Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการภัยพิบัติประเทศไทย

การจัดการภัยพิบัติประเทศไทย

Published by tung-16 yingviriya, 2021-06-03 03:58:36

Description: การจัดการภัยพิบัติประเทศไทย

Keywords: การจัดการภัยพิบัติประเทศไทย

Search

Read the Text Version

การจดั การสาธารณภยั ของประเทศไทย กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

What is Disaster ? • An event that results in great harm, damage, or death, or serious difficulty • A sudden calamitous events bringing great damage, loss, or destruction • An occurrence that causes great distress or destruction

ความแตกต่างระหว่าง Disaster กบั Catastrophe Center for Disaster Philanthropy (CDP) สหรฐั อเมรกิ า อธิบาย ความแตกต่างระหว่างคาว่า disaster กบั คาว่า catastrophe โดย พิจารณาจากผลกระทบ ไวด้ งั น้ี Impact Disaster Catastrophe Likelihood Probable chance of occurrence Probable chance of occurrence Frequency Often predictable in nature, if Rarity breeds unfamiliarity. not scope. Hazards repeat Occurrence is infrequent, so themselves. preparation and planning focuses on normal disasters. Preparedness People are aware of what to do So rare that preparedness is but often, hazards are usually ignored. normalized so preparedness is “it won’t happen here!” weak in some cases

ความแตกต่างระหวา่ ง Disaster กบั Catastrophe Impact Disaster Catastrophe Physical Impact Damage is localized with Heavy impact to much or all of pockets of extreme damage and the built community structure. areas of little to no damage Timeliness of Response is very quick Extensive delays in Emergency understanding scope of Response catastrophe and providing sufficient emergency response. Isolation Assistance is provided from Help from nearby communities internal resources and those of cannot be provided because of nearby communities. an inability to access large areas affected by the disaster. Help will come from distant communities and take longer

ความแตกต่างระหวา่ ง Disaster กบั Catastrophe Impact Disaster Catastrophe Migration Is temporary, if it occurs at all. Is significant – affecting large Permanent displacement most numbers of people for a long Everyday Functioning likely to be voluntary. duration. In many cases displacement (and sometimes migration) is forced. Disruption of social function Most, if not all, of the everyday occurs but is not widespread or community functions are sharply extensive. and concurrently interrupted.

กฎหมาย นโยบาย องคก์ ารและการจดั การ (Law) (Policy) (Organization and Management) ผูบ้ ญั ชาการเหตุการณ์ การมสี ่วนร่วมของภาคประชาชนและเอกชน (Incident Commander) (Public Participation) แรงสนบั สนุนของระบบ ความร่วมมือและการเป็ นหนุ้ ส่วน การเมืองภายในประเทศ (Collaborations and Partnerships) (Political Will) วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Sciences and Technology) สือ่ มวลชน การศึกษา/การฝึ กอบรม/ความตระหนกั ของ (Mass Media) ประชาชน การแพทยฉ์ ุกเฉิน (Education/Training/Public Awareness) (Emergency Medical Service) การศึกษา การวิจยั และพฒั นา (Study, Research and Development)

พ.ร.บ. ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบงั คบั ใชต้ ง้ั แต่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยใหย้ กเลกิ กฎหมาย ๒ ฉบบั ดงั น้ี พ.ร.บ. ป้ องกนั ภยั ฝ่ ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๒๒ พ.ร.บ. ป้ องกนั และระงบั อคั คีภยั พ.ศ. ๒๕๔๒

มาตรา ๔ ใหค้ านิยาม “สาธารณภยั ” ดงั น้ี “สาธารณภยั ” หมายความว่า อัคคีภยั วาตภยั อทุ กภยั ภยั แลง้ โรค ระบาดในมนษุ ย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า การระบาดของ ศตั รพู ืช ตลอดจนภยั อื่น ๆ อนั มีผลกระทบต่อสาธารณชนไม่ว่าเกิดจาก ธรรมชาติ มีผทู้ าใหเ้ กดิ ข้ึน อบุ ตั ิเหตหุ รอื เหตอุ ่ืนใดซ่ึงกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรพั ยส์ ินของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการก่อ วินาศกรรมดว้ ย

โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การสาธารณภยั ตาม พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐

คณะกรรมการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (กปภ.ช) องคป์ ระกอบ (มำตรำ ๖) หนำ้ ที่ (มำตรำ ๗) ประธำน – นรม. • กำหนดนโยบำยในกำรจดั ทำแผนฯ รอง ๑ – รมว.มท. • ใหค้ วำมเห็นชอบแผน รอง ๒ – ปมท. • บรู ณำกำรพฒั นำระบบป้ องกนั และบรรเทำ กรรมกำร –ปล.กห., ผบ.ทสส., ผบ.ทบ. สำธำรณภยั • ใหค้ ำแนะนำ ปรึกษำ สนบั สนนุ ผบ.ทร., ผบ.ทอ., ผบ.ตร., ป.พม., ป.กษ., • วำงระเบียบ ค่ำตอบแทน ป.ทส.*, ป.ทก., ป.สธ., ป.คค., ลมช., ผอ.สนง. • อ่ืนๆ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เลขำนกุ ำร – อปภ. *ยังไมม่ ีการแกไ้ ขจาก “ปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ ือสาร” เป็ น “ปลัดกระทรวง ดจิ ิทัลเพ่ อื เศรษฐกิจและสังคม”

กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มำตรำ ๑๑ แหง่ พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ กำหนดให้ กรมป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั เป็ นหนว่ ยงำนกลำงของรฐั ในกำรดำเนนิ กำร เกี่ยวกบั กำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั ของประเทศ โดยมอี ำนำจหนำ้ ที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. จดั ทำแผนกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั แห่งชำตเิ สนอ กปภ.ช. เพื่อขออนมุ ตั ติ อ่ คณะรฐั มนตรี ๒. จดั ใหม้ กี ำรศึกษำวิจยั เพื่อหำมำตรกำรในกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภำพ ๓. ปฏิบตั กิ ำร ประสำนกำรปฏิบตั ิ ใหก้ ำรสนบั สนนุ และชว่ ยเหลือหนว่ ยงำน ของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และหนว่ ยงำนภำคเอกชน ในกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั และใหก้ ำรสงเครำะหเ์ บ้ืองตน้ แกผ่ ปู้ ระสบภยั ผไู้ ดร้ บั ภยนั ตรำย หรือผไู้ ดร้ บั ควำมเสยี หำยจำกสำธำรณภยั

กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๔. แนะนำ ใหค้ ำปรึกษำ และอบรมเกีย่ วกบั กำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั แกห่ นว่ ยงำนของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และหนว่ ยงำนภำคเอกชน ๕. ตดิ ตำม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลกำรดำเนนิ งำนตำมแผนกำรป้ องกนั และ บรรเทำสำธำรณภยั ในแตล่ ะระดบั ๖. ปฏิบตั กิ ำรอื่นใดตำมท่บี ญั ญตั ไิ วใ้ น พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ หรือกฎหมำยอ่ืน หรือตำมท่ีผบู้ ญั ชำกำรป้ องกนั และบรรเทำ สำธำรณภยั แห่งชำติ นำยกรฐั มนตรี กปภ.ช. หรือ คณะรฐั มนตรีมอบหมำย

การบงั คบั บญั ชา ในกรณีเกดิ สาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยงิ่ (มาตรา ๓๑) นายกรฐั มนตรี หรอื รองนายกรฐั มนตรี ท่ีไดร้ บั มอบหมาย สงั่ การผบู้ ัญชาการ ผอู้ านวยการ หน่วยงาน ข อ ง รัฐ อ ง ค์ก ร ป ก คร อ ง ส่ว น ท้อ ง ถ่ิ น ใ ห้ ดาเนินการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั และ ใหค้ วามช่วยเหลือแกป่ ระชาชน

การบงั คบั บญั ชา รฐั มนตรวี ่าการ ผบู้ ญั ชาการป้ องกนั กระทรวงมหาดไทย และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ -ควบคมุ กากบั การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทว่ั ราชอาณาจกั ร ใหเ้ ป็ นไปตามแผนป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ และ พระราชบญั ญตั ิป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ -บงั คบั บญั ชาและสง่ั การผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ ผชู้ ่วยผอู้ านวยการ เจา้ พนกั งาน อาสาสมคั ร ทวั่ ราชอาณาจกั ร

การบงั คบั บญั ชา ปลดั กระทรวงมหาดไทย รองผบู้ ญั ชาการ - ชว่ ยเหลือผบู้ ญั ชาการ ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ - ปฏิบตั ิหนา้ ที่ตามที่ผบู้ ญั ชาการมอบหมาย - บงั คบั บญั ชา และสงั่ การ รองจากผบู้ ญั ชาการ

การบงั คบั บญั ชา อธิบดีกรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ผอู้ านวยการกลาง -ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ทวั่ ราชอาณาจกั ร -ควบคมุ กากบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีของผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการ เจา้ พนกั งาน อาสาสมคั ร ไดท้ ว่ั ราชอาณาจกั ร

ระดบั จงั หวดั ผวู้ ่าราชการจงั หวดั ผอู้ านวยการจงั หวดั รบั ผิดชอบการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตจงั หวดั - จดั ทาแผนการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั - กากบั ดแู ลการฝึ กอบรมอาสาสมคั ร ของ อปท. - กากบั ดแู ล อปท. ใหจ้ ดั ใหม้ ีวสั ดอุ ปุ กรณ์ เครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้ ยานพาหนะและส่ิงอื่น เพื่อใชใ้ นการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - ใหห้ น่วยงานของรฐั และ อปท. ใหก้ ารสงเคราะหเ์ บ้ืองตน้

- รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย และการปฏิบตั ิในการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - สนบั สนนุ /ชว่ ยเหลือ อปท. ในการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั - ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่น ตามท่ีผบู้ ญั ชาการ และผอู้ านวยการกลางมอบหมาย - สงั่ การหน่วยงานของรฐั และ อปท. ดาเนินการป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั ตามแผนป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั - สงั่ การ ควบคมุ และกากบั ดแู ลการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของเจา้ พนกั งาน/ อาสาสมคั ร

ระดบั อาเภอ นายอาเภอ ผอู้ านวยการอาเภอ - รบั ผิดชอบและปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในการป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั ในเขตอาเภอ - ช่วยเหลอื ผอู้ านวยการจงั หวดั ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย - สง่ั การหน่วยงานของรฐั และ อปท. ดาเนินการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ตามแผนป้ องกนั ฯ จงั หวดั - สง่ั การ ควบคมุ กากบั ดแู ลการปฏิบตั ิหนา้ ที่ของ เจา้ พนกั งาน และอาสาสมคั ร

ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร ผอู้ านวยการกรงุ เทพมหานคร รบั ผดิ ชอบและปฏิบตั หิ นำ้ ท่ีในกำรป้ องกนั และ บรรเทำสำธำรณภยั ในเขตกรงุ เทพมหำนคร ปลดั กรงุ เทพมหานคร รองผอู้ านวยการกรงุ เทพมหานคร ผอู้ านวยการเขต ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการกรงุ เทพมหานคร

ระดบั ทอ้ งถ่ิน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น มีหนา้ ที่ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทอ้ งถ่ินของตน ผบู้ รหิ ารทอ้ งถ่ิน ผอู้ านวยการทอ้ งถ่ิน นายก อบต./นายกเทศมนตร/ี นายกเมืองพทั ยา - ชว่ ยเหลอื ผอู้ านวยการจงั หวดั และผอู้ านวยการอาเภอ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย - สง่ั การ ควบคมุ กากบั ดแู ล การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีของเจา้ พนกั งาน/อาสาสมคั ร ปลดั อปท. ผชู้ ่วยผอู้ านวยการทอ้ งถ่ิน - รบั ผิดชอบปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทอ้ งถ่ิน - ชว่ ยเหลือผอู้ านวยการทอ้ งถิ่น ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มาตรา ๒๔ แห่ง พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดว่า เม่ือเกิดสาธารณภยั ใหเ้ ป็ นหน้าท่ี ของเจา้ พนกั งานท่ีประสบเหตตุ อ้ งเขา้ ดาเนินการเบ้ืองตน้ เพ่ือระงับสาธารณภยั นน้ั แลว้ รีบรายงานใหผ้ อู้ านวยการ ทอ้ งถ่ินที่รบั ผิดชอบในพ้ืนที่นน้ั เพื่อสงั่ การต่อไป

เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มาตรา ๓๙ แห่ง พ.ร.บ. ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดผมู้ ีอานาจแต่งตง้ั เจา้ พนกั งาน ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผอู้ านวยการกลาง (๒) ผอู้ านวยการจงั หวดั (๓) ผอู้ านวยการอาเภอ (๔) ผอู้ านวยการทอ้ งถิ่น (๕) ผอู้ านวยการกรงุ เทพมหานคร หลกั เกณฑก์ ารแต่งตงั้ และปฏิบตั ิหนา้ ที่ของเจา้ พนกั งานใหเ้ ป็ นไปตาม ระเบียบท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด

เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การแต่งต้ัง เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ้ ๔ กาหนดให้ “เจ้าพนักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย” หมายถึง เจา้ พนักงานท่ีผอู้ านวยการแต่งตั้งตามมาตรา ๓๙ แห่ง พ.ร.บ. ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐

การแต่งตง้ั เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลกั เกณฑ์การแต่งต้ัง เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ้ ๕ กาหนดให้ ผอู้ านวยการมีคาสงั่ แต่งตงั้ เจา้ พนกั งานป้ องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั จากผมู้ ีคณุ สมบตั ิ ดงั ต่อไปน้ี

การแต่งตง้ั เจา้ พนกั งานป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั (๑) เป็ นขา้ ราชการ พนกั งานสว่ นทอ้ งถ่ิน ลกู จา้ งประจา กานนั ผใู้ หญ่บา้ น ผชู้ ว่ ยผใู้ หญ่บา้ น แพทยป์ ระจาตาบล หรอื สารวตั รกานนั (๒) เป็ นผปู้ ฏิบตั ิงาน หรือเป็ นผมู้ ีประสบการณ์ดา้ นการป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั และเป็ นผทู้ ่ีผา่ นการฝึ กอบรมหลกั สตู รตามท่ี กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กาหนด หรอื หลกั สตู รอื่น ที่กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั รบั รอง (๓) เป็ นผมู้ ีสขุ ภาพดี และร่างกายแข็งแรง เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าท่ี ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

อาสาสมคั ร พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดให้ “อาสาสมคั ร” หมายถึง “อาสาสมคั รป้ องกนั ภยั ฝ่ ายพลเรือน” (อปพร.) มีหนา้ ที่ดงั น้ี ๑. ใหค้ วามช่วยเหลือเจา้ พนกั งานในการป้ องกนั และบรรเทา สาธารณภยั ๒. ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ินตามท่ีผอู้ านวยการมอบหมายและตาม ระเบียบท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด

อาสาสมคั รประเภทอื่น ๆ แมว้ ่า พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ จะกาหนด ความหมายของ “อาสาสมคั ร” จากดั ไวเ้ พียง “อาสาสมคั รป้ องกนั ภยั ฝ่ าย พลเรือน” เท่านนั้ อยา่ งไรก็ตาม มาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง กาหนดว่า “ในกรณี ท่ีองค์การสาธารณกศุ ลหรือบุคคลใดเขา้ มาช่วยเหลือการปฏิบตั ิหน้าท่ีของ เจา้ พนกั งานในระหว่างเกิดสาธารณภยั ใหผ้ ูอ้ านวยการหรือเจา้ พนักงานท่ี ไดร้ ับมอบหมาย มีอานาจมอบภารกิจหรือจัดสถานท่ีใหอ้ งค์การสาธารณ กศุ ลและบุคลดังกล่าวในการใหค้ วามช่วยเหลือไดต้ ามท่ีเห็นสมควร ดังนนั้ ผูอ้ านวยการจึงสามารถใชก้ ล่มุ มวลชนจัดตั้งและอาสาสมคั รประเภทอ่ืน ๆ เพ่ือดาเนินการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ได”้

บทบาทของทหารดา้ นสาธารณภยั มาตรา ๘ (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๕๑ และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเติม กาหนดใหก้ ระทรวงกลาโหมมีอานาจ หนา้ ท่ี “ปกป้ อง พิทักษร์ กั ษาผลประโยชนแ์ ห่งชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข พัฒนาประเทศเพ่ือ ความม่ันคงตลอดจนสนับสนุนภารกิจอ่ืนของรัฐในการพัฒนาประเทศ การป้ องกนั และแกไ้ ขปัญหาจากภยั พิบตั ิ และการช่วยเหลอื ประชาชน”

การจดั การสาธารณภยั ในเขตทหาร พ.ร.บ. ว่าดว้ ยเขตต์ปลอดภยั ในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘ กาหนดหา้ มมิใหบ้ คุ คลผใู้ ดซึ่งไมม่ ีหนา้ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เขา้ ไปในพ้ืนที่ ของทหาร เวน้ แต่จะไดร้ บั อนญุ าต ผลจากขอ้ กาหนดดงั กล่าว ทาใหบ้ คุ คลพลเรือนและหน่วยงานพลเรือนไม่สามารถเขา้ ไป ดาเนินการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทหาร

การจดั การสาธารณภยั ในเขตทหาร เพ่ือแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว มาตรา ๔๖ แห่ง พ.ร.บ.ป้ องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. ๒๕๕๐ กาหนดใหก้ ารป้ องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั ภายในเขตทหารหรือที่เกี่ยวกบั กิจการ เจา้ หนา้ ที่ หรือทรพั ยส์ ินในราชการทหาร ใหเ้ ป็ นไปตามความ ตกลงเป็ นหนังสือร่วมกนั ระหว่างผอู้ านวยการจังหวัดหรือ ผอู้ านวยการกรงุ เทพมหานคร และผบู้ งั คบั บญั ชาของทหาร ในเขตพ้ืนท่ีที่เกีย่ วขอ้ ง

แผนการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ

เหตผุ ลความจาเป็ น พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๑๑ กาหนดให้ กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั เป็ นหนว่ ยงานกลางของรฐั มีอานาจ หนา้ ท่ีสาคญั คือการจัดทาแผน การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติเสนอ กปภ.ช. ใหค้ วามเห็นชอบ เพ่ือขออนมุ ตั ิคณะรฐั มนตรี

เหตผุ ลความจาเป็ น พ.ร.บ.ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔๔ “ในกรณีท่ีขอ้ เท็จจริงเก่ียวกับสาธารณภัยหรือ การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภัยท่ีไดก้ าหนด ไ ว้ใ น แ ผ น ต่ า ง ๆ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ น้ี เปล่ียนแปลงไป หรือ แผนดังกล่าวไดใ้ ชม้ า ครบ หา้ ปี แลว้ ใหเ้ ป็ นหนา้ ท่ีของผูซ้ ่ึงรับผิดชอบในการ จั ด ท า แ ผ น ป รั บ ป รุ ง ห รื อ ท บ ท ว น แ ผ น ท่ีอยใู่ นความรบั ผิดชอบของตนโดยเร็ว”

แผน ปภ. ช. 2553-2557 ปัญหาขอ้ จากดั บรบิ ท แผน ปภ.ช. สถานการณ์ การจดั การ สาธารณภยั ของนานาชาติ ของไทย/โลก 2558 วตั ถปุ ระสงค์ 1. แนวคิดทิศทาง เป้ าหมาย 2. กรอบแนวทาง 1. ความพรอ้ มการจดั การ 3. การพฒั นา 2. ปชช.มีความตระหนกั ขีดความสามารถ 3. สงั คมเรยี นรู้ มีสว่ นรว่ ม และ มีภมู ิคมุ้ กนั ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การ 4 ยทุ ธศาสตร์ 13 กลยทุ ธ์

สาระสาคญั มงุ่ เนน้ เอกภาพการจดั การสาธารณภยั บรู ณาการทางานทกุ หน่วยงาน เนน้ กลยทุ ธก์ ารทางานเชิงรกุ แนวคิดการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั หลกั การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั นาไปสกู่ ารจดั การภยั พิบตั ิอยา่ งยงั่ ยนื และสอดคลอ้ งกบั หลกั สากล (แนวคิด “รรู้ บั -ปรบั ตวั -ฟ้ื นเรว็ ทว่ั -อยา่ งยงั่ ยืน : Disaster Resilience”)

การขบั เคลื่อน สถานการณ์ ภาพรวมของแผนฯ และแนวโนม้ นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ความรว่ มมือ หลกั การจดั การ ระหว่างประเทศ การฟ้ื นฟู การจดั การ การลดความเสยี่ ง ในภาวะฉกุ เฉิน ภาคผนวก

ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภยั • ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๑ การม่งุ เนน้ การลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั • ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ การบรู ณาการการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน • ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการฟ้ื นฟอู ยา่ งยง่ั ยืน • ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การสง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหว่างประเทศ ในการจดั การสาธารณภยั

4 ยทุ ธศาสตร์ การสง่ เสรมิ ความรว่ มมือระหว่าง การจดั การความเสย่ี งจาก ประเทศในการจดั การสาธารณภยั สาธารณภยั 1.พฒั นาระบบการประสานความชว่ ยเหลือ มงุ่ เนน้ ลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั ดา้ นมนษุ ยธรรมที่มีเอกภาพ 1.สรา้ งระบบการประเมินความเสี่ยงจากสาธารณ 2.ยกระดบั มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ภยั ใหม้ ีมาตรฐาน ดา้ นมนษุ ยธรรม 2.พฒั นามาตรการลดความเสี่ยงจากสาธารณภยั 3.สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นและทกุ ระดบั สรา้ งแนว 3.เสรมิ สรา้ งการแลกเปล่ียนเรยี นรดู้ า้ นสาธารณภยั ปฏิบตั ิ ในการลดความเสี่ยง ของประเทศ 4.สง่ เสรมิ บทบาทการเป็ นประเทศแกนนา ดา้ นการจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภยั การบรู ณาการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน การเพิ่มประสทิ ธิภาพการฟ้ื นฟู 1.สรา้ งมาตรฐานการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน อยา่ งยง่ั ยืน 2.พฒั นาระบบ/เครอ่ื งมือสนบั สนนุ 1.พฒั นาระบบการประเมินความตอ้ งการ การเผชิญเหต ุ ภายหลงั เหตกุ ารณส์ าธารณภยั 3.เสรมิ สรา้ งระบบและแนวปฏิบตั ิ 2.พฒั นาระบบปฏิบตั ิการและบรหิ ารจดั การ ในการบรรเทาทกุ ข์ ดา้ นการฟ้ื นฟู 3.เสรมิ สรา้ งแนวทางการฟ้ื นฟทู ี่ดีกว่าเดิม

Prevention

ระดบั การจดั การสาธารณภยั ระดบั การจดั การ ผมู้ ีอานาจตามกฎหมาย ๑ สำธำรณภยั ขนำดเล็ก ผอู้ ำนวยกำรอำเภอ หรือ ผอู้ ำนวยกำรทอ้ งถิ่น หรือ ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยกำรกรงุ เทพมหำนคร ๒ สำธำรณภยั ขนำดกลำง ผอู้ ำนวยกำรจงั หวดั หรือ ผอู้ ำนวยกำรกรงุ เทพมหำนคร ๓ สำธำรณภยั ขนำดใหญ่ ผบู้ ญั ชำกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั แหง่ ชำติ ๔ สำธำรณภยั รำ้ ยแรงอยำ่ งยิ่ง นำยกรฐั มนตรี หรือรองนำยกรฐั มนตรีท่นี ำยกรฐั มนตรี มอบหมำย ทง้ั น้ี พิจารณาขนาดของพ้ืนท่ี ประชากร ความซบั ซอ้ น หรอื ความสามารถ ในการจดั การสาธารณภยั ตลอดจนศกั ยภาพดา้ นทรพั ยากร ท่ีผมู้ ีอานาจ ตามกฎหมายใชด้ ลุ พินิจในการตดั สนิ ใจเขา้ ควบคมุ สถานการณ์

แหลง่ ที่มาของงบประมาณ ในการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั มีแหลง่ ที่มา และวิธีการงบประมาณ ดงั น้ี ๑. งบประมาณรายจ่ายประจาปี ๒. งบอื่นๆ

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน งบประมาณรายจ่ายประจาปี กรงุ เทพมหานคร จงั หวดั และกลม่ ุ จงั หวดั (Area) สว่ นราชการ (Function) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน งบกลาง กรงุ เทพมหานคร งบประมาณอื่นๆ รฐั บาล เงินทดรองราชการ ตามระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบตั ิ กรณีฉกุ เฉิน พ.ศ. ๒๕๖๒

สว่ นราชการท่ีมีวงเงินทดรองราชการ ๑. สานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี สานกั นายกรฐั มนตรี ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๒. สานกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓. สานกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ความมนั่ คงของมนษุ ย์ ๔. สานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๕. สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๖. สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๗. กรมป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๕๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๘. สานกั งานป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั แห่งละ ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั ๑. กลยทุ ธท์ ่ี ๑ สรา้ งระบบประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภยั ใหม้ ีมาตรฐาน ๒. กลยทุ ธท์ ่ี ๒ พฒั นามาตรการลดความเส่ียงจากสาธารณภยั ๓. กลยทุ ธท์ ่ี ๓ สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นและทกุ ระดบั สรา้ งแนว ปฏิบตั ิในการลดความเสยี่ ง

การจดั การในภาวะฉกุ เฉิน ๑. กลยทุ ธท์ ี่ ๑ สรา้ งมาตรฐานการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน ๒. กลยทุ ธท์ ่ี ๒ พฒั นาระบบ/เครอื่ งมือสนบั สนนุ การเผชิญเหต ุ ๓. กลยทุ ธท์ ่ี ๓ เสรมิ สรา้ งระบบและแนวปฏิบตั ิในการบรรเทาทกุ ข์

การบรู ณาการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน แนวคิดการจดั การ 1.สรา้ งมาตรฐานการจดั การในภาวะฉกุ เฉิน 1. มาตรฐาน 2. เอกภาพ 3. ความยดื หยนุ่ 2.พฒั นาระบบ/เครอ่ื งมือสนบั สนนุ การเผชิญเหต ุ 3.เสรมิ สรา้ งระบบและแนวปฏิบตั ิในการบรรเทาทกุ ข์ สรา้ งมาตรฐานการจัดการในภาวะฉกุ เฉิน พฒั นาระบบ/เคร่ืองมือสนบั สนนุ การเผชิญเหตุ 1.แนวปฏิบตั ิในการจดั การเม่ือเกดิ สาธารณภยั 1.แนวปฏิบตั ิในการสื่อสารและโทรคมนาคม 2.การจดั องคก์ รปฏบิ ตั ิในภาวะฉกุ เฉิน 2.แนวปฏิบตั ิในการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ข่าวสาร 3.แนวปฏิบตั ิในการประกาศเขตพ้ืนท่ีประสบภยั ในภาวะฉกุ เฉิน 4.แนวปฏบิ ตั ิในการตดั สนิ ใจยกระดบั ภยั 3.แนวปฏิบตั ิในการกากบั ควบคมุ พ้ืนที่ (Area Command) 5.แนวปฏบิ ตั ิในการอพยพ 4.แนวปฏบิ ตั ิในการบญั ชาการเหตกุ ารณ์ 5.แนวปฏบิ ตั ิในการสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานในภาวะฉกุ เฉิน (ESF) 6.แนวปฏิบตั ิในการสนบั สนนุ การจดั การเหตกุ ารณ์ (IMAT) เสริมสรา้ งระบบและแนวปฏบิ ตั ิในการบรรเทาทุกข์ 1.แนวปฏิบตั ิในการขอใชเ้ งินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในกรณีฉกุ เฉิน 2.แนวปฏบิ ตั ิในการประเมินความเสยี หายและความตอ้ งการช่วยเหลือ (DANA) 3.แนวปฏบิ ตั ิในการรบั บรจิ าค 4.แนวปฏบิ ตั ิในการรายงานขอ้ มลู 5.แนวปฏิบตั ิในการจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พิงชวั่ คราว

องคก์ รปฏบิ ตั ิในการจดั การภาวะฉกุ เฉิน • กองอำนวยกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั ทอ้ งถ่ิน (องคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบล/เทศบำล/เมอื งพทั ยำ) จดั ตงั้ ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการฉกุ เฉินทอ้ งถ่ิน • กองอำนวยกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั อำเภอ จดั ตง้ั ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณอ์ าเภอ • กองอำนวยกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั จงั หวดั / กรงุ เทพมหำนคร จดั ตง้ั ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณจ์ งั หวดั / กรงุ เทพมหานคร

องคก์ รปฏิบตั ิในการจดั การภาวะฉกุ เฉิน • เมอ่ื มกี ำรยกระดบั กำรจดั กำรสำธำรณภยั เป็ นระดบั ๓ – ๔ ใหศ้ นู ยบ์ ญั ชำกำรเหตกุ ำรณจ์ งั หวดั /กรงุ เทพมหำนคร แปรสภำพเป็ น ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณส์ ว่ นหนา้ จงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร ของกองบญั ชาการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ • กองอานวยการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลาง ทำหนำ้ ที่ บรู ณำกำรประสำนกำรปฏิบตั ใิ นกรณีกำรจดั กำรสำธำรณภยั ระดบั ๑ และ ๒ เสนอควำมเห็นตอ่ ผบู้ ญั ชำกำรป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั แห่งชำติ หรือนำยกรฐั มนตรี เพื่อตดั สินใจยกระดบั กำรจดั กำรฯ เป็ น ระดบั ๓ และ๔

โครงสรา้ ง ผบู้ ญั ชาการ/ ผอู้ านวยการ ศนู ยข์ อ้ มลู ประชาสมั พนั ธร์ ว่ ม ท่ีปรกึ ษา/ผเู้ ชี่ยวชาญ ศนู ยป์ ระสานการปฏบิ ตั ิ สว่ นปฏบิ ตั ิการ สว่ นอานวยการ สว่ นสนบั สนนุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook