและอุปสรรคที่พบในชุมชน

ยอ้ นวันวำนบริบทพนื้ ที่ ...... เก่ำแตเ่ ก๋ำ “ย่ำนกะดจี นี ”

~2~ กะดีจีน1 เป็นย่ำนชุมชน เก่ำแก่ริมแม่น้ำเจ้ำพระยำ บริเวณฝ่ังธนบุรีที่มีควำม หลำกหลำยทำงเช้ือชำติ ศำสนำ ควำมเช่ือ และ วัฒ นธรรมประ เพณีมำ รปู 1 ภาพชุมชนกุฎจี ีน อย่ำงยำวนำน ประกอบไป ด้วยชำวจีน อินเดีย และยุโรป ท่ีอพยพมำจำกอยุธยำ ต้ังแต่ สมัยเริ่มสร้ำงกรุงธนบุรี เดิมชุมชนกุฎีจีน มีวิถีชีวิต เป็น ชุมชนแพอยู่รมิ แม่น้ำ มีวัดตลำดน้ำเป็นศูนย์กลำงของชุมชน ต่อมำในสมัยรัชกำลท่ี 3 หลังกำรทำสนธิสัญญำเบำว์ริง มีเรือกลไฟเข้ำมำทำกำรค้ำขำยมำกขึ้น ทำให้วิถีชีวิตริมน้ำ เปลี่ยนไป เรือนแพจึงต้องอพยพข้ึนสู่ฝั่งและค่อยๆ ลด หำยไป เก่ำแต่เก๋ำหรือรู้จักกันในนำม “กะดีจีน” เป็นชุมชน เก่ำแก่ริมฝ่ังแม่น้ำเจ้ำพระยำ เริ่มมีกำรต้ังถ่ินฐำนเป็นครั้ง แรกในสมัยกรุงธนบุรี หลังจำกสมเด็จพระเจ้ำตำกสิน 1 ชมุ ชนกฎุ จี นี . [ออนไลน์]. ชุมชนกฎุ จี นี กบั ภูมทิ ัศนว์ ฒั นธรรม บำงกอก. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : https://junior142.wordpress.com/ why_here_kudeejean/ (วนั ที่คน้ ข้อมูล 30 มกรำคม 2564)

~3~ ทรงกอบกูเ้ อกรำชและสถำปนำกรุงธนบุรีขึ้น โดยพระองคไ์ ด้ รวบรวมเหล่ำไพร่พลท่ีกระจัดกระจำยหลังจำกศึกสงครำม ท้ังชำวไทย ชำวจีน ชำวโปรตุเกส ซึ่งมีเช้ือชำติ และศำสนำ ท่ีแตกต่ำงกัน และพระรำชทำนที่ดินเพื่อให้เป็นที่อยู่อำศัย ทำมำหำกิน สำเหตุที่เรียกชุมชนน้ีว่ำ “กุฎีจีน” นั้น “สมเด็จกรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ” ทรงวินิจฉัยว่ำ “กฎุ ี น่ำจะหมำยถึงศำลเจ้ำขนำดใหญท่ ตี่ ้ังอยู่รมิ คลองกุฎีจีน ซ่ึงชำวจีนท่ีอำศัยอยู่ด้ังเดิมสร้ำงไว้ตั้งแต่ก่อนขุดคลอง ลัดบำงกอก คือ เมื่อก่อนสมัยพระไชยรำชำ บริเวณที่ต้ัง ศำลเจ้ำนี้เดิมเป็นส่วนแหลมที่แม่น้ำเจ้ำพระยำไหลเลี้ยวไป ทำงคลองบำงกอกใหญ่ เม่ือมีศำลเจ้ำจีนมำตั้งอยู่ตรงปลำย แหลม จึงเป็นจุดสังเกตและกลำยเปน็ นำมที่ชำวบ้ำนใช้เรียก บริเวณน้ีติดปำกว่ำ กุฎีจีน”2 และชุมชนแห่งน้ีนับเป็นแหล่ง วัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ และแหล่งรำยได้ ท่ีมีควำมสำคัญ แห่งหน่ึง เพรำะชมุ ชนแห่งนี้ และบริเวณใกล้เคียงเป็นชุมชน ท่ีประกอบด้วยชนหลำยชำติหลำยภำษำเข้ำมำตั้งรกรำก 2 มหำวทิ ยำลัยบำ้ นสมเดจ็ เจำ้ พระยำ. [ออนไลน์]. ประวัติควำม เป็นมำของชุมชน. เขำ้ ถงึ ได้จำก : http://human.bsru.ac.th /localinformation/?page_id=486 (วันท่ีคน้ ข้อมลู 30 มกรำคม 2564)

~4~ เช่น ชุมชนชำวจีน ฝร่ังเชื้อชำติโปรตุเกส มุสลิม ลำว และ มอญ เป็นต้น นอกจำกน้ียังปรำกฏว่ำพื้นที่แห่งนี้เป็นสถำน ที่ตั้งของบ้ำนขุนนำงเก่ำสำยสกุลบุญนำค และยังมีแหล่ง วัฒนธรรมท่ีน่ำสนใจอีกมำกมำย ซึ่งมีกำรสืบทอดและ ถ่ำยทอดควำมรู้ทำงวัฒนธรรมจำกอดีตจนถึงปัจจุบันพื้นที่ บริเวณย่ำนกุฎีจีนเป็นพื้นท่ีท่ีมีควำมหลำกหลำยทำง วัฒนธรรมสูง ทงั้ ทำงด้ำนกลมุ่ ชำตพิ นั ธุ์ ได้แก่ ไทย โปรตุเกส จีน วิถีชีวิต ควำมเชื่อ และประเพณี เป็นสถำนท่ีที่มีกำร กลมกลืนของผู้คนหลำยเช้ือชำติหลำยศำสนำมำอยู่รวมกัน เปน็ ชมุ ชนขนำดใหญ่3 เสน่ห์ชุมชน 3 ศำสนำ 4 ควำมเช่ือ ได้ยินคำว่ำ “กะดีจีน” ก็แปลกแล้วแกแ่ ตเ่ ก๋ำที่ไม่ธรรมดำ เมอ่ื รู้ว่ำชมุ ชน นี้มีอำยุนำวนำนมำกกว่ำ 200 ปี ท่ึงไปกว่ำนั้นคือ ควำม แตกต่ำงทำงเชื้อชำติ ศำสนำ ควำมเช่ือ และควำม หลำกหลำยทำงมรดกวัฒนธรรม ไม่ว่ำจะเป็นพุทธ คริสต์ อิสลำม หรือพุทธมหำนิกำยสำยจีน ของกำรเป็นแบบอย่ำง 3 มหำวิทยำลยั บ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ. [ออนไลน์]. ชมุ ชน 3 ศำสนำ 4 ควำมเชอ่ื . เข้ำถึงไดจ้ ำก : http://human.bsru.ac.th/ localinformation/?page_id=493 (วนั ท่คี น้ ข้อมลู 30 มกรำคม 2564)

~5~ ข อ ง ก ำ ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น อ ย่ ำ ง สั น ติ ตั้ ง แ ต่ ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี จนถึงปัจจุบัน “ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนแขวงวัดกัลยำณ์ ชุมชน อิสลำมกุฎีขำว” ได้รับกำรเรียกขำนเป็น 3 ศำสนำ 4 ควำม เช่ือของชุมชน “กะดีจีน”4 โดยควำมเช่ือแรกเป็นควำมเช่ือ ของชำวคริสต์ นิกำยคำทอลิกบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงโบสถ์ ซำงตำครู้ส ควำมเช่ือที่สองคือ วัดกัลยำณมิตรวรมหำวิหำร ส่ือให้เรำได้สัมผัสกับควำมเชื่อของชำวพุทธนิกำยเถรวำท และศำลเจ้ำเกียนอันเก็ง เป็นควำมเชื่อที่สำมของชำวพุทธ นิกำยมหำยำนสำยจีน สุดท้ำย คือ มัสยิดบำงหลวง (กุฎีขำว) เป็นควำมเช่ือที่ส่ี ของชุมชนกะดีจีนซึ่งเป็นควำม เชือ่ ของชำวมุสลมิ กล่ำวคือ ชุมชนศรัทธำและมีควำมเช่ือทำงศำสนำ พุทธ คริสต์ และอิสลำม ให้กำรเคำรพควำมเชื่อของผู้อ่ืน แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว ำ ม คิ ด แ ล ะ ค ว ำ ม รู้ สึ ก ข อ ง ตั ว เ อ ง ร่วมยอมรับควำมเชื่อและศรัทธำของผู้อื่น แม้แตกต่ำงกัน 4 สำนักงำนเลขำธิกำรวุฒิสภำ. 2561. [ออนไลน์]. กำรขบั เคล่อื น กำรพัฒนำชมุ ชนย่ำนกะดีจีนสคู่ วำมมนั่ คงยงั่ ยืน. เขำ้ ถึงได้จำก : https://www.senate.go.th/assets/portals/22/fileups/148/fi les/รวมเล่มรำยงำนกะดีจนี .pdf. (วนั ที่คน้ ข้อมูล 30 มกรำคม 2564)

~6~ และสำมำรถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันฉันท์พี่น้อง ควำม หลำกหลำยเป็นต้นทุนทำงวัฒนธรรมของชุมชนท่ีต้องรักษำ ไว้ นำยวรชัย พิลำศรมย์ ประธำนชุมชนวัดกัลยำณ์ กล่ำวถึง “ชมุ ชนเรำอยแู่ บบถ้อยทีถอ้ ยอำศัยซึ่งกันช่วยเหลือจุนเจือ กันมำตลอด ไม่แบ่งแยกศำสนำ พวกเรำเคำรพและเข้ำใจ ผู้อื่น ไม่ก้ำวก่ำยกัน ทั้งในควำมคิดและควำมเชื่อในกำร นบั ถือศำสนำ นี่คือหลักกำรอยูร่ ่วมกันของเรำ” สอดคล้อง กับพระพรหมบัณฑิต เจ้ำอำวำสวัดประยุรวงศำวำสวรวิหำร “มองอย่ำงเข้ำใจเปรียบคือกำรต้อนรับทุกคนอย่ำงเท่ำ เทียม สร้ำงสัมพันธ์ด้วยกิจกรรมชุมชนเพ่ือให้เกิดควำม ไว้วำงใจของคนในชุมชน” แสดงให้เห็นถึงควำมสำมัคคี ไมล่ ำเอยี งปฏบิ ตั ิ เป็นหลักที่ต้องรักษำสู่กำรพฒั นำท่ีสมดุล ควำมก่อตัวจำกบรรพบุรุษหล่อหลอมสอนคนรุ่น หลังด้วยเรื่องเล่ำขำนมำกด้วยประสบกำรณ์สร้ำงวัฒนธรรม อันดีของกำรอยู่ร่วมกันของ “ชำติพันธ์ุ” ท่ีมีควำมกลมกลืน กำรอยู่ร่วมกันจำก 3 ถิน่ ฐำนดง้ั เดิม จำกคนรุน่ หลังสร้ำงฐำน กำรอยู่ร่วมกัน โดยเน้นพ้ืนที่เป็นศูนย์กลำงพักอำศัยและทำ มำหำกิน เน้นหลักของควำมเช่ือและศรัทธำ แตกต่ำงแต่ ไม่แตกแยก ผสมผสำนควำมเป็นน้ำหน่ึงใจเดียวกัน สร้ำง คุณค่ำประโยชน์ใช้สอยด้วยควำมงดงำมของควำมรู้สึกคงไว้

~7~ ด้วยกำรอนรุ ักษแ์ ละพฒั นำสำนต่อเพื่อกำรเปลี่ยนแปลงตำม บริบทของยุคสมัย ปัจจุบัน “ชุมชนกะดีจีน” ประกอบด้วย 6 ชุมชน คือ 1) ชุมชนวัดกัลยำณ์ 2) ชุมชนกุฎีจีน 3) ชุมชน กุฎีขำว 4) ชุมชนวัดประยุรวงศ์ 5) ชุมชนบุปผำรำม และ 6)ชุมชนโรงครำม ซึ่งแต่ละชุมชนมีลักษณะเฉพำะของ แต่ละชมุ ชนท่สี ำคัญ5 ดังนี้ 1. ชุมชนวัดกัลยำณ์ เป็นพ้ืนท่ีเดิมจำกกุฎีจีน ลักษณะเป็นชุมชนเมือง ต้ังอยู่ที่ 371 ถ.เทศบำลสำย 1 แขวงวัดกัลยำณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ สภำพบ้ำนเรือนมี ควำมหนำแน่น สภำพบ้ำนเป็นส่วนใหญ่เป็นบ้ำนปูนกึ่งเรือน แถวไม้ มีซอยลัดเลำะเป็นทำงเช่ือมผ่ำนสำมำรถเดินเลียบ แม่น้ำเจ้ำพระยำได้ พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีดินของวัด ซ่ึงชำวบ้ำนเข้ำมำขอที่ดินเพ่ืออยู่อำศัย ท้ังน้ีนำยอุดร หลกั ทอง กล่ำวถึง ชุมชนวดั กลั ยำณ์6 อดีตชมุ ชนมบี รรพบุรุษ 5 มหำวิทยำลัยรำชภัฏธนบุรี. (2560). ย่ำนกะดีจีน 3 ศำสนำ 4 ควำมเช่ือ 6 ชมุ ชน.แผ่นพบั . เส้นทำงกำรท่องเทีย่ วเชงิ วัฒนธรรม. มหำวิทยำลยั ธนบรุ ี. 6 อดุ รหลกั ทอง.(2558).แนวทำงกำรสรำ้ งควำมเข้มแข็งของชมุ ชนพหุ วัฒนธรรม. วทิ ยำนพิ นธ,์ หลักสูตรปริญญำรฐั ประศำสนศำสตรม์ หำบณั ฑิต (นโยบำยสำธำรณะและกำรจดั กำรภำครฐั ) มหำวทิ ยำลยั มหดิ ล.

~8~ เป็นชำวฮกเก้ียนที่มำต้ังรกรำกทำมำค้ำขำย ทำงำนเป็น กรรมกรแบกหำมบนเรือสำเภำ (กุลีชำวจีน) ต่อมำในสมัย ธนบุรีก็มีชำวจีนที่อพยพตำมเสด็จพระเจ้ำตำกสินมหำรำช มำจำกอยุธยำมำอำศัยอยู่ริมแม่น้ำเจ้ำพระยำฝั่งตะวันตก รวมกับชำวจีนอยู่จำนวนมำก ชำวจีนจึงได้ร่วมกันสร้ำง ศำลเจ้ำข้ึน 2 ศำล คือ 1) ศำลเจ้ำโจวซือกง 2) ศำลเจ้ำ กวนอู ต่อมำเม่ือรัชกำลที่ 1 ย้ำยพระนครไปกรุงเทพฯ คนจีนเหล่ำนี้จึงอพยพไปรวมกับพวกที่ย่ำนตลำดน้อยและ สำเพ็ง ศำลเจ้ำจึงถูกท้ิงร้ำง ต่อมำในสมัยรัชกำลที่ 3 จึงได้ บูรณะรวมกันเป็นศำลเดียวกันแล้วอัญเชิญเจ้ำแม่กวนอิม มำประดิษฐำนให้ใช้ช่อื ว่ำ “ศำลเจ้ำเกียนอันเกง” ศำลเจ้ำนี้ จึงเป็นร่องรอยของชุมชนย่ำนกุฎีจีน หลักจำกที่มีกำรบูรณะ ศำลเจ้ำเสร็จแล้ว ต่อมำเจ้ำพระยำนิกรบดินทร์ ได้อุทิศบ้ำน และที่ดินบริเวณใกล้เคียง สร้ำงเป็นวัดขึ้นเมื่อ พ.ศ.2368 และน้อมเกล้ำฯ ถวำยเป็นพระอำรำมหลวง จำกน้ัน พระบำทสมเด็ จพระ น่ังเจ้ำเจ้ำอยู่หัว รัชก ำลที่ 3 พระรำชทำนนำมว่ำ “วัดกัลยำณมิตร” และทรงสร้ำง พ ร ะ วิ ห ำ ร ห ล ว ง แ ล ะ พ ร ะ ป ร ะ ธ ำ น พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ช่ือ พระพุทธไตรรัตนนำยก หรือ หลวงพอ่ โต (ซำปอกง)

~9~ 2. ชุมชนกุฎีจีน ลักษณะเป็นพ้ืนที่ชุมชนเมือง เป็นชุมชนเก่ำแก่อยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้ำพระยำ วิถีชีวิตชุมชน แบบเครือญำติ ส่วนใหญ่จะนับถือศำสนำคริสต์ เพรำะมีวัด ซำงตำครู้สเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน และบำทหลวง เป็นผู้นำชุมชนท่ีเห็นสำคัญในกำรทำกิจกรรมต่ำงๆ เพื่อให้ ชุมชนดำเนินชีวิตภำยใต้หลักคำสอนทำงศำสนำ กำรอยู่ ร่วมกันด้วยควำมรัก ควำมสำมัคคี ท้ังน้ีชุมชนกุฎีจีนมีควำม โดดเด่นภูมิปัญญำท้องถิ่นในกำรสืบทอดขนมโบรำณ หรือ ที่เรียกกันว่ำ “ขนมฝรั่งกุฎีจีน” ต้นตำหรับจำกชำวโปตุเกส ซ่งึ อยูค่ กู่ บั ชมุ ชนจนถึงปจั จบุ นั 3. ชุมชนกุฎีขำว มสั ยดิ บำงหลวง7 (กฎุ ีขำว) ตั้งอยู่ ริมคลองบำงหลวงตรงข้ำม สุเหร่ำต้นสน บรรพบุรุษของ ชุมชนน้ีเป็น แขกแพ ซ่ึงอำศัยเรือนแพลอยอยู่ในน้ำ อพยพ มำหลำยแห่ง เป็นมุสลิมเชื่อสำยมลำยู บำงส่วนมำจำก กรุงศรีอยุธยำ บำงส่วนมำจำกบ้ำนน้ำเชี่ยว แหลมงอบ จังหวัดตรำด ล่องเรือมำค้ำขำยยังกรุงเทพแถบเจริญนคร 7 สยามฟรสี ไตล์. [ออนไลน]์ . มัสยิดบางหลวง (กุฎขี าว). เข้าถึง ไดจ้ าก : http://www.siamfreestyle.com/travel- attraction-more/bangkok/มสั ยดิ บางหลวง.html (สืบคน้ เมือ่ วันท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2564)

~ 10 ~ มัสยิดน้ี เดิมชำวบ้ำนเรียกว่ำ กุฎีขำว เป็นมัสยิดเก่ำแก่สร้ำง ในรัชกำลท่ี 1 สร้ำงโดยพ่อค้ำมุสลิม โต๊ะหยี รูปแบบ สถำปัตยกรรมของมัสยิดเป็นอำคำรก่ออิฐ ถือรูปแบบทรงไทย ณ วันนี้ก็ยังไม่มีมัสยิดที่ไหนสร้ำงด้วยสถำปัตยกรรมแบบน้ี มัสยิดบำงหลวงจึงนับเป็นมัสยิดทรงไทยหน่ึงเดียวในโลก ทีม่ ีอยู่ในปจั จุบันนี้ ตัวอำคำรเป็นปนู ทำสีขำวทั้งหมด จึงเป็น ที่มำของชื่อ กุฎีขำว ซ่ึงบ่งบอก ถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง พ่ีน้องชำวไทยพุทธที่อยู่ดั้งเดิมกับชำวมุสลิมท่ีมำตั้งรกรำก ใหม่ หน้ำบันไดด้ำนหน้ำและหลังประดับตกแต่งด้วยลำย ปูนปั้นศิลปะ 3 ชำติ กรอบหน้ำบันเป็นเคร่ืองลำยองศิลปะ ไทย ในหน้ำบันเป็นปูนป้ันลำย ก้ำนแยง่ ใบฝร่ังเทศศิลปะฝรั่ง ส่วนดอกไม้เป็นดอกพุดตำน ศิลปะจีนลำยศิลป์ 3 ชำตินี้ เป็นส่วนประดับกรอบประตูและหน้ำต่ำงทุกบำนของมัสยิด ส่วนอำคำรที่เป็นปูนทำสีขำวทั้งหมด ส่วนท่ีเป็นไม้ทำสีเขียว ท้ังหมด นอกจำกน้ันในสมัยอิหม่ำมคนท่ี 3 มิมบัร ในมัสยิด ชำรุดลง (มิมบัร คือแท่นยืนแสดงธรรม ส่วนตัวซุ้มท้ังหมด เรียกว่ำ เม๊ียะหรอบ) เจ้ำสัวพุก ซ่ึงเป็นจีนมุสลิม ได้ทำกำร ก่อสร้ำงมิมบัร และเม๊ียะหรอบให้ใหม่ เป็นซุ้มทรงวิมำน 3 ยอด ก่ออิฐถอื ปนู ปดิ ทอง ลอ่ งชำดปรบั กระจกสีทงั้ ซุ้มโดย นำศิลปะ ปูนป้ันของ 3 ชำติท่ีหน้ำนำมำผสมผสำนหน้ำ

~ 11 ~ ประกอบด้วยตัวซุ้มเป็นลวดลำยศิลปะไทย เก่ียวกระหวัด ดว้ ย ก้ำน ใบ ฝรั่งเศส ประดับด้วยดอกเมำตำลของศิลปะจีน ตลอดซุ้มนับเป็นซุ่มที่มีควำมสวยงำมมำก แม้ตัวอำคำรจะ เป็นทรงไทยแต่ผู้สร้ำงได้บรรจุหลักกำรสำคัญของศำสนำ อิสลำมไว้ เช่น มีเสำค้ำยันชำยพำไล 30 ต้น เท่ำกับ บทบัญญัติ ในคมั ภรี อ์ ลั กุลอำน ทม่ี ี 30 บท และหอ้ งละหมำด มีหน้ำต่ำง 12 บำน ประตู 1 บำน รวม 13 ช่อง เท่ำกับ จำนวนรุกุ่นหรือกฎละหมำด 13 ข้อ แม้รูปแบบทำง สถำปัตยกรรมของมัสยิดและแท่นมิมบัร จะเป็นรูปแบบทำง ศิลปะเหมือนของศำสนำพุทธ แต่กำรปฏิบัติกิจของมุสลิม ยังคงเป็นรูปแบบดั้งเดิม ซึ่งรูปลักษณ์ภำยนอกจะได้รับ อิทธิพลจำกพุทธ แต่รูปแบบกำรปฎิบัติภำยในยังคงไว้ซึ่ง ควำมเป็นมุสลิม ส่วนใหญ่ท่ีอำศัยอยู่ในชุมชนกุฎีขำวเป็น มุสลิมนิกำยซุนนีย์ ซึ่งปฎิบัติพิธีกรรมทำงศำสนำโดย มรี ูปแบบจำกทำงซำอุดีอำระเบีย ทกุ ๆ วัน ชำวชมุ ชนยงั ตอ้ ง ละหมำดวันละ 5 เวลำ (ย่ำรุ่ง กลำงวัน เย็น พลบค่ำ กลำงคืน) เพรำะถือเป็นกำรเข้ำเฝ้ำพระผู้เป็นเจ้ำ โดยกำร สวดมนต์ต่อหน้ำพระองค์ทุกๆ เย็น เม่ือกลับจำกโรงเรียน เด็กๆ ก็จะพำกนั ไปเรียนที่โรงเรียนสอนศำสนำ เพ่ือทรำบใน ข้อบัญญัติและสิ่งที่ควรปฏิบัติในกำรเป็นมุสลิมท่ีดี และทุก

~ 12 ~ วันศุกร์ อิหม่ำม (ผู้นำศำสนำอิสลำมประจำมัสยิด) ก็จะทำ หน้ำท่ีในกำรส่ังสอนคนในชุมชน (คล้ำยกับกำรข้ึนเทศน์ แสดงธรรมของพระสงฆ)์ ซึ่งเร่ืองทพ่ี ูดหรือส่ังสอนก็จะนำมำ จำกพระคัมภีร์ หรือเป็นเร่ืองสถำนกำรณ์ในขณะน้ัน เช่น กำรพนัน ยำเสพติด แม้กระทั่งกำรทำหน้ำท่ี ผู้คลำยทุกข์ เป็นเหมือนที่พึ่งทำงใจ สำหรับชำวชุมชนกำรที่มัสยิดบำง ห ล ว ง มี ลั ก ษ ณ ะ ส ถ ำ ปั ต ย ก ร ร ม แ ล ะ ศิ ล ป ะ ห ล ำ ย ช ำ ติ ม ำ ผสมผสำนกัน เป็นสิ่งสะท้อนบอกถึงควำมเป็นมำของมัสยิด บอกถึงภูมิปัญญำและควำมสำมำรถด้ำนช่ำงฝีมือของบรรพ บุรุษของชำวชุมชน เพรำะหำกย้อนไปในอดีต จะเห็นว่ำมี ชำวต่ำงชำติจำกหลำกหลำยประเทศเข้ำมำท้ังรับใช้ในรำช สำนักและทำกำรค้ำขำย วัฒนธรรมประเพณีต่ำงๆจึงซึมซับ และหลอมรวมกัน โดยไม่มีควำมเป็นเช้ือชำติหรือศำสนำมำ แบ่งแยก ส่ิงสะท้อนของมัสยิดบำงหลวงจำกงำนศิลปกรรม ท่ไี มจ่ ำกัดเช้ือชำติ กระทัง่ ถึงชุมชนชำวบำงหลวงท่อี ยู่รว่ มกัน อย่ำงสันติและเผ่ือแผ่ไปยังชุมชนอ่ืน จึงเป็นสิ่งยืนยัน ในควำมเป็นจริง “คนมุสลิมก็คือคนไทยมีจิตใจเป็นไทย เพียงแตน่ บั ถือศำสนำอิสลำมเทำ่ นน้ั เอง” 4. ชุมชนวัดประยุรวงศ์ ต้ังอยใู่ นเขตธนบุรี ซึ่งเป็น ชมุ ชนประเภทแออัด ประกำศเป็นชุมชนทจี่ ัดตง้ั ตำมระเบียบ

~ 13 ~ กรุงเทพมหำนครเมื่อปี 2535 ชุมชนตั้งอยู่ที่ ถนนเทศบำล สำย 1 แขวงวดั กัลยำณ์ ซง่ึ เป็นกลุม่ เขต 5 กล่มุ กรุงธนเหนือ มีประชำกรชำยจำนวน 742 คน และประชำกรหญิงจำนวน 861 ค น ร ว ม เ ป็ น 1,603 ค น มี ค รั ว เ รื อ น ทั้ ง ห ม ด 261 ครัวเรือน โดยมีบ้ำนจำนวน 28 หลัง ชุมชน วัดประยุรวงศ์ มีกรรมกำรชมุ ชน 11 คน 5. ชุมชนบุปผำรำม วัดบุปผำรำมวรวิหำร เป็น พระอำรำมหลวงช้ันตรี ชนิดวิหำร เดิมช่ือวัดดอกไม้เป็น โบรำณสร้ำงมำตั้งแต่สมัยอยุธยำ โดยท่ำนผู้หญิงจันทร์ ภรรยำสมเด็จเจ้ำพระยำมหำประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนำค) ได้บูรณะข้ึนในสมัยรัชกำลท่ี 3 ต่อมำสมเด็จเจ้ำพระยำ บรมมหำศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนำค) และสมเด็จเจ้ำพระยำ ทิพำกรวงศ์ (ขำ บุนนำค) ได้ร่วมกันปฏิสังขรณ์ข้ึนใหม่ รัชกำลท่ี 4 โปรดเกล้ำฯ พระรำชทำนนำมว่ำ วัดบุปผำรำม วดั แห่งน้ีในช่วงสงครำมโลกคร้ังท่ี 2 พ.ศ. 2487 ไดถ้ ูกระเบิด ทำลำย ทำให้พระอุโบสถศำลำกำรเปรียญ กุฏิตึกโบรำณ และกำแพงวัด ได้รับควำมเสียหำยเป็นอย่ำงมำกและ ซ่อมแซมข้ึนใหม่ ในปี พ.ศ.2507 สถำนท่ีท่องเที่ยวของ ชุมชนวัดบุปผำรมวรวิหำร พระอุโบสถวัดบุปผำรำม พระวิหำร วดั บุปผำรำม อำหำรแนะนำของชมุ ชน

~ 14 ~ 6. ชุมชนโรงครำม สถำนท่ีท่องเท่ียวขุมชนโรงครำม ได้แก่ เรือนพระยำรำชำนุประดิษฐ์ (นำค) เรือนไม้สักทอง หลังงำมขนำดใหญ่ตัวเรือนประดับลูกไม้แบบขนมปังขิง (Ginger bread) หน้ำจ่ัวประดับหลักเสำต้ัง พร้อมลูกไม้ ประดับเสำ ปีกผีเสื้อลวดลำยไม้ฉลุขนำบซ้ำยขวำ กลำงหน้ำ เรือน อย่ำงงำมตำตำมพระรำชนิยมสมัยรัชกำลท่ี 5 ปลำย ตอนลำ่ งของปั้นลมท้ังสองข้ำง ประดับเสำตงั้ ไมก้ ลึงขนำดสั้น พร้อมปิดชำยปั้นลมดว้ ยลำยฉลุขนำดย่อม ไม้คอสองรัดรอบ มขุ หนำ้ และเฉพำะระเบียงเอกของตัวเรือนประดับลำยขนม ปังขิง เป็นช่องลมเพื่อควำมงำมและควำมโปรงสว่ำง เรือน ดังกล่ำวน้ี มีอำยุรำวต้นรัชกำลท่ี 5 ก่อนกระแสนิยม “เรือน ขนมปังขิง (Ginger bread)” จะเข้ำมำและเมื่อมีกระแส นิย ม ดั ง ก ล่ำ ว เ ข้ ำ ม ำถึ ง บ้ ำน เ มือ ง เร ำ จึง มี ก ำ ร น ำ เคร่ืองประดับเรือนแบบขนมปังขิงมำใช้รว่ มด้วย เมื่อพระยำ รำชำนุประดิษฐ์ (นำค) ถึงแก่กรรมและไม่มีทำยำทอำศัย ต่อจึงเปลี่ยนผู้ถือครองมำเป็น นำงผัน อหะหมัดจุฬำ คหปตำนี หำกนับอำยุเรือนจำกปีพ.ศ. ที่กรมพระรำชวังบวร สถำนมงคลทิวงคตในปี พ.ศ.2428 ที่บทบำทของกรม พระรำชวังบวรสถำนมงคลส้ินสุดลง ตลอดจนควำม ผสมผสำนของลวดลำยเรือนที่บ่งบอกยุคสมัยของวันเวลำ

~ 15 ~ จนถึงปัจจุบันไม่น้อยกว่ำ 135 ปี อำหำรแนะนำของชุมชน โรงครำม ได้แก่ วิหกนอนรัง หมูสะโรง น้ำชัรบัต และน้ำขิง ปรุงอย่ำงเทศ ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่น่ำสนใจ คือ ผ้ำย้อมครำม กำรทำผ้ำย้อม เป็นภูมิปัญญำของชุมชนโรงครำมในอดีต ลักษณะกำรย้อมคือใชส้ ีจำกครำมผสมน้ำ ปรำศจำกสำรเคมี ในอดีตชุมชนโรงครำมเป็นชุมชนท่ีโด่งดังในเรื่องกำรย้อมผ้ำ จำกครำม ปัจจุบันไม่ได้มีกำรผลิตผ้ำย้อมครำมเป็นอำชีพ หลักมีเพียงกำรทำผ้ำย้อมครำมตำมโอกำสและเทศกำล นั บ ว่ ำ เ ป็ น ภู มิ ปั ญ ญ ำ ท่ี นั บ วั น จ ะ เ ลื อ น ห ำ ย ไ ป จ ำ ก ชุ ม ช น โรงครำม กล่ำวคือ ย่ำนกะดีจีนหรือกุฎีจีน เป็นชุมชน ประวัติศำสตร์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นชุมชนเก่ำแก่ ริมแม่น้ำเจ้ำพระยำบริเวณฝ่ังธนบุรี มีประวัติควำมเป็นมำ เก่ำแก่กว่ำ 200 ปี ย้อนไปหลังจำกท่ีกรุงศรีอยุธยำแตก สมเด็จพระเจ้ำตำกสินทรงกอบกู้เอกรำช และสถำปนำกรุง ธนบุรีขึ้น โดยท่ีพระองค์ได้รวบรวมเหล่ำไพร่พลที่กระจัด กระจำยหลังจำกศึกสงครำม ท้ังชำวไทย ชำวจีน ชำวโปรตุเกส และพระรำชทำนท่ีดินเพื่อให้เป็นที่อยู่อำศัยทำมำหำกินเป็น เวลำสืบเน่ืองต่อมำ โดยผู้คนที่อำศัยอยู่ในบริเวณน้ีล้วน แตกต่ำงกันดว้ ยแนวควำมคดิ เชื้อชำติ วัฒนธรรมและศำสนำ

~ 16 ~ (ชุมชนชำวพุทธ จีน คริสต์ และมุสลิม) แต่สำมำรถหล่อ หลอมผสมผสำนแนวกำรดำรงชีวิต ที่เป็นเอกลักษณ์หำท่ีใด เหมือน นับเป็นชุมชนที่น่ำสนใจและถูกเรียกขำนว่ำเป็น ชุมชน 3 ศำสนำ 4 ควำมเชื่อ เนื่องจำกเป็นชุมชนที่มีควำม แตกต่ำงทำงด้ำนเช้ือชำติ ศำสนำ ควำมเช่ือ และควำม หลำกหลำยทำงวฒั นธรรมแต่สำมำรถอยู่ร่วมกนั ได้อย่ำงสนั ติ จึงเป็นแบบอย่ำงของชุมชนแห่งควำมสุขอย่ำงยั่งยืน ภำยใต้ บริบทควำมหลำกหลำยในหลำยมิติ โดยชุมชนกะดีจีน ประกอบด้วย 6 ชุมชน คือ ชุมชนวัดกัลยำณ์ ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนกุฎีขำว ชุมชนวัดประยุรวงศ์ ชุมชนบุปผำรำม และ ชุมชนโรงครำม ซึ่งแต่ละชุมชนมีลักษณะเฉพำะของแต่ละ ชุมชนที่แตกต่ำงกัน และชุมชนแห่งน้ีเป็นชุมชนแห่ง วัฒนธรรมของกำรเรียนรู้ ท่ีผสมผสำนควำมแตกต่ำงในเชิง วัฒนธรรม เช้ือชำติ และศำสนำ ได้อย่ำงกลมกลืน รวมท้ัง เป็นชุมชน ที่ประกอบด้วยชนหลำยชำติหลำยภำษำเข้ำมำ ต้ังรกรำก เช่น ชุมชนชำวจีน ฝร่ังเช้ือชำติโปรตุเกส มุสลิม ลำว และมอญ เป็นต้น นอกจำกน้ียังปรำกฏว่ำพื้นที่แห่งน้ี เป็นสถำนท่ีตัง้ ของบ้ำนขุนนำงเก่ำสำยสกุลบญุ นำค และยังมี แหล่งวัฒนธรรมที่น่ำสนใจอีกมำกมำย ซ่ึงมีกำรสืบทอดและ ถ่ำยทอดควำมรู้ทำงวัฒนธรรมจำกอดีตจนถึงปัจจุบัน พื้นที่

~ 17 ~ บริเวณย่ำนกะดีจีนจึงเป็นพื้นท่ีท่ีมีควำมหลำกหลำยทำง วฒั นธรรม ท้ังทำงดำ้ นกลมุ่ ชำตพิ ันธ์ุ วถิ ีชีวติ ควำมเช่ือ และ ประเพณี ควำมเฉพำะด้วยเอกลักษณ์ของชุมชนสำมำรถเป็น ต้นแบบให้แก่ชุมชนอ่ืน ในกำรดำรงชีวิตร่วมกันในบริบท ควำมหลำกหลำยแห่งวัฒนธรรม ศำสนำ ควำมเช่ือ และ ประเพณี โดยเน้นกำรสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดองและ ร่วมมือกันในทำกิจกรรม กำรอยู่เก้ือกูลซ่ึงกันและกันแบบ เครือญำติ กำรสืบทอดควำมเป็นอัตลักษณ์ท้องถิ่น และวัฒนธรรมชุมชน ซ่ึงสิ่งเหล่ำน้ีนำไปสู่กำรเป็นชุมชนท่ี เข้มแข็งอย่ำงยั่งยืนและน่ำอัศจรรย์ สร้ำงคุณค่ำและควำม ง ด ง ำ ม จ น เ ป็ น เ ส น่ ห์ ชุ ม ช น บ อ ก เ ล่ ำ . . . เ ก้ ำ สิ บ กั น ป ำ ก ต่อปำกว่ำ คร้งั หนงึ่ ต้องมำเยีย่ มเยียน......ย่ำนกะดจี ีน

~ 18 ~ บทเรยี นชุมชนกะดีจนี .....จุดเปลี่ยน ด้วย “บวร”

~ 19 ~ “บวร” เป็นแกนนำสำคัญในกำรขับเคล่ือนให้เกิด ชุมชนและสังคมคุณธรรม ตำมเป้ำหมำย โดย “บวร” จะต้องมคี ุณลกั ษณะสำคัญ คอื เป็นบคุ คลทเี่ สยี สละ อุทศิ ตน เพ่ือส่วนรวม ลด ละ เลิกอัตตำหรือควำมมีตัวตน ควำมรู้สึก ส่วนตัวลง อดทน อดกลั้นต่อสิ่งรอบข้ำง ลดควำมมีอคติ ต่อกัน มีจุดมุ่งหมำยที่แรงกล้ำ มีอุดมกำรณ์ทำงำน เพื่อส่วนรวม โดยมีควำมหมำย ดงั น้ี “บ” แทนควำมหมำยด้วยคำว่ำ “บ้ำน” ซ่ึงหมำยถึง สถำบันครอบครัว ประกอบด้วย ชำวบ้ำนและกลุ่มบุคคล ต่ำงๆ ในชุมชน เช่น ผู้นำตำมธรรมชำติ ผู้สูงอำยุ สตรี เด็ก เยำวชน ปรำชญช์ ำวบำ้ น ภมู ิปัญญำท้องถิ่น เปน็ ตน้ “ว” แทนควำมหมำยด้วยคำว่ำ “วัด” ซึ่งหมำยถึง สถำบันศำสนำทุกศำสนำในชุมชนนั้นๆ ประกอบด้วย ผู้นำ ทำงศำสนำของแต่ละศำสนำ ไม่ว่ำจะเป็นศำสนำพุทธ คริสต์ อิสลำม พรำหมณ์ฮินดู ซิกข์ เช่น เจำ้ อำวำส ผู้ช่วยเจ้ำอำวำส บำทหลวง อิมหมำ่ ม คอเตบ็ บิหลน่ั เปน็ ตน้ “ร” แทนควำมหมำยดว้ ยคำวำ่ “โรงเรียน/รำชกำร” ซึ่งหมำยถึ งสถ ำบันก ำรศึกษ ำ/หน่วยงำนรำชก ำร ประกอบด้วย ผู้อำนวยกำร อำจำรย์ใหญ่ ครูใหญ่ คณะครู นักวิชำกำร และบุคลำกรทำงกำรศึกษำอื่นๆท้ังในโรงเรียน

~ 20 ~ วิทยำลัย มหำวิทยำลัย และองค์กรทำงกำรศึกษำอื่น ๆ รวมถึงผู้แทนหน่วยงำนภำครัฐในชุมชน อำทิ กำนัน ผใู้ หญบ่ ้ำน คณะกรรมกำรหมบู่ ำ้ น องค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบล พัฒนำกำรประจำตำบล เกษตรตำบล โรงพยำบำลส่งเสริม สุขภำพประจำตำบล เป็นต้น รวมท้ังระบบกลไกในกำร บริหำรท่ีมำจำกรัฐในรูปอ่ืนๆ (สำนักงำนปลัดกระทรวง วฒั นธรรม (2562 : 7) ปจั จัยควำมเขม้ แขง็ ของชมุ ชน “ยำ่ นกะดจี ีน” 1. ด้ำนครอบครัวและชุมชน จำกกิจกรรมท่ชี ุมชน ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น ชุมชนจะได้รับควำมร่วมมือเกิดกำรรวมตัว ในรูปแบบประชำคมของ “กำรมีส่วนร่วมของสมำชิกใน ชมุ ชน” โดยชำวบำ้ นแตล่ ะชุมชนจะเขำ้ รว่ มกิจกรรมสำคญั ๆ ระหว่ำงชุมชนเสมอควำมสัมพันธ์แบบเครือญำติระหว่ำงคน ในชุมชนท่ีอยู่อำศัยมำตั้งแต่ก่อน แต่มีประชำชนส่วนหน่ึง ย้ำยเข้ำมำอยู่ใหม่เพื่อทำงำนรับจ้ำงและพักอำศัยเพ่ือศึกษำ ต่อ ทำให้ต่ำงคน ต่ำงอยู่ และปัจจัยหนึ่งทำให้เกิดปัญหำ ควำมแออัดของบ้ำนเรือน และขำดกำรให้ควำมร่วมมือ กำรสื่อสำร ประชำสัมพันธ์ข่ำวสำรในชุมชนใช้กำรประกำศ

~ 21 ~ ผ่ำนเสยี งตำมสำยผำ่ น “กำรรบั รูส้ ทิ ธิชุมชน และข้อบญั ญตั ิ ของชุมชน” ต้องกำรให้สมำชิกและคนในชุมชนได้รับรู้สิทธิ และปฏิบตั ิรว่ มกัน ไม่กำ้ วกำ่ ยซ่ึงกันและกนั ชมุ ชนจึงประสบ ปัญหำในกำรอยู่ร่วมกันน้อยมำก ควำมเข้มแข็งกำรชุมชน คือกำรอยู่แบบเครือข่ำยน้ันเอง และส่วนเชื่อมที่สำคัญ ที่ชุมชนตระหนักใน “บทบำทหน้ำที่ของครอบครัว” ส่วน ใหญ่จะเป็นครอบครัวท่ีอยู่อำศัยในพื้นที่ชุมชนย่ำนกะดีจีน มำหลำยช่วงอำยุคนยำวนำนกว่ำ 200 ปี โดยครอบครัว จะนับถือศำสนำสืบทอดตำมต้นตระกูลตำมๆมำ เช่น ครอบครัวที่นับถือคริสต์ จะมีกำรอบรมส่ังสอนบุตรหลำน ให้ประพฤติปฏิบัติ ด้ำนศำสนำประจำ โดยเข้ำโบสถ์ทุกวัน อำทิตย์ และปฏิบัติตำมกจิ จำเป็นของศำสนำคริสต์ พร้อมทั้ง ให้มีปฏิสัมพันธ์กับทุกคน ทุกศำสนำท่ีอยู่ร่วมกันในชุมชน มีน้ำใจ เอื้อเฟ้ือ เผ่ือแผ่ต่อกัน พ่ึงพำอำศัยกันได้ รวมถึง “กำรฟื้นฟูและรักษำไว้ซ่ึงเอกลักษณ์ของชุมชน” กล่ำวคือ สมำชิกต่ำงๆในชมุ ชน ทั้ง 6 ชุมชน ท้ัง 3 ศำสนำ ได้แก่ พทุ ธ คริสต์ และอิสลำม ต่ำงให้ควำมเคำรพซ่ึงกันและกัน และอยู่ ร่วมกันอย่ำงสันติ มีควำมขัดแย้งกันน้อยมำก โดยคนรุ่นพ่อ แม่ปู่ย่ำตำยำย จะอบรมสั่งสอนเด็กรุ่นลูกหลำนให้ปฏิบัติ ตำมกิจกรรมต่ำงๆทำงศำสนำ ที่ครอบครัวนับถือและรักษำ

~ 22 ~ ไว้ เพ่ือให้สบื ทอดไปสคู่ นร่นุ ใหมส่ ืบไป โดยสถำบันกำรศึกษำ ได้แก่ โรงเรียนจะเป็นหน่วยงำนสำคัญมำกท่ีจะเป็นศูนย์ เช่ือมร้อยประสำนให้คนทุกคน เด็กและเยำวชนในชุมชนให้ ธำรงรักษำและสำนต่อขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม และพิธีกรรมตำ่ งๆของทกุ ศำสนำให้ดำเนนิ ตอ่ ไป 2. ด้ำนเครอื ข่ำยชุมชน ด้วย “กำรสร้ำงเครอื ข่ำย องค์กรในชุมชน” จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นกำรพ่ึงพำอำศัยซ่ึงกัน และกัน โดยมีกำรรวมกลุ่มกัน เช่น หน่วยงำนภำยใน ท่ีมีอยู่ในชุมชน ประกอบไปด้วย ประธำนชุมชน 6 ชุมชน และคณะกรรมกำรพัฒนำย่ำนกะดีจีน ที่อยู่ในชุมชน ย่ำนกะดีจีน โรงเรียนในชุมชน โดยมีพระพรหมบัณฑิต เจ้ำอำวำสวัดประยุรวงศำวำสวรวิหำร เป็นแกนหลัก ในกำร เช่ือมโยงควำมหลำกหลำยทำงศำสนำ ทั้ง 3 ศำสนำเข้ำ ด้วยกัน ทั้งศำสนำพุทธ ศำสนำคริสต์ ศำสนำอิสลำม เพ่ือสร้ำงควำมสำมัคคีเข้ำด้วยกัน จนได้รับรำงวัลยอดเย่ียม อันดับ 1 หรือ Award of Excellence จำกองค์กำรยูเนสโก้ ในด้ำนกำรอนุรักษ์มรดกทำงวัฒนธรรม โดยพระพรหม บณั ฑิตเจ้ำอำวำสวดั ประยุรวงศำวำสวรวหิ ำร กลำ่ วถงึ “...เราจัดงานทอดผ้าปา่ หรือขายสนิ คา้ ได้ คนแสดงมากกว่า คนดูอีก เลยคิดว่าจะจัดงานไรดี เพ่อื แก้ปัญหาชุมชน จึงเกิด

~ 23 ~ ไอเดีย 6 ชุมชน เลยชวนศาสนาอ่ืนมาร่วมกัน เราอยู่ริมน้า มีท่าน้า เรามีวัฒนธรรม เลยใช้สถานที่ที่เป็นกลางเปิดตัว เปิดงานตีปีบ ท้าให้คนได้รู้จักชุมชน ต้องใช้สถานที่ที่เป็น กลาง ให้โต๊ะอีหม่าม หลวงพ่อ มาเปิดงานร่วมกัน นั่งอยู่บน เวทีด้วยกัน...” อีกท้ังได้รับกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำน ภำยนอก เช่น มหำวิทยำลัยรำชภัฏธนบุรี มหำวิทยำลัย รำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ เปน็ เครือข่ำยหลกั ในกำรสร้ำง เครือขำ่ ยองค์กรในชมุ ชน ร่วมสร้ำงควำมเขำ้ ใจร่วมกับชมุ ชน วำงแผนในกำรพัฒนำชุมชน เพิ่มองค์ควำมรู้ สร้ำงควำม เขม้ แขง็ ให้กับผ้นู ำชมุ ชน และสง่ เสริมกำรประชำสัมพันธท์ ำง สื่อออนไลน์ผ่ำนช่องทำงต่ำงๆ เช่น รำยกำรโทรทัศน์ Facebook YouTube เป็นต้น นอกจำกน้ียังได้รับควำม ร่วมมือจำกสำธำรณสุขชุมชน เป็นหน่วยงำนท่ีดูแลสุขภำพ ของประชำชนในชุมชนย่ำนกะดจี ีน และกระทรวงวัฒนธรรม เข้ำมำส่งเสริมกิจกรรมจัดโครงกำรป่ันจักรยำนเท่ียวบวร ซ่งึ เป็นชุมชนประวัติศำสตร์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เพ่ือนำทุน ทำงวัฒนธรรมของยำ่ นกะดีจีนมำส่งเสริม สนบั สนนุ ต่อยอด กระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นท่ี โดยใช้พลัง บวร บูรณำกำรกับ ทุกภำคส่วนสร้ำงควำมเข้มแข็งและยั่งยืนตำมศำสตร์ พระรำชำ และตอบสนองนโยบำยรัฐบำลในกำรฟ้ืนฟูสังคม

~ 24 ~ อย่ำงเร่งดว่ นหลังวิกฤตกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID-19) เพอื่ ให้เกิดคณุ คำ่ และมลู ค่ำ ของเศรษฐกิจชุมชน ได้รับกำรถ่ำยทอดและสร้ำงรำยได้ ให้กับชุมชน นักท่องเที่ยวที่เข้ำมำเท่ียวในชุมชนย่ำนกะดีจีน เพิ่มมำกข้ึน โดยมีกำรจำหน่ำยอำหำรและผลิตภัณฑ์ทำง วัฒนธรรมของย่ำนกะดีจีน เป็นประจำทุกวันเสำร์และ วันอำทติ ย์ รวมถึง “กำรส่งเสริมและพัฒนำผ้นู ำชมุ ชนและ ประชำชนในชุมชน” กำรพัฒนำผู้นำชุมชนและประชำชน ในชุมชน โดยมีสถำบันกำรศึกษำเข้ำมำมีบทบำทในกำร พัฒนำชุมชนย่ำนกะดีจีน โดยกำรส่งเสริมของมหำวิทยำลัย รำชภัฏธนบุรี ให้คนในชมุ ชนร่วมกันจัดทำแผนในกำรพัฒนำ ชุมชนซึ่งมีหลักกำร ดังนี้1) กำรค้นหำจุดเด่นของชุมชน เพื่อพัฒนำต่อยอด สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยใช้ งำนวิจัยเข้ำมำเก่ียวข้อง 2) หลักในกำรพัฒนำศักยภำพผู้นำ และจัดกิจกรรมชุมชน โดยให้ผู้นำมีทิศทำงเดียวกันทำงำน ร่วมกัน เพื่อพัฒนำและจัดกิจกรรมกับผู้นำชุมชน และ 3) กำรสร้ำงกำรมีส่วนร่วม สร้ำงจิตสำนึก และพัฒนำ เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งในชุมชนร่วมกัน เพื่อให้กำรพัฒนำ ต่อยอดและย่ังยืน โดยมีแผนปฏิบัติกำรชุมชนเสริมสร้ำง ควำมตระหนักว่ำชุมชนมีของดีอยู่ในชุมชนอยู่แล้ว มีทุนทำง

~ 25 ~ สังคม เช่น ผลิตภัณฑ์ในชุมชนเพื่อสร้ำงรำยได้ให้กับชุมชน และในส่วนของมหำวิทยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมทอดน่อง.....ล่องเรือ เพ่ือเป็นกำร ป ร ะ ช ำ สั ม พั น ธ์ ชุ ม ช น ใ ห้ เ ป็ น ท่ี รู้ แ ล ะ เ ป็ น ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม กำรท่องเท่ียว โดยกำรทำควำมเข้ำใจกับชุมชน สร้ำงควำม เขำ้ ใจและควำมตระหนกั ให้ชุมชนรักและหวงแหน ควำมเป็น มรดกทำงศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ของชุมชนย่ำนกุฎีจีน และ ไ ด้ มี ก ำ ร พั ฒ น ำ อ อ ก แ บ บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ชุ ม ช น มี อ ยู่ แ ล้ ว นอกจำกนี้ ยังมีกำรส่งเสริมและออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็น อัตลักษณ์โดดเด่นของชุมชนมำพัฒนำต่อยอด โดยได้นำ เครือข่ำย เช่น กระทรวงอตุ สำหกรรมผลกั ดนั ผลิตภณั ฑ์ เช่น ขนมฝรั่งกุฏีจีน ผ้ำย้อมครำม เป็นต้น นอกจำกน้ี ยังมีกำร จัดกำรควำมรู้จำกภูมิปัญญำท้องถ่ินให้มีควำมน่ำสนใจ ให้ทันสมัยมำกยิ่งข้ึน เช่น กำรออกแบบควำมเฉพำะตัวใน กำรทำอำหำรต่ำงๆ เช่น ทำขนมฝรั่งกุฎีจีน ทำขนมจีนไก่คั่ว เป็นต้น ส่วนสำคัญของชุมชน คือ “กำรตัดสินใจร่วมกัน ของชุมชน” ชุมชนกะดีจีนมีกำรตัดสินใจร่วมกันของชุมชน โดยมีผู้นำหรือตัวแทนของแต่ละกลุ่มหรือครอบครัว เพ่ือ ประชุมปรึกษำหำรือร่วมกันในเรื่องต่ำงๆ เป็นแนวทำงใน กำรจัดกิจกรรมของชุมชน ซึ่งเกิดขึ้นจำกกำรร่วมมือร่วมใจ

~ 26 ~ ของทุกฝ่ำยเพ่ือหำแนวทำงกำรจัดกิจกรรมท่ีดีที่สุด เน้นกำร แลกเปลี่ยน หำรือ ประชุมร่วมกันระหว่ำงผู้นำศำสนำ คณะกรรมกำรชุมชน ตัวแทนประชำชน กำรจัดทำ แผนพัฒนำชุมชุน เพื่อลงมติหรือหำแนวทำงในกำรจัด กิจกรรมแต่ละคร้ังไป กำรขับเคล่ือนจะขำดไม่ได้กับ “ อ ำ ส ำ ส มั ค ร แ ล ะ ส ภ ำ อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น เ พื่ อ ก ำ ร พั ฒ น ำ ” ของชุมชน โดยชุมชนจะมีอำสำสมัคร มี 2 รูปแบบ คือ อำสำสมัครด้ำนศำสนำ ได้แก่ อำสำสมัครซำงตำครู้ส และอำสำสมัครสำธำรณสุข ได้แก่ สำธำรณสุขชุมชน ศูนย์บริกำรสำธำรณสุข 26 เจ้ำคุณพระประยุรวงศ์ ในส่วน “สภำองค์กรชุมชนเพื่อกำรพัฒนำ” ด้วยกำรดำเนินงำน ของขบวนองค์กรชุมชน เขตธนบุรี เริ่มดำเนินงำนตั้งแต่ ปี 2553 จำกกำรทำงำนของขบวนองค์กรชุมชน ในพื้นท่ีท่ีมี กำรดำเนินงำนอยู่บ้ำงแล้ว เช่น กลุ่มอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี กลุ่มออมทรัพย์กุฎีจีน โดยกำรทำงำนร่วมกับ สำนักงำนพัฒนำชุมชนเมือง (องค์กรเดิมก่อนเป็น พอช.) ในปี 2555 จัดต้ังกองทุนสวัสดิกำรชุมชนเขตธนบุรี เพื่อให้ เกิดกำรจัดสวัสดิกำรของชุมชน ต้ังแต่เกิดจนตำย มีกำร ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู กัน สรำ้ งควำมม่ันคงในคุณภำพชีวิต รวมถึง กำรสร้ำงควำมสัมพันธ์อันดีระหว่ำงชุมชนกับหน่วยงำนภำคี

~ 27 ~ มชี มุ ชนทเ่ี ข้ำร่วม 26 ชุมชน รวมถึงสมำชิกในชุมชนยำ่ นกะดี จนี ด้วย ตอ่ มำปี 2557 จัดต้งั สภำองค์กรชุมชนเขตธนบุรี เมือ่ วันท่ี 17 กันยำยน 2557 มีกลุ่มองค์กรท่ีเข้ำร่วม 42 กลุ่ม ชุมชนในย่ำนกะดีจีน ทั้ง 6 ชุมชนได้เข้ำมำเป็นสมำชิกใน สภำองค์กรชุมชน มีส่วนในกำรร่วมกันขับเคลื่อนงำนพัฒนำ ทั้ง 6 ประเด็นงำน ท่ีสภำองค์กรชุมชนดำเนินกำร ประกอบด้วย ด้ำนประเพณีวัฒนธรรมและกำรท่องเที่ยว ด้ำนที่อยู่อำศัย ด้ำนสุขภำพ ด้ำนสวัสดิกำร ด้ำนสังคม และ ด้ำนเศรษฐกิจ กลไกกำรทำงำนจะมีกำรเชื่อมประสำน กำรทำงำนร่วมกันโดยให้สภำองค์กรชุมชนเป็นเวทีกลำง ในกำรเช่ือมโยงคน เชื่อมโยงประเพณีวัฒนธรรม และ เชื่อมโยงงบประมำณ ในกำรพัฒนำชุมชนให้มีควำมเข้มแข็ง โดยกำรเช่ือมโยง 3 ศำสนำ (ศำสนำพุทธ ศำสนำอิสลำม ศำสนำคริสต์) ใช้วัฒนธรรมประเพณีเป็นเครื่องมือในกำร รวมคน เช่ือมควำมสัมพันธ์ ซึ่งมีกำรดำเนินงำนมำต้ังแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันและได้รับกำรสืบทอดไปยังรุ่นหลำน ผ่ำนกิจกรรมท่ีดำเนินกำรในชีวิตประจำวัน สถำนกำรณ์ เร่งด่วน เช่น สถำนกำรณ์น้ำท่วม ไฟไหม้ งำนก่อสร้ำงบำรุง ชุมชน ศำสนสถำน รวมถึงกิจกรรมทำงศำสนำ ที่ทุกคนเข้ำ มำรว่ มกันได้โดยไม่ยดึ ตดิ กบั หลกั ศำสนำของตน จงึ ทำใหเ้ กิด

~ 28 ~ ควำมเป็นเอกลักษณ์ของคนในชุมชนในกำรอยู่ร่วมกันแบบ ชมุ ชนพหวุ ัฒนธรรมย่ำนกะดีจีนท่ีชดั เจน ซ่ึงกลไกกำรพฒั นำ ชุมชนทใี่ ช้หลัก “บวร” และปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง ทำให้ หน่วยงำนภำคี สถำบันกำรศึกษำ องค์กรเอกชนให้ควำม สนใจและเข้ำมำมีส่วนในกำรหนุนเสริม รวมถึงมหำวิทยำลัย รำชภัฏธนบุรี และมหำวิทยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเด็จ เจ้ำพระยำ ภำยใต้กำรดำเนินงำนของสภำองค์กรชุมชน เขตธนบุรี เข้ำมำหนุนเสริมในเร่ืองกำรพัฒนำชุมชนด้ำน เศรษฐกิจชุมชน กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ กำรส่งเสริมกำร ท่องเที่ยวชุมชนย่ำนกะดีจีน “กิจกรรมที่สภำองค์กรชุมชน ดำเนินงำนรว่ มกบั ชุมชน” เนอ่ื งจำกชมุ ชนย่ำนกะดจี ีน เป็น พ้ืนที่ชุมชนเก่ำแก่ มีควำมหลำกหลำยทำงศำสนำและ วฒั นธรรม มีภูมิปัญญำดั้งเดมิ จึงเกิดกำรพัฒนำในด้ำนต่ำงๆ ประกอบด้วย 1) ด้ำนเศรษฐกิจ สนับสนุนกำรให้ควำมรู้ใน ด้ำนกำรส่งเสริมอำชีพ กำรส่งเสริมพัฒนำรูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้มีควำมน่ำสนใจ พัฒนำช่องทำงกำรจำหน่ำยสินค้ำ ประสำนงำนในกำรออกบูธจำหน่ำยสินค้ำในสถำนท่ีต่ำงๆ ซึ่งชุมชนย่ำนน้ี มีอำหำรโปตุเกต ขนมฝร่ังกุฎีจีน ขนมกุสรัง หรือขนมโบว์คริสมำส (มีเฉพำะในเทศกำล) ขนมก๋วยต๊ัส ศลิ ปะประดิษฐ์ หมูกระดำษออมสิน ท่ีเป็นเอกลักษณ์อยู่แล้ว

~ 29 ~ 2) ดำ้ นท่องเท่ียว สนับสนนุ ด้ำนกำรท่องเทย่ี ววิถีถิ่น อนุรักษ์ แหล่งท่องเท่ียวแหล่งโบรำณสถำน บ้ำนเก่ำ พัฒนำมี มัคคุเทศก์ท้องถิ่นในกำรต้อนรับนักท่องเท่ียวโดยสภำองค์กร ชุมชนเขตธนบุรี เชื่อมโยงกับสถำบันกำรศึกษำในกำรหนุน เสริม 3) ด้ำนประเพณีวัฒนธรรม สภำองค์กรชุมชนเขต ธนบุรี ร่วมจัดงำนประเพณีลอยกระทง งำนประจำปี 3 ศำสนำ 4) ด้ำนสวัสดิกำรชุมชน พัฒนำและขยำยฐำน สมำชิกกองทุนสวัสดิกำรชุมชนจำกผู้นำชุมชนสู่กำรขยำย สมำชกิ เพิม่ ในชุมชน เพื่อให้เข้ำถึงสวัสดิกำร ขั้นพื้นฐำนดูแล ตงั้ แต่เกิดจนตำย 5) ดำ้ นสงั คม/สขุ ภำพ ประสำนงำนในเรอื่ ง กำรอบรมเรียนรู้กำรทำเขยี นโครงกำร เพ่ือจัดทำแผนในกำร ขอรับสนับสนุนประมำณกองทุนสุขภำพระดับเขตให้ชุมชน มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถเสนอแผนงำน งบประมำณ ตำมแผนท่ีอยำกจะนำมำพัฒนำในชุมชน ท้ังนี้ได้ดำเนินกำร จัดทำ “แผนกำรขับเคลื่อนงำน” ประกอบด้วย 1) สภำ องค์กรชุมชนเขตธนบุรี ประสำนงำนร่วมกับ มหำวิทยำลัย รำชภัฏธนบุรี จัดทำแผนกำรอบรมมัคคุเทศก์ท้องถ่ิน ให้มี ควำมเชี่ยวชำญภำษำอังกฤษและภำษำจีน 2) พัฒนำชุมชน ท่ีมีเอกลักษณ์ทำงด้ำนภำษำ วัฒนธรรม ประเพณี ที่อยู่ อำศัยในย่ำนเมืองเก่ำ ให้เป็นสถำนที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

~ 30 ~ มโี ฮมสเตย์ โดยกำรเน้นวิถีควำมเป็นอยู่ดั้งเดิม 3) ขยำยฐำน สมำชิกสวัสดิกำรชุมชนให้ครอบคลุมในทุกชุมชน 4) จัดทำ แผนกำรพัฒนำสื่อออนไลน์ อบรมให้ควำมรู้ด้ำนกำรทำสื่อ เพือ่ สร้ำงรำยได้ โดยกำรสนับสนนุ จำก สถำบนั พฒั นำองค์กร ชุมชน ร่วมกับมหำวิทยำลัยรำชภัฏธนบุรี และ5) พัฒนำ ศักยภำพองค์กรชุมชน รวมถึงคนทำงำน พัฒนำคนรุ่นใหม่ เข้ำมำชว่ ยในกำรพฒั นำชุมชนร่วมกนั 3. ด้ำนวัฒนธรรมและศำสนำ ดว้ ย “กำรฟืน้ ฟแู ละ รักษำไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของชุมชน” ถือเป็นชุมชนเก่ำแก่ ริมแม่น้ำเจ้ำพระยำ ที่ผ่ำนกำลเวลำมำนำนกว่ำ 200 ปี ทว่ำ ชุมชนแห่งนี้กลับโดดเด่นในเอกลักษณ์ของวิถีชีวิตควำม เป็นอยู่ ท่ีสงบสุขระหว่ำง ชำวพุทธ ชำวคริสต์ และชำว อิสลำม รวมไปถึงวัฒนธรรมที่หลำกหลำยของชำวไทย และพ่อค้ำชำวจีนที่อำศัยอยู่ในละแวกนี้ ท่ีน่ีจึงสวยงำม ในบรรยำกำศคลำสสิกท่ีผสมผสำนกันอย่ำงลงตัว โดยเฉพำะ 3 ศำสนำ 4 ควำมเช่ือ ได้แก่ คริสต์พุทธเถรวำท พุทธ มหำยำน และอิสลำมชุมชนย่ำนกะดจี ีน เปน็ ชมุ ชนที่เนน้ กำร มีจิตสำนึกรักท้องถิ่น เกิดแรงจูงใจในกำรรักษำเอกลักษณ์ ของชุมชนมี ที่มุ่งเน้นควำมสำมัคคีไม่ลำเอียงปฏิบัติในกำร อยู่ร่วมกันของคนในชุมชน ซ่ึงเป็นหลักกำรที่ต้องรักษำไว้

~ 31 ~ แห่งกำรอยู่ร่วมกัน รวมไปถึงหลักแห่งกำรพัฒนำที่ย่ังยืน ตำมควำมสมดุล 3 องค์ประกอบ คือ กำรพัฒนำสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม “...อนาคตต้องมีความสมดุลกัน อย่า เน้นเอาทุนมาท้าเพราะจะมาท้าลายชุมชน เอาแบบค่อยๆ เติบโต ส่งเสริมเท่าท่ีมีอยู่ อย่าให้การท่องเที่ยวท้าลาย วัฒนธรรม อย่าให้การสร้างตึกท้าลาย ทัศนียภาพโบสถ์ วัด มัสยิด ไม่ได้ มันจะบดบังความสวยงาม เราจะรักษาทิวทัศน์ ฝั่งแม่น้าไว้ เพ่ือเป็นจุดขายของกรุงเทพ...” (ค้าให้สัมภาษณ์ ของเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวรวิหาร) “กำรเป็นชุมชน ตัวอย่ำง” เน้นกำรมีจิตสำนึกรักท้องถิ่น เพ่ือกำรรักษำ เอกลักษณ์เกิดแรงจูงใจ เป็นสื่อสะท้อน 3 ศำสนำ 4 ควำม เชื่อ (กะดีคือท่ีบูชำศำสนำ) ตำมหลักกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ลดกำรระแวง รู้ควำมเหมือน ควำมต่ำง รู้จักกัน พูดภำษำ เดียวกนั อยรู่ ว่ มกนั กบั ศำสนำอ่ืนเป็นวิถีชีวติ แตโ่ บรำณ “...ถ้าทรัพยากรมนุษยม์ ีคุณภาพ ทกุ อย่างก็ได้หมด ถ้ามนุษย์ไม่ได้พัฒนา มันก็โกงกินกันเหมือนเดิม มันจะดีขึน ไดอ้ ย่างไร สังคมแถบนีที่เขาอยูก่ ันได้ เพราะเขาไม่รุกรานกัน ไม่เบียดเบียนกัน เขาต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างให้เกียรติกัน กอ็ ยู่ได้มาเป็นรอ้ ยปี...” (คา้ ใหส้ ัมภาษณข์ องผชู้ ่วยเจา้ อาวาส วัดกัลยานิมิตรวรมหาวิหาร) และต้องสร้ำง “ควำมคุ้นเคย

~ 32 ~ และควำมเคยชินของคนในชุมชนย่ำนกะดีจีน” ในกำรอยู่ ร่วมกันของ 3 ศำสนำ 4 ควำมเชื่อ ซึ่งมีควำมแตกต่ำงด้ำน กำรปฏิบัติกิจกรรมของศำสนำ เช่น กำรทำบุญของศำสนำ พุทธ กำรละหมำดของศำสนำอสิ ลำม เทศกำลคริสต์มำสของ ศำสนำคริสต์ หรือแม้กระทั่งพิธีไหว้ศำลเจ้ำของจีนท่ีมีควำม ศรัทธำหรือกิจกรรมที่แตกต่ำงกัน แต่คนในชุมชนย่ำน กะดีจีนไม่มีปัญหำหรือควำมขัดแย้งในกำรอยู่ร่วมกัน ไม่เคย ไปรุกรำนกันหรือเบียดเบียนกัน ไม่กระทบกระทั่งกัน สำมำรถอยู่ร่วมกันได้อย่ำงปกติสุข หำกเป็นคนภำยนอก ชุมชนที่เพิ่งเข้ำมำอยู่ในชุมชนย่ำนกะดีจีนในช่วงแรกอำจจะ ยังไม่ค่อยคุ้นชิน แต่เมื่ออยู่ร่วมกันในชุมชนเป็นระยะ เวลำนำน จึงเกิดควำมคุ้นเคยและอยู่ร่วมกันได้เป็นอย่ำงดี “...เขาเปิดเสียงละหมาด วันละ 5 ครังเน่ีย คนที่มาอยู่ใหม่ก็ จะร้าคาญหน่อย พระท่านมาอยู่ใหม่ๆเขาก็ละหมาด วันละ 5 ครัง เดี่ยวก็เอาแล้ว เราก็โอ้ยๆ แต่ว่าพอมาอยู่ด้วยกัน นานๆ มันไม่เคยได้ยินเลย มนั กลายเป็นว่า เขาละหมาดทุก วันนันแหละ ท้าไมเราไม่ไดย้ ิน มันชนิ แล้ว ชนิ จนเราไม่ไดย้ ิน จนเราไม่รู้ว่าเขาละหมาดหรือป่าว อันนีคือตัวอย่างการอยู่ ร่วมกัน เกิดความคุ้นชินกัน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ช่วย เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร) รวมถึง “กำรปฏิบัติ

~ 33 ~ ตำมหลักศำสนำอย่ำงเป็นแก่นแท้” โดยทีศ่ ำสนำของแต่ละ ศำสนำมีหลักกำรปฏิบัติตำมคำสอนอย่ำงถูกต้อง มีกำร เชื่อมโยงศำสนำโดยใช้กิจกรรมเป็นตัวเชื่อมร่วมกัน เช่น ก ำ ร รั บ ร ำ ง วั ล ย อ ด เ ย่ี ย ม อั น ดั บ 1 ห รื อ Award of Excellence จำกองค์กำรยูเนสโก้ ในด้ำนกำรอนุรักษ์มรดก ทำงวัฒนธรรม โดยทุกศำสนำมีส่วนร่วมในกำรรับรำงวัล ประเพณีลอยกระทง ท่ีทุกศำสนำสำมำรถร่วมทำกิจกรรมได้ จงึ เป็นกิจกรรมที่เชื่อมร้อยกันระหว่ำงชุมชน เชื่อมร้อยด้วย “กำรรับรู้และเรียนรู้ถึงประวัติศำสตร์ของชุมชนย่ำนกะดี จีนของ 3 ศำสนำ 4 ควำมเชื่อ” ได้แก่ คริสต์ พุทธเถรวำท พุทธมหำยำน และอิสลำมซ่ึงมีควำมหลำกหลำยของ วัฒนธรรม “...บรรพบุรุษได้มีการจัดตังศาลเจ้าเกียงอันเกง ขึนมาเฉพาะโดยเป็นการรวมรวมเงินทองจากญาติพ่ีน้องก็ ตาม แต่ทุกคนท่ีมีความเล่ือมใสศรัทธาสามารถมากราบไหว้ ขอพรท่ีศาลเจ้าแห่งนีได้ ถึงแม้ว่าคนท่ีเคยกราบไหว้จะ เสียชีวิตไปแล้ว แต่ก็มีลูกหลานมากราบไหว้ตลอดมา ในฐานะผู้ดูแลจะรักษาไว้ให้ดีที่สุดให้เป็นแบบออริจินอล เหมือนเดิม แต่ส่วนผู้ท่ีมาไหว้จะได้รับรู้ถึงประวัติศาสตร์ วัด ศิลปกรรม ผลงานต่างๆ ท่ีได้รังสรรค์ไว้ ซึ่งเป็นงานฝีมือ ตงั แตส่ มัยโบราณและหาดไู ด้ยาก เป็นส่วนของการท่องเทย่ี ว

~ 34 ~ ให้ความส้าคัญของกุฎีจีน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ดูแลศาล เจ้าเกียงอันเกง หรือศาลเจ้าแม่กวนอิม) และร่วม “อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีตำมหลัก เศรษฐกิจพอเพียง” โดยจะมีโบรำณสถำนคู่กับแผ่นดินนี้ มีกำรฟ้ืนฟูและรักษำไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของชุมชน กำรอนุรักษ์ ควำมเป็นประวัติศำสตร์ งำนฝีมือช่ำงงำนจิตรกรรม รวมไป ถึงศิลปวัฒนธรรมของโบรำณสถำนต่ำงๆ ในชุมชน เช่น โบรำณสถำนศำลเจ้ำเกียงอันเกงซึ่งไดร้ ับรำงวัล อนุรักษ์ศิลป สถำปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2551 ประเภทปูชนียสถำน และวัดวำอำรำม ศำลเจ้ำเกียนอันเกง กรุงเทพมหำนคร จำกสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพ รัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี อีกทั้งยังมีแนวคิดยึด ตำมหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีควำมพอประมำณ ควำมพอดี ท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มำกเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อ่ืน “...วันอาเน่ียแซ (วันคล้ายวันออกบวชขององค์ พระมหาโพธิสัตว์กวนอิม) ตามประเพณีจีน 3 วัน คือ วันคล้ายวันประสูติ วันคล้ายวันออกบวช และวันคล้าย วันส้าเร็จมรรคผล ซึ่งศาลเจ้าเกียงอันเกงจัดแบบใช้หลัก เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้จัดเต็มรูปแบบการเดนิ ธูป เน่ืองจาก หากจัดงานจะมีคนเข้ามาจ้านวนมากท้าให้เกิดความชุลมุน

~ 35 ~ ...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ดูแลศาลเจ้าเกียงอันเกง หรือศาล เจ้าแม่กวนอิม) เน้นกระบวนกำรเรียนรู้ร่วมกันด้วย “กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน โดยมีศำสนำและควำม เชือ่ เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจ” ส่งิ หนงึ่ ทส่ี ำคัญมำก คอื กำรพัฒนำ ผู้นำชุมชน และกำรเล็งเห็นปัญหำของชุมชน หำกชุมชนมี ควำมอดอยำก หวำดระแวง ชุมชนก็ไม่มีทำงสงบสุขศำสนำ และควำมเชื่อจึงต้องเป็นศูนย์รวมของจิตใจให้กับทุกคนใน ชุมชน “...การพัฒนาผู้น้าชุมชนสลับกันเป็นตัวแทนตาม ความถนัดโดยเรียนรู้เรื่องที่ตนเองถนัดแล้วน้ามาแบ่งปัน บอกคนในชุมชน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้น้าศาสนาคริสต์ วัดซางตาครู้ส) และ “...หากมองจากวัดออกนอกก้าแพงวัด เราเห็นปัญหาชุมชนที่กระทบวัด ต่อให้วัดเจริญแต่ชุมชน อดอยาก หวาดระแวง ก็ไม่สงบสุขหรอกแต่ก่อน ของในวัด จะหายโดยเฉพาะเปิดเทอม มันจะบอกอะไรบางอย่าง มันอยู่อย่างหวาดระแวง แทนที่เราล้อมรัววัดด้วยไมตรี แทนท่ีการสร้างก้าแพง เอาคนรอบวัดมาเป็นรัวให้เรา ผูกมิตรกัน เราเอาพวกเขามาเป็นพวก พอเริ่มท้าเราก็ระดม ความคิดพระในวัด โดยเฉพาะการน้าเงินในวัดไปช่วย ชาวบ้านเพ่ือพัฒนาชุมชน ท้าให้เห็นว่าเราแคร์เค้าเราจะ พัฒนาชุมชนรอบชุมชนเรามี 3 ศาสนา เราต้องมีคนกลางนี่

~ 36 ~ ส้าคัญ เรารอโอกาส เมือ่ คนกลางเข้ามา แต่เม่ือไม่มีโอกาสก็ ยังท้าไม่ได้...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศา วรวิหาร) จุดเปลี่ยนจะเกิดขึนได้ต้อง “ระเบิดจำกข้ำงใน พร้อมกับมีใจที่จะให้เพ่ือส่วนรวม” โดยเริ่มจำกควำมเห็น พ้องต้องกัน มีกำรปรับทัศนคติ เจตคติ ของคนในองค์กร เสียก่อน เช่น กำรปรับทัศนคติของคนในวัดไม่แบ่งแยก ให้มองคนมีลักษณะฐำนะท่ีเท่ำเทียมกัน มีควำมรับผิดชอบ ร่วมกัน “...หำกจะทำกิจกรรมกำรมีส่วนร่วมกันควรมีกำร ขว้ำงหินถำมทำงเสียก่อน ดูว่ำคนจะเอำหรือไม่เอำ เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย แล้วจึงมีกำรปรับตัวเข้ำร่วมกัน...” (ค้าให้ สัมภาษณ์ของเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวรวิหาร) เน้นกำรมี ส่วนร่วมของ “เครือข่ำยองค์กรในชุมชน” ที่เข้ำมำมีส่วน ร่วมในกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนโดยมีศำสนำและควำม เชื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจได้แก่ มหำวิทยำลัยรำชภัฎธนบุรี ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย ร ำ ช ภั ฎ บ้ ำ น ส ม เ ด็ จ เ จ้ ำ พ ร ะ ย ำ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัย มหำจุฬำลงกรณ์ รำชวิทยำลัย มหำวิทยำลัยมหิดล มำช่วยในเร่ืองกำร ประชำสัมพันธ์ เช่น ทำงส่ือออนไลน์ เฟสบุ๊ค อีกทั้งรำยกำร แพรว รำยกำรเปิดตำนำนกับเผ่ำทอง ทองเจือ รำยกำร ติดกรุง ได้มีกำรประชำสัมพันธ์จัดทำรำยกำรผ่ำนทำง

~ 37 ~ รำยกำรโทรทศั น์ ช่องทำงส่อื ออนไลน์ Youtube รวมไปถึงมี กำรสืบทอดรักษำโดยกำรให้ลูกหลำนเป็นผู้สำนต่อ เช่น เครือข่ำยเยำวชนในพื้นท่ี ซึ่งเกิดจำกกำรซึมซับควำมเป็น มรดกทำงวัฒนธรรมของชุมชนย่ำนกะดีจีน รวมไปถึงกำรใช้ เสียงตำมสำยเพ่ือให้คนในชุมชนได้รับรู้ รับทรำบถึงข้อมูล ข่ำวสำร กำรประชำสัมพันธ์ต่ำงๆ อย่ำงทั่วถึง และสิ่งสำคัญ ท่ขี ำดไม่ไดค้ ือ “ควำมร่วมมือในกำรพัฒนำชมุ ชน 6 ชุมชน ย่ำนกะดจี นี ” ด้วยงำน “ศลิ ปใ์ นซอย” โดยไดร้ บั ควำมร่วมมอื จำก ซึ่งได้รับควำมร่วมมือจำก สถำปัตย์จุฬำหรืออำจำรย์ แดง วัด และคนในชุมชน ตำมหลัก “บ ว ร” “...เราท้าให้ ชุมชนน่าบ้านหน้ามอง ลดอาชญากรรม ยาเสพติด ที่น่ีเราก็ เร่ิมระดมจากต้ารวจบุปผาราม ช่วยตรวจทตี่ ู้แดงบอ่ ยๆ ก็จะ ช่วยได้ ต่อมาเราจัดงานทอดผ้าป่า หรือขายสินค้าได้ คนแสดงมากกว่าคนดูอีก เลยคิดว่าจะจัดงานไรดี เพื่อ แก้ปัญหาชุมชน จึงเกิดไอเดีย 6 ชุมชน เลยชวนศาสนาอื่น มาร่วมกัน เราอยู่ริมน้า มีท่าน้า เรามีวัฒนธรรม เลยใช้ สถานท่ีท่ีเป็นกลางเปิดตัว เปิดงาน ตีปีบ ท้าให้คนได้รู้จัก ชุมชน ต้องใช้สถานที่ท่ีเป็นกลาง ให้พระ โต๊ะอีหม่าม หลวง พ่อ มาเปดิ งานร่วมกนั นง่ั อยูบ่ นเวทีดว้ ยกนั สื่อมาท้าขา่ วกัน ต่อมา 6 ชุมชนต้องท้าด้วยกัน เราแนะน้าให้เค้าไปเท่ียว

~ 38 ~ โบสถ์ สุเหร่าเราใชเ้ ทคโนโลยีให้เหมาะสม เราบูรณะเจดีย์นี ถ้าเราไม่ได้เพ่ือนต่างศาสนา เราไม่ได้รางวัลหรอก...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวรวิหาร) และ “...ก าร พั ฒ น า ชุ ม ช น มี โ ค ร ง ก าร ห น้ าบ้ าน น่ าม อ ง โ ด ย ทา ง ชมุ ชนจัดซือกระถางต้นไม้มาวางให้หน้าบ้านตอ้ งการให้ปลุก ต้นไม้พืชผักสวนครัวงบประมาณได้มาจากชุมชนและหลวง พ่อท่ีดูแลวัดซางตาครู้ส...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้น้าศาสนา คริสต์วัดซางตาครู้ส) รวมถึงกำรเชื่อมประสำนสัมพันธ์ด้วย “กิจกรรมเช่ือมร้อยกันระหว่ำงศำสนำ” โดยกิจกรรมน้ัน เป็นกิจกรรมท่ีทุกศำสนำสำมำรถเข้ำร่วมทำกิจกรรมได้ เช่น ประเพณีลอยกระทง จึงเป็นกิจกรรมท่ีเช่ือมร้อยกันระหว่ำง ชุมชน “...วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร จะมีกิจกรรมตาม เทศกาล ตรุษจีน สงกรานต์ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วนั อาสาฬหบูชา ออกพรรษา ลอยกระทง นีคือกิจกรรมท่ีวัด จัดท้า ส่วนกิจกรรมอื่นๆ วัดไม่ค่อยท้าเพราะว่าท่ีน่ีเน้นเรื่อง เรียนบาลี รวมไปถึงให้ญาติโยมมาเรียนด้วย เราเน้นเรื่อง การศึกษา เราไม่เน้นกิจกรรมอ่ืนอย่างที่วัดอื่นเขา...ท้า” ( ค้ า ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ ข อ ง ผู้ ช่ ว ย เ จ้ า อ า ว า ส วั ด กั ล ย า ณ มิ ต ร วรมหาวิหาร) หนุนเสริม “บทบำทส่วนร่วมช่วยเหลือคน ในชุมชน” เช่น กำรดูแลโดยรอบชุมชน กำรดูแลคน

~ 39 ~ เปรำะบำงในชุมชน หรือเม่ือเกิดภัยพิบัติหรือสถำนกำรณ์ที่ คำดไม่ถึง เช่น สถำนกำรณ์โควิค-19 สถำนศำสนำต่ำงๆ ได้ เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรช่วยเหลือคนในชุมชน “ช่วงโควิด-19 ทางวัดก็ช่วยเหลือเรื่องข้าวสารอาหารแห้ง เอาของมาแจก เพราะวัดก็ได้รับแจกมาวัดก็กระจายออกไป ส่วนใหญ่ก็มีคน มาท้าบุญกับวัดรวมทังหน่วยงานราชการด้วย เขาก็จะเหมา ให้ไว้ท่ีวัดเราเหลือเราก็แจกให้ชาวบ้าน วัดก็ต้องเป็น ศูนย์กลางแล้วก็แจกออกไป” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ช่วยเจ้า อาวาสวดั กัลยาณมิตรวรมหาวิหาร) “...การดูแลคนเปราะบางในชุมชน มีพิธีทิง กระจาด ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นนักท่องเท่ียวหรือคนภายนอก ชมุ ชนมาไหว้ มีการท้าบุญ ซ่ึงหากเปน็ ของแห้ง เช่น ข้าวสาร 5 กิโลกรัม จะมีการน้าไปแจกจ่ายคนในชุมชนวัดกัลยาณ์ ซ่ึงพิจารณาการให้ตามความเหมาะสม ส่วนที่เหลือจะมีการ น้าไปให้สถานท่ีต่างๆ เพ่ือแจกจ่ายให้กับคนยากจน ผู้ป่วย ติดเตียงในชุมชน โดยน้าไปให้โรงเรียนในชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชน ทุกชุมชนในย่านกะดีจีน ส้านักงานเขต โรงพัก เป็ น ผู้ พิจ า ร ณา ใ น กา ร แ จก จ่ า ย ตา ม ค วา ม เ หม า ะ สม . . . ” ( ค้ า ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ ข อ ง ผู้ ช่ ว ย เ จ้ า อ า ว า ส วั ด กั ล ย า ณ มิ ต ร วรมหาวิหาร)

~ 40 ~ “...หลวงพ่ีไม่เคยรู้สึกรงั เกียจ เราไมเ่ คยรู้ว่า ทา้ ไม เขาไปอยู่ที่อื่น ไม่เคยมีความรู้สึกแบบนัน บางทีมีมาไหวเขา เป็นมุสลิม เราก็รู้สึกดีนะ เวลาที่เขาเข้ามากิจกรรม มาอะไร ต่างๆ บางทีนักศึกษาฝึกสอนก็มีมุสลิมมา ฝึกการอยู่ร่วมกัน มีข้าวสารต่างๆ อะไรต่างๆ ก็แจกให้ อย่างภาคใต้ที่อยู่กัน พุทธ มุสลิม เราอยู่กันมาตังนานไม่เห็นเป็นไรเลย...” (ค้าให้ สมั ภาษณ์ของผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตรวรมหาวหิ าร) “... การมีส่วนร่วมของคนในชมุ ชนมีการเข้าโบสถ์ โดยนา้ เยาวชนเด็กมีเวรเข้ามาช่วยงานช่วยสวดมนต์ภาวนามี กิจกรรมด้านศาสนาทังเดือนโดยมีคนในชุมชนมาช่วย การร่วมงานเสาร์-อาทิตย์ มีคนร่วมงานประมาณ 100 กว่า คน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร) “…ชมุ ชนจะสนับสนุนอุปกรณ์เคร่ืองมือสนับสนุน การเรียนการสอนการสร้างอาชีพ...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของ ผู้นา้ ศาสนาครสิ ตว์ ัดซางตาครสู้ ) “…การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนมีการเข้าโบสถ์ โดยนา้ เยาวชนเด็กมีเวรเขา้ มาชว่ ยงานช่วยสวดมนต์ภาวนามี กิจกรรมด้านศาสนาทังเดือนโดยมีคนในชุมชนมาช่วย

~ 41 ~ การร่วมงานเสาร์-อาทิตย์มีคนร่วมงานประมาณ 100 กว่า คน...” (ค้าให้สมั ภาษณข์ องผู้น้าศาสนาครสิ ต์วดั ซางตาคร้สู ) “…การดูแลในชุมชนมีกลุม่ สตรี กลุ่มพลมารี กลุ่ม เซนตากร กลุ่มพระเมตตา มีการด้าเนินงานโดยกลุ่มสตรีจะ ดูแลช่วยเหลือในเร่ืองส่ิงของ กลุ่มพลมารีย์ จะไปเย่ียมดูแล คนในชุมชนทุกอาทิตย์ไม่สามารถให้การช่วยเหลือเรื่องเงิน ได้ และรายงานให้ทางวัดทราบโดยหลวงพ่อจะบอกว่าให้ ช่วยคนกลุ่มไหนได้บ้าง กลุ่มเซนต์ตากร จะไปพูดคุย เยี่ยม เยือน และให้การสนับสนุนทุนกลุ่มพระเมตตา เม่ือมีคน เสียชีวิตจะรับผิดชอบ ในเร่ืองของการสวดมนต์ภาวนาแต่ ไม่ได้ให้เงิน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้น้าศาสนาคริสต์ วดั ซางตาคร้สู ) “…การดูแลผู้สูงอายุส้าหรับผู้สูงอายุท่ีไม่มีผู้ดูแล มีการส่งต่อให้เครือคาทอลิก โดยมีหลวงพ่อและแม่ชีดูแล หรือ ส่งต่อให้บ้านบางแคทางชุมชนมีการไปเย่ียมเยือน แตล่ ะศูนยค์ นในชุมชนสนับสนุนช่วยเหลือในเรื่องของส่งิ ของ และเงิน รวมถึงคนเปราะบางในชุมชนมีไม่เยอะกลุ่มพลมารี ดูแลผู้สูงอายุติดเตียง มีอาสาสมัครดูแล จ้านวนอาสาสมัคร น้อยกว่า 50 คนต่อชุมชน...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้น้า ศาสนาครสิ ตว์ ดั ซางตาครูส้ ) เนน้ ย้ำซ้ำๆ ดว้ ย

~ 42 ~ “กำรอบรมให้ควำมรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน” โดยมีศำสนำและควำมเช่ือเป็นศูนย์รวมจิตใจ โดยศำสนำ ต่ำงๆ ได้มีกำรถ่ำยทอดศำสนำ ควำมเช่ือ และวัฒนธรรม ต่ำงๆ จำกรุ่นต่อรุ่น โดยไม่กีดกันควำมเชื่อ ควำมศรัทธำ ของแต่ละศำสนำ “...ทางศาลเจ้าเกียงอันเกงได้มีการ ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณี ให้กับผู้ที่สนใจ เช่น โรงเรียนมี การน้าประวัติให้เด็กอ่าน แล้วมีการตังค้าถามเพ่ือน้ามาถาม ว่าเข้าใจถูกต้องหรือไม่ โดยบุคคลท่ีถ่ายทอดความรู้ควรเป็น คนที่มีความพร้อมในเร่ืองความรู้ และมีจิตวิญญาณในเรื่อง ของวัฒนธรรมอย่างแท้จริง...” (ค้าให้สัมภาษณ์ของผู้ดูแล ศาลเจ้าเกียงอันเกง หรือศาลเจ้าแม่กวนอิม) สอดแทรก “สนำมกำรค้ำเป็นกลยุทธ์” แลกเปล่ียนวัฒนธรรมโดย กำรค้ำขำยส่ิงของท่ีมีควำมแตกต่ำงทำงด้ำนควำมเช่ือทำง ศำสนำ เป็นกลยุทธ์อย่ำงหน่ึงท่ีจะสมำนฉันท์ได้ เพรำะว่ำ กำรค้ำคือเศรษฐกิจเศรษฐกิจคือกำรดำรงชีวิตอยู่ มีเงินมี ทองใช้ ถ้ำไม่มีกิจกรรมอะไรต่ำงๆ ที่ซื้อขำย หรืออะไรกัน มันจะขำดควำมสัมพันธ์ต่อกันจึงเปรียบเสมือน “สนามรบ เป็นสนามการค้า” จึงทำให้เกิดกำรติดต่อส่ือสำรสัมพันธ์กัน เป็นที่ท่องเท่ียวท่ีน่ำสนใจ นำควำมเจริญมำสู่ชีวิต เป็น Unseen คิดเป็นกำรคำ้ กำรท่องเท่ยี ว

~ 43 ~ 4. ด้ำนภำคี / กิจกรรม ภำคีร่วมจัดกิจกรรมของ มหำวิทยำลัยและโรงเรียน นำกำรใช้ภูมิปัญญำชุมชน สร้ำง อำชีพ รำยได้ โครงกำรต่ำงๆ เช่น โครงกำรเยำวชน เจ้ำบ้ำนสืบสำนวัฒนธรรม, โครงกำรมอบทุนกำรศึกษำแก่ เด็กและเยำวชน โครงกำรอบรมเด็กและเยำวชนภำคฤดรู ้อน โครงกำรศิลป์ในซอย โครงกำรประกวดอำหำร 3 ศำสน์ โครงกำรงดสูบบุหรี่ในศำสนสถำน โครงกำรอนุรักษ์ภูมิ ปัญญำท้องถิ่น โครงกำรอนุรักษ์ศำสนสถำน ส่วน สถำบนั กำรศึกษำในเขตธนบุรี ท่ีเข้ำมำจัดกจิ กรรม/โครงกำร ในชุมชนกะดีจีน ได้แก่ โรงเรียนซำงตำครู้สศึกษำ โรงเรียน วัดประยุรวงศำวำส โรงเรียนวัดกัลยำณมิตร มหำวิทยำลัย รำชภัฎธนบุรี มหำวิทยำลัยรำชภัฏบ้ำนสมเด็จเจ้ำพระยำ และ สถำบันกำรศึกษำนอกเขตธนบุรี ได้แก่ จุฬำลงกรณ์ มหำวิทยำลัย และโครงกำรท่ีกล่ำวถึงช่วยให้บรรลุเป้ำหมำย กำรพัฒนำท่ียั่งยืน ดังต่อไปนี้ 1) กำรสร้ำงควำมสมัครสมำน สำมัคคีให้เกิดขึ้นใน ย่ำนกะดีจีน 2) กำรพัฒนำอำชีพและ สร้ำงรำยได้ให้กับชุมชนในย่ำนกะดีจีนด้วยกำรท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม 3) กำรพัฒนำย่ำนกะดีจีน ให้มีควำมสะอำด ร่มร่ืนน่ำอยู่อำศัย 4) กำรส่งเสริมโครงกำรเด็กและเยำวชน เจ้ำบ้ำนสืบสำนวัฒนธรรม และกำรให้ทุนกำรศึกษำ ส่วน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook