Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหาและสื่อประกอบ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

เนื้อหาและสื่อประกอบ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

Published by Indytitle Channel, 2022-07-07 09:02:01

Description: หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

Keywords: ต้านทุจริต

Search

Read the Text Version

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เร่อื ง การต้านทุจริตในสถานการณ์การเปลยี่ นฉบั พลนั ทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption)

หลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา พ.ศ. 2564 เรอื่ ง เรื่อง การต้านทุจรติ ในสถานการณ์การเปลีย่ นฉบั พลนั ทาง เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Disruption) 1

คานา ปจั จุบนั โลกเข้าสู่ยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ซึ่งสถานการณว์ ิทยาการต่าง ๆ เป็นปจั จัยสาคัญในการดารงชีวิต ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทาให้รูปแบบการดาเนินชีวิตมีความสะดวกสบายข้ึน การประกอบธุรกิจอาศัย ข้อมูลในการคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ การบริการลูกค้า และเศรษฐกิจได้กลายเป็นระบบเศรษฐกิจโลก การเปลี่ยนแปลงนี้เองก่อให้เกิดปรากฏการณ์ท่ีเรียกว่า Digital Disruption ซึ่งหมายถึงการเปล่ียนแปลงส่ิงท่ี เป็นอยู่อย่างรุนแรงและรวดเร็ว ทาให้มีผลกระทบมากมาย ส่ิงเหล่านี้เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีการส่ือสารผ่าน อินเทอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่งข้อมูลข่าวสารถึงกันได้ตลอดเวลา เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ช่วยให้วินิจฉัย ปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เชื่อมตอ่ กนั ผา่ นอินเทอร์เน็ต หรอื ทเี่ รียกวา่ IoT (Internet of Things) สาหรับประเทศไทยรฐั บาลไดแ้ ถลงนโยบาย “Digital Economy” (เศรษฐกิจดิจิทัล) ก่อให้เกิดการปรับ โครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นเครื่องมือ ในรูปแบบ “ดิจิทัลไทยแลนด์” (Digital Thailand) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการปฏิรูปกระบวนทัศน์ ในการทางานในภาคราชการ และภาคธรุ กิจอย่างรวดเร็ว จากสถานการณน์ ้ีเองทาให้มีการนาเทคโนโลยีไปใช้ในเชิงทจุ ริตได้มากขึน้ สานักงาน ป.ป.ช. ไดต้ ระหนัก ถึงปัญหาเหลา่ นี้เป็นอย่างดี จงึ ไดพ้ ฒั นาหลักสตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษาให้ทันสมัยขนึ้ โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ชุดความรู้ คือ 1) เรื่อง การต้านทุจริตในสถานการณ์การเปล่ียนฉับพลันทางเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) 2) การพิทักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางธรณี 3) การพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติน้า โดยจะนาไปสอดแทรกในการศึกษาทุกระดับ ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษา ระดับอุดมศึกษา รวมถึงหลักสูตรการฝึกอบรมของหน่วยงาน ได้แก่ กลุ่มทหาร ตารวจ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กลมุ่ วิทยากร ป.ป.ช./บุคลากรภาครัฐ และรฐั วิสาหกิจ และกลุ่มโค้ช เพือ่ ให้ เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก และเท่าทันต่อการทุจริตในสถานการณ์ Digital Disruption รวมไปถึง การมสี ว่ นรว่ มในการต่อต้านการทุจรติ สานักต้านทุจริตศึกษา สานักงาน ป.ป.ช. 2ก

สารบญั หน้า ก คานา 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption 14 1.1 ภาพรวมของ Digital Disruption 56 1.2 กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง 60 1.3 ขอ้ มลู 61 1.4 บทบาทขององค์กรที่เก่ียวข้อง (ผูเ้ ล่น/ผูใ้ ช้/ผูค้ ุม) 1.5 Digital asset (Cryptocurrency/Telecom) 70 76 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 โอกาสและภยั ทเี่ กดิ จาก Digital Disruption 79 2.1 โอกาสเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยีในการตอ่ ตา้ นทจุ รติ 2.2 กรณีศกึ ษาโอกาสเชิงบวกของการใชเ้ ทคโนโลยีในการตอ่ ต้านการทุจรติ 81 2.3 โอกาสทางลบของการใช้เทคโนโลยใี นการทุจรติ 85 86 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 โอกาสในการลดการทุจริตในยคุ Digital Disruption 3.1 General Governance 89 3.2 ธรรมาภิบาลเทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก์ ร (IT Governance) 98 3.3 ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance) 109 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 นวัตกรรมการต่อตา้ นทุจรติ ในยคุ Digital Disruption 4.1 นวตั กรรมส่งเสริมการปอ้ งกันทุจริต 3 4.2 STRONG Model ภาคผนวก ส่อื การเรยี นรู้

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา พ.ศ. 2564 เรอื่ ง การตา้ นทจุ ริตในสถานการณ์การเปลีย่ นฉบั พลนั ทางเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Disruption) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ความหมายและความสาคัญของ Digital Disruption 1.1 ภาพรวมของ Digital Disruption นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ การอธิบายความหมายการใช้คาตามศัพท์บัญญัติของสานักงานราชบัณฑิตยสภา โดยคณะกรรมการ จัดทาพจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2562 ได้กาหนด/ บัญญัติ คาว่า Digital Disruption คือ การเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล กล่าวคือ การเปล่ียนรูปแบบการทางาน ให้ใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะที่ก้าวหน้าขึ้น จนอาจถึงข้ันไม่ต้องใช้แรงงานคน มักเป็นการเปลี่ยนอย่าง ทันทีทันใดจนทาให้รูปแบบการทางานแบบเดิมต้องยุติลง เช่น การใช้หุ่นยนต์ทางานซ้าซากแทนแรงงานคน การถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์มมาเป็นการใช้กล้องดิจิทัลซึ่งบันทึกภาพเป็นข้อมูลทันที การทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มี ความสามารถในการตัดสินใจเองโดยใชห้ ลกั การปัญญาประดษิ ฐ์ โดยในหลักสตู รต้านทุจริตศึกษานี้ จะใชค้ าว่า “Digital Disruption” ตลอดทง้ั เล่มหลักสตู ร เพอ่ื ท่ีจะสือ่ ความหมายได้โดยตรงในยคุ ดิจทิ ลั เพอ่ื การรับรู้ 1) ความหมายของ Digital Disruption Digital Disruption เป็นการเปลี่ยนแปลงที่นาวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพกว่ามาทาลายรูปแบบที่มีอยู่ ด้ังเดิม ซึ่งเป็นผลมาจากเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ประกอบกับการเข้ามาของแหล่งข้อมูล มหาศาล ท่ีสามารถเข้าถึงได้ด้วยการสื่อสารอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ทาให้โลกเปล่ียนแปลงในทุกดา้ น ไปอย่างไม่อาจคาดเดาได้ ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผ้คู น การทางาน รวมไปถึงการเรียนรแู้ ละระบบ การศึกษา โลกจะผ่านการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมายขนาดนั้นจริงหรือ อะไรที่จะเปล่ียน และจะเตรียมการ เพื่อรบั มือกบั การเปลีย่ นแปลงคร้ังนีอ้ ยา่ งไร การปฏิวัติอุตสาหกรรมแต่ละครั้ง ได้เปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของผู้คน สังคม การเมือง การปกครองและ ระบบเศรษฐกิจแตกต่างกันไป โดยการปฏิวัติอุตสาหกรรมคร้ังที่หน่ึง เริ่มในอุตสาหกรรมสิ่งทอของอังกฤษ จากการค้นพบเคร่ืองจักรไอน้า ทาให้มีการนาเครื่องจักรมาทดแทนการใช้แรงงานคนและสัตว์ ทาให้เกิด เครื่องจักรกลไอน้า เกิดการเดินทางและการพัฒนาจากเมืองไปสู่ชนบท การปฏิวัติอุตสาหกรรมคร้ังท่ีสอง เป็นการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นจากการค้นพบไฟฟ้า ซ่ึงทาให้การผลิตทาได้มากข้ึนกวา่ เดิม จนเปล่ียนระบบการ ผลิตเป็นระบบโรงงาน สินค้าสามารถผลิตได้จานวนมากและมีคุณภาพ เกิดกระแสบริโภคนิยมไปทั่วโลก นอกจากน้ียังมีการคิดค้นเคร่ืองยนต์สันดาปภายในทาให้เกิดรถยนต์ และเครื่องบิน การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่สามเป็นยุคท่ีเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทอย่างมากกับชีวิตประจาวันรวมทั้ง อุตสาหกรรม ส่งผลต่อการผลิต เป็นการใช้เคร่ืองจักรอัตโนมัติหรือหุ่นยนต์ในการผลิตแทนท่ีแรงงานมนุษย์ มากข้ึน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น รวมท้ังการลดต้นทุนการผลิต การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่ เป็นยุคที่อินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีส่ือสารความเร็วสูง เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตสาหรับสรรพส่ิง (Internet of Things) และโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence (AI)) มีความก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพอย่างมาก ส่งผลให้มีการ 1

เข้าถึงข้อมูลมหาศาล (Big Data) ที่มีอยู่ทั่วโลก มีการนาข้อมูลท่ีมีความหลากหลายมาวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ และใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทาให้เกิดนวัตกรรมท่ีชาญฉลาด มีอิทธิพลต่อภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคธุรกิจและบริการ รวมทั้งภาคการศึกษา ส่งผลให้เกิดนวัตกรรมท่ีใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมี รูปแบบใหม่ ซ่ึงทาลายล้างรูปแบบเดิม ๆ ไปอย่างส้ินเชิง [1] การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเรียกว่า digital disruption ซ่ึงเป็นสิ่งท้าทายอย่างย่ิงต่อการปรับตัวและความอยู่รอดในอนาคต หลาย ๆ ประเทศทั่วโลก เร่งปฏิรูปทุกภาคส่วนภายในประเทศให้มีความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงคร้ังนี้ สาหรับประเทศไทย ได้ให้ความสาคัญในเรื่องดังกล่าวเช่นเดียวกัน โดยได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) บนพืน้ ฐานของยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ซึ่งเปน็ แผนแมบ่ ทหลักของ การพัฒนาประเทศ และมีเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมท้ัง การปรับโครงสร้างประเทศสู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) เพื่อมุ่งสู่ “ความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน” ทีเ่ น้นการขับเคล่ือนดว้ ย “การพัฒนานวตั กรรม การบรกิ ารใหม่ ๆ การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี รปู แบบการดาเนิน ธุรกจิ และการปรบั เปล่ียนวิถีชีวติ ของผคู้ นในสังคมทีเ่ ปน็ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งถอนรากถอนโคนและการพัฒนา ต่อยอด” [2] เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจทิ ัลสง่ ผลใหเ้ กิด Digital Disruption ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ วิถีชวี ิต การทางาน การ เรยี นรู้ โดยเฉพาะพฤติกรรมผ้บู รโิ ภค ทาใหธ้ ุรกิจหรือบริการต่าง ๆ ต้องปรบั รูปแบบการทาธุรกิจ ที่มงุ่ ให้ลูกค้า ได้รับมูลค่าที่เท่าเดิมหรือดีกว่าเดิมในราคาท่ีต่ากว่า ดังน้ัน บริษัทที่ยังใช้รูปแบบธุรกิจเดิมอาจสูญเสียธุรกิจได้ ซ่ึงเทคโนโลยีท่ีทาให้เกิด Digital Disruption อาจหมายรวมถึงปัญญาประดิษฐ์ อัลกอริทึมเรียนรู้เชิงลึก วิศวกรรมซอฟต์แวร์ การออกแบวงจรรวม คลาวด์คอมพิวต้ิง การออกแบบส่วนเชื่อมต่อออนไลน์ หุ่นยนต์ ข้อมูลขนาดใหญ่ และการวิเคราะห์ข้อมูล เม่ือผนวกเทคโนโลยีเหล่าน้ีเข้าด้วยกันย่อมทาให้เกิดเป็นระบบท่ีมี ประสิทธิภาพอย่างย่ิง ซ่ึงเทคโนโลยีเหล่าน้ีมีบทบาทอย่างยิ่งในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แทนการแก้ปัญหาด้วย มนษุ ย์ มีนัยสาคัญว่าอาจมาแย่งอาชีพจากมนุษยไ์ ดใ้ นอนาคต ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี้ ทางดา้ นอตุ สาหกรรมการผลิต มกี ารนาหุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ในอุตสาหกรรมที่มลี ักษณะงานท่ีทาซ้า ๆ เชน่ งานที่ตอ้ งใช้แรงงานคน การผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ หรือการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ด้านการเงินการธนาคาร มีเทคโนโลยีท่ีเรียกว่า Fintech เข้ามาแทนท่ีระบบต่าง ๆ ในธนาคาร เช่นการทาธุรกรรมทางการเงินเกือบทุกชนิด ท้ังการฝาก ถอน โอนเงิน การชาระค่าบริการต่าง ๆ สินเชื่อ การกู้ยืม ท่ีสามารถทาได้ง่ายด้วยเทคโนโลยีหรือแอปพลิเคชันผ่าน โทรศัพท์มือถือ ซึ่งมีความผิดพลาดน้อยกว่า สามารถให้บริการได้อย่างไม่มีข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ และท่ีสาคัญสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้าได้เป็นรายบุคคล ส่งผลให้ธนาคารปิดสาขาลง เป็นจานวนมาก รวมถึงเทคโนโลยบี ล็อกเชน (Blockchain) ซ่งึ เปน็ โปรโตคอลของความน่าเชื่อถือ กถ็ กู นามาใช้ ด้านธรุ กิจค้าปลีก มีการนาแพลตฟอร์มสาหรบั การซื้อขายออนไลน์ ทาให้การซอ้ื ขายแบบเดิม ๆ กาลังถูกแทนท่ี หรือแมภ้ ายในรา้ นคา้ ตา่ ง ๆ ท่มี กี ารนาระบบอัจฉรยิ ะมาใช้ทัง้ การเลือกสนิ คา้ การโฆษณา การชาระเงนิ รวมถึง การวิเคราะห์พฤติกรรมลูกค้า เพ่ือนาเสนอข้อมูลสินค้าท่ีตรงตามความต้องการลูกค้ามากย่ิงขึ้น น่ันหมายถึง ธุรกิจค้าปลีกแบบเดิมอาจสูญพันธ์ุได้ ด้านขนส่ง มีการพัฒนาแพลตฟอร์มท่ีชื่อว่า GrabTaxi หรือ UBER เพ่ือให้บริการรถแท็กซ่ีสาหรับผู้โดยสารผ่านระบบโทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟน เพ่ือการเดินทางท่ีปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพมากข้ึน นอกจากนี้ google และ Tesla ได้นาปัญญาประดิษฐ์มาพัฒนารถยนต์อัจฉริยะหรือ รถยนต์ไรค้ นขับ ซง่ึ สง่ ผลใหอ้ าชพี พนักงานขับรถอาจสูญหายไปได้ ทางด้านการแพทย์ มกี ารนาปัญญาประดิษฐ์ มาใช้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพและปรับปรุงข้อมูลเพื่อวินิจฉัยโรคได้อย่างแม่นยาและ รวดเร็ว เช่นการวินิจฉัยโรคมะเร็งผิวหนังและออทิสติก ท่ีทาได้อย่างแม่นยา ด้านกีฬา ได้มีการพัฒนาหุ่นยนต์ เพื่อทาหน้าที่ผู้ฝึกสอนนักกีฬาบางประเภท เช่นกีฬาเทเบิลเทนนิส บาสเกตบอล ด้านดนตรี มีการนาระบบ ปัญญาประดิษฐ์มาใช้ประพันธ์เพลง หรือการนาหุ่นยนต์มาเล่นดนตรี ด้านธุรกิจโรงแรม ท่ีต้องสูญเสียส่วนแบง่ 2

ทางการตลาดให้กับ Airbnb แพลตฟอร์มให้บริการท่ีพัก ที่ไม่มีโรงแรมเป็นของตัวเอง ด้านศิลปะ หุ่นยนต์ท่ีมี ปัญญาประดิษฐ์สามารถวาดรูปและสอนให้คนวาดรูปได้ รวมถึงสามารถปลอมงานศิลปะได้อย่างเหมือนจริง จนแยกไม่ออกว่าชิ้นใดเป็นผลงานของมนุษย์หรือหุ่นยนต์ ด้านอาหาร หุ่นยนต์สามารถทาอาหารท่ีมีรสชาติ ใกล้เคียงฝีมือมนุษย์ และสามารถทาอาหารได้อย่างครบวงจร ด้านส่ือสารมวลชน ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนโลก ไปอย่างส้ินเชิง สามารถเขียนข่าวได้โดยไม่ต้องมีบรรณาธิการรวมถึงสามารถอ่านข่าวได้เหมือนคน ด้านชีวติ ประจาวนั ของผู้คนทั่วไป ปญั ญาประดษิ ฐ์ได้เขา้ มามีบทบาทอยา่ งมากมาย ทัง้ การประมวลผลอุณหภูมิ เคร่ืองปรบั อากาศ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าภายในบ้าน การเรียนรพู้ ฤตกิ รรมการใชง้ าน Facebook และ YouTube และ นาเสนอข้อมลู ที่เกี่ยวขอ้ งอย่างชาญฉลาด 3

เทคโนโลยที ี่จะเขา้ มาเปลยี่ นโลก ในรายงานของ McKinsey Global Institute ได้ระบุเทคโนโลยี 12 ประเภท ที่จะเข้ามามีอิทธิพลต่อ การเปล่ียนแปลงโลก ไดแ้ ก่ (เศรษฐพงศ์ มะลสิ วุ รรณ, ม.ป.ป.) 1. อินเทอร์เนต็ ไรส้ าย (Mobile Internet) เป็นเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตในการเช่ือมต่อกับ ทั่วโลก เช่น Mobile Banking ซง่ึ เปน็ การทาธรุ กรรมการเงนิ ผ่านอินเทอร์เนต็ 2. เทคโนโลยีอัตโนมัติในด้านการวิเคราะห์ (Automation of Knowledge Work) เป็นการนา เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์อัจฉริยะและฉลาดมาใช้ในการวินิจฉัยโรคเพ่ือให้เกิดความแม่นยา หรือมาใช้ใน การวิเคราะหก์ ฎหมาย 3. Internet of Things เป็นการฝัง sensors ขนาดเล็กจนถึงเล็กท่ีสดุ เพ่ือส่งข้อมูลสื่อสาร ซึ่งสามารถ นาไปใช้งานได้ เช่น สามารถรับรู้คุณภาพของดินได้จาก sensors ท่ีโรยไว้ในดิน ทาให้ทราบว่าควรปลูกพืช ประเภทใดทีไ่ ดผ้ ลผลติ ทดี่ ีที่สดุ 4. Cloud Computing เป็นเทคโนโลยีเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์รวมเพื่อใช้งาน ซึ่งช่วยทาให้ธุรกิจ ขนาดเลก็ สามารถแขง่ ขนั กับธรุ กจิ ขนาดใหญไ่ ดโ้ ดยไมต่ ้องลงทุนดา้ นคอมพิวเตอร์สูง 5. เทคโนโลยีหุ่นยนต์ (Advanced robotics) เป็นการนาหุ่นยนต์มาใช้ในการผ่าตัดเพ่ือให้คนไข้ได้รับ ผลกระทบนอ้ ยท่ีสุด และผลการผา่ ตัดแม่นยา 6. ยานพาหนะไร้คนขับหรือก่ึงไร้คนขับ (Autonomous vehicles) เป็นเทคโนโลยีท่ีนามาใช้ทดแทน ทางดา้ นการสารวจผลิตผลทางการเกษตรหรือปา่ ไม้ ตลอดจนทางการทหาร 7. เทคโนโลยีชีวภาพ (Next-Generation Genomics) เปน็ เทคโนโลยปี รับปรงุ พฒั นายีนสเ์ พื่อรักษาโรค 8. อุปกรณ์หรือระบบกักเก็บพลังงาน (Next-generation storage) เป็นการสร้าง Fuel Cells เพอ่ื นาไปใชใ้ นรถยนต์ไฟฟา้ และไฮบรดิ 9. เทคโนโลยีการพิมพ์สามมติ ิ (3D Printing) เป็นการพิมพ์ระบบ 3 มติ ิ ชว่ ยลดต้นทุนการผลติ สินค้าลง โดยถกู นามาใชใ้ นงานทางด้านทนั ตกรรมและการแพทย์ 10. เทคโนโลยีวัสดุชาญฉลาด (Advanced Materials) เป็นการผลิตวัสดุใหม่ ๆ เช่น วัสดุท่ีทา ความสะอาดตวั เองกลบั สูส่ ภาพเดมิ เสมอ แข็งแรงและเบาเป็นพเิ ศษ เป็นตน้ 11. เทคโนโลยีสารวจและขุดเจาะน้ามัน (Advanced Oil and Gas Exploration and Recovery) เป็นเทคโนโลยที ่กี า้ วหน้าในการบุกเบิกขุดค้นหาน้ามันและก๊าซ ทาให้ไดน้ า้ มันและก๊าซเพมิ่ มากขึน้ 12. เทคโนโลยีพลังงานทดแทน (Renewable Electricity) เทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าจากแหล่งต่าง ๆ ทไี่ ม่มีวันหมด เชน่ การผลติ กระแสไฟฟา้ จากแสงแดด ลม คลนื่ น้าพุร้อน เปน็ ต้น Disruptive Technology สง่ ผลกระทบตอ่ ภาคส่วนใดบ้าง Disruptive Technology นน้ั สง่ ผลกระทบต่อธรุ กิจในทุกภาคสว่ น ดังตอ่ ไปนี้ (Disruptive Technology วนั ของ “ปลาเร็ว” ลม้ “ปลาใหญ่”, 2558) ภาคการผลติ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทาให้ทุกคนสามารถกลายเป็นผู้ผลิตและจาหน่ายสินค้าได้ง่ายขึ้น เดิม การจะสร้างโรงงานเพื่อผลิตสินค้าสักอย่างสามารถกระทาได้ยาก แต่การที่มีเครื่องพิมพ์สามมิติที่ สร้างสรรค์สินค้า จะช่วยให้ผู้บริโภคท่ัวไปสามารถผลิตสินค้าได้ง่ายขึ้น ในต่างประเทศเริ่มมีการนาระบบ 3D Printing มาใช้ในการสร้างบ้านแล้ว นอกจากการนาเทคโนโลยีมาใช้จะสามารถชว่ ยให้การผลิตสามารถกระทา ได้ง่ายแล้ว ความเปลี่ยนแปลงทางการส่ือสารทาให้เกิดการ Disruptive ข้ึน เมื่อผู้ผลิตไม่จาเป็นต้องพ่ึงพา “ผู้จาหน่าย” อีกต่อไป ผู้ผลิตสามารถใช้ช่องทางออนไลน์เปลี่ยนตนเองให้กลายเป็นผู้จาหน่ายได้โดย 4

ไม่จาเป็นต้องผ่านพ่อค้าคนกลางอีกต่อไป เช่น กรณีผู้ประกอบการท่ีเป็นผู้ส่งวัตถุดิบอาหารทะเลให้แก่ร้านค้า ซีฟู้ดได้ปรับเปลี่ยนตนเองมาเป็นผู้จาหน่ายด้วยโดยใช้วิธีการเปิดร้านค้าผ่าน Facebook ทาให้สามารถสร้าง ยอดขายได้หลายล้านบาทต่อเดือน จากเดิมข้อจากัดของการประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารทะเลจาเป็นที่ จะต้องใช้พื้นที่เพื่อเปิดร้าน หรือจาหน่ายตามห้างสรรพสินค้าในรูปแบบของผลิตภัณฑ์แปรรูป น่ีเป็นตัวอย่าง ที่แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคสามารถรับประทานอาหารทะเลแบบสด ๆ ได้โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางไปถึง ร้านอาหารทะเลผ่านบริการที่เรียกว่า “delivery” ปัจจุบัน อาหารทะเล ปลาแซลมอน หรือแม้แต่น้าพริก ก็สามารถส่งั ซือ้ สนิ คา้ ผา่ นทางระบบออนไลน์ได้ ธุรกิจค้าปลีกโดยเฉพาะห้างสรรพสินค้าเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่กาลังได้รับผลกระทบ แม้จะยังไม่ชัดเจน แต่ก็เห็นได้ว่าจานวนยอดขายตกลงอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากลูกค้าหันไปนิยมซ้ือขายออนไลน์กันมากขึ้น แถมยังมีธุรกิจอีคอมเมิร์ซ อย่าง Shopee Lazada 11street LineMan เข้ามาเป็นคู่แข่งโดยการสร้าง มาตรฐานการซื้อขายออนไลน์ ช่วยให้ลูกค้าได้รับความมั่นใจและความสะดวกสบายด้วย ส่งผลให้บรรดา ผู้ประกอบการทั้งหลายต้องหากลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงก่อนท่ีจะถูก Disrupt แบบเบ็ดเสร็จ ด้วยการเพิ่มช่อง ทางการให้บริการซ้ือขายผ่านระบบออนไลน์เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าแบบคู่ขนานกับการจาหน่าย สนิ ค้าบนห้างสรรพสนิ คา้ ภาคการเงิน เดิมธนาคารพาณิชย์เปน็ เพียงผู้ประกอบการเพียงรายเดียวที่ให้บริการธุรกรรมทางการเงิน แต่ปัจจุบัน ไดม้ ีการนานวตั กรรมไรเ้ งินสด หรอื Digital Wallet มาใช้เพื่อใหบ้ รกิ ารรบั ชาระเงินแทนการถือเงินสด เพียงแค่ เดินเข้าไปยังร้านสะดวกซื้อก็สามารถชาระค่าสินค้าและบริการได้แล้ว ส่งผลให้ห้างค้าปลีกหลาย ๆ แห่ง เริ่มปรับตัวหันมาให้บริการรับชาระค่าสินค้าและบริการกันถ้วนหน้า ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์หลาย ๆ แห่งได้ หันมาทา Digital Transformation จนเกิดบริการผ่านระบบดิจิทัลมากมาย อาทิ E-Wallet หรือ E-Money รวมไปถึง PromptPay ที่มีการยกเว้นค่าธรรมเนียมการโอนเงินข้ามธนาคาร ส่งผลให้บริการระบบชาระเงิน เปล่ียนไปอย่างสิ้นเชิง นโยบาย “ National E-Payment” ของภาครัฐ ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการพัฒนา ระบบการชาระเงินให้อยู่ในรูปแบบของระบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบนโทรศัพท์เคล่ือนที่ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้เกิดกระแสของการแข่งขันโดยการยกเว้น “ค่าธรรมเนียม” การให้บริการ แต่การ Disruptive ที่น่าจะส่งผลสร้างความเปลี่ยนแปลงในอนาคตอันใกล้นี้ น่าจะเป็นการขับเคลื่อนของ คา่ ยโทรศัพทเ์ คลอื่ นที่ซ่งึ ปัจจุบันได้เปดิ ใหบ้ ริการภาคการเงินไปอยา่ งคู่ขนานกับการให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์ เคล่ือนท่ี อาทิ บริการ True Money ของค่ายโทรศัพท์เคลื่อนท่ี True ที่เปิดให้บริการรับชาระค่าสินค้าและ บริการต่าง ๆ ตลอดจนการซ้ือสินค้าในร้านสะดวกซื้อช่ือดัง จนแทบจะกลายเป็นสกุลในโลกออนไลน์ไปแล้ว ส่วนเครือข่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่ค่ายอ่ืนเร่ิมหันมาแข่งขัน อาทิ บริการ MPay ของค่ายโทรศัพท์เคล่ือนที่ AIS ที่เปิดให้ลูกค้าที่ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนท่ีอ่ืนสามารถมาใช้บริการได้ด้วยจากเดิมที่จะเปิดรับชาระค่าสินค้า และบริการเฉพาะลูกค้าท่ีใช้บริการของเครือข่ายตนเองเท่าน้ัน นั่นหมายถึงว่าค่ายโทรศัพท์เคล่ือนท่ี AIS นั้น ไม่ได้มองว่าบริการ MPay เป็นสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS เท่านั้น แต่เป็นบริการทาง การเงินท่ีตอบโจทย์ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนท่ีทุกคน ท้ังหมดนี้เป็นจุดเปล่ียนที่ท้าทายธนาคารพาณิชย์ จนเกิด ความเปล่ยี นแปลงทาให้ธนาคารพาณิชยเ์ องไดพ้ ยายามพฒั นาแอปพลเิ คชนั ทีจ่ ะช่วยให้ลูกค้าสามารถ ใช้ บริการไดง้ า่ ยข้ึน หรอื รว่ มมอื กับเครือข่ายโทรศพั ท์เคล่ือนท่ีเพื่อสง่ บรกิ ารไปถึงผู้บริโภคมากขึ้น นอกจากจะต้อง แข่งขันกบั ธนาคารพาณชิ ยด์ ว้ ยกนั เองแลว้ ยงั ตอ้ งแข่งขนั กบั ธุรกิจค้าปลกี อกี ดว้ ย 5

ภาคบริการ การเกิดขึ้นของ Airbnb Uber หรือ Grab Taxi น่าจะเป็นตัวอย่างของการ Disruptive ในภาคบริการ ที่ชัดเจนที่สุด บริการเหล่าน้ีอาศัยช่องว่างหรือข้อจากัดของการให้บริการแท็กซ่ีในรูปแบบเดิม แนวคิดของ Uber หรือ Airbnb มีลักษณะคล้ายกันประการหนึ่ง คือ การมีพ้ืนท่ีหรือทรัพย์สินอยู่แล้วเพียงแต่อาจจะไม่ได้ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสดุ จึงได้ปรับมาเป็นบรกิ ารแบบ Sharing Economy โดยนารถยนต์ออกมาวิ่งใหบ้ รกิ าร หรือปรับเปลี่ยนบ้านพักให้เป็นที่พักชั่วคราวสาหรับนักเดินทาง ท้ังหมดอาศัยเทคโนโลยีเป็นตัวเชื่อมทาให้ การจองรถท่ีพัก ท่ีทาได้ด้วย Location ในขณะเดียวกันก็ตอบโจทย์ได้ท้ังเจ้าของบ้าน เจ้าของรถ ช่วยให้มี รายได้เพ่ิมเติม ส่วนผู้บริโภคก็ได้ใช้บริการท่ีตรงกับความต้องการ ไม่ใช่แค่เทคโนโลยี แต่เป็นเร่ืองของสังคม และเศรษฐกจิ การสอื่ สาร การส่ือสารถือเป็นตัวขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรมอื่น ๆ เนื่องจากการส่ือสารทาให้เกิด ช่องทางการจาหน่ายใหม่ ๆ เช่น S-Commerce จาหน่ายสินค้าด้วย Social Media อาทิ Facebook LINE และ Instagram เจ้าของร้านค้าไม่จาเป็นต้องมีหน้าร้านแบบเดิมอีกต่อไป หรือแม้แต่อาจจะไม่ต้องมีเว็บไซต์ ในโลกออนไลน์ด้วยซา้ Disruptive Technology ไม่ได้สาคัญแค่ “เทคโนโลยี” หลายคนคงเข้าใจว่า Disruptive Technology น้ันจะต้องมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาหรือทาอะไรที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยี นวัตกรรม ที่มีลักษณะก้าวหน้าไปไกลในอนาคต แต่ความจริงแล้ว ศาตราจารย์ George Toystiga แหง่ Henley Business School กล่าวว่า “Disruptive Technology เปลย่ี นวิธีคดิ ของผู้คน ก้าวขา้ มผา่ นกรอบ ความคิดเดิมเท่านั้น ไม่ใช่แค่เรื่องเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการผสานเทคโนโลยีกับสังคมและ แรงผลักดันทางเศรษฐกิจ เช่น การท่ีบริษัทรถพัฒนายานยนต์ไร้คนขับข้ึนมาได้น้ันไม่ใช่แค่เร่ืองของเทคโนโลยี แต่เป็นการเปล่ียนวิธีคิดของคนว่ ามีความปลอดภัยและเป็นความคิดที่ดีที่จะมีรถยนต์ส่วนตัวของตัวเอง ” (Disruptive Technology วนั ของ “ปลาเรว็ ” ลม้ “ปลาใหญ่” , 2558) มุมมองของภาคเอกชน แม้หลายคนจะมองว่าการเข้ามาของเทคโนโลยีจะเอื้อประโยชน์ให้กับธุรกิจ แต่ในมุมหน่ึงก็ทาให้เกิด การปรับตัวท่ีนับเป็นความท้าทายซ่ึงส่งผลกระทบไปยังทุกอุตสาหกรรม (Digital Ventures, 29 มิถุนายน 2562) อรพงศ์ เทียนเงิน ในฐานะประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารของบริษัท Digital Ventures ได้แสดงความเห็นว่า เทคโนโลยีเป็นส่ิงท่ีมีผลทั้งในการสร้างโอกาสและทาให้เสียโอกาสได้ หากไม่สามารถปรับตัวได้ทัน ซึ่งเป็นส่ิงที่ ธุรกิจขนาดใหญ่ต้องระวังให้ดี โอกาสของธุรกิจปัจจุบันมาจากคนที่มองปัญหาและคิดแนวทางแก้ไขปัญหา ท่ีเฉียบขาด การเกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ เป็นโอกาสของโลกใหม่จากเทคโนโลยีที่ยังไม่ได้ถูกพัฒนาเป็นนวัตกรรม ซึ่งจะทาให้เกิดรูปแบบธุรกิจใหม่ ๆ จึงเป็นสาเหตุท่ีโครงการ UREKA ที่มุ่งเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูง ท่ีปัจจุบันยังมีพื้นท่ีให้ค้นพบและพัฒนาเป็นธุรกิจได้อีกมาก สาหรับวิธีการปรับตวั เพ่ือรับมือน้ัน ส่ิงที่สาคัญ คือ มีการตื่นตัวและรับรู้ในการเห็นความเปลี่ยนแปลงของโลก องค์กรต้องทาความเข้าใจกับบุคลากรให้เห็นถึง ความเข้าใจใน Disruptive เป็นอันดับแรก จากนั้นจึงเร่ิมมองว่าจะเปล่ียนแปลงไปอย่างไร สุดท้ายเมื่อเข้าใจ และเปลี่ยนแปลงจนถึงจุดหน่ึงจะเกิดการเปลี่ยนแนวคิดซ่ึงเป็นเป้า หมายสาหรับการรับมือ Digital Transformation นน่ั เอง 6

เกรียงศกั ดิ์ ตันติพภิ พ ในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัท The Emporium Group ได้แสดง ความเหน็ วา่ ธุรกจิ คา้ ปลกี หรือ Retail มคี วามซับซ้อนสูง เน่ืองจากประกอบด้วยหลายภาคสว่ น ซงึ่ แต่ละส่วนน้ัน ก็จะยากง่ายต่อการ Disrupt ท่ีแตกต่างกันไป ในหลาย ๆ ครั้งท่ีเทคโนโลยีได้เข้ามา แต่ประชาชนยังตามไมท่ ัน ซึ่งในฐานะผู้ให้บริการ แนวทางแก้ไขปัญหา คือ การเร่งความเร็วขึ้นมาเพื่อก้าวให้ทันเทคโนโลยีนั้น ๆ ก่อน แตก่ ็ตอ้ งดาเนินการอย่างระมดั ระวัง เพราะการใช้เทคโนโลยีผิดจังหวะก็อาจเกิดผลเสียมากกว่าได้รบั ประโยชน์ ก็เป็นได้ แม้เราจะเห็นสถานการณ์ปัจจุบันท่ีร้านค้าปลีกรายใหญ่เริ่มปิดหรือขายกิจการ ในมุมกลับเราก็เห็น การที่บริษัท E-commerce ทั้งหลายหันมาซ้ือ Physical Store กัน เพราะพวกเขาหันมาให้ความสาคัญกับ “ประสบการณ์ของผู้ซื้อ” มากขึ้น นั่นเป็นสิ่งที่ชี้ได้ว่าประสบการณ์จากร้านค้าจริง ๆ น้ันเป็นสิ่งท่ีออนไลน์ ไม่สามารถแทนท่ีได้ สาหรับวิธีการปรับตัวเพื่อรับมือนั้น ในธุรกิจค้าปลีกน้ัน ทั้งลูกค้า แนวทางแก้ไขปัญหา กระบวนการ และรูปแบบธุรกิจ ต้องเปลี่ยนแปลงไปพร้อม ๆ กัน ซ่ึงวันน้ีลูกค้าได้เปลี่ยนแปลงแล้วจากการรับ เทคโนโลยีใหม่ ๆ ปัญหาจึงอยู่ท่ีภายในองค์กร โดยองค์กรต้องรักษาสมดุลระหว่างการบ่มเพาะทักษะของผู้ท่ี อยู่ในองค์กรและคนที่เข้ามาใหม่ให้ดี วัลลภา ไตรโสรัส ในฐานะประธานบริษัท Asset World Corporation ได้แสดงความเห็นว่า Disruptive Technology ได้เข้ามามีบทบาทแล้วในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและดาเนินไปอย่างรวดเร็วมาก กระบวนการทาธุรกรรมในธุรกิจท่องเที่ยวปัจจุบันมีขั้นตอนท่ีเป็น Digital มากกว่าร้อยละ 50 และเป็น การผสานประสบการณ์การใช้งานแบบ Online และ Offline หรือเรียกว่า Seamless Experience ทาให้ การรับบริการบน Digital และบน Physical ในธุรกิจการท่องเที่ยวนั้นไม่มีขอบเขตขวางกั้นอีกต่อไป ปัจจุบัน ประสบการณ์ของผู้ใช้บริการเร่ิมต้ังแต่หน้าแรกของเว็บไซต์จองตั๋วเคร่ืองบินหรือห้องพักโรงแรม หากใคร สามารถจัดการให้ผู้ใช้บริการได้รับประสบการณ์ท่ีดีตั้งแต่ต้นจนจบหรือมี Journey Experience ท่ีดีได้ ก็จะ ได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งทั้งหมดน้ีเล่ียงการใช้เทคโนโลยีไม่ได้ เนื่องจากธุรกิจท่องเท่ียวได้รับการขับเคลื่อน ด้วยข้ันตอนที่มาจากเทคโนโลยีมากกว่าร้อยละ 50 ดังท่ีกล่าวมาแล้ว วิธีการปรับตัวเพ่ือรับมือนั้น ผู้นาองค์กร ต้องเป็นคนที่เร่ิมตื่นตัวในเรื่องนี้ก่อน จากน้ันก็ค่อย ๆ บ่มเพาะวัฒนธรรมของการตน่ื ตัวด้าน Digital พร้อมกับ มีความคิดสรา้ งสรรคเ์ พอื่ การมองเหน็ อนาคต โดยเนน้ วา่ ความคิดสรา้ งสรรคค์ อื จดุ เรมิ่ ตน้ ของนวตั กรรมตา่ ง ๆ 7

2) ตัวอย่างของ digital disruption 8

9

10

11

12

13

1.2 กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1) พระราชบญั ญัติข้อมลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 สาระสาคัญตามพระราชบัญญตั ขิ อ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ หรือกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของ ราชการ เป็นกฎหมายฉบับแรกที่รองรับสิทธิได้รู้ (Right to Know) ของประชาชน ซ่ึงมีหลักการ “ให้มี การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นหลักและปกปิดเป็นข้อยกเว้น” โดยไม่ต้องมีส่วนได้เสียในเร่ืองที่ ต้องการรู้ เพ่ือให้ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารการดาเนินงานต่าง ๆ ของรัฐได้มากขึ้น รวมท้ัง ได้รับการคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐด้วย ซ่ึงตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้กาหนดนิยามของคาว่า “ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ” หมายถึง ข้อมูลข่าวสารท่ีอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็น ขอ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั การดาเนนิ งานของรัฐ หรือข้อมลู ขา่ วสารเก่ียวกับเอกชน สิทธิของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ และการดาเนินการของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม พระราชบัญญัติข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ สิทธขิ องประชาชนในการเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารของราชการนน้ั ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สทิ ธิบุคคล ไม่ว่าจะมีส่วนได้เสียเก่ียวข้องหรือไม่ ย่อมมีสิทธิเข้าตรวจดู ขอสาเนา หรือขอสาเนาท่ีมีคารับรองถูกต้องของ ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๙ ได้ ซึ่งในกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการจะวาง หลักเกณฑ์เรียกค่าธรรมเนียมในการขอเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารของราชการก็ได้ แต่ต้องคา นึงถึง การช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยประกอบด้วย และกรณีของคนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรา ๙ เพียงใด ให้เป็นไป ตามท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง 1. สทิ ธิของประชาชนในการเข้าถึงขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ 1) สทิ ธิตอ้ งร้ขู อ้ มลู ขา่ วสารตามมาตรา ๗ ท่หี น่วยงานของรฐั ตอ้ งนาลงในราชกิจจานเุ บกษา 2) สิทธิตรวจดูข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๙ จากศูนย์ข้อมูลข่าวสารของหน่วยงานท่ีต้องจัดไว้ให้ ประชาชนเข้าตรวจดูไดโ้ ดยสะดวก 3) สิทธิขอข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ๑๑ ประชาชนทั่วไปสามารถมีคาขอข้อมูลข่าวสารอ่ืน ๆ ทเ่ี ขา้ ใจได้เปน็ หนงั สือ โดยไมจ่ าตอ้ งมีสว่ นไดเ้ สยี กบั ข้อมูลขา่ วสารทีข่ อนน้ั 4) สิทธิร้องเรียนหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๓ กรณีท่ีหน่วยงานไม่แจ้งผลการ พิจารณาคาขอให้ทราบภายในเวลาที่กาหนด หรือแจ้งว่าไม่มีข้อมูลข่าวสารตามท่ีขอโดยอ้างวา่ สญู หาย ทาลาย ไปแล้ว ฯลฯ 5) สทิ ธิคัดคา้ นการเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสารตามมาตรา ๑๗ เม่ือเจ้าหน้าท่ีของรัฐเหน็ วา่ ข้อมูลข่าวสาร ท่ไี ด้รับคาขอกระทบสทิ ธขิ องผูใ้ ด ควรแจ้งให้ผู้นนั้ ทาคาคัดค้าน ในเวลาไมน่ ้อยกว่า ๑๕ วนั 6) สทิ ธอิ ทุ ธรณ์ตามมาตรา ๑๘ เมือ่ หน่วยงานของรฐั แจ้งปฏเิ สธไมเ่ ปิดเผยข้อมลู ข่าวสารตามคาขอ ก็อทุ ธรณต์ อ่ คณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสารไดต้ ่อไป 7) สิทธิได้รับการคุ้มครองและแก้ไขข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของตนตามมาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ หากเห็นว่าข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลของตนไม่ถูกต้อง สามารถขอให้แก้ไขได้ เปล่ียนแปลงหรือลบได้ หากไมแ่ กไ้ ขให้ก็มสี ิทธอิ ทุ ธรณภ์ ายใน ๓๐ วนั 8) สิทธิศึกษาค้นคว้าเอกสารประวัติศาสตร์ตามมาตรา ๒๖ คือ ข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์ เกบ็ รกั ษาหรอื ครบกาหนดเก็บ สง่ ไปให้หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ 14

2. การดาเนนิ การของเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ตามพระราชบัญญตั ขิ ้อมูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ กรณกี ารเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ 1) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นการท่ัวไป ตามที่กฎหมายกาหนดให้นาไปลงพิมพ์ใน ราชกิจจานุเบกษา (มาตรา ๗) เพื่อเผยแพร่ให้มากท่ีสุดและนาไปใช้อ้างอิงเพื่อประโยชน์ทางกฎหมายได้ โดยมุ่งเน้นแกก่ รณใี ดหรอื บุคคลใดเปน็ การเฉพาะ ได้แก่ - โครงสร้างและการจัดองคก์ รในการดาเนินงาน - สรุปอานาจหนา้ ทแี่ ละวธิ กี ารดาเนนิ งาน - สถานที่ติดตอ่ เพ่ือขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหนว่ ยงานของรัฐ - ข้อมูลข่าวสารที่มีสภาพอย่างกฎ มีผลบังคับเป็นการท่ัวไปไม่เฉพาะเจาะจงบุคคลใด หรือ กลุม่ ใด เช่น มตคิ ณะรัฐมนตรี ข้อบังคบั ประกาศ คาส่ัง เป็นตน้ - ขอ้ มลู ขา่ วสารอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารกาหนด 2) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามที่กฎหมายกาหนดไปรวมไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ (ตามมาตรา ๙) เช่น ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัย นโยบายของผู้บริหาร แผนงาน โครงการ งบประมาณ ประจาปี สัญญาต่าง ๆ ประกาศจัดซ้ือจัดจ้าง รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ งานวิจัยที่ใช้ งบประมาณ การจัดหาพสั ดุ การบรหิ ารงานบุคคล ข้อมูลเกีย่ วกบั ทดี่ นิ สาธารณประโยชน์ ฯลฯ 3) การเปิดเผยหรอื การจัดหาข้อมูลข่าวสารให้เป็นการเฉพาะราย (ตามมาตรา ๑๑) ข้อมูลข่าวสาร นี้ไม่ต้องจัดวางให้ประชาชนดู แต่เป็นการขอเป็นเร่ือง ๆ ไป อาจไม่เป็นผู้เก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีขอก็ได้ ข้อมูล ข่าวสารน้ีไม่มีข้อจากัดในเรื่องที่จะขอ เช่น ประชาชนมีหนังสือขอสาเนาคาส่ังมอบหมายปลัดเทศบาลแหง่ หน่งึ แตเ่ มื่อรับคาขอแลว้ กต็ อ้ งดูวา่ เปน็ ข้อยกเวน้ ตามมาตรา ๑๕ หรือไม่ ถา้ ไมใ่ ชก่ ต็ อ้ งเปดิ เผยใหก้ ับผ้ขู อ โดยให้หน่วยงานของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหาข้อมูลข่าวสารน้ันให้แก่ผู้ขอภายในเวลาอันสมควร เว้นแต่ผู้น้ันขอ จานวนมาหรอื บ่อยคร้งั โดยไม่มเี หตผุ ลอันสมควร กรณีการห้ามมิใหเ้ ปดิ เผยหรอื อาจมคี าส่งั มิให้เปดิ เผย 1) ข้อมูลข่าวสารท่ีห้ามมิให้เปิดเผย ตามมาตรา ๑๔ คือ ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความ เสยี หายตอ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ 2) ข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคาส่ังมิให้เปิดเผย ตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (๑) - (๗) คือ สามารถมี ดุลพินิจมีคาส่ังไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ เช่น การเปิดเผยข้อมูลจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความม่ันคง เศรษฐกิจหรือการคลังของประเทศ การบังคับใช้กฎหมายเส่ือมประสิทธิภาพ หรือไม่อาจสา เร็จตาม วตั ถุประสงค์ได้ การเปดิ เผยท่จี ะก่อให้เกิดอันตรายตอ่ ชีวิตหรอื ความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด รายงาน ทางการแพทย์ หรือเปิดเผยแลว้ จะรุกล้าสทิ ธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร ข้อมูลข่าวสารที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้ เปิดเผย หรือผ้ใู ห้ข้อมูลข่าวสารไม่ประสงคใ์ หน้ าไปเปดิ เผยตอ่ ผู้อื่น ทั้งน้ี การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะต้องมีการระบุไว้ในคาส่ังถึงเหตุผลของการไม่ เปิดเผยว่าข้อมูลข่าวสารท่ีไม่เปิดเผยเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด และเพราะเหตุใดจึงไม่เปิดเผย รวมท้ังแจ้ง สทิ ธอิ ทุ ธรณ์ ตามมาตรา ๑๘ ให้ทราบด้วย ข้อมูลข่าวสารท่ีอยู่ในความครอบครองของราชการท่ีหน่วยงานของรัฐต้องเปิดเผยตามพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มีสาระสาคญั ดงั น้ี ข้อมูลขา่ วสารตามมาตรา ๗ หน่วยงานของรฐั ต้องสง่ ขอ้ มลู ข่าวสารอยา่ งน้อยดังตอ่ ไปนล้ี งพมิ พใ์ นราชกิจจานุเบกษา 15

(๑) โครงสร้างและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน (๒) สรปุ อานาจหนา้ ท่ีที่สาคัญและวธิ ีการดาเนินงาน (๓) สถานท่ีติดต่อเพอื่ ขอ้ รับขอ้ มูลขา่ วสารหรอื คาแนะนาในการติดต่อกับหนว่ ยงานของรัฐ (๔) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาส่ัง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบาย หรือการ ตีความ ท้งั น้ี เฉพาะท่ีจดั ให้มขี ึ้นโดยสภาพอยา่ งกฎ เพ่อื ใหม้ ผี ลเปน็ การทวั่ ไปต่อเอกชนท่เี ก่ียวข้อง (๕) ขอ้ มลู ข่าวสารอน่ื ตามทคี่ ณะกรรมการกาหนด ขอ้ มลู ขา่ วสารตามมาตรา ๙ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารอย่างน้อยดังต่อไปน้ีไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ท้ังน้ี ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารที่คณะกรรมการกาหนด (๑) ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยท่ีมีผลโดยตรงต่อเอกชน รวมท้ังความเห็นแย้ง และ คาสง่ั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งในการพิจารณาวนิ จิ ฉัยดังกล่าว (๒) นโยบายหรือการตีความทไ่ี ม่เขา้ ขา่ ยต้องลงพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษาตามมาตรา ๗ (๔) (๓) แผนงาน โครงการ และงบประมาณ รายจา่ ยประจาปขี องปีทกี่ าลงั ดาเนินการ (๔) คู่มือหรือคาสั่งที่เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ ของเอกชน (๕) สิ่งพิมพ์ท่ไี ด้มกี ารอา้ งอิงถึงตามมาตรา ๗ วรรคสอง (๖) สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทาบรกิ ารสาธารณะ (๗) มติคณะรฐั มนตรี หรือมตคิ ณะกรรมการท่ีแตง่ ตัง้ โดยกฎหมาย หรอื โดยมติคณะรฐั มนตรี ทงั้ นี้ ใหร้ ะบรุ ายช่อื รายงานทางวชิ าการ รายงานขอ้ เทจ็ จริง หรอื ข้อมลู ขา่ วสารท่นี ามาใช้ในการ พิจารณาไว้ดว้ ย (๘) ขอ้ มลู ข่าวสารอ่นื ตามท่คี ณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการกาหนด 2) พระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2560 สาระสาคัญพระราชบัญญัตวิ ่าดว้ ยการกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 เน่ืองจากในปัจจุบัน ระบบคอมพิวเตอร์ไดเป็นส่วนสาคัญของการประกอบกิจการและการดารงชีวิต ของมนุษย์ หากมีผู้กระทาด้วยประการใด ๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไมสามารถทางานตามคาส่ังที่กาหนดไวหรือ ทาให้การทางานผิดพลาดไปจากคาสั่งที่กาหนดไว หรือใช้วิธีการใด ๆ เข้าล่วงรูข้อมูล แกไข หรือทาลายข้อมูล ของบุคคลอ่ืนในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ หรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพรข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็น เท็จหรือมีลักษณะอันลามก อนาจาร ยอมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความ มั่นคงของรัฐ รวมท้ังความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน และมีรูปแบบการกระทาความผิดที่มีความ ซบั ซ้อนมากขึน้ ตามพฒั นาการทางเทคโนโลยซี ึ่งเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว จงึ สมควรกาหนดมาตรการเพื่อป้องกัน และปราบปรามการกระทาดังกล่าว คอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์นั้น หมายถึง คอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก สมาร์ตโฟน รวมถึงระบบต่าง ๆ ที่ถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซง่ึ ปจั จบุ นั มีผใู้ ช้คอมพิวเตอรใ์ นทางทีเ่ ป็นประโยชน์และอาจใช้ทาร้ายผู้อนื่ ในทางออ้ มด้วยเชน่ กัน 16

กรณีศกึ ษา : การกระทาผดิ ตามพระราชบัญญัตวิ ่าดว้ ยการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ เป็นกรณีที่มีชายหนุ่มคนหนึง่ ถ่ายรูปตึกท่ีมีลกั ษณะเอน ๆ พร้อมโพสต์ข้อความประมาณว่า ตึกทรุดตัว ลงบน Facebook เลยทาใหเ้ กดิ เปน็ ประเด็นท่ีหลายเอาตกอกตกใจไปกันใหญ่ แตต่ อ่ มากม็ ีการเปิดเผยว่า ตึกท่ี เห็นนั้นเป็นเพียงดีไซน์ของตึกที่ตั้งใจจะให้เอนแบบน้ันอยู่แล้ว เลยทาให้เจ้าของโพสต์ถูกตารวจเรียกสอบสวน เพราะเข้าข่ายความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ม.14 (2) นาข้อความเท็จเข้าระบบคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ ก่อให้เกดิ ความต่ืนตระหนก อีกกรณีหนึ่งที่น่าสนใจคือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์สามารถช่วยคุ้มครองผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ อินเทอร์เน็ตได้ด้วย อย่างเช่นกรณีคดีของคุณบริบูรณ์ เกียงวรางกูล ท่ีถูกต้ังข้อหาหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 (1) จากการโพสต์ Facebook เก่ียวกับเหตุการณ์ที่ตารวจเข้าค้นบ้าน โดยอ้างอานาจตามมาตรา 44 17

ซ่ึงคุณบริบูรณ์ได้ย่ืนหนังสือร้องความเป็นธรรมต่อศาลว่า ปัจจุบันได้มีการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 แลว้ โดยพ.ร.บ.ดังกล่าวได้ยกเลิกข้อความในมาตรา 14 ของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับเดิม และบัญญัติ ใหม่ไว้ว่า ห้ามมิให้นาบทบัญญัติดังกล่าวมาใช้ลงโทษกับการกระทาความผิดฐานหม่ินประมาทตามประมวล กฎหมายอาญา จึงขอให้อัยการมีคาส่ังไม่ฟ้องในข้อหาตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ผลก็คือ อัยการศาลจังหวัด ราชบุรีมคี าส่ังไมฟ่ ้องคดบี รบิ รู ณใ์ นข้อหาตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอรฯ์ 13 เรื่องท่ีห้ามทาผิดกฎหมายพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และ บทลงโทษ 1. เข้าถึงระบบ หรอื ข้อมูลของผู้อน่ื โดยไม่ชอบ หากเข้าไปเจาะข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ของคนอื่น โดยที่เจ้าของข้อมูลไม่ได้อนุญาต (ละเมิด Privacy) หรือในเคสที่รู้จักกันดีก็คือ การปล่อยไวรัสมัลแวร์เข้าคอมพิวเตอร์คนอื่น เพื่อเจาะข้อมูลบางอย่าง หรอื พวกแฮคเกอร์ ที่เข้าไปขโมยข้อมูลของคนอน่ื ก็มีความผดิ ตามพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ บทลงโทษ • เข้าถึงระบบคอมพวิ เตอร์ : จาคุกไม่เกนิ 6 เดอื น ปรับไมเ่ กนิ 1 หมืน่ บาท หรอื ท้งั จาทั้งปรบั • เขา้ ถงึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ : จาคุกไม่เกนิ 2 ปี ปรบั ไมเ่ กิน 4 หม่นื บาท หรอื ท้งั จาทั้งปรับ • ล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และนาไปเปิดเผย : จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไมเ่ กนิ 2 หม่ืนบาท หรือท้งั จาทงั้ ปรบั • ดกั รับขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ : จาคุกไมเ่ กนิ 2 ปี ปรบั ไม่เกนิ 4 หมืน่ บาท หรอื ทัง้ จาท้งั ปรบั 2. แก้ไข ดัดแปลง หรือทาใหข้ อ้ มูลผู้อ่นื เสยี หาย ในข้อนี้จะรวมหมายถึงการทาให้ข้อมลู เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลยี่ นแปลง เพม่ิ เติมข้อมูลของผู้อ่ืน โดยมชิ อบ หรอื จะเปน็ ในกรณที ี่ทาให้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนไมส่ ามารถทางานได้ตามปกติ อยา่ งเช่น กรณี ของกลุ่มคนที่ไม่ชอบใจกับการกระทาของอีกฝ่าย แล้วต่อต้านด้วยการเข้าไปขัดขวาง ทาร้ายระบบเว็บไซตข์ อง ฝ่ายตรงขา้ ม ให้บุคคลอื่น ๆ ใช้งานไม่ได้ กจ็ ะมคี วามผดิ บทลงโทษ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรบั ไม่เกิน 1 แสนบาท หรอื ทงั้ จาท้ังปรับ แนะนา แต่ถ้าเป็นกรณีกระทาต่อระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตร 12 หรือเข้าถึงระบบข้อมูล ดา้ นความมนั่ คงโดยมิชอบ จะต้องไดร้ บั โทษจาคุก 3-15 ปี และปรบั 6 หมื่น - 3 แสนบาท และถา้ เป็นเหตุให้ เกิดอันตรายต่อบุคคลอ่ืน ต้องได้รับโทษจาคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับ 2 แสนบาท และถ้าเป็นเหตุให้บุคคลอ่นื ถึงแกค่ วามตาย ตอ้ งจาคกุ 5-20 ปี และปรับ 1-2 แสนบาท 3. ส่งขอ้ มลู หรืออีเมลกอ่ กวนผู้อ่ืน หรือสง่ อเี มลสแปม ข้อนี้ก็เข้ากับประเด็นพ่อค้า แม่ค้าออนไลน์ หรือนักการตลาดที่ส่งอีเมลขายของท่ีลูกค้าไม่ยินดีที่ จะรับ หรอื ท่รี จู้ ักกนั ว่า อเี มลสแปม หรือแม้แตก่ ารฝากรา้ นตาม Facebook กับ IG กเ็ ปน็ สิง่ ทไ่ี มค่ วรทา และยัง รวมถงึ คนทข่ี โมย Database ลูกคา้ จากคนอ่นื แล้วส่งอีเมลขายของตัวเอง บทลงโทษ ถ้าส่งโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งท่ีมา ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท และถ้าส่งโดยไม่เปิด โอกาสใหป้ ฏิเสธตอบรบั ไดโ้ ดยงาน ต้องไดร้ บั โทษจาคกุ ไม่เกิน 2 ปี ปรบั ไม่เกนิ 4 หมน่ื บาท หรือทงั้ จาทงั้ ปรับ 18

แนะนา การทาการตลาดออนไลนท์ ี่ดี ควรนึกถึงจติ ใจของผูบ้ ริโภคเป็นสาคญั หากอยากส่งอเี มล กค็ วร ที่จะถามความยินยอมจากลูกค้าก่อนว่าเขาต้องการรับข่าวสารจากเราไหม หรือไม่ก็หันมาทาคอนเทนต์ดี ๆ อยา่ ง Inbound Marketing ท่สี ามารถดงึ ดูดลูกค้าให้เขา้ มาหาคณุ ไดด้ ้วยความเตม็ ใจ 4. เข้าถึงระบบ หรอื ข้อมลู ทางด้านความม่ันคงโดยมิชอบ โพสต์เก่ียวกับเร่ืองการเมืองท่ีส่งผลให้เกิดความเสียหายหรือความม่ันคงต่อประเทศ หรือโพสต์ที่ เป็นการก่อกวน หรือการก่อการร้ายข้ึน ก็มีความผิด เพราะมาตรา 12 ได้บอกไว้ว่าการเข้าถึงระบบหรือข้อมูล ทางด้านความมั่งคงโดยมิชอบ หรือการโพสต์ข้อความในโลกออนไลน์ที่เข่าข่ายข้อมูลเท็จท่ีน่าจะเกิด ความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ หรอื ทาให้ประชาชนเกิดอาการต่ืนตระหนก และลว่ งร้ถู ึงมาตรการการปอ้ งกนั การเขา้ ถงึ ระบบคอมพวิ เตอร์และนาไปเปิดเผย บทลงโทษ • กรณไี ม่เกดิ ความเสียหาย : จาคุก 1-7 ปี และปรบั 2 หมน่ื - 1.4 แสนบาท • กรณีเกดิ ความเสยี หาย: จาคุก 1-10 ปี และปรับ 2 หมน่ื - 2 แสนบาท • กรณเี ป็นเหตุใหผ้ ู้อนื่ ถงึ แก่ความตาย: จาคุก 5-20 ปี และปรับ 1 แสน - 4 แสนบาท 5. จาหน่ายหรือเผยแพร่ชดุ คาสง่ั เพือ่ นาไปใช้กระทาความผิด บทลงโทษ • กรณีทาเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ตามมาตรา 5-11 ต้องจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 หม่ืนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ หากมีผู้นาไปใช้กระทาความผิด ผู้จาหน่าย หรอื ผู้เผยแพรต่ ้องรบั ผดิ ชอบรว่ มดว้ ย • กรณีทาเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์ มาตรา 12 ต้องจาคุก ไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 4 หมื่นบาท หรือท้ังจาทั้งปรับ หากมีผู้นาไปใช้กระทาความผิด ผู้จาหน่ายหรือ ผเู้ ผยแพร่ต้องรับผดิ ชอบรว่ มด้วย 6. นาขอ้ มลู ท่ีผดิ พ.ร.บ. เข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ ในความผิดมาตรา 14 จะระบุโทษการนาข้อมูลท่ีเปิดพ.ร.บ.เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่ง ออกเปน็ 5 ข้อความผดิ ดว้ ยกนั คือ • โพสต์ข้อมูลปลอม ทุจริต หลอกลวง (อย่างเช่น ข่าวปลอม โฆษณาธุรกิจลูกโซ่ท่ีหลอกลวงเอา เงนิ ลกู ค้า และไม่มีการสง่ มอบของให้จริง ๆ เป็นตน้ ) • โพสต์ข้อมลู ความผดิ เกย่ี วกับความมนั่ คงปลอดภัย • โพสตข์ ้อมูลความผิดเกีย่ วกับความมั่นคง ก่อการร้าย • โพสต์ข้อมูลลามก ทีป่ ระชาชนเข้าถงึ ได้ • เผยแพร่ ส่งต่อข้อมูลที่รู้แล้วว่าผิด (อย่างเช่น กด Share ข้อมูลที่มีเน้ือหาเข้าข่ายความผิด พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ก็มีความผิด) บทลงโทษ หากเป็นการกระทาท่ีส่งผลถึงประชาชน ต้องได้รับโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ และหากเป็นกรณีท่ีเป็นการกระทาท่ีส่งผลต่อบุคลใดบุคคลหนึ่ง ต้องได้รับโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรบั ไมเ่ กิน 6 แสนบาท หรือทง้ั จาท้งั ปรบั (แต่ในกรณอี ย่างหลังนี้สามารถยอมความกันได้) 19

7. ใหค้ วามรว่ มมือ ยนิ ยอม ร้เู ห็นเป็นใจกบั ผู้ร่วมกระทาความผดิ กรณีนถี้ า้ เทยี บใหเ้ ห็นภาพชัด ๆ เชน่ เพจตา่ ง ๆ ทเี่ ปิดใหม้ ีการแสดงความคิดเหน็ แลว้ มคี วามคดิ เห็น ที่ มีเน้ือหาผิดกฎหมายก็มีความผิด แต่ถ้าหากแอดมินเพจตรวจสอบแลว้ พบเจอ และลบออก จะถือว่าเป็นผู้ที่พ้น ความผิด บทลงโทษ แต่ถ้าไม่ยอมลบออกต้องได้รับโทษ ถือว่าเป็นผู้กระทาความผิดตามมาตร 14 ต้องได้รับโทษ เช่นเดยี วกนั ผู้โพสต์ หรอื แสดงความคิดเห็นทางออนไลน์ แตถ่ า้ ผู้ดูแลระบบพสิ จู นไ์ ด้วา่ ตนไดป้ ฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอน การแจ้งเตอื นแลว้ ไมต่ ้องรบั โทษ แนะนา ผู้ให้บริการมีหน้าที่เก็บข้อมูลการใช้งานไม่น้อยกว่า 90 วัน ในกรณีที่จาเป็น ศาลอาจส่ังให้ เก็บข้อมลู เพิ่มได้ไมเ่ กนิ 2 ปี 8. ตัดต่อ เตมิ หรือดดั แปลงภาพ ความผดิ ข้อน้ี แบง่ ออกเป็น 2 ประเดน็ หลกั คือ • การโพสต์ภาพของผู้อื่นท่ีเกิดจากการสร้าง ตัดต่อ หรือดัดแปลง ที่น่าจะทาให้ผู้อ่ืนนั้นเสีย ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นเกลียดชัง อย่างเช่นกรณีท่ีเอาภาพดาราไปตัดต่อ และตกแต่งเร่ืองขึ้นมา จนทาให้บุคคลน้ัน เกดิ ความเสียหาย ก็ถอื วา่ มีความผิดตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ • การโพสต์ภาพผู้เสียชีวิต หากเป็นการโพสต์ที่ทาให้บิดามารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตาย เสยี ชอ่ื เสยี ง ถกู ดูหมิ่นเกลียดชงั หรอื ไดร้ บั ความอับอาย บทลงโทษ หากทาผดิ ตามนี้ ตอ้ งไดร้ ับโทษจาคกุ ไมเ่ กิน 3 ปี และปรบั ไมเ่ กิน 2 แสนบาท 9. เผยแพรข่ ้อมลู เกี่ยวกบั เยาวชน ตอ้ งกระทาโดยปกปดิ ไมใ่ ห้ทราบตวั ตน ข้อนี้มีข้ึนเพื่อปกป้องเด็กและเยาวชน เพราะเยาวชนท่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี หรือก็คือยังเป็นเด็กอยู่ หากถูกเปิดเผยตัวตน อาจทาให้ใช้ชีวิตในสังคมได้ลาบากขึ้น อาจเกิดการถูกดูหม่ิน เกลียดชัง หรือโดนตามตัว โดยมิจฉาชีพได้ แต่ข้อห้ามน้ีก็มีข้อยกเว้นเหมือนกันคือ สามารถเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนได้ หากข้อมลู น้ันเปน็ การยกย่อง เชดิ ชู ใหเ้ กียรติ บทลงโทษ จาคุก 1-3 ปี และปรับ 2 หม่นื - 2 แสนบาท 10. เผยแพรเ่ น้อื หาลามก อนาจาร เป็นเร่ืองท่ีทราบดีอยู่แล้ว และใน พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฉบับน้ีเองก็ห้ามเปิดเผยเนื้อหาลามก อนาจารสู่สาธารณะทคี่ นอ่ืน ๆ สามารถเห็นได้ บทลงโทษ จาคุกไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรบั ไม่เกนิ 1 แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรบั 11. กด Like & Share ถือเป็นวิธีหน่งึ ในการเผยแพร่ข้อมลู คิดว่าคงไม่มีใครท่ีไม่รู้จักกับปุ่มไลค์กับปุ่มแชร์บนโลก Social Media และก็เช่ือด้วยว่าวัน ๆ หน่ึง เรากดปุ่มพวกนี้กันอยู่เสมอ เม่ือใน พ.ร.บ.ฉบับน้ี กาหนดว่าการกด Like & Share ถือเป็นการเผยแพร่ข้อมูล 20

ก็แสดงว่าหากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลปลอม เท็จ หรืออะไรก็ตามแต่ นั่นเท่ากับว่าเราผิดกฎหมาย พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์แล้ว ดังนั้นก่อนไลค์กอ่ นแชร์ กพ็ ิจารณากันให้ชัวร์ บทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรอื ท้ังจาท้ังปรับ 12. แสดงความคดิ เหน็ ทผี่ ดิ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ หากคณุ มีเพจเปน็ ของตวั เอง การหม่นั เชค็ ข้อความบนหน้าเพจก็เปน็ สงิ่ สาคัญ เพราะหากถูกตรวจ เจอข้อความทีผ่ ดิ กฎหมาย คุณจะมีความผดิ ด้วย บทลงโทษ จาคุกไมเ่ กนิ 5 ปี หรอื ปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท หรอื ท้ังจาท้ังปรับ 13. ละเมิดลขิ สิทธ์ิ นาผลงานของผู้อืน่ มาเป็นของตนเอง ข้อนี้สาคัญ ควรต้องระวังไว้ให้มาก การนาผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเอง โดยปกติก็เป็นสิ่งท่ี ไมด่ อี ยแู่ ลว้ ซง่ึ ใน พ.ร.บ. ฉบับน้ีก็ได้มีการใหโ้ ทษกบั ผลู้ ะเมิดลขิ สิทธ์ิดว้ ย โดยหากนาผลงานของผูอ้ ืน่ มาใช้ในเชิง พาณิชย์ จะถือว่ามคี วามผิด และตอ้ งได้รบั โทษ บทลงโทษ จาคกุ ไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท หรอื ทัง้ จาท้ังปรับ 21

22

3) พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล พ.ศ. 2562 หลักการสาคัญตามพระราชบัญญัติคมุ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑. ข้อมลู สว่ นบุคคล (Personal Data) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัวบุคคลน้ันได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม เช่น ชื่อ-สกุล ทอ่ี ยู่ เลขบัตรประชาชน ข้อมูลสขุ ภาพ หมายเลขโทรศัพท์ e-mail ประวตั ิอาชญากรรม เปน็ ต้น ๒. บคุ คลทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู ส่วนบุคคล • เจ้าของขอ้ มูลส่วนบุคคล (Data Subject) ตามกฎหมายไมไ่ ด้ให้คานิยามไว้ แตโ่ ดยหลกั การทว่ั ไปแลว้ หมายถงึ บุคคลท่ขี ้อมลู นน้ั ระบไุ ปถงึ • ผคู้ วบคมุ ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล (Data Controller) - บุคคลหรือนิติบุคคลซ่ึงมีอานาจหน้าท่ีตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล ส่วนบุคคล เช่น หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชนโดยทั่วไป ท่ีเก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของ ประชาชนหรอื ลกู ค้าทีม่ าใชบ้ ริการ - ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าท่ีสาคัญที่กฎหมายกาหนดไว้ เช่น จัดให้มีมาตรการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคล ดาเนินการเพื่อป้องกันมิให้ผู้อื่นใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล โดยมิชอบ แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลให้สานักงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลทราบภายใน ๗๒ ช่ัวโมง นบั แต่ทราบเหตุ แตง่ ต้งั เจ้าหนา้ ที่คุ้มครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล (Data Protection Officer : DPO) เพื่อตรวจสอบ การทางานของตน เป็นตน้ • ผ้ปู ระมวลผลขอ้ มลู สว่ นบุคคล (Data Processor) - บุคคลหรือนิติบุคคลซ่ึงดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตามคาสัง่ หรือในนามของผู้ควบคุมขอ้ มูลสว่ นบคุ คล เช่น บริการ cloud service เปน็ ต้น - ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าท่ีหลกั คือ ดาเนินการตามคาสัง่ ท่ีได้รับจากผคู้ วบคุมข้อมูล สว่ นบุคคลเท่านน้ั เวน้ แต่คาส่ังน้นั ขดั ต่อกฎหมายหรือบทบัญญตั ิในการค้มุ ครองข้อมลู สว่ นบคุ คล ๓. การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปดิ เผยข้อมูลสว่ นบคุ คลไดโ้ ดยชอบด้วยกฎหมาย การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมาย หากดาเนินการตาม หลกั การใดหลักการหนึ่ง ดังตอ่ ไปนี้ • Consent - เจ้าของข้อมลู สว่ นบคุ คลใหค้ วามยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยขอ้ มูลส่วนบคุ คล - ต้องแจ้งวตั ถุประสงคข์ องการเกบ็ รวบรวม ใช้ หรือเปดิ เผยขอ้ มูลสว่ นบุคคล - มแี บบหรือขอ้ ความทอี่ า่ นแล้วเขา้ ใจได้โดยงา่ ย และต้องไม่เปน็ การหลอกลวง - เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะถอนความยินยอมเมื่อใดก็ได้ ถ้าไม่มีข้อจากัดสิทธิ เช่น มีกฎหมาย ทก่ี าหนดให้เก็บรวบรวมข้อมูลสว่ นบุคคลน้นั ไว้ก่อน • Scientific or Historical Research จัดทาเอกสารประวตั ิศาสตร์ จดหมายเหตุ การศกึ ษาวิจยั สถิติ • Vital Interest เพ่ือป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล เช่น การเข้ารับบริการ ทางการแพทย์ ณ โรงพยาบาล 23

• Contract เป็นการจาเป็นเพ่ือการปฏิบัติตามสัญญา เช่น เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทาสัญญากู้ยืมเงินจาก ธนาคาร ธนาคารสามารถเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปดิ เผยข้อมูลส่วนบุคคลน้นั ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องสัญญา • Public Task เปน็ การจาเปน็ เพื่อการปฏิบตั หิ น้าทใี่ นการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชนส์ าธารณะ หรือปฏบิ ตั ิหน้าที่ ในการใชอ้ านาจรัฐ เชน่ หนว่ ยงานของรัฐจดั ทา Big Data เพื่อแก้ปญั หาความยากจนของเกษตรกร • Legitimate Interest เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล หรือของบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น เช่น บริษัทเอกชนติดต้ังกล้องวงจรปิดภายในอาคารเพ่ือรักษาความปลอดภัย ซ่ึงบริษัท สามารถเกบ็ รวบรวมภาพถ่ายซ่งึ เป็นขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของบุคคลท่ีอยู่ในบรเิ วณดงั กลา่ วได้ • Legal Obligations เป็นการปฏบิ ัติตามกฎหมาย นอกจากหลักการข้างต้นแล้ว มีข้อมูลส่วนบุคคลอีกประเภทซึ่งเรียกว่า ข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความ ละเอียดอ่อน (Sensitive Personal Data) เช่น เช้ือชาติ ประวัติอาชญากรรม ข้อมูลพันธุกรรม พฤติกรรม ทางเพศ เป็นต้น การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวจะมีหลักการท่ีเข้มงวดกว่าข้อมูล ส่วนบุคคลท่ัวไป โดยจะกระทาได้หากดาเนินการตามหลักการใดหลักการหนึ่ง เช่น ได้รับความยินยอมโดย ชัดแจ้ง (Explicit Consent) จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพ่ือป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือ สขุ ภาพของบคุ คล ซึ่งเจ้าของข้อมูลสว่ นบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ เป็นตน้ ๔. การส่งหรือโอนขอ้ มลู สว่ นบุคคลไปยังตา่ งประเทศ ประเทศปลายทางที่รับข้อมูลส่วนบุคคลต้องมีมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เพียงพอ ทั้งนี้ ตอ้ งเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ท่คี ณะกรรมการประกาศ ๕. สิทธขิ องเขา้ ของข้อมูลสว่ นบุคคล (Data Subject Right) เช่น • สิทธิขอเขา้ ถึงข้อมูลส่วนบคุ คล (Right of access) เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอเข้าถึงและขอรับสาเนาข้อมูลส่วนบุคคลที่เก่ียวกับตนซึ่งอยู่ใน ความรบั ผดิ ชอบของผู้ควบคุมข้อมลู สว่ นบคุ คล • สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคล (Right to erasure (also known as right to be forgotten)) เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ ไม่สามารถระบุตัวบุคคลได้ หากข้อมูลส่วนบุคคลท่ีหมดความจาเป็น หรือข้อมูลส่วนบุคคลที่ขอถอน ความยนิ ยอมแล้ว ๖. การร้องเรยี น เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลสามารถร้องเรียนต่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ซง่ึ มหี นา้ ทพ่ี ิจารณาเร่ืองรอ้ งเรียนตามพระราชบัญญตั นิ ้ไี ด้ 24

๗. ความรับผิดและบทลงโทษ • ความรับผดิ ทางแพ่ง - ผู้กระทาละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้กับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ไมว่ า่ การดาเนินการนน้ั จะเกิดจากการกระทาโดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ่ หรือไม่ก็ตาม - ศาลมีอานาจสงั่ ให้ชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทนเพ่มิ เติมได้สองเทา่ ของค่าสินไหมทดแทนทแ่ี ท้จรงิ • โทษอาญา - กาหนดบทลงโทษทางอาญาไว้สาหรบั ความผิดร้ายแรง เช่น การใช้หรอื เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ทม่ี คี วามละเอยี ดอ่อนโดยมชิ อบ ลว่ งรู้ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของผู้อื่นแลว้ นาไปเปดิ เผยแก่ผู้อ่นื โดยมิชอบ - ระวางโทษสูงสุดจาคกุ ไมเ่ กนิ หน่ึงปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ หนึง่ ลา้ นบาท หรือทง้ั จาทั้งปรับ - ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดเป็นนิติบุคคล กรรมการหรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบใน การดาเนินงานของนติ ิบุคคลนัน้ อาจต้องร่วมรับผดิ ในความผดิ อาญาท่เี กดิ ข้ึน • โทษทางปกครอง - กาหนดโทษปรับทางปกครองสาหรับการกระทาความผิดที่เป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามที่ กฎหมายกาหนด เช่น ไม่แจ้งวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบ ขอความยนิ ยอมโดยหลอกลวงเจา้ ของข้อมลู สว่ นบุคคล ไมแ่ ตง่ ตง้ั DPO เป็นต้น - โทษปรบั ทางปกครองสูงสดุ ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท 25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook