1 . ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้ บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต 306 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชีพธุรกิจและบรกิ าร สที ่เี หน็ ตำาแหน่ง ตำาแหนง่ Xn= XL-2XR ความยาวคลื่น แหลง่ กำาเนดิ แสง แถบแรก ทางซา้ ย XL ทางขวา XR (nm) เทยี นไข (cm) (cm) หลอดไฟแอลอีดี สรุปและอภิปรายผลการทดลอง ผู้สอนให้ผ้เู รยี นทำ� แบบทดสอบ จากน้นั ใหผ้ เู้ รยี น แลกกนั ตรวจคำ� ตอบ โดยผสู้ อนเป็นผเู้ ฉลย แบบทดสอบ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ 307 คาำ สัง่ จงเลือกคาำ ตอบท่ถี ูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งคำาตอบเดยี ว 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ยี วกับสเปกตรัมของสสาร 1. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องเก่ยี วกับคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ 1. เคล่อื นท่ีในสญุ ญากาศได้ 1. วตั ถุดำาจะทำาใหเ้ กิดสเปกตรัมแผร่ งั สี ปรากฏเปน็ เสน้ สวา่ งบนแถบมดื 2. มีความเรว็ เทา่ กับแสง 3. สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กตงั้ ฉากกนั 2. ดวงอาทิตย์แผ่รงั สีทาำ ให้เกดิ สเปกตรัมดูดกลนื ปรากฏเป็นเสน้ มดื บนแถบสีรุง้ 4. ความถ่ีคล่ืนแปรผันกับความยาวคล่ืน 5. พลังงานคล่ืนแปรผกผนั กับความยาวคลื่น 3. สเปกตรมั ของแสงสีขาวที่มีความยาวคลนื่ มากทสี่ ดุ คอื สีมว่ ง 2. ข้อใดไมใ่ ชข่ อ้ สรุปของสมการในทฤษฎขี องแมกซ์เวลล์ 1. ผลรวมของประจสุ ุทธทิ ีอ่ ยภู่ ายในผวิ ปิดเปน็ ศนู ย ์ ฟลกั ซท์ ี่ผ่านผิวปดิ นนั้ ย่อมเปน็ ศนู ย์ 4. สเปกตรัมของแสงสขี าวที่มคี วามถ่คี ลื่นมากทส่ี ดุ คือสีแดง 2. จะไมพ่ บแมเ่ หลก็ ที่มขี ว้ั เหนอื เพียงขัว้ เดียวหรอื แม่เหล็กท่ีมขี วั้ ใตเ้ พยี งข้ัวเดยี ว 3. สนามไฟฟ้าเกิดจากการเปล่ียนแปลงของสนามแม่เหล็กในหน่ึงหน่วยเวลาและจะเกิดในทิศ 5. ดาวฤกษท์ ่มี สี ีฟ้าจะมีพลังงานนอ้ ยกว่าดาวฤกษท์ ีม่ แี สงสสี ้ม หมุนวน 4. สนามแม่เหล็กเกิดได้จากกระแสไฟฟ้าหรือสนามไฟฟ้าท่ีเปล่ียนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลา 4. รงั สอี ัลตราไวโอเลตชนดิ ใดทาำ ใหเ้ กิดอันตรายต่อมนุษยไ์ ด้มากทส่ี ดุ โดยจะเกดิ ในทศิ หมนุ วน 5. แสงเป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็มีความเร็วเท่ากับแสง คือ 3×108 เมตร 1. UVA 2. UVB ตอ่ วนิ าที 3. UVC 4. VUV เฉลยแบบทดสอบ 5. EUV 1. ตอบ 4. ความถี่คลื่นแปรผันกับความยาวคลื่น กล่าว ไม่ถกู ตอ้ ง 5. ข้อใดคอื รงั สีอนิ ฟราเรด 2. ตอบ 5. แสงเป็นคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าและคล่ืนแม่เหล็ก 1. รังสีเหนอื ม่วง ไฟฟ้าก็มี ความเร็วเทา่ กับแสงคือ 3 x 108 m/s 2. รังสใี ต้แดง 3. ตอบ 2. ดวงอาทิตย์แผ่รังสีท�ำให้เกิดสเปกตรัมดูดกลืน ปรากฏเปน็ เส้นมืดบนแถบสรี ุ้ง 3. รงั สีเบ่ียงเบนในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า 4. ตอบ 3. รังสี UVC ทำ� ใหเ้ กิดอนั ตรายต่อมนษุ ยม์ ากท่สี ุด 4. มีความยาวคลนื่ มากกว่าคลื่นวทิ ยุ 5. ตอบ 2. รงั สใี ต้แดง คอื รงั สอี นิ ฟราเรด 6. ตอบ4.เรดารต์ รวจจบั วตั ถบุ นทอ้ งฟา้ ใชส้ ญั ญาไมโครเวฟ 5. มคี วามถค่ี ลืน่ น้อยกว่าคลนื่ วทิ ยุ ตรวจจบั รอบด้าน 360 องศา จึงจบั วตั ถบุ นท้องฟา้ ไดด้ ี 6. ข้อใดกล่าวไมถ่ ูกต้องเกยี่ วกับคล่นื ไมโครเวฟ เหมือนดาวเทยี ม 7. ตอบ 3. รงั สีอัลตราไวโอเลต 1. สญั ญาณไมโครเวฟจะเดนิ ทางเปน็ เสน้ ตรงในระดบั สายตา ไมส่ ามารถเลยี้ วหรอื โคง้ ตามขอบโลกได้ 2. การสื่อสารโทรศัพท์เคล่ือนที่ การส่งสัญญาณอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม ใช้คล่ืนสัญญาณ ไมโครเวฟ 3. กเู กลิ แมพ (Google Map) เปน็ การใชง้ านระบบดาวเทยี มระบตุ าำ แหนง่ โดยใชส้ ญั ญาณไมโครเวฟ 4. เรดาร์ตรวจจับวัตถุบนท้องฟ้าใช้สัญญาณไมโครเวฟ ตรวจจับรอบด้าน 360 องศา จึงจับวัตถุ บนท้องฟ้าได้ดเี หมือนดาวเทียม 5. อวัยวะท่ีไวต่อการได้รับผลกระทบจากคล่ืนไมโครเวฟ คือดวงตา เวลาใช้เตาไมโครเวฟจึงต้อง ระวังดวงตาใหด้ ีกวา่ อวยั วะอ่ืนๆ 7. หลอดแบล็คไลทเ์ ป็นหลอดไฟฟ้าทใี่ หร้ งั สชี นดิ ใด 1. อนิ ฟราเรด 2. แสงขาว 3. อัลตราไวโอเลต 4. บีตา 5. เอกซ์ 200 สดุ ยอดคมู่ อื ครู
A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก asean 308 วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาอาชีพธุรกจิ และบริการ เฉลยแบบทดสอบ 8. ตอบ 3. สมี ว่ ง–ฟา้ 8. ผู้เรยี นมองเห็นกล้วยหอมทองสุกเป็นสีเหลือง แสดงว่าสที ีถ่ ูกดดู กลนื คือสอี ะไร 9. ตอบ 4. ใชต้ รวจหาวตั ถรุ ะเบดิ หรอื อาวธุ ปนื 1. สเี ขียว 2. สีนาำ้ เงนิ ในกระเป๋าเดินทาง 3. สีมว่ ง–ฟ้า 10. ตอบ 4.ใช้รักษาโรคผิวเผือกซึ่งเป็นโรค 4. สเี ขียว–เหลอื ง 5. สสี ้ม–แดง ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมรักษา โดยวิธี 9. ข้อใดเปน็ ประโยชน์ของรงั สเี อกซ์ ธรรมดาไม่ไดผ้ ล 1. กาำ จัดแมลงศตั รพู ชื 2. ฉายรังสใี นอาหารเพ่อื ถนอมอาหาร 3. ตรวจหารอยนิ้วมือของผู้ต้องสงสยั ในคดอี าชญากรรม 4. ตรวจหาวตั ถุระเบิดหรืออาวธุ ปนื ในกระเปา๋ เดินทาง 5. รักษาโรคมะเร็ง 1 0. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของรงั สแี กมมา 1. ใช้เปลีย่ นแปลงพนั ธุกรรมพชื ใหม้ ีลกั ษณะแปลกใหมต่ ามต้องการ 2. ใชท้ าำ กลอ้ งโทรทรรศน์ติดตามการชนกนั ของดาวหรือหลมุ ดำา 3. ใช้เปน็ รงั สีอาบบนพชื ผลทางการเกษตรเพอื่ ปอ้ งกนั การเสยี หายจากจุลนิ ทรียห์ รอื แมลง 4. ใช้รักษาโรคผิวเผือกซ่ึงเปน็ โรคท่ีถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรมซ่งึ รักษาโดยวธิ อี ืน่ ไม่ไดผ้ ล 5. ใช้รกั ษาโรคมะเรง็ โดยการฉายรังสีลงไปบนเซลลม์ ะเรง็ เพอ่ื ทาำ ลาย สุดยอดคมู่ อื ครู 201
1 . ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้ บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต บรรณานุกรม กรมควบคมุ มลพษิ , กระทรวงทรัพยการธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม. 2554. พลาสติกและโฟมเพ่ือลดปัญหาสง่ิ แวดล้อม. (ออนไลน์) เขา้ ถึงได้จาก http://www.pcd.go.th. (วนั ทคี่ น้ ข้อมูล 23 มถิ ุนายน 2562) กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม, กระทรวงอตุ สาหกรรม. ประเทศไทยไดอ้ ะไรจากเทคโนโลยีชวี ภาพ. (ออนไลน)์ เข้าถึงได้จาก http://library.dip.go.th/Industrial%20Innovation/www/inno3-03.html. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู 26 มถิ นุ ายน 2562) กันยรตั น ์ ภัยชาำ นาญ. ยาแก้ปวด (Analgesics). (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://www.honestdocs.co/analgesics (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล 15 กรกฎาคม 2562) การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พลาสติก. เร่ืองท่ี ๘ พลาสติกกับชีวิตในปัจจุบัน. เล่มที่ ๒๘. สารานุกรมไทยสำาหรับเยาวชนฯ. (ออนไลน์) เข้าถงึ ไดจ้ าก http://kanchanapisek.or.th/ (วันทค่ี น้ ขอ้ มลู 20 มิถุนายน 2562) การตรวจคัดกรองโครโมโซมและการตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทางพันธุกรรมของตัวอ่อน. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://www.phyathai-sriracha.com. (วนั ทคี่ ้นขอ้ มลู 29 มิถุนายน 2562) จริ าพร สอี ิ่น และคณะ. 2556. สอื่ ความรเู้ รื่อง Cell Disvission and Genetics. คณะสหเวชศาสตร์, สาขาทัศน มาตรศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. จฑุ ากานต ์ บุญมี. 2555. พลาสติกชีวภาพทางเลอื กท่ีเป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม. วารสารส่งิ แวดลอ้ ม ; 16(2) หน้า 15-19. จลุ นิ ทรยี ์ แบคทเี รยี ยสี ต.์ (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.nstda.or.th/th. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู 5 กรกฎาคม 2562) ชยุตพงศ์ นันท์ธนะวานิช. การสำารวจและผลติ ปโิ ตรเลยี มในประเทศไทย. (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.thailand-energy-academy.org (วันทคี่ น้ ข้อมูล 11 มิถุนายน 2562) เช้อื ไวรสั และเช้ือราทีท่ าำ ใหอ้ าหารเป็นพิษ. (ออนไลน์) เข้าถึงไดจ้ ากhttp://www.healthcarethai.com (วนั ที่คน้ ข้อมลู 5 กรกฎาคม 2562) ณปภชั พมิ พ์ดี. ปโิ ตรเลยี ม. (ออนไลน์) เขา้ ถึงได้จาก https://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7157- petroleum (วันทค่ี น้ ข้อมลู 10 มถิ ุนายน 2562) นพพร แสงอาทิตย์. 2559. ไบโอดีเซล : การออกแบบการทดลองสำาหรับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ยุคศตวรรษท่ี 21 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเคมีศกึ ษา คณะวทิ ยาศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา ชลบุรี. นริศรา สขุ สวสั ด์ิ. การถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม. (ออนไลน)์ เขา้ ถึงได้จากhttp://www.wicec.ac.th/web/ dna/cro.html. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล 29 มถิ ุนายน 2562) นฤทธิ์ ใหญโ่ สมานงั . การใชป้ ระโยชน์สารใหก้ ลิน่ ในอาหาร. (ออนไลน)์ เข้าถงึ ไดจ้ ากhttp://www.neutron.rmut physics.com. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มูล 12 กรกฎาคม 2562) บรุ นิ ทร ์ อศั วพภิ พ. คมู่ อื สอ่ื การสอนวชิ าฟสิ กิ สเ์ รอื่ ง สเปกตรมั ของแสง. (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.phukhieo. ac.th/obec-media. (วันท่ีคน้ ข้อมลู 19 กรกฎาคม 2562). ปกรณ ์ คงสวสั ด.์ิ 2562. เทคโนโลยกี บั ชวี ติ : ดเี อน็ เอ จลุ ชพี กลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบทนุ นยิ มไดอ้ ยา่ งไร. (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://prachatai.com. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู 26 มิถนุ ายน 2562) ประเทือง รอดเพ็งสังคหะ. ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับสิ่งเป็นพิษ : พิษจากเคร่ืองสำาอาง. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://webdb.dmsc.moph.go.th. (วันท่ีค้นข้อมลู 15 กรกฎาคม 2562). ผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อสิ่งมีชีวิต. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จากhttp://www.neutron.rmutphysics.com. (วันทค่ี น้ ข้อมลู 18 กรกฎาคม 2562). พงศธร นันทธเนศ และสนุ ทร ภูรปี รชี าเลศิ . สารและสมบัติของสาร ม.4 - ม.6. อักษรเจริญทัศน.์ กรงุ เทพฯ. พรรณพมิ ล วิปลุ ากร. 2562. เตือนผงชรู ส กินมากเสย่ี งป่วย. (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ ากhttps://www.thaihealth. or.th. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มูล 15 กรกฎาคม 2562). พัชรินทร ์ สกแี พทย์. 2553. ธนาคารความรู้เร่ืองพอลิเมอร.์ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จากhttps://tan52170.wordpress. com. (วนั ทค่ี น้ ข้อมูล 20 มถิ ุนายน 2562) พิชญานนิ เพชรล้อมทอง และปุณฑรกิ า รัตนตรยั วงศ.์ 2557. นาำ้ ตาลและสารให้ความหวานกับแนวทางการบริโภค ในยคุ ปจั จบุ ัน. วารสารเกษตรพระจอมเกลา้ , 32 (1) หนา้ 77-86. พิทักษ์ฉัตร เทพราชา. คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาhttps://krupitakchatr.wordpress.com/ em_wave/. (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู 17 กรกฎาคม 2562). พิมพเ์ พ็ญ พรเฉลิมพงศ ์ และนธิ ยิ า รัตนาปนนท์. ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยข้อมลู อาหารครบวงจร : พอลิไวนลิ คลอไรด์ Polyvinylchloride (PVC). (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ได้จากhttp://www.foodnetworksolution.com. (วันที่คน้ ขอ้ มูล 21 มิถนุ ายน 2562) เพาะยาต้านมะเร็งในไข่ไก่ : นักวิทย์ฯ ญ่ีปุ่นหวังลดต้นทุนการรักษาโรค the standard.co. 2560. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://today.line.me/th/pc/article. (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล 27 มถิ นุ ายน 2562) ภูษิต โพธิ์แสง. การส่งคล่ืนวิทยุสำาคัญอย่างไร พระอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ศาสตรพ์ ระราชา). (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.mhesi.go.th/main/th. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู 19 กรกฎาคม 2562). มูลนธิ หิ วั ใจแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ.์ เกลอื โพแทสเซยี ม อีกหนงึ่ ทางเลอื กในการลดโซเดียม ดูแลหวั ใจ. (ออนไลน์) เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.thaiheartfound.org. (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล 13 กรกฎาคม 2562) ระบบไฟฟา้ กาำ ลงั . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://nongcom-electrical.blogspot.com. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู 20 กรกฎาคม 2562). วรรณคล เชอื้ มงคล. สารใหค้ วามหวาน ; การใชแ้ ละความปลอดภยั . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ ากfile:///C:/Users/USER/ Downloads/2723-8850-1-SM.pdf. (วันท่ีค้นข้อมูล 12 กรกฎาคม 2562) วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ. 2555. ปิโตรเลียม. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://www.slideshare.net/woravith/ petroleum-12275525 (วันทีค่ น้ ข้อมูล 10 มถิ นุ ายน 2562) วชิ ญพ์ ล พลพทิ กั ษช์ ยั . 2558. รจู้ กั จลุ นิ ทรยี ส์ งิ่ มชี วี ติ ตวั จว๋ิ ทอี่ ยใู่ กลต้ วั . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.tkpark. or.th. (วันที่ค้นข้อมูล 5 กรกฎาคม 2562) วิชัย ลิขิตพรรักษ์. 2558. พอลิเมอร์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://www.slideshare.net/meemahidol. (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล 20 มิถุนายน 2562) ศุลพี ร แสงกระจา่ ง ปัทมา พลอยสว่าง และปรณิ ดา พรหมหติ าธร. 2556. ผลกระทบของพลาสตกิ ตอ่ สุขภาพและ 202 สดุ ยอดคู่มือครู
A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก asean สิ่งแวดลอ้ ม. วารสารพษิ วทิ ยาไทย 2556 ; 28 (1). หนา้ 39 – 48. ศูนย์การเรียนรู้จังหวัดทหารบกปัตตานี. ไบโอดีเซลและแก๊สโซฮอล์จากพืชของไทย. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/pattaniknowlege/bi-xo-disel (วันที่คน้ ขอ้ มลู 11 มิถุนายน 2562) ศนู ยก์ ารเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร.์ ปโิ ตรเลยี ม. (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.lesa.biz/earth/ lithosphere/fuel/oil (วันที่คน้ ข้อมลู 10 มถิ ุนายน 2562) ศนู ยก์ ารเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร.์ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttp://www.lesa.biz/ astronomy/light/em-waves. (วนั ทีค่ น้ ข้อมูล 17 กรกฎาคม 2562). ศนู ยว์ ิทยบรกิ าร, สำานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา. สารใหค้ วามหวาน. (ออนไลน์) เขา้ ถึงได้จาก http://elib. fda.moph.go.th/library/default.asp. (วนั ที่คน้ ข้อมูล 12 กรกฎาคม 2562) ศนู ยว์ จิ ยั ดา้ นการจดั การยทุ ธศาสตรแ์ ละการปฏบิ ตั กิ าร, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ 2559. ยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ตั ิ การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกลุ่มอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ (Bio-Based Industry) : อุตสาหกรรมพลาสตกิ ชวี ภาพ. ปณั ณธร มีเดยี . บางกะปิ, กรุงเทพฯ. สมพร จองคาำ และอารีรตั น์ คอนดวงแก้ว. รงั สเี อกซ์ รงั สแี กมมา และรงั สีนวิ เคลียร์. (ออนไลน์) เข้าถึงไดจ้ าก http:// www.nst.or.th. (วนั ทค่ี ้นข้อมูล 19 กรกฎาคม 2562). สมาคมส่งเสริมความปลอดภยั และอนามยั ในการทำางาน ( ประเทศไทย ). 2555. สารเคมใี นชีวิตประจำาวนั . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.shawpat.or.th/news. (วนั ที่ค้นขอ้ มลู 10 กรกฎาคม 2562) สลลิ า มหันตเ์ ชดิ ชูวงศ.์ 2561. ซอสศึกษา. (ออนไลน์) เข้าถึงไดจ้ ากhttps://www.greenery.org/articles. (วันทค่ี น้ ขอ้ มูล 13 กรกฎาคม 2562) สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. เชื้อเพลิงจากธรรมชาติ...ไบโอดีเซล. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http://nstda.or.th/rural/public/100%20articles-stkc/70.pdf (วันท่คี ้นขอ้ มูล 11 มถิ นุ ายน 2562) สายชล ศรแี ป้น. เซลล์แสงอาทิตยช์ นดิ ใหม่ ท่ีสามารถผลติ พลงั งานไฟฟ้าได้จากฝนและแสงแดด. (ออนไลน)์ เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.thaiphysoc.org. (วนั ท่คี น้ ขอ้ มูล 20 กรกฎาคม 2562). สารเคมีกาำ จดั วชั พชื (Herbicides). วารสาร Bulletin. July-September 1999: 7(3). (ออนไลน)์ เขา้ ถึงไดจ้ าก https://med.mahidol.ac.th. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู 13 กรกฎาคม 2562) สำานักงานคณะกรรมการกำากับกิจการพลงั งาน. สาระน่ารูเ้ ก่ยี วกับค่าไฟฟา้ . (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก https://www. erc.or.th/ERCWeb2/Upload/Document/FactSheet. (วันทคี่ ้นขอ้ มูล 20 กรกฎาคม 2562). สำานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาต.ิ ม.ป.ป. เกลือคณุ คา่ ทมี่ ากกวา่ ความเค็ม. (ออนไลน์) เข้าถงึ ได้ จาก http://nstda.or.th/rural/public. (วนั ทค่ี ้นข้อมูล 13 กรกฎาคม 2562) สำานกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม, กระทรวงอตุ สาหกรรม. เอกสารเผยแพรอ่ ตุ สาหกรรมนา่ รู้ ความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกับ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมพลาสติก. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จากhttp://www.oie.go.th/sites/ default/files/attachments/IndustBasicKnowledge/Master_13.pdf (วันท่ีค้นข้อมลู 16 มิถุนายน 2562) สทิ ธพ์ิ งษ ์ ฟอ้ งเสยี ง. คลน่ื . (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://sites.google.com/a/phonmuang.ac.th. (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มลู 17 กรกฎาคม 2562). สุทธิ ภมรสุมิตร. 2544. เอกสารประกอบการเรียนวิชา Food Additives. ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลย ี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : มหาสารคาม. สุภฏารัตน์ สธุ ีพรวโิ รจน์. 2556. ธรรมชาติของสีจากธรรมชาติ. (ออนไลน)์ เจา้ ถึงได้จากhttps://www.pharmacy. cmu.ac.th. (วนั ท่คี ้นข้อมลู 12 กรกฎาคม 2562) สภุ านนั ท ์ สจุ รติ . ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทนี่ อกเหนอื กฎเมลเดล. (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://sites.google.com/ site/celldisvisionandgenetics. (วันท่ีค้นขอ้ มลู 28 มิถนุ ายน 2562) สรุ นิ ทร ์ อยยู่ ง. 2559. ฟอรม์ าลนิ -ฟอรม์ ลั ดไี ฮด.์ (ออนไลน)์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/ th. (วันทค่ี ้นข้อมูล 13 กรกฎาคม 2562) สุวิมล กรี ติพิบูล. 2550. ระบบการจดั การและควบคุมการผลติ อาหารใหป้ ลอดภัย. สาำ นักพิมพ์สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน่ ). กรุงเทพฯ. อรุณี คงดี. 2554. เอกสารอบรมครูวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ : โลกดารศาสตร์และอวกาศ. ระหว่าง วันท ่ี 9 – 13 พฤษภาคม 2554. คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั แม่โจ ้ จ.เชียงใหม.่ สุดยอดคมู่ ือครู 203
ตารางสรปุ คะแนนการประเมนิ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และสมรรถนะประจำ� หน่วย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ คะแนนตาม จปส. รายหนว่ ยการเรียนรู้ ชนิ้ งาน/การแสดงออก 1. บอกความหมายของค ื่ลนแม่เห ็ลกไฟ ้ฟาไ ้ด รวม ทกี่ �ำหนดในหนว่ ยการเรียนรหู้ รือหน่วยยอ่ ย 2. อ ิธบายการเ ิกดกระแสไฟฟ้าไ ้ด 3. อ ิธบายการเกิดสเปกตรัมของค ืล่นแ ่มเห ็ลกไฟ ้ฟาได้ 4. �คำนวณหาความสัมพัน ์ธระห ่วางความถ่ีคล่ืน ความยาวค ่ืลน และพลังงานได้ 5. บอกประโยชน์ของค ืล่นแม่เห ็ลกไฟ ้ฟาไ ้ด 6. อธิบายความแตก ่ตางของคลื่นแ ่มเหล็กไฟ ้ฟาแ ่ตละชนิดไ ้ด 7. บอก ัอนตรายท่ีเกิดจากค ื่ลนแ ่มเห ็ลกไฟ ้ฟาไ ้ด ภาระงาน/ชิน้ งานระหวา่ งเรยี น 1. ผังกราฟิกแสดงการเก็บ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 2. ผั ง ก ร า ฟิ ก ส รุ ป ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ 3. การนำ�เสนอผลการสรุปความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ การประเมินรวบยอด 1. ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 2. ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 3. ผลการประเมินตนเอง 4. คะแนนผลการทดสอบ รวม หมายเหต:ุ คะแนนการประเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ ึน้ อยู่กบั การออกแบบแผนการจดั การเรียนรขู้ องผ้สู อน 204 สุดยอดคู่มือครู
ภาคผนวก หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ตอบ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทมี่ คี วามแปรผนั ต่อเนอื่ งกับลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทีม่ คี วามแปรผันไม่ต่อเนอ่ื ง 2. ตอบ นำ�ไปผสมพันธุ์กับแมวพันธุ์พื้นเมืองท่ีเป็นยีนด้อยพันธ์ุแท้ แล้วสังเกตลูกท่ีเกิดข้ึน ถ้ามีลักษณะเหมือนแมวเปอร์เซียแสดงว่าเป็นยีนเด่นพันธุ์แท้ แต่ถ้าลูกเกิดมามีทั้ง ทีเ่ หมือนแมวเปอรเ์ ซยี และเหมอื นแมวพันธ์พุ ื้นเมืองแสดงวา่ เป็นพันธ์ผุ สมหรือพันธุ์ทาง 3. ตอบ ให้ดอกเยอรบ์ ีรา่ สีแดงพันธ์ทุ าง มจี ีโนไทป์เปน็ Rr และดอกเยอร์บรี ่าสเี หลืองพนั ธ์แุ ท้ เปน็ rr รุ่นพอ่ แม่ Rr X rr จะได้รนุ่ ลกู Rr Rr rr rr ดังนั้น รุ่นลูกที่ได้จะมีดอกสีแดง 2 ส่วน และดอกสีเหลือง 2 ส่วน หรือ อตั ราส่วนสีแดง ตอ่ สีเหลอื งเป็น 1 : 1 4. ตอบ ก�ำ หนดให้ หนตู ะเภาขนสนั้ สดี �ำ มจี โี นไทป์ เปน็ SSBB และหนตู ะเภาขนยาวสขี าวมจี โี นไทป์ เป็น ssbb เม่ือน�ำ ไปผสมพนั ธจุ์ ะมีการถา่ ยทอดยีนไดด้ ังน้ี รนุ่ พอ่ แม่ SSBB X ssbb แยกยีนในเซลลส์ บื พนั ธ์ไุ ดเ้ ป็น SB sb จแเมะยื่อไกดนย้รำ�ีนุ่นรใลุน่นูกลเซกู ลFFล11์สผเบื ปสพ็นมนั พ ธัน์ุไดธเ้์กุ ปนั ็นเอง SsBb (มขี นสน้ั สีดำ�ทุกตัว) SsBb X SsBb SB, Sb, sB, sb (เหมือนกนั ท้ังพอ่ และแม)่ สดุ ยอดคู่มือครู 205
เมือ่ เซลลส์ ืบพนั ธขุ์ องพ่อพนั ธแุ์ ละแมพ่ นั ธ์รุ วมตวั กันเกดิ เปน็ รนุ่ หลาน F2 จะมโี อกาสในการ เกิดดังนี้ เซลลส์ ืบพันธุ์ ของพ่อและแม่ SB Sb sB sb SB SSBB SSBb SsBB SsBb ขนสั้นสดี �ำ ขนสัน้ สดี �ำ ขนสน้ั สดี ขนสนั้ สีด �ำ SSBb SSbb SsBb Ssbb Sb ขนสั้นสีด�ำ ขนสนั้ สีขาว ขนส้นั สีด�ำ ขนส้ันสีขาว sB SsBb SsBb ssBB ssBb ขนสน้ั สดี �ำ ขนส้นั สีด�ำ ขนยาวสดี ำ� ขนยาวสีดำ� SsBb Ssbb ssBb ssbb sb ขนส้นั สีด�ำ ขนส้นั สีขาว ขนยาวสดี �ำ ขนยาวสีขาว ดขนงั นยนั้าวรสุ่นขี หาลวาแนละF2มจีจะโี นมไลี ทกั ปษ์ ณ9 ะแฟบีโบนไไดทแ้ปก์ 4่ SแSบBบBไSดSแ้ Bกbข่ นSสS้นั bสbดี S�ำ sขBนBสSั้นsสBขี bาวSsขbนbยาsวsBสดีBำ�sแsBลbะ ssbb 5. ตอบ จโี นไทปข์ องพ่อ อาจเปน็ IAIA หรอื IAi และจโี นไทปข์ องแม่อาจเปน็ IBIB หรือ IBi ดังนัน้ จงึ มโี อกาสเกดิ ขน้ึ ได้ 4 กรณี ดงั นี้ กรณที ี่ 1 พ่อเป็น A พนั ธ์ุแท้ และแม่เป็น B พนั ธ์ุแท้ IAIA X IBIB โอกาสเกดิ หมเู่ ลอื ดของลูกเป็น IAIB (หมูเลือด AB 100%) กรณีที่ 2 พ่อเป็น A พนั ธแ์ุ ท้ และแม่เป็น B พนั ธท์ุ าง IAIA X IBi โอกาสเกดิ หมูเ่ ลือดของลูกเป็น IAIB , IAi (หมเู ลือด AB 50% และหมู่เลอื ด A 50%) กรณที ่ี 3 พอ่ เปน็ A พันทาง และแม่เป็น B พนั ธ์ุแท้ IAi X IBIB โอกาสเกดิ หมเู่ ลอื ดของลูกเป็น IAIB , IBi (หมูเลอื ด AB 50% และหมู่เลือด B 50%) กรณีท่ี 4 พ่อเป็น A พนั ธทุ์ างและแมเ่ ป็น B พนั ธ์ุทาง IAi X IBi โอกาสเกิดหมเู่ ลือดของลูกเปน็ IAIB, IAi, IBi, ii (หมูเลือด A 25% หมเู่ ลอื ด B 25% หมเู่ ลือด AB 25% และหมู่เลือด O 25%) ทั้งนี้การถา่ ยทอดหมู่เลอื ดจากพอ่ แมไ่ ปสลู่ กู น้นั จะเกิดขึ้นเพียงกรณีเดยี วเท่านัน้ ในหน่ึง ครอบครวั ดงั นัน้ หากเปน็ กรณีที่ 4 ลูกจึงมีโอกาสเกดิ มามีหมู่เลือดเปน็ ไดท้ กุ หมู่ 206 สดุ ยอดคู่มอื ครู
6. ตอบ 6.1 ตอบ โรคดาวน์ซินโดรม โรคเอ็ดเวิร์ดซินโดรม โรคพาทัวซินโดรม โรคคริดูชาต์ กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ กลุ่มอาการซุปเปอร์ฟีเมล กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ และกลุ่มอาการซุปเปอรแ์ มน 6.2 ตอบ กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ กลุ่มอาการซุปเปอร์ฟีเมล กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ และกลุม่ อาการซุปเปอร์เมล 6.3 ตอบ โรคคนแคระ กลุม่ อาการมาร์แฟน โรคผิวเผือก โรคธาลัสซเี มีย 6.4 ตอบ โรคฮีโมฟีเลีย โรคตาบอดสี 7. ตอบ นำ้�ตาลไรโบส ฟอสเฟต และไนโตรจีนัสเบส DNA ของแต่ละบุคคลแตกต่างกันท่ี ไนโตรจีนัสเบส 8. ตอบ RNA มี 3 ชนดิ ได้แก่ mRNA tRNA และ rRNA ซึง่ แตล่ ะชนดิ ท�ำ หนา้ ทด่ี งั น้ี mRNA ท�ำ หนา้ ทเ่ี ป็นตัวกลางในการเปลี่ยนถา่ ยข้อมูลพนั ธุกรรมจากล�ำ ดบั นิวคลโี อไทด ์ ของดีเอน็ เอไปเป็นล�ำ ดับกรดอะมโิ นของโปรตนี tRNA ท�ำ หนา้ ทีเ่ สมือนเปน็ เคร่อื งมอื อา่ นข้อมูลพนั ธุกรรมหรือล�ำ ดบั เบสบนสาย mRNA พรอ้ มกับนำ�กรดอะมโิ นทสี่ อดคลอ้ งกับรหัสพันธกุ รรมมาต่อกันเปน็ สายพอลเิ พปไทด์ rRNA ทำ�หนา้ ทส่ี งั เคราะห์โปรตีนชนดิ ต่างๆ ของสิ่งมีชีวติ 9. ตอบ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของยีนซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากการได้รับสารเคมี บางชนิดหรือการได้รบั รงั สี มิวเทชนั มี 2 แบบ ได้แก่ ยีนมวิ เทชัน และโครโมโซมมวิ เทชัน 10. ตอบ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ซ่ึงนักเรียนอาจตอบเกี่ยวกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ หรอื ด้านการเกษตร เช่น การคัดเลือกสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตจำ�พวกพืชและสัตว์ เพ่อื การขยายพันธ์ุ เปน็ ตน้ สดุ ยอดคูม่ ือครู 207
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ตอบ เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนำ�ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้กับส่ิงมีชีวิต ชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต หรือผลผลิตของส่ิงมีชีวิต เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นทางการผลิตหรือทางกระบวนการของสินค้า หรือบริการ เพ่ือใช้ประโยชน์เฉพาะอย่างตามที่เราต้องการ โดยเทคโนโลยีชีวภาพ มีความสำ�คัญคือใช้แก้ปัญหาสำ�คัญทั้งทางด้านเกษตรกรรม อาหาร การแพทย์ และ เภสัชกรรม เปน็ ตน้ 2. ตอบ การถ่ายฝากตวั อ่อน การทำ�พนั ธวุ ศิ วกรรม การโคลน 3. ตอบ ฝ่ายหญิงมีท่อนำ�ไข่อุดตันหรือท่อนำ�ไข่ถูกทำ�ลาย ฝ่ายชายมีปัญหาเกี่ยวกับเชื้ออสุจิ เช่น มีจำ�นวนอสุจิน้อย หรืออสุจิเคลื่อนที่ได้ไม่ดี คู่สมรสท่ีได้ใช้วิธีกระตุ้นการตกไข่ และการผสมเทียมโดยการฉดี อสจุ เิ ข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรงมาแล้วแต่ยังไมต่ ้งั ครรภ์ 4. ตอบ อุ้มบุญแท้ เป็นการนำ�ไข่ของแม่มาปฏิสนธิกับเช้ือของพ่อแล้วอาศัยมดลูกของคนอื่น อุ้มท้องแทนส่วนการอุ้มบุญเทียมเป็นการนำ�ไข่ของผู้อุ้มบุญหรือผู้ที่ทำ�หน้าท่ีตั้งท้อง มาผสมกับเชอ้ื ของพ่อ 5. ตอบ เพราะมีปญั หาดา้ นจริยธรรม ศาสนา และดา้ นกฏหมาย 6. ตอบ การโคลนสตั วม์ ขี ้นั ตอนคือ 1) การเตรยี มเซลล์ตน้ แบบ จากร่างกายของสตั ว์ต้นแบบ แล้วนำ�ไปเพาะเลี้ยงเพ่ือคัดแยกเซลล์ท่ีมีรูปร่างปกติดี ขนาดพอดี เพื่อทำ�เป็นเซลล์ ต้นแบบ 2) เตรียมไซโทพลาซึมผู้รับ โดยการนำ�ไข่ท่ีสุกแล้วมากำ�จัดเอานิวเคลียส ออก 3) ฉีดเซลล์ต้นแบบเข้าไปในไซโทพลาซึมผู้รับ 4) เชื่อมเซลล์ต้นแบบให้ติด กับไซโทพลาซึมผู้รับโดยใช้กระแสไฟฟ้าอ่อนๆ 5) กระตุ้นให้เซลล์แบ่งตัวด้วยสารเคมี 6) เล้ียงตวั อ่อนโคลนนิ่งในหลอดแก้ว 7) ถ่ายโอนตวั อ่อนโคลนน่งิ สูม่ ดลูกของ แมต่ วั รบั 7. ตอบ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเป็นการโคลนพืชโดยใช้เนื้อเยื่อเป็นต้นแบบในการโคลน ส่วนการทำ�พันธุวิศวกรรมเป็นการนำ�ยีนท่ีควบคุมลักษณะที่ต้องการจากพืชชนิดหน่ึง มาใส่ในเซลล์ของพืชอีกชนิดหน่ึงโดยใช้พาหะเป็นตัวนำ�ยีนเข้าสู่เซลล์ จากน้ันจึงนำ� เซลล์พชื ทีม่ ียนี ดังกลา่ วอยู่ภายในเซลล์ไปเพาะเลยี้ งอกี ทีหน่ึง ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่า การทำ� พนั ธวุ ศิ วกรรมตอ้ งอาศยั การเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ ในการเพมิ่ ปรมิ าณเซลลใ์ หพ้ ชื เจรญิ เตบิ โต ต่อไป 8. ตอบ ขอ้ ดขี อง GMOs คือ ในด้านการเกษตรจะทำ�ใหไ้ ด้พืชและสัตว์ที่มีลกั ษณะตามตอ้ งการ เช่น ทนต่อสภาพแวดล้อม ทนต่อโรคและแมลงศัตรูพืช ทนต่อสารเคมี เป็นต้น ในด้านผบู้ รโิ ภค ไดอ้ าหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการสงู ลดการขาดแคลนอาหาร เป็นต้น 208 สดุ ยอดคู่มือครู
ในด้านการแพทย์ ด้านยาและวัคซีนสำ�หรับรักษาโรคต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อม ชว่ ยลดปรมิ าณสารเคมที ใี่ ชใ้ นการเกษตร ท�ำ ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางชวี ภาพ เปน็ ตน้ ส่วนผลเสียของ GMOs เช่น ผู้บริโภคอาหารดัดแปลงพันธุกรรมมีความเสี่ยงต่อการได้ รับสารบางอย่างจากการปนเป้ือนของสารในกระบวนการผลิต หรืออันตรายจาก สารบางชนิดในอาหารท่ีมีปริมาณไม่เท่ากับปริมาณในธรรมชาติ ปัญหาในด้านเศรษฐกิจ และสังคม เช่น การผูกขาดสินค้า GMOs โดยบริษัทไม่ก่ีแห่งทำ�ให้เกิดความไม่ม่ันคง ทางด้านอาหารและไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ 9. ตอบ มีบทบาทในด้านต่างๆ เช่น ด้านการแพทย์ ทำ�ให้ผลิตยาและฮอร์โมนท่ีมีคุณภาพ ในการรักษาโดยไม่ทำ�ลายสุขภาพผู้ป่วย หรือผลิตวัคซีนป้องกันโรค หรือการรักษาโรค โดยใชย้ นี บ�ำ บดั ในดา้ นการเกษตร เชน่ การปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื ใหไ้ ดล้ กั ษณะทด่ี ตี ามตอ้ งการ การขยายพันธุ์ให้ได้ปริมาณมากๆ ในคราวเดียวกัน การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ ด้านอุตสาหกรรม เช่น การผสมเทียมสัตว์เศรษฐกิจ การทำ� พันธุวิศวกรรม เป็นต้น ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การใช้จุลินทรีย์ ช่วยรักษา ส่งิ แวดล้อม การผลติ พลาสติกย่อยสลายได้ เป็นตน้ 10. ตอบ มีผลกระทบเช่น ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดลดลง เชน่ แมลงเตา่ ทองทเี่ ลย้ี งในมนั ฝรง่ั ทที่ �ำ GMOs จะวางไขน่ อ้ ยลงและมอี ายสุ นั้ ลง เปน็ ตน้ ด้านสุขภาพและชีวิตของมนุษย์ เช่น อาหารเสริมที่ได้จากการตัดต่อยีนก่อให้เกิด ความผดิ ปกตแิ กร่ า่ งกายผบู้ รโิ ภค หรอื การดอื้ ยาปฏชิ วี นะในผปู้ ว่ ยทบ่ี รโิ ภคอาหารดดั แปลง พันธกุ รรม เป็นตน้ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม เช่น การผสมเกสรขา้ มสายพนั ธข์ุ องพชื ในธรรมชาติ กับพืชดัดแปลงพันธุกรรมทำ�ให้พืชมีความทนทานต่อยาปราบวัชพืชมากข้ึน ซึ่งจะทำ� ให้มีการใช้สารเคมีปราบวัชพืชท่ีเพ่ิมข้ึนตามมา เป็นต้น ด้านสังคมและจริยธรรม เช่น เกิดการขโมยยีนจากประเทศยากจน เพื่อใช้แสวงหากำ�ไรและผลประโยชน์จากยีน เหล่านั้น เกิดการสูญเสียสิทธิของเกษตรกรในการปลูกพืช เพราะเมล็ดพันธ์ุจะเป็น กรรมสทิ ธข์ิ องบริษทั ทไี่ ดค้ รอบครองสิทธิบตั รท่ีมีการดัดแปลงพันธกุ รรม สุดยอดคมู่ อื ครู 209
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตอบ จลุ นิ ทรยี ์ คอื สง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ทม่ี ที งั้ เซลลเ์ ดยี วและหลายเซลล์ มอี งคป์ ระกอบของเซลล์ ไม่ซับซ้อนมีท้ังที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า เช่น เห็ดและรา และส่วนใหญ่จะมอง ไม่เห็นด้วยตาเปล่าต้องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ เช่น แบคทีเรีย ยีสต์ ราบางชนิด สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้ำ�เงิน ไวรัส โพรโทซัว เปน็ ตน้ 2. ตอบ ใช้ในการแปรรูปอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการที่สูงข้ึนหรือมีอายุในการเก็บรักษา ไว้ไดน้ านขนึ้ 3. ตอบ ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมเบเกอร่ี อุตสาหกรรมการแปรรูป เนื้อสัตว์ เชน่ ไส้กรอก แหนม เป็นตน้ อตุ สาหกรรมการแปรรปู ผกั ผลไม้ เช่น ผกั ดอง ผลไมด้ อง เป็นต้น 4. ตอบ 4.1 แบคทเี รีย ไดแ้ ก่ นมเปรี้ยว โยเกริ ์ต เนยแข็ง แหนม ไสก้ รอกอสี าน หน่อไม้ดอง เป็นตน้ 4.2 ยสี ต์ ไดแ้ ก่ ข้าวหมาก เบียร์ ไวน์ ขนมปงั เค้ก โดนัท ซาลาเปา เปน็ ตน้ 4.3 รา ไดแ้ ก่ ซีอิ๊วขาว เตา้ เจย้ี ว ปลาร้า เทมเป้ ขา้ วแดง เตา้ หู้ย้ี เป็นตน้ 5. ตอบ จุลินทรยี ์ที่ปนมากบั อาหารโดยไม่ไดเ้ จตนาหรอื ต้ังใจใหป้ นเปอ้ื นลงไปในอาหาร 6. ตอบ มี 6 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่ม E.coli 2) กลุ่มเช้ือ Salmonella 3) กลุ่มเช้ือ Staphylococcus aureus และ Staphylococcal enterotoxins 4) กลุ่มเชื้อ Clostridium botulinum 5) กลุ่มเช้ือ Vibrio 6) กลุ่มเช้อื อื่นๆ ไดแ้ ก่ Plesiomonas shigelioides, Aeromonas species 7. ตอบ สารพิษจากเช้ือราได้แก่ อะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) พาทูลิน (Patulin) โอคราทอกซิน (Ochratoxin) เป็นต้น หากได้รับสารพิษอะฟลาทอกซินในปริมาณมากทำ�ให้เกิดโรค “udorn Encephalopathy” หรือ Encephalapathy and fatty degeneration of viscera หรือ EFDV ในเด็กจะมีอาการไข้สงู เฉยี บพลนั ไม่รสู้ ึกตวั หายใจขัด ชกั เนื่องจากน�้ำ ตาล ในเลือดต่ำ� อาเจียน หมดสติ และตายภายในเวลา 72 ช่ัวโมง ในผู้ใหญ่หรือหาก ได้รบั ปรมิ าณน้อยและรับติดต่อเปน็ เวลานาน อาจเกดิ โรคมะเรง็ 8. ตอบ ความชนื้ อณุ หภูมิ ความเป็นกรด-เบส สารอาหาร ปรมิ าณแกส๊ และรงั สี 9. ตอบ การใช้ความร้อนด้วยการพาสเจอไรซ์และสเตอริไลส์ การใช้ความเย็นโดยการแช่เย็น และแชแ่ ขง็ การทำ�อาหารแหง้ การใชส้ ารเคมแี ละการฉายรงั สี 10. ตอบ การรักษาความสะอาดและการควบคุมจุลินทรีย์ไม่ให้เจริญเติบโตจนเป็นอันตราย ต่อรา่ งกายด้วยการควบคุมปจั จยั ตา่ งๆ ที่มผี ลต่อการเจริญเตบิ โตของจลุ นิ ทรยี ์ 210 สดุ ยอดคมู่ อื ครู
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตอบ สารเคมีมีความสำ�คัญต่อการดำ�เนินชีวิตของมนุษย์ในด้านต่างๆ เช่น เป็นปัจจัยส่ี ในการด�ำ รงชวี ติ ไดแ้ ก่ อาหาร ยารกั ษาโรค สารเคมสี งั เคราะห์ เชน่ พอลเิ มอรใ์ ชป้ ระดษิ ฐ์ เสอ้ื ผา้ เคร่ืองนงุ่ ห่ม และวัสด ุ สังเคราะห์ใช้สร้างท่ีอยู่อาศัยหรือยานพาหนะต่างๆ เชน่ พลาสติก ไมเ้ ทียม โลหะ เปน็ ตน้ 2. ตอบ ประเภทของสารเคมีในชีวิตประจำ�วัน ถ้าใช้เกณฑ์การใช้ประโยชน์ในงานด้านต่างๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น สารเคมีในงานอาหาร สารเคมีทำ�ความสะอาด เคร่ืองสำ�อาง สารเคมีในทางการเกษตร และสารเคมที ใ่ี ช้เปน็ ยารกั ษาโรค เป็นต้น 3. ตอบ สารปรุงแต่งอาหาร แบง่ ไดเ้ ป็น 6 ประเภท ได้แก่ สารปรงุ แต่งสีอาหาร สารปรุงแต่งกลิ่น สารปรุงแต่งรสอาหาร สารกันบูดหรือวัตถุกันเสีย สารกันหืน สารให้ความคงตัวและ อิมัลซิไฟเออร์ 4. ตอบ สารเร่งเนื้อแดง บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน สารเคมีตกค้างจาก ยาฆ่าแมลงและสารกำ�จดั ศตั รูพชื 5. ตอบ สารเคมีท่ีพบในน้ำ�ยาทำ�ความสะอาด ได้แก่ สารลดแรงตึงผิว กรด ด่าง สารลด ความกระดา้ งของน�ำ้ และตัวทำ�ละลาย 6. ตอบ เครอ่ื งส�ำ อางแบง่ ออกเป็น 6 ประเภท ได้แก่ เครือ่ งส�ำ อางส�ำ หรบั ผวิ หนงั เครอื่ งสำ�อาง สำ�หรับผมและขน เครื่องสำ�อางสำ�หรับผิวหน้า เคร่ืองสำ�อางสำ�หรับปากและฟัน เคร่ืองส�ำ อางส�ำ หรับเล็บ และผลิตภัณฑ์นำ้�หอม 7. ตอบ ไกลโฟเซต พโิ คลแรม ไทโอเบนคาร์บ เบนทาโซน ออกซาไดอะโซน เป็นตน้ 8. ตอบ พาราเซตามอล คลอเฟนิรามีน พอนสแตน 500 ไอบูโปรเฟน ไพร็อกซแิ คม โวลทาเรนเจล ไบโซลวอน สเตรปซลิ ยาหม่องน้ำ�เซยี งเพียวอ้ิว เยนเซีย่ นไวโอเลต็ เป็นต้น 9. ตอบ อันตรายจากสารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน มีทั้งที่มีอันตรายไม่มาก เช่น ทำ�ให้เกิด การระคายเคือง บริเวณผิวหนัง เกิดผ่ืนแดง อาจเกิดจากการแพ้เครื่องสำ�อางต่างๆ หรือนำ้�ยาทำ�ความสะอาด หรือบางชนิดมีอันตรายมากขึ้นเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด เวียนศีรษะ เช่น นำ้�ยาซักผ้าขาว นำ้�ยาแอมโมเนีย น้ำ�ยาล้างท่ออุดตัน หรือสารพิษที่ปนเปื้อนในอาหาร เป็นต้น และบางชนิดก็มีอันตรายมากอาจถึงแก่ชีวิต เช่น สารเคมีกลุ่มยาฆ่าแมลง ยากำ�จัดวัชพืชหรือยาฆ่าย่า เป็นต้น นอกจากน้ีสารเคมี ยังมีอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ รอบตัวมนุษย์ซ่ึงส่งผลเสียต่อสุขภาพตามมา หากคอ่ ยๆ สะสมในรา่ งกายกก็ ่อให้เกดิ โรคต่างๆ ตามมาได้ เช่น โรคมะเรง็ โรคหอบหดื ภมู ิแพ้ เป็นตน้ (ท้งั น้ีข้ึนอยูก่ ับดุลยพินจิ ของครผู ้สู อน) สุดยอดค่มู ือครู 211
10. ตอบ วธิ ปี ฏิบตั ิเพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในการใชส้ ารเคมีในชีวิตประจ�ำ วนั มีดงั นี้ 1) จัดเกบ็ ดูแลสารเคมที ่ใี ช้ในบ้านใหถ้ ูกตอ้ ง เปน็ ระบบ แยกตามประเภทของการใช้งาน เช่น สารเคมีท่ีใช้ประกอบอาหาร สารทำ�ความสะอาด สารเคมีท่ีใช้ในห้องนำ้� ยาสามัญประจำ�บา้ น เป็นต้น 2) ติดฉลากของสารเคมีให้ชัดเจน โดยจัดเป็นสารอันตราย สารพิษ สารเป็นพิษ สารก่อความระคายเคือง สารติดไฟได้ และสารกัดกร่อน และอ่านฉลากก่อน การใช้งาน 3) เลือกซอ้ื ผลิตภัณฑ์สารเคมที ต่ี ้องใช้เท่าทจี่ �ำ เป็น ไม่ตอ้ งซื้อมากักตุนไว้ 4) เก็บสารเคมีให้ไกลจากเด็ก เก็บในที่ที่เด็กเอ้ือมไม่ถึง และควรสอนเด็กๆ ให้ทราบ ถงึ อันตรายจากสารเคมี 5) ไม่ควรแบ่งสารเคมีออกไปใส่ในภาชนะอ่ืน เช่น ขวดนำ้�ดื่ม ขวดเครื่องด่ืมต่างๆ เพราะอาจท�ำ ให้หยิบผิดได้ 212 สดุ ยอดคูม่ ือครู
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1. ตอบ ปิโตรเลียม หมายถึง สารไฮโดรคาร์บอน (CH) ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ มีธาตุท่ี เปน็ องคป์ ระกอบหลกั 2 ชนิดคือ คารบ์ อน (C) และไฮโดรเจน (H) โดยอาจมีธาตุอโลหะ ชนิดอ่นื เชน่ กำ�มะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยดู่ ้วย 2. ตอบ ปิโตรเลยี ม ประกอบดว้ ยสารไฮโดรคารบ์ อน สารก�ำ มะถนั ไนโตรเจน และสารประกอบ ออกไซด์อื่น 3. ตอบ ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและแปรสภาพของซากส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์เป็น เวลาหลายล้านปีถูกทับถมด้วยช้ันกรวด ทรายและโคลนสลับกันเป็นชั้นๆ เกิดน้ำ�หนัก กดทับกลายเป็นช้ันหินต่างๆ ผนวกกับความร้อนใต้พิภพและการสลายตัวของอินทรีย์ สารตามธรรมชาติในสภาพที่มีออกซิเจนต่ำ� ทำ�ให้ซากสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ันกลายเป็น ปโิ ตรเลยี ม 4. ตอบ การสำ�รวจหาแหล่งปิโตรเลียม มีขั้นตอนในการสำ�รวจคือ 1) สำ�รวจทางธรณีวิทยา เพอื่ ศึกษาโครงสรา้ งทางธรณวี ิทยาเพ่ือดวู ่าสถานท่ใี ดมีความเป็นไปไดท้ ่จี ะมปี ิโตรเลียม 2) ส�ำ รวจทางธรณฟี สิ กิ ส์ โดยการศกึ ษาโครงสรา้ งของหนิ ทอ่ี ยใู่ ตผ้ วิ โลกซงึ่ อาจใชว้ ธิ สี �ำ รวจ แบบวัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลกหรือวิธีวัดคลื่นความสั่นสะเทือนหรือวิธีการวัด ค่าแรงดึงดูดของโลกก็ได้ ซึ่งในข้ันตอนนี้จะทำ�ให้ทราบได้ว่าโครงสร้างในชั้นใต้ดิน บริเวณใดมีโอกาสเป็นแหลง่ ปโิ ตรเลยี ม 3) การเจาะสำ�รวจ เปน็ ขน้ั ตอนทที่ �ำ การเจาะลง ไปในชั้นใต้ดินบริเวณท่ีคาดว่าเป็นแหล่งปิโตรเลียมเพื่อดูว่ามีขอบเขตพื้นที่ครอบคลุม เนอ้ื ทเ่ี ทา่ ใด 4) การพฒั นาแหลง่ ปโิ ตรเลยี ม โดยท�ำ การทดสอบการผลติ เพอื่ ศกึ ษาสภาพ การผลิต คำ�นวณหาปริมาณสำ�รองและปริมาณท่ีผลิตได้ คุณภาพของปิโตรเลียม เพอื่ น�ำ ข้อมลู มาใชใ้ นการออกแบบและวางแผนการผลิตตอ่ ไป 5. ตอบ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมเช่น แก๊สหุงต้ม ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน น�ำ้ มันเชื้อเพลงิ ไดแ้ ก่ น�้ำ มนั กา๊ ด น�้ำ มนั เบนซนิ น�ำ้ มนั ดเี ซล ใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ในยานพาหนะ พาราฟิน ใช้ทำ�เทียนไขและใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำ�อาง ยางมะตอย ใช้ในการเท พื้นถนนสำ�หรบั การจราจร เปน็ ตน้ 6. ตอบ 6.1 คา่ ทใี่ ชบ้ อกคณุ ภาพน�้ำ มนั เบนซนิ คอื คา่ ออกเทน น�้ำ มนั เบนซนิ ทเ่ี ผาไหมไ้ ดด้ ที ส่ี ดุ 6.2 คคือ่าทไ่ีใอชโ้บซอออกกคเุณทภนาพ(Cน8ำ้H�ม18ัน) แดลีเซะลทคเี่ ผือาไคห่ามซ้ไีดเท้แนย่ทนส่ี ้ำ�ุดมคันอื ดเีเฮซปลเทที่นเผา(ไCห7Hม้1ไ6ด) ้ดีที่สุดคือ 6.3 ซสเีาทรเนคม(Cที 1ใี่6ชHป้34ร)บั แคลณุะเภผาาพไหนม�ำ้ ้ไมดนั แ้ เยบ่ทน่สี ซุดนิ คไรือส้ แารอตละฟกาวั่ เม(UทLิลGแ)นคพอื ทเามลทีนลิ เ(ทCอ11รHเ์ ท10ยี) รบี วิ ทลิ อเี ทอร์หรอื MTBE สดุ ยอดค่มู ือครู 213
6.4 พลังงานทดแทนที่ใช้แทนนำ้�มันเบนซินคือ แก๊สโซฮอล์ และที่ใช้แทนน้ำ�มันดีเซล คอื น้�ำ มนั ไบโอดเี ซล 6.5 สารท่ีใช้เติมในแก๊สหุงต้ม เพ่ือให้มีกล่ินสำ�หรับเตือนอันตรายจากแก๊สรั่วคือ 7. ต อบ 4 ข้ันสกาารเรมผอลรติ ์แคไดปแ้ เทก่น1()MกeาthรyผlลMิตeวrัตcถapดุ tิบaตn)ง้ั ตสนู้ตรเเชคน่มคี แอื ก๊สCมHีเ3ทSนH แกส๊ อเี ทน แก๊สหุงตม้ เป็นต้น 2) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ข้ันต้น แบ่งออกเป็น 2 สายคือสารโอเลฟินส์ เช่น เอทลิ นี พรอพิลนี เป็นตน้ และสายอะโรเมติก เช่น เบนซนี โทลูอนี ไซลนี เปน็ ต้น 3) อุตสาหกรรมปิโตรเคมีภัณฑ์ ข้ันกลาง เป็นอุตสาหกรรมที่ผลิตวัตถุดิบท่ีจะส่งให้ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมภี ณั ฑข์ น้ั ปลาย เชน่ ไวนลิ คลอไรด์ สไตรนี เปน็ ตน้ 4) อตุ สาหกรรม ปิโตรเคมีภัณฑ์ข้ันปลาย ซึ่งมี 4 ประเภทได้แก่ เม็ดพลาสติก เส้นใยสังเคราะห์ ยางสงั เคราะห์ และสารเคลอื บผวิ และกาว 8. ตอบ เกิดมลพิษทางอากาศสง่ ผลกระทบตอ่ ร่างกาย เชน่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ท�ำ ให้เกิด ภาวะโลกรอ้ น แกส๊ คาร์บอนมอนอกไซด์ ท�ำ ใหเ้ กดิ ควนั พษิ มีอันตรายต่อเม็ดเลอื ดแดง ในมนุษย์และสัตว์ สารตะกั่ว เป็นพิษต่อสมอง ไต ระบบประสาท ระบบเลือดและ ระบบสืบพนั ธุ์ เป็นตน้ เกดิ มลพิษทางนำ้� เช่น สารเคมีจากอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีต่างๆ ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช สารทำ�ความสะอาดทำ�ให้น้ำ�เน่าเสียและเป็นพิษต่อ ส่ิงมีชีวิตในน�ำ้ และมผี ลกระทบต่อมนษุ ยเ์ ช่นกนั มลพษิ ทางดิน เชน่ สารเคมตี ่างๆ ทถ่ี กู ท้งิ บนดนิ หรอื ฝงั ดนิ ไมว่ า่ จะเปน็ โฟมและพลาสตกิ ตา่ งๆ ทย่ี อ่ ยสลายไดย้ าก หากเผาท�ำ ลาย ก็เกิดแก๊สพิษและสารพิษซึมลงสู่ดิน หากฝังกลบก็เกิดการปนเปื้อนในดินซึ่งก่อให้เกิด มลพิษทางดินทำ�ให้มีสารพิษปนเป้ือนในส่ิงแวดล้อมและในอาหารท่ีมนุษย์นำ�มาบริโภค จงึ ส่งผลเสียตอ่ สุขภาพของมนษุ ยเ์ ป็นอย่างยิง่ 214 สดุ ยอดคมู่ อื ครู
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตอบ พอลิเมอร์ (Polymer) หมายถึง สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุล มาก ประกอบด้วย หน่วยเล็กๆ ของสารที่อาจจะเหมือนกันหรือต่างกันมาเช่ือมต่อกัน ด้วยพันธะโคเวเลนต์ ซ่ึงหน่วยเล็กๆ ของสารในพอลิเมอร์น้ันเรียกว่า มอนอเมอร์ (Monomer) 2. ตอบ การแบ่งประเภทพอลิเมอร์โดยใช้เกณฑ์ โครงสร้างโมเลกุล แบ่งพอลิเมอร์ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) พอลิเมอร์แบบเชิงเส้น 2) พอลิเมอร์แบบก่ิงก้านหรือสาขา 3) พอลเิ มอรแ์ บบร่างแหหรอื เชอ่ื มขวาง 3. ตอบ แตกตา่ งกนั คอื การสงั เคราะหพ์ อลเิ มอรแ์ บบเตมิ เกดิ จากมอนอเมอรข์ องสารชนดิ เดยี วกนั โดยมี C กับ C จับกันด้วยพันธะคู่เกิดเป็นพอลิเมอร์เพียงชนิดเดียว การต่อกันของ มอนอเมอรไ์ มม่ โี มเลกลุ ของสารหลดุ ออกมา สว่ นการสงั เคราะหพ์ อลเิ มอรแ์ บบควบแนน่ เกิดจากมอนอเมอร์ 2 ชนิด ที่มีหมู่ฟังก์ชันสองหมู่ในโมเลกุล พอลิเมอร์ที่ได้จะเกิด เป็นกิ่งก้านสาขาหรือเป็นพอลิเมอร์ แบบร่างแห และมีโมเลกุลเล็กๆ เกิดข้ึนมา เช่น โมเลกุลของน�ำ้ เปน็ ตน้ 4. ตอบ พลาสตกิ เทอร์มอเซตเมือ่ ขึ้นรูปแล้วจะคงรูปแข็งตวั ทนความรอ้ นและความดนั แต่ถ้าได้ รับความรอ้ นสูงเกนิ ไปจะแตกหกั และไหม้เปน็ ข้ีเถ้า สว่ นเทอรม์ อพลาสติก จะมีลักษณะ อ่อนตัวและหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนและกลับแข็งตัวใหม่อีกคร้ังเมื่อลดอุณหภูมิ ลง จึงสามารถนำ�ไปรีไซเคิลได้ 5. ตอบ กรรมวิธีในการข้ึนรูปพลาสติกมีหลายวิธี ได้แก่ 1) การฉีดเข้าแม่พิมพ์ 2) การอัดรีด หรือเอกซ์ทรูเดอร์ (Extruder) 3) การข้ึนรูปด้วยแม่พิมพ์ร้อนหรือการหล่อแบบพิมพ์ 4) การขนึ้ แผน่ ด้วยการรีด 5) การหลอ่ แบบ 6. ตอบ 6.1 พอลิเอทลิ นี ความหนาแนน่ สูง เช่น ถุงร้อน ท่อน้�ำ ประปา ท่อทนสารเคมี เป็นตน้ 6.2 พอลิโพรพิลนี เชน่ กล่องบรรจอุ าหาร ถงุ ใส่แกง สายรดั พลาสตกิ เปน็ ตน้ 6.3 พอลิสไตรีน เชน่ โฟมพลาสติก แผน่ ฉนวนความรอ้ น บรรจภุ ัณฑ์อาหาร เปน็ ต้น 6.4 พอลิอะคริเลต เช่น แผน่ อะคริลกิ กระจกบังลมสำ�หรับหมวกนิรภัย เส้นใยน�ำ แสง เปน็ ตน้ 6.5 พอลฟิ อรม์ ัลดีไฮด์ เช่น เมลามนี สวิตชไ์ ฟฟ้า ลกู บิลเลยี ด เปน็ ตน้ 7. ตอบ ยางธรรมชาตไิ ดจ้ ากตน้ ยาง มชี อื่ เรยี กวา่ พอลไิ อโซพรนี ถกู น�ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ ผลิตภัณฑ์ยางต่างๆ เช่น ถุงยางอนามัย ถุงมือ ยางรัดของ ยางรถบรรทุก เป็นต้น แต่ยางธรรมชาติมีข้อเสียคือเส่ือมสภาพเร็วเมื่อถูกแสงแดด ออกซิเจน โอโซนและ ความร้อน ดังนั้นการผลิตผลิตภัณฑ์จึงต้องใช้สารป้องกันการเสื่อมสภาพเพื่อยืดอายุ สดุ ยอดคมู่ อื ครู 215
การใช้งาน ส่วนยางสังเคราะห์ เกิดจากการสังเคราะห์ข้ึนโดยปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ซ่ึงยางสังเคราะห์จะมีคุณสมบัติในด้านความเหนียวความยืดหยุ่น ความคงทนใน การใช้งานไดด้ กี ว่ายางธรรมชาตมิ าก 8. ตอบ ซลิ ิโคนถูกนำ�ไปใช้ประโยชนห์ ลายอย่าง เชน่ ทำ�กาวยางซิลโิ คน สารเคลือบผวิ สารหล่อลนื่ อวัยวะเทยี ม เป็นต้น 9. ตอบ มีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์โดยตรงท้ังก่อให้เกิดพิษแบบเฉียบพลันต่อร่างกาย เช่น การระคายเคืองต่อผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาท และมีพิษเร้ือรัง เช่น เปน็ มะเรง็ เป็นพิษตอ่ ตับ เป็นต้น สว่ นในด้านผลกระทบต่อระบบนเิ วศนัน้ มผี ลต่อ สิ่งแวดล้อมท้ังในดิน น้ำ� อากาศ สารพิษท่ีเกิดจากการเผาหรือทำ�ลายพอลิเมอร์ และผลติ ภณั ฑจ์ ะทำ�ให้ดิน น้�ำ อากาศปนเปอ้ื นดว้ ยมลพิษ เช่น การเผา PVC จะก่อให้ เกิดแก๊สพิษมีไวนิลคลอไรด์ปะปนในอากาศ ทำ�ให้อากาศเป็นพิษเมื่อสูดดมเข้าไปก็ มผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของมนุษย์ และสตั ว์ 10. ตอบ พลาสติกชีวภาพ หรือพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้คือ พลาสติกที่ผลิตข้ึนจากวัสดุ ธรรมชาติ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นพืช สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ โดยแป้งเป็นวัสดุ ธรรมชาตทิ ีน่ ิยมน�ำ มาใช้ในการผลิตพลาสติกชวี ภาพ โดยการใชเ้ ชอ้ื จุลินทรีย์ย่อยสลายแป้ง เปล่ียนแป้งให้เป็นกรดแลกติก จากน้ันนำ�ไปผ่านกระบวนการพอลิเมอไรเซชัน ให้กรด แลกติกเช่ือมตอ่ กนั กลายเปน็ พอลเมอร์ มขี อ้ ดคี อื สามารถใชป้ ระโยชนแ์ ทนพลาสติกได้ บางสว่ น และสามารถยอ่ ยสลายไดใ้ นธรรมชาติ ไมก่ อ่ มลพษิ ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มชว่ ยลดปญั หา เร่ืองขยะจากพลาสติกและพอลิเมอร์ได้ 216 สุดยอดคู่มือครู
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 เฉลยกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตอบ 1.1 เบนจามนิ แฟรงคลนิ การคน้ พบไฟฟา้ ในอากาศ จากการน�ำ กญุ แจผกู ตดิ กบั สายปา่ น ของว่าวแล้วปล่อยว่าวลอยข้ึนไปในอากาศขณะเกิดพายุฝน ทำ�ให้เขาประดิษฐ์ สายล่อฟ้าได้เป็นคนแรก 1.2 อาเลสซนั โดร วอลตา (Volta) ค้นพบการเกิดกระแสไฟฟ้าจากปฏกิ ิรยิ าเคมี จากการ ทดลองนำ�แผน่ โลหะสองชนดิ ที่ตา่ งกันจมุ่ ในสารละลายกรดซลั ฟวิ รกิ 1.3 ไมเคิล ฟาราเดย์ ค้นพบการเกิดกระแสไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก จากการทดลอง นำ�ขดลวดทองแดงเคล่ือนท่ีตดั ผา่ นสนามแมเ่ หล็ก 2. ตอบ กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหลของประจไุ ฟฟา้ หรือการถ่ายเทประจุไฟฟ้า 3. ตอบ การเสยี ดสขี องวตั ถุ พลงั งานทางเคมี พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งานความรอ้ นหรอื คคู่ วบ ความร้อน พลงั งานจากแรงกด พลงั งานแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 4. ตอบ ปรากฏการณโ์ ฟโตวอลเทอกิ เกดิ จากการเปลย่ี นพลงั งานแสงอาทติ ยเ์ ปน็ พลงั งานไฟฟา้ โดยใชเ้ ซลลแ์ สงอาทติ ย์ (Solar Cell) ซง่ึ ประกอบดว้ ยสารกงึ่ ตวั น�ำ 2 ชน้ั ชน้ั บนจะบางกวา่ ช้ันล่างเมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบช้ันบนจะส่องทะลุผ่านไปถึงชั้นล่าง พลังงานจาก แสงอาทติ ยจ์ ะท�ำ ใหอ้ เิ ลก็ ตรอนของสารกง่ึ ตวั น�ำ หลดุ ออกมาและเคลอื่ นทไ่ี ด้ การเคลอื่ น ทีข่ องอิเลก็ ตรอนนท้ี ำ�ใหเ้ กดิ กระแสไฟฟ้าข้นึ มาน่นั เอง 5. ตอบ จำ�นวนขดลวดทองแดง จำ�นวนเส้นแรงแม่เหล็ก และความเร็วในการเคล่ือนที่ของ แม่เหล็กหรอื ขดลวดผ่านสนามแมเ่ หลก็ 6. ตอบ วตั ถุท่ีเป็นตัวน�ำ ไฟฟ้า ได้แก่ โลหะเงิน ทองแดง สงั กะสี ตะกวั่ ดบี กุ เป็นตน้ วัตถทุ ีเ่ ป็นฉนวนไฟฟา้ ไดแ้ ก่ ไม้ กระดาษ พลาสตกิ ผ้าแห้ง เซรามกิ ส์ เป็นต้น 7. ตอบ ตวั อยา่ งเชน่ โรงไฟฟา้ แมเ่ มาะ จงั หวดั ล�ำ ปาง โรงไฟฟา้ วงั นอ้ ย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงไฟฟ้าเขื่อนลำ�ตะคอง จังหวดั นครราชสมี า เปน็ ต้น (ผ้เู รียนแตล่ ะคนอาจตอบแตกต่างกนั จงึ อยู่ในดุลยพินิจ ของครูผ้สู อน) 8. ตอบ ระบบส่งจ่ายกำ�ลังไฟฟ้ามสี ว่ นประกอบท่สี ำ�คัญคือ โรงไฟฟา้ หมอ้ แปลงแรงดันไฟฟา้ สูง สายส่งแรงสูง สถานจี ่ายไฟฟ้าย่อย และหมอ้ แปลงระบบจ�ำ หนา่ ยไฟฟ้าแรงดนั ต�่ำ 9. ตอบ ระบบไฟฟ้าที่ใช้กันทั่วไปในประเทศไทยมี 2 ระบบ ได้แก่ ระบบแรงดัน 220 โวลต์ หรือไฟเฟสเดียว และระบบแรงดัน 380 โวลต์หรือไฟ 3 เฟส 4 สาย 10. ตอบ วธิ กี ารปฏบิ ัตติ นในการใช้ไฟฟ้าในชวี ิตประจ�ำ วันให้ปลอดภยั มดี ังนี้ 1) การใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ตอ้ งอ่านค่มู ือให้ละเอยี ดและเขา้ ใจกอ่ นใชง้ าน เพื่อหลีกเลย่ี ง ความผดิ พลาดทอี่ าจเกดิ ขนึ้ เชน่ ประเภทการใชไ้ ฟ ความแรงของกระแสไฟฟา้ เปน็ ตน้ สุดยอดคู่มือครู 217
2) ดแู ลและตรวจสอบสภาพการใชง้ านของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ตา่ งๆ อยเู่ สมอ หากมกี ารชำ�รดุ ต้องซอ่ มบ�ำ รงุ หรอื เปล่ยี นอปุ กรณ์ใหมใ่ ห้มสี ภาพดีพรอ้ มใชง้ าน 3) ไม่ควรซ่อมไฟฟ้าเองหากไม่มีความรู้ความชำ�นาญในเรื่องไฟฟ้าหรือไม่ควรให้คนท่ี ไมม่ คี วามรูค้ วามช�ำ นาญมาซ่อมหรอื ยงุ่ เกยี่ วกับระบบไฟฟ้า 4) ก่อนใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าต้องตรวจดูสวิตช์ไฟก่อนว่าปิดหรือเปิดอยู่ก่อนใช้งาน เพราะหากสวติ ชเ์ ปดิ อยกู่ อ่ นแลว้ เมอื่ เสยี บปลกั๊ อาจท�ำ ใหไ้ ฟชอ๊ ตหรอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ นัน้ เสียหายได้ 5) ไมค่ วรน�ำ สงิ่ ใดไปวางชดิ พิงหรือปดิ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ตา่ งๆ เช่น การใชผ้ ้าคลมุ ตเู้ ยน็ เป็นต้น เพราะจะทำ�ให้การระบายความร้อนไม่ดี ทำ�ให้อายุการใช้งานของ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้านน้ั สน้ั ลง 218 สุดยอดคมู่ ือครู
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 1. ตอบ สมบัตขิ องคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ามดี งั น้ี 1) มีการสะท้อน การหกั เห การแทรกสอด การเล้ยี วเบน และมีสมบตั เิ ป็นโพลาไรเซชนั 2) มีความเรว็ เท่ากบั ความเรว็ แสง คือ 3 x 108 m/s 3) มีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมๆ กับคลื่น ซ่ึงพลังงานนี้จะขึ้นอยู่กับความถ่ี และความยาวคลนื่ โดยพิจารณาในรูปพลงั งานโฟตอน 2. ตอบ ประกอบดว้ ยกฎ 4 กฎดงั นี้ 1) กฎของเกาส์สำ�หรับไฟฟ้า แสดงความสัมพันธ์ระหว่างประจุที่อยู่ภายในผิวปิด กับฟลักซ์ไฟฟ้าที่ผ่านผิวปิดซึ่งผิวปิดจะมีรูปร่างแบบใดก็ได้ ฟลักซ์ไฟฟ้าจะไม่ข้ึน กับรูปร่างและขนาดของผิวปิด ถ้าผิวปิดไม่มีประจุบรรจุอยู่ภายใน หรือผลรวม ของประจุสุทธิที่อยู่ภายในผิวปิดเป็นศูนย์ ฟลักซ์ ที่ผ่านผิวปิดนั้นย่อมเป็นศูนย์ แต่ไมไ่ ด้หมายความว่าบรเิ วณนนั้ ไม่มีสนามไฟฟา้ 2) กฎของเกาสส์ ำ�หรับสนามแมเ่ หล็ก บอกได้วา่ ในชีวติ ประจ�ำ วันเราจะไม่พบแม่เหลก็ ซง่ึ มขี วั้ แยกจากกันโดยชดั เจน น่ันคอื เราจะไมพ่ บแม่เหล็กทมี่ ีขัว้ เหนือเพยี งข้วั เดยี ว หรือแมเ่ หล็กทีม่ ขี ้ัวใตเ้ พียงข้ัวเดยี ว 3) กฎของฟาราเดย์ (Faraday’s Law) สามารถอธิบายได้ว่า “สนามไฟฟ้าเกิดจาก การเปล่ียนแปลงของสนามแม่เหล็กในหน่ึงหน่วยเวลาและจะเกิดในทิศหมุนวน” ซึ่งจากความรู้เบื้องต้นเราทราบมาว่าสนามไฟฟ้าเกิดจากประจุอิสระ แต่จาก Faraday’s Law บอกได้ว่า สนามไฟฟ้าสามารถเกิดจากสนามแม่เหล็กได้เช่นกัน แตต่ อ้ งเปน็ สนามแมเ่ หลก็ ที่เปล่ียนแปลงตามเวลาเทา่ นนั้ 4) กฎของแอมแปร–์ แมกซเ์ วลล์ (Ampere’s Law - Maxwell’s) สามารถอธบิ ายได้คอื “สนามแมเ่ หลก็ เกดิ ไดจ้ ากกระแสไฟฟา้ หรอื สนามไฟฟา้ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงในหนงึ่ หนว่ ย เวลาโดยจะเกดิ ในทิศหมุนวนเช่นกัน” น่นั คือสนามแมเ่ หลก็ เกดิ ได้จากกระแสไฟฟ้า ท่คี งทีห่ รือเกิดไดจ้ ากสนามไฟฟ้าที่เปล่ียนแปลงตามเวลา 3. ตอบ สเปกตรัมของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีมีความต่อเน่ืองกัน ต้ังแต่ความถี่ตำ่�สุดถึงความถี่สูงสุดซึ่งมีช่ือเรียกต่างๆ กันตามแหล่งกำ�เนิดและวิธีการ ตรวจวัด แต่มีคณุ สมบตั ทิ เ่ี หมอื นกัน คือ 1) คุณสมบัติการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน และมีสมบัติ เป็นโพลาไรเซชัน 2) มคี วามเรว็ เทา่ กับความเรว็ แสง คอื 3 x 108 m/s สุดยอดค่มู ือครู 219
3) มีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมๆ กับคล่ืน ซ่ึงพลังงานน้ีจะขึ้นอยู่กับความถ่ี และ ความยาวคลืน่ โดยพิจารณาในรูปพลงั งานโฟตอน คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ประกอบดว้ ย คลืน่ วทิ ยุ ไมโครเวฟ รงั สอี นิ ฟราเรด แสงทต่ี ามองเห็น รงั สอี ัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ และรงั สีแกมมา c 4. ตอบ พลงั งานของรังสี UVA E= h 3x108 m/s E= λ 320x1 -9m 6.6 x 10-34 J.s x E = 6.18 x 10-19 J c พลังงานของรงั สี UVB E= h 3x108 m/s E= λ 320x1 -9m 6.6 x 10-34 J.s x E = 7.07 x 10-19 J ดังน้นั รังสี UVA มีพลงั งานสูงกว่ารงั สี UVB 0.87 เทา่ 5. ตอบ คลื่นวทิ ยุ คล่นื โทรทศั น์ และคลน่ื ไมโครเวฟ 6. ตอบ รังสีอัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา 7. ตอบ 5G คือ 5th Generation คือระบบสื่อสารไรส้ ายในยุคที่ 5 ซงึ่ มีความเรว็ สงู ใชย้ า่ นความถี่ ในช่วง 3-6 GHz และอีกย่านความถี่คือ 28 GHz โดยเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 5G ท่ีเป็นระบบสื่อสารภาคพ้ืนดินและดาวเทียมซึ่งเป็นระบบสื่อสารบนท้องฟ้า เทคโนโลยี 5G ยังถูกออกแบบมาเพ่ือรองรับการเชื่อมต่อจำ�นวนมากๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต หรือ ท่ีเรียกกนั ว่า IoT (Internet of thing) อาทิ รถยนตไ์ ร้คนขับ การผ่าตดั ได้จากระยะไกล หนุ่ ยนต์ในโรงงาน 8. ตอบ เพราะวัตถุนั้นไม่มีการดูดกลืนสีใดๆ เลย ทุกสีจึงถูกสะท้อนกลับหมด และอีกนัยหน่ึง คือวัตถนุ นั้ มีอุณหภูมิท่ีสูงมากๆ จนเปล่งแสงสขี าวออกมา เช่น ดวงอาทิตย์ เปน็ ต้น 9. ตอบ ต่างกันคือ รังสแี กมมาจะมอี ำ�นาจในการทะลทุ ะลวงวตั ถุตา่ งๆ ได้ดีกว่ารงั สเี อกซ์เพราะ มคี วามยาวคลืน่ น้อยกวา่ รงั สเี อกซ์จงึ มีพลงั งานสงู กว่านั่นเอง 10. ตอบ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าบางชนิดมีอันตรายมากต่อร่างกายมนุษย์ เช่น รังสีเอกซ์และ รังสแี กมมาทำ�ใหเ้ กดิ โรคมะเร็งและทำ�ให้มนุษยเ์ สยี ชีวติ ได้ 220 สุดยอดคูม่ อื ครู
ส�ำ นักพมิ พ์ บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จำ�กดั website: 1256/9 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300 โทร. 0-2243-8000 (อตั โนมตั ิ 15 สาย), 0-2241-8999 www.iadth.com แฟกซ์: ทกุ หมายเลข, แฟกซอ์ ตั โนมัติ: 0-2241-4131, 0-2243-7666 สงวนลิขสิทธิ์ หนังสอื เลม่ นี้ได้จดทะเบยี นลขิ สิทธ์ถิ กู ต้องตามกฎหมาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222