Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2-1_7

2-1_7

Published by yaowalak336, 2021-08-22 18:29:12

Description: 2-1_7

Search

Read the Text Version

หนว่ ยอบรมท่ี 2 การร้เู ร่อื งการอา่ น

คำนำ สืบเนื่องจากประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การเพ่ือความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) และเข้าร่วมกิจกรรมองค์การ คือ โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) ต้ังแต่ปี 2000 โครงการดังกล่าวได้ประเมินสมรรถนะเยาวชนของประเทศสมาชิกที่มีอายุ 15 ปี ด้านการรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) โดยทาการประเมิน 3 ปีต่อคร้ัง ปี 2558 จะครบรอบการประเมินอกี คร้ังและกาหนดให้มี การประเมินด้านการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving) เพ่ิมเติมจากการประเมินท่ีผ่านมา อีกทั้งปรับเปล่ียนวิธีการประเมินโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือ ดังนั้น เพ่ือเป็นการเตรียมผู้เรียนให้มี ความพร้อมสาหรับการประเมินในปี 2558 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา ได้จัดทาชุดฝึกอบรมการยกระดับคุณภาพผู้เรียนสู่ความพร้อมในการประเมินผล นักเรยี นนานาชาติ (PISA) จานวน 5 รายการ คอื ชุดฝกึ อบรมการยกระดับคุณภาพผเู้ รยี นสู่ความพร้อม ใน การประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) เรื่องที่ 1 การรู้เร่ือง PISA เรื่องท่ี 2 การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) เร่ืองท่ี 3 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) เรื่องท่ี 4 การรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) และเรอ่ื งที่ 5 การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving) ดังน้ัน เพ่ือให้ชุดฝึกอบรมดังกล่าวได้ถูกนาไปใช้อย่างเป็นระบบ มีความเข้าใจท่ีตรงกัน และ นากระบวนการพัฒนาผู้เรียนเข้าไปใช้ในห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงจัดให้มีการพัฒนาบุคลากรแกนนาด้านการยกระดับคุณภาพผู้เรียนสู่ความพร้อมในการประเมินผลนักเรียน นานาชาติ (PISA) ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา สาหรับทาหน้าท่ีพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ การประเมินนักเรียนนานาชาติ (PISA) และสามารถนาความรู้ไปออกแบบกิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาผู้เรยี น ให้พร้อมรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) ในปี 2558 ได้อย่างทัดเทียมนานาชาติ อีกทั้งหวังว่า ชุดฝึกอบรมน้ีจะเปน็ เครอื่ งมือท่ีสาคญั ในการสนบั สนนุ การดาเนินงานของเขตพื้นทกี่ ารศึกษาได้อยา่ ง มี ประสทิ ธิภาพตอ่ ไป สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ สำรบญั แผนกำรอบรม หนว่ ยกำรอบรมท่ี 2 1 เร่ือง กำรรู้เรือ่ งกำรอ่ำน (Reading Literacy) หนว่ ยกำรอบรมย่อย  หน่วยยอ่ ยท่ี 1 การรเู้ รื่องการอา่ น (Reading Literacy) 3 - หน่วยยอ่ ยท่ี 1 5 - ใบความรูท้ ่ี 1 ความหมายของการรู้เร่ืองการอ่าน 6 - ใบกจิ กรรมท่ี 1 “การอา่ น” ในความหมายโดยท่วั ไป กับ “การรูเ้ รอ่ื งการอา่ น” 7 - ใบความรูท้ ี่ 2 โครงสร้างการประเมนิ การร้เู รื่องการอา่ น 12 - ใบกิจกรรมท่ี 2 โครงสร้างการประเมนิ การร้เู รื่องการอ่าน 13 - ใบความรทู้ ี่ 3 การเลือกถ้อยความเพ่ือพฒั นาการรเู้ รอื่ งการอา่ น 17 - ใบความรทู้ ี่ 4 รปู แบบของแบบฝึกพัฒนาการรู้เรื่องการอ่าน 27  หนว่ ยย่อยท่ี 2 การรเู้ ร่อื งการอา่ น : กลยทุ ธก์ ารอ่าน 29 (Reading Literacy’s Aspect Categories) 30 - หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 43 - ใบกิจกรรมที่ 3 อ่านอยา่ งไรให้เขา้ ถึงและคน้ คนื สาระถอ้ ยความทอี่ ่านได้ 44 (Access and Retrieve) 55 - ใบความร้ทู ี่ 5 สมรรถนะการเขา้ ถึงและคน้ คนื สาระ (Access and Retrieve) 56 - ใบกจิ กรรมที่ 4 อา่ นอย่างไรให้บรู ณาการและตีความสิ่งที่อ่านได้ 70 71 (Integrate and Interpret) - ใบความรทู้ ี่ 6 สมรรถนะการบูรณาการและตีความสงิ่ ที่อ่านได้ (Integrate and Interpret) - ใบกจิ กรรมที่ 5 อ่านอย่างไรให้สะท้อนและประเมินส่ิงทอ่ี ่านได้ (Reflection and Evaluation) - ใบความรทู้ ่ี 7 สมรรถนะการสะท้อนและประเมนิ (Reflection and Evaluation) - ใบกิจกรรมท่ี 6 การสร้างแบบฝึกแบบฝึกรวมสมรรถนะ - ส่ือประกอบการอบรมประจาหน่วยย่อยที่ 2

สำรบญั (ตอ่ )  หน่วยย่อยที่ 3 การรู้เรือ่ งการอ่าน : แนวทางการจดั กิจกรรมการพัฒนาการร้เู ร่ืองการอา่ น - หนว่ ยย่อยที่ 3 82 - ใบความรทู้ ี่ 8 ระดบั ความสามารถของการรู้เรอ่ื งการอ่าน 84  สมรรถนะการเขา้ ถงึ และค้นคืนสาระ (Access and Retrieve)  สมรรถนะการบูรณาการและตีความสิง่ ท่อี า่ นได้ (Integrate and Interpret)  สมรรถนะการสะท้อนและประเมนิ (Reflection and Evaluation) - ใบความร้ทู ่ี 9 แนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนาการรเู้ ร่ืองการอ่าน 97 - ใบกจิ กรรมที่ 7 การออกแบบจดั กิจกรรมพัฒนาการรูเ้ รอื่ งการอ่าน 111 เอกสำรอำ้ งอิง 121 ภำคผนวก  สไลด์ภาพประกอบการบรรยาย (PowerPoint) 123 144 - หน่วยย่อยท่ี 1 235 - หน่วยยอ่ ยท่ี 2 - หนว่ ยยอ่ ยที่ 3 คณะทำงำน 280

ชดุ ฝกึ อบรมกำรยกระดบั คุณภำพผู้เรยี นส่คู วำมพรอ้ มในกำรประเมินระดับนำนำชำติ (PISA) เรอ่ื ง กำรรูเ้ ร่อื งกำรอำ่ น (Reading Literacy) ประกอบด้วยหน่วยกำรอบรมย่อย 3 หน่วย ดังน้ี หน่วย ช่ือหน่วย เวลำ ย่อยที่ (ชวั่ โมง) 1 การรู้เร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) 2 2 การร้เู รอ่ื งการอ่าน : กลยทุ ธ์การอา่ น (Reading Literacy’s Aspect 6 Categories) 4 3 การรู้เรื่องการอ่าน: แนวการจัดกจิ กรรมการพฒั นาการรเู้ รื่อง 12 การอา่ น รวมเวลา

หนว่ ยที่ 2 กำรรเู้ ร่อื งกำรอ่ำน (Reading Literacy) (เวลำ 12 ช่ัวโมง)

1 แผนการอบรม หน่วยการอบรมท่ี 2 เร่อื งการรู้เรอื่ งการอ่าน (Reading Literacy) 1. สาระสาคญั การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy)เป็นทักษะที่มีความสาคัญยิ่งในการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 เป็นการมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ท่ีสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะการคิดวิเคราะห์และคิด อย่างมีวิจารณญาณ และเปน็ ทักษะท่ีจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการฝึกฝนให้เกิดความชานาญ จนสามารถนาไปใช้จริงใน การพัฒนาการอ่านรู้เร่ืองเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างแม่นยาและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงใน ชวี ิตประจาวัน 2. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถนาความรู้เร่ืองต่างๆ ต่อไปน้ีไป ประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้ 2.1 การรูเ้ ร่อื งการอา่ น (Reading Literacy) 2.2 โครงสร้างการประเมนิ การรู้เรื่องการอา่ น 2.3 สมรรถนะการรู้เร่อื งการอ่าน(Reading Literacy)ตามแนว PISA 2.4 แนวทางการนาการรู้เร่ืองการอ่าน(Reading Literacy)ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ห้องเรียน 3. เน้อื หาการอบรม 3.1 การร้เู รือ่ งการอา่ น (Reading Literacy) 3.2 การรเู้ รอ่ื งการอ่าน : กลยทุ ธก์ ารอ่าน (Reading Literacy’s Aspect Categories) 3.3 การรู้เรื่องการอ่าน : แนวการจัดกจิ กรรมการพฒั นาการรูเ้ รอ่ื งการอ่าน 4. เวลา จานวน 12 ชว่ั โมง 5. กิจกรรมการอบรมและเวลาทใี่ ช้ กิจกรรม เวลา (ชว่ั โมง) หนว่ ยยอ่ ยท่ี 2 1 การรเู้ รื่องการอา่ น (Reading Literacy) 6 2 การรู้เรอ่ื งการอ่าน : กลยทุ ธก์ ารอ่าน (Reading Literacy’s Aspect 4 Categories) 12 3 การรู้เร่ืองการอ่าน : แนวการจัดกิจกรรมการพฒั นาการรเู้ ร่ืองการอา่ น รวมเวลา

2 6. สือ่ ประกอบการฝึกอบรม 6.1 ใบความรู้ 6.1.1 ใบความรูท้ ่ี 1 ความหมายของการรู้เร่ืองการอ่าน 6.1.2 ใบความรู้ที่ 2 โครงสร้างการประเมนิ การรเู้ รอื่ งการอ่าน 6.1.3 ใบความรู้ท่ี 3 การเลอื กถ้อยความเพื่อพฒั นาการร้เู รื่องการอ่าน 6.1.4 ใบความรทู้ ่ี 4 รูปแบบของแบบฝึกพัฒนาการรู้เรื่องการอ่าน 6.1.5 ใบความรทู้ ่ี 5 สมรรถนะการเข้าถึงและค้นคืนสาระ 6.1.6 ใบความรทู้ ี่ 6 สมรรถนะการบูรณาการและตคี วาม 6.1.7 ใบความรทู้ ่ี 7 สมรรถนะการสะทอ้ นและประเมิน 6.1.8 สอ่ื ประกอบการฝกึ อบรมประจาหน่วยท่ี 2 6.1.9 ใบความรู้ท่ี 8 ระดบั ความสามารถในการรูเ้ รื่องการอ่าน 6.1.10 ใบความรูท้ ่ี 9 การจัดกิจกรรมพฒั นาการร้เู รือ่ งการอ่าน 6.2 ใบกิจกรรม 6.2.1 ใบกิจกรรมที่ 1“การอา่ น” ในความหมายทว่ั ไป กับ “การรู้เรอ่ื งการอ่าน” 6.2.2 ใบกิจกรรมท่ี 2 โครงสรา้ งการประเมนิ การรูเ้ รอื่ งการอา่ น 6.2.3 ใบกจิ กรรมท่ี 3 อา่ นอย่างไรให้เขา้ ถึงและค้นคนื สาระถ้อยความที่อ่านได้ 6.2.4 ใบกจิ กรรมที่ 4 อ่านอยา่ งไรให้บูรณาการและตีความสิ่งที่อ่านได้ 6.2.5 ใบกจิ กรรมที่ 5 อา่ นอยา่ งไรให้สะทอ้ นและประเมินสิง่ ทีอ่ ่านได้ 6.2.6 ใบกิจกรรมที่ 6 การสรา้ งแบบฝึก แบบฝึกรวมสมรรถนะ 6.2.7 ใบกิจกรรมท่ี 7 การออกแบบจดั กิจกรรมพฒั นาการรเู้ รื่องการอ่าน 6.3 สไลดภ์ าพประกอบการบรรยาย 6.3.1 สไลด์ภาพประกอบการบรรยายหนว่ ยย่อยที่ 1 การรูเ้ รื่องการอา่ น (Reading Literacy) 6.3.2 สไลด์ภาพประกอบการบรรยายหน่วยย่อยท่ี 2 การรู้เร่ืองการอ่าน : กลยุทธ์การอ่าน (Reading Literacy’s Aspect Categories) 6.3.3 สไลด์ภาพประกอบการบรรยายหน่วยย่อยท่ี 3 การรู้เรื่องการอ่าน : แนวการจัดกิจกรรม การพฒั นาการรเู้ รื่องการอ่าน 7. การประเมนิ ผลการอบรม 7.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารับฟงั เพอ่ื สร้างความรูค้ วามเข้าใจ 7.2 สังเกตจากการร่วมกจิ กรรม การตอบคาถาม และแสดงความคดิ เหน็ 7.3 สงั เกตพฤติกรรมจากการมีสว่ นร่วมและการตอบคาถามของผู้เขา้ รบั การอบรมตามกิจกรรม 7.4 ตรวจสอบคาตอบของผูเ้ ข้ารับการอบรมตามกิจกรรม และการแสดงความคิดเห็น 7.5 ตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมจากการเขียนตอบคาถามระหว่างการอบรม

3 หน่วยย่อยท่ี 1 การร้เู รอ่ื งการอา่ น (Reading Literacy) (เวลา 2 ชั่วโมง)

4 หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 การรู้เร่ืองการอา่ น (Reading Literacy) 1. สาระสาคญั “การรู้เรื่องการอ่าน” เป็นการอา่ นที่เน้นความสาคัญของการปะทะสัมพันธ์ระหวา่ งการอ่านกบั การสรา้ ง ความเขา้ ใจในสื่อสงิ่ พิมพ์ และขยายไปสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้อ่านต้องสร้างความหมายเพ่ือตอบสนองต่อส่ือที่ได้ อ่านด้วย ดังน้ัน การรู้เรื่องการอ่าน จึงหมายถึง “ความสามารถที่จะทาความเข้าใจกับส่ิงที่ได้อ่าน สามารถ นาไปใช้ สะท้อนออกมาเป็นความคิดเห็นของตนเอง และมีความรักและผูกพันกับการอ่าน เพ่ือพัฒนาความรู้ ศักยภาพ และการมสี ่วนรว่ มในสังคม” 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหผ้ ู้รบั การอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั การพฒั นาการร้เู รื่องการอ่าน 3. เนอื้ หาการอบรม 3.1 ความหมายของการรเู้ รื่องการอ่าน 3.2 โครงสรา้ งการประเมนิ การรู้เรอื่ งการอา่ น 3.2.1 สถานการณ์ 3.2.2 ถอ้ ยความ 3.2.3 สมรรถนะการอ่าน 3.3 การเลอื กถ้อยความเพื่อพัฒนาการรู้เรอื่ งการอา่ น 3.4 รปู แบบของแบบฝึกพัฒนาการรูเ้ รอ่ื งการอ่าน 4. เวลา จานวน 2 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการอบรม 5.1 บรรยายใหค้ วามรู้ 5.2 ผรู้ บั การอบรมลงมือฝึกปฏบิ ตั ิ 5.3 ผรู้ บั การอบรมนาเสนอผลงานทเี่ กิดจากการฝึกปฏบิ ตั ิ 6. สอ่ื ประกอบการฝกึ อบรม 6.1 สไลดภ์ าพประกอบการบรรยายหนว่ ยย่อยที่ 1 6.2 ใบความรู้ที่ 1 - 4 6.3 ใบกจิ กรรมท่ี 1 - 2 7. การประเมินผลการอบรม 7.1 สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารับฟงั เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ 7.2 สังเกตจากการรว่ มกิจกรรม การตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็น

5 ใบความรู้ท่ี 1 ความหมายของการรู้เรือ่ งการอ่าน การรเู้ รอ่ื งการอา่ น (Reading Literacy) หมายถึงอะไร “การอ่าน” ตามความเข้าใจโดยทั่วไป หมายถงึ - การอ่านออกเสยี งคา ประโยค บทรอ้ ยแกว้ บทร้อยกรอง ถกู ต้องตามหลักการอา่ น - การร้คู วามหมายของคาท่ีอา่ น “การรู้เรือ่ งการอ่าน” เป็นการอ่านที่เน้นความสาคัญของการปะทะสัมพันธ์ระหว่างการอ่านกับการสร้างความเข้าใจในสื่อ สิ่งพิมพ์ และขยายไปสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ที่ผอู้ า่ นต้องสร้างความหมายเพ่อื ตอบสนองต่อส่อื ที่ได้อา่ น ดงั น้นั การรูเ้ รือ่ งการอ่าน จงึ หมายถึง “ความสามารถท่ีจะทาความเข้าใจกับสิ่งท่ีได้อ่าน สามารถนาไปใช้ สะท้อนออกมาเป็นความคิดเห็น ของตนเอง และมคี วามรกั และผกู พนั กบั การอ่าน เพือ่ พัฒนาความรู้ ศกั ยภาพ และการมีส่วนร่วมในสงั คม” คา วลี ในนยิ าม ความหมายเพ่ิมเตมิ การรเู้ รอ่ื งการอา่ น แสดงเป้าหมายสิ่งท่ีต้องการวัดและวัดให้ครอบคลุมภารกิจที่กว้างและลึกและ กลุ่มเป้าหมายท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้สามารถมีส่วนร่วมในสังคม เศรษฐกิจ และ การดาเนินชีวติ ส่วนตวั ได้อย่างมคี ณุ ภาพ ความเขา้ ใจ (understanding) อา่ นเอาเรอื่ ง อา่ นแลว้ รู้เร่อื ง การใช้ (using ) ใช้สิ่งที่อ่านให้เป็นประโยชน์ การใช้หน้าที่ในส่ิงที่อ่าน และกระทาบางอย่างกับ ส่งิ ท่ไี ดอ้ ่าน การสะท้อน (reflecting) ผู้อ่านคิดส่ิงที่อ่าน นามาตีความ แปลความ แล้วแสดงความคิดเห็นของตนเอง ต่อสิ่งทอี่ ่านได้ ความรักและผูกพันกับการอ่าน แรงจูงใจท่ีจะอ่าน ได้แก่ มีจิตพิสัยต่อการอ่าน และมีพฤติกรรมท่ีแสดงถึง (engaging) ความพึงพอใจในการอ่าน รวมทั้งสามารถควบคุมส่ิงท่ีอ่าน ตลอดจนอ่านสื่อ หลากหลายไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา ถ้อยความทเ่ี ป็นขอ้ เขียน ภาษาท่ีส่ือความหมายเป็นการเขียน ท้ังลายมือ สิ่ งพิมพ์ หรือทางสื่อ (written) อิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งส่ือท่ีมองเห็นได้ เช่น แผนผัง แผนท่ี ตาราง กราฟ หรือ รปู ภาพทม่ี คี าบรรยาย เปน็ ตน้ เพื่อนาไปบรรลุเป้าหมาย แสดงการเน้นบทบาทและหน้าที่จากระดับส่วนตัวสู่ระดับสังคม และเป็น ของแต่ละคนเพ่ือพัฒ นา พลเมืองท่ีมีคุณค่าของสังคมหรือประเทศชาติ การเป็นคน “ รู้เร่ือง” จะเติม ความรู้ และศกั ยภาพของตน เต็มแรงบันดาลใจของแต่ละคน ให้สามารถเรียนจบการศึกษาและมีงานทา และนาไปสู่การมีชีวิตสว่ นตัวทดี่ ี และมกี ารศึกษาตลอดชีวติ ได้ เพ่อื มีส่วนร่วมในกระบวนการ การเป็นคน “ รู้เรื่อง” จะเป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีความคิดว่าตนเองมีบทบาท ของสงั คม ในสังคม และเข้าเกี่ยวขอ้ ง ผูกพัน ท้งั ทางด้านสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ การเมืองด้วย ในฐานะทีเ่ ปน็ พลเมืองทม่ี ีคุณคา่

6 ใบกจิ กรรมที่ 1 “การอ่าน” ในความหมายโดยทัว่ ไป กับ “การรูเ้ ร่อื งการอ่าน” คาชแ้ี จง: โปรดเขยี นแสดงความคดิ เห็นว่า “การอา่ น” ตามความหมายโดยทัว่ ไปกบั “การรู้เร่อื งการอา่ น” มคี วามหมายต่างกันอยา่ งไร หรือมคี วามสมั พันธ์กนั อย่างไร ............................................................................................................................. ................................. ..................................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................. ................................................................ ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .................................................................................................................................. ............................ ...................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .......................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................. ................................................ ......................................................................................................... ..... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….

7 ใบความรทู้ ่ี 2 โครงสรา้ งการประเมินการร้เู รอื่ งการอ่าน การรู้เร่ืองการอ่าน เป็นกิจกรรมทางสติปัญญาท่ีค่อนข้างซับซ้อน ภารกิจการอ่านจึงมีทั้งระดับง่ายๆ จนถึงระดับท่ยี ากซับซอ้ น อยู่บนพนื้ ฐาน 3 ประการ ดังน้ี 1. สถานการณ์ (Situation) เป็นบรบิ ทหรือจุดประสงค์ของการอ่านท่ีเกิดข้นึ แบ่งตามวัตถุประสงค์ การใช้ และเน้อื หาสาระเปน็ 4 แบบ ดังน้ี สถานการณ์ บรบิ ทของการอ่าน เพ่ืออะไร ของการอา่ น เลือกอะไร เพ่อื เพอ่ื เพอ่ื เพ่อื ประโยชน์ส่วนตัว การศึกษา การใช้ สาธารณะ การงาน 1. ความอยากรู้ การเรียนรู้ เน้ือหาสาระ 2. ติดต่อสัมพนั ธ์ ค้นหาสาระข้อมลู ทา หรอื ปฏิบัตติ าม 3. เป็นรางวัลตนเอง ประกาศ กฎระเบียบ วธิ ที า คมู่ ือ รายงาน ตาราเรียน จดหมาย อีเมล์ รายการ แบบฟอรม์ นยิ าย ชีวประวัติ หนงั สอื พมิ พ์ (ส่ิงพิมพ์ กาหนดการ ตาราง แผนผงั แผนที่ วิธีทาสิ่งต่างๆ แผนที่ หรอื ออนไลน์) ฯลฯ บลอ็ กส่วนบคุ คล การทางาน บันทกึ แผนภาพ แผนภูมิ ฯลฯ ขอ้ ความ ตาราง ตาราง กราฟ กราฟ ฯลฯ ฯลฯ 2. ถ้อยความ/ เนื้อความ (Text) หมายถึง ส่ิงที่เขียนหรือเรียบเรียงให้อ่าน มีหลากหลายรูปแบบ ท้ังที่เป็นข้อเขียนประเภทส่ือสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งถ้อยความต่อเนื่อง ไม่ต่อเน่ือง หรือทั้งสองแบบ ผสมกนั ถ้อยความมีลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั ดังนี้ 2.1 ถอ้ ยความตอ่ เนอ่ื ง คือ ถ้อยความท่ีเขยี นติดต่อกัน อาจแบง่ เปน็ ย่อหนา้ หรือ หัวข้อก็ได้ 2.2 ถอ้ ยความไม่ต่อเน่อื ง คือ ถ้อยความทเ่ี ป็นรปู ภาพ รายการต่างๆ แบบฟอร์ม กราฟ และตาราง 2.3 ถ้อยความแบบผสม คอื ถ้อยความทปี่ ระกอบด้วยถอ้ ยความทต่ี ่อเนื่องและถ้อยความไม่ต่อเน่ือง ผสมกัน

8 ตัวอยา่ งถอ้ ยความ 1. ถ้อยความต่อเนอื่ ง

9 2. ถอ้ ยความไม่ต่อเนอื่ ง

10 3. ถ้อยความแบบผสม

11 3. สมรรถนะการอา่ น (Aspect) เป็นสมรรถนะในการคิดหรอื ใชส้ ติปัญญาท่ีผู้อ่านใช้ในการพิจารณา ถ้อยความทอี่ ่าน เพอ่ื เข้าไปสูเ่ ป้าหมายของการอ่าน (หาคาตอบ) คาดหวงั ให้นักเรียนแสดง มี 3 ลักษณะ ดังนี้ 3.1 การเขา้ ถงึ และคน้ คนื สาระ (Access and Retrieve) 3.2 การบูรณาการและตีความ (Integrate and Interpret) 3.3 การสะท้อนและประเมิน (Reflect and Evaluate) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การเขา้ ถึงและคน้ คนื สาระ การบูรณาการและตีความ การสะท้อนและประเมิน 1. มีความสามารถดึงสาระ 1. มีความเขา้ ใจขอ้ ความท่ไี ด้อา่ น 1. มคี วามเข้าใจข้อความที่ได้อา่ น ของส่งิ ทีไ่ ดอ้ า่ นออกมา 2. มคี วามสามารถตีความ แปลความ 2. มีความสามารถตีความแปลความ 2. มีความสามารถตอบ ส่งิ ทไี่ ดอ้ ่าน สิ่งท่ีอา่ น คาถาม ดว้ ยการเลอื กตอบ 3. มีความสามารถคิดวิเคราะห์ 3. มีความสามารถคิดวิเคราะห์ หรอื เขยี นข้อความได้ เนือ้ หาและรูปแบบของข้อความ เน้ือหาและรูปแบบของข้อความ ถูกต้อง ครบถ้วนตรง ท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงต่างๆ ในชีวิต ที่เก่ียวข้องกับสิ่งต่างๆ ใน ตามสาระ หรือในโลก ชีวติ หรอื ในโลกทีม่ อี ยู่แล้ว 4. มคี วามสามารถประเมนิ ขอ้ ความทีอ่ ่าน 5. มีความสามารถแสดงความเห็น ท้ังสนับสนุน หรือโต้แย้งได้ จากมุมมองของตน

12 ใบกจิ กรรมท่ี 2 โครงสรา้ งการประเมินการรเู้ ร่ืองการอ่าน คาชแ้ี จง เติมคาหรอื ข้อความลงใน ของแผนผังกรอบโครงสรา้ งการประเมินการรเู้ ร่ืองการอา่ น ให้ถูกตอ้ ง โครงสรา้ งการประเมนิ การรเู้ รอ่ื งการอา่ น สถานการณ์ ........................................ สมรรถนะ . เพอ่ื ประโยชน์ส่วนตัว .................................. ........................................................................... ................................... .................................... ... .................................. ... ....................................... ................................... ....................................... ....................................

13 ใบความรู้ที่ 3 การเลอื กถอ้ ยความเพ่ือพฒั นาการรู้เรื่องการอา่ น ถ้อยความ (Text) คือ ส่ิงท่ีเขียนหรือเรียบเรียงเพื่อให้อ่าน มีรูปแบบหลากหลาย ซ่ึงพบเห็นได้ใน ชีวิตประจาวนั หรอื คาดวา่ จะพบเจอในอนาคต ลักษณะของถ้อยความที่เหมาะสาหรับการนามาใช้พัฒนาการรู้เรื่องการอ่าน ควรเป็นสื่ออ่านท่ีพบใน ชีวิตประจาวัน เช่น นิทาน ข่าว เรื่องส้ัน กราฟ แผนภูมิ แผนผัง ป้ายโฆษณา ป้ายประกาศ จดหมาย อเิ ล็กทรอนิกส์ ฯลฯ มีนัยทตี่ ้องทาความเข้าใจ ตีความ แปลความ สรุปความ หรอื มปี ระเด็นให้สะทอ้ นความคิด ท้ังคล้อยตามหรือโตแ้ ย้ง โดยใช้หลักการ กฎเกณฑ์ หรือเหตุผลของผอู้ ่าน ตัวอยา่ งถ้อยความทเี่ ปน็ นิทาน

14 ตัวอยา่ งถอ้ ยความท่เี ปน็ แผนผัง

15 ตัวอย่างถ้อยความท่ีมีนยั ให้ตคี วาม

16 ตวั อย่างถอ้ ยความท่ีมปี ระเด็นใหค้ ิดคลอ้ ยตามหรือโตแ้ ย้ง

17 ใบความร้ทู ่ี 4 รูปแบบของแบบฝึกพัฒนาการร้เู รื่องการอา่ น รูปแบบของแบบฝกึ พฒั นาการรเู้ รือ่ งการอ่าน แบบฝกึ พฒั นาการร้เู รือ่ งการอา่ น จาแนกตามรปู แบบของคาตอบทตี่ ้องการ เป็น 3 รปู แบบ ดังนี้ รปู แบบที่ 1 แบบเลอื กตอบ เปน็ แบบฝกึ ที่ให้นกั เรียนใชส้ มรรถนะตา่ งๆ พจิ ารณาขอ้ มูลจากถ้อยความ แล้วเลอื กคาตอบจากตวั เลือกทก่ี าหนดเหมือนข้อสอบเลือกตอบท่ัวไป ตัวอยา่ งแบบฝกึ เลือกตอบ คาถาม: การทางานทางไกล ความสมั พันธ์ระหว่าง “วถิ แี ห่งอนาคต” กบั “ความหายนะจากการปฏิบตั ิ” คืออะไร 1. เขาใช้ข้อโตแ้ ยง้ ท่ีตา่ งกนั เพื่อลงข้อสรุปรวมเดียวกนั 2. เขาเขยี นในรปู แบบทเ่ี หมือนกันแตเ่ ปน็ หวั ข้อทีแ่ ตกต่างกันโดยส้ินเชิง 3. เขาแสดงมมุ มองทัว่ ไปที่เหมอื นกัน แตไ่ ปถงึ ชว่ งสรปุ ที่ตา่ งกัน 4. เขาแสดงมุมมองทีข่ ดั แยง้ กันในหวั ข้อเดยี วกนั

18 การให้คะแนน คะแนนเตม็ ตอบข้อ 4 เขาแสดงมุมมองที่ขัดแย้งกนั ในหวั ข้อเดียวกนั ไม่ไดค้ ะแนน ตอบข้ออ่นื หรือ ไม่ตอบ รปู แบบท่ี 2 แบบเชิงซ้อน มีลักษณะใหเ้ ลอื กหลายตัวเลือก และต้องเลือกใหถ้ ูกต้องทง้ั หมดจึงได้ คะแนน ตวั อย่างแบบฝึกเชงิ ซ้อน คาถาม: การทางานทางไกล ให้ทาเครื่องหมาย ล้อมรอบข้อความที่คัดลอกมา ว่าข้อใดเป็น “ความคิดเห็น” หรือข้อใดเปน็ “ข้อเท็จจริง” ดังตวั อยา่ งในข้อแรก ขอ้ ความทีค่ ดั มา สาระทเ่ี ปน็ ความคิดเหน็ หรอื สาระทเ่ี ปน็ ขอ้ เท็จจริง ตัวอย่าง ความคดิ เหน็ / ข้อเท็จจรงิ การลดชว่ั โมงการเดินทาง และการลดพลงั งานทเ่ี ก่ยี วข้อง ความคิดเห็น / ขอ้ เทจ็ จริง เห็นได้ชัดวา่ เป็นสิง่ ท่ีดี เป้าหมายน้ันควรทาให้สาเร็จโดยการพฒั นาการขนส่งมวลชน หรือการรบั ประกนั วา่ ท่ที างานจะตง้ั อยู่ใกล้ท่ีอาศยั ของผคู้ น งานทกุ อยา่ งของคณุ ทาผ่านคอมพิวเตอรห์ รือโทรศัพท์ ไม่ตอ้ ง ความคิดเห็น / ข้อเท็จจรงิ ขนึ้ ไปเบยี ดบนรถเมลห์ รอื รถไฟท่คี นแนน่ อีกต่อไป ความคิดที่ทะเยอทะยานว่าการทางานทางไกลควรเป็นส่วน ความคดิ เหน็ / ขอ้ เท็จจรงิ หนึ่งในวิถีชีวิต มีแต่จะนาพาให้ผู้คนหมกมุ่นอยู่กับตัวเองมาก ขนึ้ การให้คะแนน คะแนนเตม็ ตอบถูกต้องทั้ง 3 ข้อ ไมไ่ ดค้ ะแนน ตอบถูก 2 ข้อ หรอื นอ้ ยกว่า

19 รูปแบบท่ี 3 แบบคาถามสร้างคาตอบแบบอิสระ แบบคาถามสร้างให้นกั เรยี นเขยี นคาตอบเอง คาตอบแบบอิสระต้องการมี 2 แบบ คือ 1) การเขียนคาตอบแบบปิด (Closed Constructed) นักเรียนตอ้ งเขยี นคาตอบอยา่ งท่คี าถาม คาดหวังไว้ ถา้ ตอบเป็นอยา่ งอื่นจะไม่ไดค้ ะแนน ตัวอยา่ งการเขียนคาตอบแบบปิด คาถาม: รถไฟใต้ดิน จากสถานรี ถไฟใตด้ นิ สถานใี ด ท่ีนกั เรยี นสามารถข้นึ ไดท้ งั้ รถเมลร์ ะหวา่ งเมอื งและรถไฟระหว่างเมอื ง ตอบ............................................................................................................................................................................... การให้คะแนน คะแนนเต็ม ตอบสอดคล้องกบั แนวคาตอบ ไมไ่ ด้คะแนน ตอบอย่างอ่นื หรือ ไม่ตอบ

20 2) การเขยี นคาตอบแบบอิสระ หรอื แบบเปิด (Open Constructed) นักเรยี นต้องสร้างคาตอบเอง โดยไม่จากดั ว่าจะตอ้ งตอบแบบใด ในคาถามเดยี วกัน นักเรยี นอาจตอบตา่ งกัน เพราะอาจใชเ้ หตผุ ลที่ต่างกนั ตัวอยา่ งการเขยี นคาตอบแบบอิสระ หรือแบบเปิด ตัวอย่างท่ี 1 คาถาม: รถไฟใต้ดิน จากสถานรี ถไฟใตด้ นิ สถานีใด ท่ีนักเรยี นสามารถขึน้ ได้ทัง้ รถเมล์ระหวา่ งเมืองและรถไฟระหว่างเมืองได้ ตอบ.............................................................................................................................................................................. การใหค้ ะแนน คะแนนเต็ม ตอบสอดคลอ้ งกับแนวคาตอบ ไมไ่ ด้คะแนน ตอบอย่างอืน่ หรือ ไมต่ อบ ตัวอยา่ งที่ 2 คาถาม: การทางานทางไกล “เดย๋ี วน้ใี ครสร้างที่พักอาศยั ใกลส้ ถานรี ถไฟฟ้า สรา้ งเท่าไรก็ขายหมด แพงเทา่ ไรกข็ ายเกลีย้ ง” นักเรียนเหน็ คลอ้ ยตาม หรอื โตแ้ ย้งกบั คาพูดนี้ ให้เขียนวงกลมรอบคาว่า “คลอ้ ยตาม” หรือ “โตแ้ ยง้ ” พร้อมทง้ั เขยี นอธบิ ายเหตผุ ลของนกั เรยี น คลอ้ ยตาม โตแ้ ยง้ .................................................................................. .................................................................................... .................................................................................. .................................................................................... .................................................................................. .................................................................................... .................................................................................. .................................................................................... แนวคาตอบ คลอ้ ยตาม โดยอา้ งอิงความสะดวกสบายที่จะใชบ้ ริการรถไฟฟา้ เชน่ - เพราะคนทีซ่ อื้ ทพ่ี ักใกลส้ ถานรี ถไฟฟ้าต้องการเดนิ ทางโดยรถไฟฟ้า - เพราะถา้ ท่ีพักอยู่ใกล้สถานีรถไฟฟา้ ก็จะไปใชบ้ ริการได้งา่ ย - เพราะคนในยุคนย้ี ึดความสะดวกสบายเป็นหลกั ในการเลือกซื้อที่อยู่อาศัย โต้แยง้ เช่น - เพราะการซอ้ื ทพ่ี ักราคาแพงเกินไปอาจทาใหไ้ ม่มเี งินมาจ่ายอย่างเพยี งพอ - เพราะคนนยิ มซื้อบ้านจัดสรรนอกเมืองท่ีมีราคาถกู กวา่ - เพราะคนสว่ นใหญใ่ ชร้ ถสว่ นตวั เดนิ ทางจึงไมจ่ าเป็นตอ้ งซ้อื บ้านใกลร้ ถไฟฟา้ ฯลฯ การใหค้ ะแนน ไดค้ ะแนนเต็ม ตอบสอดคลอ้ งกับแนวคาตอบ ไมไ่ ดค้ ะแนน ตอบอย่างอ่ืน หรอื ไม่ตอบ

21 ตวั อยา่ งขอ้ สอบการรเู้ ร่ืองการอา่ น ใชข้ ้อความจากเร่อื ง ระวังควนั ทอ่ ไอเสีย มจั จรุ าชร้ายทาลายชวี ิต แลว้ ตอบคาถาม

22 คาถามที่ 1 : หน่วยงานใดท่ีออกมาเตอื นว่า ควันจากท่อไอเสียเครอื่ งยนต์ดเี ซลมสี ารก่อมะเร็ง 1. สานกั งานวิจัยมะเร็ง 2. สานกั งานสาธารณสขุ แหง่ ชาติ 3. สานกั งานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค 4. สานกั งานวจิ ยั มะเรง็ นานาชาติ องคก์ ารอนามัยโลก คาถามที่ 2 : นักเรียนคดิ ว่า บุคคลกลุม่ ใดมโี อกาสเสย่ี งต่อโรคมะเรง็ น้อยท่ีสดุ 1. คนงานเหมอื ง 2. ผ้มู พี นั ธุกรรมเปน็ มะเร็ง 3. ผู้สูบบหุ รหี่ รอื ผู้ทร่ี บั ควนั บหุ ร่ีจากคนสบู 4 .ผมู้ ที ่ีพกั อาศัย และทางานในเขตจราจรแออดั คาถามที่ 3 : ข้อใดเปน็ จดุ มงุ่ หมายสาคญั ของผู้เขียน 1. เพอ่ื ให้ทราบถึงการเกดิ โรคมะเร็ง 2. เพือ่ ใหห้ ลกี เล่ยี งการปลอ่ ยสารพิษสูอ่ ากาศ 3. เพอ่ื ให้รถู้ ึงโทษและวิธีการปอ้ งกนั ของควันจากท่อไอเสยี 4. เพ่อื ใหร้ ้วู ่ารถมจี านวนมากกว่าจานวนประชากรในกรงุ เทพฯ คาถามท่ี 4 : บุคคลทป่ี ระกอบอาชพี ใดบ้างที่กรมควบคมุ โรคระบุวา่ เปน็ กลุม่ เสี่ยงรบั สารพิษจากท่อไอเสีย ................................................................................................................................................... ........................... ........................................................................................................ ...................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. คาถามท่ี 5 : สมศกั ด์ิเป็นพนักงานขับรถในบริษัทแหง่ หน่งึ อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ถา้ นกั เรียนเป็นสมศักดิจ์ ะปฏบิ ตั ติ นอย่างไรเพือ่ หลีกเลีย่ งการรับสารพิษจากทอ่ ไอเสยี ....................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

23 บทความจากนติ ยสาร เร่ือง อาหาร 8 ชนดิ ท่ที าให้ \"งว่ งนอนตลอดเวลา” คณุ เคยสงสัยตัวเองบา้ งไหมว่าทาไมถงึ ไดม้ ีอาการงว่ งนอนตลอดเวลา ไม่วา่ จะทาอะไรก็ตาม คุณลอง สังเกตตัวเองดูวา่ ได้กินอาหารทีเ่ ปน็ สาเหตุของการง่วงนอนตลอดเวลาบา้ งรเึ ปลา่ 1. กาแฟ ดื่มกาแฟตอนเช้าโดยที่กระเพาะอาหารยังว่างเปล่าจะทาให้ง่วงได้ เพราะหลังจากด่ืมกาแฟได้ 30 นาที กาเฟอีนจะเข้าไปในกระแสเลือดและไปทีส่ มองสง่ ผลให้ออกซเิ จนทส่ี ง่ ไปยงั สมองถกู สกดั กน้ั แล้วความงว่ งก็จะตามมา 2. กล้วย เป็นผลไม้ที่ให้พลังงานอย่างรวดเร็วช่วยสลายความเครียด ฮอร์โมนเซโรโทนิน และนอร์เอพิเนฟริน จากกล้วยจะช่วยใหร้ ่างกายหลง่ั ฮอร์โมนแหง่ ความสุข แต่ถา้ รบั ประทานกลว้ ยมากเกนิ ไปจะทาให้เราเกยี จครา้ น และไม่อยากขยับเคล่อื นไหวร่างกาย 3. ช็อกโกแลต สาร Phenyl ethylamine ในช็อกโกแลตจะทาให้งว่ งนอน ดงั นน้ั ช็อกโกแลตจึงเปรียบเสมือน ยาที่ชว่ ยใหน้ อนหลบั และถา้ หากมีโกโก้ในปริมาณสงู ก็จะทาให้ร้สู ึกมคี วามสุข 4. ครัวซองต์ หากรับประทานครัวซองต์ 2-3 ช้ินจะรู้สึกง่วงนอน เพราะครัวซองต์มีปริมาณแป้งขัดขาวมาก และอุดมไปด้วยไขมันอีกด้วยซ่ึงไขมันจาเป็นต้องใช้พลังงานในการย่อย ดังนั้น เมื่อรับประทานครวั ซองต์เข้าไป รา่ งกายก็จะดึงเลือดจากสมองไปท่ีกระเพาะเป็นจานวนมาก เมื่อสมองมีเลอื ดหลอ่ เล้ยี งไม่เพียงพอก็จะทาให้งว่ ง นอน หากคุณต้องทางานเร่งด่วนก็ควรรบั ประทานครัวซองต์ไดแ้ ค่ชนิ้ เล็ก ๆ หน่งึ ชิน้ 5. ขนมปังขาวและข้าวขาว อาหารทุกชนิดท่ีทามาจากแป้งขัดขาวเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะทาให้ง่วง เหตุผลก็คือ มันเป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดเร่งด่วนจึงทาให้ตับอ่อนต้องหล่ังอินซูลินออกมามากจึงทาให้น้าตาลใน เลือดขน้ึ สูงและทาใหง้ ว่ งนอน 6. ถ่ัวเปลือกแข็ง มกี ากใยอาหารมาก ซึ่งจะไปชะงักกระบวนการย่อยอาหารและยังถูกส่งต่อไปยังลาไส้ใหญ่ โดยไม่ได้ย่อย และกระตุ้นแบคทีเรียในลาไส้ใหญ่ที่มีหน้าที่จัดการกับกากใยอาหาร ผลก็คือ ทาให้ท้องอืดเฟ้อ และง่วงนอน โดยเฉพาะถ้ารบั ประทานถั่วผสมเกลือก็จะทาลายวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินบีซึ่งเป็นวิตามินที่ ช่วยใหร้ ่างกายกระปรกี้ ระเปรา่ 7. ของหวาน เชน่ ขนมหวาน เคก้ คุกกี้ เคร่ืองดื่มหวาน ๆ น้าตาล ทาให้งว่ งนอนและยังเป็นตัวแยง่ วิตามินบี ไปจากร่างกายเราด้วย เช่น วิตามินบี 1 บี 3 บี 6 และกรดโฟลิก และเมื่อร่างกายขาดแคลนวิตามินดังกล่าว ก็จะทาให้เรีย่ วแรงถดถอย จงึ สง่ ผลใหร้ สู้ ึกงว่ ง 8. ผลิตภัณฑ์นมหรือโยเกิร์ต เป็นอาหารที่มีประโยชน์ แต่ถ้ารับประทานโยเกิร์ตเข้าไปมากก็จะทาให้ ร่างกายได้รับแคลเซียมและโปรตีน แต่ในขณะเดียวกัน โปรตีนที่ว่านี้ก็จะแยกกรดอะมิโนจากร่างกาย ซ่ึงจะ ส่งผลให้มีกรดมากเกินในร่างกายและทาให้ง่วงตลอดเวลา ทมี่ า: http://campus.sanook.com/941644/

24 คาถามขอ้ ที่ 1 : จากบทความเรือ่ ง อาหาร 8 ชนิดท่ีทาให้ \"ง่วงนอนตลอดเวลา” ถา้ นักเรยี นเปน็ โรคขาดวิตามินบี 1 นักเรยี นควรหลีกเล่ียงอาหารกลุม่ ใดมากทสี่ ุด เพราะเหตุใด โดยใช้ขอ้ มลู จากถอ้ ยความ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามข้อที่ 2: จากบทความเร่ือง อาหาร 8 ชนิดท่ที าให้ \"ง่วงนอนตลอดเวลา” นายกระเป๋าเป็นนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงและต้องทางานหนักมากทาให้ไม่ได้พักผ่อนตามตารางเวลา ของชีวิต และเกิดความเครียด นักเรียนคิดว่าอาหารท่ีเหมาะสาหรับบารุงนายกระเป๋า 2 ลาดบั แรก คือ อาหาร ชนิดใด พรอ้ มทั้งให้เหตผุ ลประกอบ โดยใชข้ ้อมลู อ้างอิงจากบทความ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามข้อที่ 3: จากบทความเรอ่ื ง อาหาร 8 ชนิดทีท่ าให้ \"ง่วงนอนตลอดเวลา” นายโชติเคยรับประทานอาหารท่ีทาให้ง่วงนอนทั้ง 8 ชนิดแล้ว ปรากฏว่า นายโชติไม่ง่วงนอน ตามผลการศกึ ษาในบทความ และนายโชติไม่เหน็ ด้วยกับขอ้ มูลการศึกษาน้ี นกั เรียนเห็นดว้ ยหรอื ไมก่ ับความคดิ ของนายโชติ เพราะเหตใุ ด (ให้เหตุผลสนบั สนุน) ……………………………………………………………………………………………………………..................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................………………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามข้อท่ี 4: นักเรียนคดิ ว่า บทความนี้นา่ เช่อื ถอื หรือไม่ เพราะเหตุใด ……………………………………………………………………………………………………………..................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ..........................................……………………………………………………………………………………………………………………..

25 ระดับความสามารถของการร้เู รือ่ งการอ่าน ---------------------------------------------------------- การประเมินของ PISA ในปีที่ผ่านมา ต้ังแต่ ปี 2000 - 2012 นากรอบการประเมินการรู้เรื่องทั้ง 3 (การรู้เรื่องการอ่าน การรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ และการรู้เร่ืองวิทยาศาสตร์) มาสร้างเป็นแบบประเมินหรือข้อสอบ ท่ีใช้ตามสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับกรอบการประเมินของแต่ละเรื่อง นักเรียนสามารถตอบได้ หลากหลายรปู แบบ การตดั สินผลการประเมินของ PISA นอกจากการเสนอผลประเมินดว้ ยค่าเฉลีย่ คะแนนแล้ว PISA เสนอผลการประเมนิ และการรายงานดว้ ยผลการสอบวัดการรูเ้ รอ่ื งในแต่ละด้านด้วยระดับสมรรถนะ ดงั นี้ ระดบั การเขา้ ถึงและคน้ คืนสาระ สมรรถนะ การสะทอ้ นและประเมิน การบรู ณาการและตีความ มองเห็นสาระในรายละเอียด เข้าใจถ้อยความหลายถอ้ ยความที่ สร้างสมมติฐานหรือประเมิน 6 แม้จะเป็นข้อความที่ไม่เด่น ดึงเอาสาระมาบูรณาการกัน อย่างมวี ิจารณญาณในถ้อยความ หรือสะดดุ ตา หรืออ้างอิงภารกิจที่ให้อ่านอาจ ที่ซับซ้อนและไม่คุ้นเคยให้ใช้ ต้องการให้อ่านสิ่งท่ีไม่คุ้นเคย เกณฑห์ รอื มุมมองตา่ ง ๆ และมีสาระเด่นหลายอย่างที่ ตอ้ งเลอื กมาสรปุ และตคี วาม บอกได้ว่าสาระอยู่ท่ีใดในถ้อย ต้องมีความเข้าใจท่ีถูกต้องและ ใช้การประเมินอย่างวินิจวิเคราะห์ 5 ความ และรวบรวมสาระช้ิน มีรายละเอียดพร้อมของถ้อยความ หรือต้ังข้อสงสัยหรือสมมติฐาน เล็กๆ หลายช้ินท่ีซ่อนอยู่มา ท่ไี ม่คุน้ เคย และนาวธิ ีอ่านอย่าง โดยดึงเอาความรู้พิเศษเฉพาะ รวบรวมเพื่อให้ได้เน้ือหาท่ี หลากหลายมาแสดงความสัมพันธ์ เร่ืองมาใช้ ต้องการ แล้วอ้างอิงได้ว่าสาระ กบั แนวคิดท่ีมักไม่ตรงกนั หรือไม่ ส่วนไหนในถ้อยความที่ใช้ได้ ใกล้เคียงกับสิง่ ท่คี าดหวัง และสอดคล้องหรือสนบั สนุน บอกตาแหน่งของสาระต่าง ๆ ตีความภาษาท่ีมีความหมาย ทาความเข้าใจและประยุกต์ใช้ 4 ในถ้อยความจากเร่อื งท่ียาก ใกล้เคียงกันในถ้อยความซ่ึงต้อง ความรู้ในสถานการณ์ท่ีไม่คุ้นเคย อาศัยความหมายรวมถ้อยความ โดยการใช้ความรู้ทั่วไปมาสร้าง ทงั้ หมดเปน็ หลกั สมมติฐาน หรือประเมินถ้อยความ อย่างมีวิจารณญาณ แสดงว่า เข้าใจถ้ อยความที่ ยาวและ ซับซ้อน และเน้อื หาทไ่ี มค่ ุน้ เคย บ อ ก ต าแ ห น่ งห รือ บ อ ก - บูรณาการหลาย ๆ ส่วนของ ใชก้ ารเชอ่ื มโยงเปรียบเทยี บ 3 ความ สั ม พั น ธ์ข องส าระ ถ้อยความเพ่ือดึงเอาแนวคิด และการอธิบายหรือให้ประเมิน หลาย ๆ ชนิ้ ในถอ้ ยความ หลักเพื่อเข้าใจความสัมพันธ์ ลักษณะใดลักษณะหนึ่งของ ของคาหรอื วลี ถ้อยความ เพื่อแสดงว่าผู้อ่าน - ใช้ความรู้และทักษะหลายอย่าง เข้าใจสาระอย่างละเอียด โดย เพือ่ เปรยี บเทียบความเหมือน นามาเก่ยี วขอ้ งเชื่อมโยงกบั

26 ระดบั การค้นคืนสาระ สมรรถนะ การสะทอ้ นและประเมิน การบูรณาการและตีความ หรือบอกความแตกต่าง หรือ ส่ิงที่คุ้นเคยหรือพบเสมอใน จั ด ก ลุ่ ม ต า ม เก ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ชีวิตประจาวนั บางครั้งสาระที่ต้องการให้หา อาจจะไม่ได้อยู่ตรงส่วนที่เด่น ของบทความ แต่ถูกบดบังด้วย สาระอ่ืนมากมาย เป็นต้นว่า แนวคิดตรงกันข้ามกับ สิ่งที่ คาดหวังหรือส่ิงที่ข้อความชี้นัย หรือคาที่เปน็ เชงิ ปฏเิ สธ สามารถดึงสาระหน่ึงอย่าง เข้าใจแนวคิดใหญ่ของเน้ือหา ใช้การเปรียบเทียบหรือนา 2 หรือมากกว่าที่ใช้ในการ เข้าใจความสัมพันธ์ความหมาย ความรู้ท่ัวไปจากภายนอกมา อา้ งอิงหรือกาหนดเงอ่ื นไขไว้ ของส่วนที่กาหนดให้ในเรื่อง สร้างการเช่ือมโยงกับส่ิงที่ได้ หลายเงอ่ื นไข โดยที่ความหมายนัน้ ๆ ไม่แสดง อา่ นในเร่ือง ไว้อย่างเด่นชัด แต่ผู้อ่านต้องใช้ การอ้างอิงบ้างในระดับท่ีไม่สูง นกั ถอ้ ยความจะแสดงความ สัมพันธ์ด้วยการเปรียบเทียบ ก า ร บ อ ก ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ลักษณะเพียงอย่างเดยี ว 1A ระบุสาระหน่ึงหรือมากกว่า1อย่าง เข้าใจแนวของเร่ืองท่ีผู้เขียนได้ เช่ือมโยงสาระในเรื่องเข้ากับ ซงึ่ เป็นสาระเด่นชัดอยูใ่ นเรอ่ื ง แสดงไวใ้ นเรอื่ งที่คนุ้ เคย ความรงู้ า่ ยๆ ทว่ั ไป 1B บอกจดุ สาระเพียงจุด เชื่อมโยงสาระจากจุดหน่ึงกับ ปรากฏชดั เจนในเรือ่ งสนั้ ๆ อกี จดุ หนึง่ ทอ่ี ยตู่ ดิ กนั ในเรอื่ ง - หรือในประโยคง่าย ๆ ไม่ ซบั ซ้อนและเปน็ ส่ิงที่คุน้ เคย ทงั้ ในบริบทของข้อความ รวมทง้ั ในรปู แบบของถ้อย ความท่ีมีลกั ษณะเข้าใจงา่ ย เช่น มกี ารบอกเลา่ ข้อความ ไว้ แตว่ ธิ กี ารบอกอาจ แตกตา่ งกนั ไปมรี ูปหรอื สญั ลกั ษณ์ท่ีคุน้ เคยประกอบ มขี อ้ ความทีย่ งั ทาให้เขา้ ใจ ไขวเ้ ขวนอ้ ยที่สดุ

27 หน่วยยอ่ ยที่ 2 การร้เู ร่ืองการอ่าน : กลยุทธก์ ารอ่าน (Reading Literacy’s Aspect Categories) (เวลา 6 ชวั่ โมง)

28 หนว่ ยยอ่ ยที่ 2 การรูเ้ รื่องการอา่ น : กลยุทธ์การอ่าน (Reading Literacy’s Aspect Categories) 1. สาระสาคญั กลยุทธ์การอ่านเป็นกระบวนการท่ีแสดงการคิดหรือการใช้สติปัญญาท่ีผู้อ่านใช้ในการพิจารณา ถ้อยความทอี่ ่าน โดยคาดหวงั ใหน้ ักเรียนแสดงความสามารถในกระบวนการ 1.1 การเขา้ ถึงและคน้ คนื สาระ (Access and Retrieve) 1.2 การบรู ณาการและตีความ (Integrate and Interpret) 1.3 การสะท้อนและการประเมิน (Reflect and Evaluate) 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหผ้ รู้ ับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการอา่ นตอ่ ไปนี้ 2.1 การเขา้ ถึงและคน้ คนื สาระ (Access and Retrieve) 2.2 การบูรณาการและตีความ (Integrate and Interpret) 2.3 การสะท้อนและประเมิน (Reflect and Evaluate) 3. เน้ือหาการอบรม 3.1 การร้เู รอ่ื งการอ่าน 3.2 อ่านอย่างไรใหเ้ ขา้ ถึงและคน้ คนื สาระ 3.3 อ่านอยา่ งไรให้บรู ณาการและตคี วาม 3.4 อ่านอย่างไรให้สะท้อนและประเมิน 4. เวลา จานวน 6 ชัว่ โมง 5. กิจกรรมการอบรม 5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่องการรู้เรอ่ื งการอา่ น 5.2 ผู้รบั การอบรมศกึ ษาใบความรู้เร่อื งสมรรถนะการอา่ น 5.3 ผรู้ ับการอบรมศึกษาสถานการณก์ ารรเู้ รื่องการอ่าน 5.4 ผรู้ บั การอบรมทาแบบฝกึ หดั 6. ส่อื ประกอบการฝึกอบรม 6.1 สไลด์ภาพประกอบการบรรยายหน่วยย่อยที่ 2 6.2 ใบความรู้ที่ 5-7 6.3 ใบกิจกรรม 3-6 6.4 สื่อประกอบการอบรมประจาหน่วยยอ่ ยท่ี 2 7. การประเมินผลการอบรม 7.1 สงั เกตพฤตกิ รรมจากการมีส่วนรว่ มและการตอบคาถามของผเู้ ขา้ รับการอบรมตามกิจกรรม 7.2 ตรวจสอบคาตอบของผูเ้ ข้ารับการอบรมตามกจิ กรรม และการแสดงความคิดเหน็ 7.3 ตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมจากการเขยี นตอบคาถามระหว่างการอบรม

29 ใบกจิ กรรมที่ 3 อา่ นอย่างไรใหเ้ ข้าถงึ และคน้ คืนสาระถอ้ ยความท่อี ่านได้ (Access and Retrieve) สาระสาคัญ สมรรถนะการเข้าถึงและค้นคืนสาระ เป็นการอ่านทาความเข้าใจสาระของส่ิงที่อ่านแล้วมุง่ ค้นหาสาระ ที่ต้องการ หรือการเข้าถึงสาระด้วยการพิจารณาส่วนใดส่วนหนึ่งของถ้อยความ หรือพิจารณาโดยรวมทั้งหมด สาระท่ีต้องการจะปรากฏในเน้ือความชัดเจนจากถ้อยความท่ีอ่านเท่านั้น แล้วดึงสาระที่ค้นได้จากเน้ือความ หรอื การค้นคืนสาระ นามาตอบคาถามไดถ้ ูกตอ้ ง ตรงประเดน็ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพฒั นาความรู้ ทักษะและสมรรถนะการเข้าถงึ และคน้ คืนสาระให้กับผรู้ ับการอบรม 2. เพือ่ ฝึกปฏบิ ัติการอา่ นสมรรถนะเข้าถงึ และคน้ คืนสาระ เนื้อหา สมรรถนะการเขา้ ถงึ และค้นคืนสาระสิง่ ท่อี ่าน (Access and Retrieve) กจิ กรรมการอบรม 1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เก่ียวกบั สมรรถนะการเข้าถึงและคน้ คนื สาระ 2. ผูร้ ับการอบรมฝึกปฏบิ ัติการ การสรา้ งแบบฝึกสมรรถนะเขา้ ถึงและคน้ คืนสาระ สือ่ การอบรม ใบความรู้ที่ 5 สมรรถนะการเขา้ ถึงและค้นคืนสาระ (Access and Retrieve) 5.1 เรื่องสมรรถนะการเขา้ ถึงและค้นคนื สาระ 5.2 ตัวอยา่ งสถานการณ์ สมรรถนะการเข้าถึงและคน้ คืนสาระ

30 ใบความรทู้ ี่ 5 สมรรถนะการเขา้ ถงึ และค้นคนื สาระ (Access and Retrieve) สมรรถนะการเขา้ ถึงและค้นคืนสาระ (Access and Retrieve) คืออะไร สมรรถนะการเข้าถึงและค้นคืนสาระ (Access and Retrieve) คือ เป็นการอ่านทาความเข้าใจสาระ ของสิ่งท่ีอ่านแล้วมุ่งค้นหาสาระที่ต้องการด้วยการพิจารณาส่วนใดส่วนหน่ึง หรือพิจารณาโดยรวมของถ้อย ความ สาระท่ีต้องการจะปรากฏในเนื้อความจากถ้อยความท่ีอ่านเท่าน้ัน แล้วดึงสาระทีค่ ้นได้จากเน้ือความมา ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตรงประเดน็ ผอู้ า่ นจะตอ้ งมคี วามรู้พนื้ ฐานอะไรบ้าง 1. มคี วามรเู้ บื้องตน้ ทจี่ ะใช้ในการอ่านวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่ 1.1 ความรูก้ ารสือ่ สารด้านการอา่ นและการเขียนเช่น การอา่ นคาถาม การอ่านขอ้ ความและ การเขียนคาตอบ 1.2 ความร้หู นา้ ทใ่ี นโครงสร้างของประโยค เช่น หน้าทีส่ ่วนหลัก หน้าทส่ี ่วนขยาย หน้าท่ีส่วนบอกขยาย และหน้าที่สว่ นเช่ือม 2. มคี วามรวู้ ธิ กี ารอ่านวเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหวา่ งสาระสาคญั กบั สาระไมส่ าคญั 2.1 ความร้เู รือ่ งโครงสรา้ งประโยคพืน้ ฐานประโยคซอ้ น ประโยครวม และประโยคซับซ้อนมาแยกแยะ ไดแ้ ก่ 2.1.1 หน้าท่ีส่วนหลกั ซึ่งเป็นใจความหลักหรือสาระสาคญั ไดแ้ ก่ ประธาน กริยา กรรม หรือสว่ นเติมเตม็ 2.1.2 หน้าที่สว่ นขยาย ซ่ึงเป็นใจความทไ่ี ม่สาคัญ หรอื สาระไม่สาคัญ ไดแ้ ก่ ขยายประธาน ขยายกรรมหรือส่วนเติมเต็ม และขยายกริยา จะสังเกตได้จากการขึ้นต้นด้วยส่วนท่ีบอกขยาย ได้แก่ คาบุพบท คาเชื่อมสมภาค คาเชอื่ มอนุประโยค และคาเชอื่ มสมั พนั ธสารเช่อื มการขยายความ 2.2 ความรู้เรื่องโครงสร้างของบทความท่ีประกอบด้วยย่อหน้า 3 ประเภท ได้แก่ ย่อหน้าหลัก ยอ่ หนา้ ขยายและย่อหน้าเช่อื ม 3. มคี วามรู้วิธีการอ่านวเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ เทจ็ จรงิ กับข้อคิดเห็นดังน้ี 3.1 ข้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเหน็ เกี่ยวกบั อดีต 3.2 ขอ้ เทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ปจั จบุ ัน 3.3 ขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเหน็ เกย่ี วกับอนาคต ผูอ้ า่ นจะผา่ นเกณฑ์สมรรถนะการเข้าถึงและคน้ คืนสาระหรอื ไม่ ผู้อ่านต้องสามารถอ่านถ้อยความในรูปแบบต่างๆอย่างเข้าใจชัดแจ้งและสามารถดึงสาระท่ีต้องการ ออกมาใชไ้ ด้ ผอู้ ่านจะมีความรูแ้ ละทักษะสมรรถนะการเข้าถงึ และค้นคนื สาระระดบั ใด ผู้อ่านต้องสามารถบอกได้ว่าสาระอยู่ตรงที่ใดในถ้อยความ และรวบรวมสาระชิ้นเล็กๆหลายชิ้นท่ีซ่อนอยู่ มารวบรวมเพ่ือให้ได้เนื้อหาท่ีต้องการ แล้วอ้างอิงได้ว่าสาระส่วนไหนในถ้อยความท่ีใช้ได้และสอดคล้อง หรือ สนับสนุนผู้อา่ นมองเหน็ สาระในรายละเอยี ด แม้จะเป็นข้อความท่ีไม่เดน่ หรือไม่สะดุดตากต็ าม

31 ขัน้ ตอนการอา่ นเขา้ ถงึ และค้นคนื สาระ ผ้อู ่านจะตอ้ งปฏิบัติขนั้ ตอน การเขา้ ถึงและค้นคนื สาระ 3 ข้นั ตอน ดงั ต่อไปนี้ 1. ขัน้ ตอนกอ่ นอา่ น 1.1 อ่านสารวจสง่ิ ทีอ่ า่ น เพือ่ จะไดท้ ราบรปู แบบสง่ิ ที่อา่ น และจะได้เลือกใช้วิธีอา่ นทีเ่ หมาะสม 1.1.1 ช่ือเรอ่ื ง 1.1.2 ถอ้ ยความ 1) ถอ้ ยความที่นามาใช้ทงั้ หมด หรือ ตดั มาบางส่วน 2) จานวนหัวขอ้ จานวนหน้า จานวนย่อหน้า จานวนคอลมั น์ 1.1.3 ลักษณะถ้อยความ และประเภทถ้อยความ เชน่ 1) ลกั ษณะเปน็ ขอ้ ความประเภทรายงาน บทละคร ประกาศ ฯลฯ 2) ลักษณะไมเ่ ปน็ ข้อความ ประเภท แผนผัง แผนภูมิ ตาราง กราฟ ฯลฯ 3) ลักษณะผสมทีม่ ีทั้งเป็นขอ้ ความ และไมเ่ ป็นขอ้ ความมาประกอบกนั 1.1.4 แหล่งทม่ี า เชน่ จากหนงั สอื จากนติ ยสาร จากเว็บไซต์ ฯลฯ 1.2 อา่ นสารวจคาถาม ใหท้ ราบจานวนขอ้ คาถาม และรูปแบบคาถามเช่น แบบเลือกตอบตวั เลอื ก แบบเขยี นขอ้ ความ แบบลากเส้น หรอื ทาเคร่อื งหมายฯลฯ 2. ข้ันตอนระหวา่ งอา่ น 2.1 ผ้อู ่านต้องอา่ นโจทยอ์ ยา่ งละเอยี ดแลว้ มองหาคาถามอย่สู ว่ นใด เช่นส่วนต้น สว่ นกลาง สว่ นท้ายและ “คาถามถามอะไร”เช่นถามตวั ละคร ถามเวลา ถามสถานที่ถามจานวน ฯลฯ 2.2 อา่ นถอ้ ยความแล้วมองหา ค้นหาสาระท่ตี อ้ งการ หรือหาคาตอบใหพ้ บ ไดแ้ ก่ 2.2.1 สาระที่ตอ้ งการจะเขา้ คู่กบั คาถามซ่งึ จะปรากฏชัดเจน 2.2.2 สาระทต่ี ้องการจะเป็นขอ้ เทจ็ จริงท่ีปรากฏในส่ิงที่อ่าน 2.2.3 ตอ้ งมองข้ามสาระอนื่ ๆที่ไมต่ ้องการ 2.3 อา่ นถอ้ ยความทมี่ คี วามกากวม ซง่ึ เป็นระดับท่ียากขน้ึ ไดแ้ ก่ 2.3.1 สาระที่ต้องการเปน็ คาคลา้ ยคลงึ คาเหมอื นกนั หรือมคี วามหมายเหมอื นกนั 2.3.2 สาระทีต่ อ้ งการต้องใชท้ กั ษะการจาแนก หรอื บอกความแตกตา่ งหรือใกลเ้ คยี ง 2.4 สาระข้อความคาตอบท่ตี ้องการ ต้องเลอื กท่ปี รากฏชัดเจนในถอ้ ยความที่อา่ นเท่านน้ั 3. ข้ันตอนหลังอา่ น 3.1 นาคาตอบทไ่ี ด้ มาตอบตรงตามรปู แบบของขอ้ สอบ 3.1.1 แบบเลอื กตอบ 1 ตวั เลือก จากตัวเลอื ก4 ตวั เลอื กหรอื มากกว่า 3.1.2 เขยี นคาตอบแบบปดิ โดยคดั ลอกคาเดยี วกันจากถอ้ ยความ 3.1.3 เขยี นคาตอบแบบเปิด อาจคัดลอก หรือถอดความจากถ้อยความในเรือ่ ง 3.2 อ่านสารวจคาตอบเพื่อทบทวนความถูกตอ้ ง ต้องตรวจสอบคาตอบท่เี ลือกหรือทีค่ ดั ลอกวา่ ถูกต้องตรงกับข้อความในเร่ืองอย่างสมบรู ณ์

32 ตวั อย่างสถานการณ์สมรรถนะการเขา้ ถงึ และค้นคนื สาระ สถานการณ์ที่ 1 : เตือนดมื่ นา้ แร่ทกุ วนั อันตรายรา่ งกายเสยี สมดุล ทีม่ า: http://www.thairath.co.th/content/342657

33 สมรรถนะ การเขา้ ถงึ และค้นคนื สาระ ตัวอย่างคาถาม : จากถ้อยความเร่ืองเตือนด่ืมน้าแร่ทุกวันอันตรายร่างกายเสียสมดุล ระบุว่าค่ามาตรฐาน ฟลูออไรด์ในน้าแร่สาหรับด่ืมไม่ควรเกิน 0.7 มิลลิกรัมตอ่ ลติ ร ถ้าเกินค่ามาตรฐานจะส่งผลเสียต่ออวัยวะส่วนใด ของรา่ งกายมนุษย์ 1. ระบบการทางานของไต 2. กระเพาะอาหาร 3. ฟันและกระดกู 4. ระบบการทางานของสมอง จงปฏิบตั กิ จิ กรรมต่อไปนี้ ตอนท่ี 1 ใหท้ ่านเขียนวิธกี ารหาคาตอบและเขียนคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องวา่ ง คาถาม วธิ กี ารหาคาตอบ คาตอบ ค่ามาตรฐานฟลูออไรด์ในน้าแร่ ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… สาหรับด่ืมไม่ควรเกิน 0.7 มิลลิกรัม ……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ต่อลิตร ถ้าเกินค่ามาตรฐานจะ ……………………………………………… ……………………………………………… ส่งผลเสียต่ออวัยวะส่วนใดของ ……………………………………………… ร่างกายมนุษย์ ……………………………………………… ตอนที่ 2 ให้ทา่ นทาเครื่องหมาย X ให้ตรงกบั การวิธีการหาคาตอบของทา่ น ใช่ ไม่ใช่ เขยี นเคร่อื งหมาย X ในชอ่ ง ใช่ เขียนเครือ่ งหมาย X ในชอ่ ง ไมใ่ ช่ ที่ ข้อความ 1 ทา่ นมองเหน็ สาระในรายละเอียดแม้จะเป็นข้อความที่ไมเ่ ด่นหรอื สะดดุ ตา 2 ทา่ นสามารถพบตาแหน่งของคาตอบในถ้อยความท่อี า่ น 3 ทา่ นได้ตีความ แปลความเพอื่ หาคาตอบตามที่โจทย์กาหนด 4 คาตอบของทา่ นไม่ยึดตดิ กบั สาระที่อา่ นไม่เอาความคดิ และเจตคติของท่านมาเกีย่ วขอ้ ง 5 ท่านแสดงความคดิ เหน็ จากมุมมองของทา่ นมาใช้ในการตอบคาถามโดยเชื่อมโยง ความรภู้ ายนอกหรือโลกความเป็นจรงิ 6 ทา่ นสามารถระบสุ าระหนง่ึ หรือมากกวา่ 1อย่างซง่ึ เป็นสาระทเี่ ดน่ ชดั อยูใ่ นเรื่อง 7 ท่านนาความรู้ความคิด ความเข้าใจเดิมมาตีความแล้วแสดงความคิดเหน็ ได้ 8 ทา่ นได้สรปุ ความเพื่อตอบคาถาม 9 ท่านดคู วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ งส่วนตา่ งๆของถ้อยความ 10 ทา่ นสามารถบอกตาแหน่งหรือบอกความสัมพนั ธข์ องสาระหลายๆชน้ิ ในถ้อยความ

34 ตอนท่ี 3 ใหท้ า่ นนาขอ้ ความท่ีทา่ นตอบว่า ใช่ มาเรียบเรยี งเปน็ ข้อความท่ีต่อเน่ืองกันให้สอดคล้องกบั สมรรถนะการเขา้ ถึงและคน้ คืนสาระ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ตอนท่ี 4 ให้ทา่ นต้ังคาถามจากถ้อยความที่อา่ นเร่ือง เตอื นด่มื น้าแรท่ ุกวนั อนั ตรายร่างการเสยี สมดุล โดยใช้ สมรรถนะการเข้าถึงและคน้ คนื สาระ จานวน 1 คาถาม ในลักษณะเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนท่ี 5 ให้ท่านฝกึ ตงั้ คาถามจากถ้อยความท่ีอา่ น เรื่อง เตือนดม่ื นา้ แร่ทกุ วันอนั ตรายร่างกายเสยี สมดุล โดยใชส้ มรรถนะการเขา้ ถึงและค้นคนื สาระ จานวน 3 คาถาม ในลักษณะข้อสอบเชงิ ซ้อน จากถ้อยความเร่ือง เตือนดมื่ “น้าแร่” ทุกวนั อันตรายรา่ งกายขาดความสมดลุ ข้อความตอ่ ไปนี้เปน็ ความจรงิ หรือไมเ่ ป็นความจรงิ ข้อความเป็นความจรงิ จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง “ใช่” ขอ้ ความไม่เปน็ ความจรงิ จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง “ไมใ่ ช่” ข้อความ ใช่ ไม่ใช่ ตวั อย่าง น้าแร่สว่ นใหญ่ทขี่ ายในท้องตลาดจะบอกปริมาณของแรธ่ าตุชัดเจน X 1. 2. 3.

35 สถานการณ์ท่ี 2 : ขา้ วโพดต้มสกุ กบั มะเร็ง 1. เม่ือเร็ว ๆ นี้ ผู้เขียนไดร้ ับอีเมลฉบับหนง่ึ จั่วหวั ว่า “ขา้ วโพดต้มสุก” พรอ้ มมีเนอ้ื หาที่น่าสนใจทานอง ว่า คุณแม่ของผู้ที่สง่ อีเมลฉบับน้ีกาลังรักษามะเร็งช่วงใกล้ ๆ หาย เริ่มจะทานอาหารได้ เค้าจะกินข้าวโพด ต้มทุกวัน ทาให้ฟ้ืนตัวเร็วมาก ซึ่งข้าวโพดสุก ต้านมะเร็ง การแทะข้าวโพดหวานต้านโรคมะเร็งมีสารตัว ล้างพิษมากกว่าผักผลไม้ นอกจากนี้ในเน้ือหายังอ้างอิงผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์แห่งสหรัฐ โดยระบุว่า ข้าวโพดหวานท่ีปรุงสุกแล้วจะออกฤทธิ์ล้างพิษในร่างกายได้สูงข้ึนอย่างเด่นชัด คณะนักวิจัย แจ้งว่าข้าวโพดหวานท่ตี ้มหรือปง้ิ จะปล่อยสารประกอบทเ่ี รียกว่า กรดเฟอรรู กิ อันเปน็ คณุ กบั ร่างกายมาก เพื่อไขข้อกระจ่างในเร่ืองน้ี ผู้อานวยการสถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ บอกว่า งานวิจัย ดังกล่าวเป็นของมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ตีพิมพ์ในวารสารการเกษตรและโภชนเคมี โดยสมาคมเคมี อเมริกัน โดยพบว่า ในการต้มข้าวโพดหวานด้วยอุณหภูมิสูง 115 องศาเซลเซียส ในเวลานานต่างกัน 10 นาที 25 นาที และ 50 นาที พบว่าย่ิงต้มนานจะทาให้มันมีสารต้านอนุมูลอิสระ หรือ ต้านมะเร็ง เพิ่มขึ้น จาก 22 เปอร์เซ็นต์ 44 เปอร์เซน็ ต์ และ 53 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ สารต้านอนุมูลอิสระในข้าวโพด คือ กรดเฟอรรู ิก กรดชนิดน้ีจะอยตู่ ามผนังเซลล์ของข้าวโพด ถ้าเป็น ข้าวโพดดิบ กรดเฟอรูริกตัวต้านมะเร็งจะไม่ค่อยออกมา แต่พอเอาไปต้มหรือย่าง กรดเฟอรูริกจะออกมา มากข้นึ เพราะผนังเซลลถ์ ูกความร้อนสลายไป จะช่วยปลดปล่อยกรดเฟอรูรกิ ต้านมะเรง็ ออกมาไดเ้ ยอะข้ึน การตม้ นาน ๆ ขอ้ ดี คือ ปลดปลอ่ ยสารต้านมะเร็งออกมามาก ทาให้แป้งทีไ่ ม่ย่อย กลายเปน็ แป้งท่ีย่อยได้ดี ข้ึน แตถ่ า้ ต้มนานจนเกินไปอาจทาใหข้ ้าวโพดเหลือแต่ไฟเบอร์ นอกจากน้ีข้าวโพดยังมีสารเหลืองที่เป็นของดี คือ สารต้านอนุมูลอิสระกลุ่มลูทีน และซีแซนทีน จะ ช่วยชะลอปัญหาจอประสาทตาเสื่อม หรือตาบอดจากจอตาเส่อื มกรดเฟอรูริกเป็นของดี นอกจากขา้ วโพด แล้ว ยังมีในธัญพืชอ่ืนเช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต เมล็ดกาแฟ ถวั่ ลิสง แอปเปิล ส้ม อาติโช้คและสับปะรด ดว้ ย ผู้อานวยการสถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติ อธิบายว่า ข้าวโพด ที่เรานามารับประทานน้ัน ในข้าวโพดอ่อน จะมีแป้ง กาก และสารต้านอนุมูลอิสระ สาหรับข้าวโพดดิบ ๆไม่ควรรับประทาน เพราะ จะมีแป้งที่ไม่ย่อย ถ้ารับประทานเข้าไปจะทาให้ท้องอืด แป้งดงั กล่าวจะไปหมักต่อในท้อง ข้าวโพดต้มหรือ ย่าง จะต่างกับข้าวโพดดิบ แป้งที่ไม่ย่อยจะถูกย่อยง่ายข้ึน โดยเฉพาะข้าวโพดหวานบ้านเราดีท่ีสุด นอกจากนี้ข้าวโพดที่กาลังงอก เหมือนมีต้นออ่ นอยู่ในเมล็ดขา้ วโพด จะมีสารกาบาเหมือนข้าวกล้องงอก มี ประโยชน์ต่อสมองสีของข้าวโพดท่ีแตกต่างกันตามสายพันธุ์ก็มีส่วนสาคัญ ไม่ว่าจะเป็น สีเหลือง สีเหลือง

36 อ่อน สีม่วงดาก็ตามแต่ใครจะชอบ แต่ที่อยากแนะนา คือ ให้รับประทานข้าวโพดสีค่อนข้างเข้ม เช่น เหลืองเข้มจะมีสารต้านอนุมูลอิสระกลุ่มลูทีนและซีแซนทีนเยอะ ส่วนสีดา หรือสีม่วงเข้ม จะมีสารโอพีซี เหมือนสารสกดั ในเมลด็ องนุ่ ใครควรรับประทานข้าวโพดบ้าง ? ผู้อานวยการสถาบันเวชศาสตร์อายุรวัฒน์นานาชาติตอบว่า วัยเด็ก เพราะจะช่วยสร้างเซลล์ประสาทท่ีจอตารวมถึงคนท่ีใช้สายตาเยอะนั่งหน้าคอมพิวเตอร์นาน ๆ หรือโดน แดด ควัน และฝนุ่ เยอะจอประสาทตาอาจจะเสื่อมงา่ ย นอกจากนี้ในคนเป็นมะเรง็ หรอื เปน็ โรคอลั ไซเมอร์ ก็ควรรับประทาน เพราะจะมสี ารตา้ นอนุมูลอิสระเยอะส่วนคนที่ไม่ควรรบั ประทานขา้ วโพด คือ ผสู้ ูงอายุที่ มีปัญหาท้องอืดบ่อย หรือว่าลาไส้ย่อยยาก รวมท้งั คนที่เพงิ่ ผา่ ตัดช่องทอ้ งมาใหม่ ๆ เพราะจะทาให้ท้องอืด ไดง้ า่ ย ถ้าเป็นข้าวโพดค่ัวควรรับประทานหรือไม่ ? ผู้อานวยการ ฯ กล่าวว่า อันนี้ก็ดี เพราะข้าวโพดค่ัวจะมี สารต้านอนมุ ูลอสิ ระกลุ่มฟีโนลิก คอื ในข้าวโพดค่ัวจะเสียตัวธาตุเหลืองไปหมด แต่จะมีสารกลมุ่ ฟโี นลิกมา แทนท่ี แตค่ นไทยอาจจะไม่ชอบเพราะฝืดคอส่วนทห่ี ลายคนสงสัยว่า ควรจะรับประทานข้าวโพดถ่ีแค่ไหน น้นั ผู้อานวยการ ฯ บอกว่า ก็ให้สลับกันไป เชน่ วันน้ีรบั ประทานข้าวโพดอ่อน วันต่อมาอาจจะรับประทาน ข้าวโพดหวานต้มหรือย่าง ท้ังน้ีการรับประทานมากหรือถ่ีจนเกินไป อาจจะทาให้ได้แป้ง และน้าตาลใน ปรมิ าณมาก ทาใหอ้ ว้ นได้เชน่ กนั ทาไมบางคนกนิ ขา้ วโพดท่ีต้มสุกแลว้ แต่ยงั มปี ญั หาท้องอดื ? ผอู้ านวยการ ฯ กลา่ วว่า เนื่องจากลาไส้ บางคนจะไวต่อแป้งบางตวั ในขา้ วโพดก็เลยทาให้เกิดอาการท้องอืด ดังน้นั วธิ แี ก้ คือ ก่อนนาไปต้มควรแช่ นา้ คา้ งคืนไว้ หรือถา้ ไม่มเี วลาก็ตม้ ให้นานทส่ี ดุ ทีม่ า: http://medinfo2.psu.ac.th/cancer/db/news_showpic.php?newsID=627&tyep_ID=2 สมรรถนะ การเข้าถึงและค้นคืนสาระ ตัวอยา่ งคาถาม : สารชนิดใดท่ีสามารถพบได้ท้งั ในข้าวโพดงอกและข้าวกล้องงอก 1. ออรซิ านอล 2. ฟอสฟอรสั 3. แคลเซยี ม 4. กาบา จงปฏิบตั ิกจิ กรรมต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ปฏบิ ัติตามวิธีการหาคาตอบในตารางและเขียนคาตอบท่ีไดล้ งในช่องว่าง คาถาม วิธกี ารหาคาตอบ คาตอบ สารชนิดใดทส่ี ามารถพบ …………………………………………………… ………………………………………………….. ไดท้ งั้ ในข้าวโพดกาลงั ……………………………………………………. ………………………………………………….. งอกและขา้ วกล้องงอก …………………………………………………… ………………………………………………….. …………………………………………………… ………………………………………………….. ………………………………………………….… …………………………………………………..

37 ตอนที่ 2 ให้ท่านทาเครื่องหมาย X ให้ตรงกบั การวิธีการในการหาคาตอบ ใช่ ไมใ่ ช่ เขยี นเคร่ืองหมาย X ในชอ่ ง ใช่ เขยี นเคร่อื งหมาย X ในชอ่ ง ไม่ใช่ ท่ี ขอ้ ความ 1 ท่านมองเหน็ สาระในรายละเอยี ดแม้จะเป็นข้อความทีไ่ ม่เด่นชดั หรอื สะดดุ ตา 2 ทา่ นสามารถบอกตาแหนง่ ขอคาตอบในถ้อยความท่อี า่ น 3 ท่านไดต้ ีความแปลความเพ่ือหาคาตอบตามท่ีโจทย์กาหนด 4 คาตอบของท่านไมย่ ึดตดิ กบั สาระท่ีอ่านไม่เอาความคิดและเจตคติของท่านมาเกี่ยวข้อง 5 ทา่ นแสดงความคิดเหน็ จากมุมมองของทา่ นมาใชใ้ นการตอบคาถามโดยเช่ือมโยง ความรูภ้ ายนอกหรือโลกความเปน็ จรงิ 6 ทา่ นสามารถระบุสาระหนึ่งหรือมากกวา่ 1อยา่ งซง่ึ เป็นสาระท่เี ดน่ ชดั อยู่ในเรื่อง 7 ทา่ นนาความรคู้ วามคิด ความเข้าใจเดิมมาตีความแลว้ แสดงความคดิ เห็นได้ 8 ทา่ นสามารถระบตุ าแหน่งของคาตอบท่ไี ด้อย่างถกู ต้อง 9 ท่านไดส้ รปุ ความเพ่ือตอบคาถาม 10 ทา่ นดคู วามสัมพันธร์ ะหวา่ งส่วนตา่ งๆของถ้อยความ ตอนที่ 3 ใหท้ ่านนาขอ้ ความทีท่ ่านตอบวา่ ใช่ มาเรยี บเรียงให้เป็นข้อความท่ีต่อเนื่องกันและสอดคลอ้ งกับ สมรรถนะการเข้าถึงและคน้ คืนสาระ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .................................................................................... .......................................................................................... ตอนท่ี 4 ใหท้ า่ นตง้ั คาถามจากถ้อยความท่ีอา่ นเร่ือง ข้าวโพดต้มสุก กบั มะเร็งโดยใช้สมรรถนะการเขา้ ถึง และค้นคนื สาระ จานวน 1 คาถาม ในลกั ษณะเลอื กตอบ 4 ตัวเลอื ก ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนท่ี 5 ให้ทา่ นตั้งคาถามจากถ้อยความเรื่อง ขา้ วโพดต้มสกุ กับมะเร็งลกั ษณะข้อสอบเชิงซอ้ น ข้อความเปน็ ความจริง จงเขียนเคร่อื งหมาย X ในช่อง “ใช่” ข้อความไม่เป็นความจรงิ จงเขียนเครื่องหมาย X ในช่อง “ไมใ่ ช่” ข้อความ ใช่ ไม่ใช่ 1. 2. 3. 4. 5.

38 สถานการณ์ที่ 3: ประกาศเร่อื งการบริจาคโลหติ ประกาศเร่อื งการบริจาคโลหติ การบรจิ าคโลหิตเปน็ สงิ่ จาเปน็ เพราะไม่มีผลติ ภัณฑใ์ ดท่ีสามารถใชแ้ ทนเลอื ดมนุษย์ได้ อย่างสมบูรณ์ ดังน้ันการบริจาคโลหิตจึงไม่มีอะไรมาชดเชยได้ และจาเป็นสาหรับการ ชว่ ยชวี ิต ในฝรั่งเศสแตล่ ะปยี ังมีผู้ปว่ ย 500,000 คน ไดร้ ับประโยชน์จากการถา่ ยเลอื ด อุปกรณ์ที่ใช้เจาะเลือดผ่านการฆ่าเช้ือและใช้เพียงคร้ังเดียว (กระบอกฉีดยา สายยาง ถงุ ใสเ่ ลือด) จึงไม่มคี วามเสี่ยงใด ๆ ในการให้เลอื ดของคุณ การบรจิ าคโลหติ เป็นรูปแบบของการบริจาคที่รู้จักกันดีท่ีสุดและใช้เวลา 45 นาทีถึง 1 ช่ัวโมง ถุงมี ความจุ 450 มลิ ลิลติ ร ถกู เก็บไปพร้อมกบั ตวั อยา่ งอีกเล็กน้อย สาหรับทดสอบและตรวจสอบ - ผู้ชายสามารถบรจิ าคโลหติ ไดป้ ลี ะ5 ครั้ง ผหู้ ญิงปีละ 3 ครั้ง - ผู้บรจิ าคตอ้ งมอี ายรุ ะหว่าง 18 -61 ปี - จาเป็นตอ้ งเว้นระยะอยา่ งนอ้ ย 8 สัปดาห์ ระหว่างการบริจาคโลหิตแต่ละคร้ัง

39 สมรรถนะ การเขา้ ถึงและค้นคืนสาระ ตวั อย่างคาถาม :ในปี พ.ศ. 2554 เด็กชายสมชายมอี ายุ 10 ขวบ ปีพ.ศ.ใดที่เขาสามารถบริจาคเลือดได้ ปีละ 4 คร้ัง 1. พ.ศ. 2561 2. พ.ศ. 2562 3. พ.ศ. 2563 4. พ.ศ. 2564 จงปฏบิ ัติกจิ กรรมต่อไปน้ี ตอนท่ี 1ปฏิบัติตามวธิ ีการหาคาตอบในตารางและเขยี นคาตอบที่ได้ลงในชอ่ งว่าง คาถาม วธิ กี ารหาคาตอบ คาตอบ ในปี พ.ศ. 2554 เด็กชาย ………………………………………………… ………………………………………………… สมชายมีอายุ 10 ขวบ ………………………………………………… ………………………………………………… ในปี พ.ศ.ใดที่เขาสามารถ ………………………………………………… ………………………………………………… บริจาคเลือดได้ปลี ะ 4 คร้งั ………………………………………………… ………………………………………………… ตอนท่ี 2 ใหท้ า่ นทาเครื่องหมาย X ให้ตรงกับการปฏิบัตใิ นการหาคาตอบของท่าน ใช่ ไมใ่ ช่ เขียนเครอ่ื งหมาย X ในช่อง ใช่ เขียนเครอื่ งหมาย X ในช่อง ไมใ่ ช่ ท่ี ข้อความ 1 ท่านมองเห็นสาระในรายละเอียดแมจ้ ะเป็นข้อความท่ไี ม่เด่นชดั หรอื สะดุดตา 2 ท่านดคู วามสมั พันธ์ภายในถ้อยความ 3 ทา่ นสามารถบอกตาแหน่งขอคาตอบในถ้อยความทอ่ี า่ น 4 ท่านได้ตีความแปลความเพ่ือหาคาตอบตามท่โี จทย์กาหนด 5 คาตอบของท่านไมย่ ึดติดกับสาระที่อ่านไม่เอาความคิดและเจตคติของทา่ นมาเกี่ยวข้อง 6 ทา่ นแสดงความคิดเห็นจากมุมมองของทา่ นมาใช้ในการตอบคาถามโดยเชื่อมโยง ความรภู้ ายนอกหรือโลกความเป็นจริง 7 ทา่ นสามารถระบสุ าระหนึ่งหรือมากกว่า 1อยา่ งซ่ึงเป็นสาระทเ่ี ด่นชัดอยใู่ นเร่ือง 8 ท่านนาความรคู้ วามคดิ ความเข้าใจเดิมมาตีความแล้วแสดงความคิดเห็นได้ 9 ท่านไดส้ รุปความเพือ่ ตอบคาถาม 10 ทา่ นสามารถบอกตาแหน่งหรือบอกความสมั พนั ธ์ของสาระหลายๆชนิ้ ในถอ้ ยความ

40 ตอนที่ 3 ให้ทา่ นนาข้อความที่ท่านตอบวา่ ใช่ มาเรียบเรยี งให้เปน็ ข้อความที่ต่อเน่ืองกนั ใหส้ อดคลอ้ งกบั สมรรถนะการเข้าถงึ และค้นคืนสาระ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ................................................................................................................. ............................................................. ตอนที่ 4 ให้ท่านต้ังคาถามจากถ้อยความที่อ่าน เรื่อง ประกาศเรื่องการบริจาคโลหิต โดยใช้สมรรถนะ การเขา้ ถึงและค้นคืนสาระ จานวน 1 คาถาม ในลกั ษณะเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ................................................................... ......................... ตอนท่ี 5 จากถ้อยความเร่ือง ประกาศเรื่องการบริจาคโลหติ ข้อความต่อไปนีเ้ ปน็ ความจริง หรอื ไมเ่ ป็นความจริง ขอ้ ความเป็นความจริง จงเขียนเคร่อื งหมาย X ในช่อง “ใช่” ขอ้ ความไมเ่ ป็นความจริง จงเขียนเคร่ืองหมาย X ในช่อง “ไมใ่ ช่” ข้อความ ใช่ ไม่ใช่ ตัวอยา่ ง 1. 2. 3.

41 สถานการณ์ท่ี 4 : ความต้องการพลังงาน การเลือกอาหารทเี่ หมาะสมเพื่อให้ได้พลังงานตามความต้องการของคนเมอื งนาครธานี ตารางตอ่ ไปนี้แสดงคา่ พลงั งานในหนว่ ยกิโลจลู (kJ) ทีแ่ ต่ละบุคคลควรไดร้ ับพลังงานทีผ่ ้ใู หญ่ควรได้รับ ในแตล่ ะวัน ผชู้ าย ผู้หญงิ อายุ (ปี ) ระดบั กจิ กรรม ความต้องการพลังงาน (kJ) ความต้องการพลังงาน (kJ) ต้งั แต่ 18 ถงึ 29 เบา 10,660 5,360 ปานกลาง 11,080 8,780 หนัก 14,420 9,820 ตั้งแต่ 30 ถงึ 59 เบา 10,450 8,570 ปานกลาง 12,120 8,990 หนกั 14,210 9,790 ตั้งแต่ 60 ขึ้นไป เบา 8,780 7,500 ปานกลาง 10,240 7,940 หนัก 11,910 8,780 ระดบั กิจกรรมของแตล่ ะอาชีพ เบา ปานกลาง หนัก พนักงานขายในห้าง ครู คนงานก่อสรา้ ง พนกั งานขายในสานักงาน พนกั งานขายนอกสถานที่ กรรมกร แม่บา้ น พยาบาล นกั กีฬา จงปฏิบัตกิ จิ กรรมต่อไปน้ี ตอนที่ 1ปฏบิ ัตติ ามวธิ กี ารหาคาตอบในตารางและเขยี นคาตอบที่ได้ลงในช่องว่าง คาถาม วธิ กี ารหาคาตอบ คาตอบ นางสาวกนกมาศเป็นคุณครู .................................................................. ............................................... วัย 35 ปี เธอตอ้ งการ .................................................................. ............................................... พลงั งานกี่หนว่ ย kJ ต่อวนั .................................................................. ............................................... .................................................................. ............................................... .................................................................. ............................................... .................................................................. ...............................................

42 ตอนท่ี 2 ให้ทา่ นทาเคร่ืองหมาย X ให้ตรงกับการปฏิบัตใิ นการหาคาตอบของท่าน เขยี นเครอ่ื งหมาย X ในช่อง ใช่ เขียนเครอื่ งหมาย X ในชอ่ ง ไมใ่ ช่ ท่ี ขอ้ ความ ใช่ ไม่ใช่ 1 ทา่ นแสดงความคดิ เห็นจากมุมมองของท่านมาใชใ้ นการตอบคาถามโดยเช่อื มโยงความรภู้ ายนอก หรอื โลกความเป็นจริง 2 ท่านได้ตีความ แปลความเพ่ือหาคาตอบตามทโี่ จทยก์ าหนด 3 คาตอบทพ่ี บปรากฏชดั เจนอยู่ในถอ้ ยความ 4 ทา่ นนาความร้คู วามคิด ความเขาใจเดิมมาตคี วามแล้วแสดงความคดิ เห็นได้ 5 ทา่ นสามารถดงึ สาระจากถอ้ ยความมาเป็นคาตอบโดยไม่ต้องตคี วามแปลความ 6 คาตอบของท่านไมย่ ึดตดิ กบั สาระที่อา่ นไมเ่ อาความคิดและเจตคติของทา่ นมาเกี่ยวขอ้ ง 7 ทา่ นดูความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่วนตา่ งๆของถ้อยความ 8 ท่านได้สรุปความเพือ่ ตอบคาถาม 9 ท่านสามารถระบตุ าแหน่งของคาตอบท่ีได้อยา่ งถูกตอ้ ง 10 ทา่ นดูความสมั พนั ธ์ทงั้ หมดของถ้อยความ ตอนที่ 3 ใหท้ ่านนาข้อความท่ที า่ นตอบว่า ใช่ มาเรยี บเรียงใหมใ่ หเ้ ปน็ ขอ้ ความท่ีตอ่ เน่อื งกันให้สอดคล้อง กับสมรรถนะการเขา้ ถงึ และคน้ คืนสาระ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ตอนที่ 4 ให้ตั้งคาถามจากถอ้ ยความทอ่ี ่านเรื่อง ความต้องการพลงั งาน โดยใชส้ มรรถนะการเข้าถึงและ คน้ คนื สาระจานวน 1 คาถามในลกั ษณะเลอื กตอบ4ตวั เลือก ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ตอนท่ี 5 จากถ้อยความเร่ือง ความตอ้ งการพลงั งานข้อความตอ่ ไปน้เี ปน็ ความจริงหรือไมเ่ ปน็ ความจรงิ หากขอ้ ความเปน็ ความจริง ให้เขียนเครือ่ งหมาย X ในชอ่ ง “ใช่” หากขอ้ ความไม่เปน็ ความจรงิ ให้เขียนเคร่ืองหมาย X ในช่อง “ไม่ใช่” ข้อความ ใช่ ไมใ่ ช่ ตวั อย่าง 1. 2. 3.

43 ใบกิจกรรมท่ี 4 อ่านอย่างไรให้บรู ณาการและตีความสงิ่ ทอ่ี า่ นได้ (Integrate and Interpret) สาระสาคญั สมรรถนะการบูรณาการและตีความ เป็นการอ่านท่ีเน้นการนาความเข้าใจกว้างๆ โดยระบุใจความ สาคัญของเรื่อง หรือแนวคิดหลัก และจุดมุ่งหมายท่ัวไป ด้วยการพิจารณาความสัมพันธ์ ตีความ แปลความ โดยรวมของถ้อยความ ด้วยการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างข้อความในเร่ือง ความสามารถในการเช่ือมโยง ส่วนต่าง ๆ ของถ้อยความทห่ี ลากหลายท่ีเกย่ี วข้องหรอื สัมพันธ์กบั ส่ิงต่าง ๆ ตามสภาพความเป็นจริงในชีวติ หรือโลก ท่ีเปน็ จรงิ เพ่อื ให้เกดิ ความเขา้ ใจในถอ้ ยความ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พฒั นาความรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะการบูรณาการและตคี วามให้กบั ผ้รู ับการอบรม 2. เพื่อฝึกปฏิบตั กิ ารสรา้ งแบบฝึกสมรรถนะการบูรณาการและตีความ เนื้อหา สมรรถนะการบูรณาการและตคี วาม กจิ กรรมการอบรม 1. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั สมรรถนะการบรู ณาการและตีความ (ใบความรทู้ ี่ 6) 2. ผู้รับการอบรมฝึกปฏบิ ตั ิการสร้างแบบฝึกสมรรถนะการบรู ณาการและตีความ สื่อการอบรม ใบความรู้ท่ี 6 สมรรถนะการบูรณาการและตคี วาม (Integrate and Interpret) 6.1 เร่ืองสมรรถนะการบรู ณาการและตีความ 6.2 ตัวอย่างสถานการณส์ มรรถนะการบรู ณาการและตีความ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook