Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปสังคมศึกษา

สรุปสังคมศึกษา

Published by saknirunwongseekaew11, 2021-06-03 05:33:43

Description: ประกอบการสอนสังคมศึกษา ม.6

Search

Read the Text Version

นายศกั ดนิ์ ิรนั ดร์ วงษศ์ รีแก้ว O-NET 63 เฉลยข้อสอบ O-NET 2563 01 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 02 หน้าทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการ ดาเนินชีวติ ในสังคม 03 เศรษฐศาสตร์ 04 ประวตั ิศาสตร์ 05 ภูมิศาสตร์

2 สาระท่ี 1 ศาสนา เรอ่ื งท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกี่ยวกบั ศาสนา 1. ศาสนา เปน็ ลทั ธคิ วามเชื่ออย่างหน่งึ ของมนษุ ย์ เป็นคำสอนด้านศลี ธรรม เกี่ยวกับบาป-บุญ ความดี-ความชั่ว เปน็ เครอื่ งยดึ เหนี่ยวจิตใจของมนษุ ย์ เปน็ หลักให้คนอยรู่ ่วมกันอยา่ งมีความสขุ 2. ที่มาของศาสนา 1. ความไม่รู้ ในปรากฏการณ์ธรรมชาตวิ า่ คืออะไร เกิดจากอะไร 2. ความกลัว กลวั เพราะไมร่ ู้ 3. ความศรทั ธา เคารพต่อธรรมชาติ เชน่ การกราบไหว้พระอาทติ ย์ 4. ความมปี ญั ญา เมือ่ ธรรมชาตถิ ูกให้คำตอบด้วยวทิ ยาศาสตร์ ศาสนาจงึ ดำรงอยดู่ ้วยสถานะ เป็นเคร่ืองมอื ยึดเหน่ียวทางจิตใจ ไมไ่ ด้อธิบายธรรมชาตโิ ลกอยา่ งแตก่ ่อน 3. ประเภทของศาสนา (แบ่งตามความเช่อื เรอ่ื งพระเจ้า) 1. เทวนยิ ม : ศาสนาท่เี ช่อื วา่ พระเจ้าสร้างโลกและสรรพสิ่ง - หากเชอื่ ในพระเจา้ องคเ์ ดยี วจัดเปน็ ศาสนาประเภท เอกเทวนิยม (เชน่ ครสิ ต์ และ อิสลาม) - แตถ่ า้ เชื่อในพระเจา้ หลายองค์ จดั เป็นประเภท พหเุ ทวนิยม (เช่น พรามหณ-์ ฮนิ ดู) 2. อเทวนยิ ม : ศาสนาทไ่ี ม่เช่อื วา่ พระเจา้ สรา้ งโลกหรือสรรพส่งิ ทกุ สิ่งเกดิ จากธรรมชาติ แต่อาจเชือ่ วา่ พระเจ้ามีอยจู่ รงิ เชน่ พุทธศาสนา (แบง่ ตามแหล่งผนู้ บั ถอื ) 1. ศาสนาสากล : ศาสนาท่มี ผี ูน้ ับถือในหลายประเทศ เชน่ คริสต์ อิสลาม พุทธ 2. ศาสนาทอ้ งถิน่ : ศาสนาทม่ี ผี ้นู ับถือเฉพาะพื้นท่ี เชน่ ฮนิ ดู(อินเดยี ) ยดู าห์(อิสราเอล) ชินโต(ญ่ีปุน่ ) 4. องคป์ ระกอบของศาสนา 1. ศาสดา : ผ้กู อ่ ต้งั หรือประกาศศาสนา 2. หลกั คำสอน หรือ คมั ภรี ์ มีการจัดรวบรวมไว้เปน็ หมวดหมู่ โดยมีจดุ มุ่งหมายร่วมกนั ในทุก ศาสนาคอื “สัง่ สอนใหค้ นเปน็ คนดี” จุดมุ่งหมายสำคัญอยู่ที่ “ความดีงาม” 3. ศาสนพธิ ี : การประกอบพธิ ตี ่างๆ เพอื่ ให้มบี รรยากาศของความศกั ดิ์สทิ ธ์ิ เรยี กความศรัทธา 4. นักบวช : ในบางศาสนาอาจไม่มนี กั บวช เช่น อสิ ลาม และศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ 5. ศาสนสถาน : วัด โบสถ์ มสั ยิด 6. ศาสนิกชน : ผนู้ บั ถอื 5. สัญลักษณ์ : เอกลักษณเ์ ฉพาะของศาสนา > พทุ ธ สัญลักษณ์ คือ ธรรมจักร > คริสต์ สญั ลกั ษณ์ คือ ไมก้ างเขน > อสิ ลาม สญั ลกั ษณ์ คือ พระจันทรเ์ สยี้ ว และดาวหนึ่งดวง > พราหมณ์-ฮินดู สัญลกั ษณ์ คือ โอม

3 เรือ่ งที่ 2 พระพุทธศาสนา # ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั พระพุทธศาสนา 1. เป็นศาสนาประเภท : อเทวนิยม 2. ศาสดา : พระสมณโคดมพทุ ธเจ้า หรอื พระศากยมุนีพุทธเจา้ 3. คัมภีร์ : พระไตรปิฎก 1) พระวนิ ัยปิฎก : ระเบยี บวนิ ยั ศลี สิกขาบท ของพระภิกษสุ ามเณร > พระภิกษุ พระภกิ ษณุ ี แม่ชี 2) พระสตุ ตนั ตปฎิ ก (พระสตู ร) : เรื่องราวประกอบธรรมะ > ทุกคนควรไดอ้ ่านได้ศกึ ษา 3) พระอภิธรรมปฎิ ก : หลกั ธรรมลว้ น ๆ ไม่พูดถึงคน สถานท่ี และเวลา > ทุกคนควรไดอ้ า่ นไดศ้ ึกษา 4. นกิ าย : มี 2 นกิ ายสำคญั 1) นกิ ายเถรวาท (หินยาน) : แพรห่ ลายใน ไทย ศรีลังกา พม่า ลาว กมั พชู า - เคร่งครดั ในพระวินัยและสกิ ขาบทตา่ ง ๆ ไมแ่ กไ้ ขพระวินยั ขอ้ ใดเลย - นบั ถอื พระพุทธเจ้าและพระโพธสิ ตั ว์แตเ่ พียงแคอ่ งค์เดียว (คอื พระสมณโคดมพทุ ธเจ้า) - เน้นปฏบิ ตั ธิ รรมชว่ ยเหลือตนเองใหพ้ ้นทุกข์ กอ่ นชว่ ยเหลือคนอื่น 2) นิกายอาจาริยวาท (มหายาน) : แพรห่ ลายใน จีน ญป่ี ่นุ เกาหลี เวียดนาม มองโกเลยี ภูฏาน ธิเบต - แกไ้ ขพระวินยั และสกิ ขาบท บางขอ้ เชน่ ฉันอาหารเย็นได้ , ใสจ่ ีวรหลากหลายรูปแบบและสี - นบั ถอื พระพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์หลายองค์ เน้นสวดมนตอ์ อ้ นวอนขอพรจากพระพุทธเจ้า - เน้นปฏิบตั ิธรรมช่วยเหลอื คนอ่ืนใหพ้ น้ ทกุ ข์กอ่ นตนเอง (เน้นบำเพญ็ ตนเป็นพระโพธิสัตว)์ 5. กระบวนการแสวงหาความจรงิ สงู สุด เพื่อนำไปสู่การหลดุ พ้น ตรัสร้เู ปน็ องคส์ มเด็จสัมมาสมั พทุ ธเจ้าหลังจากออกผนวชด้วยพระองคเ์ อง ณ รมิ ฝงั่ แมน่ ำ้ อโนมา พระพุทธเจ้าไดท้ รงทำสิ่งตา่ งๆเรียงตามลำดับดังนี้ 1) ศึกษากบั อาจารย์(ฝกึ ปฏบิ ัตโิ ยคะ) 2) บำเพ็ญตบะ คอื การทรมานตนเองใหล้ ำบาก 3) ทรงบำเพ็ญทกุ รกริ ิยา ณ ตำบลอุรุเวลาเสนานคิ ม แควน้ มคธ 4) ทรงบำเพ็ญเพยี รทางจติ (เดินทางสายกลาง คอื มชั ฌมิ าปฏปิ ทา) 6. ปฐมเทศนา(วนั อาสาฬหบชู า) พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงธรรมโปรดปญั จวัคคียท์ ั้ง 5 ในหวั ขอ้ ธรรมชื่อ “ธัมมจักกัปปวตั นสตู ร” ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ 1) ทางสุดโต่ง 2 ทางท่ที ำใหไ้ มบ่ รรลุธรรม ได้แก่ \"กามสขุ ัลลิกานุโยค\" หมายถงึ การหมกมุ่นอยู่ในกาม และ \"อตั ตกลิ มถานโุ ยค\" หมายถงึ การทรมานตนให้ลำบากโดยไร้ประโยชน์ 2) ทางสายกลาง(มชั ฌมิ าปฏิปทา) ท่พี ระพุทธเจ้าทรงตรสั รู้ อนั ไดแ้ ก่ มรรค 8 3) อรยิ สจั 4 4) ทรงสรปุ และ อญั ญาโกณฑญั ญะบรรลโุ สดาบัน ทูลขอบวชเป็นพระสงฆ์รูปแรกของศาสนาพทุ ธ 7. วนั สำคัญทางพทุ ธศาสนา 1. วันวิสาขบูชา (ขึ้น 15 คำ่ เดือน 6) เป็นวนั ท่พี ระพทุ ธเจา้ ประสตู ิ ตรัสรู้ ปรนิ ิพพาน จงึ เรียกว่า “วันพระพุทธ” 2. วันอาสาฬหบูชา (ขึน้ 15 ค่ำ เดอื น 8) แสดงปฐมเทศนา “ธมั มจกั กัปปวัตนสตู ร” / เกิดพระสงฆ์องคแ์ รก 3. วนั มาฆบูชา (ข้นึ 15 ค่ำ เดือน 3) เปน็ วันจาตรุ งคสนั นบิ าต พระพทุ ธเจา้ แสดง “โอวาทปาติโมกข”์ /โอวาท3 4. อัฏฐมบี ูชา (แรม 8 ค่ำ เดอื น 6) เป็นวันคลา้ ยวันถวายพระเพลงิ พระพุทธสรีระ 5. วันเข้าพรรษา (แรม 1 คำ่ เดือน 8) พระสงฆจ์ ำพรรษาทวี่ ัด 3 เดือน มกี ารถวายผ้าอาบนำ้ ฝน 6. วนั ออกพรรษา (ขึ้น 15 ค่ำ เดอื น 11) วันมหาปวารณา / พระสงฆ์ตกั เตอื นกัน /ภายหลงั มีการทอดกฐิน 7. วนั เทโวโรหณะ (แรม 1 คำ่ เดือน 11) หลงั ออกพรรษา 1 วนั / ตักบาตรเทโว / วันเปดิ โลกทง้ั 3

4 # หลกั ธรรม 1. อริยสจั 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ธรรมทน่ี ำไปสู่การพน้ ทุกข์ ใชแ้ ก้ไขปัญหาในชีวติ 1. ทุกข์ ผล สภาวะทนไดย้ าก ความไม่สบายกายไมส่ บายใจ (ธรรมท่ีควรรู้) ได้แก่ ขนั ธ์ 5 (นามรปู จิต เจตสกิ ), โลกธรรม 8 2. สมุทัย เหตุ เหตุแหง่ ทุกข์ อนั ได้แก่ ตัณหา (ธรรมทค่ี วรละ) ไดแ้ ก่ หลกั กรรม (นยิ าม 5), วติ ก 3, กรรมนิยาม (กรรม 12), มจิ ฉาวณิชชา 5, ธรรมนยิ าม (ปฏจิ จสมปุ บาท), นวิ รณ์ 5, อปุ าทาน 4 3. นิโรธ ผล สภาวะดับทกุ ข์ หรอื นิพพาน (นพิ พานในชาตนิ ี้ คือ การท่จี ติ ละจากกเิ ลสตัณหา) (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ ได้แก่ ภาวิต 4, วิมตุ ติ 5, นพิ พาน 4. มรรค เหตุ เหตแุ ห่งดบั ทุกข์ หรือ วธิ ดี บั ทกุ ข์ (ธรรมทคี่ วรปฏบิ ตั )ิ ไดแ้ ก่ พระสทั ธรรม 3, ปญั ญาวฒุ ธิ รรม 4, พละ 5, อบุ าสกธรรม5, อปรหิ านยิ ธรรม7, ปาปณกิ ธรรม3, ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถ-สงั วตั ตนกิ ธรรม4, โภคอาทยิ ะ5, อรยิ วฑั ฒิ5, อธิปไตย3, สาราณียธรรม6, ทศพิธราชธรรม10, วิปัสสนาญาณ9, มงคล38 2. ไตรสิกขา หรอื อริยมรรค 8 ประการ : การฝกึ ฝนอบรมตนเอง 3 ขนั้ 1) ศลี สิกขา การอบรมกาย วาจา ให้สงบเรยี บร้อย เปน็ ปรกติ ไดแ้ ก่ สัมมากมั มนั ตะ : กระทำชอบ ทำแต่ความดี ทำแต่สง่ิ ท่สี ุจรติ สัมมาวาจา : วาจาชอบ พดู ชอบ พูดแต่สงิ่ ดี ๆ สัมมาอาชีวะ : เล้ียงชพี ชอบ ประกอบอาชีพสจุ รติ 2) สมาธิสกิ ขา จติ สิกขา : การอบรมจิต ใหส้ งบเรียบร้อย เปน็ ปกติ ได้แก่ สัมมาสมาธิ : จิตตั้งมั่นชอบ จติ สงบไมฟ่ ุง้ ซ่าน สมั มาสติ : ระลึกร้ตู ัวชอบ ไมห่ ลงใหล สัมมาวายามะ : เพยี รระวงั ตนชอบ ไม่ให้ทำความชวั่ และหม่ันรักษาความดีใหด้ ีย่งิ ขึ้น 3) ปญั ญาสกิ ขา การอบรมปัญญา ให้เกดิ ความรแู้ จ้ง ไดแ้ ก่ สัมมาสงั กปั ปะ : คิดชอบ คิดแตส่ ิง่ ดสี ุจริต สมั มาทิฏฐิ : มคี วามเหน็ ชอบ มีความคิดเหน็ ถูกต้องตามทำนองคลองธรรมของหลักศาสนาพุทธ เชน่ เชื่อใน อรยิ สจั 4 เช่อื ในกฎแห่งกรรมวา่ ทำดีไดด้ ี ทำช่วั ไดช้ ัว่ เชอ่ื ในสังสารวัฏ การเวียนวา่ ยตายเกิด 3. ขันธ์ 5 : องคป์ ระกอบแห่งชีวติ มนษุ ย์ 5 ประการ (1 รปู 4 นาม) การเกดิ ขึ้นของขันธ์ 5 เป็นการเริม่ ต้นของทกุ ขใ์ นชีวิต 1) รูป (รูปธรรม) : รูปรา่ ง รา่ งกายของมนุษยอ์ นั ประกอบไปดว้ ยธาตุ 4 คอื ดนิ (เนอื้ หนังมังสา กระดูกของรา่ งกายเรา) น้ำ (เลอื ด นำ้ หนอง นำ้ ลาย ในร่างกาย) ลม (แกส๊ ในร่างกาย ในกระเพาะอาหาร) ไฟ (อุณหภูมคิ วามรอ้ นของรา่ งกาย) 2) เวทนา (นามธรรม) : ความรสู้ ึก มี 3 ประเภท คือ สขุ ทกุ ข์ เฉยๆ 3) สัญญา (นามธรรม) : ความจำได้หมายรู้ กำหนดรูส้ ่ิงต่าง ๆ ได้โดยไม่หลงลมื 4) สังขาร (นามธรรม) : ความคิด ท่ีจะปรุงแตง่ จติ ใหก้ ระทำสง่ิ ต่าง ๆ 5) วญิ ญาณ (นามธรรม) : ความรับรูท้ ผี่ ่านทางสัมผัสต่างๆ ทั้ง 6 (อายตนะ 6 คอื ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ) 4. โลกธรรม 8 : ธรรมท่มี ีประจำโลก มี 8 ประการ แบ่งเปน็ 2 ฝา่ ย ฝ่ายน่าปราถนา = ลาภ ยศ สรรเสริญ สขุ ……….. ฝ่ายไม่นา่ ปราถนา = เสอ่ื มลาภ เสื่อมยศ นินทา ทกุ ข์ 5. นิยาม 5 : กฎธรรมชาติที่ครอบคลุมทุกสิ่ง ไดแ้ ก่ 1. อตุ ุนิยาม : กฎธรรมชาติที่เกยี่ วกบั ความเป็นไปของปรากฏการณ์ในธรรมชาติ เกีย่ วกบั สิ่งที่ไม่มีชีวิตทกุ ชนิด เช่น ปรากฏการณ์ของลมฟา้ อากาศ (เทียบไดก้ ับวิชาฟิสิกส)์ 2. พีชนิยาม กฎธรรมชาตทิ ี่ครอบคลมุ ความเป็นไปของสง่ิ มีชีวิตทัง้ พืชและสัตว์ เกย่ี วขอ้ งกับการสบื พนั ธุ์ (ชีวะ) 3. จิตนยิ าม กฎธรรมชาติทเี่ กีย่ วกับการทำงานของจติ 4. กรรมนิยาม กฎแห่งเหตผุ ล การใหผ้ ลของกรรม 5. ธรรมนยิ าม กฎธรรมชาตเิ ก่ยี วกับความเปน็ เหตุเป็นผลของสรรพส่ิง ครอบคลมุ กฎขอ้ อ่นื ท้ังหมดท่ีกลา่ วมา 6. ไตรลกั ษณ์ / สามัญญลกั ษณ์ : ลกั ษณะสามญั ของสรรพสง่ิ บนโลกท้ังมชี วี ิตและไมม่ ีชวี ิตจะเป็นไปตามกฎ 3 ประการ 1. อนิจจัง : สรรพส่งิ ลว้ นไมเ่ ทยี่ งแท้ไม่แน่นอน ลว้ นตอ้ งมีการเปลี่ยนแปลง 2. ทุกขงั : สรรพส่งิ ล้วนทนไดย้ าก คงทนอยู่ไมไ่ ด้ 3. อนัตตา : สรรพส่ิงลว้ นไม่มตี วั ตน เราควบคมุ มันไมไ่ ด้ ไมเ่ ป็นตัวตนของเรา

5 7. ปฏจิ จสมุปบาท : การเกดิ ข้นึ พร้อมแหง่ ธรรมท้ังหลายเพราะอาศัยกนั ธรรมที่อาศัยกนั เกดิ ขึ้นพรอ้ ม มี 12 ขอ้ ไดแ้ ก่ อวชิ ชา สงั ขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ(ประสาท6) ผสั สะ เวทนา ตณั หา อปุ าทาน ภพ ชาติ ชรา 8. ภาวติ 4 : ภาวะท่พี ัฒนาแล้ว เป็นผลของภาวนา 4 ประกอบดว้ ย 1. ภาวติ กาย : พฒั นาการด้านรา่ งกาย มคี วามเข้มแข็ง ปราศจากโรคภัย 2. ภาวติ ศลี : พัฒนาการดา้ นความประพฤติ อยใู่ นเบญจศีล และระเบยี บวินัยของสังคม 3. ภาวติ จติ : พัฒนาการดา้ นจิต จติ สงบ มีสมาธิ จิตเขม้ แขง็ เบิกบาน เพยี บพรอ้ มด้วยคุณธรรม 4. ภาวิตปญั ญา : พัฒนาการดา้ นปัญญา รู้ เข้าใจส่ิงทัง้ หลายตามความเปน็ จรงิ สามารถใช้ความรแู้ กป้ ัญหา 9. วมิ ตุ ติ 5 : หลุดพน้ จากกเิ ลสสาเหตแุ หง่ ทุกข์ ผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมท่ไี ดว้ มิ ุตติ จะมีความสขุ ท่เี รียกว่า “วิมตุ ติสขุ ” 1. วกิ ขมั ภนวิมตุ ติ : หลุดพน้ ด้วยขม่ ไว้ คือข่มกิเลสและอกุศลกรรมต่างๆได้ชวั่ คราวด้วยสติสัมปชัญญะ 2. ตทังควมิ ุตติ : หลดุ พ้นด้วยองค์น้ันๆ คือ หลุดพน้ จากกิเลสด้วยธรรมท่ีเป็นคู่ปรับหรือตรงกันขา้ ม เช่น ละการฆา่ สัตว์ดว้ ยเมตตา 3. สมุจเฉทวมิ ตุ ติ : หลุดพน้ ด้วยตดั ขาด คือ หลดุ พ้นจากกเิ ลสโดยใช้มรรคญาณ 4 คอื โสตาปตั ติ มรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค เป็นเครื่องตัด 4. ปฏปิ ัสสัทธวิ ิมตุ ติ : หลุดพน้ ด้วยสบงระงับ เปน็ ความหลดุ พน้ ท่ยี งั่ ยนื เกิดจากสมุจเฉทวิมุตติ หมดซ่ึงกเิ ลส 5. นิสสรณวมิ ตุ ติ : หลุดพน้ ด้วยสลัดออกได้ เปน็ สภาวะทีจ่ ติ หลดุ พ้นออกไปจากกิเลสท้งั ปวง จติ เปน็ สขุ 10. อรยิ วัฑฒิ 5 : หลักความเจริญของอารยชน ใชเ้ ปน็ เกณฑ์ ประเมินผลทางการศกึ ษา ได้แก่ 1. ศรัทธา : เชอ่ื ม่ันในพระรัตนตรยั หลักความจริง ความดงี ามอันมเี หตุผล 2. ศลี : ประพฤตดิ ี มีวนิ ัย เลีย้ งชพี สุจริต 3. สตุ ะ : การเล่าเรยี น มคี วามรู้ดี ร้มู าก คงแก่เรียน 4. จาคะ : เผ่อื แผ่ เสียสละ 5. ปัญญา : ความรอบรู้ รู้คดิ รู้พิจารณา เขา้ ใจเหตุผล รู้โลกและชีวติ ตามความเปน็ จริง 11. พละ 5 : ธรรมท่ีเปน็ กำลังสนับสนนุ มรรคมอี งค์ 8 ให้เกิดการพัฒนาตนเป็นคนดมี ปี ญั ญาสงู 1. สัทธา : ความเช่อื หมายถงึ ความเชือ่ ทีถ่ ูกตอ้ งตามหลกั พุทธศาสนา : สัทธาพละ 2. วิริยะ : ความเพยี ร หมายถงึ ความเปน็ คนกล้า อาจหาญในส่งิ ทถ่ี กู ตอ้ ง ขยันหม่ันเพียร : วิรยิ พละ 3. สติ : ความระลกึ ได้ ไม่เผลอ ไม่ประมาท หมายถึงการคมุ ใจไวก้ ับกจิ ไวก้ ับสง่ิ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 4. สมาธิ : ความตั้งใจมนั่ ความต้งั มั่นแหง่ จติ แนว่ แนก่ ับส่ิงหน่งึ ไมฟ่ ุ้งซ่าน : สมาธิพละ 5. ปัญญา : ความรู้ชดั รอบรู้ รู้ทัว่ ถึงความจริง : ปัญญาพละ 12. อธิปไตย ทางพทุ ธศาสนา อธิปไตย หมายถงึ อำนาจของจิตหรือความคิดทถ่ี ือเอาสง่ิ ใดสิ่งหนึ่งเปน็ ใหญ่ 1. อตั ตาธิปไตย : ถอื ตนเป็นใหญ่ = ยกตนเป็นเหตุ เพอ่ื ละชัว่ ทำดี ทำใจให้บรสิ ทุ ธ์ิ 2. โลกาธิปไตย : ถอื โลกเปน็ ใหญ่ = การยกเอาความนยิ มของชาวโลกเปน็ เหตเุ พื่อละชว่ั ทำดี ทำใจบริสุทธ์ิ 3. ธัมมาธปิ ไตย : (ธรรมาธปิ ไตย) มีธรรมเป็นใหญ่ = การยกความถกู ต้อง ความเปน็ จริงเพอื่ เปน็ เหตลุ ะชวั่ .. 13. สติปัฏฐาน 4 : ธรรมอนั เปน็ ท่ตี ัง้ แหง่ สติ ใช้สตพิ จิ ารณาส่งิ ทงั้ หลาย เป็นทางสายเอกทีน่ ำไปสูก่ ารหลดุ พ้น ไดแ้ ก่ 1. กายานุปัสสนาสติปฏั ฐาน : การใชส้ ติจบั ท่ีกาย พิจารณาอริ ยิ าบถ ยนื เดนิ นงั่ ใชส้ ติจบั ลมหายใจ(อานาปานสติ) 2. เวทนานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน : ใช้สตพิ จิ ารณาความรู้สึกสขุ ทกุ ข์ หรอื เฉยๆ ความรสู้ ึกลว้ นไมเ่ ท่ยี ง เป็นทกุ ข์ 3. จิตตานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน : การพจิ ารณาจิตดวู ่าจติ มรี าคะ โทสะ โมหะ หดหู่ ฟงุ้ ซา่ น หรอื เปน็ สมาธิ 4. ธรรมมานุปัสสนาสติปฏั ฐาน : การใช้สติพิจารณาธรรม เชน่ ขันธ์ 5 นวิ รณ์ 5 อายตนะ อริยสัจ 4 14. กรรม 2 การกระทำโดยเจตนา 1. อกศุ ลกรรมิ : กายทุจริต วจีทจุ ริต มโนทจุ รติ 2. กศุ ลกรรม : กายสุจริต วจีสุจริต มโนทุจริต 15. สติ สมั ปชญั ญะ ธรรมมีอุปการะมาก ประกอบดว้ ย 1. สติ : ความระลึกได้ 2. สัมปชัญญะ : ความรตู้ ัว 16. หริ ิ โอตตัปปะ ธรรมค้มุ ครองโลก ธรรมทเ่ี ปน็ หวั ใจของศาสนาพทุ ธ ประกอบด้วย 1. หิริ : ความละลายบาป 2. โอตตัปปะ : ความกลัวตอ่ ผลของบาป 17. โกศล3 ธรรมพาเจริญ 1. อปายโกศล : รจู้ ักความเสือ่ ม 2. อายโกศล : รู้จกั ความเจรญิ 3. อปุ ายโกศล : ละเส่ือมสรา้ งเจรญิ 18. ปปัญจธรรม3 เครอื่ งขัดขวางไมใ่ ห้จิตเข้าถงึ อรยิ สัจ 4 1. ตัณหา : อยากได้ อยากมี อยากเปน็ 2. มานะ : ถือวา่ ตนอยเู่ หนอื คนอืน่ 3. ทิฐิ : ยดึ ม่ันความคดิ ของตนเอง

6 19. อตั ถะ 3 ประโยชนท์ ี่ได้รับจากการปฏิบตั ธิ รรม 1. ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ 4 : ประโยชนใ์ นปัจจุบนั (หวั ใจเศรษฐ)ี ไดแ้ ก่ อฏุ ฐานสมั ปทา (ขยนั ) / อารักขสมั ปทา (ประหยดั ) / กลั ปย์ าณมิตตา (คบมิตรทด่ี ี) / สมชวี ติ า (ดำเนนิ ชวี ติ ถกู ตอ้ ง) 2. สมั ปรายิกตั ถะ : ประโยชนท์ จ่ี ะได้รับในภพภมู หิ น้า 3. ปรมตั ถะ : ประโยชน์ชั้นสูงสุด คือ บรรลนุ ิพพาน 20. กศุ ลมลู 3 พน้ื ฐานแห่งจรยิ ธรรมฝ่ายดี ประกอบด้วย 1. อโลภะ : ไม่อยากได้ 2. อโทสะ : ขม่ อารมณ์ 3. อโมหะ : มีปัญญา 21. อกศุ ลมูล 3 มูลเหตสุ ำคัญแห่งความช่ัว ประกอบดว้ ย 1. อโลภะ : อยากได้ 2. โทสะ : คิดประทษุ ร้าย 3. โมหะ : หลงผิด 22. ปญั ญา 3 ความรอบรู้ 1. สุตมยปญั ญา : ฟงั 2. จนิ ตามยปญั ญา : คดิ 3. ภาวนามยปญั ญา : ลงมือทำ 24. คหิ สิ ขุ ความสุขของผคู้ รองเรอื น อนั เกดิ จากกรรมฝ่ายกศุ ล 1. อตั ถสิ ขุ : สุขเกิดจากการมีทรัพย์ 2. โภคสขุ : สุขเกิดจากการใชท้ รพั ย์ 3. อนณสขุ : สขุ เกดิ จากการไม่เปน็ หนี้ 4. อนวัชชสุข : สุขเกิดจากการประพฤติดี 25. พรหมวิหาร 4 หลักธรรมท่ใี ชใ้ นการปกครอง 1. เมตตา : คดิ จะช่วย 2. กรณุ า : ลงมอื ชว่ ย 3. มุทติ า : พลอยยินดี 4. อเุ บกขา : วางตวั เปน็ กลาง 26. อิทธบิ าท 4 หลักธรรมแหง่ ความสำเรจ็ 1. ฉนั ทะ : รักในงานทีท่ ำ 2. วิริยะ : ขยัน 3. จติ ตะ : เอาใจใส่ 4. วมิ งั สา : ปรับปรงุ 27. สงั คหวตั ถุ 4 หลกั ธรรมท่ชี ว่ ยยดึ เหน่ียวจิตใจคน 1. ทาน : การให้ 2. ปยิ วาจา : พูดจาไพเราะอ่อนหวาน 3. อัตถจริยา : ทำสิง่ ทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่ผูอ้ ืน่ 4. สมานัตตตา : วางตนเหมาะสม 28. ฆราวาสธรรม4 หลกั ธรรมของผู้ครองเรือน 1. สัจจะ : ความซ่อื สัตย์ 2. ทมะ : การฝึกตน ขม่ ใจ 3. ขันติ : อดทน 4. จาคะ : เสยี สละ 28. โภคอาทิยะ 5 แบ่งทรพั ย์เพ่ือเล้ยี งชีพ 1. ญาติพลี : สงเคราะห์ญาติ 2. อติถพิ ลี : ต้อนรับแขก 3. ปุพพเปตพลี : ทำบุญอุทิศให้ผู้ล่วงลับ 4. ราชพลี : บำรุงราชการ เชน่ เสียภาษี 5. เทวดาพลี : สกั การะบำรงุ หรอื ทำบุญอุทศิ ส่งิ ทเี่ คารพบูชาความเชื่อถือ 29. ทศพธิ ราชธรรม ธรรมของนักปกครอง (ไม่ใชแ่ ค่กษตั ริย์เทา่ นน้ั ) 1. ทาน : การให้ 6. ตบะ : ละกิเลสตณั หา 2. ศลี : ความประพฤติดงี าม 7. อกั โกธะ : ไมโ่ กรธ 3. บรจิ าค : การเสยี สละ 8. อวิหงิ สา : ไมเ่ บียดเบยี น 4. อาชวะ : ซือ่ ตรง 9. ขันติ : อดกล้ัน 5. มทั วะ : ออ่ นโยน 10. อวโิ รธนะ : ความไมค่ ลาดธรรม (ตั้งม่นั อยใู่ นธรรม) 30. อปริยหานิยธรรม7 ธรรมที่ป้องกันความเสื่อม (เนน้ เกย่ี วกบั การประชุม) 1. หมน่ั ประชุมกันเสมอ 2. พร้อมเพรียงกันประชมุ พร้อมเพรียงกนั เลกิ ประชมุ พรอ้ มเพรียงกนั ทำกจิ กรรมส่วนรวม 3. ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนเดิม ตามท่บี ญั ญัติไว้ ไมถ่ อนส่งิ ทบี่ ญั ญตั ิไวแ้ ล้ว 4. เคารพผ้อู าวโุ ส ใหค้ วามเคารพนับถือแกน่ ักปกครองผูใ้ หญ่ และฟังคำของทา่ น 5. ไมบ่ งั คบั กดข่เี พศแม่ ไม่เอากลุ สตรมี าเป็นนางบำเรอ 6. สักการะ เคารพ นับถอื บูชา ปูชนียสถานทวั่ รฐั 7. ใหก้ ารคมุ้ ครองแกน่ กั บวช ผู้ทรงมน่ั ในศีล 31. สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของคนดี 1. ธมั มญั ญุตา : ร้จู ักหลกั ของเหตุผล 5. กาลญั ญตุ า : รู้จกั กาลเทศะ 2. อตั ถัญญตุ า : รู้จกั ผลท่เี กิดจากเหตุ 6. ปรสิ ญั ญุตา : รจู้ กั สถานท่ี 3. อัตตญั ญตุ า : รจู้ กั ตนเอง 7. ปุคคลญั ญตุ า : รู้จกั บคุ คล 4. มตั ตญั ญุตา : รู้จกั ความพอๆ

7 # การบรหิ ารจิตและการเจริญปญั ญา 1. การบริหารจติ หลักสติปกั ฐาน 4 : การต้งั สติเพอ่ื พจิ ารณาส่งิ ตา่ งๆ ใหร้ แู้ ละเขา้ ใจตามความเป็นจริงของมนั 1. กายานุปสั สนา : การตัง้ สติกำหนดพจิ ารณากาย 2. เวทนานุปัสสนา : การตั้งสติกำหนดพจิ ารณาความรูส้ กึ 3. จิตตานุปสั สนา : การต้ังสตกิ ำหนดพจิ ารณาจติ 4. ธัมมานุปัสสนา : การตัง้ สติกำหนดพิจารณาธรรม 2. การเจรญิ ปญั ญา หลกั โยนโิ สมนสิการ : เปน็ กระบวนการคดิ อย่างละเอยี ดลึกซง้ึ การคิดอยา่ งแยบคาย การคดิ อย่างถกู วิธีและ มหี ลักเหตแุ ละผล มีวธิ ีคดิ 10 แบบ ดงั น้ี 1. สืบสาวหาเหตุปัจจัย 2. แยกแยะสว่ นประกอบ (กระจายเนอื้ หา) 3. สามญั ลกั ษณะ (รูเ้ ทา่ ทนั ธรรมดา คดิ แบบไตรลกั ษณ)์ 4. แก้ปญั หา (คิดแบบอรยิ สัจส)่ี # พทุ ธศาสนสภุ าษติ > จิตตฺ ํ ทนฺตํ สขุ าวหํ : จติ ท่ีฝึกดีแล้วนำสุขมาให้ > น อจุ ฺจาวจํ ปณฺฑติ า ทสสฺ ยนตฺ ิ : บัณฑิตยอ่ มไม่แสดงอาการขน้ึ ๆลงๆ > นตถฺ ิ โลเก อนินทฺ โิ ต : คนทไ่ี ม่ถูกนนิ ทา ไมม่ ีในโลก > โกธํ ฆตฺวา สขุ ํ เสติ : ฆ่าความโกรธได้ ย่อมอย่เู ปน็ สขุ > ปฏิรปู การี ธุรวา อุฏฐฺ าตา วินฺทเต ธนํ : คนขยนั เอาการเอางาน กระทำเหมาะสม ยอ่ มหาทรัพยไ์ ด้ > วายเมเถว ปุริโส ยาว อตถฺ สสฺ นิปฺปทา : เกิดเป็นคนควรพยายามเรอื่ ยไป จนกวา่ ผลทห่ี มายจะสำเร็จ > สนฺตุฏฐฺ ี ปรมํ ธนํ : ความสันโดษเปน็ ทรัพยอ์ ยา่ งยง่ิ > อณิ าทานํ ทุกขฺ ํ โลเก : การเปน็ หนเ้ี ป็นทกุ ขใ์ นโลก > ราชา มขุ ํ มนสุ ฺสานํ : พระราชาเปน็ ประมุขของประชาชน > สติ โลกสฺมิ ชาคโร : สตเิ ป็นเครือ่ งต่ืนในโลก > นตฺถิ สนตฺ ปิ รํ สขุ ํ : สุขอน่ื ยง่ิ กวา่ ความสงบไม่มี > นพิ ฺพานํ ปรมํ สุขํ : นิพพานเป็นสุขอยา่ งยง่ิ # ศาสนพิธี # พทุ ธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตวั อย่าง > พระอสั สชิ : ออ่ นนอ้ มถ่อมตน กิรยิ านา่ เลือ่ มใส ท่านเป็นพระอาจารยข์ องพระสารีบุตร > พระสารบี ุตร : อคั รสาวกเบ้ืองขวาผมู้ ปี ัญญาล้ำเลศิ > พระโมคคลั ลานะ : อคั รสาวกเบือ้ งซ้ายผู้มกี ำลงั มาก > พระอานนท์ : เปน็ พหสู ตู ร ร้ขู ้อธรรมทกุ เร่อื ง > พระมหากสั สปะ : เปน็ พระธุดงค์ เปน็ ประธานการสงั คายนาพระไตรปิฎกคร้งั แรก > พระกสี าโคตมีเถรี : เอตทคั คะด้านทรงจีวรเศร้าหมอง เปน็ ผู้ถือธุดงควัตรเคร่งครัด มคี วามเป็นอยู่เรียบงา่ ย > หมอชีวกโกมารภจั จ์ : เสียสละ กตัญญู เปน็ ที่รักของปวงชน ครูการแพทย์แผนโบราณ เปน็ ผู้นำในการถวายจีวรพระ > นางวสิ าขา มหาอบุ าสกิ า : ผู้นำในการถวายผา้ อาบน้ำฝน > ท่านอนาคาริก ธรรมปาละ : (ชาวศรีลังกา) ผู้ทวงสิทธพิ ุทธคยา จากผูค้ รอบครองชาวฮนิ ดู > ดร.เอ็มเบด็ การ์ : ต่อสกู้ บั ระบบวรรณะ จนกลายเปน็ ชาวพุทธตวั อยา่ ง

8 เรอ่ื งท่ี 3 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู 1. เป็นศาสนาประเภท : พหุเทวนิยม นบั ถอื พระเจ้าหลายองค์ เช่น พระศวิ ะ พระวษิ ณุ พระพรหม 2. พระเจา้ : มีสูงสุด 3 พระองค์ (ตรีมรู ต)ิ คอื พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม 3. ศาสดา : ไมม่ ี 4. คมั ภรี ์ : คัมภรี พ์ ระเวท แบง่ เป็น 4 เลม่ คอื (ฤคเวท ยชรุ เวท สามเวท = ไตรเพท) อาถรรพเวท 5. นกิ าย : มี 3 นกิ ายสำคัญ คือ 5.1 นิกายไศวะ : นับถือพระศิวะ(พระอิศวร) เปน็ พระเจา้ สงู สดุ ในตรมี รู ติ และนยิ มบูชาศิวลึงค์เป็นสญั ลกั ษณ์ แทนองค์พระศวิ ะ 5.2 นิกายไวษณพ : นบั ถอื พระวษิ ณุ(พระนารายณ์) เป็นพระเจ้าสงู สดุ ในตรมี ูรติ และนยิ มบชู าองค์อวตารปางตา่ ง ๆ ของพระวิษณุท่ีอวตารลงมาปราบอสูร เชน่ พระรามจนั ทร์ พระกฤษณะ พระกลั กี 5.3 นิกายศักติ : นับถือพระชายาของพระเจ้าองค์ต่าง ๆ ว่าทรงไว้ซงึ่ ศักต(ิ พลงั หรอื อำนาจ) แหง่ พระสวามี และมนษุ ย์สามารถเขา้ ถึงได้งา่ ยกวา่ ขอพรได้ง่ายกว่า ศกั ติหรอื พระชายาพระเจ้าทเ่ี ป็นท่นี ับถอื > พระอมุ า ชายาของพระศวิ ะ ซ่ึงมอี ิทธฤิ ทธ์ิ สามารถอวตารเป็น พระนางทรุ คา พระนางกาลี เพ่อื ไปปราบอสูร > พระลักษมี ชายาของพระวษิ ณุ (ไดร้ ับยกย่องวา่ เปน็ เทพเจา้ แห่งโชคลาภ) > พระสุรสั วดี ชายาของพระพรหม (ไดร้ ับยกยอ่ งว่าเปน็ เทพเจา้ แหง่ อกั ษรศาสตร์และศิลปวทิ ยาการ ต่าง ๆ เพราะเป็นผู้ประดษิ ฐต์ ัวอกั ษรเทวนาครี) * ปจั จบุ นั ในประเทศอนิ เดยี ไมน่ ยิ มบชู าพระพรหม จึงไมม่ นี ิกายพรหม * 6. หลกั ธรรมสำคญั : 6.1 หลักปรมาตมนั - อาตมัน และ โมกษะ : ถือเปน็ หลักธรรมช้ันสงู ของศาสนาพราหมณ์ฮินดู 1. ปรมาตมัน คอื วญิ ญาณสงู สดุ หรือพระเจา้ สงู สุด ซง่ึ เปน็ ตน้ กำเนิดของชีวติ ท้งั หลาย 2. อาตมัน คือ วญิ ญาณย่อย อนั เป็นอมตะไม่มวี นั แตกดบั มนษุ ยจ์ ะตายแตเ่ พียงร่างกาย แต่อาตมัน จะเป็นอมตะไม่มีวนั แตกดับ ซ่งึ อาตมนั จะเวยี นวา่ ยตายเกดิ ไปเรอ่ื ยๆ จนกว่าจะบรรลโุ มกษะ 3. โมกษะ คือ สภาวะแห่งการหลดุ พ้น อาตมันของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน จะไดก้ ลับไปรวมกับปรมาตมนั และไมต่ อ้ งเวียนว่ายตายเกดิ อีกเลย 6.2 หลักตรีมรู ติ : พระเจา้ สงู สดุ มี 3 พระองค์ และต่างทำหน้าท่ีต่อโลกต่างกนั ไป คือ 1. พระพรหม หนา้ ท่ีสร้างโลกสรา้ งมนษุ ย์ ชาวฮินดูเช่ือว่าเม่อื พระพรหมสร้างโลกแล้ว จะนอนหลับพกั ผอ่ นชวั่ กปั ช่วั กลั ป์ ชั่วอายขุ ัยของโลก และจะตื่นข้ึนมาใหม่เพอื่ สร้างโลกสร้างมนุษย์ เมอื่ โลกและมนุษย์ หมดอายุขัยถกู ทำลายลา้ งแล้ว (ทำใหช้ าวฮนิ ดใู นประเทศอนิ เดยี ไม่นิยมบชู าพระพรหม แต่จะนยิ มบูชาพระศิวะและพระวษิ ณุมากกวา่ ) 2. พระศิวะ (พระอิศวร) หน้าท่ีทำลายโลก ดว้ ย “ตรเี นตร” ดวงตาทสี่ ามของพระศิวะ ซึ่งสถติ อย่กู ลางหน้า ผากของพระศิวะ 3. พระวษิ ณุ (พระนารายณ์) หนา้ ท่คี มุ้ ครองโลก ดว้ ยการอวตารลงมาปราบยักษป์ ราบมาร 6.3 หลักอาศรม 4 : วยั แหง่ ชวี ติ 4 วัย ซ่งึ แต่ละวยั จะมหี น้าที่เฉพาะของวัยตนเอง 1. พรหมจารี : วยั เด็ก = เรยี นหนงั สอื 2. คฤหสั ถ์ : วัยผใู้ หญ่ = ครองเรอื น แต่งงานมคี รอบครวั สบื ทอดวงศ์ตระกลู และทำงาน 3. วานปรัสถ์ : วัยกลางคน = ทำงานชว่ ยเหลือสังคมช่วยเหลอื ผู้อ่นื ในสังคม และหมนั่ ปฏบิ ัติธรรม 4. สันยาสี : วัยชรา = ออกบวชสละชวี ติ ทางโลก ไปอย่ตู ามป่าตามเขา เพอ่ื แสวงหาโมกษะ 6.4 หลักวรรณะ 4 : มนุษย์มี 4 ชนชนั้ เพราะเกดิ จากพระพรหมสร้างขึ้นมาจากอวยั วะของพระพรหม 1. วรรณะพราหมณ์ เกดิ จาก ปากพระพรหม / อาชีพคอื เป็นนักบวชทอ่ งบน่ สวดมนต์คัมภรี ์ 2. วรรณะกษตั รยิ ์ เกิดจาก มือพระพรหม / อาชพี คอื เปน็ นักรบนกั ปกครอง คุ้มคนดี ปราบคนชว่ั 3. วรรณะไวศยะ(แพศย)์ เกดิ จาก หนา้ ท้องพระพรหม / อาชพี คอื เป็นพอ่ ค้าวานิชและเกษตรกร 4. วรรณะศูทร เกิดจาก เท้าพระพรหม / อาชีพคอื เป็นกรรมกรผใู้ ชแ้ รงงาน คอยทำงานรบั ใช้ 3 วรรณะ * จณั ฑาล คือ คนที่ไม่มีวรรณะ ตำ่ ต้อยและเปน็ ทร่ี ังเกยี จท่ีสดุ ในสังคมฮินดู เกดิ จากพ่อแมท่ ่ีแตง่ งานขา้ ม วรรณะ โดยเฉพาะแม่เปน็ วรรณะพราหมณ์ พอ่ เป็นวรรณะศทู ร * 7. เป้าหมายชวี ิตของศาสนาฮนิ ดู : โมกษะ

9 เร่ืองท่ี 4 ศาสนาคริสต์ 1. เป็นศาสนาประเภท : เอกเทวนยิ ม นับถอื พระเจา้ องคเ์ ดยี ว 2. พระเจ้า : พระยะโฮวา (และนบั ถอื รวมไปถงึ พระเยซูคริสตว์ า่ เปน็ ภาคหนึง่ ของพระเจา้ ดว้ ย) 3. ศาสดา : พระเยซูครสิ ต์ * เปน็ ท้ังศาสดาและภาคหน่งึ ของพระเจา้ * 4. คมั ภรี ์ : คมั ภีรไ์ บเบิล ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 ภาค คือ 1) ภาคพันธสัญญาเดิม เปน็ คัมภีร์สำคญั ของศาสนายดู าย(หรอื ศาสนายวิ )ด้วย วา่ ด้วยเรอื่ งพระเจ้า สร้างโลกและสรา้ งมนษุ ย์คู่แรก(อาดมั และเอวา) เรื่องโนอาต่อเรือหนนี ้ำท่วมโลก เรือ่ งโมเสสนำชาวยวิ อพยพออกจากอยี ิปต์ 2) ภาคพนั ธสัญญาใหม่ เปน็ คำสอนของพระเยซู โดยเฉพาะ ว่าด้วยเรือ่ งความรกั ของพระเจา้ ตอ่ มนษุ ย์ และ สอนใหม้ นุษยร์ กั ซ่ึงกันและกนั ใหอ้ ภยั ตอ่ กนั และกัน 5. นิกาย : มี 3 นกิ ายสำคญั 5.1 นกิ ายโรมนั คาธอลคิ (คนไทยเรียก \"คริสตัง\") 1. นับถอื พระสันตะปาปา(Pope) เป็นประมุขของคริสตจักร และมนี กั บวช (เช่น บาทหลวง บราเดอร)์ 2. เน้นบชู าสวดมนตต์ ่อแม่พระมารอี า และตอ่ บรรดานักบุญ(Saint) ท้งั หลาย 3. มพี ิธีกรรมหรหู ราหลายขั้นตอน โบสถต์ กแตง่ สวยงามหรหู รา และยอมรับปฏิบัติตามศลี 7 ประเภท # (คือ 1.ศลี ล้างบาป 2.ศีลมหาสนทิ 3.ศีลแก้บาป 4.ศลี กำลงั 5.ศีลเจิมคนป่วย 6.ศีลสมรส และ 7.ศลี บวช) 4. ไมก้ างเขนมอี งคพ์ ระเยซูตรงึ อยูก่ ลางไม้กางเขน 5. แพร่หลายในยุโรปใต้ เชน่ ฝรง่ั เศส อติ าลี สเปน โปรตเุ กส และในทวปี อเมรกิ าใต้ 5.2 นิกายโปรแตสแตนท์ (คนไทยเรียก \"คริสเตยี น\") 1. ไมม่ นี กั บวช (มีแต่ ศาสนจารย)์ และไมน่ บั ถือพระสนั ตะปาปา(Pope) เป็นประมุข 2. ไมบ่ ชู านับถอื แม่พระมารีอา ไมน่ ับถือนักบุญ(Saint) * บชู านับถือเฉพาะแต่พระเยซคู ริสตเ์ ท่านั้น * 3. เน้นพธิ ีกรรมทเี่ รียบง่าย โบสถ์ตกแตง่ เรยี บงา่ ย และยอมรบั ปฏบิ ตั ิตามศลี เพียงแค่ 2 ประเภท เทา่ นั้นคอื 1. ศีลล้างบาป(หรอื ศีลจุม่ ) และ 2. ศีลมหาสนิท(พธิ กี ินขนมปังและดมื่ ไวน์) 4. ไมก้ างเขนไม่มีองคพ์ ระเยซูตรึงอยูก่ ลางไม้กางเขน เป็นไม้กางเขนเปล่า ๆ 5. แพรห่ ลายในยโุ รปตะวนั ตกและยุโรปเหนอื เชน่ อังกฤษ เดนมารก์ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนั และ สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ 5.3 นิกายออรโ์ ธดอกซ์ 1. มีนักบวช แตไ่ มน่ บั ถือพระสนั ตะปาปา(Pope) เปน็ ประมขุ (ในแตล่ ะประเทศจะมพี ระสงั ฆราช ท่เี รยี กว่า “Pratriach” เปน็ ประมุขประเทศใครประเทศมัน) 2. เน้นบชู านบั ถือแมพ่ ระมารีอาและนกั บญุ ท้ังหลาย 3. มีพธิ ีกรรมหรหู รา หลายขัน้ ตอน 4. แพรห่ ลายในยโุ รปตะวนั ออก เชน่ รสั เซีย กรกี โรมาเนีย (ไม่แพร่หลายในไทย) 6. หลักธรรมสำคญั : 6.1 หลกั ความรกั * หวั ใจแห่งศาสนาคริสต์ * มี 2 ระดบั คอื 1.ระดับสงู : ความรักระหว่างพระเจ้าตอ่ มนุษย์ (พระเจ้าทรงรกั มนษุ ยม์ าก) 2.ระดบั ลา่ ง : ความรักระหวา่ งมนษุ ยต์ อ่ มนษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง มนุษยต์ อ้ งรกั กันเพราะเป็นพีน่ ้องกันทงั้ โลก 6.2 หลักตรีเอกานุภาพ(Trinity) เชื่อว่าพระเจา้ สงู สดุ มีเพยี งองค์เดยี ว แต่ได้ทรงแบ่งภาคออกเปน็ 3 ภาค คอื 1. พระบิดา คอื พระยะโฮวา ซ่งึ เปน็ พระผู้สถติ อยใู่ นสรวงสวรรค์ เป็นผู้สรา้ งโลก สร้างมนุษย์ข้ึนมา 2. พระบตุ ร คือ พระเยซูครสิ ต์ ซง่ึ เสดจ็ ลงมาเกดิ ในโลกมนษุ ย์ เพือ่ ไถ่บาปให้กบั มนุษย์ 3. พระจติ (พระวญิ ญาณบรสิ ทุ ธิ)์ คอื ภาคของพระเจา้ ซงึ่ สถติ อย่ใู นทกุ ที่ ทรงล่วงรูค้ วามเปน็ ไปของมนษุ ย์ 6.3 หลักบาปกำเนดิ 1. มนุษย์มบี าปกำเนดิ ตดิ ตวั บาปนี้สืบทอดมาจากบรรพบรุ ษุ คแู่ รกของมนุษยค์ อื อาดมั และเอวา ทไ่ี ดท้ ำบาปคร้งั แรกเอาไว้ คือขโมยผลไม้ศักดิ์สทิ ธ์ิของพระเจา้ มากิน 2. ชาวครสิ ตท์ กุ คนทกุ นิกาย จงึ ตอ้ งรับศีลลา้ งบาป(ศลี จุ่ม) เพื่อลา้ งบาปกำเนิด เปน็ ศลี แรกของชีวติ 7. เป้าหมายชวี ติ ของศาสนาครสิ ต์ : อาณาจักรพระเจ้า , การได้มีชีวติ นริ นั ดรอยูใ่ นอาณาจักรพระเจา้ * ศาสนาคริสตไ์ มเ่ ชอื่ เร่อื งการเวยี นตายเกิด ไมม่ ชี าติทแี่ ลว้ ไมม่ ีชาตหิ นา้ มนษุ ย์เกดิ หนเดยี วตายหนเดยี ว *

10 เรอื่ งท่ี 5 ศาสนาอสิ ลาม 1. เป็นศาสนาประเภท : เอกเทวนิยม นบั ถอื พระเจา้ องคเ์ ดยี ว * ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาทไ่ี มม่ นี กั บวช และไมม่ ีรูปเคารพ ไม่มเี ครอื่ งรางของขลังใดๆ * 2. พระเจา้ : พระอัลลอฮ 3. ศาสดา : นบีมฮู มั หมัด 4. คมั ภรี ์ : คัมภีร์อัลกรุ อาน 5. นกิ าย : มี 3 นิกายสำคัญ 5.1 นิกายซนุ นี 1. ยดึ มั่นและปฏิบัติตามจารีตการดำเนินชีวิต (ซุนนะ) ของนบมี ฮู มั หมัดอย่างเครง่ ครัด 2. ยอมรบั ผนู้ ำศาสดาว่ามีแค่ 4 คน หลงั จากนบีมฮู มั หมดั สน้ิ พระชนม์ (คือ 1. ทา่ นอบูบักร 2. ทา่ นอุมัร 3. ทา่ นอสุ มาน และ 4. ท่านอาล)ี 3. แพรห่ ลายมากท่สี ดุ มสุ ลิมสว่ นใหญ่ท่วั โลกนับถือนกิ ายนี้ (รวมถึงมสุ ลิมในไทยสว่ นใหญ)่ 5.2 นกิ ายชอี ะห์ 1. นบั ถือทา่ นอาลแี ละลูกหลานของทา่ นอาลี ว่าเป็นผนู้ ำศาสนาท่ีถกู ต้อง (เพราะท่านอาลเี ป็นทง้ั บุตรบุญธรรมและบตุ รเขยของนบมี ฮู ัมหมัด) 2. แพร่หลายใน อหิ รา่ น อริ ัก เยเมน 5.3 นิกายวาฮาบีย์ 1. เปน็ นิกายใหมล่ ่าสดุ ในศาสนาอสิ ลาม 2. เน้นความสำคญั และความศกั ด์สิ ิทธขิ์ องคัมภรี ์อลั กุรอานมากๆ ห้ามตคี วามและห้ามแก้ไข 3. แพร่หลายใน ซาอุดีอาระเบยี คเู วต เป็นตน้ 6. หลกั ธรรมสำคญั : 6.1 หลกั ศรัทธา 6 ประการ มุสลมิ ต้องศรทั ธาใน 6 สง่ิ นว้ี ่ามีจรงิ 1. ศรทั ธาในพระอัลลอฮ วา่ มีจรงิ และทรงเปน็ พระเจ้าสูงสดุ แต่เพยี งองค์เดยี ว 2. ศรัทธาในศาสดา(นบหี รอื รอซลู ) ท้งั หลาย เชน่ นบีอาดัม นบีอิบรอฮีม(อบั บราฮมั ) นบีมซู า(โมเสส) นบอี ซี า(พระเยซ)ู และนบมี ูฮมั หมัด ซึง่ เป็นนบคี นสุดท้าย 3. ศรัทธาในคัมภีรท์ ้ังหลาย ซึ่งมีหลายเล่ม เชน่ พระคัมภรี ์เดิมของศาสนายดู าย พระคัมภรี ์ไบเบิล ของศาสนาคริสต์ และพระคัมภีรอ์ ัลกรุ อาน ซึ่งเปน็ คมั ภีร์สดุ ทา้ ยท่พี ระอัลลอฮ ประทานใหม้ นุษย์ 4. ศรทั ธาในเทวฑตู (มลาอีกะห์) ซึง่ เปน็ เทพบรวิ ารของพระอลั ลอฮ 5. ศรัทธาในวันพิพากษาโลก(วนั กียามะห์) ซ่ึงเป็นวนั สดุ ทา้ ยของโลกและมนุษย์ ท่ีพระอลั ลอฮจะทรง พิพากษาการกระทำของมนุษยท์ ัง้ หลาย 6. ศรทั ธาในกฎสภาวะแห่งพระอลั ลอฮ ซงึ่ ได้ทรงกำหนดไว้ให้มนษุ ย์ยอมรับกฎเหล่านี้ เชน่ กฎธรรมชาติ ท่โี ลกจะตอ้ งมฤี ดกู าลต่าง ๆ หรือกฎแห่งกรรม ถ้าทำดี พระอัลลอฮ จะทรงอวยพรให้แตถ่ ้าทำชว่ั พระอลั ลอฮ จะทรงลงโทษ 6.2 หลกั ปฏิบัติ 5 ประการ มุสลมิ ต้องปฏิบตั ิใน 5 สง่ิ นี้ อยา่ งเคร่งครดั คือ 1. การปฏญิ าณตน : มุสลมิ จะตอ้ งปฏญิ าณตนวา่ มีพระอัลลอฮ เป็นพระเจ้าสูงสดุ แต่เพียงองค์เดียว 2. การละหมาด : การนมัสการและแสดงความนอบนอ้ มต่อพระอลั ลอฮ ซึง่ มสุ ลิมทีเ่ คร่งครดั และมเี วลาจะ ละหมาดวันละ 5 คร้งั 3. การถือศีลอด : ในเดอื นศกั ดิ์สทิ ธ์ิของชาวมสุ ลมิ ทว่ั โลก คือเดอื นรอมฎอน โดยมุสลิมจะอดอาหารและนำ้ ในเวลาพระอาทติ ย์ขึน้ ยันพระอาทิตยต์ กดนิ เพื่อฝกึ ใหร้ ู้จักรสชาดความอดอยากหวิ โหยและจะไดช้ ่วยเหลอื คนยากจน 4. การบริจาคซะกาต : เพอ่ื ใหค้ นรวยได้ช่วยเหลือคนยากจน 5. การประกอบพิธฮี จั ญ์ : ณ นครเมกกะ ประเทศซาอดุ ิอารเบีย หลักปฏบิ ตั ิน้เี ปน็ หลกั ปฏิบตั ทิ เ่ี คร่งครัดน้อย ที่สดุ เพราะไมต่ ้องทำทกุ คน ให้ทำไดเ้ ฉพาะมุสลิมทม่ี คี วามพร้อมเทา่ นั้น 7. เป้าหมายชวี ติ ของศาสนาอสิ ลาม : การเขา้ ถึงพระอลั ลอฮ * ศาสนาอิสลามไม่เชอ่ื เรือ่ งการเวียนตายเกิด ไมม่ ีชาติท่ีแลว้ ไมม่ ีชาตหิ น้า มนุษยเ์ กดิ หนเดียวตายหนเดยี ว *

11 สาระท่ี 2 หน้าทพ่ี ลเมอื งฯ เร่ืองท่ี 1 สังคมวทิ ยา สว่ นท่ี 1 สงั คมมนุษย์ 1. สงั คม : กลุ่มคนจำนวนหนงึ่ ที่อยรู่ ว่ มกนั มีความสัมพนั ธ์ต่อเนือ่ งกัน ตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ร่วมกนั มภี ูมิ ลำเนาเป็นหลกั แหลง่ มวี ฒั นธรรมเป็นของตนเอง มีการสบื ทอดวฒั นธรรมอย่างตอ่ เน่ือง 2. ลักษณะของสังคม > มีดนิ แดนหรืออาณาเขตแนน่ อน > อยูร่ ่วมกันเปน็ กลุ่มถาวร > มีวฒั นธรรม วถิ ชี วี ติ ของตนเอง > มคี วามสมั พนั ธ์และการกระทำต่อกนั ทางสังคม 3. หน้าทข่ี องสงั คม > ผลิตสมาชกิ ใหม่ >สมาชกิ ของสังคมไดพ้ งึ่ พาอาศยั กัน > อบรมสงั่ สอนสมาชกิ ผ่านกระบวนการขดั เกลา 4. โครงสรา้ งทางสังคม 1. กลุ่มคน > ปฐมภูมิ > ทตุ ยิ ภมู ิ 2. สถาบนั ทางสังคม > ครอบครัว = เด่ียว / ขยาย > การศกึ ษา > การเมอื งการปกครอง > เศรษฐกิจ > ศาสนา > นนั ทนาการ > ส่อื สารมวลชน 3. การจัดระเบยี บทางสงั คม > สถานภาพ = ตดิ ตัวมา / ได้มาภายหลงั > บทบาท > ค่านยิ ม > การขัดเกลา = ทางตรง / ทางอ้อม > การควบคมุ ทางสงั คม = เชงิ บวก / เชิงลบ > บรรทดั ฐาน >> วิถีประชา >> จารีต >> กฎหมาย ส่วนที่ 2 วัฒนธรรม 1. วฒั นธรรม หมายถงึ แบบแผนทางความคดิ ความเชอื่ อดุ มคติ คา่ นิยมของคนในสังคมทีก่ ำหนดรูปแบบการดำเนินชีวติ สร้าง สม เปลยี่ นแปลง แก้ไข และพัฒนา เพ่อื ให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มกี ารสืบทอดจนถงึ ปจั จบุ ัน 2. ลกั ษณะของวัฒนธรรม > เป็นแนวทางในการดำเนนิ ชีวิต > เกดิ จากการเรียนรู้ > เป็นมรดกทางสงั คม > เปล่ียนแปลงได้ ไม่คงท่ี # วัฒนธรรมมที ้งั วฒั นธรรมหลกั และวฒั นธรรมย่อย 3. ประเภทของวฒั นธรรม - วฒั นธรรมทางวตั ถุ คอื ประดษิ ฐกรรมที่เปน้ วตั ถุ เช่น ทอ่ี ยู่อาศยั เครอื่ งใช้ - วฒั นธรรมทไ่ี ม่ใช่วตั ถุ (นามธรรม) เชน่ ความเชอื่ ความรู้ อุดมคติ บรรทดั ฐาน ประเพณี จารตี คณุ ธรรม 4. เนื้อหาสาระของวฒั นธรรม แบ่งได้ 4 ด้าน (ตาม พรบ. วฒั นธรรม 2522) - คตธิ รรม คือ สาระทางความคิด ความเชือ่ ค่านิยม อุดมคติ - เนตธิ รรม คือ สาระทางกฎระเบยี บของสังคม เชน่ กฎหมาย ประเพณี - สหธรรม คอื สาระทางการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม เช่น มารยาทการปฏิบตั ิตน - วัตถธุ รรม คือ สาระทางประดษิ ฐกรรม เคร่อื งใช้ บา้ นเรือน อาหาร ยารกั ษาโรค

12 เร่ืองท่ี 2 รฐั ศาสตร์ 1. รฐั : กลมุ่ ประชากรท่อี าศยั อยูร่ ่วมกนั ในชมุ ชนทางการเมอื งเดียวกนั ประกอบด้วยดินแดนทม่ี อี าณาเขตแนน่ อน มีรฐั บาลปกครอง มอี ำนาจอธิปไตยซึ่งเปน็ อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ดำเนนิ กจิ การของรัฐท้งั ภายใน และภายนอกประเทศ 2. องคป์ ระกอบของรฐั 1) ประชากร 2) อาณาเขต (ดนิ แดน) 3) รัฐบาล 4) อำนาจอธปิ ไตย (เอกราช) *สำคัญทีส่ ดุ หากไม่มจี ะเปน็ แคป่ ระเทศ ไม่ใช่รฐั 3. ประเภทของรฐั (ดจู ากจำนวนรัฐบาล) 1) รัฐเดย่ี ว มีรัฐบาลชุดเดียวบรหิ ารประเทศ เชน่ ไทย ญี่ปุ่น เวียดนาม องั กฤษ 2) รฐั รวม มรี ฐั บาล 2 ระดบั มีรัฐอย่างน้อย 2 รฐั มารวมกัน แบง่ อำนาจหน้าทก่ี ันโดยกำหนดไว้ในรัฐธรรมนญู > รัฐบาลกลาง ดำเนินกิจการทส่ี ำคญั ตอ่ ความม่ันคงของรฐั เช่น การปอ้ งกนั ประเทศ การต่างประเทศ การคลงั > รฐั บาลท้องถนิ่ จดั การสาธารณปู โภค การศกึ ษา จราจร สวนสาธารณะ ดแู ลความสะอาด ตัวอยา่ งรฐั รวม : อเมรกิ า แคนาดา ออสเตรเลยี อริ กั รสั เซยี มาเลเซยี พมา่ เยอรมัน อินเดีย สวิสเซอรแ์ ลนด์ บราซลิ เมก็ ซโิ ก สหรัฐอาหรับเอมเี รต ปากีสถาน ไนจีเรยี (ประเทศทข่ี น้ึ ตน้ ด้วย สหรฐั สหพนั ธรฐั สมาพนั ธรฐั ) # สหราชอาณาจักร ไม่ใช่นะ 4. ระบอบการปกครอง มี 2 ระบอบหลกั คือ ประชาธปิ ไตย กับ เผดจ็ การ ******* 1. ประชาธิปไตย คือ ระบอบการปกครองที่ประชาชนมสี ว่ นรว่ มในการใช้อำนาจปกครองประเทศ เป็นการ ปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพอ่ื ประชาชน หลักการพน้ื ฐานของประชาธปิ ไตย 1) หลกั อำนาจอธปิ ไตย : อำนาจออกเปน็ 3 ฝา่ ย คอื นิติบัญญตั ิ บริหาร ตุลาการ 2) หลกั สิทธิเสรภี าพ : สิทธเิ สรภี าพท่กี ฎหมายรับรองและคุ้มครอง เชน่ การนับถือศาสนา 3) หลกั ความเสมอภาค : ประชาชนทุกคนตอ้ งมคี วามเทา่ เทียมกันทางกฎหมาย ทางการเมอื ง 4) หลักเสยี งข้างมาก : ใชเ้ พอ่ื แก้ปญั หา หาขอ้ ยุติ ตลอดจนการตดั สินใจในกจิ การสาธารณะ 5) หลักนิติธรรม : ทกุ คนยึดกฎหมายเป็นหลัก เพ่ือให้เกิดการคุ้มครองสทิ ธิเสรภี าพ 6) หลักการใช้เหตุผล : ประชาธปิ ไตยเนน้ การประนีประนอม ไม่ใชค้ วามรุนแรง รปู แบบการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 1) ประชาธิปไตยทางตรง(ประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนรว่ ม) เชน่ การลงประชามติ 2) ประชาธปิ ไตยแบบมผี ูแ้ ทน เชน่ การเลอื ก สส. สว. ประชาธปิ ไตยแบบมผี ้แู ทน มี 3 รปู แบบ คือ 1) ระบบรัฐสภา (แม่แบบอังกฤษ)ถือว่ารฐั สภาเป็นองค์กรสงู สดุ เป็นทีร่ วมเจตจำนงของประชาชน ทัง้ ประเทศเปน็ ศูนย์กลางอำนาจทางการเมอื ง อาจมสี ภาเดยี ว(เฉพาะ สส.) หรือสองสภาก็ได้(สส. และ สว.) > อาจมีกษัตริย์เป็นประมุข (เชน่ อังกฤษ ไทย ญีป่ ุ่น มาเลเซีย กมั พูชา นอรเ์ วย์ สวีเดน เดนมาร์ก เนเธอรแ์ ลนด์ เบลเยี่ยม สเปน แคนาดา ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์) > หรอื อาจมีประธานาธิบดเี ป็นประมขุ (เชน่ อินเดยี สงิ คโปร์ เยอรมนั อิตาล)ี ก็ได้ > อำนาจการบรหิ ารอยูท่ ่ีนายกรฐั มนตรี > รฐั สภาทำหน้าที่ด้านนติ บิ ญั ญตั ิ (ออกกฎหมาย) และควบคุมอำนาจบรหิ าร > คณะบรหิ ารมาจากพรรคการเมอื งทีไ่ ดเ้ สียงสงู สดุ จัดตัง้ โดยมสี ภาผู้แทนราษฎรรับรองหาก นายกรัฐมนตรีและรฐั มนตรไี มไ่ ด้รับความไว้วางใจจากสภา จะตอ้ งพน้ จากตำแหนง่ > นายกรฐั มนตรมี ีอำนาจยุบสภาผูแ้ ทนราษฎร (การยบุ สภาในประเทศไทยจะตราเป็น พระราชกฤษฎกี า มนี ายกฯเปน็ ผูส้ นองบรมราชโองการ) 2) ระบบประธานาธิบดี มสี หรฐั อเมรกิ าเป็นแมแ่ บบ อำนาจนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ แยกกันชัดเจน กำหนดเปน็ กฎหมายในรฐั ธรรมนญู เพ่ือใหเ้ กดิ การถว่ งดุลและใช้อำนาจอย่างถูกต้อง > รัฐสภาออกกฎหมายไดเ้ พียงองคก์ รเดยี ว > ประธานาธิบดีมีอำนาจยบั ย้ังกฎหมายได้

13 > ศาลสงู มอี ำนาจตคี วามกฎหมายทม่ี าจากสภา และอนุมัตโิ ดยประธานาธบิ ดี วา่ ขัดกับ รธน.? > ประธานาธิบดแี ตง่ ตง้ั ผพู้ ิพากษาศาลสงู โดยความเหน็ ชอบของวฒุ สิ ภา > ประธานาธบิ ดีไม่มอี ำนาจยบุ สภา > ประธานาธบิ ดีมาจากการเลอื กตัง้ โดยตรง > ประธานาธิบดเี ปน็ ท้ังประมขุ และหัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ าร จึงไมม่ ีนายกรัฐมนตรี > ตวั อยา่ งประเทศทีใ่ ช้ระบบนี้ : อเมรกิ า ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซยี เม็กซโิ ก 3) ระบบกึง่ ประธานาธบิ ดกี ง่ึ รัฐสภา มีฝร่ังเศสเป็นตน้ แบบ > ประชาชนเลอื กประธานาธิบดโี ดยตรง > ประธานาธบิ ดีเปน้ ท้ังประมุขและผู้นำทางการเมอื ง > ประธานาธิบดีแต่งตัง้ นายกรฐั มนตรี และรัฐมนตรี(จากคำแนะนำของนายกฯ) > สส. มอี ำนาจลงมตไิ มไ่ ว้วางใจนายกฯ แตล่ งมตกิ บั ประธานาธิบดไี ม่ได้ > ประธานาธบิ ดียุบสภาได้ > ประเทศที่ใช้ระบบนี้ : ฝรงั่ เศส เกาหลีใต้ รัสเซีย ไตห้ วัน ขอ้ ดี ของประชาธปิ ไตย > ประชาชนมีสิทธิเสรภี าพ > ประชาชนปกครองตนเอง คนดีคนเกง่ มโี อกาสบรหิ ารประเทศ > ประเทศมคี วามเจริญมั่นคง ขอ้ เสีย ของประชาธปิ ไตย > ดำเนนิ การยาก เพราะการดำเนินการตามความต้องการของประชาชนทกุ คนเป็นไปไม่ได้ > เสียค่าใชจ้ า่ ยสูงในการเลือกตง้ั > มีความล่าชา้ ในการตัดสินใจ เพราะตอ้ งให้เสยี งสว่ นใหญ่ยอมรบั ******* 2. การปกครองระบอบเผดจ็ การ : การปกครองทมี่ บี คุ คลหรือกลุ่มบุคคลหน่งึ ยึดอำนาจทางการเมืองโดยไม่ เปดิ โอกาสให้ประชาชนมสี ่วนร่วม จำกดั สิทธิเสรีภาพของประชาชน เช่น การแสดงความเห็น การรวมกล่มุ > ผนู้ ำคนเดยี วหรือคณะเดียวมอี ำนาจสุงสุดในการปกครอง > การรักษาความมนั่ คงของผูน้ ำสำคัญกวา่ สิทธิเสรภี าพของประชาชน > รฐั ธรรมนูญเปน็ เพยี งกฎหมายรบั รองอำนาจของผู้นำ สส.ไม่ใช่ตัวแทนประชาชนอย่างแท้จริง รปู แบบการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. อำนาจนิยม > เผดจ็ การทหาร ส่งเสริมการใช้อำนาจของผู้ปกครอง ประชาชนไมม่ สี ่วนร่วมทางการเมอื งการ ปกครอง แตม่ ีสว่ นร่วมทางเศรษฐกิจสงั คมตราบเทา่ ที่ไมก่ ระทบต่ออำนาจผู้ปกครอง ระบบน้มี ีการ ลงโทษอย่างรุนแรง เพอ่ื ให้ประชาชนเช่อื ฟัง 2. เบ็ดเสร็จ > ฟาสซิสต์ : อติ าลี ควบคมุ ประชาชนในทุกเร่ือง มพี รรคการเมืองพรรคเดียว ตอ้ งเช่ือฟังผู้นำ เน้าลทั ธิ > นาซี : เยอรมนั ชาตนิ ิยมอยา่ งรุนแรง สนับสนนุ กิจกรรมทางทหารอยา่ งเต็มที่ มีนโยบายขยาย อาณาเขตและอิทธิพลไปยงั ประเทศตา่ งๆ ปัจจุบันไมม่ ีแลว้ เคยมใี น อติ าลี เยอ รมนั (นาซี) และญปี่ ุ่น เป็นสาเหตหุ น่งึ ของสงครามโลกคร้งั ที่ 2 > คอมมิวนิสต์ : จีน คิวบา เกาหลีเหนือ ลาว เวยี ดนาม ขอ้ ดี ของเผด็จการ - ทำงานได้รวดเร็ว เกดิ หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 มีสหภาพโซเวียตเป็น - แก้ไขปัญหาบางอย่างได้ เพราะมีอำนาจเดด็ ขาด ผูน้ ำ มหี ลกั ความเช่ือแบบมาร์กซสิ ต-์ เลนินนิสต์ เชน่ ปัญหาอาชญากรรม การกอ่ การรา้ ย เผดจ็ การของชนชนั้ กรรมาชีพ กำจดั นายทุน แลว้ รฐั จะเขา้ มาดแู ลกจิ การแทนโดยคำนึงถงึ ความ - รฐั บาลมเี สถียรภาพ มีความเปน็ เอกภาพ ทำงานไดต้ ่อเน่ือง เสมอภาคเปน็ สำคัญ ปัจจบุ นั มกี ารปรับตัว ทำให้ ข้อเสีย ของเผด็จการ ความขดั แยง้ ทางการเมืองลดลง เกดิ การประสาน - มขี อ้ ผิดพลาดได้ง่าย เพราะตัดสนิ ใจคนเดียวหรอื กลุม่ เดียว ผลประโยชน์ ประเทศคิมมิวนิสต์ทเี่ หลือ - ไม่ใหโ้ อกาสคนดีคนเก่งเข้ามามีสว่ นร่วม - ทำให้ประเทศชาติพัฒนาล่าช้า

14 เร่อื งที่ 3 นิตศิ าสตร์ 1. กฎหมาย : กฎหรือข้อบงั คับของรัฐซ่ึงกำหนดความประพฤตขิ องมนษุ ย์ ถา้ ฝา่ ฝนื จะได้รบั ผลรา้ ยหรอื ถูกลงโทษ 2. ลักษณะสำคัญของกฎหมาย 1) ใชไ้ ดท้ ั่วไป กับทุกคนภายในประเทศ รวมถึงชาวต่างชาติ 2) ใช้ไดต้ ลอดไป ตลอดเวลาจนกวา่ จะยกเลกิ 3) ตราโดยผมู้ อี ำนาจสงู สุดในรฐั (รัฏฐาธปิ ตั ย์) 4) ควบคมุ การกระทำของมนษุ ย์ 5) มีสภาพบังคับทางกฎหมาย 6) มีผลยอ้ นหลังตอ่ จำเลย (กรณีเป็นคณุ ประโยชน์) 3. ระบบกฎหมาย 1) กฎหมายจารีตประเพณี : Common Laws > ไมไ่ ด้บญั ญัตไิ ว้เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร > ใชจ้ ารตี ประเพณี หรอื คา่ นยิ มความเชอื่ ของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ รว่ มกบั ใชค้ ำพพิ ากษาของศาลในอดตี เปน็ กฎหมาย > ใชใ้ นประเทศ องั กฤษ สหรฐั อเมรกิ า แคนาดา ออสเตรเลยี นิวซีแลนด์ 2) ระบบกฎหมายลายลกั ษณอ์ ักษร : Civil Laws หรอื ระบบประมวลกฎหมาย > บญั ญัตไิ ว้เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร และมกั มกี ารจัดทำ “ประมวลกฎหมาย” ข้นึ มาใช้ภายในประเทศ > ไม่ใชจ้ ารตี ประเพณี เปน็ กฎหมาย > ใชใ้ นประเทศ จักรวรรดิโรมันโบราณ ฝรงั่ เศส เยอรมนี ไทย 4. ประเภทของกฎหมายไทย # แบง่ ตามท่มี าของกฎหมาย 1) กฎหมายท่ผี ่านความเหน็ ชอบดว้ ยการลงประชามติ คอื รัฐธรรมนญู 2) กฎหมายที่ตราโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่ พระราชบญั ญตั ิ ประมวลกฎหมาย กฎมณเฑียรบาล 3) กฎหมายท่ตี ราโดยฝา่ ยบริหาร ได้แก่ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง 4) กฎหมายทต่ี ราโดยสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ได้แก่ ขอ้ บญั ญตั ิ กทม. - อบจ. - พทั ยา / เทศบญั ญตั ิ # แบ่งตามความสมั พนั ธข์ องคกู่ รณี 1) กฎหมายมหาชน : ความสัมพันธร์ ะหว่างรัฐกับเอกชน เช่น รฐั ธรรมนญู กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและพาณิชย์ 2) กฎหมายเอกชน : ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเอกชนกบั เอกชน เช่น กฎหมายครอบครัว กฎหมายมรดก กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 3) กฎหมายระหว่างประเทศ : รัฐต่อรฐั เชน่ สนธสิ ญั ญาทางการฑตู สนธสิ ญั ญาสง่ ผูร้ า้ ยข้ามแดน # แบ่งตามหนา้ ที่ (วิธกี ารใช)้ 1) กฎหมายสารบญั ญตั ิ คือ กฎหมายท่บี ัญญตั ถิ ึงเนอ้ื หาของสทิ ธิ หน้าที่ ข้อห้าม ควบคมุ ความประพฤติของ คนในสังคมโดยตรง เช่น กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 2) กฎหมายวิธสี บัญญัติ คอื กฎหมายท่ีบัญญัตถิ ึงกระบวนการในการยุติขอ้ พพิ าทท่เี กิดข้ึนตามกฎหมาย สารบัญญตั ิ (กระบวนการบงั คับใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายสารบัญญัติ) เชน่ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง่ กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา 5. ลำดบั ชั้นของกฎหมายไทย (เรยี งจากสูงสุดลงไปต่ำสดุ ) 1) รฐั ธรรมนูญ 2) พระราชบญั ญัติ = ประมวลกฎหมาย 3) พระราชกำหนด 4) พระราชกฤษฎกี า 5) กฎกระทรวง > ประกาศกระทรวง 6) กฎหมายท่ีออกโดยสภาองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ เชน่ ขอ้ บญั ญัติ กทม. เทศบญั ญัติ # กฎหมายเลก็ จะขดั กบั กฎหมายใหญ่ไม่ได้

15 5. ประเภทของศาลไทย 1. ศาลรฐั ธรรมนญู พิพากษาคดีที่รฐั ธรรมนญู และกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญกำหนดไว้ 2. ศาลปกครอง พิจารณาคดพี ิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ รฐั วิสาหกจิ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ หรอื องคก์ รตาม รัฐธรรมนูญ หรือเจา้ หน้าทข่ี องรัฐกบั เอกชน อันเนอ่ื งมาจากการใชอ้ ำนาจทางปกครอง แบ่งเป็นศาลปกครองชัน้ ตน้ (ได้แก่ ศาลปกครองกลาง และ ศาลปกครองในภูมิภาค) กบั ศาลปกครองสูงสดุ 3. ศาลทหาร พพิ ากษาคดอี าญาท่ีผกู้ ระทำผิดอยู่ในอำนาจศาลทหาร 4. ศาลยุตธิ รรม พิจารณาพพิ ากษาคดที ั้งปวง เวน้ แต่คดรี ัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายกำหนดให้อยู่ในอำนาจศาลอื่น แบ่งเป็น 3 ชน้ั คือ 1) ศาลช้นั ต้น > ศาลแพง่ : ศาลแพง่ กรงุ เทพใต้ ศาลแพง่ ธนบรุ ี > ศาลอาญา : ศาลอาญากรงุ เทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี > ศาลจังหวดั ศาลแขวง และศาลชำนญั พิเศษอื่นๆท่ี พรบ.จัดตงั้ กำหนดให้เป็นศาลชัน้ ตน้ เชน่ ศาลเยาวชนและครอบครวั ศาลแรงงาน ศาลภาษอี ากร ศาลทรพั ย์สินทางปัญญาและการค้าระหวา่ งประเทศ ศาลล้มละลาย 2) ศาลอุทธรณ์ ไดแ้ ก่ ศาลอทุ ธรณ์ และ ศาลอุทธรณภ์ าค 3) ศาลฎีกา สูงสดุ มีศาลเดียว กฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญา เปน็ กฎหมายที่เกีย่ วกับการกระทำท่ีมีผลกระทบกระเทือนต่อสังคม ซงึ่ รัฐกำหนดให้เปน็ ความผดิ และตอ้ งรับโทษ 2. โทษทางอาญา เรียงจากหนักไปหาเบา 1) ประหารชวี ิต : ดว้ ยการฉีดยาพษิ 2) จำคกุ : ฝากขงั ไว้ท่เี รอื นจำ คดยี ังไมส่ ้นิ สุดแตป่ ระกนั ตวั ไมไ่ ด้ 3) กกั ขงั : ขงั ไว้ในสถานที่อน่ื ไมใ่ ช่เรือนจำ 4) ปรบั : ปรบั เงนิ จริงๆ ของผกู้ ระทำความผดิ 5) รบิ ทรพั ย์สนิ : ยึดทรพั ยท์ ่ีประเมินว่าเกิดจากการทำผิด 3. ความผิดเกย่ี วกับทรพั ย์ 1) ลักทรัพย์ : การเอาของคนอนื่ ไปโดยไมม่ ีการทำร้าย 2) วิ่งราวทรพั ย์ : กระชากสรอ้ ยโดยไมม่ กี ารทำรา้ ย 3) ชิงทรพั ย์ : การว่งิ เข้าไปชกแล้วกระชากสรอ้ ย 4) ปลน้ ทรพั ย์ : การชิงทรพั ยโ์ ดยรว่ มกระทำความผดิ ต้ังแต่ 3 คนขน้ึ ไป 5) ยักยอกทรพั ย์ : การเบยี ดบังเอาทรัพย์ของคนอนื่ หรอื ทรัพยท์ ่ีตวั เองถอื กรรมสิทธิร์ ่วมดว้ ยมา เป็นของตนโดยทุจรติ 6) รดี เอาทรพั ย์ : การขูว่ ่าจะเปิดเผยความลับแลกกับทรพั ย์สิน (ไม่ใชก้ ำลงั ประทษุ ร้าย) blackmail 7) กรรโชกทรพั ย์ : การข่มขู่ว่าจะใชก้ ำลังประทุษร้ายร่างกาย ทรพั ยส์ นิ เพ่ือใหผ้ อู้ ืน่ มอบทรัพยแ์ กต่ น 4. กระบวนการยุติธรรมคดอี าญา ประกอบด้วย 1) คูก่ รณี 2 ฝ่าย : โจทก์ - จำเลย 2) พนกั งานปกครอง : ปราบปราม จบั ผกู้ ระทำความผดิ ไดแ้ ก่ ตำรวจ ผ้วู า่ ราชการจงั หวัด นายอำเภอ กำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน 3) พนกั งานสอบสวน : สอบสวนหาพยานหลกั ฐาน ไดแ้ ก่ ตำรวจ 4) พนกั งานอัยการ : เป็นทนายความของฝา่ ยผ้เู สยี หายหรือโจทก์(ฝ่ายรัฐ) (อัยการ คอื ทนายความของแผน่ ดิน) 5) ทนายความจำเลย 6) ศาลสถิตยตุ ธิ รรม มี 3 ระดับ คือ 1. ศาลชน้ั ต้น 2. ศาลอทุ ธรณ์ 3. ศาลฎกี า 7) พนักงานราชทณั ฑ์ 8) พนักงานคุมประพฤติ (กรณีรอลงอาญา)

16 กฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ 1. บุคคล : แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ บคุ คลธรรมดา และ นิตบิ คุ คล 1. บุคคลธรรมดา > สภาพบคุ คล : เร่มิ ต้ังแต่เม่อื คลอดแล้วอยู่รอดเปน็ ทารก และส้ินสุดเมื่อตาย หรอื ศาลส่ังใหเ้ ป็นบคุ คลสาบสูญ > การตาย / สาบสญู 1. การตายโดยธรรมชาติ เช่น ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว มะเร็ง ปอดทะลุ 2. การตายโดยผลของกฎหมาย คือ บคุ คลทถ่ี กู ศาลสง่ั ให้เป็นคนสาบสูญมีใน 2กรณี คอื - ถา้ จากภูมิลำเนา หรอื ถ่ินที่อยไู่ ปโดยไมม่ ีใครรู้แน่วา่ บคุ คลนนั้ ยงั มีชวี ติ อยหู่ รือไม่ตลอดระยะเวลา 5 ปี # ถ้ามีสาเหตไุ ดร้ ับอันตรายจากการรบหรือสงคราม ยานพาหนะอบั ปาง ถกู ทำลาย สูญหาย เชน่ เคร่อื งบนิ ตก เรือลม่ ระยะเวลาจะลดเหลอื 2 ปี >บรรลนุ ิตภิ าวะ 1. บรรลนุ ิติภาวะโดยธรรมชาติ คือ อายุครบ 20 ปีบรบิ รู ณ์ 2. บรรลุนิติภาวะโดยสมรส ตอนอายุ 17 ปีบรบิ ูรณแ์ ต่ต้องได้รบั การยนิ ยอมจากพ่อแม่ > บคุ คลถกู จำกดั ความสามารถ 1. ผู้เยาว์ : อายุไม่ครบ 20 ปีบรบิ ูรณ์ ผูด้ ูแล คือ ผแู้ ทนโดยชอบธรรม เมอ่ื ผเู้ ยาวอ์ ายุครบ 15 ปบี รบิ ูรณ์ สามารถทำพินัยกรรมได้ และรบั มรดกได้ * ผู้แทนโดยชอบธรรม ไดแ้ ก่ ผ้ใู ชอ้ ำนาจปกครอง คือ พ่อแม่ และผปู้ กครองคอื ผทู้ ่ีนอกเหนอื จากพอ่ แมท่ ีไ่ ดร้ ับมอบหมายเพื่อปกครองผูเ้ ยาว์ 2. คนไร้ความสามารถ : บคุ คลวกิ ลจรติ ทศี่ าลส่งั ใหเ้ ปน็ คนไร้ความสามารถ ผู้ดแู ล คอื ผอู้ นบุ าล หา้ มทำนิติกรรมเองโดยเดด็ ขาด ต้องใหผ้ ู้อนุบาลทำแทน 3. คนเสมอื นไร้ความสามารถ : บุคคลทมี่ คี วามพกิ ารเชิงกายภาพ จติ ไมส่ มประกอบ ตดิ สุรายาเสพติด ซ่ึง ศาลสงั่ ให้เป็นคนเสมือนไรค้ วามสามารถ ผ้ดู แู ลคอื ผู้พิทักษ์ *บุคคลวิกลจริต ยังถอื ว่าเปน็ บุคคลธรรมดา จนกว่าศาลจะมคี ำสัง่ ให้เป็นคนไร้ความสามารถ การเป็นผู้ไร้ความ สามารถและผ้เู สมอื นไรค้ วามสามารถ ต้องใหศ้ าลสั่งเทา่ นนั้ 2. นิติบคุ คล : บุคคลทก่ี ฎหมายสมมติขึ้น มสี ทิ ธิและหน้าทีเ่ หมอื นบคุ คลธรรมดา เรมิ่ ตน้ สภาพเมือ่ จดทะเบยี น สนิ้ สุด เมื่อปดิ กิจการหรอื โดนฟอ้ งล้มละลาย 1. นิติบคุ คลตามกฎหมายเอกชน : หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั /จำกดั บริษัท 2. นติ ิบุคคลตามกฎหมายมหาชน : เช่น วัด กระทรวง หนว่ ยราชการ 2 นิติกรรม : การกระทำโดยชอบด้วยกฎหมาย และสมัครใจทำ เพ่ือทีจ่ ะผกู นติ ิสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล 1. นติ ิกรรมฝา่ ยเดยี ว : เช่น การทำพินยั กรรม การบอกเลกิ สัญญา การปลดหน้ี 2. นติ กิ รรมหลายฝ่าย : เชน่ สัญญากู้ยมื สญั ญาขายฝาก สัญญาจำนำ การทำหนังสือจดั ตงั้ บรษิ ัท # ความบกพรอ่ งของนิตกิ รรม 1. โมฆะ (โมฆกรรม) คือ นติ กิ รรมที่ไมม่ ีผลใช้บงั คบั ตามกฎหมายตง้ั แตเ่ ริ่มทำ เช่น การทำสัญญากยู้ มื เงินที่เกบ็ ดอกเบี้ยเกินกว่าทก่ี ฎหมายกำหนด การจดทะเบียนสมรสซ้อน 2. โมฆยี ะ (โมฆยี กรรม) คือ นติ ิกรรมที่มผี ลทางกฎหมาย จนกวา่ จะถกู บอกลา้ ง และใหถ้ ือเป็นโมฆกรรมแตแ่ รก เชน่ อาจเกดิ จากผเู้ ยาว์ ผ้ไู รค้ วามสามารถ ผเู้ สมือนไร้ความสามารถ ทำลงไปอาจจะโดยไมเ่ จตนาหรอื โดยขมขู่ # ข้อมลู เพิม่ เติม 1. นติ กิ รรมทผ่ี ้เู ยาว์กระทำไปโดยไม่ไดร้ ับความยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม จะตกเป็นโมฆยี ะ (มผี ลสมบูรณ์เม่ือมกี ารใหส้ ตั ยาบนั หรอื ถูกยกเลกิ เม่อื บอกลา้ งเพิกถอน) 2. กรณีที่มีการทำพนิ ยั กรรมซ้อนกันหลายฉบบั ใหย้ ดึ เอาฉบับลา่ สดุ กอ่ นผทู้ ำเสยี ชวี ติ 3. ทรัพย์ : ส่งิ ที่มมี ลู ค่า มีรูปรา่ งจบั ต้องได้ มรี าคาที่ชดั เจน 1. สงั หาริมทรพั ย์ : เคลื่อนท่ไี ด้ ไม่ยดึ ตดิ อยู่กับท่ี เช่น ทองคำ รถยนต์ โทรทัศน์ ดนิ ทขี่ ดุ มาขาย 2. อสงั หารมิ ทรพั ย์ : เคล่อื นทีไ่ มไ่ ด้ ติดอยกู่ บั ทถ่ี าวร ประกอบเป็นอนั เดยี วกับทีด่ ินนัน้ เช่น บ้าน ตึก อาคาร ไม้ยนื ต้น 3. สงั หารมิ ทรัพยช์ นดิ พเิ ศษ : ทรัพย์เคล่ือนที่ได้ แต่การโอนกรรมสิทธมิ์ ีความจำเป็นตอ้ งทำอย่างอสงั หารมิ ทรัพย์ เช่น สัตว์ พาหนะ แพอยู่อาศยั เรือ 5 ตัน+

17 4. เอกเทศสญั ญา : เปน็ รปู แบบของสัญญาท่กี ฎหมายกำหนดชื่อสัญญา และกฎเกณฑ์ทั่วไปของสญั ญาเอาไว้ ชัดเจน ปัจจุบนั นเี้ อกเทศสัญญามที งั้ หมด 22 แบบสัญญา นอกเหนือจากน้จี ะเรยี กวา่ “สญั ญาไม่มชี ่ือ” เอกเทศสัญญาท่สี ำคัญๆ ท่อี อกข้อสอบมีดงั นี้ ซอื้ ขาย สญั ญาที่ ผขู้ าย โอนกรรมสิทธทิ์ รัพย์สินใหแ้ ก่ ผซู้ ื้อ โดยใชเ้ งินตามราคาทรัพย์สินน้ัน การซอื้ ขายตอ้ งทำเป็นหนังสอื และจด ทะเบียนต่อเจ้าหนา้ ที่ทำการซือ้ ขาย มี 3 สญั ญา ได้แก่ 1. สัญญาจะซ้ือจะขาย : สัญญาซื้อขายทจี่ ะต้องไปทำใหส้ มบรู ณ์ในภายหลัง เชน่ ขายท่ดี ิน ต้องมกี ารไปจดทะเบียนโอน กนั จึงจะสมบูรณต์ ามกฎหมาย 2. สญั ญาซอ้ื ขายเงนิ ผ่อน : สญั ญาซอ้ื ขาย ท่ีมีการแบง่ ชำระราคาเปน็ งวดๆ โดยกรรมสทิ ธิ์ในทรัพย์โอนไปยงั ผูซ้ อื้ ทนั ที กอ่ นท่ีการชำระราคาจะครบถว้ น 3. สญั ญาขายฝาก : สัญญาซื้อขายซ่งึ กรรมสิทธ์ิในทรพั ย์สนิ ทข่ี ายฝากน้ันตกไปยงั ผซู้ อ้ื โดยมีขอ้ ตกลงในขณะทำสัญญา ว่า ผ้ขู ายมีสทิ ธิไถ่ทรพั ย์สินคืนได้ เช่าทรพั ย์ สญั ญาที่บคุ คลหนง่ึ เรยี กว่า ผูใ้ หเ้ ชา่ ตกลงให้อกี บคุ คลหนงึ่ คือ ผู้เช่า ใชห้ รือได้รับประโยชน์ในทรัพยส์ นิ น้นั ๆ ในชว่ งระยะเวลาที่ กำหนด โดยมีเงนิ เปน็ คา่ ตอบแทน เช่น เชา่ บา้ นพัก - การเช่าอสังหารมิ ทรพั ยต์ อ้ งทำเป็นหนังสอื และลงลายช่ือจดทะเบยี นต่อเจา้ หน้าทพี่ นักงาน - การเช่าอสงั หาริมทรพั ย์ หา้ มเช่ากันนานเกนิ กวา่ 30 ปี - การเช่าสามารถตกลงให้เชา่ นานตลอดอายุผเู้ ชา่ หรอื ผใู้ ห้เช่าได้ เชา่ ซอ้ื สญั ญาทบี่ ุคคลหน่ึงเรยี กว่า ผใู้ หเ้ ชา่ ซือ้ นำทรัพยส์ ินของตนออกให้เชา่ โดยจะให้ทรัพย์สินนน้ั ตกเปน็ กรรมสทิ ธิข์ องผเู้ ชา่ ซื้อเมื่อ ชำระเงนิ จนครบงวดตาทตี่ กลง - ตอ้ งทำเปน็ หนงั สอื มิเช่นน้นั จะเป็น โมฆะ - หากไมช่ ำระเงนิ 2 งวดติดตอ่ กน ผู้ให้เช่าซ้ือมสี ทิ ธิบอกเลิกสญั ญาได้ - แตกตา่ งจากซื้อขายเงินผ่อน เพราะการเช่าซือ้ ผู้เชา่ ซอื้ จะได้กรรมสทิ ธิใ์ นทรพั ยส์ นิ นน้ั ตอ่ เมือ่ ได้ชะระเงนิ ครบทกุ งวด แล้ว แต่ซื้อขายผ่อนผู้ซ้อื ไดก้ รรมสิทธิ์ในทรพั ย์นน้ั แม้จะยงั ชำระเงินไม่ครบถว้ นก็ตาม - แตกต่างจากการเช่าทรพั ย์ เพราะการเชา่ ซ้ือ เป็นสัญญาเช่าทรพั ยท์ ่ีมีคำมั่นวา่ จะขายรวมอยดู่ ้วย กู้ยืมเงิน เป็นสญั ญาที่ ผ้กู ู้ ขอยืมเงินจำนวนหน่ึงตามท่ีได้กำหนดจาก ผใู้ หก้ ู้ ตกลงว่าจะคืนเงินดงั กล่าวตามกำหนดเวลา โดยผกู้ เู้ สยี ดอก เบีย้ ใหแ้ ก่เจา้ ของเงนิ ผใู้ ห้กู้ ตามอตั ราท่กี ฎหมายกำหนด - ดอกเบ้ียตอ้ งไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 15 ตอ่ ปี หรอื รอ้ ยละ 1.25 ต่อเดอื น หากเกนิ นี้สว่ นของดอกเบีย้ จะถือเปน็ โมฆะ และต้องได้ รับโทษทางอาญาด้วย - การก้ยู มื เงินกว่า 2,000 บาทขึน้ ไป (ตัง้ แต่ 2,001 บาท) จะต้องมหี ลักฐานเปน็ หนังสือ ลงลายมอื ชอ่ื ผยู้ มื เป็นสำคญั มฉิ ะน้ันจะฟอ้ งรอ้ งบงั คับคดไี ม่ได้ ค้ำประกันสัญญา ซงึ่ บุคคลภายนอก คือผคู้ ำ้ ประกัน ผกู พนั ต่อสัญญาเพ่ือชำระหนี้เมื่อลกู หน้ไี มส่ ามารถชำระหนี้ได้ - เจา้ หนีจ้ ะตอ้ งเรยี กใหล้ กู หนี้ชำระหน้ีกอ่ น เมอื่ ลูกหนีไ้ มช่ ำระหนี้ จึงมสี ิทธเิ รยี กร้องจากผ้คู ้ำประกัน - เมือ่ ผู้ค้ำประกันชำระหนีใ้ หก้ ับเจ้าหน้แี ลว้ สามารถไล่เบยี้ เอากบั ลกู หนไ้ี ด้ จำนอง สัญญาท่ีบุคคลหนง่ึ เรยี กวา่ ผู้จำนอง เอาอสงั หาริมทรพั ย์ไปจำนองโดยจดทะเบียนไว้กับ ผู้รับจำนอง เพอื่ เป็นหลักประกันในการ ชำระหน้ี ทั้งนีผ้ ู้จำนองต้องส่งมอบทรพั ย์สนิ ดังกลา่ วให้แก่ผ้รู ับจำนอง เช่น ทด่ี นิ บา้ น - ไม่ต้องมีการสง่ มอบทรพั ย์สนิ แตต่ อ้ งทำเปน็ หนงั สือและจดทะเบยี นต่อเจา้ หนา้ ที่ - หลงั จากหลุดจำนองแลว้ จะขายทอดตลาดและไดเ้ งินไมค่ รบตามมลู หน้ี ลกู หน้ไี ม่ต้องรบั ผิดชอบในสว่ นทข่ี าด เช่น จำนอง 7 ลา้ น แต่ไปขายทอดตลอดได้ 5 ล้าน จำนำ สญั ญาที่บุคคลหนึ่งคอื ผู้จำนำ นำสังหาริมทรัพยข์ องตนมาประกันการชำระหน้ีตอ่ ผูร้ บั จำนำ - ต้องมีการสง่ มอบทรพั ยส์ ินท่ีจำนำ - หลังจากหลดุ จำนำแลว้ จะขายทอดตลาดและไดเ้ งนิ ไม่ครบตามมูลหนี้ ลูกหนี้ไมต่ อ้ งรบั ผิดชอบในสว่ นทข่ี าด

18 5. กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั 1. การหม้นั : การทำสัญญากันของผใู้ หญส่ องครอบครัวว่าจะใหล้ ูกสมรสกันในอนาคต > จะกระทำได้เมอ่ื ฝ่ายชาย-ฝา่ ยหญงิ มีอายุ 17 ปบี รบิ ูรณข์ ึ้นไป > มีการมอบของหม้นั ของฝา่ ยชายใหแ้ กฝ่ า่ ยหญงิ สินสอดฝา่ ยชายจะมอบใหก้ บั พอ่ แม่ของฝ่ายหญงิ > ของหมัน้ จะมอบให้ก่อนการสมรส ส่วนสินสอดจะมอบให้ก่อนหรือเมอื่ มีการสมรสกไ็ ด้ > หากฝ่ายชายไม่ได้เจตนาทำผิดสัญญาหม้ัน แต่มเี หตใุ ห้ตอ้ งเสยี ชีวติ ถูกจำคุกตลอดชีวติ ใหถ้ ือว่าของหม้ันตกเปน็ ของ ฝา่ ยหญิงเชน่ กัน > เมือ่ คู่หมน้ั ตายกอ่ นการสมรส อีกฝ่ายหนึง่ ไม่มีสทิ ธเิ รยี กคา่ ทดแทน ไมต่ ้องคืนของหม้ัน 2. สมรส : การแตง่ งานกันโดยต้องมีการจดทะเบยี นสมรสจะถอื เปน็ สมบรู ณ์ > ฝา่ ยหญิงและชายต้องอายุครบ 17 ปบี ริบูรณ์ พ่อแม่ทง้ั สองฝ่ายยินยอม > แต่การสมรสอาจทำได้กอ่ นชายหญิงจะมอี ายคุ รบ 17 ปบี รบิ รู ณ์ หากศาลเห็นว่ามีเหตุอันสมควรใหส้ มรสได้ เชน่ ฝา่ ย หญิงต้งั ครรภ์ > สมรสไมไ่ ดถ้ ้า ชายหรือหญงิ เปน็ ญาตสิ ืบสายโลหติ หรือเป็นบุคคลวกิ ลจริต > การสมรสกนั ระหวา่ งชายหญิงที่เป็นบุตรบญุ ธรรมและผรู้ บั บตุ รบุญธรรม การสมรสนนั้ สมบูรณไ์ ด้ แตค่ วามสัมพันธ์ แบบผ้ปู กครองกับลูกจะจบลงทนั ทีทีจ่ ดทะเบยี นสมรส ประเภทของทรพั ย์สินคสู่ มรส 1. สินสว่ นตวั : ทรพั ยส์ ินที่มีอยู่กอ่ นการสมรส เช่น ของหมั้นทฝ่ี ่ายหญิงไดร้ บั ของใชส้ ว่ นตัว เครอื่ งมือประกอบอาชพี ทรพั ย์สนิ ที่ได้มาโดยมรดกหรอื เสน่หา 2. สินสมรส : ทรพั ย์สนิ ทไี่ ด้มาระหว่างการสมรส ดอกผลของสินสว่ นตัว มรดกตามพินยั กรรม การสมรสจะสนิ้ สดุ ลงเมือ่ คูส่ มรสตาย เม่อื จะทะเบียนหย่า เมือ่ ศาลพิพากษาใหห้ ย่า # หลังการสมรสส้ินสุดลง จะมีการสมรสใหม่ได้เมอ่ื เวลาผ่านไปแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 310 วัน เวน้ แต่จะเปน็ การสมรสกับคู่สมรสเดิม หรอื คลอดบุตรในระหวา่ งน้ัน หรือศาลอนุญาตใหส้ มรสได้ 3. การหยา่ : การส้นิ สดุ ความเป็นสามภี รรยากัน ทำได้ 2 วิธี คอื จดทะเบียนหย่าที่อำเภอ เมอื่ ค่สู มรสต่างยินยอม พร้อมใจกนั แต่ถา้ ฝ่ายใดฝา่ ยหนง่ึ ไม่ยนิ ยอมก็ฟ้องศาลสัง่ หยา่ เมอ่ื คสู่ มรสไม่ยินยอม 4. บุตร > บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย : บุตรทเ่ี กิดจากบิดามารดาท่ีจดทะเบียนสมรสกัน > บตุ รนอกกฎหมาย : บตุ รที่เกิดจากบิดามารดาทไ่ี มไ่ ดจ้ ดทะเบยี นสมรสกนั > บตุ รบุญธรรม : กฎหมายกำหนดใหผ้ ้ทู ่ีจะรบั บุตรบุญธรรมตอ้ งมอี ายุไม่ต่ำกว่า 25 ปี และต้องมีอายมุ ากกว่าผู้ท่จี ะเป็นบตุ รบญุ ธรรม 15 ปีขนึ้ ไป จึงจะมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย 5. มรดก : ทรพั ยส์ นิ ทกุ ชนดิ ของผตู้ าย ตลอดทงั้ สทิ ธิ หน้าที่ และความรับผดิ ตา่ งๆ เว้นแต่กฎหมายหรือโดย สภาพแลว้ เปน็ การเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้ ซึ่งมรดกจะตกเป็นของทายาท # ทายาทไม่ตอ้ งรบั ผิดชอบชำระหนเี้ กนิ กวา่ ทรัพย์มรดกท่ีตกได้แก่ตน เชน่ รบั มรดกจากเจา้ มรดกมา 1,000,000 บาท เจ้าของมรดกตายและ มีหน้ีอยู่ 1,200,000 บาท ทายาทก็ชำระหนีไ้ ม่เกิน 1,000,000 บาท แต่ถา้ เป็นหนนี้ อกระบบในทางปฏบิ ตั ชิ วี ิตจรงิ กต็ อ้ งรบั ผดิ ชอบใชใ้ ห้หมดอยูด่ ีเพราะ เจ้าหนี้ก็ตอ้ งมาตาม 6. พนิ ยั กรรม : กำหนดการเผ่ือตายในเรื่องทรัพย์สิน หรือการต่างๆ เมอื่ ได้ตายลง บุคคลจะทำพินยั กรรมได้ เมือ่ มอี ายคุ รบ 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เป็นบุคคลท่ศี าลสั่งให้เป็นคนไร้ความสารถ มฉิ ะน้นั พนิ ยั กรรมน้นั จะตกเป็นโมฆะ 7. ทายาท 1. ทายาทโดยธรรม มี 6 ลำดบั ชั้น 1. ผู้สืบสันดาน (สายเลอื ด) = ลกู ของเจ้ามรดก : กรณลี ูกเสยี ชีวิตกอ่ นเจ้าของมรดก หลานจะเขา้ รบั มรดกแทน 2. บดิ า มารดา : จะได้รบั มรดกเสมอ และไม่ถูกตัดโดยทายาทลำดบั กอ่ นหน้า 3. พ่ีน้องรว่ มบดิ ามารดา 4. พ่ีน้องรว่ มเฉพาะบดิ าหรอื มารดา 5. ปู่ ยา่ ตา ยาย หากมีทายาทลำดบั ก่อนหน้ารบั มรดกไป กจ็ ะไมม่ ีสิทธไ์ิ ด้รับ 6. ลงุ ป้า นา้ อา 2. ทายาทโดยพนิ ยั กรรม : ทายาทที่จะได้รับมรดกตามท่ีได้แบง่ สันปันสว่ นในพนิ ยั กรรม 6. กฎหมายเกี่ยวกับตวั บคุ คล > การแจง้ เกิด ต้องแจ้งภายใน 15 วัน ถา้ ไม่ทราบวนั เดือน ปเี กดิ ให้ถือเอาวนั ที่ 1 มกราคม ของปนี น้ั เปน็ ปีเกิด > การแจง้ ตาย ต้องแจ้งภายใน 24 ชั่วโมง

19 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ 1. ความรู้เบือ้ งตน้ เก่ยี วกบั เศรษฐศาสตร์ 1. บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ คือ Adam Smith เจา้ ของผลงาน “The Wealth of Nations” เจ้าของแนวคดิ ตลาดเสรี กลไกราคา ทฤษฎคี วามไดเ้ ปรยี บโดยสมบรู ณ์ (Absolute Advantage) การแบง่ งานกันทำ 2. เศรษฐศาสตร์ คอื วิชาที่วา่ ดว้ ยการจัดสรรทรพั ยากรท่มี ีอยอู่ ยา่ งจำกัดให้เกดิ ประโยชนส์ งู ที่สุด 3. ปญั หาหลักของวชิ าเศรษฐศาสตร์ คอื ความขาดแคลน อันเกดิ จากการที่ทรพั ยากรมีจำกัด แตค่ วามตอ้ งการของ มนษุ ยม์ ีไม่สน้ิ สดุ 4. ความขาดแคลน กอ่ ใหเ้ กิดเป็นปัญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ 3 ปัญหา 1. ผลิตอะไร (what to produce) 2. ผลติ อย่างไร (how to produce) 3. ผลติ เพื่อใคร (produce for whom) 5. ต้นทุนค่าเสยี โอกาส : มลู ค่าสงู สดุ ของงานทไ่ี มไ่ ดเ้ ลอื กทำ 6. สาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์ มี 2 สาขา 1. จลุ ภาค (micro economics) : ทฤษฎีราคา เชน่ รายไดข้ องบริษัทซีพี 2. มหภาค (macro economics) : ทฤษฎรี ายได้ เชน่ รายไดป้ ระชาชาติ เงินเฟ้อ เงนิ ฝืด อัตราการว่างงาน 2. กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ 1. การผลิต คอื การบวนการในการแปลงสภาพปัจจยั การผลิตต่างๆ ใหเ้ ป็นสนิ ค้าและบรกิ ารท่มี นุษยต์ อ้ งการ # ข้ันตอนการผลิต > ปฐมภมู ิ ปลูกทไี่ ร่ ออกไปหาปลา > ทตุ ิยภมู ิ แปรรปู ทีโ่ รงงาน > ตติยภมู ิ บรกิ ารหลังการขาย ขนสง่ ขายปลีก การบริการขนสง่ บรกิ ารทางการแพทย์ # ปจั จยั การผลิต > ท่ดี นิ (ไมร่ วมส่ิงทีอ่ ยเู่ หนอื นา่ นฟ้า) (ไม่รวมสิ่งปลกู สร้างโดยมนุษยท์ ่ตี ิดกบั ท่ดี นิ ) > แรงงาน > ทนุ > ผู้ประกอบการ *สำคัญทีส่ ุด เพราะตอ้ งแบกรบั ความเสย่ี งและปัจจยั การผลติ สู่กระบวนการผลติ 2. การบริโภค คอื การท่มี นุษย์ใชส้ ินค้าและบรกิ ารบำบดั ความตอ้ งการของตนเองหรือครวั เรือน มี 3 ดา้ น คอื การบริโภคเพอื่ รา่ งกายโดยตรง = บริโภค การบรโิ ภคเพือ่ ใช้สอย = อุปโภค การบรโิ ภคเพื่อความสุขทางจิตใจ = เสพ 3. การแลกเปลยี่ น > ยคุ แรก : Barter System (ของแลกของ) > ยุคปจั จุบนั : Money and Credit System 4. การกระจาย > การกระจายผลผลติ คือ การแจกจ่ายสนิ ค้าและบรกิ ารใหถ้ ึงมือผูบ้ ริโภค > การกระจายรายได้ คอื การปนั รายได้ใหเ้ จ้าของปัจจยั การผลิต 3. หน่วยเศรษฐกิจ 1. หนว่ ยครัวเรอื น ทำหนา้ ท่ีบริโภค และเปน็ เจา้ ของปจั จัยการผลติ มเี ปา้ หมายสูงสุดคือ ความพงึ พอใจสงู สดุ 2. หน่วยธรุ กิจ ทำหนา้ ที่ผลิตสินค้าและบริการ มีเปา้ หมายสูงสดุ คอื กำไรสูงสดุ 3. หน่วยรัฐบาล ทำหน้าที่ควบคุมดแู ลระบบเศรษฐกจิ มีเปา้ หมายสงู สดุ คือ เศรษฐกจิ ดี GDPเพม่ิ

20 4. ระบบเศรษฐกิจ 1. ทนุ นยิ ม (capitalism) ซึ่งอาจเรียกวา่ ระบบเสรีนยิ ม หรอื ระบบตลาด ลกั ษณะเด่น > เอกชนมสี ทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ที่หามาไดต้ ามกฎหมาย > เอกชนมีเสรใี นกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ > เน้นกลไกราคา > รฐั ไม่แทรกแซงตลาดปัจจยั การผลิต แตจ่ ะมีบทบาทจำกัดเฉพาะดา้ นบริการสงั คม ข้อดี > เอกชนมีเสรีภาพในการตัดสนิ ใจ > มีกำไรและกรรมสิทธ์ิในทรพั ยส์ นิ เป็นแรงจงู ใจ จึงมีการคดิ ค้นสง่ิ ใหม่ มีการพฒั นาตลอดเวลา ข้อเสยี > ก่อใหเ้ กิดความเหลือ่ มลำ้ > ไม่เหมาะกับสินคา้ และบริการสาธารณะทีต่ ้องลงทุนมาก เอกชนไม่กล้าเสย่ี ง รัฐต้องลงทุนเอง > มีการใช้ทรพั ยากรการผลติ อย่างสิน้ เปลือง 2. สงั คมนิยม (socialism) ลกั ษณะเด่น > รัฐเป็นเจ้าของกรรมสทิ ธ์ิ เป็นเจ้าของปจั จยั การผลิต > มกี ารวางแผนจากส่วนกลาง > เน้นการกระจายรายได้อย่างเปน็ ธรรม ข้อดี > ลดความเหลอื่ มลำ้ > มีความง่ายและคลอ่ งตัวเพราะรัฐวางแผนจากสว่ นกลาง ข้อเสยี > คนขาดแรงจูงใจในการทำงาน > การพฒั นาการผลิตเกดิ ขนึ้ ยากเพราะขาดการแขง่ ขัน > การใช้ทรัพยากรการผลติ ไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ 3. แบบผสม (mixed economy) ลกั ษณะเดน่ > มที ้ังบทบาทของรัฐและเอกชน > เอกชนมีสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน > รฐั ดำเนนิ กจิ การท่สี ่งผลกระทบตอ่ คนสว่ นรวม เชน่ สาธารณปู โภค และอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ทีต่ ้องลงทุนมาก > ใชท้ ้งั กลไกราคา และการชนี้ ำจากภาครฐั > บทบาทของรฐั และเอกชนสามารถปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม ข้อดี > ระบบเศรษฐกิจมีความคลอ่ งตัว > ปรับเปล่ียนได้ตามสถานการณ์ทางเศรษฐกจิ ข้อเสีย > อาจก่อใหเ้ กิดความเหลอื่ มลำ้ เหมอื นทุนนิยม > รฐั สามารถแทรกแซงกลไกตลาดได้ อาจทำใหเ้ กดิ การทจุ รติ > เอกชนไม่กลา้ ลงทนุ เพราะนโยบายรฐั บาลมีความผนั ผวน 5. กลไกราคา / กลไกลตลาด / มอื ท่มี องไมเ่ หน็ Invisible Hands กลไกราคา กลไกตลาด มอื ที่มองไม่เหน็ กค็ ือ อปุ สงค์ อปุ ทาน ท่ีทำใหร้ าคาสินค้าและบริการปรบั ตวั ขึน้ ลง 1. อปุ สงค์ (demand) : ปริมาณสินค้าและบรกิ ารชนดิ ใดชนดิ หนึ่งทผ่ี ู้บรโิ ภคตดั สนิ ใจซอ้ื และมอี ำนาจซ้อื ณ ราคา ตา่ งๆ ในชว่ งเวลาใดเวลาหน่ึง > องคป์ ระกอบของอุปสงค์ 3 ปัจจยั ได้แก่ ความตอ้ งการ ความเตม็ ใจ และความสามารถที่จะซอ้ื > กฎของอปุ สงค์ : ของราคาสูง อปุ สงค์ลดลง / ของราคาถกู อุปสงค์เพ่ิมขึ้น > ปจั จยั กำหนดอุปสงค์ที่สำคญั 1. ราคาสินค้า 2. รายได้ของผบู้ รโิ ภค 3. ราคาสินคา้ ชนดิ อนื่ ที่เกยี่ วขอ้ ง / ราคาสนิ ค้าที่ใชท้ ดแทนกนั , ราคาสินค้าทใ่ี ชป้ ระกอบกนั 4. รสนิยมของผบู้ ริโภค คอื ความชอบสว่ นบคุ คล 5. สมยั นยิ ม เช่น การนิยมโทรศัพทม์ ือถอื รนุ่ ใหมๆ่ 6. เทศกาลสำคัญ เชน่ สงกรานต์ ตรษุ จนี

21 7. ฤดูกาล เช่น เส้ือกันหนาวขายดีในหน้าหนาว รม่ ขายดใี นหน้าฝน 8. โครงสรา้ งกลุ่มประชากร เช่น ถา้ มีเดก็ แรกเกดิ เพิม่ ขึน้ อุปสงค์ตอ่ สินคา้ เดก็ กจ็ ะเพ่ิมขนึ้ 9. การโฆษณา 10. การคาดคะเนราคา เชน่ หากคาดวา่ ราคาสนิ คา้ จะเพ่มิ ขึน้ คนจะรีบตุนสนิ คา้ อุปสงคจ์ ึงเพิ่มข้นึ 2. อุปทาน (supply) : ปริมาณสนิ ค้าและบรกิ ารชนิดใดชนดิ หน่ึงทผ่ี ู้ขายหรอื ผผู้ ลิตต้องการขาย ณ ราคาตา่ งๆ ใน ชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ > กฎของอุปทาน : ของแพง อุปทานเพิ่ม / ของถกู อปุ ทานลดลง > ปัจจยั กำหนดอปุ ทาน 1. ราคาสนิ คา้ 2. ราคาปจั จัยการผลติ 3. เทคโนโลยกี ารผลติ # อุปสงคส์ ่วนเกิน : ความตอ้ งการในการซอ้ื มากกวา่ ความตอ้ งการในการขาย สง่ ผลใหส้ ินคา้ ขาดตลาด ราคาสนิ ค้าแพงขนึ้ เมอ่ื สนิ คา้ แพงข้นึ ผผู้ ลิตอยากได้กำไรจากการขาย จงึ ผลติ สนิ คา้ เพ่มิ ขึน้ # อปุ ทานส่วนเกนิ : ความต้องการในการขาย เกนิ ความต้องการในการซอื้ ส่งผลใหส้ นิ คา้ ล้นตลาด ราคาสินคา้ ลดลง เมอ่ื เปน็ ดงั นัน้ ผ้ผู ลิตจงึ ลดการผลิต เพราะผลติ แล้วไมไ่ ดก้ ำไร อุปสงคส์ ว่ นเกิน และ อปุ ทานสว่ นเกิน = 0 จะเกิดสภาวะดลุ ยภาพ(ราคาและปริมาณ) 6. เศรษฐกิจพอเพยี ง (sufficiency economy) 7. เกษตรทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดำริ

22 8. ตวั ชว้ี ดั การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ 1) ผลติ ภัณฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) มูลคา่ ในราคาตลาดของสินคา้ และบรกิ ารขนั้ สุดท้ายทั้งหมดที่ผลติ ภายในประเทศ ในเวลา 1 ปี 2) ผลิตภัณฑม์ วลรวมประชาชาติ (GNP) มลู คา่ ในราคาตลาดของสินค้าและบรกิ ารขนั้ สุดท้ายทั้งหมดทีผ่ ลิตด้วยทรพั ยากรของประเทศ ในเวลา 1 ปี 3) รายได้ต่อคน โดยนำ GDP หรือ GNP มาหารดว้ ยจำนวนประชากร เพือ่ ใชเ้ ปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ 9. การเงนิ 1. เงิน : ส่ิงทส่ี งั คมให้การยอมรบั วา่ มคี า่ ตกลงรว่ มกนั เพื่อใชว้ ัดมลู ค่าและชำระหน้ไี ด้ตามกฎหมาย 2. หนา้ ที่ของเงิน : > เป็นสอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ น > เป็นมาตรฐานในการเทียบค่า > เปน็ หน่วยรกั ษามูลคา่ > เปน็ มาตรฐานในการชำระหน้ีในภายภาคหนา้ > เปน็ หน่วยในการลงบัญชี 3. เงินเฟอ้ (inflation) : ภาวะท่รี ะดบั ราคาสินค้าทัว่ ไปสูงขึ้นเรอื่ ยๆ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ประเภท > เงินเฟอ้ อยา่ งออ่ น (ตตี อ่ ระบบเศรษฐกิจ) คือ ไม่เกิน 5% ตอ่ ปี > เงนิ เฟ้อปานกลาง 5-10% ตอ่ ปี > เงินเฟอ้ อยา่ งรนุ แรง มากกวา่ 20% ตอ่ ปี สาเหตขุ องเงินเฟอ้ ดา้ นอุปสงค์ : ความต้องการต่อสนิ คา้ และบริการมวลรวมเพ่มิ สูงข้นึ จนเกนิ กว่าอุปทานมวลรวมจะ สนองไดท้ ัน ทำให้ราคาสินคา้ เพิ่มสงู ขน้ึ การที่ประชาชนมีอปุ สงค์เยอะอาจเกดิ จาก ประเทศมีดลุ การชำระเงนิ เกนิ ดุล ประชาชนไดเ้ งินมางา่ ย เศรษฐกจิ เติบโตมากเกนิ ไป ด้านอุปทาน : ของแพงเพราะตน้ ทุนการผลติ สูงขนึ้ เช่นราคานำ้ มนั ค่าจ้งแรงงานที่สูงขนึ้ ผลของเงินเฟอ้ ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ 1) ผลต่อความต้องการถอื เงนิ 2) ผลตอ่ การกระจายรายได้ 3) ผลกระทบต่อรฐั บาล 4) ผลต่อเศรษฐกิจและสังคม 5) ผลตอ่ ดุลการค้าของประเทศ การแกไ้ ขเงินเฟ้อ 1) ด้านอุปสงค์ : ใชน้ โยบายการคลงั และนโยบายการเงิน นโยบายการเงนิ (แบบเขม้ งวด) ทำอยา่ งไรกไ็ ด้ให้คนออมมากขึ้น - เพิ่มอัตราดอกเบยี้ เงินก้แู ละเงนิ ฝาก - เพมิ่ เงินสำรองตามกฎหมาย - ลดการปล่อยสินเชื่อ - ขายตราสารหน้ี นโยบายการคลัง (แบบหดตวั ) - พยายามลดการใช้จ่ายภาครฐั - เพิ่มอัตราภาษี - ใช้งบประมาณแบบเกนิ ดุล (รับ มากกวา่ จ่าย) - ขายพันธบตั รรัฐบาล 2) ด้านอุปทาน : ใชน้ โยบายแกไ้ ขใหต้ รงสาเหตุ เชน่ หากเกดิ วิกฤตพลังงาน ก็ใช้นโยบายประหยดั หากเกิดจากการกกั ตุนสนิ คา้ กอ็ อกนโยบายหา้ ม หรอื อาจจะออกนโยบายควบคมุ ราคาสนิ ค้าโดยตรง 4. เงินฝืด (deflation) : ภาวะทีร่ ะดบั ราคาสนิ คา้ และบรกิ ารลดลงเร่อื ยๆ จากการทป่ี ระชาชนและรัฐบาลมีอำนาจการซ้ือ น้อยกว่าจำนวนสนิ คา้ และบรกิ ารท่ถี กู ผลิตขน้ึ ในนณะนน้ั (อุปทานมวลรวม > อปุ สงคม์ วลรวม) ทำใหห้ น่วยธุรกิจลดการผลิต ลดการลงทนุ เกดิ การว่างงาน #สาเหตุและผลทุกอย่างตรงขา้ มกับเงนิ เฟ้อ

23 5. ค่าเงนิ บาท 1. ค่าเงินบาทอ่อนตัว = 1 $ แลกเงินบาทไดม้ ากขึ้น 2. ค่าเงินบาทแข็งตวั = 1 $ แลกเงินบาทไดน้ ้อยลง 10. การคลงั สาธารณะ การคลงั สาธารณะมีขอบเขต 4 เรอ่ื ง ได้แก่ 1. รายรบั ของรฐั บาล 2. รายจา่ ยของรฐั บาล 3. การกอ่ หนี้สาธารณะ 4. งบประมาณแผ่นดนิ รายรบั ของรฐั บาล มาจาก 1. ภาษี > ทางตรง = นติ บิ คุ คล บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินไดป้ โิ ตรเลยี ม > ทางอ้อม = VAT สรรพสามิต ศลุ กากร 2. รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ 3. รฐั พาณชิ ย์ 3. อน่ื ๆ 11. ธนาคารและสถาบันการเงิน 1. ธนาคาร > ธนาคารกลาง = ผลิตธนบตั ร เปน็ นายธนาคารของทกุ ธนาคาร จัดทำนโยบายการเงิน > ธนาคารพาณิชย์ทว่ั ไป = SCB KBANK KTB etc. > ธนาคารวตั ถุประสงค์พเิ ศษ 2. สถาบันการเงิน > ตลาดหลกั ทรัพย์ > บรษิ ทั เงนิ ทนุ > บรษิ เครดิตฟองซเิ อร์ > บริษัทประกันภัย 12. นโยบายการค้า 1. เสรี = ไม่ดำเนินการแบบคมุ้ กนั 2. คมุ้ กัน = ตงั้ กำแพงภาษี / ใหโ้ ควตาพิเศษแก่ประเทศใดประเทศหนงึ่ / ให้เงนิ สนบั สนนุ ผู้ผลติ สินค้าสง่ ออกทีส่ ำคญั 13. ดุลการชำระเงนิ ประกอบดว้ ย รายการท่ีแสดงถึงการรับและการจา่ ยเงนิ ตราตา่ งประเทศ ประกอบด้วย 3 บัญชี 1) บัญชเี ดินสะพดั มี 4 รายการ คือ > ดลุ การค้า > ดุลบรกิ าร > ดุลเงนิ โอน / ดุลบริจาค > ดุลรายได้จากการลงทนุ 2) บัญชที นุ เคล่อื นย้าย > ทางตรง = เอาเงินมาเปดิ บริษัท หรือซอ้ื บริษทั > ทางอ้อม = เอาเงินมาซื้อหุ้น ซือ้ พันธบัตร ซอ้ื ตราสารหน้ี 3) ทนุ สำรองระหวา่ งประเทศ เปน็ รายการสรปุ จากบญั ชีทัง้ สองข้างต้น วา่ ขาดดุลหรอื เกินดลุ รวมกนั แล้วเปน็ อย่างไร

24 สาระที่ 4 ประวตั ศิ าสตร์ 1. ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกับประวตั ิศาสตร์ > ประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นการสบื ค้นเร่ืองราวของมนุษยใ์ นอดีต โดยอาศัยหลักฐาน และมวี ิธีการสบื คน้ ที่เรยี กว่าวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ > การศกึ ษาประวัติศาสตร์มไิ ดจ้ ำกดั แค่เรือ่ งราวในอดีต แต่เปน็ การศกึ ษาอดีตท่ีเชอื่ มโยงมาถึงปัจจบุ ัน และทจ่ี ะนำไปสอู่ นาคต หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ # จำแนกตามความสำคัญของหลกั ฐาน 1. หลกั ฐานชนั้ ตน้ > จัดทำขึน้ โดยผูเ้ กีย่ วขอ้ ง เห็นเหตุการณ์โดยตรง เชน่ ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคำแหง จดหมายเหตวุ ันวลิต พงศาวดารสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา 2. หลักฐานชน้ั รอง > เปน็ หลักฐานทผี่ ู้บันทกึ รับรมู้ าตอ่ อกี ทอดหน่งึ หรือศกึ ษาจากหลกั ฐานชน้ั ตน้ เช่น หนังสอื เรยี นทางประวัติศาสตร์ # จำแนกหลกั ฐานตามลักษณะของหลกั ฐาน 1. หลักฐานทเ่ี ปน็ ลายลักษณอ์ ักษร เชน่ ศลิ าจารกึ ใบลาน 2. หลกั ฐานท่ไี มเ่ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เชน่ เครอ่ื งป้นั ดินเผา กระดกู # เครอ่ื งมอื การหาอายขุ องวตั ถุ 1. เรดิโอคารบ์ อน = หาอายุของซากไม้ กระดูกสตั ว์ ฟนั และกระดูกมนุษย์ 2. เทอรโ์ มลมู ิเนเซนซ์ = หาอายขุ องหินในโบราณสถานหรือโบราณวตั ถุ อายุของเครือ่ งปน้ั ดนิ เผา วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ 1. กำหนดประเดน็ ปัญหาทีจ่ ะศึกษา 2. รวบรวมหลกั ฐานท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3. ประเมินคณุ ค่าหลักฐาน (วพิ ากษ์หลักฐาน) 4. ตีความ และวิเคราะห์ 5. สงั เคราะห์ขอ้ มลู สรุปเป็นองค์ความรใู้ หม่ เทียบศกั ราช ค.ศ. + 543 = พ.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. ม.ศ. + 621 = พ.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. ศักราชทีพ่ บในประวัติศาสตร์ไทย พทุ ธศักราช : ใชเ้ ทยี บกบั ศกั ราชอื่นๆ เรมิ่ นบั พ.ศ. 1 เมอ่ื พระพทุ ธเจา้ ปรนิ พิ พานครบ 1 ปี # ยกเว้นพมา่ และศรีลังกา นบั 1 ตั้งแต่วันที่พระพุทธเจา้ ปรนิ พิ พาน มหาศักราช : ใช้ในสมัยสโุ ขทัย ไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากขอม จุลศกั ราช : ใชใ้ นสมัยอยุธยา จนถงึ รัชกาลท่ี 5 ได้รบั อิทธพิ ลมาจากพม่า รตั นโกสินทร์ศก : เรมิ่ ใชใ้ นรัชกาลที่ 5 โดยเรม่ิ นบั ร.ศ. 1 เม่อื สถาปนากรุงเทพมหานครเปน็ ราชธานี ศกั ราชท่พี บในประวตั ศิ าสตร์สากล คริสตศ์ กั ราช : หรือ A.D. เริม่ นับ ค.ศ. 1 ต้ังแตพ่ ระเยซปู ระสตู ิ และถ้ากอ่ นครสิ ตศักราชใช้ B.C. ฮจิ เราะหศ์ กั ราช : เรมิ่ นบั ฮ.ศ. 1 ต้งั แต่นบมี ูฮัมหมัดอพยพจากเมอื งเมกกะไปยงั เมอื งเมดินา

25 2. ประวตั ศิ าสตร์ไทย #ด้านสงั คมวัฒนธรรม 1. สังคมไทยเปน็ สงั คมในระบบศักดนิ า คอื มีการแบ่งชนช้นั โดยใชศ้ กั ดินาเป็นตัวบอกชนชน้ั แบ่งเป็น 2 ชนช้ันสำคัญ 1. ชนชั้นปกครอง หรือ ชนชั้นเจา้ ขนุ มูลนาย ประกอบดว้ ย 1. กษัตรยิ ์ : เปน็ “เจา้ แผน่ ดิน“ มศี กั ดินาสงู สุด ไมจ่ ำกดั จำนวนไร่ 2. เจา้ นาย หรอื พระบรมวงศานุวงศ์ : ถือศกั ดนิ า 500 - 100,000 ไร่ 3. ขุนนาง : ถอื ศักดนิ า 400 - 10,000 ไร่ 4. พระสงฆ์ : เสมอนา 100 - 2,400 ไร่ 2. ชนชั้นใตป้ กครอง ประกอบด้วย 1. ไพร่ : ถือศักดนิ า 10 - 25 ไร่ 2. ทาส : ถือศักดนิ า 5 ไร่ 2. ระบบมูลนาย - ไพร่ : เปน็ การจัดระเบียบสังคมในสมัยโบราณ 1. มลู นาย : ชนชัน้ ปกครอง (ทส่ี ำคัญคือกลุ่มเจา้ นายและกลุม่ ขุนนาง) > มูลนายมีหนา้ ที่ควบคุมดูแลไพร่ในสงั กดั และใชป้ ระโยชน์จากแรงงานไพรใ่ นสังกัดได้ > มูลนายและลูกหลานมอี ภิสิทธิไ์ ม่ตอ้ งถกู เกณฑ์แรงงาน 2. ไพร่ : ราษฎรทว่ั ไปท้งั ชายหญิง เป็นชนช้นั ที่มีความสำคญั ที่สดุ มีปริมาณท่สี ดุ ในบรรดาชนช้นั ทง้ั หลาย > ไพรต่ อ้ งมีมูลนายสงั กดั > ไพร่ตอ้ งถกู เกณฑ์แรงงาน(หรอื เขา้ เวรรับราชการ) เพ่ือคอยทำงานรบั ใช้มูลนาย > ไพรท่ ไี่ มม่ มี ลู นายสังกัดจะไมไ่ ด้รับความคมุ้ ครองทางกฎหมาย * ระบบมูลนาย-ไพร่ ทำให้เกิดระบบอุปถัมภต์ ามมา * 3. สังคมไทยสมัยใหม่ # หลัง ร.4 ทำสัญญาบาวริง มีการเปลยี่ นทางสงั คมวฒั นธรรม 1. ใหร้ าษฎรเข้าเฝ้าในเวลาเสดจ็ พระราชดำเนนิ และถวายฎีกาได้ 2. ให้ชาวตา่ งประเทศยืนเขา้ เฝ้าไดแ้ ละให้ขุนนางไทยสวมเสอื้ เขา้ เฝา้ 3. ใหเ้ สรีภาพในการนับถือศาสนา 4. ให้สทิ ธิสตรีในการเลือกคูค่ รอง 5. ใหส้ ิทธสิ ตรีและเดก็ ในการขายตนเองเป็นทาส # การปฏิรูปสังคมวฒั นธรรมสมัย ร.5 1. ร.5 ทรงยกเลกิ ระบบมูลนาย-ไพร่ ยกเลกิ การเกณฑแ์ รงงานจากไพร่ เปล่ียนไพรใ่ ห้กลายเป็นเสรี ชน(ชาวนา ชาวไร่ กรรมกร) ทำให้เกิดเสรภี าพในการประกอบอาชีพและในการเคลือ่ นยา้ ยทอี่ ยู่ ของไพร่ ขน้ึ เป็นครัง้ แรก * นบั เปน็ พระราชกรณีกิจท่สี ำคัญที่สดุ ของ ร.๕ * 2. เลิกทาส เปล่ยี นทาสใหก้ ลายเป็นไพร่ 3. ปฏิรูปการศกึ ษา โดยตงั้ โรงเรยี นในแบบตะวันตกข้ึนมา เช่น โรงเรยี นหลวงสอนภาษาไทย , โรงเรียนพระตำหนกั สวนกุหลาบ , โรงเรยี นแผนท่ี , โรงเรยี นนายรอ้ ยทหารบก , โรงเรียนกฎหมาย ,โรงเรียนมหาดเล็ก , โรงเรียนวัดมหรรณพาราม (โรงเรียนหลวง สำหรบั ราษฎรแหง่ แรก) ฯลฯ 4. เปล่ียนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ยกเลกิ ประเพณีหมอบคลานใหย้ ืนเข้าเฝ้าแทน , ปรบั ปรุงการแตง่ กายตามแบบตะวนั ตก # หลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 1. ราษฎรเกดิ ความเสมอภาคเทา่ เทียมกัน 2. เกดิ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ 3. การศึกษาขยายตัวอย่างกว้างขวาง กำเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ มหิดล ศลิ ปากร เชยี งใหม่ ขอนแก่น สงขลานครินทร์ 4. เกิดแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

26 # ด้านการเมืองการปกครอง 1. รูปแบบการเมอื งการปกครองของไทยแต่โบราณเป็นระบอบราชาธปิ ไตย 2. อาณาจกั รสุโขทยั : ราชาธิปไตย ฐานะกษตั รยิ ร์ ะยะแรกเป็นพอ่ ปกครองลูก ระยะหลังเป็นธรรมราชา 3. อาณาจักรอยุธยา : ราชาธปิ ไตย ฐานะกษัตริย์เป็นเทวราชา+ธรรมราชา(แตเ่ ป็นเทวราชามากกวา่ ) 4. การปฏริ ปู การปกครองครั้งใหญ่สมัยพระบรมไตรโลกนาถ 4.1 สว่ นกลาง 1.ฝา่ ยทหาร มสี มหุ กลาโหมเปน็ อคั รมหาเสนาบดี 2.ฝ่ายพลเรือน (+จตุสดมภ)์ มสี มุหนายกเปน็ อัครมหาเสนาบดี 4.2 ส่วนภูมภิ าค 1.ยกเลกิ หัวเมืองลกู หลวง เปลยี่ นเปน็ หวั เมอื งชั้นใน มี “ผรู้ ัง้ ” เปน็ เจา้ เมอื ง 2.หวั เมอื งพระยามหานคร มีเจ้านายหรือขนุ นางเปน็ เจ้าเมือง 3.หวั เมืองประเทศราช มีกษตั รยิ ์ท้องถิน่ ปกครองกันเอง * ผล : เกิดการรวมอำนาจเข้าสู่สว่ นกลาง * 5. สมัยพระเพทราชา ปรบั ปรุงใหม่ 1. ใหส้ มุหกลาโหมดูแลหัวเมืองฝา่ ยใต้ 2. ใหส้ มุหนายกดแู ลหัวเมอื งฝ่ายเหนอื 6. อาณาจกั รรตั นโกสินทร์ : ราชาธปิ ไตย ฐานะกษัตริย์เป็นธรรมราชา + เทวราชา (เปน็ ธรรมราชามากกว่า) 6.1 สมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น (ร.1 – ร.4) มตี ำแหน่งอคั รมหาเสนาบดี 3 ตำแหนง่ 1. สมหุ กลาโหมดูแลหวั เมอื งฝ่ายใต้ 2. สมหุ นายกดแู ลหวั เมอื งฝา่ ยเหนอื 3. เสนาบดกี รมคลัง (หรอื กรมท่า)ดูแลหวั เมืองชายฝ่งั ทะเลตะวนั ออก 6.2 การปฏริ ปู การปกครองคร้ังใหญ่สมัย ร.5 1. สว่ นกลาง > ยกเลกิ การบริหารราชการแบบกรม (ยกเลิกตำแหนง่ สมุหกลาโหม สมุหนายก และเสนาบดจี ตุสดมภ์) > ต้งั “ระบบกระทรวง” 2. สว่ นภูมิภาค > ยกเลิกหัวเมืองชนั้ ใน หัวเมอื งพระยามหานคร หัวเมืองประเทศราช > ต้ัง “ระบบเทศาภบิ าล” 3. สว่ นท้องถิน่ > ริเรม่ิ การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน > ต้ัง “สขุ าภิบาล” * ข้อสอบออกบอ่ ย : > ผลการปฏิรูป เกดิ การรวมอำนาจเขา้ ส่สู ่วนกลาง > และเกิดเอกภาพในการบริหารราชการแผน่ ดินอยา่ งแทจ้ รงิ * ยคุ ประชาธิปไตย 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 คณะราษฎรทำการอภิวฒั น์แผน่ ดิน เปลย่ี นแปลงการปกครองจาก สมบรู ณาญาสทิ ธิราชย์ เป็น ประชาธปิ ไตย 1. ส้นิ สุดยคุ ศักดินาในสังคมไทย เร่ิมต้นยุคประชาธปิ ไตย 2. เกดิ ความเสมอภาคเท่าเทยี มกนั 3. หวั หนา้ คณะราษฎร : พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา แกนนำคนสำคญั : พ.อ.พระยาทรงสุรเดช , พ.อ.พระยาฤทธอิ ัคเนย์ , พ.ท.พระประศาสน์ พิทยายทุ ธ์ ,หลวงประดิษฐมนู ธรรม (ปรีดี พนมยงค)์ , หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) , หลวงโกวิทอภยั วงศ์ (ควง อภยั วงศ)์ , หลวงธำรงนาวาสวัสด์ิ (ถวลั ย์ ธารีสวัสด)์ิ , นายทวี บุณยเกตุ ,ร.ท.ประยรู ภมรมนตรี และ ฯลฯ

27 3. ประวตั ิศาสตร์ยโุ รป (อารยธรรมตะวันตก) 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมยี 1. เกา่ แกท่ ่ีสุด ได้รับยกยอ่ งวา่ เป็นอารยธรรมแรกของโลก 2. พบบริเวณที่ราบลุ่มแม่นำ้ ไทกริส – ยเู ฟรตสิ (อริ ักในปจั จุบัน) 3. มนุษย์ในอารยธรรมนี้ มลี ักษณะเด่นคอื มองโลกในแง่ร้าย เพราะสภาพภูมศิ าสตร์ไมเ่ ออ้ื ตอ่ การดำรงชวี ติ (เพราะภมู อิ ากาศแบบกึง่ ทะเลทราย แห้งแล้ง มพี ายรุ นุ แรง) 4. ทำใหม้ นุษย์ในอารยธรรมนเ้ี กรงกลัวเทพเจ้า คิดว่าตนเองเป็นทาสรับใชเ้ ทพเจา้ 5. จงึ สรา้ งเทวสถานใหใ้ หญ่โตนา่ เกรงขาม เพือ่ แสดงถงึ พลังอำนาจท่ยี ิ่งใหญข่ องเทพเจ้า 6. ผลงานโดดเดน่ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี แบง่ ตามชนเผา่ จากเริ่มต้น ชนเผา่ สเุ มเรยี น > การปกครองในรปู แบบนครรฐั > คิดคน้ ระบบชลประทาน > ประดษิ ฐค์ นั ไถด้วยโลหะ > ใชแ้ รงงานสัตว์ในการเพาะปลกู > เกวยี นขนส่งสนิ คา้ > อกั ษรคูนิฟอร์ม (อักษรล่ิม) > เช่ือในเทพเจ้าหลายองค์ > สร้าง “ซิกกแู รต” ด้วยอฐิ ท่ที ำมาจากดนิ เหนียวตากแหง้ เพื่อบูชาเทพเจ้า > มหากาพยก์ ลิ กาเมซ เป็นวรรณกรรมทีเ่ กา่ แกท่ ีส่ ุดของโลก > ความรดู้ า้ นคณติ ศาสตร์ การบวก ลบ คณู เศษส่วน เลขฐาน 60 (60 120 180) > ปฏิทนิ ระบบจันทรคติ > มาตราชั่ง ตวง วดั ชนเผา่ อะมอไรต์ (อาณาจักรบาบโิ ลเนีย) > ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบี : ประมวลกฎหมายลายลักษณอ์ ักษรฉบบั แรกของโลก ชนเผ่าอสั ซเี รยี น > ใช้เหล็กทำดาบ ธนู หอกยาว โล่ เกราะ > ห้องสมุดของพระเจ้าอสั ซรู ์นปิ าล > ภาพปฏิมากรรมนูนตำ่ ชนเผา่ คาลเดียน (นวิ บาบโิ ลเนียน) > สวนลอยแหง่ กรงุ บาบโิ ลน > ความร้ดู า้ นดาราศาสตร์ พยากรณส์ รุ ยิ ุปราคา คำนวณเวลาการโคจรของดวงอาทิตย์ > มีการแบง่ สัปดาหอ์ อกเปน็ 7 วัน > นำความรทู้ างดาราศาสตรม์ าทำนายโชคชะตา 2. อารยธรรมอยี ิปต์ 1. พบบริเวณทรี่ าบล่มุ แม่น้ำไนล์ 2. มีความม่ันคงและเขม้ แขง็ กวา่ เมโสโปเตเมยี 3. ชาวอียิปต์มองโลกในแง่ดี เพราะพ้นื ทีอ่ ุดมสมบรู ณก์ ว่า 4. ไมค่ ิดวา่ ตนเองเป็นทาสของเทพเจ้า แต่กลบั ยกยอ่ งเทพเจา้ ว่ามีความเมตตา 5. เช่ือในชีวิตหลังความตาย และการฟื้นคืนชีพ 6. ผลงานโดดเดน่ > อักษรเฮียโรกลฟิ กิ เพือ่ บันทึกความดีของผตู้ าย นำไปแสดงตอ่ เทพโอซริ สิ เรียกว่า “บนั ทึกผู้วายชนม”์ “คมั ภรี แ์ หง่ ความตาย” หรอื “คมั ภีร์มรณะ” (Book of the Dead) > จารกึ โรเซตตา เพื่อสรรเสริญพระเจา้ โตเลมที ี่ 5 > ดา้ นวิศวกรรม มีการสรา้ งพีระมดิ โดยใช้เครือ่ งทุ่นแรง เชน่ ลอ้ เล่ือน ลกู รอก > ดา้ นหน้าพีระมิดมี “สฟิงซ์” ทำจากหนิ ตัวเปน็ สิงโต หน้าเปน็ คน > ความเจรญิ ด้านคณิตศาสตร์ บวก ลบ หาร และ หาปรมิ าตรของพรี ะมดิ > ดา้ นการแพทย์ มีการทำมมั ม่ี ผา่ ตดั มีแพทย์เฉพาะทาง มีการรวบรวมบญั ชียา > ทำปฏิทนิ สรุ ิยคติ แบง่ ปีออกเปน็ 365 วัน > ทำนาฬิกาแดด > ทำกระดาษจากต้นปาปิรสุ

28 3. อารยธรรมกรีก 1. รบั อิทธิพลจาก เมโสโปเตเมยี อียิปต์ และอารยธรรมไมนวน บนเกาะครตี 2. ผลงานโดดเด่น 2.1 แนวคิดมนษุ ยนยิ ม 2.2 แนวคดิ ประชาธปิ ไตย 2.4 แนวคิดธรรมชาตนิ ยิ ม 3. ชาวกรกี ไดร้ ับยกย่องวา่ เป็น นักคิด นกั ทฤษฏี 4. ผลงานอ่ืนๆ เชน่ > การปกครองแบบนครรัฐ > ใหก้ ำเนิดวชิ าประวตั ศิ าสตร์ โดย เฮโรโดตสั (Herodotus) > เกดิ กฬี าโอลิมปิก เพื่อฉลองเทพเจ้าซูส (Zeus) เจา้ แห่งเทพท้งั ปวง > กำเนดิ การละคร เลน่ ถวายเทพไดโอนิซัส (Dionysus) เทพเจา้ แห่งเหลา้ องนุ่ และความอดุ มสมบรู ณ์ > มีนกั ปราชญ์ท่สี ำคญั เช่น โซเครตสิ เพลโต อรสิ โตเติล > ปทิ าโกรัส คดิ ทฤษฎีบทปิทาโกรัส > อารค์ มิ ดี สิ ตั้งกฎคานดีดคานงดั หาปรมิ าตรของวัตถุโดยการแทนที่นำ้ > ยูคลิด : บดิ าวิชาเรขาคณิต > ฮปิ โปกราเตส : บดิ าแห่งวชิ าแพทยศาสตร์ > สถาปตั ยกรรมสำคัญ ได้แก่ วิหารหินออ่ น เชน่ วหิ ารพารเ์ ธนอน > นยิ มสร้างวหิ ารบนภเู ขาเลก็ ๆ เรียกวา่ “อะครอโพลิส” (Acropolis) > ศิลปะเน้นความออ่ นชอ้ ยสวยงาม > ประติมากรรมเป็นแบบธรรมชาตินิยม > คิดค้นเทคนคิ การวาดภาพแบบ “โมเสก” คอื ใชห้ ินหรือกระเบือ้ งสีมาประดับภาพฝาผนงั 4. อารยธรรมโรมัน 1. รับถา่ ยทอดอารยธรรมมาจากกรีก 2. ชาวกรกี เปน็ นกั คดิ ชาวโรมนั เปน็ นกั ปฎิบัติ 3. ชาวกรกี เนน้ ปัจเจกบคุ คล บชู าเหตผุ ล รกั เสรีภาพ แตช่ าวโรมันเน้นใหม้ นษุ ย์รบั ผิดชอบตอ่ รฐั และเนน้ ระเบยี บวนิ ยั กฎหมายเขม้ งวด 4. ศลิ ปะกรีกเน้นความสวยงามออ่ นชอ้ ย มจี ินตนาการสงู แตศ่ ลิ ปะโรมันเนน้ ประโยชน์ใช้สอย 5. กรกี สรา้ งวหิ ารถวายเทพเจ้า แต่โรมนั สรา้ งวิหารใหม้ นุษยใ์ ชส้ อย 6. อาณาจักรโรมนั ระยะแรกปกครองแบบสาธารณรัฐ 7. ต่อมาจกั รพรรดิออตตาเวียน สถาปนาจกั รวรรดิโรมัน 8. ยคุ นโ้ี รมนั เจรญิ ท่ีสุด แพร่ขยายดนิ แดนไดท้ วั่ ยโุ รป สรา้ งถนนท่วั ท้ังจักรวรรดิ จนได้สมญานาม “ถนนทกุ สายมุ่งสกู่ รงุ โรม” 9. สดุ ท้ายจักรวรรดิโรมนั ตะวนั ตกล่มสลาย เพราะถกู ชาวอารยันบกุ ทำลาย เมอื่ ค.ศ. 476 ทำให้ยโุ รปเข้าสู่ประวตั ิศาสตรส์ มัยกลาง 10. มรดกที่สำคญั ของโรมนั ได้แก่ > ประมวลกฎหมาย 12 โตะ๊ > กฎหมายของจักรพรรดจิ สั ติเนยี น (พฒั นามาจาก กม. 12 โต๊ะ กลายเปน็ รากฐานของ กม. ในยโุ รป) > รูปแบบการปกครองแบบมณฑล จงั หวัด อำเภอ > ภาษาลาตนิ เป็นพื้นฐานของภาษาอติ าลี ฝร่ังเศส สเปน โปรตุเกส > การสรา้ งสรรคง์ านสถาปัตยกรรมของโรมนั จะเนน้ ประโยชน์ใชส้ อย > มีท่อส่งนำ้ > ท่อระบายน้ำเสยี > ทีอ่ าบนำ้ สาธารณะ > มกี ารผสมคอนกรตี ใชแ้ ทนไมแ้ ละหนิ > สร้างถนนคอนกรตี มีหลักบอกระยะทาง > สรา้ งสะพานขนาดใหญ่ > อฒั จนั ทร์ดกู ีฬา (โคลอสเซยี ม) > การแพทย์ มีการใช้ยาสลบ ผ่าทารกออกจากครรภ์มารดา

29 5. ประวตั ศิ าสตร์ยโุ รปสมยั กลาง (ยคุ มืด : Dark Age) 1. จกั รวรรดิโรมันตะวนั ตกแตกแยกออกเปน็ อาณาจกั รใหญน่ อ้ ย ถูกปกครองโดยชาวอารยนั 2. เกดิ สงครามรบพุ่งกนั วนุ่ วาย ทำใหช้ าวยุโรปต้องหาท่พี ึง่ ทางใจ ซึ่งก็คอื ศาสนาครสิ ต์ 3. เป็นยุคทีช่ าวยโุ รปตกอยใู่ ต้อทิ ธิพลของ 2 ส่งิ คอื 3.1 ศาสนาครสิ ต์ - พระสนั ตปาปา Pope และครสิ ตจกั ร มีอิทธพิ ลครอบงำชาวยโุ รปทกุ ดา้ นตงั้ แต่เกิดจนตาย ทง้ั ทาง ด้านเศรษฐกิจ (ชาวยุโรปตอ้ งเสยี ภาษใี ห้วดั ) ดา้ นการเมือง (พระสนั ตปาปาแตง่ ตงั้ กษัตรยิ ์) และดา้ นสงั คม วัฒนธรรม (วัดเป็นศูนยก์ ลางชมุ ชน การประกอบพธิ กี รรมและศิลปะ) - ศาสนจกั รในยุคน้ีมีรูปแบบเหมือนอาณาจกั รทางโลก 3.2 ลทั ธศิ ักดินาสวามภิ กั ดิ์ Feudalism มีการแบ่งชนชน้ั คนในสงั คมออกเป็น 1. ชนช้ันปกครอง (ชนชัน้ เจ้าที่ดิน Landlord) : กษตั รยิ ์ ขนุ นาง อัศวิน พระสงฆ์ : ชนชนั้ น้จี ะ มที ่ดี ินเป็นของตนเอง มีอาณาจักรเป็นของตนเอง 2. ชนชน้ั ใตป้ กครอง : ราษฎร ชาวไรช่ าวนา ทาสตดิ ทด่ี ิน : ไมม่ ีท่ีดินเปน็ ของตนเอง ตอ้ งคอยรับแบง่ ทดี่ นิ มาจากชนชัน้ ปกครองอีกที ต้องเสยี ภาษีใหช้ นชั้นปกครอง และต้องจงรกั ภักดสี วามภิ ักดิ์ตอ่ ชนชน้ั ปกครอง 4. การเกษตรกรรมในยุคนี้ ขุนนางจะแบง่ ที่ดนิ ใหร้ าษฎร ชาวไรช่ าวนา แตต่ อ้ งส่งคนื ในรูปของผลผลิตหรือภาษี 5. ศิลปะในยคุ น้ี จะไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากศาสนาครสิ ต์ทง้ั สิ้น เช่น 5.1 ศิลปะไบแซนไทน์ : วหิ ารมียอดโดม ซึง่ สามารถรักษาศิลปะแบบกรีกไว้ได้ 5.2 ศิลปะโรมาเนสก์ : เนน้ ความเรียบงา่ ยกว่าไบแซนไทน์ เป็นศิลปะที่รบั ใชศ้ าสนาคริสต์ มกี าร ออกแบบใหซ้ ุ้มประตูหนา้ ตา่ งเปน็ รูปโค้ง Arch โบสถว์ หิ ารจะมีผนังหนาทึบเหมือนป้อมคา่ ยสงคราม เช่น หอเอนเมืองปิซา 5.3 ศลิ ปะโกธิค : รับใชศ้ าสนาคริสต์ มกั จะสรา้ งวหิ ารมียอดแหลม และเน้นงานประดับกระจกสี เชน่ วหิ ารโนตรดาม กรุงปารีส 6. ประวัติศาสตรย์ โุ รปสมัยฟืน้ ฟูศลิ ปวทิ ยาการ (Renaissance) 1. เริม่ ต้นท่ีแหลมอติ าลี เป็นแห่งแรก 2. เปน็ ยคุ ท่ชี าวยโุ รปหนั กลบั ไปฟนื้ ฟูความเจรญิ ของอารยธรรมกรกี โรมัน 3. สาเหตุของการฟน้ื ฟูศลิ ปวทิ ยาการ 3.1 เจ้าเมืองตา่ ง ๆ ในอติ าลรี ่ำรวยจากการค้า ทำให้สนับสนนุ งานด้านศลิ ปวทิ ยาการมาก 3.2 ความเสอ่ื มโทรมของศาสนจักร ทำใหช้ าวยโุ รปเรม่ิ เบอื่ หน่าย 3.3 สงครามครเู สด เปน็ การเปิดหเู ปดิ ตาชาวยุโรปใหเ้ หน็ ศิลปวิทยาการใหม่ ๆ 3.4 การลม่ สลายของจักรวรรดไิ บแซนไทน์ในยุโรปตะวนั ออก ทำให้ศิลปวิทยาการตา่ งๆ ไหลเขา้ สู่ ยโุ รปตะวนั ตก 4. ทฤษฎีสำคญั ทช่ี าวยโุ รปหันไปกลบั ไปฟ้ืนฟู เช่น 4.1 ทฤษฎีมนษุ ยนิยม 4.2 ทฤษฎีประชาธิปไตย 4.3 ทฤษฎธี รรมชาตินิยม 5. ศลิ ปวทิ ยาการในยุคนย้ี ่งิ แพร่ขยายมากยงิ่ ข้ึน เมือ่ โยฮนั เนส กูเตนเบิร์ก ชาวเยอรมันประดษิ ฐแ์ ท่นพมิ พ์ เพราะทำใหพ้ ิมพ์ตำราต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 6. ศลิ ปนิ เดน่ ๆ ในยคุ น้ีเชน่ 1.ลโี อนารโ์ ด ดาร์วนิ ชี 2. ไมเคิลแอนเจโล 3. ราฟาเอล 7. นกั วทิ ยาศาสตร์คนสำคัญ เชน่ 1.โยฮัน กูเตนเบริ ์ก : ประดษิ ฐ์แท่นพิมพ์ 2.ลีโอนารโ์ ด ดารว์ นิ ชี : เป็นทัง้ ศิลปนิ และนักวทิ ยาศาสตร์ 3.นิโคลัส โคเปอรน์ ิคสั : เสนอทฤษฎสี ุรยิ จักรวาล *ผรู้ เิ ริ่มปฏิวต้ ิทางวิทยาศาสตร์

30 7. ประวตั ศิ าสตรย์ โุ รปสมัยใหม่ (สมัยแห่งการคน้ พบ : Age of Discovery) 1. นบั จากเหตุการณ์ ครสิ โตเฟอร์ โคลัมบัส คน้ พบโลกใหม่ 2. เหตุการณส์ ำคญั ในยุคนี้ เช่น 2.1 การเดนิ เรอื ทางทะเลแพรห่ ลายมาก ทำใหก้ ารคา้ ทางทะเลเฟ่อื งฟูตามมา 2.2 เกดิ ลัทธิพาณชิ ยนยิ ม คอื รัฐบาลของประเทศในยโุ รป จะลงทนุ ตั้งบรษิ ัทขึ้นมาเพอื่ แสวงหาผลประโยชนท์ างการคา้ 2.3 เกดิ ชนชนั้ กลางข้ึนมา คอื บรรดาพอ่ ค้า นายทุน นักเดนิ เรือ ข้ึนมาถ่วงดุลกับชนชั้นเจ้าที่ดิน 2.4 การปฏริ ูปศาสนาคริสต์โดยมาร์ตนิ ลูเธอร์ ทำให้เกดิ นกิ ายโปรเตสแตนท์ 2.5 ยุคปฎวิ ัติวทิ ยาศาสตร์ 1. เปน็ ยคุ ทีเ่ ปลย่ี นวิธพี สิ ูจนค์ วามจรงิ ทางวทิ ยาศาสตร์ - จากเดิมเน้นใชก้ ารคดิ วิเคราะห์ตามหลกั ปรัชญาและหลกั ตรรกศาสตร์ - มาเปน็ ของใหม่ เนน้ ใช้ระเบยี บวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ (คอื เน้นทดลอง) 2. นกั วิทยาศาสตร์สำคญั เช่น 1. ฟรานซสิ เบคอน เสนอแนวคดิ วา่ การคน้ หาความจริงทางวทิ ยาศาสตร์ตอ้ งเน้นที่การทดลองหรอื ทดสอบแนว คดิ นตี้ อ่ มาเปน็ รากฐานของการกอ่ ตงั้ “ราชสมาคมแหง่ ลอนดอน Royal Society of London” ซ่งึ เปน็ องค์กรทางวทิ ยาศาสตรแ์ บบใหม่และแนวคดิ ของฟรานซสิ เบคอน น้ี ไดพ้ ฒั นาเปน็ “ระเบียบวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ Scientific Method” 2. กาลิเลโอ กาลเิ ลอิ 1. บิดาแหง่ วิทยาศาสตรส์ มัยใหม่ 2. รเิ ร่ิมการทดลองเพ่อื ตรวจสอบความถูกตอ้ งของทฤษฎี 3. เสนอว่าคณิตศาสตร์ใช้พิสูจนค์ วามจริงทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ 4. สนบั สนุนทฤษฎีสุริยจกั รวาลของโคเปอร์นคิ ัส 5. ประดิษฐ์กลอ้ งโทรทรรศน์ 3. ไอแซค นวิ ตนั 1. คน้ พบแรงโน้มถว่ งของโลก 2. ค้นพบหลักการแคลคลู ัส 8. การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม คือชว่ งเวลาต้ังแต่ ค.ศ. 1760 ถึง ค.ศ. 1850 เม่อื การเปล่ยี นแปลงในภาคเกษตรกรรม, การผลิต, การทำเหมอื งแร,่ การคมนาคมขนสง่ และเทคโนโลยี สง่ ผลกระทบอย่างลึกซง้ึ ต่อสภาพสังคม, เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมในขณะน้ัน การปฏวิ ตั ิเรม่ิ ต้นในสหราชอาณาจกั ร จากน้ันจงึ แพรข่ ยายไปยงั ยโุ รปตะวนั ตก, อเมริกาเหนอื , ญป่ี ุน่ จนขยายไปท่ัวท้ังโลกในเวลาตอ่ มา ยุคแรก = ไอนำ้ ถา่ นหนิ ยุคสอง = นำ้ มนั เหลก็ กล้า 1. เปน็ ยุคท่ีเปลย่ี นวิธกี ารผลิตสนิ ค้าจากใชแ้ รงงานคนและสตั ว์มาใช้เครอ่ื งจกั รในการผลิต 2. นักประดษิ ฐส์ ำคัญ เช่น 1.โธมสั นิวโคแมน : พฒั นาเครอื่ งจกั รไอน้ำโดยใชล้ กู สบู 2.จอหน์ เคย์ : ประดษิ ฐ์กกี่ ระตุก 3.เจมส์ ฮาร์กรฟี : ประดิษฐ์เครือ่ งปน่ั ดา้ ยชนดิ สปินนิงเจนนี 4.ริชารด์ อารค์ ไรท์ : ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งปน่ั ด้ายพลังนำ้ วอเตอร์เฟรม 5.เจมส์ วัตต์ :พัฒนาเครื่องจกั รไอนำ้ ให้ดยี ิง่ ข้นึ

31 สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ ภูมิศาสตร์ เปน็ วิชาทีศ่ ึกษาเกยี่ วกับลักษณะแวดล้อมทางกายภาพหรอื ทางธรรมชาติ และกระบวนการเปลย่ี นแปลงโดยธรรมชา ตทิ ปี่ รากฏอยบู่ นพื้นโลก อนั มีผลตอ่ มนษุ ย์ที่อาศยั อยู่บนพน้ื ทน่ี ัน้ ๆ โดยมปี จั จัยท่สี ัมพันธ์กนั 3 ประการ คอื สถานที่ สิง่ แวดล้อม ทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องมนุษยแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม วิขาภมู ิศาสตร์ ม.ปลาย จะพดู ถงึ 3 สว่ น ดังตอ่ ไปน้ี 1. เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ : แผนที่ เข็มทศิ ฯลฯ 2. ภูมศิ าสตร์กายภาพ : การศกึ ษาปจั จัยท่ที ำให้สง่ิ แวดล้อมกายภาพเกิดความเปล่ยี นแปลงในลกั ษณะแตกตา่ งและสัมพนั ธ์กัน 3. การจัดการสง่ิ แวดล้อม : วธิ กี ารและกระบวนการในการจัดการปญั หาส่งิ แวดล้อมอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ แผนท่ี สิง่ ที่เขียนลงบนพ้ืนราบ โดยใชเ้ สน้ สญั ลักษณแ์ ละเคร่อื งหมายต่างๆ เพื่อแสดงลักษณะภมู ิประเทศและส่งิ ต่างๆ ที่ ปรากฏอยบู่ นพื้นโลก ใหเ้ หน็ อาณาเขต ท่ีตั้ง และความสมั พันธ์ในทางพ้นื ท่ขี องสง่ิ ต่างๆ เหล่านั้น สีทใี่ ช้ในแผนท่ ี ทีแ่ สดงรายละเอียดบนแผนท่ี สีท่ีใช้เปน็ มาตรฐาน มี 6 สี 1. สีดำ ใชแ้ สดงรายละเอยี ดทเ่ี กิดจากแรงงานของมนษุ ย์ เชน่ วดั โรงเรยี น หมูบ่ ้าน 2. สแี ดง ใชเ้ ป็นสญั ลกั ษณ์ทเ่ี ปน็ ถนน 3. สนี ำ้ เงนิ ใช้เป็นสัญลักษณ์ที่เปน็ น้ำ เชน่ แมน่ ้ำ ลำคลอง บงึ ทะเล ฯลฯ 4. สนี ำ้ ตาล ใช้เปน็ สญั ลักษณ์ทเ่ี กยี่ วกับความสงู และทรวดทรงของพืน้ ท่สี ูงๆ ตำ่ ๆ 5. สีเขยี ว ใช้เป็นสัญลักษณท์ ่เี กยี่ วกับที่ราบ ป่าไม้ บริเวณทที่ ำการเพาะปลกู พืชสวน 6. สเี หลือง ใช้เปน็ สญั ลกั ษณท์ เี่ ก่ยี วกบั ที่ราบสูง # สอี นื่ ๆ บางโอกาสอาจใชส้ ีอนื่ นอกจากทก่ี ล่าวมาเพอ่ื แสดงรายละเอยี ดพเิ ศษบางอย่าง รายละเอียดเหล่านีจ้ ะ มีบ่งไว้ในรายละเอียดในแผนที่ การใช้สี การใชส้ ีแสดงแทนระดบั ความสงู ของภมู ิประเทศ (สัญลกั ษณ)์ พนื้ ดนิ สเี ขยี ว = ท่รี าบ พืน้ นำ้ สฟี า้ อ่อน = เขตไหล่ทวปี หรือ เขตทะเลตืน้ สีเหลือง = เนนิ เขา สฟี า้ แก่ = ทะเลลึก สีน้ำตาล = ภูเขาและเทือกเขา สีนำ้ เงิน = ทะเลหรอื มหาสมุทรลึก สีขาว = ภเู ขาสงู ท่มี ีหิมะปกคลมุ สีน้ำเงนิ แก่ = มหาสมุทรที่มคี วามลึกมาก ละตจิ ูด ใช้ในการแบ่งเขตอากาศ คือ การกำหนดตำแหน่งที่ตั้งของจดุ หน่งึ จดุ ใดบนผิวโลก วา่ อยู่หา่ งจากศูนยส์ ตู รมาก น้อยแคใ่ ด และคดิ คา่ เปน็ องศา โดยมเี สน้ สำคัญดังนี้ 1. เสน้ ศนู ย์สูตร แบง่ เป็นซีกโลกเหนอื ซกี โลกใต้ 2. เสน้ ทรอปิคออฟแคนเซอร์ แบ่งเขตอากาศรอ้ นเหนอื -อบอนุ่ เหนือ 3. เส้นทรอปิคออฟแคปปริคอร์น แบง่ เขตอากาศรอ้ นใต-้ อบอุ่นใต้ 4. เส้นอารค์ ตกิ แบง่ เขตอากาศอบอ่นุ เหนอื -หนาวเหนอื 5. เสน้ แอนตาร์กตกิ แบง่ เขตอากาศอบอ่นุ ใต้-หนาวใต้ ลองจิจูด ใชใ้ นการแบง่ เขตเวลา คือ การกำหนดตำแหนง่ ท่ตี ง้ั ของจดุ ใดบนพ้ืนผิวโลกว่าอยหู่ า่ งจากเสน้ เมรเิ ดียนแรก มากน้อยแค่ใด และคิดค่าเป็นองศา โดยมีเส้นสำคญั ดงั นี้ 1. เส้นเมอรเิ ดยี นปฐม ใช้เป็นเส้นกำหนดเวลามาตรฐานกรนี ิช (GMT) 2. เสน้ เขตวันสากล 3. เส้น Long.105E ใช้เปน็ เสน้ กำหนดเวลาของประเทศไทย






































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook