Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทราย

รายงานโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทราย

Published by little--ant, 2022-01-07 16:31:36

Description: รายงานโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทราย

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรมนักเรียน ด้วยโครงงานคณุ ธรรม โรงเรียนบา้ นสนั ทราย ปี การศึกษา 2564 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและสภาพปจั จบุ นั ปญั หา พระราชดำรัสองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชการกาลท่ี 9 ท่ียดึ ทางสายกลางบน พ้ืนฐานของความสมดุล พอดี รู้จักประมาณอย่างมีเหตุผล มีความรอบรู้เท่าทันโลก เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตเพื่อมุ่งให้เกิด “การ พัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู่ดีมีสุขของคน ไทย” ยึด “คน” เป็นศูนย์กลางการพัฒนา เพ่ือให้คนไทยมีความสุข พึ่งตนเองและก้าวทันโลก โดยยังรักษาเอกลักษณ์ความเป็นไทยไว้ สามารถเลือกใช้ความรู้และเทคโนโลยีได้ อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม มีภูมิคุ้มกันท่ีดีมีความยืดหยุ่นพร้อมรับ การ เปล่ียนแปลง ควบคู่ไปกับการมี คุณธรรมและพฤตกิ รรม ความซื่อสัตย์สุจริต ดังที่วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติได้กำหนดว่าจะต้อง พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล โดยมีนโยบายว่าปลูกฝังและเสริมสร้าง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ท้ังด้าน จิตใจและพฤติกรรมท่ีแสดงออก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่าง สนั ติสุข และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพทุ ธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้กำหนดหน้าท่ีสำคัญของการศึกษาคือการพัฒนาคนให้เป็นคน เก่ง คนดีและมีความสุข โดยมีจุดมุ่งหมายและหลักการหมวด 2 มาตรา 6 ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไป เพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วฒั นธรรมในการดำรงชวี ิตสามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” โดยยึดหลักการจัดการศึกษาให้เป็นคน ดี มีคุณธรรมจริยธรรมในหมวด 4 มาตรา 23 ซ่ึงเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของผู้เรียนในแต่ละระดับ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 : 13) ดังนั้นทิศทาง ในการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) จึงยึดคนเป็น ศูนย์กลางของการพัฒนามิได้มุ่งเน้นเพียงความรู้อย่างเดียว แต่ยังมุ่งเน้นที่จะพัฒนาคุณธรรมให้คนไทยที่มี คุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม มีความเป็น พลเมืองต่ืนรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความรับผิดชอบ และทำประโยชน์ ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดีมีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตท่ีพอเพียง มีความเป็นไทย (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552: 3) ดังน้ันกระทรวงศึกษาธิการจึงไดสงเสริมให้โรงเรียนดำเนินการ จัดการศึกษาและการจัดกิจกรรมโดยยึดคุณธรรมนำความรูเพ่ือขับเคล่ือนสังคมให้อยู่อย่างเป็นสุขตามกรอบ นโยบายและเปา้ หมายการปฏิรปู การศึกษาอันจะสง่ ผลต่อคุณภาพของผู้เรยี นให้เป็นคนดขี องสงั คม โรงเรียนบา้ นสันทรายตง้ั อยู่หมทู่ ่ี 1 ตำบลเวียงตาล อำเภอหา้ งฉัตร จังหวัดลำปาง มเี น้อื ท่ีท้ังหมด 191 ไร่ ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาลปีที่ 1 ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย (ฉบับปรับปรุง 2560) และหลักสูตรสถานศึกษา 2552 (ฉบับปรับปรุง 2561) โดยมคี รูท้ังหมด 5 คน พนักงานราชการ 1 คนอัตราจ้าง 4 คน นักเรียนในปีการศึกษา 2564 จำนวน 60 คน ซง่ึ โรงเรยี นบา้ นสันทรายไดก้ ำหนดวิสยั ทัศน์ และเอกลักษณ์ของโรงเรยี นไวด้ ังนี้

2 วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความรู้ คู่คุณธรรมจัดกิจกรรม การเรียนรู้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สืบสานวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม พร้อมด้านสอื่ เทคโนโลยี” อตั ลกั ษณ์ “สขุ ภาพดี วิถพี อเพยี ง” เอกลกั ษณ์ “ โรงเรยี นรกั ษส์ ิง่ แวดล้อม” จากการกำหนดวิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้านสันทรายพบว่าโรงเรียนบ้านสัน ทรายได้มีการกำหนดแนวทางและทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาที่เน้น การ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยโรงเรียนมีคุณธรรมเป้าหมาย คือ โรงเรียนรักษ์ส่ิงแวดล้อม สู่อัตลักษณ์ของสถานศึกษาคือ “สุขภาพดี วิถีพอเพียง”แต่จากการวิเคราะห์สภาพ พบว่าปัญหาขยะในโรงเรียนเป็นเรื่องสำคัญ ที่ส่งผลกระทบต่อสุขอนามัยของนักเรียนและบรรยากาศใน โรงเรียนทม่ี ีผลกระทบต่อการเรยี นการสอน ซ่ึงวิเคราะห์สาเหตุท่ีทำให้โรงเรียนมปี ัญหาขยะดังนีค้ ือ (1) การท้ิง ขยะไม่เป็นที่ (2) นักเรียนเห็นขยะแล้วไม่เก็บ (3) ถังขยะไม่มีฝาปิด (4) ถังขยะไม่บอกประเภทของขยะ (5) นักเรียนไม่มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ และ (6) โรงเรียน มีเศษใบไม้ร่วงหล่นเป็นจำนวนมาก แตก่ ารที่จะทำให้ นักเรียน ครู และบุคลกรทุกคนสามารถที่จะช่วยกันแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนได้อย่างเป็นระบบและมี ประสิทธภิ าพนนั้ จำเปน็ จะตอ้ งมีการเคารพ กฏระเบียบ กตกิ าและข้อตกลง จากความสำคัญและปัญหาดังกล่าวข้างต้นโรงเรียนจึงได้นำกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการลดขยะและการ รกั ษาความสะอาด จนเกิดเป็นกิจกรรมการสร้างสำนกึ พลเมอื ง (Project Citizen) โครงงานคุณธรรมพลเมืองดี ชีวิตใหม่ ไร้ขยะ โดยนักเรียนเป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้และใช้วิธีการเรียนรู้ แบบโครงงาน (Project Approach) เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนทำความดี มีความรับผิดชอบ และมี จิตสาธารณะซึ่งคุณธรรม ที่ทุกคนร่วมกันกำหนดข้ึนจากการคิดวิเคราะห์ เพื่อใช้แก้ปญั หาขยะที่เกดิ ขึ้น ในโรงเรียนทไ่ี ม่เพียงแต่ มุ่งแก้ปัญหาในระยะสั้น แต่ยังมุ่งสร้างความยั่งยืนในการจัดการขยะและต่อยอดสร้างรายได้ให้กับนักเรียนอีก ด้วย 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาผลการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทราย 1.2.2 เพื่อประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียน บา้ นสนั ทราย

3 1.3 ขอบเขต 1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา เน้ือหาท่ีใช้ทำโครงงานนี้เป็นเน้ือหาที่ต้องการให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมบ่งชี้ เชิงบวก 3 ด้านคือ (1) การทิ้งขยะให้ถูกที่ (2) การคัดแยกขยะ และ (3) การทำปุ๋ยหมักเพ่ือสนับสนุนการทำ เกษตรอนิ ทรีย์ 1.3.2 ขอบเขตด้านประชากร ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียน บ้านสันทราย สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 49 คน 1.3.3 ขอบเขตดา้ นเวลา ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 1.4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 1.4.1 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนบ้านสัน ทราย สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 จำนวน 49 คน 1.4.2 คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านสันทราย หมายถึง คุณธรรมเป้าหมาย คือ โรงเรียนรักษ์ สิง่ แวดล้อม สู่อัตลักษณ์ของสถานศึกษาคือ “สขุ ภาพดี วิถีพอเพียง 1.4.3 โครงงานคุณธรรมพลเมืองดี ชีวิตใหม่ ไร้ขยะ หมายถึง โครงงานที่มคี ุณธรรมเป้าหมายด้านความ รบั ผิดชอบ และมีจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียนบ้านสันทราย ท่ีต้องการให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมบ่งชีเ้ ชิง บวก 3 ด้านคือ (1) การท้ิงขยะให้ถูกท่ี (2) การคัดแยกขยะ และ (3) การทำปุ๋ยหมักเพื่อสนับสนุนการทำเกษตร อนิ ทรยี ์ 1.4.4 การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทรายหมายถึง การใช้กลยุทธ์ในการเสริมสร้างคุณธรรมพลเมืองดี ชีวิตใหม่ ไร้ขยะ ประกอบไปด้วย 9 ขั้นตอนดังน้ีคือ (1) ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหา (2) ข้ันตอนท่ี 2 การวางแผนแก้ปัญหา (3) ขั้นตอนท่ี 3 การสร้างการมีส่วนร่วม (4) ข้ันตอนท่ี 4 การส่งเสริม สนับสนุน เสริมแรง (5) ข้ันตอนท่ี 5 การนิเทศติดตาม (6) ข้ันตอนที่ 6 การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (7) ข้ันตอนท่ี 7 การประเมินผล (8) ขั้นตอนที่ 8 การถอดบทเรียน และ (9) ข้ันตอนที่ 9 การ ประชาสมั พันธ์และรายงาน 1.5 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1.5.1 ได้รูปแบบการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมเพ่ือบรรลุคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียนบ้านสัน ทราย สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 1.5.2 เป็นแนวทางในการพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. โดยใช้แนวคดิ หลักการ รูปแบบและวธิ ีการที่ หลากหลายให้ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเชิงบวกในโรงเรียน ทำให้เกิดองค์ ความรแู้ ละแนวทางปฏิบตั ิท่ดี ีในปีต่อ ๆ ไป 1.5.3 ใช้เป็นองค์ความรู้ในการวางแผนและการขยายผลการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมให้มี ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น 1.5.4 เป็นข้อมลู สารสนเทศสำหรับโรงเรียนอ่ืนทสี่ นใจนำรูปแบบไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเสริมสร้าง คณุ ธรรมจริยธรรมนกั เรยี นดว้ ยโครงงานคุณธรรม

4 บทท่ี 2 เอกสาร และงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ผู้รายงานได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ด้วยโครงงานคุณธรรม ของโรงเรียนบ้านสันทราย สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ในครัง้ น้ี ดังน้ี 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม สำหรบั นักเรียน 2.1.1 ความหมายของคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.1.2 ความสำคญั ของคุณธรรมและจริยธรรม 2.1.3 แนวคดิ เก่ยี วกับการดำเนนิ การสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมสำหรบั นกั เรียน 2.1.4 วิธกี ารและกระบวนการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสำหรับนกั เรยี น 2.2 แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ กย่ี วข้องกบั โครงงานคุณธรรม 2.2.1 กรอบแนวคิดโครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม 2.2.2 แนวปฏิบตั ใิ นการขบั เคลือ่ นสูโ่ รงเรียนคุณธรรมจริยธรรม 2.2.3 การกำหนดคณุ ธรรมและวธิ ีบรรลุเป้าหมายคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น 2.2.4 เคร่ืองมือสำคัญในการขบั เคลื่อนสเู่ ป้าหมาย 2.3 บริบทของโรงเรียนบ้านสนั ทราย 2.5 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีท่เี กยี่ วขอ้ งกับการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สำหรบั นักเรียน 2.1.1 ความหมายของคุณธรรม จรยิ ธรรม ทิศนา แขมมณี (2546:11) ได้ให้ความหมายของคุณธรรมว่า หมายถึง ความดีงามของลักษณะ นิสัยหรือพฤตกิ รรมท่ีได้กระทำจนเคยชิน วศิน อินทสระ (2549 :199) กล่าวว่า คุณธรรม หมายถึง อุปนิสัยอันดีงามซึ่งส่ังสมอยู่ในดวงจิต อุปนสิ ัยทไี่ ดม้ าจากความพยายามและความประพฤตติ ิดต่อกันมาเป็นเวลานาน รุ่งอรุณ เขียวพุ่มพวง (2557:12) ให้ความหมายของคุณธรรมว่า หมายถึง ส่ิงที่มีคุณค่ามีประโยชน์ เป็นลักษณะของความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ เป็นสภาพคุณงามความดีที่สั่งสมอยู่ใน จิตใจของมนุษย์เป็นเวลา ยาวนาน เป็นตัวกระตุ้นให้มีการประพฤติปฏิบัติอยู่ในกรอบท่ีดีงาม คุณธรรมเป็นส่ิงท่ีดีงามทางจิตใจ เป็น คุณค่าของชีวิตในการบำเพ็ญประโยชน์ช่วยเหลือเกื้อกูลแก่เพ่ือนมนุษย์ให้เกิดความรักสามัคคี ความอบอุ่น มั่นคงในชีวติ ศูนย์โรงเรียนคุณธรรมมูลนิธิยุวสถิรคุณ (2559 :14) สรุปไว้ว่าคุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงาม ความดที างความประพฤติและจิตใจ คุณลักษณะหรือสภาวะท่ีมีคา่ อยู่ภายใน จิตใจของมนุษย์ ซง่ึ เป็นไปในทาง

5 ที่ถูกต้องดีงามจะแสดงออกมาโดยการกระทาทางกาย วาจา และจิตใจของแต่ละบุคคล เป็นส่ิงที่เป็นประโยชน์ ตอ่ ตนเอง ผูอ้ นื่ และสังคม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2556 (2556:253) ให้ความหมายของคุณธรรม ว่า หมายถงึ สภาพคุณงามความดี กลา่ วโดยสรปุ คุณธรรม หมายถงึ สภาพคุณงามความดี ทั้งที่อยู่ภายในจิตใจ และ การ ประพฤติ ปฏิบัติออกมา ในส่วนของจริยธรรมเป็นข้อควรประพฤติปฏิบัติจริยธรรม(Ethics) ความเป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม จริยธรรม เป็นเรอื่ งทนี่ ักการศึกษาและนกั วิชาการสนใจ ท่ีจะศึกษา เพ่ือ นำมาแก้ปัญหาจริยธรรมในสังคมไทย และหาทางปลูกฝังให้บุคคลในสังคมมีจริยธรรมควบคู่ไปกับคุณธรรม เพื่อการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ในการศึกษาจริยธรรมได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลาย ใน ทศั นะของตน ได้แก่ วศิน อินทสระ (2549 :200) ได้ให้ความหมายของจริยธรรมว่า หมายถึง ลักษณะ ทางสังคม หลายลักษณะของมนุษย์ รวมท้ังพฤติกรรมทางสังคมประเภทต่างๆ ซ่ึงสังคมต้องการให้มีในสมาชิก เป็น พฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบให้การสนับสนุน และผู้กระทำส่วนมากเกิดความพอใจว่าการกระทำนั้นเป็นส่ิงที่ ถกู ต้องเหมาะสม พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ (2550:163) ได้กล่าวว่าจริยธรรม คือ สิ่งท่ีได้รับการปลูกฝัง ขัดเกลาพัฒนาข้ึนจากแรงขับพ้ืนฐานภายในจิตใต้สำนึกของตน กระบวนการขัดเกลาน้ันอยู่ในรูปของ การ เลียนแบบดว้ ยวตั ถุประสงค์ทจี่ ะปรบั ตัวตามมาตรฐานพฤติกรรมท่ีกำหนดไว้ในสังคม พระเมธีธรรมาภรณ์ (2551:89) กล่าวว่า จริยธรรม คือ แนวทางของการประพฤติปฏิบัติ ตนให้ เป็นคนดี เพื่อประโยชน์สขุ ของตนและสว่ นรวม สรุปได้ว่า จริยธรรม คือ แนวทางหรือกฎเกณฑ์ในการประพฤติปฏิบัติท่ีถูกต้องดีงาม เป็นลักษณะท่ีสังคมต้องการ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองผู้อ่ืน และสังคม ทั้งน้ีจะเห็นวาความหมายทั้ง คุณธรรมและจริยธรรมจะมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกน เม่ือพูดถึงคุณธรรมก็ย่อมหมาย รวมถึงจรยิ ธรรมด้วยเช่นกัน อาจกล่าวได้ว่าบคุ คลที่ประพฤติปฏิบัตติ นได้ตามความหมายอย่างหน่ึงอย่างใดจะ เป็นบุคคลที่มีทั้งคุณธรรมและจริยธรรมอยู่ในตนเอง เป็นท่ียอมรับนับถือของคนในสังคม สามารถดำเนินชีวิต ได้อย่างปกตสิ ขุ เป็นบคุ คลที่มคี ณุ ภาพของสงั คม 2.1.2 ความสำคญั ของคุณธรรมและจริยธรรม การดำรงชีวิตในลักษณะของการมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ต้องมีลักษณะด ำรงชีวิตที่สงบสุข ไม่เอารับเอาเปรียบ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แต่สภาพสังคมแทบทุกกลุ่มยังมีบุคคล บางคนมีลักษณะพฤติกรรม ท่ี แสดงถึงการขาดคุณธรรม จริยธรรม ว่าจะเป็นการโกหกหลอกลวง การล่วงละเมิด การลักขโมย การฉ้อฉลเอาเอาเปรียบ การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ การไม่ รับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงาน การแสวง ประโยชน์โดยมิชอบ การท่ีบุคคลในสังคมขาดคุณธรรมจริยธรรมดังกล่าวมาแล้ว อาจจะเป็นสิ่งท่ีมีผลร้ายมาก

6 ยิง่ ขน้ึ หากเกิดจากผู้ท่ีมีความรสู้ ูง มคี วามรู้ ความสามารถเฉพาะและความฉลาดเหนือผู้อื่นโดยท่หี ลักศาสนาและ กฎหมายไม่อาจครอบคลุม ได้หรือป้องกันได้อย่างสมบูรณ์ บุคคลผู้ที่มีจิตสำนึกเชิงคุณธรรมจริยธรรมต้อง พยายามช่วยกันค้น คิดช่วยกันสร้าง ช่วยกันกำหนดข้ึน เพื่อป้องกันไม่ให้สภาพการขาดคุณธรรม จริยธรรม เกิดข้ึนกับ ตนเองและบุคคลในสังคม วศิน อนิ ทสระ (2549: 6-7) ไดส้ รปุ ความสำคัญของคณุ ธรรมและจริยธรรมไว้ดงั น้ี คือ 1. ช่วยให้ชีวิตดำเนินไปด้วยความราบร่ืนและสงบ ไม่พบอุปสรรค ถ้าคนในสังคมทุกคน มี คุณธรรมและจริยธรรม สังคมของเราก็จะสงบสุขตามไปด้วย ทุกคนจะใช้เวลาท่ีมีทั้งหมดช่วยกัน พัฒนา บ้านเมืองให้เจริญม่ันคง เป็นปึกแผ่น เป็นอารยประเทศไม่ต้องแบ่งเวลาไปคอยระมัดระวังอันตรายใด ๆ ท่ีจะ เกดิ ขึ้นจากการกระทำของคนเลว 2. ช่วยให้คนเรามีสติสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลา คุณธรรมและจริยธรรมท่ีมีอยู่ในตัวแต่ละคนจะ เตอื นสติให้รักษาเกียรติยศชอ่ื เสียงของตนเองและวงศ์ตระกูลไม่เบยี ดเบียนผู้อื่น รู้จักเออื้ เฟือ้ เผอื่ แผช่ ่วยเหลอื ผู้ ท่ีดอ้ ยโอกาสกว่า สงั คมก็จะสงบสขุ ประเทศชาตกิ ็จะม่ังค่ังมัน่ คง 3. ช่วยสร้างความมีระเบียบวินัยให้แก่บุคคลในชาติ โดยจะเป็นตัวกำหนดการประพฤติ ปฏิบัติของ บุคคลให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ท่ีคนส่วนใหญ่ในสังคมยอมรับว่าถูกต้อง กฎเกณฑ์น้ันจะมาจากความพอใจของ คนเพียงคนเดียวไม่ได้ คนเมื่ออยู่ในสังคมจะต้องพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันเป็นญาติพ่ีน้อง หรือเพื่อนฝูงร่วม สงั คมเดียวกัน จะอยู่คนเดียวย่อมเป็นไปไมไ่ ด้ เมอื่ บุคคลประพฤติตามคุณธรรมและจริยธรรมของสังคม ชีวิตก็ จะมีระเบียบไม่ต้องพบกับอุปสรรค ถ้าทุกคนปฏิบัติ เหมือนกันสังคมและประเทศชาติก็จะเป็นระเบียบตามไป ดว้ ย 4. ชว่ ยควบคุมไมใ่ หค้ นชั่วมีจำนวนเพ่ิมมากขน้ึ การปฏิบตั ิตนให้เป็นตวั อย่างแก่ผอู้ ื่นนับว่าเป็นคุณ แก่สังคม เพราะนอกจากจะเป็นตัวอย่างโดยการช้ีนำทางอ้อมแล้วยังจะออกปากแนะนำส่ังสอนโดยตรงได้อีก ด้วย เช่น แนะนำให้แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม อย่าเห็นแก่ตัว อย่าเห็นแก่ได้จนสร้างความเดือดร้อนให้แก่ ผู้อ่ืน ซึ่งส่งผลกระทบไปถึงความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ มิฉะนั้นผู้ท่ีคอยยึดเราเป็นตัวอย่างอาจหมด ความศรทั ธาและหมดกำลังใจสร้างคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม หันกลับไปทำความชั่วเชน่ เดิมได้อีก 5) ช่วยทำให้มนุษย์นำความรแู้ ละประสบการณ์ที่ได้เรยี นมาสร้างสรรค์แต่สิ่งดีมีคุณค่า ถ้ามนุษย์ นำความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการประกอบอาชีพที่สุจริตย่อมสร้างสรรค์ คุณประโยชน์ให้แก่คนท่ัวไป รวมทั้งสังคมและประเทศชาติด้วย แต่ในทางตรงข้าม ถ้ามนุษย์ขาดคุณธรรมและจริยธรรมก็จะนำความรู้และ ประสบการณ์ทีม่ ไี ปเบยี ดเบยี นเอารัดเอาเปรยี บผู้อ่นื สร้างความเสยี หายให้สงั คมและประเทศชาติ เพยี งหวงั ให้ ตนเองมีทรัพย์ มีความสุข ผูอ้ นื่ จะทกุ ข์ อย่างไรกไ็ มค่ ำนึงถงึ 6. ช่วยควบคุมความเจริญทางด้านวัตถุและจิตใจของคนให้เติบโตไปพร้อมๆ กัน ปัจจุบันความ เจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีมีสูงมาก ถ้ามนุษย์นำความเจริญน้ีมาใช้ในทางที่ผิด เช่น สร้างอาวุธมา ประหัตประหารกัน จนคนล้มตายลงเป็นจำนวนมากโดยหวังความเป็นใหญ่ ความมีอำนาจ ความเดือดร้อนก็ จะเกิดแก่คนทั่วไป แต่ถ้าผู้ผลิตเทคโนโลยีมีคุณธรรมและ จริยธรรมเหตุการณ์เหล่านี้ก็จะไม่เกิดส่ิงที่จะได้รับ การสร้างหรอื ผลิตขึน้ มากจ็ ะมงุ่ แต่ประโยชน์ทจ่ี ะเกดิ แกค่ นทั่วไป

7 ดังน้ันทิศทางในการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) จึงยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนามิได้มุ่งเน้นเพียงความรู้อย่างเดียว แต่ยังมุ่งเน้นท่ีจะพัฒนา คุณธรรมให้คนไทยที่มีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่ีสมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดี ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความ รับผิดชอบ และทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดีมีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถี ชีวิตที่พอเพียง มีความเป็นไทย (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560 : 20) เนื่องจากคนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์และผลกระทบจากการพัฒนาและยังเป็นผู้ขับเคลื่อนการ พัฒนาให้ไปสู่เป้าหมายท่ีต้ังเอาไว้ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข มีจริยธรรมซ่ือสัตย์สุจริตและ ขยันหมนั่ เพียร สังคมก็จะได้มนุษย์ที่มีคุณภาพต่อการพฒั นาสงั คมต่อไป สรุปได้ว่าคุณธรรมและจริยธรรมมีความสำคัญคือ สามารถลดปัญหาและขจัดปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น แก่บุคคล สังคม และประเทศชาติได้ เม่ือทุกคนประพฤติปฏิบัตดิ ีแล้ว อุปสรรค ศัตรู ภัยอันตราย ก็จะหมดสน้ิ ไป ผคู้ นมีแตค่ วามรกั ตอ่ กัน สงั คมมแี ตค่ วามสงบ และประเทศชาติก็จะเจรญิ ร่งุ เรือง 2.1.3 แนวคดิ เก่ียวกบั การดำเนนิ การส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมสำหรบั นกั เรยี น สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(2550) ได้กำหนดคุณลักษณะของคน ไทยท่ีพึงประสงค์เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข โดยมีการพัฒนาท่ีเหมาะสมกับวัย ซึ่งในมาตรฐานการจัด การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ได้กำหนดคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี นไว้ 6 ประการ คอื 1. ผู้เรียนมีวินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบ 2. ผู้เรยี นมคี วามซือ่ สัตย์ สจุ ริต 3. ผู้เรียนมคี วามกตญั ญูกตเวที 4. ผู้เรยี นมีเมตตากรณุ า โอบอ้อมอารี เอ้ือเฟ้ือ เผอ่ื แผ่ ไมเ่ หน็ แกต่ ัว 5. ผเู้ รียนมีความประหยัด และใชท้ รัพยากรอย่างคมุ้ ค่า 6. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ติ นเป็นประโยชนต์ ่อสว่ นรวม ดังนั้นการศึกษาจึงต้องมุ่งเสริมสร้างและปลูกฝังความรู้และความเข้าใจตลอดจนความซาบซึ้งใน วฒั นธรรม และอารยธรรมของตนอย่างแน่นแฟน้ ดว้ ย หากคุณค่าทางจรยิ ธรรมของคนในชาติเสียไปกห็ มายถึง การขาดองค์ประกอบท่ีสำคัญในความเป็นชาติ คุณสมบัติสำคัญอีกประการหน่ึงท่ีจะต้องเน้นเป็นพิเศษ คือ การรูจ้ ักทำงานร่วมกับคนอ่ืน การทำงานร่วมกับคนอ่นื น้ันยอ่ มจะเรยี กร้องคุณสมบตั ิอย่างอนื่ ตามมา เช่น การ รจู้ ักเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อ่ืน รู้จักการผ่อนหนักผ่อนเบา และรู้สึกละอายต่อการหลีกเลี่ยงจากหน้าท่ีท่ี ได้รับมอบหมาย ซ่ึงในสภาพแห่งสังคมปัจจุบันการร่วมมือกันทำงานเป็นส่ิงท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้โรงเรียนจำเป็น จะต้องหาวิธีปลูกฝังความสามารถในเร่ืองนี้ให้เป็นผลสำเรจ็ ด้วยความยึดม่ันในความรักชาติ ความรู้สึกในเร่ือง ชาตินิยม ยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งชาติ และมคี วามจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ ทั้งน้ีเราย่อมประจักษ์ชัด อยู่แล้วว่าความอยู่รอดของประเทศชาติและความรุ่งเรืองของชาติ ย่อมขึ้นอยู่กับอุดมการณ์ที่ประชาชนมีต่อชาติ

8 หากประชาชนมีความรักชาติ และมีความรู้สึกเรื่องชาตินิยมเป็นอย่างดีแล้วก็เป็นท่ีแน่ใจได้ว่าเราจะมีภูมิ ป้องกนั การกระทำในรปู แบบต่าง ๆ ท่จี ะเป็นการบอ่ นทำลายชาติ 2.1.4 วธิ ีการและกระบวนการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมสำหรับนกั เรยี น คมเพชร ฉัตรศุภกุล (2547: 29) ได้เสนอหลักการและกระบวนการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรม และ จรยิ ธรรมให้แกเ่ ด็กและเยาวชน ดงั นี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์และแนวปฏบิ ตั ิทชี่ ดั เจนเปน็ รปู ธรรม 2. จัดใหเ้ หมาะสมกับวัย วุฒภิ าวะ ความสนใจ ความสามารถของเดก็ 3.บรู ณาการวชิ าการกบั ชวี ติ จรงิ ใหเ้ ดก็ ได้ตระหนกั ถึงความสำคัญของการเรียนรู้ คุณธรรม และจรยิ ธรรมและรูส้ ึกสนกุ กบั การใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น 4. จัดกระบวนการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมอย่างเป็นข้ันตอน โดยล ำดับข้ันตอน การพัฒนา ประกอบด้วย (1) ข้ันการรับรู้ (2) ข้ันตอบสนอง (3) ข้ันการเห็นคุณค่า (4) ข้ันการจัดระบบ และ (5) ข้นั การเกิดนสิ ยั 5. ใช้กระบวนการกล่มุ ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ฝึกใหค้ ิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการท่ี เป็นประโยชน์และสัมพนั ธ์กับชีวิตในแตล่ ะช่วงวยั อย่างตอ่ เน่อื ง 6. จำนวนสมาชกิ ควรมคี วามเหมาะสมกับลกั ษณะของกิจกรรม 7. มีการกำหนดเวลาในการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเนื้อหาของคุณธรรมและ จริยธรรม 8. ผเู้ รียนเป็นผู้ดำเนินการ มีครูเปน็ ท่ปี รึกษา 9. ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ครูอาจารย์ บิดามารดา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรทั้ง ภาครัฐและเอกชนมีสว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรม 10. มีการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม โดยวิธีการทหี่ ลากหลายและสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ ของการจดั กิจกรรมอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2554 : 11-14) ได้เสนอหลักในการส่งเสริมพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมดงั น้ี 1. การพัฒนาเด็กต้องพัฒนาท้ังกายและจิตไปพร้อมๆ กันอย่างได้สมดุลกัน จึงจะสามารถวาง พื้นฐานท่ีดีใหแ้ ก่เด็ก เพ่ือนาไปสู่ความเปน็ มนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ์ 2. การใหเ้ ห็นแบบอย่างทด่ี ี การเป็นตน้ แบบที่ดี และการปฏิบัตติ นให้เปน็ กัลยาณมติ ร ต่อ เด็ก เป็นวิธกี ารพฒั นาคุณธรรมใหเ้ กิดขน้ึ แกเ่ ด็กได้เป็นอยา่ งดี 3. การทำจิตให้บริสุทธิ์ ได้แก่ การฝึกสมาธิสติภาวนา จะช่วยให้เด็กมีจิตใจสะอาด สงบ อันเป็น ปจั จัยกอ่ ให้เกิดพฒั นาการทางคณุ ธรรมและสติปัญญา 4. การจัดสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สามารถปลูกฝังค่านิยมและช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ คุณธรรมต่าง ๆ

9 5. คุณธรรมจรยิ ธรรมของเด็กมีขั้นของการกระทำ การเข้าใจธรรมชาติของเด็ก การมี ปฏสิ ัมพันธ์ กับเด็กอย่างเหมาะสมและส่งเสริมให้เด็กพัฒนาไปสู่ขั้นจริยธรรมที่สูงขึ้น จะสามารถช่วยให้ เด็กมีพัฒนาการ อย่างเหมาะสมกบั วัย 6. การปลูกฝังคุณธรรมให้แก่เด็ก ควรใช้กลวิธีการสอนที่หลากหลาย ผสมผสานกัน เพื่อ ช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 7. ความพอดีหรือทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) เป็นหลักธรรมที่ควรนำมาปฏิบัติเพ่ือ นำไปสู่ ความสำเร็จ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2561:18) ได้กล่าวถงึ วธิ ีการการสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน ว่าต้องดำเนินการพัฒนาร่วมกันท้ังระบบในโรงเรียน ผู้ที่เก่ียวข้องกับการส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมในโรงเรียน ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน โดยมีขั้นตอนในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมใน โรงเรยี นมี 7 ขนั้ ตอน คอื 1. ศึกษาปญั หาเพื่อกำหนดปรัชญา นโยบาย และเปา้ หมายของโรงเรียน 2. จดั ตง้ั องค์กรในโรงเรยี น และพัฒนาบุคลากร 3. สร้างความสมั พันธก์ บั ผ้ปู กครอง และชุมชน 4. จัดตงั้ องค์กรนักเรยี น 5. จัดกิจกรรมในหลักสตู รให้สอดคล้องกับเปา้ หมายพฒั นาคุณลักษณะดา้ นจติ พสิ ยั 6. จดั กิจกรรมเสริมหลกั สูตร 7. ประเมินผล โยธิน จันทร์สว่าง (2552 : 29) ได้กล่าวถึง วิธีการพัฒนาความเป็นคนดี และส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ไวด้ งั น้ี 1. ปรับปรุงหลักสูตรการปลูกฝังอบรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของเด็กและพัฒนาวิธีการสอน ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการพัฒนาและปรับปรุงวิธีการประเมินผลให้สามารถวัดพัฒนาการทางจริยธรรมได้ อย่างแทจ้ ริง 2. จัดสภาพแวดล้อมทางโรงเรียนให้เป็นตัวอย่างท่ีดีแก่เด็ก จัดให้เด็กได้ปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรมท่ีปลกู ฝังในกจิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งสมำ่ เสมอและคงเสน้ คงวา 3. หลักสูตรการฝึกหัดครู ควรเพิ่มวิชาทางจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์อีก 5-10หน่วยกิต นอกจากนี้ควรมีการสอนวิชาเอกดา้ น “การปลกู ฝงั อบรมจรยิ ธรรม” 4. ควรมีการสร้างนักวิชาการช้ันสูง ที่จะทำหน้าท่ีวิจัย สอนและพัฒนาเยาวชนไทยอย่างมี ประสิทธิภาพให้มากข้ึน โดยการให้ทุนการศึกษาในข้ันปริญญาโทและปริญญาเอกทางด้านจิตวิทยาและ พฤตกิ รรมศาสตรท์ ง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ 5. ให้สถานศกึ ษาเชิญชวนบคุ ลากรทางศาสนามาช่วยปลูกฝงั จริยธรรม

10 6. ควรปรับปรุงระบบการประเมินผลครู โดยไม่เน้นเป้าหมายเชิงปริมาณ และไม่เน้นการ ประเมินผลกระทบที่เกิดข้ึนกับตัวเด็กในทันที แต่เน้นการประเมินคุณภาพและปริมาณการจัดกิจกรรมการ พฒั นาที่จัดให้เดก็ อยา่ งถกู หลกั วชิ า 7. การพฒั นาครปู ระจาการเก่ยี วกบั หลกั และวธิ ีการปลกู ฝงั อบรมจริยธรรม 8. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงานของครู อาจารย์ ลดภาระงานด้านธุรการ เพื่อให้ครู อาจารย์ ดูแลอบรมนักเรียนอย่างใกล้ชิด ให้สวัสดิการ ความช่วยเหลือและบริการต่างๆ ที่จะช่วยส่งเสริม สุขภาพจติ ท่ีดรี วมท้งั มีการติดตามดูแลพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสมของครู อาจารย์ เพ่ือแกไ้ ขปรับปรงุ กล่าวโดยสรุป วิธีการและกระบวนการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมมีวิธีการท่ีหลากหลาย นอกจาก จะเน้นการให้ความรู้ การสร้างศรัทธาและการฝึกอบรมแลว้ วธิ ีสอนต่าง ๆ สามารถช่วยกระตุ้นพัฒนาการทาง คุณธรรมจริยธรรมได้ การจัดกิจกรรมให้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพ่ือให้ได้รับประสบการณ์ที่จะช่วยพัฒนา คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในข้ันที่สงู ขน้ึ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับโครงงานคุณธรรม 2.2.1 กรอบแนวคิดโครงงานโรงเรยี นคณุ ธรรม แนวทางการจัดทำโครงงานโรงเรียนคุณธรรมเป็นเครื่องมือในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้ เกิดขึ้นในโรงเรียน ถือเป็นกลไกสังคมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ให้เป็นพฤติกรรมเชิงบวก ตลอดจนเป็นกิจกรรมหนึ่งที่กำหนดให้โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเข้า ร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ได้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ ตามแผนปฏิบัติการซ่ึงจะนำไปสู่การ จัดทำโครงงานคุณธรรมในหลายรูปแบบ เช่น บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการ พเิ ศษอ่ืนๆ เป็นตน้ โดยเน้นการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนอันจะส่งผลดีในการพฒั นาโรงเรียนคุณธรรมในระยะยาว ตอ่ ไปโดยมกี รอบการดำเนนิ โครงงานคุณธรรม ดังน้ี (โรงเรียนพญาไท, 2561:42-44) 1) โรงเรียนจัดทำแผนประจำปี โครงการ/กิจกรรมด้านคุณธรรมที่เป็นระบบ ต่อเนื่อง โรงเรียนมี การประชุมร่วมกันวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ให้ทุกฝ่ายจัดทำโครงการบูรณาการ กิจกรรมด้าน คุณธรรมเข้าสู่โครงการต่าง ๆ ในแผนปฏิบัติการของโรงเรียนและการทำงานปกติของโรงเรียน มีการ ประชุม ชแ้ี จงให้ครทู ุกคนรับทราบ และมีการมอบหมายผ้รู บั ผดิ ชอบชดั เจน 2) โรงเรียนมีการสำรวจปัญหา สาเหตุ และระดมความคิดของกลุ่มบุคคลแต่ละกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม ผู้บริหาร กลุ่มครู และกลุ่มนักเรียน เพื่อค้นหาคุณธรรมอัตลักษณ์ ซึ่งประกอบด้วย คุณธรรมเป้าหมายของ โรงเรียนและพฤติกรรมบง่ ชี้เชงิ บวกของ ผู้บริหาร ครู และนักเรียน เพอ่ื มุ่งแก้ไขประเด็นปัญหาท่ีกลุ่มไดค้ ้นพบ โดยจัดประชุมระดมความคิด นำคุณธรรมเป้าหมายและพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกของทั้ง 3 ฝ่ายมาพิจารณา ร่วมกัน จัดทำตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน เพ่ือให้แต่ละกลุ่มรับรู้ว่าต้องปฏิบัติตนอย่างไรบ้างในแต่ ละด้าน

11 3) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมค่ายยุวทูตความดี มีคุณธรรม นำชีวิต เพ่ือส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และปลูกจิตสานึกจิตอาสาให้กับนักเรียนนำไปใช้ในการพัฒนาตนเองและพัฒนาสังคม ส่วนรวมให้ อย่รู ่วมกันอย่างมคี วามสุข 4) โรงเรียนมีการบูรณาการกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรยี นร่วมกับการทำโครงงานคุณธรรมของ แต่ละห้องเรียนท่ีนักเรียนได้ร่วมกันคิดและลงมือปฏิบัติจริงในแก้ปัญหาร่วมกันเพื่อให้เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียน 5) นักเรียนมีพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์หรือกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. นักเรียนมีการพัฒนาตนเองตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน และลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ทำงานเป็นทีมโดยใช้กระบวนการกลุ่ม รู้จักการเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา ได้แก่ การประหยัด พลังงานไฟฟ้า โดยการปิดไฟ -พัดลม ปิดน้ำ เมื่อไม่ใช้งาน การเดินแถวไปเรียน ไปรับประทานอาหารอย่างเป็นระเบียบ รักษาความสะอาด ทิ้งขยะลงถังขยะ เก็บขยะโดยไม่รอคำสั่งจากครู เปน็ ตน้ 6) ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการคุณธรรมอัตลักษณ์หรือกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โดยผ่านโครงงาน และกิจกรรมอื่น ๆ ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เชื่อมโยงสู่เนื้อหาสาระในรายวิชาท่ีสอน รวมทั้งการปฏิบัติจริงโดย จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การทำงานกลุ่ม การทำโครงงาน การศึกษาค้นควา้ อิสระตามความสนใจ 7) มีโครงงานคุณธรรมระดับห้องเรยี นโรงเรียนมีผลงานโครงงานคุณธรรมระดับห้องเรียน ตั้งแต่ ระดบั ชน้ั อนุบาลถงึ ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยฝา่ ยบริหาร และฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการมีการประชุมคณะ ครทู ้ังโรงเรียน หวั หนา้ สายชัน้ และผเู้ กี่ยวขอ้ ง ช้ีแจง ใหร้ ับทราบนโยบายและรูปแบบการจัดกิจกรรมโครงงาน คุณธรรมของห้องเรียน มอบหมายให้หัวหน้าสายช้ันประชุม คณะครูในสายช้ันร่วมกันวางแผนการดำเนิน กจิ กรรม โดยใหค้ รูประจำชั้นเปน็ ท่ีปรึกษาโครงงานคุณธรรม ทั้งนี้จะบรู ณาการเป็นโครงการของห้องเรียนหรือ ในรายวิชาก็ได้แต่ต้องมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและคุณธรรมอัตลักษณ์ลงสู่กระบวนการจัดการ เรียนรเู้ พ่ิมเติม 8) โรงเรียนสะอาด บรรยากาศร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัย มีสถานที่ปลูกฝัง ปฏิบัติด้านคุณธรรม โรงเรียนมีการปรับปรุงและพัฒนาบริเวณโรงเรียนตั้งแต่บริเวณรั้วโรงเรียน ติดไฟฟ้าเพ่ิมแสงสว่างเพื่อความ ปลอดภัย สร้างสภาพแวดล้อมให้สะอาด ปลูกไม้ประดับให้ดูร่มรื่น สวยงาม บริเวณโรงเรียนมีป้ายข้อคิด เตอื นใจและนำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการดำเนินชวี ิต 9) นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ตามคุณธรรมอัตลักษณ์หรือกรอบแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของนักเรียนท้ังหมด นักเรียนมีการพัฒนาตนเองตามคุณธรรม อัตลักษณ์ของ โรงเรียนและการลงมือปฏิบัติโครงงานทำงานเป็นทีม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นผู้นำผู้ตามท่ีดี มีทักษะการ คดิ วเิ คราะห์ การแกป้ ัญหา

12 2.2.2 แนวปฏบิ ตั ิในการขับเคลือ่ นส่โู รงเรยี นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จะเห็นไดว้ ่าคุณธรรมจรยิ ธรรมสอดแทรกอยใู่ นวิถีชวี ติ ของคนในทกุ ยุคทกุ สมัยตลอดเวลา จนเป็น สว่ นหนึ่งของวิถชี วี ิตคนเรา เมอ่ื มีนวัตกรรมใหมๆ่ เกิดข้ึนจะมีคุณธรรมจริยธรรมเป็นตวั กำกับในการนำมาใช้ใน ชีวิตประจำวันในปริมาณมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับจิตสำนึกของแต่ละคนและความเช่ือม่ันในคุณค่าของการสร้าง คุณงามความดีว่าจะนำมาซ่ึงความสุขของตนเองและองค์กรในท่ีสุดซึ่งแนวปฏิบัติในการขับเคล่ือนสู่โรงเรียน คุณธรรมจริยธรรม แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ขัน้ ตอนดงั นี้คือ (ศนู ย์โรงเรียนคณุ ธรรมมูลนธิ ิยวุ สถริ คณุ , 2558:24-37) 1) การชแ้ี จงทำความเข้าใจรว่ มกนั 1.1) ประชุมช้ีแจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโรงเรียน สร้างความรู้ความเข้าใจ รับฟังความคิดเห็นเพ่ือ ความมั่นใจในการสมัครใจทำงาน และตัดสินใจร่วมกัน ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรทางการศึกษา พนักงานเจา้ หน้าท่ี คณะกรรมการสถานศึกษา ตลอดจนชมุ ชนท่ีเกย่ี วขอ้ ง เป็นต้น 1.2) แต่งตั้งและมอบหมายงานให้คณะทำงานรับผิดชอบในการวางแผน การลงมือปฏิบัติ การ ประเมนิ ผล และการปรับปรงุ แผนจนบรรลเุ ป้าหมายท่ีกำหนดไว้ 1.3) สรุปข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในของโรงเรียน ได้แก่ จุด แข็ง (ปัจจัยส่งเสริมการปฏิบัติงานของโรงเรียนให้มีคุณภาพ) และจุดอ่อนหรือข้อด้อยของโรงเรียน รวมท้ัง วิเคราะห์ข้อมูลสภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ โอกาส (สภาพภายนอกท่ีเอ้ือให้โรงเรียนมีผลงาน เช่น ประชาชนต้องการให้ลกู หลานมีอาชีพ โรงเรยี นจงึ ควรใหค้ วามรู้ดา้ นทักษะอาชพี เปน็ ต้น) และสภาพภายนอกที่ เป็นอุปสรรคต่อการทำงานของโรงเรียน เช่น เศรษฐกิจไม่ดี ชุมชนยากจนมาก เป็นต้น รวมท้ังพิจารณาทบทวน วสิ ัยทัศน์ ปรัชญาต่างๆของโรงเรียนด้วย เพ่อื ใหโ้ รงเรยี นรจู้ ักตนเอง และเลอื กใชป้ ระโยชน์ไดถ้ ูกตอ้ งตามความ เปน็ จรงิ ของโรงเรยี น 1.4 จัดเตรียมผู้เข้าประชุมระดมสมอง เพ่ือประโยชน์ในการมีความรู้ ความเข้าใจ ท้ังเรื่องเก่ียวกับปัญหา ความต้องการพัฒนา และพฤติกรรมต่างๆ ที่เกิดข้ึนในโรงเรียนเพื่อให้มีโอกาสแสดง ความคดิ เหน็ ตามกิจกรรมทจี่ ดั เตรียมไวใ้ นแผนงาน 2) การกำหนดคุณธรรมเปา้ หมายและคุณธรรมอัตลกั ษณข์ องโรงเรยี น 2.1) วิเคราะห์ปัญหาหรือพฤติกรรมท่ไี ม่พึงประสงค์ในโรงเรียน พฤติกรรมท่ีไม่ต้องการให้เกดิ ขึ้น ในโรงเรียนอีก เช่น มาโรงเรยี นสาย ลอกการบา้ นเพ่ือน เป็นตน้ 2.2) รวบรวมและจัดกลุ่มความคิดเห็นให้เป็นเร่ืองๆ แล้วสรุปความเข้าใจของที่ประชุมให้ ตรงกัน 2.3) ค้นหาคุณธรรมเป้าหมาย โดยใชข้ ้อมูลความคดิ เห็นของที่ประชมุ (ตามข้อ2.1และข้อ2.2) 2.4) จดั กล่มุ “คณุ ธรรมเป้าหมาย” ใหเ้ ป็นเรอ่ื งๆ โดยรวบรวมรายการคุณธรรมเปา้ หมาย ท่ีไดจ้ ากการระดมสมอง แล้วนำมาจดั กลุ่ม 2.5) จัดลำดับความสำคัญของคุณธรรมเป้าหมาย โดยให้ที่ประชุมร่วมกันจัดลำดับ ความสำคัญของคุณธรรมเป้าหมายท่ีต้องการทำก่อนหลัง (กรณีท่ีประชมุ เสนอความเห็นเรื่องคุณธรรมจำนวน หลายเรอื่ ง มาก) ควรคัดเลือกมาเพยี ง 3 เรือ่ งกอ่ น เพอ่ื ใช้เปน็ คณุ ธรรมเป้าหมายของโรงเรียน

13 2.6) กำหนดคณุ ธรรมเปา้ หมายให้เป็นท่ีทราบท่ัวกนั 2.7) กำหนดพฤติกรรมบ่งช้ี/ข้อปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรมเป้าหมาย โดยนำคุณธรรม เป้าหมายแต่ละข้อมากำหนดรายละเอยี ดพฤตกิ รรมบ่งช/ี้ ข้อปฏิบัติ 2.8) กำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์ให้เปน็ ท่ีทราบทั่วกัน กล่าวคือ เม่ือนำคุณธรรมเป้าหมายแต่ละข้อ มากำหนดพฤติกรรมบ่งชี้/ข้อปฏิบัติเพ่ิมเติมให้ครบแล้ว รวมเรียกว่า “คุณธรรมอัตลักษณ์”หมายถึง คุณธรรม เป้าหมายที่มีการกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้/ข้อปฏิบัติไว้ด้วย ซ่ึงจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย เช่น ข้อปฏิบัติของครู ผู้บริหาร และนักเรียน เปน็ ตน้ 2.9) กำหนดนโยบายและ/หรือข้อตกลงร่วมกัน โดยนำเสนอผลการประชุมระดมสมองใน ส่วนของคุณธรรมเป้าหมาย และ คุณธรรมอัตลักษณ์ ที่มีการจำแนกพฤติกรรมบ่งชี้ของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย แล้ว เพ่ือให้ทุกคนที่เข้าประชุมมีความเข้าใจตรงกัน และร่วมกันกำหนดเป็นนโยบาย/ข้อตกลงว่าจะนำมา ปฏิบัตดิ ว้ ยกนั โดยอาจนำเสนอในรปู ของตารางคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ 3) การจดั ทำโครงงานคณุ ธรรม 3.1) วิเคราะห์ปัญหา หรือพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ซ่ึงกลุ่มต้องการให้โรงเรียนมีการแก้ไข โดยต้ังคำถามให้ทุกคนคิดวิเคราะห์ เช่น พฤติกรรมของเพ่ือนๆ ท่ีอยากปรับปรุง หรือ คุณธรรมพื้นฐาน ของ โรงเรียนมขี ้อใดยงั ไมไ่ ดท้ ำบ้าง เป็นต้น 3.2) จัดลำดบั ปญั หาทส่ี ำคัญด่วนทีส่ ุด ท่ที กุ คนเห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ ควรรบี แกไ้ ข 3.3) หาสาเหตุของปัญหา โดยนำปัญหาท่ีคัดเลือกแล้ว มาระดมสมองหาสาเหตุของปัญหา น้ันๆ เพอื่ หาขอ้ ยตุ ใิ นการตดั สนิ ใจเลือกเปน็ ประเด็นปัญหาท่ีอยากแกไ้ ขมากที่สดุ 3.4) กำหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหานั้น โดยนำปัญหาท่ีคัดเลือกมากำหนดเป้าหมาย ท้ัง เปา้ หมายเชิงปริมาณ และกำหนดเปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 3.5) กำหนดช่ือโครงงานท่ีชัดเจนเข้าใจง่าย ควรสะท้อนกิจกรรมและกลุ่มเป้าหมาย ที่เก่ยี วข้อง เชน่ “โครงงานลด ละ เลิก บหุ รี่-เมรยั ฯ” “โครงงานรกั ษ์สัตว์ รักษ์สงั คม” เป็นตน้ 3.6) กำหนดวธิ ีแกไ้ ขปัญหา หรือวธิ ดี ำเนนิ งานเพ่อื ไปสู่เปา้ หมายน้นั จะมแี ผนอยา่ งไร 3.7) หลักธรรม/พระราชดำรัส/พระราชดำริ/คำสอน ใช้หลักธรรมอะไรเป็นหลักคิดในการ ดำเนินโครงงาน นอ้ มนำพระราชดำรสั /พระราชดำริ/คำสอน อะไรมาเป็นหลกั ในการดำเนนิ โครงงาน โครงงาน แต่ละโครงงานสามารถมีคุณธรรมหลายขอ้ เปน็ หลกั คิดในการปฏบิ ตั โิ ครงงานได้ 3.8) การเชื่อมโยงไปสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน โดยท่ีประชุมพิจารณาการเช่ือมโยง ไปสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ได้อย่างไร โครงงานแต่ละโครงงานสามารถเชื่อมโยงไปสู่คุณธรรม อัต ลักษณ์หลายข้อได้ โดยพิจารณาถึงกระบวนการในการปฏิบัติโครงงานและคุณธรรมท่ีทำให้เกิดการ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมขึน้ 3.9) กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล โดยกำหนดตัวช้ีวัด เพื่อวัดหรือประเมินผลว่า มีการ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมอะไรไปมากน้อยเพยี งไรในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย

14 3.10) จัดทำร่างเอกสารโครงงานคุณธรรม โดยรวบรวมข้อมูลท้ังหมด แล้วจัดทำเป็นเอกสาร ร่างโครงการ เพื่อนำไปทดลองปฏิบัติสักระยะหนึ่ง แล้วปรับปรุงให้สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทของ โรงเรียน ก่อนนำไปใช้จรงิ 3.11) จัดทำเป็นโครงงานคุณธรรม โดยการนำข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่ได้จากการ ทดลองทุกข้ันตอน มาเรียบเรียงให้อ่านเข้าใจง่าย อาจใช้รูปแบบการเขียนโครงงานคุณธรรมหรือรูปแบบตาม ความเหมาะสมของโรงเรยี น 4) การลงมือร่วมกนั ปฏิบตั ิ 4.1) แต่งต้ังผู้รับผิดชอบโครงงาน โดยอาจมีนักเรียนรวมกลุ่มกันเองเพ่ือทำความดีตามความ สนใจ หรือ ครูคัดเลือกแกนนำของโรงเรียนสัก 8-10 คน เป็นผู้รับผิดชอบโครงงาน มีครูที่ปรึกษา 1- 3 คน พจิ ารณาตามขอบเขตและขนาดของงาน สมาชิกกลมุ่ ไมค่ วรจำกัดจำนวนควรเปน็ ไปตามความสนใจและภาระ งานทีใ่ ห้รบั ผิดชอบ 4.2) กำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงาน ทั้งในระยะส้ันในแต่ละเดอื น และเป้าหมายระยะยาวใน แต่ละภาคการศึกษา 4.3) กำหนดปฏทิ ินการปฏิบัตงิ าน 4.4) ลงมือปฏิบัติด้วยกันตามแผนปฏิบัติงาน ในทุกกิจกรรมนักเรียนจะได้เรียนรู้จากการลง มือทำ โดยการสังเกต คิดพิจารณาปรับปรุงกิจกรรมให้นำไปสู่ความสำเร็จ ประการสำคัญได้เรียนรู้ จากการ รว่ มกนั ทำงานเปน็ ทมี ทำงานทดี่ ดี ้วยกัน 4.5) เม่ือจบแต่ละกิจกรรมย่อย ให้ทำ AAR (After Action Review) เป็นการพูดคุย เพ่ือ ปรับปรุงการทำงานให้ดีข้ึนและควรให้นักเรียนบันทึกส่ิงที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการนำไปประยุกต์ใช้ ในสมดุ เปน็ รายบคุ คล 4.6) เผยแพร่เอกสารโครงงานคุณธรรม โดยรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมและการ ประชุมทุกข้ันตอน มาเรียบเรียงให้กระชับ อ่านเข้าใจง่าย อาจใช้รูปแบบการเขียนโครงงานคุณธรรม หรือ รูปแบบตามความเหมาะสมของโรงเรียน ท้ังนี้ ให้คำนึงถึงความสะดวกและทั่วถึงในการนำไปเผยแพร่ให้ ทุก คนทราบ นำไปใช้ และใช้ในการประเมนิ ผลไดh 5) การนิเทศติดตามประเมินผลและเสริมแรงกนั ในการทำโครงงานควรมีคณะทำงาน ทำหน้าท่ี นิเทศ ติดตามให้คำปรึกษาหารือ รวมท้ังเป็นพ่ีเล้ียงสอนงาน และให้ความช่วยเหลือแนะนำส่ิงท่ีจำเป็นอย่างมี กัลยาณมิตร เพ่ือให้งานบรรลุผลตามขั้นตอน เป้าหมายและกำหนดเวลาที่คาดหวังไว้ ควรมีการเก็บรวบรวม ข้อมูลท้ังก่อนและหลังการทำงาน เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงท่ีคาดว่าจะ เกิดข้ึน โดยพิจารณาตามตัวชี้วัดท่ีได้กำหนดไวใ้ นโครงงาน เช่น ร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่มีจิตอาสาเพ่ิมข้ึน เปน็ ตน้

15 2.2.3 การกำหนดคณุ ธรรมและวธิ บี รรลเุ ป้าหมายคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียน 1) การวางแผน/การจัดทำโครงงานคุณธรรม (การจัดทำแผนพัฒนาคุณธรรมโรงเรียนหรือ แผนปฏิบัติการประจำปี) มีการประชุมวางแผนการดำเนินงาน กำหนดนโยบายในการพัฒนาคุณธรรมของ โรงเรียนสู่การทำงานปกตติ ามกลุ่มงานท่เี ก่ียวข้อง และรว่ มกนั จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารโครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียน จัดทำโครงการและกิจกรรมเสริม หลักสูตรท่ีเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม บูรณาการในแผนปฏิบัติการประจำปีของโรงเรียน แต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานมอบหมายหน้าท่ชี ัดเจน พฒั นาครูแกนนำ พัฒนานักเรยี นแกนนำเพื่อเป็นแกนนำใน การดำเนินงาน 2) การเป็นแบบอย่างที่ดี ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีท้ังกาย วาจา ใจ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ตามบทบาทหน้าท่ีและระเบียบวินัยของโรงเรียน เช่น การพูดสุภาพ การตรง เวลา การแต่งกายเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนเป็นแบบอย่างท่ีดีมีวินัย มีความ รบั ผิดชอบ ด้วยการยกย่องชืน่ ชมหน้าเสาธง ใหเ้ กียรตบิ ตั รแสดงความชืน่ ชมในการเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี 3) การพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการพัฒนาคุณธรรม มีการพัฒนาสภาพแวดล้อมใน โรงเรียนให้มีบรรยากาศ ร่มรนื่ สะอาด สวยงามน่าอยู่ ปลอดภัย มีป้ายพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ในบริเวณโรงเรียน ปรับภูมิทัศน์ให้ร่มรื่น ปรับปรุงอาคารเรียนให้สวยงาม เอ้ือต่อ การเรยี นรู้ 4) การบูรณาการคุณธรรมในการเรียนการสอน/ในช้นั เรียนโรงเรียนให้ครผู ู้สอนในรายวิชาพ้ืนฐาน 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น และกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ใหบ้ รู ณาการคณุ ธรรมเช่อื มโยงสู่ เนอื้ หาสาระในรายวชิ าที่สอนในรปู แบบท่หี ลากหลาย เช่น การทำงานกลุ่ม การทำโครงงาน การศึกษาค้นคว้า อิสระตามความสนใจ ผสมผสานกับการมีส่วนร่วมในการลงมือปฏิบตั ิจริงผา่ นโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร ตา่ ง ๆ ของโรงเรียน และกิจกรรมพเิ ศษอนื่ ๆ 5) การบูรณาการคุณธรรมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โรงเรียนให้ครูผู้สอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บูรณาการคุณธรรมเชื่อมโยงสู่กิจกรรมการเรียนรู้ทั้งกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี หรือกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น การฝึกระเบียบแถว กิจกรรมผู้ บำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมจติ อาสา เปน็ ตน้ 2.2.4 เครอื่ งมือสำคัญในการขับเคล่ือนสู่เป้าหมาย 1) การสื่อสารสร้างความเข้าใจท้ังโรงเรียนเพื่อให้ทราบเป้าหมายและทิศทางการดำเนินงาน โรงเรียนมีการประชุมร่วมกันระหว่างผบู้ รหิ าร ครู และผูเ้ กย่ี วขอ้ งเพือ่ สรา้ งความตระหนักและความเขา้ ใจเรอ่ื ง โรงเรียนคุณธรรม ให้ทุกคนรับทราบนโยบายและเป้าหมายท่ีโรงเรียนจะดำเนินการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม อยา่ งต่อเน่ือง ตามแผนปฏิบัตกิ ารของโรงเรยี น และผลท่คี าดว่าจะเกิดข้ึนเพ่ือใหท้ ุกคนเกิดความตระหนัก และ ร่วมมือกนั พัฒนาโรงเรยี นคุณธรรมอย่างตอ่ เนื่อง

16 2) สร้างแกนนำ โรงเรยี นคัดเลอื กครูแกนนำเขา้ รับการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการพัฒนา โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. แล้วนำมาถ่ายทอดให้กับเพื่อนครู และทำหน้าท่ีอบรมเพื่อนครูในโรงเรียนและ คัดเลือกนักเรียนแกนนำเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานคุณธรรม เพ่ือนำมาขยายผลให้กับ เพื่อน ๆ ภายในห้องเรียนโดยมีครูแกนนำเป็นทีมงานของโรงเรียนที่ช่วยให้การดำเนินงานพัฒนาโรงเรียน คณุ ธรรมให้ดำเนนิ การไปตามเป้าประสงค์ของโรงเรยี น 3) การนิเทศติดตามภายใน และการนิเทศตดิ ตามโดยผู้นิเทศ โรงเรยี นมีการนิเทศติดตามภายใน อย่างสม่ำเสมอ มีการแต่งต้ังคณะกรรมการเป็นทางการ ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงานแต่ละฝ่าย หน้าหน้า สายช้ัน และหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ เป็นผู้นเิ ทศให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานในส่วนที่เก่ียวข้อง และ รว่ มกันสะทอ้ นผลการปฏิบัติงานร่วมกันแก้ปัญหา ทำให้ไดอ้ งค์ความรู้มาใช้ในการพฒั นาคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ให้ บรรลเุ ป้าหมาย 4) การส่งเสริมสนับสนุนและการเสริมแรงในรูปแบบต่าง ๆ การส่งเสริมสนับสนุนคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนน้ัน มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลทั้งในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนต้องเป็น แบบอย่างท่ีดีให้นักเรียนเห็นเชิงประจักษ์ โรงเรียนมีการส่งเสริมสนับสนุนและเสริมแรงด้วยการคัดสรรเลือก นกั เรียนที่มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นแบบอย่างท่ีดี มีการประกาศยกยอ่ ง ชื่นชม มอบเกียรติบัตรและกระตุ้นให้ เกดิ การเปน็ แบบอย่างที่ดีดว้ ย นอกจากน้ี ไดส้ ง่ เสริมสนับสนุนให้เป็นตัวอยา่ งให้สาธารณชนรับรูก้ ารทำความดี และจดั นิทรรศการให้นักเรียนไดน้ ำเสนอผลงานแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ 5) การสร้างกลไกการมีส่วนร่วม ผู้บริหารให้โอกาสทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล คำแนะนำ ใหโ้ อกาสร่วมทำ รว่ มแกไ้ ขปญั หาและร่วมชื่นชมความสำเรจ็ ในการพฒั นาโรงเรียนคณุ ธรรม ทกุ คนในโรงเรยี น มีส่วนร่วมในกระบวนการ ขับเคลื่อนกจิ กรรมสง่ เสรมิ ความดใี นรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้แผนพัฒนาโรงเรยี น และ แผนปฏิบัติการเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและปรบั เปล่ียนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ นักเรียนอย่างย่ังยืน รวมทั้งมอบหมายให้ครูประจำช้ันจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนร่วมกันทำโครงงาน คุณธรรมในช้ันเรียน ซึ่งเป็นโครงงานที่นักเรียนร่วมกันคิด ร่วมกันเลือก ร่วมกันทำ ทุกคนมีส่วนร่วมลงมือ ปฏิบัติจริง ให้ครูบูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้และแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมของโรงเรียนที่ทำอยู่ให้ ขับเคลอ่ื นไปสูค่ ุณธรรมเป้าหมายทีก่ ำหนด ท่ีสะท้อน คณุ ธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน 6) การทบทวนหลังปฏิบัติงาน โรงเรียนทบทวนวิเคราะห์หลังการปฏิบัติงาน (After Action Review) ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม โดยใช้โครงงานท่ีนักเรียนร่วมกันคิด ร่วมกนั เลือก ร่วมกันทำ การบูรณาการคุณธรรมสู่การจัดการเรียนรู้และแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมของโรงเรียน เป็น เครื่องมือในการพฒั นาคณุ ธรรมทำให้เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมเชงิ บวกในโรงเรยี นเพ่ิมขน้ึ สรุปผลที่เกดิ จาก การดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เป็นองค์ความรู้แนวปฏิบัติท่ีดี บทเรียนท่ีใช้ในการพัฒนาคุณธรรมอัต ลักษณ์ของโรงเรยี น ปัจจัยสู่ความสำเร็จ จดุ ดีจุดด้อยที่ต้องพัฒนาหรือปรบั ปรุงเพือ่ ประโยชน์ในการนำไปใชจ้ ริงใน ครัง้ ต่อไป

17 7) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยทำการสรุปความรู้หลังการดำเนินงาน ด้วยการประชุมนักเรียนใน เพื่อร่วมกันวิเคราะหถ์ ึงการดำเนินงานที่ผ่านมาของนักเรียนวา่ สิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้น ผลการปฏิบัติและผล การดำเนินงานเป็นอยา่ งไร และรับฟังขอ้ เสนอเพอื่ นำไปปรับปรงุ การทำงาน 8) การประเมินผลและการนำผลการประเมินไปพัฒนาการดำเนินงาน ในการทำโครงงานควรมี คณะทำงาน ทำหน้าที่นิเทศ ติดตามให้คำปรึกษาหารือ รวมทั้งเป็นพี่เล้ียงสอนงาน และให้ความช่วยเหลือ แนะนำสิ่งที่จำเป็นอย่างมีกัลยาณมิตร เพื่อให้งานบรรลุผลตามขั้นตอน เป้าหมายและกำหนดเวลาที่คาดหวังไว้ ควรมีการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งก่อนและหลังการทำงาน เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์เปรียบเทียบการ เปลี่ยนแปลงท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น โดยพิจารณาตามตัวชี้วัดท่ีได้กำหนดไว้ในโครงงาน เช่น ร้อยละของจำนวน นักเรยี นทมี่ จี ติ อาสาเพิม่ ขนึ้ เปน็ ต้น 9) การประชาสัมพันธ์ ควรมีการประชาสัมพันธ์การปฏิบัติงานพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมให้ ผู้ปกครอง ชุมชน ได้ทราบเพื่อให้เกิดความร่วมมือในส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณธรรมให้กับนักเรียน นำเสนอผลการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โดยการจัดนิทรรศการทั้งภายในภายและภายนอกโรงเรียน รายละเอียดดงั แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 1 แสดงกระบวนการพฒั นาการขบั เคลื่อนคุณธรรมโรงเรียนบ้านสนั ทรายสู่เป้าหมาย

18 2.3 บรบิ ทของโรงเรียนบา้ นสนั ทราย 2.3.1 ขอ้ มูลทัว่ ไป โรงเรียนบ้านสันทราย เลขที่ 275 หมู่ท่ี 1 ตำบลเวียงตาล อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง สังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีเขตพืน้ ที่บริการ 4 หมบู่ า้ น ได้แก่ บ้านสันทราย บ้านเหล่า บา้ นใหม่ บ้านท่งุ เกวยี น 2.3.2 ขอ้ มลู ดา้ นการบริหาร ผู้บริหาร นายอดุลย์ วังไชยเลศิ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ กศ.ม. สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา ดำรง ตำแหนง่ ท่ีโรงเรยี นนต้ี ง้ั แต่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ .2564 จนถึงปจั จบุ นั เปน็ เวลา - ปี 8 เดือน 2.3.3 ประวัติโดยย่อ คำขวัญ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านสันทราย เปิดทำ การสอนครัง้ แรก ณ วัดดอยนอ้ ย โดยอาศัยศาลาวดั เป็นทเี่ รียน ต่อมาได้ย้ายมาตงั้ อย่ใู นหม่บู ้านสันทราย โดยมี นายมา อินต๊ะยศ ผู้ใหญ่บ้านและนายศรีวงศ์ ทิพย์มณี ครูใหญ่ ในขณะนั้นได้นำราษฎรจัดหาที่ดิน 1 แปลง เนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา จดั สร้างอาคารเรียนแบบก่ึงถาวร จำนวน 4 ห้องเรียนเป็นสถานท่ีเรียนเป็น โรงเรียนประชาบาลประเภทนายอำเภอจัดต้ังตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา โดยมีนายบุญช่วย นันทการ นายอำเภอห้างฉัตร เป็นประธานพิธีเปิดป้าย “ โรงเรียนตำบลเวียงตาลบ้านสันทราย ” และเปิดทำการสอน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 4 เมื่อวนั ท่ี 7 พฤษภาคม 2482 ต่อมาในปี พ.ศ.2514 ได้ย้ายโรงเรียนมาตงั้ อยู่ใน บริเวณท่ีดินแปลงใหม่ ในเนื้อท่ี 191 ไร่ อยู่ตรงกนั ข้ามวัดดอยน้อย (ที่ปัจจุบัน) เปิดเรียนถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 และในปี พ.ศ. 2516 ได้เปิดเรียนถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 7 และในวันท่ี 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2555 โรงเรียนบ้านทุ่งเกวียน ได้นำนักเรยี นเข้ามาเรยี นรวมกับโรงเรียนบ้านสันทราย โรงเรยี นบา้ นสันทรายจดั การเรียน การสอนตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตรสถานศึกษา 2552 (ฉบับปรับปรุง 2561) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 มีครทู ้ังหมด 5 คน พนักงานราชการ 1 คนอตั ราจ้าง 4 คน นักเรียนใน ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 60 คน 2.3.4 จำนวนนกั เรียนที่ทำชอ่ื เสยี งใหแ้ ก่โรงเรียน (รางวัลดเี ดน่ ท่ีได้รับ) 1) ได้รับรางวลั ผู้บังคบั บัญชาลกู เสือดเี ดน่ ประจำปี 2563 ประเภทผบู้ ริหาร 2) เกียรติบัตรเหรียญเงินรองชนะเลิศการแข่งขันรำวงมาตรฐานระดับประถมศึกษางานศิลปะ หตั ถกรรมนักเรียน ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. 2560 – 2563 3) เกียรติบัตรเหรียญทองชนะเลิศการแข่งขันอาหารจานเดียวงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนคร้ังท่ี 66 ปีพ.ศ.2559 ระดบั จังหวัดเป็นตัวแทนแขง่ ขันระดบั ภาคเหนือ 4) เกียรติบัตรเหรียญทองการแข่งขันทักษะ งานศิลปะหัตกรรมระดับประเทศปี 2558 รายการ นำ้ พรกิ ผักสด เคร่อื งเคยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา 5) เกียรติบัตรเหรียญทองการแข่งขันทักษะ งานศิลปะหัตกรรมภาคเหนือจังหวัดแพร่ปี 2557 รายการ นำ้ พรกิ เคร่ืองเคียง ระดบั ประถมศกึ ษา 6) เกียรติบัตรเหรียญทองการแข่งขันทักษะงานศิลปะหัตกรรมภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่ปี 2555 รายการนำ้ พริกเคร่ืองเคียง ระดบั ประถมศกึ ษา

19 7) เกียรติบัตรเหรียญทองการแข่งขันทักษะงานศิลปะหัตกรรมภาคเหนือจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 รายการนำ้ พริกเครื่องเคยี ง ระดับประถมศกึ ษา 8) เกียรติบัตร / รางวัลท่ีโรงเรยี นไดร้ ับ 8.1) เกยี รตบิ ตั รโรงเรยี นสง่ เสริมสุขภาพระดบั ทอง ปี 2550 8.2) เกยี รติบตั รโรงเรยี นผา่ นเกณฑ์มาตรฐานระดับดี โครงการเด็กไทยทำได้ ปี 2550 8.3) โล่รางวลั ชนะเลิศ ระดับประเทศ “โครงการคู่หูโรงเรียนสง่ เสริมทนั ตสุขภาพ” ปี พ.ศ. 2551 8.4) เกยี รติบัตรโรงเรียนส่งเสรมิ การอ่านสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาลำปาง เขต 1 ปี พ.ศ. 2550 ,2551 ,2552, 2556 8.5) เกียรติบัตรห้องสมุด และมุมหนังสือตามโครงการส่งเสริมการรักการอ่าน สำนักงานเขต พื้นท่ีการศกึ ษาลำปาง เขต 1 ปี 2550 ,2551 , 2552 ,2553, 2556 8.6) โรงเรียนพร้อมใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลำปาง เขต 1 สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 8.7) โรงเรียนเครือข่ายโครงการสอนคณิตศาสตร์ แบบเปิด และการศึกษาช้ันเรียน สำนักงาน เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ปี 2554 – 2555 8.8) เกียรติบตั รโรงเรียนแกนนำระบบประกนั คณุ ภาพภายใน ปี 2557 8.9) เกียรติบัตรสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ สถานศึกษาพอเพยี ง ”ระดับประเทศ ปี 2558 8.10) เกียรติบัตรการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยการเย่ียมบ้านนักเรียน ทกุ คนครบ 100% ประจำปกี ารศึกษา 2562, 2563 8.11) สถานศึกษาในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน์ประจำปีงบประมาณ 2563 ลำดบั ท่ี 8 ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 2.3.5 โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรยี น 1) โอกาสของโรงเรยี น 1.1) โรงเรียนบ้านสันทราย ตั้งอยู่ภายในหมู่บ้านซึ่งเป็นชุมชนขนาดใหญ่จึงสะดวกในการ ตดิ ตอ่ ส่อื สาร 1.2) โรงเรียนไดม้ ีการประสานงานกับชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ องคก์ รอื่น ๆ ด้วยดี มาตลอดและได้รบั ความรว่ มมือ และสนับสนนุ ดา้ นการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี 1.3) โรงเรียนมีครูและบุคลากรครบชั้นเรียนโดยใช้เงินจากการจัดผ้าป่า และการระดมกำลัง และบรจิ าคของครสู ามารถจา้ งครไู ดจ้ ำนวน 4 คนซ่ึงเพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้

20 1.4) โรงเรยี นอยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้หลายแหง่ ทั้งในชุมชนและภายในตำบล อำเภอ จงึ สามารถ ท่ีจะนำนักเรียนไปศึกษายังแหล่งเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง เช่น วัดพระธาตุดอยน้อย องค์การบริหารส่วน ตำบลเวียงตาล,สถานประกอบการ, ศูนย์อนรุ กั ษช์ า้ งไทย,อุทยานแหง่ ชาติดอยขนุ ตาน ฯลฯ 1.5) ชมุ ชนมีความรัก ความสามคั คกี ันเปน็ อย่างดี 1.6) นักเรียนมีความสามารถทางด้านการเรยี นการสอนโดยเฉลย่ี อย่ใู นเกณฑ์ดี 2) ข้อจำกดั ของโรงเรียน 2.1) สภาพสังคมในหมู่บ้านเกิดปัญหาการหย่าร้าง เด็กถูกทอดท้ิงให้อยู่ตามลำพังหรืออยู่กับ ปู่ ยา่ ตา ยายทำใหข้ าดการดแู ลเดก็ ขาดความอบอุ่น ทำใหข้ าดความสมั พนั ธท์ ด่ี ีระหว่างครอบครัว 2.2) ประชากรส่วนมากมีฐานะยากจน ดังน้ันงบประมาณที่สนับสนุนด้านการศึกษาจึงมีน้อย ไม่เพียงพอ 2.3) ปัญหาน้ำใช้ของโรงเรียนท่ีไม่เพียงพอต่อการใช้ตลอดปี โดยเฉพาะด้านการเรียนรู้ เกษตร และอืน่ ๆ ของโรงเรยี น 2.3.5 ปรัชญา หรือ คติพจน์ หรือ คำขวญั ประจำสถานศึกษา “ นัตถิ ปญั ญา สมา อาภา” แสงสว่างเสมอดว้ ยปัญญาไมม่ ี 2.3.6 วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีความรู้ คู่คุณธรรม จัด กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม พรอ้ มดา้ นส่ือเทคโนโลยี” 2.3.7 พนั ธกิจ 1) พฒั นาการจดั การเรียนรใู้ ห้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและดูแล ป้องกนั ภยั คุกคามในชีวิตรปู แบบใหม่ โดยสง่ เสริมความสามารถด้านเทคโนโลยเี พ่ือเปน็ เครื่องมือในการเรยี นรู้ 2) พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพชวี ติ มีความรคู้ คู่ ุณธรรมสรา้ งสรรค์ความคิดสศู่ ตวรรษที่ 21 และมีทักษะในการแขง่ ขันทุกระดบั 3) พัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาของครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนานักเรียนสู่สังคม แห่งการเรียนรู้โดยมีความรู้ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา 4) พัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยใช้ระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนให้มีโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันนักเรียนมีโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยี ดิจทิ ัล 5) พัฒนาหลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สงิ่ แวดลอ้ ม คณุ ธรรม จริยธรรม และนำแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏบิ ัติ 6) พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐานตามหลักธรรมาภิบาล โดยมี นวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือนบนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย และการมีส่วนร่วมของ ภาคสว่ น

21 2.3.8 อัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา “สุขภาพดี วิถีพอเพียง” 2.3.9 เอกลักษณข์ องสถานศึกษา “โรงเรยี นรักษส์ ่งิ แวดล้อม” 2.3.10 เป้าหมายการจัดการศึกษาในภาพรวมตามพันธกิจ “โรงเรียนบ้านสันทรายมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี คุณภาพท้ังด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม ด้านความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน การพัฒนา กระบวนการคิดแก้ปัญหาและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คือ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความซ่ือสัตย์สุจริต มีการ ประหยัดและอดออม มีระเบียบวินัยและจรรยามรรยาท และรักความสะอาด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้เรียน ชุมชน สอดคล้องกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ ใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ และมุ่งเน้น ให้ผู้เรียน ดี เก่ง และมีความสุข โดยมี แนวทาง กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวช้ีวัด เป้าหมายและโครงการ / กิจกรรมสนองยุทธศาสตร์และจุดเน้น ดังนค้ี ือ

1) กลยุทธท์ ่ี 1 การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและดูแลปอ้ งกันภัยคุกคามใน ชีวิตรูปแบบใหม่ 2) กลยทุ ธ์ที่ 2 การพฒั นาสง่ เสริมนกั เรียนใหม้ ีความรคู้ ู่คุณธรรม สร้างสรรค์ความคิดสู่ ศตวรรษท่ี 21 และมีทักษะในการแข่งขนั ทุกระดบั 3) กลยทุ ธ์ที่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพการจดั การศึกษาของบุคลากรทางการศึกษา และ พฒั นานกั เรียนสสู่ ังคมแหง่ การเรยี นรู้ 4) กลยทุ ธ์ที่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา 5) กลยุทธ์ที่ 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม 6)กลยุทธ์ท่ี 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา 2.3.11 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคม และดูแลป้องกันภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่ โดยส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพ่ือเป็น เคร่ืองมอื ในการเรยี นรู้ 2) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิต มีความรู้คู่คุณธรรมสร้างสรรค์ความคิดสู่ ศตวรรษท่ี 21 และมีทกั ษะในการแข่งขันทุกระดับ 3) พัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษาของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พัฒนานักเรียนสู่ สงั คมแหง่ การเรยี นร้โู ดยมคี วามรู้ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา 4) พัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยใช้ระบบ ดแู ลช่วยเหลือนักเรียนให้มีโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกันนักเรียนมีโอกาสทางการศึกษาผ่าน เทคโนโลยีดิจทิ ัล 5) พัฒนาหลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ สงิ่ แวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิ 6) พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐานตามหลักธรรมาภิบาล โดยมีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนบนฐานข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้อง ทันสมัย และการมี สว่ นรว่ มของภาคสว่ น

23 2.5 งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง วีรพงศ์ ถ่ินแสนดี (2550) ได้ศึกษาการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน โดยกระบวนการ เรียนการสอนแบบบูรณาการ โรงเรียนสิงห์สะอาด อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่านักเรียน ขาดคุณธรรมเป็นจำนวนมาก กลุม่ ผู้รว่ มวิจยั ได้วิเคราะห์สภาพปัญหาและกำหนดกรอบการพัฒนา คือ การสร้างความตระหนักในปัญหา และสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบบูรณาการแก่ครูผู้ปฏิบัติการสอน โดยการประชุมและการอบรมเชิงปฏิบัติการ และการพัฒนา คณุ ธรรม จริยธรรมนักเรียน จำนวน 4 ด้าน ดังน้ีคือ ความซื่อสัตย์สุจรติ ความประหยัด ความกตัญญู และความรับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบบูรณาการและการนิเทศ กำกับติดตาม ผลการดำเนินงาน พบว่า การประชุมและการอบรมเชิงปฏิบัติการทาให้ครูผู้ปฏิบัติการสอนส่วนมาก เกิดความตระหนักในปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม และเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทาง ในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพ่ือปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของนักเรยี นมากขึ้น มีความ กระตือรือร้นในการบริหารจัดการเรียนการสอน และมีความต้องการในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นักเรยี นอย่างต่อเน่อื ง สามารถดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการไดเ้ หมาะสมกับบรบิ ท ซึ่งทาให้พฤติกรรมความมีคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนพัฒนาข้ึนอยู่ในระดับพึงพอใจในทุกด้าน โดยภาพรวมนักเรียนแสดงออกถึงความมีคุณธรรมจริยธรรมท่ีดีขึ้น จากผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การแก้ปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนจะประสบผลส ำเร็จอย่างแท้จริงต้องอาศัย ความรู้ความเข้าใจ ซ่ึงเป็นศาสตร์และเทคนิควิธีการท่ีหลากหลายซ่ึงเป็นศิลปะในการฝึกฝนพัฒนา ท้งั นโ้ี ดยใหท้ กุ ฝา่ ยทีเ่ กยี่ วข้องได้รว่ มกนั ดาเนนิ การและเอาใจใสอ่ ย่างจริงจัง พระครูนิวัฐวิริยคุณ (โปธาวิชัย) (2549) ได้ทำการศึกษาการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ของโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา จังหวัดลำพูน พบว่า ครูและนักเรียนมีความเห็นว่า โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา จังหวัดลำพูน ดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนในระดับมาก ท้ัง 4 วิธีครูมีความเห็นว่าวิธีดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนเรียง จากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย คือ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนควบคู่ไปกับกิจกรรมการเรียน การสอน กิจกรรมของโรงเรียนท่ีจัดขึ้นเพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การกำหนดระเบียบปฏิบัติและ การควบคุมการปฏิบัติเพอ่ื พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม และการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพ่ือพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมนักเรียนส่วนนักเรียนมีความเห็นว่า วิธีที่ดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม นักเรียนเรียงจากค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ กิจกรรมของโรงเรียนท่ีจัดขึ้นเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมการกำหนดระเบียบปฏิบัติ และการควบคุมการปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนควบคู่ไปกับกิจกรรมการเรียนการสอนและการจัดสภาพแวดล้อม ในโรงเรียนเพ่ือพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมนักเรียน แนวทางพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมตามความคิดเห็น

24 ของครู คือบุคลากรทุกคนของโรงเรียนต้องร่วมมือกันอย่างเต็มที่และต่อเน่ือง กิจกรรมการพัฒนา คุณธรรมจรยิ ธรรมตอ้ งใหน้ กั เรียนมสี ่วนรว่ มมากกว่าที่ดาเนนิ การในปจั จุบัน ณัฐพล กล้าหาญ (2550) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมความมีวินัยในตนเอง ด้วยกิจกรรมกลุม่ สมั พนั ธ์ ในนักเรียนระดบั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ของโรงเรียนบ้านลำดวน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 จำนวน 15 คน ซึง่ ศึกษาการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมความมวี ินยั ในตนเอง 4 เรอ่ื ง คอื 1) ความรบั ผดิ ชอบ 2) การตรงตอ่ เวลา 3) ความซื่อสัตย์ และ 4) ความมีระเบียบวนิ ัยศกึ ษาโดยใช้ วิธีการวิจัยปฏิบัติการ พบว่า จริยธรรมความมีวินัยในตนเองของนักเรียนหลังการพัฒนาด้วยกิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์สูงกว่าจรยิ ธรรมความมีวนิ ัยก่อนการพัฒนาด้วยกลุ่มสมั พันธ์อย่างมีนัยสำคัญและความถี่ ของการเกิดพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในห้องเรียนหลังการพัฒนาด้วยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ลดลงต่ำกว่าความถี่ของการเกิดพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในห้องเรียนก่อนการพัฒนา ด้วยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ และพบอีกว่านักเรียนในช้ันเรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก การทดสอบเกินร้อยละ 80 และผลจากการทดสอบทางสถิติพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังการพัฒนาด้วยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการพัฒนากิจกรรมกลุ่ม สมั พันธอ์ ย่างมนี ยั สำคญั

25 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การ วิธีการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม ของโรงเรียน บ้านสนั ทราย ปีการศกึ ษา 2564 ไดด้ ำเนินการตามขัน้ ตอน ดังน้ี 3.1 ประชากร ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านสันทราย สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 1 จำนวน 49 คน 3.2 เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา เคร่ืองมือที่ใช้ในการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม ของโรงเรยี นบ้านสันทราย ปกี ารศกึ ษา 2564 คอื 3.2.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี น ตามคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น 3.3 วธิ ีดำเนินการ 3.3.1 ขนั้ ตอนที่ 1 ระบปุ ัญหา มีข้นั ตอนการดำเนินการดังนี้ 1) โรงเรียนจดั ทำแผนปฏิบตั ิการประจำป/ี โครงการ/กจิ กรรม ด้านคุณธรรมทเี่ ป็นระบบ ตอ่ เนอ่ื ง 2) โรงเรียนบ้านสันทรายมีการกำหนดคุณธรรมเป้าหมาย และพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวก ครอบคลุมผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ท้ังผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู และนักเรียน เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่มได้ ปฏิบตั ติ นท่เี ปน็ แบบอยา่ งให้กบั บคุ คลอ่ืน โรงเรียนมีการประชุมร่วมกันวางแผนจัดทำแผนปฏิบัติการประจาปี ให้ทุกฝ่ายจัดทำ โครงการแบบบูรณาการกิจกรรมด้านคุณธรรมเข้าสู่โครงการทุกโครงการในแผนโครงการปฏิบัติการ ประจำปีและการทำงานปกติของโรงเรียนก็จะมีการประชุมชี้แจงมอบหมายงานท่ีรับผิดชอบอย่าง ชัดเจน

26 3.3.2 ข้นั ตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปญั หา มีขนั้ ตอนการดำเนนิ การดังนี้ 1) โรงเรียนดำเนินการค้นหาปัญหา สาเหตุ กำหนดคุณธรรมเป้าหมายและพฤติกรรม บ่งช้ีเชิงบวก (คุณธรรมอัตลักษณ์) และกำหนดกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ ครอบคลุมท้ัง ผู้บริหาร ครู และนักเรยี น 2) โรงเรียนสำรวจปัญหา สาเหตุ และระดมความคิด ทั้ง 3 กลุ่ม ผู้บริหาร ครู และ นักเรียนมาพิจารณาร่วมกันและจัดทำตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนเพื่อให้ทุกกลุ่มรับรู้และ ปฏิบตั ติ ามแตล่ ะด้าน

27 3.3.3 ขัน้ ตอนที่ 3 การสร้างการมีสว่ นร่วม 1) โรงเรียนมีการประชุมของผู้บริหาร ครูบุคลากร และนักเรียนกำหนดนโยบาย วางแผน ดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติการประจำปี การดำเนินงานในโรงเรียนมีการบูรณาการ คุณธรรม จรยิ ธรรมของผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร และนักเรียน 2) โรงเรยี นเปดิ โอกาสให้ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากร นักเรียน ผูป้ กครอง และชมุ ชน ให้ขอ้ มูล ระดมความคิด พิจารณา ขอ้ มลู ที่เปน็ ประโยชนเ์ พ่อื พัฒนาโรงเรียนคณุ ธรรม

28 3.3.4 ขน้ั ตอนที่ 4 การส่งเสริม สนบั สนุน เสริมแรง 1) โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมที่เอื้อต่อการพัฒนาและส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมของ ผูบ้ ริหาร ครู และนักเรียน รวมทั้งสภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นสะอาด ร่มรน่ื เออื้ ตอ่ การเรียนรู้

29 2) ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามอัตลักษณ์ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เช่ือมโยงสู่เน้ือหาสาระในรายวิชาท่ีสอน โดยใช้กระบวนการเรียนการสอน แบบ ACTIVE Learning ผ่านโครงการคุณธรรมและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

30 3) ขบั เคลอ่ื นโดยผู้บรหิ ารเชื่อมโยงการทำงานของทกุ ฝ่าย ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีส่วนร่วมในการ ดำเนินงานอยา่ งสร้างสรรค์

31 4) ผู้บริหารโรงเรียนบ้านสันทรายใช้วิธีการเสริมแรงเชิงบวกในรูปแบบของการชมเชย ยกย่อง ให้เกียรติและเพ่ิมแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงาน เช่น การมอบเกียรติบัตรให้กับโครงงาน ต้นแบบของห้องเรียน มีการกล่าวชมเชยนักเรียนในการดำเนินงานโครงงานหน้าเสาธง และชั่วโมง โฮมรูมของแตล่ ะระดบั ช้นั

32 3.3.5 ข้ันตอนท่ี 5 การนเิ ทศตดิ ตาม โรงเรียนบ้านสันทรายมีการนิเทศภายในเพื่อติดตามกระบวนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนและการปฏิบัติงานโครงงานคุณธรรม เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำและกระตุ้นให้เกิด การมีส่วนร่วมท้ังโรงเรียน ด้วยการรับฟังความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงาน ให้ความช่วยเหลืออย่างกัลยาณมิตร เป็นกำลังใจให้นักเรียนและครู โดยมีการดำเนินนิเทศอย่าง สม่ำเสมอและตอ่ เน่ือง 3.3.6 ขน้ั ตอนที่ 6 การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ในการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม โรงเรียนบ้านสันทรายได้ทำการการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ โดยได้ทำการสรุปความรู้หลังการดำเนินงาน ด้วยการประชุมนักเรียนในแต่ละกลุ่มสีเพ่ือ ร่วมกันวิเคราะห์ถึงการดำเนินงานที่ผ่านมาของนักเรียนว่าสิ่งท่ีคาดหวังว่าจะเกิดข้ึน ผลการปฏิบัติ และผลการด่ำเนินงานเป็นอย่างไร และให้นักเรียนทุกคนได้นำเสนอในรูปแบบของกลุ่มสีเพ่ือ แลกเปลี่ยน เพ่ือให้นกั เรยี นกลมุ่ สีอ่ืนไดร้ ับทราบการดำเนินงานของกลุ่มสีของตนเองผา่ นกิจกรรมหน้า เสาธง และรับฟังขอ้ เสนอเพอ่ื นำไปปรับปรุงการทำงาน

33 3.3.7 ขั้นตอนท่ี 7 การประเมนิ ผล โรงเรียนบ้านสันทรายใช้วิธีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้วยกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนา กระบวนการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม ซึ่งในการดำเนินโครงงานคุณธรรมโดยให้นักเรียนให้แต่ละช้ัน เรียนจัดกิจกรรมบูรณาการโครงงานในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างน้อย 1 โครงงาน เพ่ือให้ นกั เรยี นไดฝ้ ึกการทำโครงงานโดยได้ดำเนนิ การตามระยะเวลาและทำการสรปุ ผล

34 3.3.8 ขน้ั ตอนที่ 8 การถอดบทเรยี น โรงเรียนบ้านสันทรายได้ดำเนินการสรุปผลการพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนใน ระดับชั้นเรียนและโรงเรียนด้วยการถอดบทเรียนผลงานโครงงานคุณธรรม เพ่ือให้ครูผู้รับผิดชอบ โครงงานโรงเรียนคุณธรรมได้ทราบปัญหาอุปสรรคที่เป็นปัจจัยในการดำเนินงาน และแนวทางปฏิบัติ ท่ีชัดเจนเพื่อสามารถนำไปพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยนำตัวชี้วัดของ โครงงานคณุ ธรรมมาใชใ้ นการประเมนิ ภาพรวมของโรงเรยี น

35 3.3.9 ขัน้ ตอนที่ 9 การประชาสมั พันธ์ รายงาน โรงเรียนบ้านสันทรายได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงาน ผ่านส่ือต่างๆ ท้ังที่เป็น Network ออนไลน์ เช่น Line Facebook ของโรงเรียนบ้านสันทราย และออฟไลน์ เช่น นำเสนอผลงานการเข้าค่ายนักพัฒนารุ่นใหม่พัฒนาศักยภาพต้นกล้าชุมชน โดยบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกดั (มหาชน) แผน่ พับประชาสมั พนั ธ์ของโรงเรียน เป็นต้น

36 แผนภาพที่ 2 แสดงกระบวนการพฒั นาคุณธรรมโรงเรยี นบ้านสนั ทราย

37 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดำเนินการเกบ็ รวมรวมขอ้ มูลระหว่างเดอื นกรกฎาคม-กันยายน 2564 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงาน คุณธรรม โรงเรยี นบ้านสันทราย ปกี ารศกึ ษา 2564 ดงั น้ี 3.5.1 วิเคราะห์ผลการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงาน คุณธรรม โรงเรยี นบ้านสนั ทราย นำเสนอข้อมูลโดยการบรรยายความเรียง 3.5.2 วิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ ของนกั เรยี นโรงเรยี นบ้านสันทราย นำมาหาคา่ เฉลยี่ (µ) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( ) ค่าเฉลีย่ 4.51 – 5.00 หมายถึง มกี ารปฏบิ ัติอยู่ในระดับมากที่สดุ คา่ เฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ตั ิอยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลีย่ 2.51 – 3.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถงึ มีการปฏิบัติอยใู่ นระดับน้อย ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง มีการปฏบิ ัติอยู่ในระดบั นอ้ ยทสี่ ุด 3.6 สถิติทนี่ ำมาใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล สถิติท่ีนำมาใช้การวเิ คราะห์ข้อมลู ในคร้ังน้ี ดงั นี้ 3.6.1 ค่า IOC หาความสอดคล้องของแบบประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียนบ้านสันทราย โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา ใช้สูตรการคำนวณ ดังนี้ IOC = NR IOC คอื ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบสอบถามกบั จุดประสงค์ R คอื คะแนนของผเู้ ชย่ี วชาญ R คอื ผลรวมของคะแนนผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละคน N คือ จำนวนผเู้ ช่ียวชาญ การกำหนดคะแนนของผ้เู ชีย่ วชาญเป็น +1 หรือ 0 หรอื –1 ดังน้ี + 1 = แน่ใจวา่ แบบสอบถามนนั้ สอดคลอ้ งจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมที่ระบุไว้ 0 = ไมแ่ น่ใจว่าแบบสอบถามนนั้ สอดคลอ้ งจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมท่ีระบุไว้ - 1 = แนใ่ จว่าแบบสอบถามนั้นไมส่ อดคล้องจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมทรี่ ะบุไว้ ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ยอมรับได้ต้องมีค่าต้ังแต่ 0.50 ข้ึนไป

38 3.6.2 ผลที่ได้จากการประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ ของนกั เรียนโรงเรยี นบา้ นสนั ทราย นำมาหาคา่ เฉลีย่ µ ละคา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน () ใชส้ ตู ร ดงั น้ี µ = X N X หมายถงึ ข้อมลู X หมายถงึ ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด N หมายถึง จำนวนของข้อมลู ท่ีมีทงั้ หมด  = NX2 −(X)2 N(N−1)  หมายถึง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน X หมายถงึ ข้อมลู แต่ละตวั N หมายถงึ จำนวนข้อมูลทง้ั หมด

39 บทท่ี 4 ผลการศึกษา ผลการดำเนินการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม ของโรงเรียน บ้านสนั ทราย ปกี ารศึกษา 2564 ขอนำเสนอผลแบง่ เปน็ 2 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ผลการพฒั นารูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนกั เรียนดว้ ยโครงงานคุณธรรม โรงเรยี นบา้ นสนั ทราย ตอนที่ 2 ผลประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผดิ ชอบ และมีจติ สาธารณะของนักเรยี น โรงเรยี นบา้ นสนั ทราย

40 ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนารูปแบบการสง่ เสริมคณุ ธรรมจริยธรรมนักเรียนดว้ ยโครงงานคุณธรรม โรงเรียนบา้ นสนั ทราย นำเสนอผลการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนด้วยโครงงานคุณธรรม โรงเรยี นบา้ นสนั ทราย รายละเอยี ดดงั นี้ 4.1 ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปัญหา โดยโรงเรียนได้จดั ทำแผนปฏิบตั ิการประจำปี/โครงการ/กิจกรรม ด้านคุณธรรมที่เป็นระบบต่อเนื่อง มีการกำหนดคุณธรรมเป้าหมาย และพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก ครอบคลุมผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครู และนักเรียน เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่มได้ ปฏบิ ัติตนท่เี ป็นแบบอย่างใหก้ ับบุคคลอน่ื 4.1 ข้ันตอนที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา โรงเรียนดำเนินการค้นหาปัญหา สาเหตุ กำหนด คุณธรรมเป้าหมายและพฤติกรรมบ่งช้ีเชิงบวก (คุณธรรมอัตลักษณ์) และกำหนดกิจกรรมอย่าง สร้างสรรค์ ครอบคลุมท้ัง ผู้บริหาร ครู และนักเรียน มีการสำรวจปัญหา สาเหตุ และระดมความคิด ทั้ง 3 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมาพิจารณาร่วมกันและจัดทำตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ของ โรงเรยี นเพื่อให้ทุกกลมุ่ รับรแู้ ละปฏบิ ัติตามแตล่ ะด้าน 4.3 ขั้นตอนที่ 3 การสร้างการมีส่วนร่วม โรงเรียนมกี ารประชมุ โดยผู้บริหาร ครูบคุ ลากร และ นักเรียนกำหนดนโยบาย วางแผน ดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติการประจำปี การดำเนินงานใน โรงเรียนมีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมของผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักเรียนโดยเปิดโอกาสให้ ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ให้ข้อมูลระดมความคิด พิจารณา ข้อมูลท่ีเป็น ประโยชน์เพ่อื พฒั นาโรงเรียนคุณธรรม 4.4 ข้ันตอนที่ 4 การส่งเสริม สนับสนุน เสริมแรง โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมท่ีเอ้ือต่อการ พัฒนาและส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมของผู้บริหาร ครู และนักเรียน รวมท้ังสภาพแวดล้อมของ โรงเรียนสะอาด ร่มร่ืน เอื้อต่อการเรียนรู้ ผู้บริหารได้ส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีมี การบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมตามอัตลักษณ์และคุณลักษณะที่พึงประสงค์เช่ือมโยงสู่เน้ือหาสาระใน รายวิชาท่ีสอน โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบ Active Learning ผ่านโครงการคุณธรรมและ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งการดำเนินงานตามโครงงงานคุฅณธรรม ได้มีการขับเคลื่อนโดยผู้บริหาร เช่ือมโยงการทำงานของทุกฝ่าย ผู้บริหาร ครู และนักเรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานอย่าง สรา้ งสรรคใ์ ชว้ ิธีการเสริมแรงเชิงบวกในรปู แบบของการชมเชยยกย่อง ให้เกียรตแิ ละเพ่มิ แรงบันดาลใจ

41 ในการปฏิบัติงาน เช่น การมอบเกียรติบัตรให้กับโครงงานต้นแบบของห้องเรียน มีการกล่าวชมเชย นักเรยี นในการดำเนนิ งานโครงงานหน้าเสาธง และชั่วโมงโฮมรมู ของแตล่ ะระดับชนั้ 4.5 ขั้นตอนที่ 5 การนิเทศติดตาม โรงเรียนบ้านสันทรายมีการนิเทศภายในเพื่อติดตาม กระบวนการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนและการปฏิบัติงานโครงงานคุณธรรม เพอื่ ให้คำปรึกษา แนะนำและกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนรว่ มทั้งโรงเรียน ด้วยการรับฟังความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค ของการดำเนินงานให้ความช่วยเหลืออย่างกัลยาณมิตร เป็นกำลังใจให้นักเรียนและครู โดยมีการ ดำเนินนิเทศอยา่ งสม่ำเสมอและตอ่ เน่ือง 4.6 ขั้นตอนที่ 6 การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรมโรงเรียนบ้านสันทราย ไดท้ ำมกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยได้ทำการสรปุ ความรู้หลังการดำเนินงาน ด้วยการประชุมนักเรยี นใน แต่ละกลุ่มสี เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ถึงการดำเนินงานท่ีผ่านมาของนักเรียนว่าสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้น ผลการปฏิบัตแิ ละผลการด่ำเนินงานเป็นอย่างไร และให้นกั เรียนทกุ คนได้นำเสนอในรูปแบบของกล่มุ สี เพ่ือแลกเปลี่ยน เพื่อให้นักเรยี นกลุ่มสีอื่นได้รับทราบการดำเนินงานของกลุ่มสขี องตนเองผา่ นกิจกรรม หน้าเสาธง และรบั ฟังข้อเสนอเพ่อื นำไปปรบั ปรงุ การทำงาน 4.7 ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผล โรงเรียนบ้านสันทรายใช้วิธีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้วย กจิ กรรม PLC เพ่ือพัฒนากระบวนการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม ซึง่ ในการดำเนินโครงงานคณุ ธรรมโดย ให้นักเรยี นให้แตล่ ะช้นั เรยี นจดั กิจกรรมบูรณาการโครงงานในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างน้อย 1 โครงงาน เพอ่ื ให้นกั เรียนได้ฝึกการทำโครงงานโดยไดด้ ำเนินการตามระยะเวลาและทำการสรุปผล 4.8 ข้ันตอนที่ 8 การถอดบทเรียนโรงเรียนบ้านสันทรายได้ดำเนินการสรุปผลการพัฒนา พฤติกรรมของนักเรียนในระดับช้ันเรียนและโรงเรียนด้วยการถอดบทเรียนผลงานโครงงานคุณธรรม เพ่ือให้ครูผู้รับผิดชอบโครงงานโรงเรียนคุณธรรมได้ทราบปัญหาอุปสรรคท่ีเป็นปัจจัยในการดำเนินงาน และแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนเพ่ือสามารถนำไปพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยนำตวั ชี้วัดของโครงงานคณุ ธรรมมาใชใ้ นการประเมนิ ภาพรวมของโรงเรยี น 4.9 ข้นั ตอนท่ี 9 การประชาสัมพันธ์ รายงาน โรงเรยี นบ้านสนั ทรายได้ดำเนินการประชาสมั พันธ์ และเผยแพร่ผลงาน ผ่านส่ือต่างๆท้ังที่เป็น Network ออนไลน์ เช่น Line Facebook ของโรงเรียน บา้ นสันทราย และออฟไลน์ เช่น นำเสนอผลงานการเข้าค่ายนักพัฒนารนุ่ ใหม่พัฒนาศักยภาพต้นกล้า ชุมชน โดยบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) แผ่นพับประชาสัมพันธ์ของโรงเรียน เป็นต้น

42 ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะของนักเรียน โรงเรยี นบ้านสนั ทราย ท่ี พฤติกรรม การปฏิบัติ แปลความ 1 นกั เรียนมีการทิง้ ขยะลงในถงั ขยะ µ มากทส่ี ุด 4.57 0.65 2 นกั เรยี นชว่ ยกันรกั ษาความสะอาดในโรงเรียนไม่ให้มขี ยะ 4.73 0.53 มากที่สุด 3 นักเรยี นและเพอื่ นๆจะนําถงั ขยะในหองเรียนไปทง้ิ ทกุ วัน 4.92 0.28 มากทส่ี ุด 4 เมอ่ื นกั เรยี นเหน็ เศษขยะนักเรียนจะเก็บลงถังขยะทุกครั้ง 4.59 0.64 มากท่สี ดุ 5 นักเรียนนาํ ถุงพลาสตกิ ถุงหหู ิ้ว ท่ยี งั มีสภาพดีกลับมาใช้ซำ้ 4.78 0.42 มากท่สี ดุ 6 นักเรยี นซ้ือสนิ คา้ ที่ผลิตจากวสั ดุทีเ่ ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม 4.55 0.65 มากทสี่ ดุ 7 นกั เรยี นใช้แกว้ น้ำส่วนตวั งดใช้แกว้ ท่ีใช้คร้ังเดียวแล้วท้งิ 4.90 0.31 มากที่สดุ 8 โรงเรยี นมีการรณรงค์การกำจัดขยะมูลฝอย 4.92 0.00 มากที่สุด 9 โรงเรยี นมีการจัดต้ังธนาคารขยะนักเรยี นแยกขยะก่อนทง้ิ 4.84 0.00 มากที่สุด 10 นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้การคดั แยกขยะในห้องเรยี น 4.90 0.00 มากทสี่ ุด 11 โรงเรียนมีการจัดประเภทของถังขยะ 4.90 0.00 มากทีส่ ุด 12 จำนวนถังขยะในโรงเรียนมีเพียงพอ 4.86 0.00 มากทส่ี ดุ 13 นกั เรยี นมีการคัดแยกประเภทขยะก่อนทิ้งลงในถัง 4.53 0.65 มากทส่ี ุด 14 ปลูกตน้ ไม้เพ่อื เพิ่มพน้ื ทีส่ เี ขียวใหแ้ ก่โรงเรียน 4.88 0.00 มากที่สุด 15 ขยะมูลฝอยมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 4.82 0.39 มากทส่ี ดุ 16 นกั เรยี นสามารถแยกขยะมาทำป๋ยุ หมกั 4.84 0.37 มากที่สดุ 17 นกั เรียนนำวสั ดุเหลอื ใช้มาประดิษฐ์เปน็ ของเล่น ของใช้ 4.71 0.46 มากทส่ี ดุ

43 18 โรงเรยี นมกี ารแต่งต้ังเวรกลุม่ สีทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี น 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ 19 นักเรียนใหค้ ำแนะนำเกีย่ วกับเรอ่ื งการคดั แยกขยะให้คนอ่ืนได้ 4.71 0.46 มากที่สุด 20 นักเรียนมจี ิตอาสาในการรกั ษาความสะอาด 4.80 0.41 มากทสี่ ดุ รวม 4.79 0.09 มากทสี่ ดุ จากตารางท่ี 2 แสดงผลการประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบ และมีจิต สาธารณะ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านสันทราย ในภาพรวม พบว่า มีการปฏิบัติในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด (µ = 4.82) โดยท่ีโรงเรียนมีการแต่งต้ังเวรกลุ่มสีทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย สูงสุด (µ =5.00) และนักเรียนมีการคัดแยกประเภทขยะก่อนทิ้งลงในถังมีค่าเฉล่ียต่ำสุด (µ = 4.5

44 บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ โครงงานคุณธรรม เรื่อง พลเมืองดี ชีวิตใหม่ ไร้ขยะของโรงเรียนบ้านสันทราย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 49 คน มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาผลการ พฒั นารปู แบบการส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมนกั เรียนดว้ ยโครงงานคณุ ธรรมของโรงเรยี นบ้านสนั ทราย และเพือ่ ประเมินคณุ ธรรมเปา้ หมายด้านความรบั ผิดชอบ และมจี ติ สาธารณะของนกั เรยี นโรงเรียนบ้าน สนั ทราย สรุปผลการดำเนินโครงงาน จากการดำเนินงานตามโครงงานคุณธรรม เรื่องพลเมืองดี ชีวิตใหม่ ไร้ขยะ สามารถสรุป ผลได้ดังน้ี 1. ได้รูปแบบการขับเคลื่อนโรงเรยี นคุณธรรมเพื่อบรรลุคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านสันทราย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 โดยการนำโครงการโรงเรียนคุณธรรม ของ สพฐ. มาสร้างแนวทางปฏิบัติเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเชิงบวกในโรงเรียน ซึ่ง สามารถขยายผลการพัฒนาคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหม้ ีประสิทธิภาพมากยิ่งขนึ้ 2. ผลการประเมินคุณธรรมเป้าหมายด้านความรับผิดชอบและมีจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียน บา้ นสันทรายอยู่ในระดับดีมาก นักเรียนมีจิตสำนึกในการดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรียน มีส่วน ช่วยให้โรงเรียนสะอาดน่าอยู่ สร้างสุขอนามัยท่ีดี รวมถึงสร้างบรรยากาศที่ ดี เอ้ือต่อเรียนรู้ 3. โรงเรียนบ้านสันทรายสะอาดขึ้น นักเรียนทิ้งขยะถูกท่ี คัดแยกขยะแต่ละชนิดได้ถูกต้อง โรงเรียนมี ปุ๋ยหมักจากใบไม้ใช้ ถือเป็นการสนับสนุนการทำเกษตรเชิงอินทรีย์ เป็นการส่งเสริมประสบการณ์ให้ นักเรียนรู้จักการสร้างผลิตภัณฑ์ และยังสามารถนำไปต่อยอดสร้างรายได้ในอนาคตได้ นอกจากนี้ยัง ช่วยลดมลพิษทางอากาศ เพราะถือเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาการเผาขยะ เผาใบไม้ในโรงเรียนและ ชมุ ชนโดยรอบ 4. นักเรียนได้นำวิธีการจัดการขยะท่ีได้ปฏิบัติในโรงเรียนไปปรับใช้ท่ีบ้าน เผยแพร่ความรู้นี้ไปสู่ ผปู้ กครองและชุมชน 5. นักเรียนทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกันทำให้เกิดกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม มีความสามัคคีรัก ใครก่ ันในโรงเรยี น

45 ข้อเสนอแนะ 1. ในการผลิตปยุ๋ อินทรยี ์จากการทำโครงงานคร้งั นีถ้ ือว่ายงั มีข้อบกพร่องในเรื่องของการ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ทีย่ งั ไมแ่ ข็งแรง และขาดข้อมูลทจ่ี ำเป็นบางสว่ นบนสลากสินค้า โรงเรียนและผมู้ ี ส่วนเกย่ี วขอ้ งในการทำโครงงานควรนำขอ้ บกพร่องน้ีไปพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพท่ีดีขึน้ เพ่ือเป็น แนวทางในการสร้างอาชีพสร้างสร้างรายไดต้ ่อไป 2. ควรขยายการประชาสมั พนั ธ์โครงงานคุณธรรมและส่งเสรมิ ให้ผลิตภัณฑ์ปุย๋ อนิ ทรีย์ เปน็ ทีร่ ูจ้ ักในวงกวา้ ง เพื่อเป็นการขยายผลเรือ่ งการกำจดั ขยะจากธรรมชาติ จำพวกใบไม้ต่าง ๆ อย่าง ถูกวธิ ี การสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ สร้างทางเลอื กในการกำจัดขยะให้กับชมุ ชนอย่างแพร่หลายมากขึ้น นำไปสกู่ ารลดปัญหามลภาวะทางอากาศซงึ่ เปน็ ปญั หาใหญ่ในแถบภาคเหนือ

46 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). กรอบความคิดเพอ่ื ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมทเี่ น้นความมี ระเบยี บ วินัยและความเป็นประชาธิปไตย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว กระทรวงศึกษาธิการ.(2553). พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภณั ฑ์. คมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2547). การศึกษาและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของเด็กและเยาวชนไทย. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ทิศนา แขมมณี. (2546). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรงุ เทพฯ: เสรมิ สนิ พรเี พรสซิสเทม็ . พรรณทิพย์ ศิรวิ รรณบุศย.์ (2550). จติ วทิ ยาครอบครัว. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . พระเมธธี รรมาภรณ.์ (2551). คณุ ธรรมสำหรบั นกั บรหิ าร. (พิมพค์ ร้ังท4่ี ). กรุงเทพฯ : สหธรรมิก. พรน้ิ ติง้ แอนด์พบั ลิสชิ่ง. มหาบณั ฑิต. เลย : มหาวิทยาลัยราชภฏั เลย. โยธิน จันทร์สว่าง. (2552). สภาพและปัญหาการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับ นักเรียนโรงเรยี นสงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาเลย เขต 1. การคน้ คว้าอิสระครศุ าสตร ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธนั วาคม 2554. กรงุ เทพฯ: ราชบณั ฑิตยสถาน. รุ่งอรุณ เขียวพุ่มพวง. (2557). กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก. กรุงเทพฯ : สำนักนนั ทนาการ, กรมพลศึกษา. โรงเรียนพญาไท. (2561). รายงานผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ของโรงเรียน พญาไท. กรุงเทพ ฯ : โรงเรยี นพญาไท. วศนิ อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : ธรรมดา. ศนู ยโ์ รงเรียนคณุ ธรรม มลู นธิ ยิ วุ สถริ คณุ . (2558). คูม่ อื ปฏิบตั โิ รงเรยี นคณุ ธรรม. กรุงเทพฯ: สหมติ ร ศูนย์โรงเรียนคุณธรรมมูลนิธิยุวสถิรคุณ. (2559). คู่มือการปฏิบัติโรงเรียนคุณธรรม. (พิมพ์ครั้งท่ี2). กรุงเทพฯ: สหมติ รพร้ินตงิ้ แอนดพ์ บั ลิสชิ่ง.

47 บรรณานุกรม (ต่อ) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา.(2550). แนวทางการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา เพือ่ พรอมรบั การประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : พมิ พด.ี สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552).ข้อเสนอปฏิรูปการศึกษาทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.2552- 2561). กรงุ เทพ ฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. __________ (2555). ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากําลังคนของประเทศในช่วงการปฏิรูป การศกึ ษาในทศวรรษทส่ี อง พ.ศ. 2552 – 2561. กรุงเทพ ฯ: พรกิ หวานกราฟฟิ ค.

48 ภาคผนวก

49 ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook