Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิติที่1หลักสูตร

มิติที่1หลักสูตร

Published by moetpr2514, 2020-06-20 01:19:38

Description: มิติที่1หลักสูตร

Keywords: nited

Search

Read the Text Version

คำนำ การจัดการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม สภาพแวดล้อม และความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ่ีเจริญก้าวหนา้ อย่างรวดเร็ว เพอ่ื พัฒนาและ เสรมิ สรา้ งศักยภาพคนของชาติใหส้ ามารถเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ โดยการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย ๔.๐ และโลก ในศตวรรษท่ี ๒๑ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้นื ฐานจึงได้ดาเนินการทบทวนหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยนาขอ้ มูล จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มาใช้เป็นกรอบ และทศิ ทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมชดั เจนยิง่ ข้นึ และ เห็นควรปรบั ปรงุ หลกั สตู รในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระ การเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่งึ มีความสาคญั ต่อการพัฒนาประเทศ และเปน็ รากฐานสาคัญ ทีจ่ ะช่วยให้มนษุ ย์มคี วามคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ คิดอยา่ งมีเหตผุ ล เปน็ ระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรือ สถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถถี่ ว้ น สามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการบรู ณาการกบั ความรู้ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่อื แกป้ ญั หา หรือพฒั นางานดว้ ย กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่นี าไปส่กู ารคดิ คน้ ส่ิงประดิษฐ์ หรอื สรา้ งนวตั กรรมต่างๆ ท่เี อื้อประโยชน์ ตอ่ การดารงชวี ิต การใชท้ กั ษะการคดิ เชิงคานวณ ความรู้ ทางดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี และ การส่ือสาร ในการแก้ปญั หาท่ีพบในชวี ติ จรงิ ได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวมทง้ั ใช้ความรู้ ความสามารถ ทักษะ กระบวนการ และเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ เรยี นรูส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบตวั อย่างเขา้ ใจสภาพที่เป็นอยู่ และการ เปลี่ยนแปลงเพื่อนาไปสู่การจัดการและปรับใช้ในการดารงชีวติ และการประกอบอาชพี อย่างสรา้ งสรรค์ ท้งั น้ี กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รับผิดชอบในการปรับปรงุ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระ เทคโนโลยี และสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานรับผดิ ชอบปรบั ปรงุ สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และเพ่ือใหก้ ารขับเคลือ่ นนโยบาย การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาสู่ห้องเรยี นอย่างเป็นรูปธรรม สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา อดุ รธานี เขต 2 ไดจ้ ดั คู่มือ 6 มติ คิ ณุ ภาพสู่การปฏิบัติ เพื่อเปน็ แนวทางให้สถานศึกษาในสังกัด ใชเ้ ป็นกรอบในการ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาและจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเปน็ แนวทางให้ผ้ทู ี่เกีย่ วข้อง เข้าใจในเปา้ หมาย การพฒั นาผูเ้ รยี น และมสี ่วนรว่ มในการสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ผเู้ รยี นบรรลุตามเปา้ หมายที่ กาหนดไว้ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 ขอขอบคุณ คณะกรรมการดาเนินการ จดั ทาคู่มือ 6 มติ ิคุณภาพสู่การปฏบิ ัติทกุ ท่าน ที่ช่วยใหก้ ารพฒั นาหลกั สูตรฉบบั น้ี มีความสมบูรณแ์ ละ เหมาะสมต่อการจดั การศึกษาเพ่อื คุณภาพของผู้เรยี น กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 2

สำรบัญ หนำ้ ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 1 และฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560......................................................... 1 2 บทนา .................................................................................................................. 3 สาระสำคญั ของการปรบั ปรงุ หลักสตู ร ............................................................. 4 กระบวนการจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา ……………………………………………………… 28 องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ……………………………………………………………… 34 แนวทางการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลกั สตู รสถานศึกษา ............................ 35 การวจิ ัยและตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตร ……………………………………………………….. 45 การนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ ................................................................................................................................ 49 การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ ……………………………………………………………….. เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา ……………………………………………………….. 50 การนำหลักสตู รสถานศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 53 54 พุทธศักราช 2551 ไปใช้ ……………………………………………………………… 55 บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………… บรรณานกุ รม ………………………………………………………………………………………….. คาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการจัดทาคูม่ ือ 6 มติ คิ ุณภาพส่กู ารปฏิบัติ .......................

1 ความรูพ้นื ฐานเก่ียวกบั หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ บทนา กระทรวงศึกษาธกิ ารไดประกาศใชห ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เมื่อวนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่ิมใชในโรงเรยี น ตนแบบการใชห ลักสตู รและโรงเรียนทม่ี คี วามพรอมในปการศึกษา ๒๕๕๒ และเรมิ่ ใชใ นโรงเรียนท่วั ไป ตง้ั แตป ก ารศึกษา ๒๕๕๓ เปนตนมา สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานโดยสาํ นักวชิ าการ และ มาตรฐานการศกึ ษาไดด าํ เนนิ การตดิ ตามผลการนาํ หลักสตู รไปสูการปฏิบตั ิอยางตอ เน่อื งในหลาย รปู แบบพบวา มีขอดีในหลายประการ เชน กาํ หนดเปา หมายการพัฒนาไวชดั เจน มคี วามยืดหยนุ เพียงพอใหสถานศึกษาบริหารจดั การหลักสตู รสถานศกึ ษาได สาํ หรับปญหาทพ่ี บสวนใหญเ กดิ จาก การนาํ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สูการปฏิบัติในสถานศกึ ษาและใน หองเรียน นอกจากน้ีทศิ ทางของกรอบยุทธศาสตร แผนแมบท และกฎหมายท่เี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นา ประเทศ พบวา ประเด็นสาํ คญั เพอ่ื เปลย่ี นแปลงแผนไปสกู ารปฏิบตั ใิ หเกดิ ผลสัมฤทธิไ์ ดอ ยางแทจ รงิ คอื การเตรียมพรอ มดานกําลงั คนและการเสรมิ สรางศักยภาพของประชากรในทกุ ชวงวัย มุง เนน การยกระดบั คณุ ภาพมนษุ ยของประเทศ โดยพัฒนาคนใหเหมาะสมตามชว งวยั เพ่ือใหเติบโตอยา ง คุณภาพ การพฒั นาทกั ษะทสี่ อดคลอ งกับความตอ งการในตลาดแรงงานและทักษะทีจ่ ําเปน ตอ การดาํ รงชวี ติ ในศตวรรษที่ ๒๑ ของคนในแตละชว งวยั ตามความเหมาะสม การเตรยี มความพรอมของ กาํ ลังคนดานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ี่จะเปลย่ี นแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดบั คุณภาพ การศึกษาสคู วามเปนเลิศ ในการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรช าติเพ่อื เตรียมความพรอ มคนใหสามารถปรับตัวรองรบั ผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลง ในยุคโลกาภวิ ัตนไ ดอ ยา งเหมาะสม กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ กาํ หนด เปนนโยบายสําคัญและเรง ดวนใหม กี ารปรบั ปรุงหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ในกลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภูมศิ าสตรใ นกลมุ สาระการเรียนรู สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมรวมทั้งสาระเทคโนโลยี โดยมอบหมายใหส ถาบันสงเสริมการสอน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ดําเนนิ การปรบั ปรงุ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร กลุมสาระ การเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร และสาระเทคโนโลยี และมอบหมายใหส ํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐานดําเนินการปรบั ปรุงสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม การปรบั ปรุงหลักสูตรคร้งั นี้ ยังคงหลกั การและโครงสรางเดิมของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ คือ ประกอบดวย ๘ กลมุ สาระการเรียนรูไ ดแ ก กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา ศาสนารรมและวฒั นธรรม สุขศกึ ษาและ พลศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาตา งประเทศ แตมุงเนน การปรับปรงุ เน้อื หา ใหมคี วาม ทันสมัย ทันตอ การเปลย่ี นแปลงและความเจรญิ กาวหนาทางวทิ ยาการตา งๆ คาํ นงึ ถึงการสง เสรมิ ใหผเู รยี น มีทกั ษะทจี่ ําเปนสําหรบั การเรยี นรูในศตวรรษที่ ๒๑ เปนสําคญั เตรียมผเู รยี นให มีความพรอมทีจ่ ะ เรียนรูส ิ่งตางๆ พรอ มท่จี ะประกอบอาชพี เมอ่ื จบการศึกษาหรอื สามารถศึกษาตอ ใน ระดบั ทส่ี ูงขน้ึ สามารถแขงขนั และอยรู ว มกบั ประชาคมโลกได

2 กรอบในการปรับปรุง คอื ใหมีองคความรูทเ่ี ปน สากลเทียบเทา นานาชาติ ปรับมาตรฐาน การเรยี นรู และตัวชวี้ ัดใหม ีความชดั เจน ลดความซํา้ ซอน สอดคลอ งและเชอื่ มโยงกันภายในกลมุ สาระ การเรียนรูแ ละระหวาง กลุม สาระการเรียนรู ตลอดจนเชื่อมโยงองคค วามรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีเขาดวยกนั จัดเรียง ลาํ ดับความยากงา ยของเนือ้ หาในแตล ะระดบั ช้ันตาม พัฒนาการ แตล ะชวงวยั ให มีความเช่ือมโยงความรแู ละกระบวน การเรียนรโู ดยใหเรยี นรผู า นการปฏิบัติ ท่ีสง เสรมิ ใหผูเรยี นพฒั นาความคิด สาระสาคัญของการปรบั ปรงุ หลักสูตร มีดงั น้ี ๑. กลมุ สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร และวทิ ยาศาสตร์ ๑.๑ จดั กลมุ ความรใู หมและนาํ ทกั ษะกระบวนการไปบูรณาการกับตวั ชว้ี ัด เนน ใหผูเ รยี น เกิดการคิดวิเคราะห คดิ แกปญหา และมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑.๒ กาํ หนดมาตรฐานการเรียนรูแ ละตวั ช้วี ัดสําหรับผูเ รยี นทกุ คนที่เปนพนื้ ฐานที่เกี่ยวของ กบั ชีวิตประจําวนั และเปนพนื้ ฐานสําคญั ในการศึกษาตอ ระดบั ทีส่ งู ข้ึน ๑.๓ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๔ – ๖ กําหนดตัวชว้ี ัด เปนรายปเ พื่อเปน แนวทางให สถานศึกษาจัดตามลาํ ดับการเรียนรู อยางไรกต็ ามสถานศึกษาสามารถพจิ ารณาปรับเล่อื นไหลระหวางป ไดต ามความเหมาะสม ๒. กลุมสาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร ไดเ พิ่มสาระเทคโนโลยี ซึง่ ประกอบดวยการออกแบบ และเทคโนโลยแี ละวิทยาการคาํ นวณ ทง้ั นี้เพ่ือเอื้อตอการจดั การเรยี นรูบรูณาการสาระทาง คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา ๓. สาระภมู ิศาสตร ซ่งึ เปนสาระหน่งึ ในกลุมสาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ไดปรบั มาตรฐเารนยี กนารรูแ ละตวั ชวี้ ัดใหมคี วามชดั เจน สอดคลองกบั พัฒนาการตามชว งวยั มีองคค วามรู ทเ่ี ปนสากล เพิ่มความสามารถ ทักษะและกระบวนการทางภูมศิ าสตร ทีช่ ัดเจนข้ีน ๔. กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามคาํ สง่ั สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ เร่ือง ใหย กเลิกมาตรฐานการเรียนรแู ละตัวช้วี ัด สาระที่ ๒ การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในกลมุ สาระ การเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเปล่ยี นช่อื กลมุ สาระ การเรียนรูดังนี้ ๔.๑ ยกเลิกมาตรฐานการเรยี นและตัวชี้วดั สาระท่ี ๒ การออกแบบเทคโนโลยี และสาระ ท่ี ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คงเหลือ ๒ สาระ คือ สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครวั และสาระที่ ๔ การอาชพี ๔.๒ เปลี่ยนช่อื สาระท่ี ๔ การอาชพี เปนสาระท่ี ๒ การอาชีพ ในกลมุ สาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

3 เงื่อนไขและระยะเวลาการยกเลิกและเปล่ยี นชือ่ สาระ ตามขอ ๑ และ ขอ ๒ ใหเปน ไป ดังน้ี ๑. ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ใหย กเลิกและเปล่ยี นชอ่ื สาระในชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑ และ๔ และชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ และ ๔ ๒. ปก ารศึกษา ๒๕๖๒ ใหยกเลิกและเปลย่ี นชอื่ สาระในชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๑ , ๒ , ๔ และ ๕ และชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ , ๒ , ๔ และ ๕ 3. ๓. ตงั้ แตป การศกึ ษา ๒๕๖๓ เปน ตน ไป ใหยกเลิกและเปลี่ยนชอ่ื สาระทุกชัน้ เรยี น ๔. ตัง้ แตปการศึกษา 2563 เปนตนไป ใหเ ปลีย่ นช่ือกลมุ สาระการเรยี นรู ดังน้ี ๔.๑ กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เปน กลุมสาระการเรยี นรูการงาน อาชพี ๔.๒ กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร เปน กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี กระบวนการจดั ทำหลกั สตู รสถานศกึ ษา การจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษามีกระบวนการ ดงั น้ี 1. แตง ตั้งคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการของสถานศึกษา และคณะทาํ งาน 2. ศึกษา วิเคราะหห ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดบั ทองถนิ่ และเอกสารประกอบหลักสตู รตางๆ รวมทั้งขอ มลู สารสนเทศเกี่ยวกบั สภาพ ปญหาจุดเนน ความตอ งการของสถานศึกษา ผเู รียนและชมุ ชน 3. 3. จัดทําหลกั สตู รสถานศึกษา ซงึ่ มีองคป ระกอบสาํ คัญ ดังน้ี สวนนํา โครงสรางหลกั สูตร สถานศึกษา คาํ อธิบายรายวิชา เกณฑก ารวดั และประเมินผล และเกณฑการจบการศกึ ษา 4. ตรวจสอบองคประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา โดยพจิ ารณาคุณภาพ ความถกู ตอ งและ ความเหมาะสม ๕. นําเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานพจิ ารณาใหความเห็นชอบ หากมี ขอเสนอแนะจากคณะกรรมการ ใหนําขอเสนอแนะไปพิจารณาปรับปรุงกอ นการอนุมตั ใิ ชหลกั สูตร 6. จัดทําเปน ประกาศหรอื คําสงั่ เรอ่ื งใหใ ชหลักสูตรสถานศึกษา โดยผูบรหิ ารสถานศกึ ษา และประธานกรรมการสถานศึกษาเปนผลู งนาม หรือผูบรหิ ารสถานศกึ ษาเปนผูล งนาม 7. การใชหลักสูตรสถานศึกษา ครูผสู อนนาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาไปกาํ หนดโครงสรางแราลยะาวิช ออกแบบหนว ยการเรยี นรเู พ่ือพัฒนาผูเรยี นใหมคี ุณภาพตามเปา หมาย 8. วิจยั และตดิ ตามผลการใชห ลักสูตร ดําเนนิ การตดิ ตามผลการใชห ลกั สตู รอยางตอ เน่ือง เปน ระยะๆ เพอื่ นําผลจากการติดตามมาใชเปนขอ มูลพจิ ารณาปรับปรุงหลักสูตรใหม คี ุณภาพและมีความ เหมาะสมยิ่งขึ้น

4 องคประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบดวย ๑. สวนนาํ ขอมูลในสว นนช้ี ว ยใหค รูผสู อนและผูเ ก่ียวของทราบถึงเปาหมายโดยรวมของ สถานศกึ ษาในการพัฒนาผูเรียน ประกอบดว ยสวนสาํ คัญ คอื ความนาํ วิสัยทศั น สมรรถนะสาํ คัญ ของผูเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค ๒. โครงสรา งหลักสูตรสถานศึกษา เปนสวนทีใ่ หข อ มลู เกีย่ วกบั การกาํ หนดรายวชิ าทจ่ี ัดสอน ในแตละป/ ภาคเรยี น ประกอบดว ยรายวชิ าพ้ืนฐาน รายวชิ าเพมิ่ เติม กิจกรรมพฒั นาผูเ รียนพรอม ทัง้ จาํ นวนเวลาเรยี น หรอื หนวยกิตของรายวชิ าเหลานั้น (โครงสรา งเวลาเรยี น และโครงสรา งหลกั สูตรช้ันป) ๓. คำอธิบายรายวชิ า สว นนเี้ ปน รายละเอียดท่ชี ว ยใหทราบวาผเู รียนจะเรียนอะไรจากรายวชิ า น้นั ๆ ในคําอธบิ ายรายวชิ าจะประกอบดวยรหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา ประเภทวชิ า (พ้นื ฐาน/ เพมิ่ เติม) กลุมสาระ การเรยี นรู้ ระดบั ชั้นทส่ี อนพรอมทัง้ คําอธิบายใหท ราบวา เม่อื เรยี นรายวิชานั้นแลว ผูเรียนจะมี ความรู ทกั ษะ คณุ ลักษณะหรอื เจตคตอิ ะไร ซึ่งอาจระบุใหท ราบถึงกระบวนการเรยี น หรือประสบการณ สําคญั ทผ่ี เู รียน จะไดรับดวยกไ็ ด ๔. กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน แบงเปน ๓ ลกั ษณะ คือ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนักเรยี น และ ๓. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ๕. เกณฑการจบการศึกษา เปน สวนทส่ี ถานศึกษากาํ หนดคณุ สมบตั ิของผูท่ีจะจบการศกึ ในแตล ะ ระดับ โดยพฒั นาเกณฑดงั กลา วใหส อดคลอ งสมั พันธกับเกณฑก ารจบหลกั สูตรแกนกลาง แตสถานศกึ ษา จะตองจดั ทาํ ระเบียบวาดว ยการวดั และประเมินผลการเรียนเพ่ือใชควบคูกบั หลกั สตู รสถานศึกษาดวย อกี เลม หนงึ่ รายละเอียดรูปเลม ตามองคประกอบของหลกั สตู รสถานศกึ ษา ๑. ปกหลักสตู รสถานศึกษาควรประกอบไปดว ยตราสัญลักษณของโรงเรียน ชือ่ โรงเรยี น ปี พ.ศ.ท่เี ร่ิมใชห้ ลกั สตู รและหน่วยงานทีโ่ รงเรยี นสงั กดั หากหลังจากใชไ้ ประยะหนึ่งแลว้ สถานศึกษามี การปรับปรุงหลักสตู ร ให้ปรับเปลย่ี นปี พ.ศ. ใหม่ใหส้ อดคล้องกับปีทป่ี รบั ปรงุ ตวั อยางที่ ๑ ปกหลักสตู รสถานศึกษา ตวั อยางท่ี ๒ ปกหลักสูตรสถานศึกษา ตราโรงเรยี น ตราโรงเรยี น หลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรโรงเรียน……………….……….. โรงเรยี น....................... พุทธศกั ราช...2563....(ปท เ่ี รมิ่ ใช) พุทธศกั ราช...2563.....(ปทเี่ รม่ิ ใช) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา สาํ นกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา อุดรธานี เขต 2 อดุ รธานี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

5 ๒.ประกาศหรือคาํ สง่ั ใหใชห ลกั สตู รสถานศกึ ษา หลงั จากคณะกรรมการสถานศึกษา ขัน้ พ้ืนฐานเหน็ ชอบแลวใหจัดทาํ ประกาศหรอื คําส่งั โดยผบู ริหารสถานศกึ ษา และประธานกรรมการสถาน ศกึ ษาเปน ผูลงนาม หรอื ผบู รหิ ารสถานศึกษาเปนผลู งนามแตเพียงผเู ดยี ว ตัวอยา่ งประกาศโรงเรยี น ตวั อยา งท่ี ๑ ประกาศโรงเรียนเรื่องใหใ ชห้ ลักสูตร ตัวอยา งท่ี ๒ ประกาศโรงเรียนเร่ืองใหใ ชหลักสตู ร ประกาศโรงเรยี น................... ประกาศโรงเรียน............... เรือ่ ง ให้ใชห้ ลกั สตู รโรงเรียน.....พทุ ธศกั ราช...(ปีท่เี รม่ิ ใช)้ เรือ่ ง ให้ใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี น......พุทธศักราช.....(ปที ่ีเร่ิมใช)้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ …………………………………………. ……………………………………………………………. .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ................................................................................................................................. .................................................................................................................................... ................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ท้งั น้ี หลกั สตู รโรงเรยี นได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ทง้ั น้ี หลักสตู รโรงเรียนไดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เมือ่ วันท่ี .....เดอื น................พ.ศ. ................ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนตั้งแตบ่ ดั น้ีเปน็ ต้นไป เมือ่ วันที่ .....เดือน................พ.ศ. ................ จึงประกาศให้ใช้หลกั สูตรโรงเรียนตงั้ แต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ....เดอื น.............พ.ศ. .......... ประกาศ ณ วันที่ ....เดอื น..........พ.ศ. .......... ................................... (.................................) ............................... ................................ ผู้อานวยการโรงเรยี น………………. (.............................) (....................................................) ประธานคณะกรรมการ......ผู้อานวยการโรงเรยี น....

6 ๓. ความนาํ เขียนแสดงใหเห็นความเชอ่ื มโยงระหวางหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ัดกลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐ รวมท้งั คาํ สั่งและประกาศตา งๆ ที่เกย่ี วขอ ง กรอบหลกั สูตรระดับทอ งถ่ิน จดุ เนน และความตองการ ของโรงเรยี น ๔. วสิ ยั ทัศนโ รงเรยี น เปนเจตนารมณ อุดมการณ หลกั การ ความเชื่อ อนาคตทพี่ ึงประสงค เอกลกั ษณของโรงเรียนเพอื่ สรา งศรัทธา จดุ ประกายความคดิ ในการพัฒนาองคก รและคณุ ภาพผเู รยี น ทสี่ อดคลอ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กรอบหลกั สูตรระดับทอ งถิ่น จดุ เนน และความตอ งการของโรงเรยี น มแี นวทางการกาํ หนด ดงั นี้ 4.1 ศกึ ษาขอมลู ตอ ไปนี้ 1. ศกึ ษา วเิ คราะห วิสยั ทัศนห ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2. ศกึ ษากรอบหลักสูตรระดบั ทองถน่ิ 3. ศกึ ษาขอ มลู ความตอ งการ จดุ เนน ของทองถ่ินและโรงเรียน 4.2 กําหน ดคาํ สําคญั ท่บี ง บอกถงึ เจตนารมณ อุดมการณ หลักการ ความเช่อื อนาคต ที่พึงประสงคทีจ่ ะพัฒนาผูเ รยี นไปสูจดุ หมายของสถานศึกษา 4.3 ลกั ษณะของวิสยั ทัศนทส่ี มบรู ณ ควรประกอบดว ยประเดน็ ตอ ไปน้ี 1. สอดคลอ งกับจดุ หมาย หลกั การของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 2. สอดคลองกบั กรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถ่นิ 3. แสดงภาพอนาคตของผเู รยี นทคี่ รอบคลุมสภาพความตองการของโรงเรียน ชุมชน และ ท้องถิ่น 4. ใชภาษาทก่ี ระชับ ชัดเจน สามารถนําไปสูการปฏบิ ตั ิได และไมค วรคัดลอกวสิ ยั ทศั น์ ของหลักสตู รแกนกลางฯ มาทงั้ หมด ควรนาํ มาเทียบเคียงและปรบั ใหเ ปน ของสถานศึกษาตนเอง ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รียน เปน สมรรถนะจําเปน พ้นื ฐาน ๕ ประการ ไดแ ก ๑) ความสามารถในการ สื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแกป ญ หา 4) ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ท่มี ุงพัฒนาผูเรียนใหม ี คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู ซ่ึงกาํ หนดไวใ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สมรรถนะสําคญั เหลานไี้ ดห ลอมรวมอยใู นมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วดั ของกลมุ สาระการเรียนรูตา งๆ ทั้ง ๘ กลมุ สาระการเรยี นรูและกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑1 กําหนดไว 8 ประการ ไดแก 1) รกั ชาติศาสนก ษัตริย 2) ซื่อสตั ยส จุ รติ 3) มวี ินยั 4) ใฝเรียนรู\" 5) อยูอยา งพอเพียง 6) มงุ ม่ันในการทาํ งาน 7) รกั ความเปน ไทย 8) มจี ติ สาธารณะ เปนคณุ ลักษณะ ท่ตี อ งการใหเกดิ แก ผเู รียนทกุ คนในระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน โรงเรยี นอาจจะเพ่ิมเตมิ ตามจดุ เนน ของ โรงเรียนไดต ามความเหมาะสม

7 ๗. โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา การจดั ทาํ โครงสรา งหลักสูตรสถานศึกษา จะตองทํา ๒ สวน ไดแก โครงสรา งเวลาเรยี น และ โครงสรางหลกั สูตรชนั้ ป โดยพิจารณาจากขอ มลู ตอ ไปนี้ ๑. โครงสรางเวลาเรียน เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6  กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 ภาษาไทย (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 120 120 120 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 240 สังคมศกึ ษา ศาสนา และ 120 120 120 120 120 120 160 160 160 (6 นก.) วัฒนธรรม (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) 320 (8 นก.)  ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80 ศาสนา ศีลธรรม (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.) จรยิ ธรรม 80 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)  หนา้ ทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม 80 80 80 80 80 และการดาเนินชวี ิต 80 80 80 80 120 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) ในสังคม (3 นก.) 80 80 80 80  เศรษฐศาสตร์ (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 120 (3 นก.)  ภูมิศาสตร์ 80 80 80 80 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 120 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 (3 นก.) ศิลปะ 80 80 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 80 80 ภาษาต่างประเทศ 200/120 200/120 200/120 80 80 80 120 120 120 240 (6 นก.) รวมเวลาเรยี น 840 840 840 840 840 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (พ้ืนฐาน) 1,640 840 880 880 880 (22นก.) (22นก.) (22 นก.) (41 นก.)  กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360 รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศกึ ษา ปลี ะไม่น้อยกวา่ 40 ชวั่ โมง ไม่นอ้ ยกวา่ เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและจดุ เนน ปลี ะไม่นอ้ ยกวา่ 220 ชั่วโมง 1,600 ชั่วโมง รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ไม่น้อยกว่า 1,000 ช่ัวโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่ ไมน่ ้อยกวา่ 1,200 ช่ัวโมง/ปี นอ้ ย กว่า ,3600 ชั่วโมง

8 ตวั อย่างโครงสร้างเวลาเรยี นระดบั ประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา  กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 840 840 840 คณติ ศาสตร์ 840 840 840 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ศาสนา และ วัฒนธรรม  ประวัติศาสตร์  ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม  หนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสงั คม  เศรษฐศาสตร์  ภูมิศาสตร์ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาตา่ งประเทศ รวมเวลาเรยี น(พ้ืนฐาน)  กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น O กิจกรรมแนะแนว O กิจกรรมนกั เรียน -ลกู เสอื ยวุ กาชาด -ชมรม ชุมนุม O กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น  รายวชิ า/กจิ กรรมที่ สถานศึกษาจัดเพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและ จุดเน้น รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ใหโ้ รงเรยี นระบเุ วลาเรยี นตามท่โี รงเรยี นกาหนด

9 ตวั อย่างโครงสรา้ งเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.1 ม.2 ม.3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม  ประวัตศิ าสตร์  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม  หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม เศรษฐศาสตร์  ภมู ิศาสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน)  รายวชิ าเพิ่มเตมิ  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น O กิจกรรมแนะแนว O กจิ กรรมนักเรยี น -ลกู เสอื ยวุ กาชาด รด. -ชมรม ชมุ นมุ O กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน รวมเวลาเรียน  ให้โรงเรยี นระบุเวลาเรยี นตามทโ่ี รงเรียนกาหนด

10 2) โครงสร้างหลักสูตรชัน้ ปี เวลาเรยี น(ชม./ปี) ตวั อยา่ งโครงสรา้ งหลักสูตรชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ......... 840 รายวชิ า/กจิ กรรม รายวชิ าพน้ื ฐาน ท11101 ภาษาไทย ค11101 คณติ ศาสตร์ ว11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส11101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส11102 ประวตั ศิ าสตร์ พ11101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ศ11101 ศลิ ปะ ง11101 การงานอาชีพ อ11101 ภาษาอังกฤษ รายวชิ า/กิจกรรมเพ่ิมเตมิ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 120 กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด - ชมรม ชมุ นุม กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

11 ตัวอย่างโครงสรา้ งหลักสตู รชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ..... ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยกติ /ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 2 รายวิชา/ รายวชิ า/กิจกรรม รายวิชา/กิจกรรม กิจกรรม รายวชิ าพื้นฐาน 11.0(440) รายวชิ าพื้นฐาน 11.0(440) ท21101 ภาษาไทย ท21102 ภาษาไทย ค21101 คณิตศาสตร์ ค21102 คณติ ศาสตร์ ว21101 วทิ ยาศาสตร์ ว21102 วทิ ยาศาสตร์ ส21101 สงั คมศกึ ษา ส21103 สงั คมศกึ ษา ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ ส21104 ประวัตศิ าสตร์ พ21101 สขุ ศกึ ษา พ21103 สขุ ศึกษา พ21102 พลศึกษา พ21104 พลศกึ ษา ศ21101 ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ศ21102 ทัศนศลิ ป์ ง21101 การงานอาชีพ ง21102 การงานอาชพี อ21101ภาษาองั กฤษ อ21102ภาษาองั กฤษ รายวชิ าเพิม่ เติม รายวชิ าเพ่ิมเติม กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 60 กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น กจิ กรรมนกั เรยี น -ลูกเสอื -นตรนารี -ลูกเสอื -เนตรนารี -ชมรม ชมุ นุม -ชมรม ชมุ นมุ กจิ กรรมเพ่ือสงั คม กจิ กรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ และสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น รวมเวลาเรียน

12 1) การจดั สรรเวลาเรยี นในรายวชิ าพื้นฐาน ผเู รียนตอ งมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูและ ตวั ชวี้ ัดที่หลักสตู รแกนกลางฯ กําหนด 2) การจดั เวลาเรียนต้องให้สอดคล้องกับเกณฑ์การจบ และคานงึ ถงึ ศักยภาพของผู้เรียน 3) วชิ าหน้าทพี่ ลเมือง สถานศึกษาทุกแห่งยงั คงต้องจัดการเรียนการสอนหน้าท่ีพลเมอื ง เปา้ หมายของการจัด คอื การส่งเสรมิ การสรา้ งความเป็นพลเมืองดีของชาตติ ามความพร้อม และ บรบิ ทของสถานศึกษา โดยมีทางเลือกในการจัดการเรยี นการสอน 4 ทางเลอื ก ดังนี้ (1) เพม่ิ วชิ าหน้าที่พลเมืองในหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยจดั เป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระ การเรยี นรู้สังคมฯ (วดั ผลรายวิชาเพม่ิ เติมหน้าท่ีพลเมือง) (2) บูรณาการกบั การเรยี นรายวิชาอืน่ ท้งั รายวิชาพน้ื ฐาน หรือเพมิ่ เติมในกล่มุ สาระ การเรยี นรู้ สงั คมศึกษาฯ (วัดผลรวมอยูใ่ นรายวชิ านน้ั ๆ) (3) บูรณาการกบั การเรียนร้ใู นรายวิชาพืน้ ฐาน หรอื รายวชิ าเพม่ิ เติม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น (วัดผลรวมอย่ใู นรายวชิ าน้นั ๆ) (4) บูรณาการการเรยี นรู้กบั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น หรอื กจิ กรรม/โครงการ/โครงการหรือวิถี ชีวิตประจาวนั ในโรงเรียน (วดั ผล ผา่ น – ไมผ่ า่ น ตามลักษณะของกจิ กรรม) ทั้งนี้ สถานศกึ ษาควรระบุไดว้ า่ จัดการเรียนการสอนหนา้ ท่พี ลเมอื งในลักษณะใด ผลการจัด บรรลุ เปา้ หมายหรอื ไม่ เชน่ ระบใุ นแผนการจดั การเรียนรู้ หรอื หนว่ ยการเรียนรู้ 4) การเรียนการสอนประวัตศิ าสตร์ ระดบั ประถมศึกษาใหเ้ รียนสาระประวตั ศิ าสตร์ 40 ชม/ปี ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 40 ชม/ปี (๓ หนว่ ยกติ ) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 80 ชม/ปี (2 หนว่ ยกติ ) 5) การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สถานศึกษาทุกแห่งยังคงตอ้ งจดั การเรยี นการสอน ภาษาอังกฤษ ในชนั้ ป.1 – 3 จานวน 200 ชม/ปี โดยเสนอทางเลือก 2 ทาง ดังนี้ (1)จดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เป็นรายวิชาพนื้ ฐาน อย่างนอ้ ย 200 ชม/ปี (2) จดั การการสอนภาษาองั กฤษ เปน็ รายวชิ าพื้นฐาน อย่างน้อย 120 ชม/ปี และจดั เป็น รายวชิ า เพม่ิ เตมิ หรอื กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น หรอื กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร 80 ชม./ปี รวมเวลาเรยี น ภาษาองั กฤษทงั้ หมด จํานวน 200 ชม./ปี 6)การจัดการเรยี นการสอนหลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) กลุ่มเป้าหมายครอบคลมุ ทุกระดบั ชั้นเรยี น โดยมีแนวทางการนาไปใชต้ ามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรยี น ดงั น้ี (1) นาไปจดั ทาเป็นรายวิชาเพ่ิมเตมิ ของโรงเรยี น (2) นาไปใช้ในชว่ั โมงลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ (3) นาไปบูรณาการกับการจัดการเรยี นการสอนในกลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (สาระหน้าท่ีพลเมอื ง) หรือนาไปบรู ณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ื่นๆ โรงเรยี นสามารถดาวน์โหลดหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา เพ่ือนาไปใช้ประกอบการเรยี นการสอน ได้ท่เี วบ็ ไซต์ สานักงาน ป.ป.ช. ที่ www.nacc.go.th สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ท่ี www.obec.go.th และโรงเรยี นสจุ ริต ท่ี www.uprightschool.net

13 7) การจดั กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ โรงเรียนสามารถปรับโครงสร้างเวลาเรยี นและโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ได้ดังน้ี (๑) ระดับประถมศึกษา ปรบั เวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ไดต้ ามความเหมาะสม และบรู ณาการการเรยี นรู้ ทั้งนีต้ ้องมีเวลาเรยี นรวมตามทกี่ าหนดไวใ้ นโครงสร้างเวลาเรยี น โดยรายวิชา พ้ืนฐาน เทา่ กับ ๘๔๐ ชัว่ โมง/ปี และรายวิชา/กจิ กรรมทส่ี ถานศึกษาจัดเพ่มิ เติมตามความพร้อมและจดุ เน้น ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชวั่ โมง/ปี โดยผู้เรียนต้องมีคณุ ภาพตาม มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัดทก่ี าหนด เวลาของการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง/ป (๓ ช่วั โมง/สปั ดาห์) จดั เป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้” บังคบั ตามหลักสูตร ประกอบด้วย กิจกรรม แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกิจกรรม เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ โดยเวลาเรียนรวมท้งั หมดไม่น้อยกวา่ ๑,๐๐๐ ชวั่ โมง/ปี (๒) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ สถานศึกษาจัดแบง่ จานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รยี นของแตล่ ะรายวิชาต่อ ภาคเรียนได้ตามความเหมาะสม และบูรณาการการเรยี นรู้ แตท่ งั้ นต้ี ้องเปน็ ไปตามโครงสรา้ งเวลาเรียน ท่หี ลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด โดยรายวิชาพืน้ ฐาน เทา่ กบั ๘๘๐ ชัว่ โมง/ปี และ รายวิชา/กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพมิ่ เติมตามความพรอ้ มและจดุ เน้น อย่างน้อย ๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี รวมท้งั ส้นิ โดยผู้เรยี นต้องมคี ุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชวี้ ัดทก่ี าหนด เวลาของการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น จานวน ๑๒๐ ชว่ั โมง/ปี (๓ ชวั่ โมง/ สปั ดาห์) จดั เป็นกจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้” บังคบั ตามหลักสตู ร ประกอบดว้ ย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน และกิจกรรม เพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เวลาเรยี นรวม ทัง้ หมดไม่น้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ชว่ั โมง/ปี 8) จานวนมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัด และลักษณะตวั ช้ีวดั 8.1 จานวนมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวัด ศึกษาและพิจารณาจานวนตวั ชว้ี ัดชน้ั ปี และ ตวั ชี้วดั ช่วงชัน้ ในแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ เพ่ือการกาหนดเวลาเรียนในหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 แต่ละวชิ าตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปอยา่ ง เหมาะสม สาหรบั จานวนมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัดของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) มดี ังนี้

14 คณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู้ จำนวนตัวช้ีวัดแตล่ ะระดับ/แต่ละสาระ รวม ช่อื สาระ จำนวน รหัส ประถมศึกษา ม.ตน้ จำนวน 1.จานวนและพชื คณิต มาตรฐาน มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั 3 ค 1.1 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 5 8 11 16 9 12 3 2 - 66 ค 1.2 1 - 1 - - 1 - 2 2 7 ค 1.3 - - - - - - 3 - 3 6 2.การวดั และเรขาคณติ 2 ค 2.1 2 6 13 3 4 3 - 2 2 35 ค 2.2 1 1 1 2 4 4 2 5 3 23 3.สถติ ิและความนา่ จะเป็น 2 ค 3.1 1 1 2 1 2 1 1 1 1 11 ค 3.2 - - - - - - - - 1 1 7- 10 16 28 22 19 21 9 12 12 149 รวมตวั ชี้วัด 116 33 วทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู้ จานวนตัวชวี้ ดั แตล่ ะระดับ/แตล่ ะสาระ รวม จำนวน รหสั ประถมศกึ ษา ม.ต้น จำนวน ตวั ชี้วัด ช่ือสาระ มาตรฐาน มาตรฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 1.วิทยาศาสตร์ 3 ว 1.1 ชีวภาพ 2 - - - 4 - - - 6 12 ว 1.2 2 3 4 1 - 5 18 17 - 50 2.วิทยาศาสตร์ ว 1.3 - 1 - 4 2 - - - 11 18 กายภาพ 3 ว 2.1 2 4 2 4 4 1 10 6 8 41 ว 2.2 3.วทิ ยาศาสตรโ์ ลก ว 2.3 - - 4 3 5 1 1 15 - 29 และอวกาศ 2 ว 3.1 1 2 3 1 5 8 7 6 21 54 4.เทคโนโลยี ว 3.2 2 ว 4.1 2 - 3 3 2 2 - - 4 16 ว 4.2 1 2 4 - 5 9 7 10 - 38 10 - - - - - - - 5 5 5 15 รวมตวั ช้ีวัด 5 4 5 5 5 4 4 4 4 40 15 16 25 21 32 30 52 63 59 313 139 174

15 8.2 ลกั ษณะตัวชี้วดั การทาความเข้าใจลักษณะตวั ช้ีวัดเพ่ือนาไปใช้ประกอบการพจิ ารณา ตัดสินใจกาหนดรายวชิ า โดยศึกษาความยากง่าย และลาดับความตอ่ เนื่องสมั พันธข์ องแต่ละตัวชีว้ ัด ตวั อย่างการบนั ทกึ มีดังนี้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้…………………… ช้ัน……………………………. ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 วชิ า......................จานวน.......................หน่วยกติ วชิ า......................จานวน.......................หน่วยกติ สาระ...................................................................... สาระ.................................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชี้วดั .................................................. ตัวชี้วัด........................................................ มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชวี้ ดั .................................................. ตัวชีว้ ัด................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตัวชว้ี ดั .................................................. ตวั ชวี้ ดั ................................................... สาระ..................................................................... สาระ.................................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตัวช้ีวดั ..................................................... ตัวช้ีวัด.................................................. มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชี้วัด.................................................. ตวั ช้วี ัด........................................................ มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน....................................................... ตวั ชว้ี ัด................................................ ตวั ชวี้ ัด.................................................. 9) เปา้ หมาย จุดเน้น การพฒั นาผูเ้ รียนของท้องถ่ินและของโรงเรยี น เพือ่ ให้การจัดการศึกษาของแตล่ ะโรงเรียนสง่ ผลต่อคุณภาพผู้เรยี นตามท่ที ้องถิน่ และ โรงเรยี นต้องการ ดงั น้นั โรงเรียนควรพจิ ารณากาหนดรายวิชาและกิจกรรรมพัฒนาผู้เรียนในโครงสร้าง หลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย/จุดเนน้ การพัฒนาผ้เู รียนของกรอบหลกั สูตรระดับ ทอ้ งถน่ิ (จดั ทาโดยเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา) และความต้องการ/จดุ เนน้ ของโรงเรียน 10) ระเบยี บ แนวปฏบิ ตั ิในการบรหิ ารจัดการหลักสูตร ไดแ้ ก่ ๑๐.๑ การกาํ หนดรายวิชา สถานศกึ ษาจะตอ งนําความรแู ละทักษะตามมาตรฐาน การเรียนรู ของแตละ“กลุม สาระการเรยี นร”ู (Learning areas ) ไปจดั ทาํ เปน “รายวชิ า” (courses) โดยตง้ั ชื่อรายวิชาให สะทอนสิ่งทส่ี อนในรายวิชานน้ั ๆ กําหนดรหัสวิชา รวมท้ังระบุจาํ นวนเวลาเรยี น หรือจาํ นวนหนวยกิตของรายวิชา เหลานั้นกํากับไวดว ย ทง้ั นร้ี ะดับประถมศึกษาจดั ทาํ รายวิชาเปน รายป ระดบั มัธยมศึกษาจัดทําเปนรายภาคเรยี น

16 10.2 ประเภทของรายวิชา มดี งั น้ี 10.2.1 รายวิชาพนื้ ฐาน เปน รายวิชาที่เปดสอนเพอื่ พัฒนาผเู รียนตามมาตรฐาน การเรยี นรู/ ตัวช้ีวัด และสาระการเรยี นรูแกนกลางท่ี กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางซง่ึ เปนส่ิงที่ผเู รียน ทุกคน ในระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานตองเรียนรู การตัง้ ชอื่ รายวชิ าพ้นื ฐานสอดคลอ งกับ การเรยี นรูห รือสะทอ น ถึง จดุ เนนและเนือ้ หาสาระทีส่ อน และระดับความยากงายของสิง่ ท่ีสอนในรายวชิ าน้นั 10.2.2 รายวชิ าเพมิ่ เติม เปน รายวิชาที่สถานศึกษาแตละแหงสามารถเปดสอน เพมิ่ เตมิ จากสง่ิ ท่กี าํ หนดไวใ นหลกั สตู รแกนกลาง เพือ่ ใหสอดคลอ งกับจุดเนน ความตอ งการและ ความถนัด ของผูเรียน หรือความตอ งการของทอ งถ่นิ โดยมกี “ผลการเรียนรู ”เปน เปาหมายในการพัฒนาผูเรียน ทงั้ นี้ จะตอง สอดคลอ งกับเกณฑการจบการศึกษา สาํ หรับชื่อรายวชิ าเพ่มิ นัน้ ควรสอดคลองกับกลุมสาระการเรียน รู หรือสะทอ นถึงจดุ เนนและระดบั ความยากงา ยของสิ่งทีส่ อนในรายวิชานั้น 10.3 การจัดรายวิชา 10.3.1 ระดบั ประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน 1) ใหสถานศกึ ษาจดั รายวชิ าพืน้ ฐานตามกลุมสาระการเรยี นรู กลุมละ 1 รายวชิ าตอ ป ยกเวน กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กําหนดเปนรายวชิ าสังคมศึกษา และรายวชิ าประวัตศิ าสตร โดยรายวชิ าประวตั ศิ าสตร ใหจัดการเรียนการสอน 40 ชั่วโมงตอ ป 2) สาระเทคโนโลยี เปน สาระหนึ่งในกลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร จงึ จัดอยใู น รายวชิ าวทิ ยาศาสตร โดยไมแยกเปนรายวิชาเฉพาะ รายวชิ าเพมิ่ เติม สถานศึกษาสามารถกําหนดรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ความพรอม จุดเนน ของสถานศึกษา ตามความตองการและความถนัดของผูเรยี นโดยจัดเปน รายปแ ละมกี ารกําหนด “ผลการเรียนรู” ของราย1วิช0า.3นนั้.2ๆระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ รายวิชาพื้นฐาน 1) ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รวมทง้ั กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตรแ์ ละ วทิ ยาศาสตร อาจจดั ไดมากกวา ๑ รายวิชาในแตละภาค/ป ๒) สามารถจดั รายวชิ าพื้นฐานใน ๑ ภาคเรียนใหเ รยี นครบ/ไมค รบ ทงั้ ๘ กลมุ สาระการเรยี นรไู ด แตเมอ่ื จบหนงึ่ ปการศกึ ษา สถานศึกษาตองจดั ใหเ รียนรายวิชาพ้ืนฐาน ๘ กลมุ สาระการ เรยี นรู ๓) กาํ หนดให ๑ รายวิชามีคานาํ หนกั ไมนอยกวา ๐.๕ หนว ยกิต (๑ หนว ยกติ คิดเปน ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น) และเมื่อรวมจาํ นวนหนว ยกิตของรายวิชาพ้นื ฐานในแตล ะกลมุ สาระ การเรียนรูแลว ตองมเี วลาเรยี นรวม ๘๘๐ ชั่วโมงตอ ป (๒๒ หนว ยกิต) ๔) กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมใหจัดสาระ ประวัติศาสตรเ ปน รายวิชาเฉพาะ ภาคเรยี นละ ๑ รายวิชา (๐.๕ หนว ยกิต) ทกุ ภาคเรียน รวม ๖ รายวิชา (๓.๐ หนว ยกติ ) รายวิชาเพมิ่ เติม สถานศกึ ษาสามารถกําหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความ พรอ ม จดุ เนน ของสถานศึกษา ความตองการและความถนดั ของผูเรยี นโดยจดั เปน รายภาคและมกี าร กําหนด“ผลการเรยี นรู” ของรายวชิ านั้นๆ

17 10.4 การกำหนดรหสั วชิ า เพือ่ ใหเ้ กิดความสะดวกและความเข้าใจตรงกันในการ ส่อื สาร สถานศกึ ษาจาเปน็ ต้องกาหนดรหสั วชิ าอยา่ งเปน็ ระบบ ระบบรหสั วชิ า การกาหนดรหัสวิชาควรใชต้ ัวเลขอารบิก เพือ่ ส่ือสารและการจัดทาเอกสาร หลักฐานการศึกษา สาหรับรายวชิ าพน้ื ฐานและรายวิชาเพม่ิ เติม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยตวั อกั ษรและตวั เลข 6 หลัก ดงั นี้ หลักที่ 1 เป็นรหสั ตวั อักษรแสดงกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คือ ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส หมายถงึ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พ หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ศ หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ง หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศให้ใช้รหัสของแต่ละภาษาตาม รายการ

18 1. รหัสตัวอักษรกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ 1.1 รายการรหัสตวั อกั ษรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศทีจ่ ะนาไปใส่แทน ก หมายถึง ภาษาเกาหลี ข หมายถึง ภาษาเขมร จ หมายถึง ภาษาจนี ซ หมายถึง ภาษารสั เซยี ญ หมายถงึ ภาษาญปี่ นุ่ ต หมายถึง ภาษาเวียดนาม น หมายถงึ ภาษาลาติน บ หมายถึง ภาษาบาลี ป หมายถงึ ภาษาสเปน ฝ หมายถึง ภาษาฝรง่ั เศส ม หมายถงึ ภาษามลายู ย หมายถงึ ภาษาเยอรมัน ร หมายถงึ ภาษาอาหรับ ล หมายถงึ ภาษาลาว อ หมายถงึ ภาษาองั กฤษ ฮ หมายถึง ภาษาฮินดู 1.2 กรณที ี่มสี ถานศกึ ษาใดจัดทาํ รายวชิ าภาษาอังกฤษและภาษาตา งประเทศอืน่ ๆ นอกเหนอื จากทก่ี ําหนดไวใหส ถานศึกษาทาํ เรือ่ งเสนอสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพื่อกาํ หนดรหสั ตวั อักษรกลมุ สาระการเรียนรภู าษตางประเทศและประกาศใหสถานศกึ ษาทว่ั ประเทศเพ่มิ เตมิ ประเทศไดรับทราบและใชตรงกนั 2.กรณีกาํ หนดรายวิชากลมุ เทคโนโลยี ในกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรใ หใ ชร หสั วชิ า ว และถากําหนดในกลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยใี หใ ชรหัสวชิ า ง หลักท่ี ๒ เปนรหัสตัวเลขแสดงระดับการศึกษาในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และ มัธยมศึกษาตอนปลาย สะทอนระดบั ความรูและทักษะในรายวิชาท่ีกาํ หนดไว คือ 1 หมายถงึ รายวชิ าระดบั ประถมศกึ ษา 2 หมายถงึ รายวชิ าระดบั มธั ยมตอนต้น 3 หมายถงึ รายวิชาระดบั มัธยมตอนปลาย หลักท่ี 3 เปน็ รหัสตัวเลขท่ีแสดงปที เี่ รยี นของรายวิชา ซงึ่ สะทอ้ นระดับความรู้และทักษะใน รายวิชาท่ีกาหนดไวใ้ นแต่ละปี คอื 0 หมายถึง รายวชิ าท่ไี ม่กาหนดปีทีเ่ รียน จะเรยี นปใี ดก็ได้ในระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 หมายถงึ รายวชิ าที่เรยี นในปีท่ี 1 ของระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และ มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย (ป.1 , ม.1 และ ม.4) 2 หมายถึง รายวิชาทเ่ี รยี นในปีที่ 2 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และ มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ป.2 , ม.2 และ ม.5) 3 หมายถึง รายวิชาทเี่ รยี นในปีที่ 3 ของระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ป.3 , ม.3 และ ม.6) 4 หมายถึง รายวชิ าทเ่ี รยี นในปีที่ 4 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.4) 5 หมายถึง รายวิชาทเ่ี รยี นในปีที่ 5 ของระดับประถมศึกษา (ป.5) 6 หมายถึง รายวชิ าท่เี รียนในปที ี่ 6 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.6) หลักท่ี 4 เปน็ รหสั ตวั เลขแสดงประเภทของรายวิชา คือ 1 หมายถงึ รายวิชาพื้นฐาน 2 หมายถงึ รายวิชาเพ่มิ เติม

19 หลักที่ 5 และหลักท่ี 6 เปน็ รหัสตวั เลขแสดงลาดับของรายวิชาแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ ในระดบั การศึกษาเดยี วกัน ในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย มีจานวน ตง้ั แต่ 01 – 99 ดังน้ี รายวชิ าทก่ี าหนดปที ีเ่ รียน ให้นับรหัสหลักท่ี 5 - 6 ต่อเนอ่ื งในปเี ดียวกัน หากจัดรายวิชา เป็นรายภาคให้กาหนดเรยี งลาดบั รายวิชาในกลมุ่ สาระการเรยี นรเู้ ดียวกันให้เสรจ็ ในภาคเรยี นแรกก่อน แลว้ จึงกาหนดต่อในภาคเรยี นท่ีสอง รายวิชาท่ีไม่กาหนดปีทเี่ รยี น ให้นับรหสั หลักท่ี 5 – 6 ตอ่ เน่อื งในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รหสั หลกั ที่ 5 และหลกั ท่ี 6 ของรายวชิ าเพิ่มเติม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ให้กาหนดรหัสวชิ า เป็นช่วงลาดับ ดงั น้ี ลาดบั ท่ี 01 - 19 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มฟสิ กิ ส์ ลาดบั ท่ี 21 - 39 หมายถึง รายวิชาในกลมุ่ เคมี ลาดบั ที่ 41 - 59 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มชีววิทยา ลาดบั ท่ี 61 - 79 หมายถงึ รายวิชาในกลุ่มโลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ ลาดบั ที่ 81 - 99 หมายถึง รายวิชาในกล่มุ วิทยาศาสตร์อ่ืนๆ ตัวอย่างรายวิชาพื้นฐานและเพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษา รายวชิ าพืน้ ฐาน ท11101 ภาษาไทย จานวน 200 ช่ัวโมง ท12101 ภาษาไทย จานวน 200 ช่ัวโมง ท13101 ภาษาไทย จานวน 200 ชว่ั โมง ท14101 ภาษาไทย จานวน 160 ชั่วโมง ท15101 ภาษาไทย จานวน 160 ชวั่ โมง ท16101 ภาษาไทย จานวน 160 ชว่ั โมง รายวชิ าเพม่ิ เติม ท11201 ภาษาไทย จานวน 40 ชั่วโมง ท12201 ภาษาไทย จานวน 40 ชั่วโมง ท13201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท14201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท15201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท16201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง

20 ตัวอยา่ งรายวิชาพ้นื ฐานและเพ่มิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ รายวชิ าพ้นื ฐาน ท21101 ภาษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ท21102 ภาษาไทย จานวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกติ ท22101 ภาษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต ท22102 ภาษาไทย จานวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกิต ท23101 ภาษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต ท23102 ภาษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต รายวิชาเพ่ิมเติม ท21201 เสริมทกั ษะการอา นรอ ยแกว รอ ยกรอง จานวน 40 ช่วั โมง 1 หน่วยกติ ท21202 เสริมทักษะการอา นจับใจความ จานวน 20 ช่วั โมง 0.5 หนว่ ยกติ ท22201 เสริมทกั ษะอานบทประพนั ธ จานวน 40 ช่วั โมง 1 หน่วยกติ ท22202 เสริมทกั ษะการเขยี นเรอื่ งส้นั จานวน 40 ชวั่ โมง 1 หน่วยกติ ท23201 เสริมทักษะการเขยี นสรางสรรค จานวน 40 ชวั่ โมง 1 หนว่ ยกติ ท23202 เสรมิ ทักษะการพูดในชนั้ เรียน จานวน 40 ช่ัวโมง 1 หนว่ ยกติ 11) คำอธบิ ายรายวิชา เมอื่ สถานศึกษากาหนดรายวิชาท่จี ะเปิดสอนในแต่ละปี/ภาคเรียน เรียบร้อยแล้ว จะต้อง เขียนคาอธิบายรายวชิ า ทงั้ รายวชิ าพน้ื ฐาน และรายวชิ าเพิ่มเติมไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาดว้ ย คาอธิบายรายวิชา เปน็ ข้อมูลรายละเอียดของแตล่ ะรายวิชา ประกอบด้วยมาตรฐาน การเรยี นรู้ เน้อื หาสาระ เวลาเรียน รหสั วชิ า จานวนหนว่ ยกติ ระดับชัน้ เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบทิศทาง ในการวางแผนและออกแบบการเรยี นการสอน คาอธบิ ายรายวชิ ามไี ว้เพื่ออะไร ๑. เพื่อสร้างความเขา้ ใจว่าในรายวชิ าน้นั ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนร้อู งค์ความรู้ ฝึกทกั ษะ กระบวนการ มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคท์ ส่ี าคญั อะไรบ้าง และเกิดสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นอะไรบ้าง ๒. เพื่อเปน็ แนวทางให้ผสู้ อนนาไปออกแบบการจดั การเรยี นรู้ คาอธิบายรายวิชามลี ักษณะอยา่ งไร คําอธิบายรายวิชามีลักษณะเปนความเรยี งที่ประกอบดวยองคค วามรู ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค และสมรรถนะสําคญั ของผูเ รยี น คําอธิบายรายวิชาของรายวิชาพื้นฐาน ใหว เิ คราะหจ าก ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลางทีห่ ลักสตู รแกนกลางฯ กาํ หนด สําหรบั คาํ อธบิ ายรายวชิ า เพมิ่ เตมิ ให วเิ คราะห จากผลการเรยี นรูท่ีสถานศึกษากาํ หนดข้ึน คาํ อธิบายรายวิชาเขยี นเปน รายปส าํ หรบั ระดับ ประถมศึกษา และเปนรายภาคเรียนสาํ หรับระดับมัธยมศกึ ษา

21 องค์ประกอบสำคญั ของคำอธบิ ายรายวชิ าคืออะไร องคป์ ระกอบสาคัญของคาอธิบายรายวิชา............................จาแนกได้ ๓ สว่ นดังนี้ ส่วนท่ี 1 ประกอบด้วย รหัสวชิ า..................ช่อื รายวิชา................................กลุ่มสาระการเรียนรู้................... ช้นั ปี..........................จานวนชั่วโมงหรือหนว่ ยกติ ส่วนที่ 2 ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญ โดยมีแนวทางเขียนที่สาคญั ดังนี้ 1. ผู้เรยี นได้เรียนร้อู ะไรบา้ ง 2. ผูเ้ รียนสามารถทาอะไร ไดบ้ ้าง 3. ผเู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์อะไรบ้างตามหลักสตู รแกนกลางฯ และตามธรรมชาตขิ องวชิ า 4. ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ อะไรบ้างตามหลักสตู รแกนกลางฯ สว่ นท่ี 3 ประกอบด้วยรหสั ตวั ชี้วัดหรอื ผลการเรียนรู้ท้ังหมดในรายวชิ าน้ัน คำอธิบายรายวิชาเขียนอยา่ งไร รายวชิ าพน้ื ฐาน เปน็ รายวชิ าทีส่ อนใหผ้ ูเ้ รียนบรรลมุ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 การเขยี นคาอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน มีข้ันตอนดังน้ี 1. วเิ คราะห์ตวั ชวี้ ัดชน้ั ปีในระดบั ประถมศกึ ษา สาหรับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นวเิ คราะห์ ตัวชวี้ ัด ชัน้ ปเพื่อกําหนดเปนรายภาค หรือตัวชวี้ ดั ชว งชัน้ ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายเปน รายภาค และ สาระการเรียนรูแกนกลาง ตามท่กี ําหนดไวใ นหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.วิเคราะหสาระการเรียนรทู องถ่ินจากกรอบหลักสตู รระดบั ทองถ่ินของสาํ นกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษา ความตองการและบริบทของโรงเรยี น เพือ่ กําหนดสาระการเรยี นรูทองถนิ่ ที่เกี่ยวของกบั ตวั ชีว้ ัด ในรายวชิ านน้ั 3.จดั กลุมตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง สาระการเรยี นรูทองถิ่นทีม่ ีความเชอื่ มโยง สัมพันธก นั เพ่ือหลอมรวมและเรียบเรยี ง เขยี นเปน ความเรียง ใหเ หน็ สิง่ ที่ตองการใหผเู รียนมคี วามรู ความสามารถ คณุ ลักษณะ และสมรรถนะสําคัญ ในรายวชิ านั้น 4. เขียนรายละเอียดตามองค์ประกอบของคาอธิบายรายวชิ า รายวิชาเพิ่มเติม เปน็ รายวิชาที่โรงเรยี นกาหนดข้ึน ตามจดุ เนน้ ความตอ้ งการของโรงเรียน หรอื ทอ้ งถิน่ การเขียนคาอธบิ ายรายวชิ าเพม่ิ เติม มีขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. กาหนดผลการเรยี นรู้ซึง่ โรงเรียนเปน็ ผู้กาหนดขนึ้ 2. กาหนดสาระการเรยี นรทู้ สี่ อดคล้องกับผลการเรยี นรู้ 3. จัดกลุ่มผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ที่มีความเช่อื มโยงสัมพันธ์กนั เพ่ือหลอมรวม และ เรยี บเรยี ง เขียนเปน็ ความเรยี ง ให้เหน็ ส่ิงทตี่ อ้ งการใหผ้ เู้ รยี นมีความร้คู วามสามารถ และคณุ ลกั ษณะ ในรายวชิ าน้นั 4. เขียนรายละเอยี ดตามองคป์ ระกอบของคาอธบิ ายรายวิชา การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด สามารถทาไดห้ ลายวิธี ในทนี่ ีไ้ ดเ้ สนอตวั อย่างการวเิ คราะห์ตัวชี้วัดประกอบการ สร้างความเข้าใจ 2 รปู แบบ ดงั ต่อไปนี้

22 รูปแบบที่ 1 การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั เปน็ ส่ิงทีผ่ ู้เรยี นควรรู้และสามารถ ปฏบิ ตั ไิ ด้ แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์เพื่อจดั ทาคา อธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้.............................รายวชิ า..........................................ชั้น............................. สาระ............................................................................................................................. ......................... มาตรฐาน............................................................................................. ................................................ ตัวชวี้ ัด รู้อะไร ทำอะไรได้ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ทอ้ งถิ่น รปู แบบท่ี 2 การวเิ คราะหมาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชี้วัด ทกั ษะ/กระบวนการ และคุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ แบบบนั ทึกการวเิ คราะหเ พ่ือจดั ทำคำอธิบาย กลุม่ สาระการเรยี นรู้....................................รายวิชา...............................................ชนั้ ……………………………….. สาระ........................................................ มาตรฐาน..................................................................................... ตัวช้ีวัด ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั สาระการเรียนรู้ กระบวนการ อนั พึงประสงค์ ท้องถ่นิ

23 คำอธิบายรายวิชา รหัสวิชา…………………………………..................................................................... ช่ือรายวิชา ............................ รายวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ........................... ชั้น....................................................................................................................ภาคเรยี นท่ี.......เวลา............ชวั่ โมง (จำนวนหน่วยกิต) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……. (เขียนเปนความเรียงใหไดใจความวา ผเู รียนไดเ รียนรูอะไร สามารถทําอะไรได และ มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค สมรรถนะสาํ คัญ ใดบา งตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และธรรมชาติของวิชา) .................................................................................................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................ .......... .................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... รหัสตัวชี้วดั (รายวิชาพน้ื ฐาน) .............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... .............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... รวมทง้ั หมด............ตวั ชว้ี ัด

24 คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา…………………………………..................................................................... ชอ่ื รายวชิ า ............................ รายวชิ าเพ่ิมเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ........................... ชนั้ ....................................................................................................................ภาคเรยี นที่.......เวลา............ช่ัวโมง (จำนวนหน่วยกติ ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (เขยี นเปนความเรียงใหไ ดใ จความวาผเู รยี นไดเรยี นรูอ ะไร สามารถทําอะไรได และมี คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค สมรรถนะสําคญั ใดบางตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน และธรรมชาตขิ องวชิ า) .................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................ .......... .................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ผลการเรยี นรู้(รายวชิ าเพมิ่ เติม) .............................................. ............................................. ............................................. .............................................. ............................................. ............................................. รวมทงั้ หมด............ผลการเรยี นรู้

25 12) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นแบง เปน ๓ ลกั ษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรยี นและ ๓) กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน โดยพจิ ารณาจากโครงสรา งเวลาเรียนที่กําหนดไว ในหลักสูตรแกนกลาง และเปา หมาย/จุดเนน ของทองถน่ิ พรอ มทงั้ พจิ ารณาความตองการและจดุ เนน ของสถานศึกษา เพอื่ จัดเวลาใหเหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษาแตล ะแหง หลกั สตู รแกนกลางได กําหนดกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น สําหรบั ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๑ ถงึ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๓ ปละ ๑๒๐ชวั่ โมง และชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ – ๖ จาํ นวน ๓๖๐ ชว่ั โมง จํานวนเวลาท่กี ําหนด เปนเวลารวมในการปฏิบตั ิ กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียน และกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน ในสวนของ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชนน้ัน หลักสูตรแกนกลางระบุใหสถานศึกษาจดั สรรเวลาให ผูเรียนไดป ฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1 - 6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชว่ั โมง ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.1 - 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ชว่ั โมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จานวน 60 ช่วั โมง จากโครงสร้างเวลาเรยี นดังกล่าว สถานศึกษาสามารถพิจารณาจัดแบ่งจานวนเวลาสาหรบั ผเู้ รียนแต่ละระดบั ช้ันปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ไดต้ ามความเหมาะสมและอาจ จดั ให้ผเู้ รียนได้ทากิจกรรมดังกลา่ วในบางช่ัวโมงของลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด หรอื กิจกรรมชุมนุม ต่างๆ กไ็ ด้ นอกจากนน้ั ยังสามารถสอดแทรกในการเรยี นการสอนรายวชิ าต่างๆ โดยมีหลักฐานที่ สามารถยนื ยันเวลาที่ผูเ้ รียนไดป้ ฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวครบตามเวลาทส่ี ถานศึกษากาหนด พร้อมท้งั การประเมินการปฏบิ ตั ิไวอ้ ยา่ งชดั เจน การจบหลักสตู รในแต่ละระดับ ผู้เรยี นจะต้องเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนตามกิจกรรมดงั น้ี ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้นจัดใหผ้ ู้เรยี นเข้าร่วมกจิ กรรม ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนกั เรียน 2.1 ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู ําเพ็ญประโยชน 2.2 ชมุ นมุ ชมรม ผูเรียนตองเขารวมและไดร บั การประเมินกิจกรรมทัง้ 2.1 และ 2.2 3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดใหผ เู รียนไดเขารวมกิจกรรม ดงั นี้ 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กจิ กรรมนักเรียน 2.1 ลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ หรือนักศกึ ษาวชิ าทหาร 2.2 ชุมนุม ชมรม ผเู้ รยี นสามารถเข้าร่วมกจิ กรรมทัง้ 2.1 และ 2.2 หรือเลือกอย่างใดอย่างหน่ึงได้ตามความ เหมาะสม 3 .กจิ กรรมสงั คมและสาธารณประโยชน์

26 แนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน แนวการเขียนการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น ของโรงเรยี น แบง เปน 3 ลกั ษณะตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไดแ ก 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนักเรียน และ 3) กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนใน แตละกิจกรรมใหร ะบุแนวการจัดกิจกรรม เวลา และการจัดกจิ กรรม และแนวทางการประเมินกจิ กรรมท่ี โรงเรยี นกาํ หนด ตวั อย่างกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นเป็นกิจกรรมท่ีม่งุ ให้ผู้เรยี นพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่สี มบรู ณ์ ทง้ั ร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และเสรมิ สรา้ ง ใหเ้ ป็นผูม้ ศี ลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวนิ ัย ปลกู ฝงั และสร้างจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอย่รู ว่ มกับผู้อ่นื อย่างมีความสุข โรงเรียน………………………………………………………………..ไดจ้ ัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ และพัฒนาผู้เรยี นให้ .......................................................................................... .............................................................. นกั เรยี นทกุ คนควรเขา้ ร่วมกิจกรรมแนะแนว ระดับประถมศึกษา.............ชัว่ โมงต่อ ปกี ารศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษา...........ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น แนวการจัดกจิ กรรมแนะแนว ............................................................................................................................. ... ........................ 2. กจิ กรรมนกั เรยี น เป็นกจิ กรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นให้ ........................................................................................................................................................ กิจกรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย 2.1 กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี /ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษา วิชาทหาร นักเรียนทกุ คนต้องเข้ารว่ มกจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนักศกึ ษาวิชาทหาร ระดับประถมศึกษา.......ช่วั โมงตอ่ ปีการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา.......... ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน แนวการจดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และ นักศกึ ษาวิชาทหาร ........................................................................................................................... . ........................ 2.2 กจิ กรรมชมุ นุม ผเู้ รยี นทกุ คนต้องเขา้ รว่ มกจิ กรรมชมุ นุม ระดบั ประถมศึกษา ..........ชว่ั โมงต่อปกี ารศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษา.........ชว่ั โมงต่อภาคเรียน แนวทางจดั กจิ กรรมชมุ นุม ..................................................................................................................... ....... .......................... หมายเหตุ สามารถระบุช่ือกิจกรรมชมุ นมุ ที่โรงเรยี นจดั ใหผ เู รยี นเลือกเรียน หรอื ช่อื กิจกรรมชมุ นุมทโี่ รงเรียนจัดใหม ี 3.กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปน กิจกรรมทีส่ ง เสริมและพัฒนาผูเรยี นให ผูเรียนทุกคนตอ งเขารวมกจิ กรรมสังคมและสาธารณประโยชน ระดบั ประถมศึกษา.......ช่ัวโมงตอ ปก ารศึกษา ระดับมัธยมศึกษา............ชว่ั โมงต่อภาคเรยี น

27 แนวการจดั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ........................................................................................................................ ................................. แนวทางการประเมินผลการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ............................................................................................................................. ............................ หมายเหตุ การประเมนิ ผลอาจเขยี นแยกการประเมินผลแต่ละกจิ กรรม หรือเขยี นรวมในภาพรวม ของกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นก็ได้ 13) เกณฑ์การจบการศึกษา หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน กาหนดเกณฑก์ ลางสาหรบั การจบการศกึ ษาเปน็ 3 ระดบั คอื ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 13.1 เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา 1.ผูเ รียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา /กจิ กรรมเพ่ิมเติม โดยเปน รายวชิ าพน้ื ฐาน ตามโครงสรางเวลาเรียนทีห่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานกาํ หนดและรายวชิ า/กิจกรรมเพม่ิ เตมิ ท่สี ถานศกึ ษากําหนด 2. ผู้เรียนมผี ลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามทีส่ ถานศึกษา กาหนด 3. ผเู รยี นมีผลการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียนในระดับผา นเกณฑ การประเมิน สถานศึกษากาหนด สถานศกึ ษากาหนด 4. ผูเ รียนมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคในระดบั ผา นเกณฑก ารประเมนิ ตามที่ 5. ผู้เรียนเขา รว มกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นและมผี ลการประเมินผา นเกณฑการประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด 13.2 เกณฑ์การจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ผูĚđรยี นรายวชิ าóîĚČ åćîĒúąđóĉęöđêĉöǰēé÷đðŨîøć÷üĉßćóĚîČ åćîǰǰ ĀîŠü÷ÖĉêĒúąøć÷üßĉ ć đóĉęöđêöĉ êćöìęĊÿëćîýÖċ þćÖĞćĀîé 2. ผเู รยี นตอ งไดหนว ยกิตตลอดหลกั สูตรไมน อ ยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวชิ า พนื้ ฐาน ๖๖ หนว ยกติ และรายวชิ าเพมิ่ เติมไมน อยกวา ๑๑ หนว ยกิต 3. ผู้เรยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนในระดับเกณฑ์ การประเมิน ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด 4. ผูเ้ รียนมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผา่ นเกณฑ์ การประเมิน ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด 5. ผู้เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากาหนด 13.3 เกณฑ์การจบระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ผเู้ รยี นมีรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่มิ เติม โดยเปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน 41 หน่วยกิตและ รายวิชาเพิ่มเติมตามทีส่ ถานศึกษากาหนด 2.ผูเรยี นตอ งไดห นว ยกิตตลอดหลกั สตู รไมน อยกวา ๗๗ หนว ยกติ โดยเปนรายวิชา พน้ื ฐาน ๔๑ หนว ยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมไมน อ ยกวา ๓๖ หนว ยกติ

28 3. ผเู รยี นมผี ลการประเมินการอาน คิดวเิ คราะห และเขียนในระดบั ผานเกณฑ การประเมินตามท่ีสถานศึกษากําหนด 4. ผูเ รียนมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ในระดับผา นเกณฑการประเมนิ ตามทส่ี ถานศึกษากาํ หนด 5. ผเู รยี นเขา รว มกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นและมีผลการประเมนิ ผา นเกณฑก ารประเมิน ตามที่สถานศึกษากาหนด นอกจากนน้ั การจัดทาโครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จะต้อง ให้ ความสาคญั กบั เงื่อนไขคุณสมบัติผู้สมัครสอบเข้าเรียนต่อในระดับอดุ มศึกษา คณะ/สาขาตา่ งๆ เช่น แพทย์ศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถานศึกษาจาเปน็ ต้อง จัดทาโครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษาให้มรี ายวิชาและหนว่ ยกิตทีเ่ รยี นครบตามคุณสมบัติ แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบของหลกั สูตรสถานศกึ ษา การตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มีวตั ถุประสงค์ ดงั นี้ 1. เพื่อหาแนวทางแก้ไขปรบั ปรุงสง่ิ ทพี่ บในองค์ประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา การตรวจสอบ ในลกั ษณะน้สี ามารถทาไดใ้ นขณะท่ีกาลงั ยกรา่ งเอกสารหลักสตู รหรอื ในขณะที่นาหลกั สูตรไปใช้ โดยพจิ ารณา ว่าองคป์ ระกอบของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทีจ่ ดั ทามคี วามเหมาะสมและสอดคล้องเพยี งใดเพื่อหาแนวทาง ในการแก้ไขและปรับปรงุ ให้ดีขึ้น 2.เพ่ือเปน ขอ มูลในการชว ยตัดสนิ ใจของผูบรหิ ารโรงเรยี นกอ นนําหลักสูตรสถานศกึ ษาไปใช ใหพ จิ ารณาวาหลักสตู รทย่ี กรา งหรอื จดั ทํามคี วามครอบคลมุ หรอื ไม และเม่อื โรงเรียนใช ระยะหนง่ึ ควรนําขอ มูล ในสว นนี้ไปสรุปรวมกบั การประเมินคุณภาพของหลกั สตู รวา มคี ณุ ภาพดีมากนอยเพยี งไร บรรลตุ าม มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ท่ีหลกั สูตรแกนกลางกําหนดหรือไม และเหมาะสมท่จี ะนาํ หลักสูตรนไ้ี ปใชห รอื ไม ขอ้ เสนอแนะในการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ดำเนินการดงั นี้ 1. ดาเนนิ การในรูปของคณะกรรมการ 2. สร้างความเข้าใจและชี้แจงวัตถปุ ระสงค์ของการตรวจสอบองค์ประกอบของหลักสูตร สถานศกึ ษา ให้บคุ ลากรในโรงเรียนและผู้ท่ีเก่ยี วขอ้ งทราบอยา่ งท่ัวถึง 3. ดาเนินการตรวจสอบองค์ประกอบของหลักสตู รสถานศึกษาเป็นรายบคุ คล 4. หลังจากตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ควรจัดให้มีการจัดประชมุ เสนอ ผลการ ตรวจสอบในภาพรวม ปัญหา ข้อเสนอแนะ เพือ่ นาไปปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้มีคณุ ภาพยง่ิ ข้ึน

29 แบบตรวจสอบองคประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี น…….……………………………….. อำเภอ………………………. จังหวัด………………………………. สังกัด………………………………………………………………………………………………………………..…………... คาชแ้ี จง ใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานและผ้ทู ่ีเก่ยี วข้อง ดาเนนิ การตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสูตรโรงเรียน ตามลาดบั ดงั นี้ ๑. ตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรยี นตามรายการที่กาหนดแลว้ เขียนเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งผล การตรวจสอบตามความเป็นจรงิ 2. บนั ทึกแนวทางในการปรับปรงุ /แกไ้ ขเพ่ือใหโ้ รงเรียนนาไปใชป้ ระโยชน์ในการปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสูตรโรงเรยี นต่อไป ๓. สรปุ ผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสูตรโรงเรยี น โดยเขียนเคร่ืองหมาย ลงในตาราง แสดงผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลกั สตู รโรงเรยี น ๔.หากมขี อ้ คิดเห็นหรอื ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ ให้บันทกึ ลงในช่องวา่ งทก่ี าหนดให้

30 องคป์ ระกอบของหลกั สตู รโรงเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไม่ปรากฏ ปรบั ปรงุ /แก้ไข 1. ส่วนนา 1.1 ความนำ แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถิ่น จุดเนน้ และความต้องการของโรงเรียน 1.2 วสิ ัยทศั น์ 1.2.1 แสดงภาพอนาคตของผูเ้ รียนทสี่ อดคล้องกบั วิสัยทัศน์ของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 อย่างชัดเจน 1.2.2 แสดงภาพอนาคตของผเู้ รยี นสอดคล้องกับ กรอบหลักสตู รระดบั ท้องถ่นิ 1.2.3 แสดงภาพอนาคตของผูเ้ รยี น ครอบคลุมสภาพ ความตอ้ งการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น 1.2.4 มีความชดั เจนสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ 1.3 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น มีความสอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษา พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1.4 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.4.1 มคี วามสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 1.4.2 มีความสอดคล้องกับเป้าหมายจดุ เน้นกรอบหลักสตู ร ระดบั ทอ้ งถน่ิ 1.4.3 สอดคล้องกับวสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น

31 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไม่ปรากฏ ปรับปรุง/แก้ไข 2. โครงสร้างเวลาเรยี นของหลกั สูตรโรงเรยี น 2.1 มีการระบรุ ายวิชาพนื้ ฐานทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พรอ้ มทง้ั ระบเุ วลาเรยี นและ/หรอื หนว่ ยกิต 2.2 มีการระบุรายวิชาเพม่ิ เตมิ หรอื กจิ กรรมเพ่มิ เติมท่ี สถานศึกษากาหนดพร้อมทงั้ ระบุเวลาเรยี นและ/หรอื หน่วยกติ 2.3 มีการระบกุ จิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นพรอ้ มทง้ั ระบุเวลาเรยี น 2.4 เวลาเรียนรวมของหลักสูตรโรงเรียนสอดคล้องกับโครงสร้าง เวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.5 มีการกาหนดโครงสรา้ งกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน 2.6 มกี ารระบุรหสั วิชา ช่ือรายวชิ า จานวน เวลาเรียนและ หนว่ ยกติ ไว้อย่างถกู ต้องชดั เจน 2.7 รายวิชาเพิม่ เติม/กจิ กรรมเพ่ิมเติมสอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทศั น์ ของโรงเรียน 3. คำอธบิ ายรายวิชา 3.1 มีการระบรุ หัสวชิ า ชอื่ รายวชิ า และชือ่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ไวอ้ ย่างถูกต้องชัดเจน 3.2 มกี ารระบุชัน้ ปที ส่ี อนและจานวนเวลาเรียนและ/หรอื หนว่ ยกติ ไว้อย่างถกู ต้องชัดเจน 3.3 การเขยี นคาอธบิ ายรายวิชา เขียนเปน็ ความเรยี ง โดยระบอุ งค์ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะหรือ เจตคตทิ ตี่ ้องการ ๓.๔ มีการจดั ทาคาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐานครอบคลมุ ตวั ช้ีวดั สาระ การเรยี นรแู้ กนกลาง ๓.๕ มีการระบรุ หสั ตวั ชี้วดั ในรายวิชาพนื้ ฐานและจานวนรวมของ ตัวชวี้ ดั ๓.๖ มกี ารระบผุ ลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิม่ เติม และจานวนรวม ของผลการเรยี นรู้ ๓.๗ มีการกาหนดสาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ สอดแทรกอยู่ใน คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐานหรอื รายวชิ าเพม่ิ เตมิ

32 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไมป่ รากฏ ปรับปรงุ /แกไ้ ข ๔. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๔.๑ จดั กิจกรรมทงั้ 3 กิจกรรมตามที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ๔.๒ จัดเวลาทง้ั 3 กจิ กรรมสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลาเรียนท่ี หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๔.๓ มีแนวทางการจดั กจิ กรรมทชี่ ดั เจน ๔.๔ มีแนวทางการประเมินกจิ กรรมท่ชี ัดเจน 5. เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๕.๑ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ รายวิชาพนื้ ฐานครบ 8 กล่มุ สาระและรายวชิ าเพ่ิมเติมตามโครงสรา้ งเวลาเรยี นที่ กาหนด ๕.๒ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ๕.๓ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ ๕.๔ มกี ารกาหนดเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน เกณฑก์ ารตรวจสอบ ผา่ น หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลกั สตู รโรงเรียนปรากฏข้อมูล ตามรายการที่กาหนดทกุ รายการ ควรปรบั ปรงุ หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสตู รโรงเรยี นปรากฏข้อมูล ครบหรือขาดบางรายการท่ีกาหนด ลงนาม ……………………………..……… ผู้ตรวจสอบ ( …………………………….... ) ตาแหนง่ .................................................. ………/………../………

33 ส่วนที่ 4 : สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสูตรโรงเรยี น โรงเรยี น............................................................ อาเภอ....................................................... สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ ตอนที่ 1 ตารางแสดงผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลกั สตู รโรงเรยี น ผลการตรวจสอบองค์ประกอบ ที่ รายการตรวจสอบโรงเรยี น หลกั สตู รโรงเรียน ผ่าน ควรปรบั ปรุง 1 สว่ นนา 2 โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรยี น 3 คาอธิบายรายวิชา 4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 5 เกณฑ์การจบหลกั สูตร สรุปผลการตรวจสอบภาพรวม ตอนท่ี 2 สรุปผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสตู รโรงเรียน จดุ เด่น จุดที่ต้องเพมิ่ เติมและพฒั นา จดุ เด่นของหลักสตู รโรงเรียน ................................................................................................................................................................................................................................... จดุ ที่ต้องเพ่ิมเตมิ /พฒั นา 1. ส่วนนำ 1.1 ความนา ..................................................................................................................................................................................... 1.2 วสิ ยั ทศั น์โรงเรยี น..................................................................................................................................................................... 1.3 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน....................................................................................................................................................... 1.4 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์............................................................................................................................................................ 2. โครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสตู รโรงเรียน.................................................................................. 3. คำอธิบายรายวิชา...................................................................................................................... 4. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น................................................................................................................. 5. เกณฑ์การจบหลกั สตู ร............................................................................................................... .................................... ผู้รบั รองข้อมูล (...................................) ตาแหน่ง ................................................

34 การวจิ ยั และตดิ ตามผลการใชหลักสูตร การวจิ ัยจะเปน ท่ีมาของขอมูลขาวสารทีแ่ มนตรงแสดงจดุ แข็ง จุดออ น ปญหาสาเหตุ และ แนวทางปรับปรงุ พัฒนาใหสถานศึกษาสามารถจดั หลักสูตรการเรียนการสอนไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ ดงั นนั้ สถานศึกษาควรดาํ เนิน การ ดงั น้ี การวิจยั พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษามุง เนน การวิจัยเพอ่ื นําผลมาประกอบการพิจารณา ปรับปรงุ หลกั สูตร สถานศกึ ษาใหเ หมาะสม สอดคลอ งกับผูเรียนและความตอ งการของผปู กครอง ชุมชน 1) การประเมินความตอ งการจาํ เปนในการศึกษาตอ และการประกอบอาชีพของผูเ รยี นในอนาคต เพ่อื นาํ มาใชกําหนดโครงการเรยี นรู และเวลาเรียน 2) การประเมนิ ความตองการของพอแมผปู กครอง และชุมชนในการพฒั นาผเู รียน เพอื่ นาํ มาใชก ําหนด โปรแกรมการเรียน และโครงการตางๆ 3) การประเมนิ ผลหลกั สูตรสถานศกึ ษาโดยมีหวั ขอ ในการพจิ ารณา เชน ความครบถวนขององคประกอบ หลักสตู ร ความสอดคลองของแตล ะองคประกอบสอดคลอ งกับหลกั สูตรแกนกลางฯ และ กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถิ่น สอดคลอ งกบั ความตอ งการของผเู รยี น พอ แม ผูปกครองและชุมชน ความเหมาะสมของแนวทางการ จดั การเรยี นรู การจดั กิจกรรมพัฒนาผเู รียน และระบบการวดั และประเมนิ ผล เปนตน การวจิ ัย ประเมนิ ผลการใชหลักสูตร การใชหลักสูตรเปนสว นสาํ คัญสว นหน่ึงของกระบวนการพฒั นาหลักสตู รซง่ึ สถานศึกษาจะตอ งมีความ ตระหนกั ในการปรบั ปรงุ หรอื พัฒนาหลักสูตรอยางตอเน่ือง เพ่อื เปน หลกั ประกันวา าผเู รยี นจะไดรบั การพัฒนา ท้ังดา นสตปิ ญญา รา งกาย คุณธรรม บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรรู ะดบั ชาติและสามารถาํ รงชีวิตในสงั คมได อยา งมคี วามสขุ กระบวนการประเมนิ ผลการใชห ลกั สูตรสามารถดําเนินการได ทง้ั ระหวางการใชหลักสตู ร และเมอ่ื นาํ หลักสตู รไปใชเ รียบรอยแลว หรอื การติดตามจากผลผลิตของหลกั สูตร คือ ผเู รียนทจี่ บการศึกษาตามหลกั สตู ร เพ่ือใหก ารประเมินผลการใชหลกั สูตรบรรลุเปา หมายของการควบคมุ คณุ ภาพ สถานศึกษา ควรจดั ใหม ีการประเมินทง้ั ระบบ คือ 1. กาหนดใหม้ ีการประเมนิ การใช้หลกั สตู ร เปน็ กจิ กรรมหลักของสถานศกึ ษา 2. สร้างความเข้าใจเก่ยี วกับการประเมินการใช้หลักสูตรด้วยตนเองใหเ้ กดิ ขน้ึ กับคณะครู 3. วางระบบเครือข่ายการทางานและมอบหมายงานประเมินให้คณะผ้ปู ฏิบัติงานแตล่ ะคณะ ดาเนินการประเมนิ เปน็ ระยะๆ โดยกาหนดให้ชดั เจนวา่ คณะใดต้องประเมินรายการใดบ้าง 4.สรุปผลการประเมิน และนาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู รมแี นวทางการดาเนนิ การทส่ี าคญั คือ พจิ ารณาองค์ประกอบของหลกั สูตร ทปี่ ระเมิน พิจารณาหลกั เกณฑท ีจ่ ะใชใ นการประเมนิ ออกแบบการจดั เกบ็ ขอมลู ดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู วเิ คราะหขอมูลเพอ่ื ใชพจิ ารณาตัดสินใจในการปรบั ปรุงหลกั สูตรตอ ไป สําหรับประเด็น ในการประเมินนนั้ สามารถประเมินไดทัง้ เรือ่ งปจจยั ที่มีผลตอการใชห ลักสตู ร กระบวนการใชห ลกั สตู ร และผล จากการใชห ลกั สตู ร อยา งไรกต็ าม สถานศึกษาควรมุง เนน การประเมนิ สวนที่เก่ยี วของตอ คุณภาพ ของผเู รียน เปนสําคัญและควรคํานึงถงึ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรูและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องผเู รียน สถานศึกษาจะตอ ง ใหค้ วามสําคัญ โดยนาํ ผลการประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา ระดบั เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาและระดบั ชาติมาพิจารณาทง้ั ผล การประเมินในภาพรวมและผลการประเมนิ ท่แี ยกรายวิชาและแยกรายมาตรฐาน หากผลการประเมินไมเปน ไปตาม เปา หมายท่ีคาดหวัง ควรศกึ ษาวิเคราะหเ พ่ือคน หา สาเหตุที่แทจ ริง ซง่ึ สาเหตุยอ มเกดิ มาจากปจ จัยและกระบวนการ ใชหลกั สตู รสถานศกึ ษานั่นเอง จากน้นั จงึ หาวธิ แี กปญ หาเพ่อื พัฒนาคุณภาพตอไป

ประเดน็ เกี่ยวข้องในการประเมินผลการใช้หลักสูตร 35 ปจั จัยของการใช้ กระบวนการใช้หลักสูตร ผลการเรียนร้ขู องผู้เรียน หลกั สตู ร การออกแบบและ  คุณภาพของผู้เรยี นตาม หลกั สูตรสถานศึกษา การจดั การเรยี นรู้ของครู มาตรฐานการเรียนรู้/ ความพร้อมของ การนิเทศ ติดตามผล ตวั ช้ีวดั การใช้หลักสูตร การเปลี่ยนแปลง บุคลากร พฤติกรรมของผู้เรยี น ทักษะการถ่ายทอด การประเมนิ ผลการ คณุ ลักษณะอันพึง เรยี นรู้ ประสงคแ์ ละสมรรถนะ ของครู ฯลฯ สาคัญของผู้เรียน เทคนคิ การสอน  ความสาเรจ็ ในการศึกษา สื่อการเรียนการสอน ตอ่ และประกอบอาชีพ การวัดผลประเมิน การบรหิ ารจัดการ ฯลฯ หลักสตู ร ฯลฯ นอกจากนั้นสถานศึกษาควรสนบั สนุนสงเสรมิ ใหครูทําวจิ ัยปฏิบัตกิ าร (Action research) เพอ่ื แกปญ หา และพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนของตนเองโดยการวจิ ัยน้ันอาจเริม่ ตนจากการเลือกปญ หาการวิจยั ทีม่ ี ความ สาํ คัญและสง ผลกระทบตอผเู รยี นมากทีส่ ดุ และท่ีมาของปญหาการวจิ ัยอาจเกิดจากผเู รียน เชน ปญ หา พฤติกรรม ปญ หาการเรียน เปนตน หรอื อาจเกิดจากการจัดการเรียนรูของครูไมเ หมาะสมสอดคลองกับผเู รยี น รายคน เมื่อไดปญ หาจากการวจิ ยั แลวจงึ ดําเนินการตามขั้นตอนการวิจยั ตอไป การนาหลกั สตู รสู่การปฏิบัติ การนาหลักสูตรส่กู ารปฏิบตั ใิ นชัน้ เรียน ครูผู้สอนจะต้องศึกษา วเิ คราะหม์ าตรฐาน การเรียนรู้/ตวั ชี้วัด ทีร่ ะบุคณุ ภาพของผู้เรยี นว่าควรรอู้ ะไร และทาอะไรได้ ไปสกู่ ารออกแบบการจัดการเรยี นรู้ และนาพาผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยดาเนินการ ใหม้ ี ความเชื่อมโยงต้งั แต่ระดับชาติ ซ่ึงได้แก่ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั เขตพ้นื ที่การศึกษาในส่วนของจุดเน้นคุณภาพของผู้เรยี น ระดบั สถานศึกษา ซ่ึงได้แก่ หลักสตู ร ระดบั ช้นั เรยี น ตงั้ แตโ่ ครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรยี นรู้

36 แผนภาพที่ 1 แสดงความเช่ือมโยงระหว่างหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สตู ร สถานศึกษา สู่การจดั การเรียนรู้ในชัน้ เรยี น ระดบั ชาติ ระดบั เขตพนื้ ที่การศึกษ ระดับสถานศึกษา ระดบั ชัน้ เรยี น หลักสตู รสถานศึกษา หลักสตู ร 1.จุดเน้น คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า แกนกลาง การศึกษา คณุ ภาพผ้เู รยี ข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2.สาระ 2551 การเรยี นรทู้ ้องถน่ิ หนว่ ย หนว่ ย การเรียนรู้ การเรยี นรู้ หนว่ ย การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัด การเรียนรู้ แผนการจัด การเรียนรู้ ในการจัดการเรยี นรู้ ครูผูส้ อนตอ้ งศึกษาความเช่ือมโยงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จดุ เนน้ คุณภาพผู้เรยี นและสาระการเรียนรทู้ ้องถ่ินของเขตพืน้ ที่การศกึ ษา และหลักสตู ร สถานศกึ ษา จากหลกั สูตรสถานศกึ ษาครผู ู้สอนต้องวเิ คราะห์คาอธิบายรายวิชาโดยวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ เชือ่ มโยงของ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั ท่ปี รากฏในคาอธบิ ายรายวิชา ซึ่งสามารถนามาจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอนร่วมกนั ได้ กาหนดเปน็ โครงสร้างรายวิชา โดยโครงสรา้ งรายวิชาประกอบด้วย หน่วยการเรียนรทู้ ค่ี รอบคลมุ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั ตลอดปีการศกึ ษา/ภาคเรยี น พรอ้ มท้ัง กาหนดสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สัดส่วนเวลาเรียน และน้าหนกั ความสาคัญของแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียน ครูผสู้ อนสามารถนาไปจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้สาหรับใช้ในห้องเรียนต่อไปได้

37 แผนภาพท่ี 2 แสดงการนาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สู่การจดั การเรียนรู้

38 โครงสร้างรายวิชา รายวชิ าแตละรายวชิ าน้นั ประกอบดว ยหนว ยการเรียนรูห ลายหนวย ซงึ่ ไดว างแผนและออกแบบ ไวเพอ่ื พฒั นาผูเรียนใหม คี ณุ ภาพตามเปา หมาย ดังน้ันเพ่อื ท่ีจะชวยใหผูสอนเหน็ ภาพรวมของแตล ะรายวชิ า จําเปน ตอ งมกี ารจัดทาํ โครงสรา งรายวชิ า เพ่ือใหไ ดท ราบวารายวิชานัน้ ประกอบดวยหนว ยการเรียนรูจ ํานวน เทา ใด เรื่องใดบา ง แตละหนวยพฒั นาใหผ เู รียนบรรลุตัวช้วี ดั ใด โดยใชเ วลาในการจัดการเรยี นการสอน เทา ใด สดั สวนการเก็บคะแนนของรายวิชานัน้ เปน อยางไร โครงสรา งรายวชิ าประกอบดวยขั้นตอน การจดั ทํา ดงั นี้ 1. ศึกษาโครงสร้างเวลาเรยี นของหลกั สูตรสถานศึกษา ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือ รายวิชา และศึกษาคาอธิบายรายวชิ า 2. ศึกษามาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ช้วี ดั ในกลมุ สาระการเรยี นรู/รายวิชาทรี่ ับผดิ ชอบ 3. พจิ ารณาคดั เลือกมาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ัดทีส่ อดคลอ ง และสามารถนํามาจัดกจิ กรรม การเรียนรูรว มกันไดกอนจัดทําเปน หนว ยการเรียนรู ๔. จดั ทํามาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชว้ี ดั ทสี่ อดคลองกันและนํามาจดั กิจกรรมการเรยี นรูรว มกัน เปนหนวยการเรียนรใู หเ หมาะสมตามสาระการเรียนรู ๕. วเิ คราะหแ์ ก่นความรู้/ความคดิ รวบยอดของแต่ละตวั ชี้วัดท่ีนามาจัดกลุม่ รว่ มกันเปน็ หน่วย การเรยี นรู้ ๖. นาแก่นความรู้/ความคิดหลัก มาหลอมรวมเปน็ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอดของหน่วย การเรียนร้นู นั้ ในบางกรณใี ห้พจิ ารณาสาระการเรยี นรปู้ ระกอบการเขยี นสาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ๗. ต้งั ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ๘. กาหนดเวลาเรยี นในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ควรให้เหมาะสมกบั กระบวนการเรียนรู้ที่จะใช้ ในการพฒั นาผู้เรียนตามตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้ เมื่อกาหนดเวลาเรยี นครบทกุ หนว่ ยการเรยี นรู้ แลว้ เวลาเรียนต้องเทา่ กบั จานวนเวลาท่ีกาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรยี นตามหลกั สตู รของกลุ่มสาระ การเรียนรูน้ ้นั ๆ ๙. กาหนดนา้ หนักคะแนนในแตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ โดยพิจารณาจากจานวนตวั ช้ีวดั ความยากง่าย ความซบั ซ้อนของเน้อื หา และการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ คุณภาพ ตามตัวชี้วัด โดยสามารถกาหนดน้าหนกั คะแนนทุกหนว่ ยการเรยี นรู้ นา้ หนักคะแนนแต่ละหนว่ ย การเรยี นรูถ้ อื เปน็ คะแนนระหว่างเรียนให้นาไปรวมกับคะแนนปลายปี/ปลายภาค รวมเป็น 100 คะแนน โดยมีแนวทางการกาหนดสัดสว่ นคะแนนระหว่างเรียนให้นาไปรวมกับคะแนนปลายปี : ปลายภาค เช่น 60 : 40, 70 : 30, 80 : 20 ตามทโี่ รงเรียนกาหนด

39 รายวชิ า ........................... ตัวอยา่ งโครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยกติ ชน้ั ............................................. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้......................................................... ภาคเรียนท่ี ....................จำนวน....................... มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนัก (ช่ัวโมง) คะแนน หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย ตวั ชว้ี ัด การเรยี นรู้ (หรือผลการเรยี นรู้- รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 1 ตัวอยา่ ง ได้จากการวเิ คราะห์แกน่ ความรู้ 10 12 ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 แตล่ ะมาตรฐานการเรยี นรู้ ม.3/3 ม.3/5 ตัวชีว้ ัด รวมท้ังความรู้ทีผ่ เู้ รยี น ม.3/6 ม.7/7 จะไดร้ ับ มาตรฐานการเรียนรู้ ม3/8,ม.3/9 ตัวช้วี ัดในหนว่ ยการเรยี นรู้ ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1,ม.3/4 ตัวอย่าง ม.3/10 บทร้อยแก้วมคี ติสอนใจชว่ ยให้ ท 3.1 ม.3/1,ม.3/2 ม.3/4 ผู้อา่ นได้ขอ้ คิดแนวทาง ดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั โดยการ ท 4.1 ม.3/5 อ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ ท 5.1 ม.3/1ม.3/2 นาเสนอแง่คิดโดยการพูด และ เขยี นอยา่ งมีมารยาท ม.3/3,ม.3/4 รวมทัง้ ส้ิน

40 หนว่ ยการเรยี นรู้ ความสำคัญของหน่ วยการเรียนรู้ หนว ยการเรยี นรู เปน ข้นั ตอนที่สําคัญของการนําหลกั สตู รสถานศกึ ษาเขา สชู ้นั เรยี น การออกแบบ หนว ยการเรยี นรูตองเปน หนว ยการเรยี นรูทีอ่ งิ มาตรฐาน เชน เดยี วกบั หลกั สูตร ในการออกแบบหนว ยการเรยี นรู ครผู สู อนสามารถพจิ ารณาเลือกออกแบบไดหลายวธิ ี แตควร ครอบคลมุ ขัน้ ตอน การออกแบบ 3 ขน้ั ตอน ประกอบ ดวย การกำหนดเปาหมายการเรยี นรู หลักฐานการเรียนรู และ กิจกรรมการเรียนรู สาํ หรบั แนวคิดหนง่ึ ท่ี สามารถนําไปเปนแนวทางการออกแบบการเรยี นรู คอื การออกแบบยอนกลับ (Backward Design) โดยในการ กาํ หนดเปาหมายการเรียนรู ควรมกี ารกาํ หนด ความเขาใจที่คงทน (Enduring Understanding) ซึ่งเปนความรู ความเขาใจท่ีฝง แนน ติดอยใู นตวั ผเู รียน อนั เกดิ จากการเรียนรูทผ่ี า นกจิ กรรมตามหนว ยการเรยี นรูนัน้ ๆ ติดตัว ผเู รียนไปใชใ นชีวิตประจําวนั องค์ประกอบหน่วยการเรียนรู้ ตอ งเรม่ิ จากการวิเคราะหค วามสมั พนั ธเช่ือมโยงมาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชวี้ ัดทส่ี ามารถนํามา จัดกจิ กรรมการเรียนรูร วมกันได รวมท้งั การจัดกิจกรรมการเรยี นรูในหนว ยการเรยี นรตู อ งสามารถนําพาผูเรยี น ใหเ กดิ สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคไ ดดว ย การออกแบบหนวยการเรียนรู ควรมีองคประกอบสําคญั ดงั น้ี 1. ชื่อหนวยการเรียนรู 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตัวชว้ี ดั 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด 4. สาระการเรยี นรู้  สาระการเรียนรู้แกนกลาง เปา้ หมายการเรียนรู้  สาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน 5 สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 6 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 7 ชน้ิ งาน/ภาระงาน 8 การวดั และประเมนิ ผล หลกั ฐานการเรียนรู้ 9 กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๑๐ เวลาเรียน/จานวนชั่วโมง การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ 1. ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ ต้องสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงสาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด หรือประเด็น หลกั ใน หนว่ ยการเรยี นรู้นั้นๆ ดังน้นั ชือ่ หนว่ ยการเรียนรคู้ วรมีลักษณะดงั นี้ 1.1 นา่ สนใจ อาจเป็นประเด็นปญั หา ขอ้ คาถามหรือข้อโต้แยง้ ที่สาคญั 1.2 สอดคล้องกบั ชีวติ ประจาวันและสังคมของผเู้ รยี น

41 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ที่นามาจดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ต้องมีความสัมพันธ์เชอ่ื มโยงกนั และนามาจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้รว่ มกันได้ ซึ่งอาจมาจากลุ่มสาระการเรยี นรเู้ ดียวกันหรือต่างกลุ่มสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัดบางตัวอาจต้องฝึกซา้ เพื่อให้เกิดความชานาญ จึงสามารถอยู่ในหน่วยการเรียนรู้ มากกวา่ หน่ึงหน่วยการเรยี นรูไ้ ด้เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การพฒั นาให้บรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด 3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด สาระสาคญั /ความคิดรวบยอดไดจ้ ากการวิเคราะห์แก่นความร้แู ต่ละมาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ชีว้ ดั รวมถึงสาระการเรยี นรทู้ ี่ผเู้ รียนจะไดร้ บั จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั ในหน่วยการเรียนรู้ 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรูที่นาํ มาใชใ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรตู ามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วัด ประกอบดวยสาระการเรียนรแู กนกลาง และสาระการเรียนรทู องถ่ิน (ถาม)ี 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น วเิ คราะหไ์ ด้จากหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ซึ่งเปน็ ผลจากการนามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด มาจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจน สอดคล้องกบั ทักษะ/กระบวนการตามธรรมชาตวิ ชิ า 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ วเิ คราะห์ไดจ้ ากหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จุดเนน้ ของเขตพืน้ ที่การศึกษา สถานศึกษา และกลุม่ สาระการเรียนรู้ ซง่ึ เป็นผล จากการนามาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั มาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน ชนิ้ งาน/ภาระงาน ทก่ี าํ หนดตองสะทอนถึงความสามารถของผูเ รยี นจากการใชค วามรูและ ทักษะที่กาํ หนดไว ซึง่ สอดคลอ งตามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ัด โดยผา นกจิ กรรมการเรียนรู ชิน้ งาน/ภาระงาน อาจเปน ส่งิ ท่ีครูผูส อนกาํ หนดให หรอื ครูผูสอนและผูเรียนรว มกนั กําหนดข้ึน เพ่ือใหผ เู รียนไดลงมือปฏบิ ตั ใิ นแตละหนว ยการเรยี นรู ช้ินงาน/ภาระงาน ตองแสดงใหเห็นถึงพฒั นาการ ในการเรียนรู ของผูเรียนและเปนรอ งรอยหลกั ฐานแสดงวาผูเรยี นมีความรู ทักษะและ ความสามารถ บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชี้วดั ทีก่ ําหนดไวใ นหนวยการเรยี นรู ชน้ิ งาน/ภาระงาน อาจจะเกดิ ขนึ้ ไดใ นระหวา งการจดั การเรียนรหู รือ ชิน้ งาน/ภาระงาน รวบยอด แตตองแสดงใหเห็นวาผเู รียนไดนาํ ความรู ทักษะและความสามารถที่ไดจากการเรยี นรใู นหนว ยการเรียนรู นน้ั ออกมาใชอยางเปนรูปธรรม ตัวอยา งชิน้ งาน/ภาระงาน ช้ินงาน เชน รายงาน เรยี งความ จดหมาย โคลง กลอน หนังสือเลมเล็ก ภาพวาด แผนภาพ แผนผัง แผนภมู ิ กราฟ ตาราง งานประดษิ ฐ งานแสดงนิทรรศการ หนุ จาํ ลอง แฟมสะสมงาน ฯลฯ ภาระงาน เชน การพูด/รายงานปากเปลา การอภิปราย การอา น การกลา วรายงาน โตวาที รองเพลง เลนดนตรี การเคลอื่ นไหวรา งกาย ฯลฯ งานทีม่ ีลักษณะผสมผสานกนั ระหวา่ งชิ้นงาน/ภาระงาน เชน่ โครงงาน การทดลอง การสาธิต ละคร วีดทิ ศั น์ ฯลฯ

42 8. การวดั และประเมินผล การวัดและประเมนิ ผล ประกอบดว ยการวดั และประเมินผลระหวางการจดั กิจกรรม การเรยี นรู และการวัดและประเมินผลเม่อื สิน้ สุดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ในการกําหนดวธิ กี ารวัดและ ประเมินผล ตลอดจนเกณฑการประเมนิ ตองเชอื่ มโยงกับมาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชวี้ ดั ทกี่ ําหนดในหนวย การเรียนรู ครูผสู อนและผเู รียนควรรวมกันสรางเกณฑการประเมิน ช้ินงาน/ภาระงาน การปฏิบตั งิ าน เพ่อื เปนแนวทางในการประเมินคุณภาพผูเ รยี น 9. กิจกรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรเู ปนการนาํ เทคนคิ การสอนตา งๆ มาใชใ นการจัดการเรยี นรูใหส อดคลอง กบั ธรรมชาติของวิชา/วิธีการจัดการเรยี นรู ซึง่ จะนาํ ผเู รยี นไปสูการสรา งชน้ิ งาน/ภาระงาน เกดิ ทักษะและ ความสามารถตามสมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี น กระบวนการตามธรรมชาตวิ ิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค และบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชีว้ ดั ซ่งึ กาํ หนดไวในหนวยการเรยี นรู 10. เวลาเรยี น/จำนวนช่วั โมงเรียน เวลาการจัดกิจรรมการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะหน่วยการเรียนรจู้ ะตอ้ ง วิเคราะหใหเหมาะสมกับลักษณะของกิจกรรมการเรียนรูและสอดคลองกบั จํานวนมาตรฐานการ เรียนร/ู ตัวชวี้ ดั ทป่ี รากฏในหนว ยการเรียนรจู ากโครงสรา งรายวชิ า การจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ การจดั ทาํ หนว ยการเรียนรมู ีแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ๑.๑ ควรทําความเขาใจกับหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จดุ เนน คุณภาพ ผเู รียน สาระการเรียนรทู อ งถิน่ ของเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา (ถามี) หลักสตู รสถานศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรู ทรี่ บั ผิดชอบ และองคประกอบทสี่ าํ คัญของหนวยการเรียนรู ๑.๒ ควรรูว าในแตล ะกลุมสาระการเรยี นรูท่จี ะจัดการเรียนรูนัน้ ประกอบไปดวยมาตรฐาน การเรียนรู/ตวั ชวี้ ัด จํานวนเทาไร สาระการเรียนรทู ่ีไดจ ากคําอธิบายรายวชิ า สมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงคต ามหลักสูตร และธรรมชาตขิ องกลมุ สาระการเรียนรู ๑.๓ ควรรวู ธิ ีการออกแบบหนวยการเรยี นรู ซึ่งสามารถจัดทาํ ไดห ลายลักษณะแตต องยดึ มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชวี้ ัดเปน เปา หมายสําคัญในการพฒั นาผเู รยี น หนว ยการเรยี นรสู ามารถออกแบบได ๒ วิธี คอื วิธที ่ี 1 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้เริม่ จากการวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั วธิ ีท่ี 2 ออกแบบหน่วยการเรียนรเู้ ริ่มจากการกาหนดประเด็น/หวั เรือ่ งจากสภาพปัญหา หรอื สิง่ ทผ่ี ้เู รยี นสนใจ 2. วางแผนและจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ เมื่อมีความรู้ความเข้าใจในการจดั ทาหน่วยการเรยี นร้แู ล้วในขั้นตอ่ มาเป็นการวางแผนในการ จัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้ ครูผสู้ อนตอ้ งนาตัวชี้วดั ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีรบั ผิดชอบมาพิจารณาว่าในแต่ละตวั ชีว้ ดั เมือ่ นามาจดั การเรยี นรู้ ผเู้ รยี นควรรูอ้ ะไรและทาอะไรได้ ควบคกู่ ับการวิเคราะห์สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นว่าจะ นาพาใหผ้ ้เู รยี นเกิดสมรรถนะใดจากสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียนทหี่ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดไว้ 5 ประการ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ีห่ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดไว้ 8 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในสว่ นของคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

43 กรณที ี่วเิ คราะหแลวไมป รากฏคณุ ลกั ษณะในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ อยางชัดเจน สามารถวิเคราะหเพ่ิมเติมไดจ ากคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคทเี่ ปนจดุ เนน ของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สถานศึกษา แกละกลมุ สาระการเรยี นรูท ีส่ อดคลอ งกับตัวชว้ี ดั กอ นนําหนวยการเรยี นรูไปจัดทําแผนการจดั การเรียนรู ควรมีการตรวจสอบคณุ ภาพ หนวยการเรยี นรู เพื่อใหค รอบคลุมและมีความสอดคลองแตละองคป ระกอบ ครผู สู อนอาจใชตัวอยาง แบบประเมิน หนวยการเรียนรดู งั ตอไปนีเ้ ปนตวั อยา ง

44 ตวั อย่างแบบประเมนิ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้......................................ช้ัน..........................เวลา..........................ชว่ั โมง คาชแ้ี จง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดบั การประเมิน ระดับการประเมิน 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมากทส่ี ุด 3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมาก 2 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมนอ้ ย 1 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสมน้อยท่ีสดุ รายการประเมนิ ระดบั การ ประเมิน 4321 1.ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ น่าสนใจ กะทดั รัด ชดั เจน ครอบคลุมเนอ้ื หาสาระ 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์มีความ เช่อื มโยงกนั อยา่ งเหมาะสม 3.ความสอดคล้องของสาระสาคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด 4.ความสอดคลอ้ งของสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 5.ความเชือ่ มโยงสัมพันธ์กนั ระหวา่ งช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด สาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ 6.กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ 7.กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความครอบคลุมในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8.กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมสามารถนาผู้เรยี นไปสู่การสรา้ งชิ้นงาน/ภาระงาน 9.มกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจริงและสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด/กิจกรรมการ เรียนรู้ 10.ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั 11.ส่ือการเรยี นรู้ในแต่ละกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนาไปประยุกตใ์ ช้ได้จริง 12.กาหนดได้เหมาะสมกบั กิจกรรมและสามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้จรงิ รวม/สรุปผล.......................................................... หรอื เฉลี่ย/สรปุ ผล.............................................. การแปลความหมายการประเมินหนว่ ยการเรียนรู้ เกณฑ์ คา่ เฉลยี่ 1.00 - 1.99 ปรับปรงุ 2.00 - 2.99 พอใช้ 3.00 - 3.99 ดี 3.99 - 4.00 ดีมาก หรือ คะแนน 12 - 20 ปรบั ปรงุ 21 - 30 พอใช้ 31 - 39 ดี 40 – 48 ดมี าก

45 การจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรูเ ปนเคร่ืองมอื สําคญั สาํ หรับครใู นการจดั เตรียมกจิ กรรมการจัดการ เรียนรู ใหแกนักเรยี นไดเ รยี นครบน ถวนตรงตามหลักสูตรและบรรลจุ ุดประสงคการเรยี นรทู ี่กาํ หนด ครูสามารถสอนได ทันเวลาทกี่ ําหนดไวใ นโครงสรางเวลาเรยี น และตรงตามมาตรฐานและตวั ชีว้ ัดของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ดังแผนภาพแสดงความเชือ่ มโยงของหนวยการเรยี นรู สูการจดั ทาํ แผนการ จดั การเรยี นรู โครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ 10 ชว่ั โมง 13 ชัว่ โมง 15 ช่ัวโมง 10 ชวั่ โมง จดั แบ่งเนือ้ หาเวลา ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนท่ี 3 แผนที่ 4 แผนที่ 5 2 ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง 3 ช่วั โมง 4 ช่ัวโมง 5 ชั่วโมง แตล่ ะแผน 1.อะไรเปน็ เปา้ หมายสาหรบั ผเู้ รยี นในการจดั การเรยี นรู้คร้ังนี้ (Goal Setting) ตอ้ งตอบ 2.ทาอยา่ งไรผู้เรยี นจึงบรรลุเปา้ หมาย (Instructional Plan) คาถาม 3.ตดั สินอยา่ งไรวา่ ผูเ้ รยี นบรรลุเป้าหมาย (Technical Evaluation) ตอ่ ไปน้ี

46 การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ มีองคป์ ระกอบท่ีสาคัญและวิธเี ขียน ดงั น้ี ๑. สาระสาํ คญั ไดจ ากการวิเคราะหแกน ความรแู ตละมาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้วี ดั รวมถึง สาระการเรยี นรทู ี่ ผูเ รยี นจะไดรับจากการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต ามมาตรฐานการเรียนร/ู ตัวช้วี ัด ในหนวย การเรยี นรทู น่ี าํ มาจากโครงสรา งรายวิชาที่ไดทาํ การวเิ คราะห หรือจะเขียนข้นึ ใหมกไ็ ด 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั นามาจากมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด ท่ีกาหนดไว้ในหน่วยการเรียนรู้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ นามาจากจุดประสงค์การเรยี นรู้ ตอ้ งมคี วามสัมพนั ธแ์ ละสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ ทก่ า่ี หนดไวใ้ นหน่วยการเรยี นรู้ เขยี นให้ครอบคลมุ พฤติกรรมของผเู้ รียน คือ ด้านพทุ ธพิ ิสยั ทักษะพสิ ยั และจิตพิสัย การเขยี นจุดประสงคก์ ารเรียนรทู้ ีแ่ สดงพฤตกิ รรมของผู้เรียนดา้ นพทุ ธิพิสยั ทักษะพิสัย และ จิตพิสัยของบลูม (Bloom) แครทโรล (Krathrohl) และแฮร์ โรว์ (Harrow) ได้ แก่ ๑. ดา นพุทธพิ สิ ยั จุดประสงคการเรยี นรูดานพุทธิพิสัย หมายถงึ จุดประสงคท ี่แสดง ความสามารถของสตปิ ญญาในการประมวลขอมลู พฤติกรรมท่ีชบ้ี ง ความสามารถในดานนส้ี ามารถ แบง ได 6 ระดบั จากระดบั พ้ืนฐานไปสรู ะดับทีซ่ ับซอน ดงั น้ี ๑.๑ ความรู ความจาํ (knowledge) เชน เลือก ระบุ อธบิ าย เตมิ คาํ ใหส มบรู ณ ช้บี ง จดั ทาํ รายการ จบั คู เรยี กชอื่ ระลึก บอก และกําหนด เปนตน ๑.๒ ความเขา ใจ (comprehension) เชน เปลย่ี น อธบิ าย ประมาณการ ขยายความ สรุป อางอิง แปลความหมาย คาดคะเน ตีความ ขยายความ อุปมาอุปมัยสรุป และยกตัวอยา ง เปนตน 1.3 การนาไปใช้ (application) เช่น การประยุกต์ การคานวณ การสาธิต การพัฒนา การคน้ พบ การดดั แปลง การดาเนนิ การ การมสี ่วนร่วม การแสดง วางแผน ทานาย เชื่อมโยง แสดง และ ทาใหด้ ู เป็นต้น 1.4 การวเิ คราะห์ (analysis) เช่น วเิ คราะห์ แยกแยะ จัดพวก จดั ชั้น จดั ประเภท จดั กลุ่ม เปรียบเทียบ หาความแตกตา่ ง วจิ ารณ์ แสดงแผนภมู ิ จาแนก สรุปอา้ งอิง และกาหนด องค์ประกอบ เป็นตน้ 1.5 การสังเคราะห์ (synthesis) เช่น การออกแบบ วางแผน และนาเสนอโครงการ คากรยิ าท่ีแสดงทักษะการสังเคราะห์ ได้แก่ จัดเตรยี ม จดั ประเภท แบง่ พวกรวบรวมผสมผสาน กาหนด สร้าง ออกแบบ พฒั นา ผลติ ดดั แปลง จดั ระบบ วางแผน ปฏริ ปู วางระบบ ปรบั ปรงุ ทบทวน สรปุ รวบยอด สงั เคราะห์ ประพนั ธ์ แต่ง นาเสนอ และจดั การแสดง เป็นต้น 1.6 การประเมินคุณคา่ (evaluation) เช่น โตแ้ ยง้ ประเมิน เปรียบเทียบ สรุปความ วิจารณ์ ตดั สนิ อธิบายตคี วาม จดั ลาดับที่ จัดชั้น และเทียบกับมาตรฐาน เป็นตน้ 2. ดา้ นจติ พสิ ัย จุดประสงค์การเรยี นรดู้ ้านจิตพิสัย หมายถึง จดุ ประสงค์ทีแ่ สดงพฤติกรรม ทเี่ ก่ียวกบั ความรสู้ กึ เจตคติและคา่ นยิ ม ซ่งึ การเรยี นรู้ด้านเจตคติและค่านิยม มีลาดบั ขนั้ ของการเกิด พฤติกรรม ดงั นี้ 2.1 การรับรู้ (receiving) เชน่ ถาม เลอื ก อธิบาย ตอบ บอกชอื่ สาธติ ระบุ บอกความ แตกต่าง และบอกจดุ เดน่ เป็นต้น 2.2 การตอบสนอง (responding) เชน่ พสิ ูจน์ รวบรวม ทาตามคาส่งั แสดง ฝึกปฏิบัติ นาเสนอ และเลือก เป็นตน้

47 ๒.๓ การเห็นคุณคา (valuing) เชน อธบิ าย ทําตาม รเิ ร่ิม เขารวม นาํ เสนอ และทําให สมบูรณ เปน ตน ๒.๔ การจัดระเบียบ (organizing) เชน จดั ระเบยี บ รวบรวม สรปุ บูรณาการ ดดั แปลง จัดลําดับ สงั เคราะห สราง และ จัดระบบ เปน ตน ๒.๓ การสรา งระบบคานิยมของตนเอง (internalization of values) ไดแ ก ปฏิบัติ แสดงออก แกป ญหา ประกาศตัว แสดงตน อทุ ิศตน ทุมเท ยอมรับ และเกิดสาํ นึก เปนตน ๓. ดา นทักษะพสิ ัย เปน ทกั ษะความสามารถทางกายทอี่ าศัยการเคลื่อนไหวของกลา มเน้ือเล็ก และกลา มเนอ้ื ใหญใ นการทาํ งาน เชน การเลนกฬี าตา ง ๆ การเตนรํา งานชา งฝม ือตา งๆ การประกอบอาหาร การทาํ งานประดิษฐ การเลนเครอ่ื งดนตรี เขียน ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ทําตามขอกาํ หนด ขวั้นก่ิง ตอนกง่ิ ทําตามขน้ั ตอน ทาํ ความเคารพ ฝก ปฏบิ ตั งิ าน รองเพลง แสดงละคร ตรวจสอบ ประกอบเคร่ืองมอื ใชเครอื่ งมอื ใชอปุ กรณ ปฏบิ ัตงิ าน ตดิ ตงั้ อปุ กรณ ตรวจและแกไ ข ซอมบาํ รุง สรา ง ประดิษฐ เปนตน ๔. สาระการเรยี นรู นํามาจากสาระการเรียนรูแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (รายวชิ าพ้นื ฐาน) หรอื สาระการเรียนรูทอ งถน่ิ (รายวิชาเพม่ิ เติม) ตองเขยี นใหช ดั เจนกะทดั รดั เหมาะสม ครอบคลุมเนอ้ื หาการเรียนรู เขียนเปนความเรียง ๕. สอ่ื การเรียนรู เปน การใชสื่อ อปุ กรณ วิธกี าร ฯลฯ ทจี่ ะนาํ มาประกอบการจดั กิจกรรม การเรียนรู เพอ่ื ใหผ ูเรยี นไดรบั ประสบการณ ไดป ฏบิ ตั กิ ิจกรรม หรือไดเ รยี นรู เพื่อใหบรรลุ การเรียนรู ตามแผน จดั การเรียนรูตอ ง กําหนดใหสอดคลองกบั จดุ ประสงค สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู และเวลาเรยี น ตอ งเขยี นระบุใหช ดั เจน ๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค นาํ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต ามหลกั สตู รแกนกลาง กพาัฒรนศาึกใษนาแขผนั้ นพกน้ื าฐราจนดั กาพรทุ เรธยีศนักรรูาช ๒๕๕๑ หรือจดุ เนน ทีเ่ ขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา หรอื สถานศึกษากําหนด ทีต่ อ งการ ๗. ดานสมรรถนะสำคญั ของผูเรียน นําสมรรถนะสําคญั ของผเู รียนตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หรอื จดุ เนน ทเี่ ขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา หรอื สถานศกึ ษากําหนด ที่ตองการ พัฒนาในแผนการจัดการเรยี นรู ๘. ดา นการอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น แผนการจดั การเรยี นรูตองพฒั นาการอาน คิดวิเคราะหแ ละเขยี น ซึ่งเปนเกณฑใ นการจบ หลักสตู รจึงตอ งเขยี นใหส อดคลองกบั สาระการเรยี นรู ตวั ชีว้ ัด และกิจกรรมการเรยี นร ู ๙. การบรู ณาการ (ถา มกี ารบรู ณาการ) การจัดการเรียนรบู างกจิ กรรมอาจมกี ารเช่ือมโยง ไปยังกลุมสาระการเรยี นรูต า งๆ ที่เกยี่ วของและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. กิจกรรมการเรียนรู ลกั ษณะการเขยี นกจิ กรรมการเรยี นรู ตองเนนใหผ ูเ รียนเปน ผลู งมือ ปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) มากกวาการใหผูเ รยี นนั่งฟง อา นหรือทองจําเพียงอยางเดียว (Passive Learning) การเขยี นกระบวนการจัดการเรยี นรูในแผนการจัดการเรยี นรมู ี ๓ ขัน้ ตอน คือ ๑. ข้ันนําเขา สบู ทเรียน เขียนระบุกิจกรรมที่นาํ มาใชเพ่อื กระตุน ใหผเู รียนเกิดความสนใจ เปนกจิ กรรมทน่ี า สนใจ และเชอื่ มโยงกับบทเรยี นที่เรยี นโดยใชร ะยะเวลาสัน้ ๆ ๒. ข้ันจัดกจิ กรรมการเรียนรู เปน การเขียนรายละเอยี ดของกจิ กรรมแตล ะขน้ั ตอนของแตล ะสาระ การเรยี นรู หลักการเขยี นกิจกรรมตอ งลําดบั ส่ิงทีผ่ เู รยี นรูไปสูส่ิงทผี่ เู รยี นยงั ไมร ู กจิ กรรมตองสอดคลองกับจดุ ประสงค การเรยี นรูทก่ี าํ หนดไว และควรเนน ใหผ ูเรยี นมีสว นรว มในการวางแผน การจดั กจิ กรรม โดยการลงมือปฏบิ ัติจริง ๓. ขนั้ สรุปบทเรยี น เปน การเขยี นกิจกรรมหรอื คําถามนาํ ทางใหผ ูเรยี นสรปุ บทเรียนไดด ว ยตนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook