Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

Description: แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

Search

Read the Text Version

10. การวดั และประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารวดั 1. สามารถตอบคำถามใน 1. ดา้ นความรู้ - การสงั เกต - แบบสังเกต แบบฝกึ หดั ได้ถกู ต้องตาม - แบบประเมนิ ผลงาน หลักการ 80% ข้ึนไป - การทดสอบปฏบิ ตั ิ 2. สามารถตอบคำถามในใบ - การตรวจผลงาน งานได้ 80% 2. ด้านทกั ษะ - การสังเกต - แบบสงั เกต 3. นักเรียนมคี ุณลักษณะอัน กระบวนการ - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน พึงประสงคไ์ ด้ 85% ขึ้นไป - การตรวจผลงาน 3. ด้านคณุ ลักษณะอัน - แบบสังเกต พึงประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมินผลงาน - การตรวจผลงาน

ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรยี นออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ เพื่อคำนวณหาพนื้ ท่ี ของรูปสามเหล่ียม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง การออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง คำชแ้ี จง : ให้นักเรยี นออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชร้ หสั จำลอง เพื่อคำนวณหาพืน้ ทีข่ องรูปสามเหลย่ี ม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบกิจกรรมที่ 3 เรอ่ื ง การออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใช้ผงั งาน คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใชผ้ งั งาน เพือ่ คำนวณหาพ้ืนที่ของรปู สามเหล่ยี ม START

บนั ทกึ ผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................... ........... 2. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................... ....................................................................................................... .......... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกลั ยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหนง่ ครูผูส้ อน ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ..................................................................................... ..................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศริ วิ ฒั พงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณ์สขุ วิทยา)

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 8 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา เพ่ิมเตมิ ช่อื หน่วยที่ 3 การแกป้ ัญหาด้วยภาษาไพทอน ชอ่ื แผน การตดิ ตั้งโปรแกรมไพทอน สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มั่นสตั ย์ เวลาเรียน 2 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวติ จริงอย่างเปน็ ข้นั ตอนและ เปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบข้ันตอนการทำงานของโปรแกรมหรอื การออกแบบอลั กอริทึม เป็นการออกแบบลำดบั ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใชร้ หสั จำลอง และการใชผ้ งั งาน 3. ผลการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด ผลการเรยี นรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธ์ิ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชว้ี ดั ตัวชว้ี ัดท่ี ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟงั กช์ นั ในการแกป้ ัญหา 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของภาษาไพทอน (K) 2. การติดต้งั โปรแกรมสำหรับภาษาไพทอน(P) 3. สนใจใฝ่เรียนรใู้ นการศึกษาและนำไปใชใ้ นชวี ิตได้ (A) 5. สมรรถนะที่สำคญั 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ ภาษาไพทอนเปน็ ภาษาระดบั สูงท่เี หมาะแก่การฝกึ เขยี นโปรแกรมสำหรบั ผเู้ ริม่ ต้น เน่ืองจากมีโครงสร้าง ภาษาที่ไมซ่ ับซ้อน ง่ายต่อการเรยี นรู้ และสามารถต่อยอดเพื่อพฒั นาช้ินงานอืน่ ๆ ได้ เชน่ การสร้างเกม

การสรา้ งแอปพลิเคชนั และยังมสี ว่ นทีร่ วบรวมฟังก์ชันย่อยตา่ ง ๆ ให้เรยี กใชง้ านจำนวนมาก โดยภาษา ไพธอนใชต้ วั แปลภาษาอินเทอรพ์ รเี ตอร์ ซง่ึ จะทำให้ง่ายต่อการตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม และการแกไ้ ขคำส่ัง 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู น่ื ๆ /บูรณาการ 1. กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงท่ี 15-16 1. ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น 1. ผสู้ อนทบทวนเรอ่ื งภาษาคอมพิวเตอร์วา่ มีอะไรบา้ ง และให้นักเรียนรว่ มกนั ศึกษาเกย่ี วกบั ภาษา ไพทอน แลว้ ตอบคำถาม ดงั น้ี 2. โปรแกรมภาษาไพทอนมีขอ้ ดีอยา่ งไรสำหรบั ผู้เร่ิมฝึกเขียนโปรแกรม (ตวั อย่างคำตอบ เพราะโครงสร้างภาษาไม่ซับซอ้ น ง่ายตอ่ การเรียนรู้ และสามารถต่อยอดเพือ่ พฒั นา ช้ินงานอน่ื ๆ ได้ เชน่ สรา้ งเกม สรา้ งแอปพลิเคชนั และยังมีส่วนที่รวบรวมกระบวนการและฟงั ก์ชันยอ่ ยให้เรยี กใช้ งานจำนวนมาก จึงทำใหง้ า่ ยต่อการฝึกเขยี นโปรแกรม) 3. ภาษาไพทอนใชต้ ัวแปลภาษาประเภทใด (อนิ เทอร์พรเี ตอร์ (Interpreter)) 4. นักเรยี นยกตัวอย่าง IDE ของภาษาไพธอน (ตวั อย่างคำตอบ NetBeans, Eclipse, PyScripter, Thonny, PythonWin, PyCharm, Python IDLE) 2. ขัน้ สอน 1. นกั เรยี นจบั คตู่ ามความเหมาะสมของจำนวนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ โดยมนี กั เรียน 1 คนทม่ี ีประสบการณ์ ในการใชค้ อมพิวเตอร์ จากน้ันปฏบิ ตั ิการติดตั้งอนิ เทอร์พรีเตอรภ์ าษาไพธอน โดยปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนต่อไปนี้ 2.1 ไปทห่ี น้าเวบ็ ไซต์ https://www.python.org/downloads/ เพ่อื ดาวน์โหลดโปรแกรม ติดตงั้ อนิ เทอร์พรเี ตอรภ์ าษาไพธอน โดยคลิกเมาสท์ ่ีปมุ่ เลือก Downloads Python 3.7.0

2.2 ดับเบลิ คลกิ เมาส์ทต่ี ัวตดิ ตั้งอินเทอร์พรเี ตอร์ python-3.7.0 ดบั เบิลคลิกเมาส์ทีน่ ่ี 2.3 คลกิ เมาส์ท่ีคำสง่ั เพ่อื เร่ิมการติดต้ัง คลิกเมาส์ที่ Install Now 2.4 รอดำเนินการติดต้ัง 2.5 ติดตัง้ สำเรจ็ คลิกเมาส์ที่ปมุ่

3. นกั เรยี นตอบคำถามหลงั การติดต้งั อนิ เทอร์พรเี ตอร์ภาษาไพทอนต่อไปน้ี อินเทอรพ์ รเี ตอรต์ ดิ ตงั้ เพื่อจุดประสงค์ใด (ตัวอยา่ งคำตอบ ใช้แปลภาษาระดบั สงู ให้เป็นภาษาเคร่ือง ทำให้คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจคำสั่งของ ผู้เขียนโปรแกรม โดยจะแปลทีละบรรทดั และทำงานตามคำส่งั ทันที แลว้ จงึ อ่านบรรทัดต่อไป) 4. นกั เรียนปฏิบัติการติดตั้งโปรแกรม PyCharm สำหรบั ใช้งาน IDE ภาษาไพธอน โดยปฏบิ ัติ ตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี 4.1 ไปที่หนา้ เว็บไซต์ https://jetbrains.com/pycharm/download/ เพ่ือดาวนโ์ หลดโปรแกรม ติดต้ัง PyCharm ลิงค์ URL โปรแกรมติดต้งั PyCharm 4.2 คลกิ เมาส์ที่ปุ่ม โปรแกรมติดต้ัง PyCharm Community Edition แล้วรอ การดาวน์โหลดจนเสรจ็ ส้ิน เลือก DOWNLOAD

4.3 ดับเบลิ คลกิ เมาสท์ ่โี ปรแกรมติดต้ัง pycharm-community-2018.2.2 โปรแกรมติดต้งั PyCharm-community-2018.2.2 4.4 โปรแกรมจะแสดงหน้าจอต้อนรับดังภาพ จากนน้ั คลกิ เมาส์ทป่ี ุ่ม คลิกเมาส์ที่ป่ ุม Next > 4.5 โปรแกรมสอบถามตำแหน่งตดิ ตง้ั ของโปรแกรมดงั ภาพ จากนั้นเลือกตำแหนง่ ทต่ี ้องการตดิ ตั้ง แล้วคลิกเมาส์ทป่ี ุ่ม เลือกตาแหน่งท่ีตอ้ งการติดต้งั โปรแกรม แลว้ คลิก เมาส์ท่ีป่ ุม Next >

4.6 โปรแกรมจะสอบถามการสร้าง icon บนหนา้ จอ desktop ดังภาพ โดยเลอื กประเภททีต่ ้องการท่ี จะใช้ คอื ประเภท 64-bit Launcher จากนนั้ ทำเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งว่างหนา้ 64-bit Launcher แล้วคลิก เมาส์ที่ปุ่ม เลือก 64-bit launcher แลว้ เลือกคาส่ัง Next > 4.7 คลกิ เมาสท์ ป่ี ุ่ม เพอื่ เร่ิมการติดตั้ง จะปรากฏหนา้ จอติดต้ังโปรแกรม ดังภาพ เลือกคาสั่ง Installing

4.8 เม่อื โปรแกรมทำการติดต้ังเสร็จแลว้ จะแสดงหนา้ จอดังภาพ จากน้ันคลิกเมาสท์ ป่ี ุ่ม เป็นการเสร็จสน้ิ การติดต้งั โปรแกรม PyCharm เลือกที่ป่ มุ Finish 5. นักเรียนรว่ มกันตอบคำถามหลงั การปฏิบัติการตดิ ตั้งโปรแกรม PyCharm สำหรับใชเ้ ปน็ IDE ภาษาไพทอนตอ่ ไปน้ี - หากการลงโปรแกรมไมส่ มบรู ณ์ นักเรียนจะมวี ิธีแกไ้ ขอย่างไร (ตัวอยา่ งคำตอบ ถอนการติดตง้ั และลงโปรแกรมใหม่อีกคร้ัง) 6. นกั เรียนปฏบิ ตั กิ ารใชง้ านโปรแกรม PyCharm เบ้ืองต้น โดยปฏิบัติตามขนั้ ตอน ดังน้ี 6.1 หลงั จากคลกิ เมาส์ท่ปี ่มุ แล้ว จะปรากฏไอคอนโปรแกรม PyCharm บนหนา้ desktop จากนั้นดับเบลิ คลิกเมาสเ์ ข้าใช้โปรแกรม 6.2 หลังจากเขา้ โปรแกรมจะปรากฏหนา้ จอดงั ภาพ จากน้นั คลิกเมาสเ์ ลอื กหนา้ คำสง่ั Do not import settings แล้วคลกิ เมาส์ทีป่ ่มุ 1) เลือก Do not import settings 2) คลิกเมาส์ท่ีป่ ุม OK

6.3 อ่านทำความเข้าใจข้อตกลงของโปรแกรม แล้วคลิกเมาสเ์ ลือกท่ปี ุ่ม จะปรากฏหน้าจอทีก่ ำลังรอการประมวลผล ดงั ภาพ คลิกเมาส์ท่ีป่ มุ Accept 6.4 เรมิ่ ใชง้ านคลกิ เมาส์ท่ี จะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ คลิกเมาส์เลือกท่ี + Create New Project

6.5 เรม่ิ สร้างโพรเจกต์ โดยคลิกเมาส์เลือก File เลอื ก New Project… จะปรากฏหนา้ จอ ดังภาพ 1) เลือกที่เมนู File 2) เลือก New Project…

6.6 คลกิ เมาส์ทป่ี ุ่ม เพอ่ื กำหนดตำแหน่งทีจ่ ะบันทึกโพรเจกต์ จากภาพเกบ็ โพรเจกต์ ไวท้ ่ี C:\\Users\\VICHA01\\PythonProgram ดงั ภาพ แล้วคลกิ เมาส์ทีป่ มุ่ 2) เลือกตาแหน่งที่จดั เกบ็ ไฟล์ 1) เลือก PythonProgram 3) คลิกเมาส์เลือกทป่ี ่ ุม OK 6.7 หากมขี ้อความเตือน Interpreter field is empty ใหท้ ำการเลอื กอินเทอร์พรีเตอร์ดงั ภาพ เสร็จแลว้ คลกิ เมาส์ทปี่ ุ่ม 1) เลือกอนิ เทอร์พรีเตอร์ 2) เลือก Create

6.8 เร่มิ สร้างไฟล์งาน คลกิ เมาสเ์ ลอื กท่ี File เลือก New จะปรากฏหน้าจอดังภาพ แลว้ เลือก ชนิดไฟล์ Python File 1) เลือกท่ีเมนู File 2) เลือก New… 3) เลือก Python File 6.9 ตั้งช่ือไฟล์งาน แล้วคลิกเมาส์เลือกท่ปี มุ่ จะปรากฏหน้าจอเขียนคำสั่ง โปรแกรม ดงั ภาพ a. ทดสอบการเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอนดว้ ยคำสั่ง print (“test”) จากน้นั ใหค้ ลกิ เมาส์ ขวาเลอื กท่ีเมนู Run ‘Test’ ดงั ภาพ เลือก Run ‘Test Program’

6.11 โปรแกรมจะแสดงผลลพั ธ์ของการรนั โปรแกรมในสว่ นแสดงผลลัพธ์ ดงั ภาพ 1) ส่วนโครงสร้าง 2) ส่วนเขยี นโปรแกรม โพรเจกตแ์ ละไฟล์ 3) ส่วนแสดงผลลพั ธ์ 7. นักเรยี นรว่ มกันตอบคำถามหลงั ปฏบิ ัตกิ ารใช้งานโปรแกรม PyCharm เบอ้ื งตน้ ต่อไปนี้ - ถา้ นกั เรยี นทดสอบโปรแกรมแลว้ เกดิ ปญั หาโปรแกรมไมแ่ สดงข้อมูลทีน่ ักเรยี นเขียน จะมวี ิธีการตรวจสอบอยา่ งไร (ตวั อย่างคำตอบ ตรวจสอบคำสง่ั และไวยากรณใ์ นสว่ นเขยี นโปรแกรมทลี ะบรรทัด โดยเร่ิม ตรวจสอบจากบรรทดั บนสุดลงมาบรรทัดล่างสดุ เพือ่ หาความผดิ พลาด เม่ือพบจุดผิดพลาดใหท้ ำการแก้ไขจนได้ผล ลพั ธท์ ่ถี กู ต้อง) 3. ข้ันสรุป นักเรยี นรว่ มกันสรปุ สง่ิ ท่เี ข้าใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดังน้ี ภาษาไพทอนเป็นภาษาระดับสูงทเี่ หมาะแก่การฝกึ เขียนโปรแกรมสำหรบั ผเู้ ร่มิ ต้น เนอ่ื งจากมีโครงสรา้ งภาษาทไี่ มซ่ ับซ้อน ง่ายต่อการเรยี นรู้ และสามารถต่อยอดเพ่ือ พัฒนาชิ้นงานอ่นื ๆ ได้ เชน่ การสร้างเกม การสรา้ งแอปพลิเคชนั และยังมีส่วนท่ีรวบรวมฟงั กช์ ันย่อยตา่ ง ๆ ให้ เรียกใช้งานจำนวนมาก โดยภาษาไพทอนใชต้ วั แปลภาษาอินเทอร์พรีเตอร์ ซึง่ จะทำใหง้ ่ายต่อการตรวจสอบ ขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมและการแกไ้ ขคำสงั่ 9. สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องเรยี น 2. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์

10. การวดั และประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ารวดั 1. สามารถตอบคำถามใน 1. ดา้ นความรู้ - การสงั เกต - แบบสังเกต แบบฝกึ หดั ได้ถกู ต้องตาม - แบบประเมนิ ผลงาน หลักการ 80% ขนึ้ ไป - การทดสอบปฏบิ ตั ิ 2. สามารถตอบคำถามในใบ - การตรวจผลงาน งานได้ 80% 2. ด้านทกั ษะ - การสังเกต - แบบสงั เกต 3. นักเรียนมคี ุณลักษณะอัน กระบวนการ - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน พึงประสงคไ์ ด้ 85% ขึ้นไป - การตรวจผลงาน 3. ด้านคณุ ลักษณะอัน - แบบสังเกต พึงประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมินผลงาน - การตรวจผลงาน

บนั ทกึ ผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................... ........... 2. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................... ....................................................................................................... .......... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นางสาวกลั ยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหนง่ ครูผูส้ อน ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ..................................................................................... ..................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศริ วิ ฒั พงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณ์สขุ วิทยา)

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 9 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา เพม่ิ เตมิ ช่ือหน่วยที่ 3 การแกป้ ญั หาด้วยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปรแกรมเบ้ืองต้น สอนโดย นางสาวกลั ยรตั น์ มนั่ สตั ย์ เวลาเรยี น 2 ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอลั กอรทิ มึ เป็นการออกแบบลำดับ ขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลักษณะ คอื การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใชร้ หัส จำลอง และการใช้ผงั งาน 3. ผลการเรียนร้/ู ตวั ชี้วัด ผลการเรยี นรู้ นักเรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตวั ชี้วดั ตวั ช้ีวัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังกช์ ันในการแกป้ ญั หา 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบ้อื งต้น (K) 2. เขยี นโปรแกรมภาษาภาษาไพทอนเบื้องต้น(P) 3. มีความกระตือรือรน้ ในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบ้อื งต้น (A) 5. สมรรถนะทีส่ ำคญั 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการส่ือสาร 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบื้องตน้ ควรศึกษาการเขยี นคำอธิบายที่ใช้อธิบายการทำงานของ โปรแกรม ควรศึกษาชนดิ ข้อมูล ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวนทศนิยม ตรรกะ และควรศกึ ษาตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการจดั เก็บ

ขอ้ มูลไว้ใชใ้ นการประมวลผล จึงทำให้การเขยี นโปรแกรมภาษาไพธอนเปน็ ไปอย่างถูกตอ้ ง 7. ความสัมพนั ธก์ บั กล่มุ สาระการเรยี นรู้อืน่ ๆ /บรู ณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 17-18 1. ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น 1. ครใู ห้นกั เรียนทบทวนเนอื้ หาในคาบท่ผี า่ นมา 2. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกันศกึ ษาการเขียนคำอธบิ าย ชนดิ ข้อมูล และตวั แปรของการเขียนโปรแกรม ภาษาไพทอน 2. ข้นั สอน 1. ครูใหน้ ักเรียนจบั คตู่ ามความเหมาะสมของจำนวนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โดยมีนกั เรียน 1 คนท่มี ี ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จากนนั้ ปฏบิ ัตกิ ารเขยี นโปรแกรมและคำอธบิ ายในภาษาไพธอน โดยปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนต่อไปน้ี 1.1 เขยี นคำอธิบายโดยใชเ้ คร่ืองหมายชารป์ (#) นำหน้าข้อความเพื่อบอกให้อนิ เทอร์พรเี ตอร์ ข้ามข้อความหลงั เคร่อื งหมาย (#) ดังภาพ 1.2 เขียนคำอธิบายโดยใชเ้ ครื่องหมาย Double Quote 3 คู่ ครอบส่วนทตี่ ้องการคอมเมนต์ ดงั ภาพ 2. นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคำถามหลังปฏิบตั กิ ารเขยี นโปรแกรม และคำอธิบายในภาษาไพทอนต่อไปน้ี - ทำไมจึงต้องเขยี นคำอธิบาย (ตวั อยา่ งคำตอบ ทำใหผ้ ทู้ ีศ่ ึกษาโปรแกรมต่อในภายหลงั สามารถเข้าใจไดง้ ่ายขึ้น หรือใช้ขา้ ม คำส่ังบรรทัดใดบรรทดั หน่งึ )

3. นกั เรยี นรว่ มกันศึกษาชนดิ ข้อมูล (Data type) และตอบคำถาม ตอ่ ไปนี้ - ชนิดขอ้ มูลท้งั หมดในภาษาไพทอนประกอบด้วยอะไรบา้ ง (ขอ้ มูลแบบจบั คู่ ตวั เลข ตรรกะ ข้อมลู แบบเรยี งลำดบั ชุดขอ้ มูล) - ขอ้ มลู ชนดิ ตวั เลขมีอะไรบ้าง (จำนวนเต็ม ทศนยิ ม และจำนวนเชิงซอ้ น) - ขอ้ มูลชนดิ ตรรกะประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง (จริง เทจ็ ) 4. นกั เรียนรว่ มกนั ศึกษาจำนวนเต็ม (Integer) ท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน 5. นกั เรียนร่วมกนั เขยี นโปรแกรมจำนวนเต็ม (Integer) ดงั ตวั อยา่ ง 6. นักเรยี นรว่ มกันเขยี นโปรแกรมจำนวนเตม็ โดยแปลงจำนวนในเลขฐานสิบเป็นเลขฐานอ่นื ๆ ดว้ ยการใช้ คำสั่ง bin ( ), oct ( ), hex ( ) ดังตัวอย่าง 4. นกั เรยี นร่วมกันเขียนโปรแกรมจำนวนทศนิยม (Floating-Point Numbers) ดังตัวอยา่ ง

8. นักเรียนรว่ มกนั ศกึ ษาตรรกะ (Boolean) ทใ่ี ชใ้ นการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน 9. นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคำถามเกี่ยวกบั ตัวแปรต่อไปน้ี • ทำไมการเขยี นโปรแกรมจึงต้องมตี วั แปร (ตวั อยา่ งคำตอบ เพ่ือใช้ในการจดั เกบ็ ข้อมูลไวใ้ ชใ้ นการประมวลผลข้ันต่อไป) 10. นกั เรยี นร่วมกันศึกษาตวั แปร (Variable) และการกำหนดช่ือตัวแปรในภาษาไพธอน 11. นักเรยี นแต่ละคู่ออกมาเขยี นคำสั่งงานในภาษาไพธอนลงในตารางบนกระดาน ดังตวั อยา่ ง และตอบคำถาม • คำสัง่ งานในภาษาไพธอนคืออะไร (ตวั อยา่ งคำตอบ เป็นคำเฉพาะทก่ี ำหนดข้ึนมาเพ่ือใชใ้ นตัวภาษาโดยเฉพาะ ผู้เขยี นโปรแกรม ไม่สามารถนำมาใชเ้ ปน็ ชื่อหรือใช้เปน็ ตวั แปรได้) 12. นกั เรียนร่วมกันศึกษาการประกาศตัวแปร (Variable Declaration) และทดลองปฏิบัติ เขยี นโปรแกรม ดังตวั อยา่ ง

13. นักเรียนรว่ มกันศึกษาสตรงิ (string) และทดลองปฏบิ ัติการเขียนโปรแกรมโดยใหแ้ สดงผลลพั ธ์ เป็นช่อื นามสกลุ ท่ีอยูข่ องตนเอง ดงั ตัวอย่าง 3. ขนั้ สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรปุ สงิ่ ทเ่ี ข้าใจเปน็ ความรู้รว่ มกนั ดงั น้ี การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนเบอ้ื งต้นควร ศกึ ษาการเขยี นคำอธิบายทีใ่ ช้อธิบายการทำงานของโปรแกรม ควรศกึ ษาชนดิ ขอ้ มลู ได้แก่ จำนวนเตม็ จำนวน ทศนยิ ม ตรรกะ และควรศกึ ษาตัวแปรทใี่ ช้ในการจัดเก็บข้อมูลไวใ้ ช้ในการประมวลผล จึงทำให้การเขยี นโปรแกรม ภาษาไพทอนเป็นไปอย่างถูกต้อง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรยี น 2. ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 10. การวดั และประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวัดผล เครื่องมือ เกณฑก์ ารวัด 1. ดา้ นความรู้ - การสังเกต - แบบสงั เกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏบิ ตั ิ - แบบประเมนิ ผลงาน แบบฝกึ หัดได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ข้นึ ไป

2. ดา้ นทักษะ - การสังเกต - แบบสังเกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ด้านคณุ ลักษณะอนั - แบบสังเกต 3. นกั เรยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมนิ ผลงาน พึงประสงคไ์ ด้ 85% ขน้ึ ไป - การตรวจผลงาน

บันทึกผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... .......................................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................. .................................. 2. ปัญหาและอุปสรรค ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... ................................................................................. .......... ลงชอ่ื ............................................................ ( นางสาวกลั ยรัตน์ ม่ันสัตย์ ) ตำแหนง่ ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... ....................................................................... .......... ลงชอื่ ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ฒั พงศ์ ) ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณส์ ขุ วทิ ยา)

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 10 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา เพิม่ เติม ช่ือหน่วยที่ 3 การแกป้ ญั หาดว้ ยภาษาไพทอน ช่อื แผน ตัวแปรภาษาไพทอน สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ มน่ั สัตย์ เวลาเรยี น 2 ชวั่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สอนวันที่..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวติ จรงิ อย่างเป็นขน้ั ตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอลั กอริทึม เป็นการออกแบบลำดบั ข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ คอื การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใชผ้ งั งาน 3. ผลการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั ผลการเรียนรู้ นกั เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรบั ผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวช้ีวัด ตัวชว้ี ดั ท่ี ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใชต้ รรกะและฟงั กช์ นั ในการแกป้ ัญหา 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของตัวแปรได้ถูกต้อง (K) 2. สามารถตั้งช่ือตัวแปรตามกฎการตัง้ ชอื่ ได้ถูกต้อง(P) 3. เห็นถงึ ประโยชนแ์ ละความสำคญั ของการเขยี นโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน(A) 5. สมรรถนะที่สำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ การเขียนโปรแกรมในภาษาไพทอนนน้ั จะต้องใชต้ ัวแปรมาชว่ ยในการเก็บข้อมลู ต่างๆ โดยตวั แปร เปรยี บเสมือนภาชนะท่ีใชเ้ ก็บขอ้ มลู และข้อมูลเหลา่ น้นั สามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความตอ้ งการของ ผู้เขยี น

7. ความสัมพันธ์กับกล่มุ สาระการเรยี นรู้อ่นื ๆ /บรู ณาการ 1. กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ 19-20 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น 1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากช่วั โมงที่แล้วเกีย่ วกบั การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 2. ครูถามกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นวา่ “จากการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ทไี่ ด้เรียนมาแลว้ นกั เรียนคดิ ว่าสามารถนำไปเขียนในโปรแกรมอะไรบ้างทน่ี ักเรียนร้จู ัก” (แนวตอบ : นักเรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยู่กับดุลยพนิ ิจของ ครูผูส้ อน เชน่ โปรแกรม Scratch โปรแกรม Python เป็นต้น) 3. ครวู าดรูปคอมพิวเตอร์ลงบนกระดานหนา้ ชนั้ เรยี น และถามคำถามประจำหัวข้อกับนักเรียนว่า “ถา้ เปรียบคอมพิวเตอร์เป็นร่างกายมนุษย์ จะเปรียบหน่วยประมวลผลกลางกับอวยั วะใด” (แนวตอบ : นักเรียนตอบตามประสบการณข์ องตนเอง โดยคำตอบท่ถี ูกต้อง คือ สมอง) 4. ครอู ธบิ ายเพ่ือเชอ่ื มโยงเขา้ สู่บทเรียนวา่ “การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในภาษาไพทอน เหมาะสำหรับผูเ้ รมิ่ ตน้ เขยี นโปรแกรมไปจนถงึ การประยุกต์ใช้งานในระดบั สูง เนื่องจากเป็นภาษาทมี่ โี ครงสรา้ งและ ไวยากรณ์ค่อนขา้ งง่าย ไมซ่ ับซ้อน ทำใหง้ ่ายต่อการทำความเขา้ ใจ ดังนั้น จึงต้องใช้หน่วยประมวลผลกลางในการ คดิ คำนวณคอ่ นขา้ งมากกว่าจะเขยี นโปรแกรมได้สำเรจ็ ” 2. ข้ันสอน 1. ครูถามนักเรียนว่า“ถ้านักเรยี นต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาค่าข้อมูลต่าง ๆ น้ัน นักเรียนรู้ หรือไมว่ า่ ข้อมูลท่ีเรานำมาใชใ้ นการคำนวณ จะถูกเก็บไวท้ ี่ส่วนใดในโปรแกรม” (แนวตอบ : ข้อมลู ทน่ี ำมาใชใ้ นโปรแกรมน้นั จะถกู เกบ็ ไวใ้ นตวั แปร) 2. นกั เรียนศกึ ษาข้อมูลเกี่ยวกับตวั แปรในภาษาไพทอนและการตั้งช่ือตวั แปรในภาษาไพทอน จากอนิ เทอรเ์ น็ตทเี่ ครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง 3. ครอู ธิบายถงึ การตัง้ ช่ือตวั แปรที่ดใี นโปรแกรมภาษาไพทอน ซ่งึ มี 2 รปู แบบ คือ Camel Case เป็นรูปแบบการตั้งชื่อที่มีการใช้ภาษาองั กฤษตวั พิมพ์เล็กและตวั พมิ พใ์ หญ่สลบั กันไป เช่น calculateGrade , computerScore เปน็ ต้น และแบบ Snake Case เป็นรปู แบบการตัง้ ชื่อ ตัวแปรทแ่ี ยกคำ ดว้ ยเคร่ืองหมายขีดเส้นใต้ (Underscore) “_” เชน่ calculate_grade , computer_score เปน็ ต้น 4. ครูอธิบายถงึ วธิ ีการสรา้ งและกำหนดค่าให้กับตัวแปรวา่ “โปรแกรมภาษาไพทอนมีการสร้างและ กำหนดคา่ ให้กบั ตัวแปรท่ีแตกต่างจากโปรแกรมอน่ื เน่ืองจากภาษาไพทอนเปน็ ภาษาประเภท Dynamically- typed Language หมายถงึ ภาษาท่มี กี ารสรา้ งตัวแปร โดยไม่ต้องมีการกำหนดชนิดของตัวแปร ชนดิ ของตัวแปร จะถูกกำหนดดว้ ยข้อมูลท่ีเกบ็ ไวใ้ น ตวั แปรโดยอัตโนมตั ิ ซึง่ จะต่างจากโปรแกรมอน่ื ทจี่ ะต้องกำหนดชนิดของตวั แปรก่อน จากนน้ั จึงจะทำการกำหนดค่าให้ตวั แปรได้ สำหรับรูปแบบการสรา้ งและกำหนดคา่ ตวั แปร” ดังนี้ ช่อื ตัวแปร = ค่าทเ่ี ก็บไวใ้ นตวั แปร หรอื นิพจน์ หรอื ตวั แปรอ่นื ๆ

5. ครูอธิบายถงึ ชนดิ ข้อมลู ของตัวแปร ซ่ึงประกอบดว้ ยข้อมูลที่เปน็ ตวั เลขจำนวนเตม็ ตัวเลขจำนวนจรงิ และข้อมลู ที่เป็นอักขระหรือข้อความที่มักจะถูกใชง้ านบ่อยจากหนงั สือเรยี น 6. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั ชนิดขอ้ มลู ของตวั แปรว่า“ชนิดของขอ้ มลู พ้ืนฐานในภาษาไพทอนแบง่ ออกเปน็ 5 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่ number, string, list, tuple และ dictionary ซึ่งเปน็ ตวั แปรทวั่ ๆ ไป แต่ภาษาไพ ทอนยอมให้มีตัวแปร list, tuple, dictionary ที่ผสมกันได้เรียกว่าชนดิ complex” 7. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสัย และครูให้ความรู้เพม่ิ เติมในส่วนนัน้ 8. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรือ่ ง ตวั แปรในภาษาไพทอน โดยให้นักเรียนตอบคำถามท่ีกำหนดให้โดย ละเอยี ด 3. ข้นั สรปุ นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับการใช้งานตวั แปรในโปรแกรมภาษาไพทอนวา่ “ตัวแปรคอื สัญลกั ษณ์ในลักษณะคำภาษาองั กฤษท่ีต้งั ขึ้นเพ่ือใช้ในการเก็บข้อมูลตา่ ง ๆ ตามความต้องการของผู้เขียน โดยต้ัง ชอ่ื ตัวแปรตามกฎของโปรแกรมภาษาไพทอน เชน่ ช่อื ตวั แปรจะตอ้ งประกอบดว้ ยตัวอักษร ตวั เลข หรอื เครือ่ งหมาย “_” ชอื่ ตัวแปรห้ามมอี ักขระพเิ ศษ เปน็ ต้น” 9. ส่อื และแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน 2. หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์ 10. การวดั และประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวดั ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การวดั 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหัดได้ถกู ต้องตาม - การตรวจผลงาน หลกั การ 80% ข้ึนไป 2. ดา้ นทกั ษะ - การสงั เกต - แบบสังเกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏบิ ตั ิ - แบบประเมินผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลักษณะอนั - แบบสังเกต 3. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอัน พงึ ประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมนิ ผลงาน พงึ ประสงคไ์ ด้ 85% ขนึ้ ไป - การตรวจผลงาน

ใบงานที่ 2.2.1 เรอื่ ง ตวั แปรในภาษาไพทอน คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามท่ีกำหนดให้โดยละเอียด 1. ใหน้ ักเรยี นต้งั ชื่อตัวแปรเพ่ือใช้เก็บขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ลี งในช่องตารางด้านขวา ใหถ้ กู ต้องตามกฎการตั้งช่อื ตวั แปร ขอ้ มูล การต้งั ช่ือตัวแปร ช่อื นกั เรียน คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ช่อื โรงเรียน นำ้ หนักของนักเรียน เกรดวชิ าภาษาอังกฤษ 2. ให้นกั เรยี นพิจารณาการตง้ั ชอ่ื ตวั แปรต่อไปน้ีว่าถูกหรอื ผิด จากนนั้ ให้ตอบลงในช่องตารางดา้ นขวา การตัง้ ชอ่ื ตัวแปร การพจิ ารณา 1name score_computer student name price# surname name+lastname str midterm_thai_score final-social-score mySalary

ใบงานที่ 2.2.1 เร่อื ง ตวั แปรในภาษาไพทอน คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามท่กี ำหนดใหโ้ ดยละเอียด 1. ใหน้ กั เรยี นตง้ั ช่อื ตัวแปรเพ่อื ใช้เก็บขอ้ มูลต่อไปนล้ี งในช่องตารางด้านขวา ให้ถูกต้องตามกฎการตง้ั ชอื่ ตวั แปร ขอ้ มูล การต้งั ชอ่ื ตัวแปร ชื่อนกั เรยี น name คะแนนสอบวชิ าภาษาไทย thai_score ชอ่ื โรงเรยี น schoolName นำ้ หนักของนักเรยี น weight เกรดวิชาภาษาอังกฤษ english_grade 2. ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาการตง้ั ชอ่ื ตัวแปรตอ่ ไปนว้ี ่าถูกหรือผิด จากนนั้ ใหต้ อบลงในชอ่ งตารางด้านขวา การต้ังชื่อตัวแปร การพิจารณา 1name ผิด score_computer ถกู student name ผิด price# ผิด surname ถูก name+lastname ผดิ str ผดิ midterm_thai_score ถูก final-social-score ผิด mySalary ถกู

บนั ทกึ ผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................... ........... 2. ปญั หาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... ................................................................................. .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ............................................................ ( นางสาวกลั ยรตั น์ มน่ั สัตย์ ) ตำแหน่ง ครผู ู้สอน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา ................................................................................................... ....................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ............................................................ ( นายวศิ ิษฐ์ ศิรวิ ฒั พงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณส์ ุขวทิ ยา)

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 11 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวิชา เพิ่มเติม ชอ่ื หน่วยท่ี 3 การแกป้ ัญหาด้วยภาษาไพทอน ชอื่ แผน การใชค้ ำสง่ั Print และ Input สอนโดย นางสาวกลั ยรตั น์ มั่นสัตย์ เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนและ เปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม 2. สาระสำคญั การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมหรอื การออกแบบอลั กอรทิ มึ เปน็ การออกแบบลำดับ ขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ซ่งึ สามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คอื การใช้ภาษาธรรมชาติ การใชร้ หสั จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ นกั เรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธ์ิ ในการเผยแพรผ่ ลงาน ตัวช้ีวัด ตวั ช้วี ัดท่ี ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใชต้ รรกะและฟังก์ชันในการแกป้ ญั หา 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายการใช้คำส่ัง print และ input (K) 2. เขียนโปรแกรมภาษาไพธอนดว้ ยคำสง่ั print และ input (P) 3. เหน็ ความสำคัญของคำสัง่ print และ input(A) 4. เห็นถึงประโยชนแ์ ละความสำคัญของการเขยี นโปรแกรมโดยใชภ้ าษาไพทอน(A) 5. สมรรถนะที่สำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสือ่ สาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอนสามารถแสดงผลลัพธอ์ อกทางจอภาพดว้ ยคำสัง่ print ( ) โดยขอ้ มลู ท่ี

ต้องการแสดงผล ไดแ้ ก่ ตัวแปร ค่าคงท่ี นิพจน์ หรือข้อความ และการรับข้อมูลเข้าด้วยคำสัง่ input ( ) เป็นการ รบั คำส่ังข้อมลู ผ่านทางคียบ์ อรด์ 7. ความสัมพันธก์ บั กลุม่ สาระการเรยี นรูอ้ ่ืน ๆ /บรู ณาการ 1. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงที่ 21-22 1. ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมจากชวั่ โมงท่แี ลว้ เกย่ี วกบั ตัวแปรภาษาไพทอน 2. ขน้ั สอน 1. นกั เรียนรว่ มกันศึกษาการแสดงผลออกทางหน้าจอดว้ ยคำส่งั print ( ) และทดลองปฏบิ ตั ิ เขยี นโปรแกรม ดงั ตวั อยา่ ง ตวั อย่างที่ 1 ตวั อยา่ งที่ 2 ตวั อยา่ งที่ 3 2. นกั เรียนร่วมกนั เขียนโปรแกรมใหแ้ สดงผลออกทางหน้าจอด้วยคำสัง่ print ( ) โดยแสดงผลลพั ธ์เปน็ ช่ือ นามสกลุ อายุ ส่วนสูง นำ้ หนกั ตัวอักขระตัวแรกในชอ่ื เล่น และผลบวกสองจำนวน และต้องมกี ารประกาศตวั แปร ดังตัวอย่าง

3. นกั เรียนรว่ มกนั ศึกษาการรับขอ้ มลู เข้าดว้ ยคำสง่ั input ( ) และทดลองปฏิบตั กิ ารเขียนโปรแกรม โดยแสดงช่ือและอายขุ องตนเอง ดงั ตวั อยา่ ง 4. นักเรียนตอบคำถามหลงั การปฏิบัติเขยี นโปรแกรมต่อไปน้ี - ถา้ ตอ้ งการแสดงข้อความออกทางจอภาพจะใชส้ ัญลกั ษณใ์ ดครอบข้อความ (ใช้สญั ลักษณ์ “ ” หรือ ‘ ’) - คำส่ัง input ในภาษาไพธอนหมายถงึ อะไร (ตวั อยา่ งคำตอบ เปน็ คำส่ังรบั ขอ้ มลู ผ่านทางคีย์บอรด์ ) 5. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ สงิ่ ทเ่ี ข้าใจเปน็ ความรรู้ ว่ มกัน ดงั น้ี การเขียนโปรแกรมภาษาไพทอน สามารถแสดงผลลพั ธอ์ อกทางจอภาพด้วยคำสั่ง print ( ) โดยข้อมูลทตี่ ้องการแสดงผล ได้แก่ ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์ หรือขอ้ ความ และการรบั ข้อมูลเข้าด้วย input ( ) เป็น การรบั คำส่งั ข้อมลู ผ่านทางคยี ์บอร์ด 6. นักเรียนออกมานำเสนอการเขยี นโปรแกรมด้วยคำส่ัง print และ input หน้าช้นั เรยี นเพ่ือแลกเปลย่ี น เรียนรูก้ ัน 3. ขน้ั สรุป นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกับการใช้งานตวั แปรในโปรแกรมภาษาไพทอนเกีย่ วกับวิธกี ารทำงานให้ เหน็ การคิดเชงิ ระบบและวธิ ีการทำงานที่มีแบบแผน 9. ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี น 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องเรยี น 2. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์

10. การวดั และประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธีการวดั ผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์การวดั 1. สามารถตอบคำถามใน 1. ดา้ นความรู้ - การสงั เกต - แบบสงั เกต แบบฝึกหัดได้ถูกต้องตาม - แบบประเมินผลงาน หลักการ 80% ข้ึนไป - การทดสอบปฏิบตั ิ 2. สามารถตอบคำถามในใบ - การตรวจผลงาน งานได้ 80% 2. ด้านทกั ษะ - การสังเกต - แบบสังเกต 3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน กระบวนการ - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน พงึ ประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป - การตรวจผลงาน 3. ด้านคณุ ลักษณะอัน - แบบสงั เกต พึงประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมนิ ผลงาน - การตรวจผลงาน

บันทึกผลหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ปัญหาและอปุ สรรค ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................. .................. ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ลงชอื่ ............................................................ ( นางสาวกัลยรัตน์ มน่ั สตั ย์ ) ตำแหน่ง ครูผ้สู อน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................... ............................................. ..................................................................................... ..................................................................................... ..........

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 รายวิชา เพมิ่ เติม ชอ่ื หน่วยท่ี 3 การแก้ปัญหาด้วยภาษาไพทอน ชือ่ แผน การเขียนโปรแกรมแบบลำดบั สอนโดย นางสาวกลั ยรัตน์ ม่นั สัตย์ เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สอนวนั ที่..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รูเ้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรอื การออกแบบอลั กอรทิ มึ เปน็ การออกแบบลำดบั ข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม ซ่ึงสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลกั ษณะ คอื การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใชผ้ งั งาน 3. ผลการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ผลการเรียนรู้ นกั เรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสทิ ธิ์ ในการเผยแพร่ผลงาน ตวั ชวี้ ดั ตวั ช้วี ดั ที่ ม2/2 ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟงั ก์ชันในการแกป้ ญั หา 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเขียนโปรแกรมแบบลำดับ (K) 2. เขยี นโปรแกรมแบบลำดับในการแก้ปัญหา (P) 3. มคี วามกระตือรือรน้ ในการเขียนโปรแกรมแบบลำดบั (A) 5. สมรรถนะทสี่ ำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสอ่ื สาร 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นโปรแกรมแบบลำดบั (Sequence Control Statement) เป็นลกั ษณะการเขยี นคำสั่งให้ โปรแกรมทำงานตามลำดับ จากคำสง่ั ท่ี 1 คำสั่งที่ 2 คำส่ังท่ี 3 ไปเร่อื ย ๆ จนครบทุกคำสง่ั โดยไม่มีการตัดสินใจ

หรอื การทำซำ้ มาเกย่ี วข้อง 7. ความสัมพนั ธ์กับกล่มุ สาระการเรียนร้อู ื่น ๆ /บรู ณาการ 1. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชัว่ โมงที่ 23-24 1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ จากช่ัวโมงทแี่ ลว้ เกย่ี วกบั การใช้คำสัง่ Print และ input 2. ขนั้ สอน 1. ครูใหน้ กั เรยี นสงั เกตผงั งานการเขยี นโปรแกรมรปู แบบต่าง ๆ ต่อไปน้ี แล้วตอบคำถาม start start start False คาสัง่ ท่ี 1 คาส่งั ท่ี 2 เงื่อนไข False เงื่อนไข คาสง่ั ที่ 3 True True end คาส่ัง คาสัง่ 1 คาสัง่ 2 end end ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 3 นักเรียนคดิ วา่ ผังงานใดเปน็ ผงั งานการเขียนโปรแกรมแบบลำดบั - (ภาพท่ี 2) - การเขียนโปรแกรมแบบลำดบั มีลกั ษณะอยา่ งไร (ตวั อย่างคำตอบ มีลักษณะการเขียนคำสงั่ ให้โปรแกรมทำงานตามลำดบั จากคำสง่ั ที่ 1 คำส่ังที่ 2 คำสัง่ ท่ี 3 ไปเรือ่ ย ๆ จนครบทุกคำสงั่ โดยไม่มีการตัดสนิ ใจหรอื การทำซำ้ มาเก่ยี วขอ้ ง) 2. นักเรยี นรว่ มกันศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู เก่ียวกบั การเขยี นโปรแกรมแบบลำดบั จากแหลง่ การเรียนรู้ ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เชน่ อนิ เทอร์เน็ต หนังสอื เรยี น 3. นกั เรียนร่วมกันศึกษาและวเิ คราะห์เกีย่ วกับนิพจน์ (Expression) แลว้ ตอบคำถามต่อไปนี้ - total = (num1 + num2 + num3)/3 มตี ัวถูกดำเนินการและตวั ดำเนินการก่ตี ัว อะไรบ้าง

(มีตัวถูกดำเนนิ การ 5 ตวั คือ total, num1, num2, num3 และ 3 สำหรบั ตวั ดำเนนิ การ ไดแ้ ก่ เครอ่ื งหมาย + และ /) - sum = A + B - C * D / E มตี ัวถกู ดำเนินการและตวั ดำเนินการก่ตี วั อะไรบ้าง (มตี วั ถูกดำเนินการ 6 ตัว sum, A, B, C, D, E สำหรับตัวดำเนนิ การ ไดแ้ ก่ เคร่ืองหมาย +, -, * และ /) 4. นกั เรยี นรว่ มกนั ศึกษาและวิเคราะห์เกยี่ วกบั ตวั ดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Operator) และลำดับความสำคัญของตวั ดำเนนิ การทางคณิตศาสตร์ แล้วตอบคำถามตอ่ ไปนี้ - เครื่องหมาย * ในการเขยี นโปรแกรมหมายถึงอะไร พรอ้ มยกตวั อยา่ ง (การคูณ (Multiplication) ตัวอย่าง 5 * 5 = 25) - เครื่องหมาย / ในการเขยี นโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตวั อยา่ ง (การหาร (Division) ตัวอย่าง 20 / 4 = 5) - เคร่อื งหมาย // ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตวั อย่าง (การหารปดั เศษ (Floor Division) ตวั อยา่ ง 25 // 8 = 3) - เครอื่ งหมาย % ในการเขยี นโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตวั อยา่ ง (การหารเอาเฉพาะเศษ (Modulo) ตวั อยา่ ง 9 % 2 = 1) - เครอื่ งหมาย ** ในการเขียนโปรแกรมหมายถึงอะไร พร้อมยกตวั อยา่ ง (การยกกำลงั (Exponent) ตัวอยา่ ง 9 * * 3 = 729) - จากสมการ 4 + 7 * 5 เท่ากบั เท่าไร (39) - จากสมการ 4 / 2 + 9*3 เทา่ กบั เท่าไร (29) 5. นักเรียนรว่ มกันสรปุ ความคิดรวบยอดเก่ียวกับวงจรการพฒั นาโปรแกรม ดงั น้ี การเขียนโปรแกรมแบบลำดบั เป็นการเขยี นโปรแกรมท่มี ีคำสัง่ ไม่ซบั ซ้อน โดยการทำงานของ คำสง่ั จะทำเป็นข้ันตอน โดยไมม่ กี ารตัดสนิ ใจหรือการทำซ้ำ นยิ มใช้ในการคำนวณเพื่อหาคำตอบ ดังนน้ั จงึ ต้องทำความเข้าใจเก่ยี วกบั นพิ จน์ ตัวดำเนนิ การทางคณิตศาสตร์ และลำดบั ความสำคัญของตวั ดำเนินการทาง คณิตศาสตร์ 6. นกั เรียนจับคตู่ ามความเหมาะสมของจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมนี ักเรยี น 1 คน ที่มปี ระสบการณ์ ในการใชค้ อมพวิ เตอร์ จากน้ันปฏิบตั ิการเขียนโปรแกรมคำนวณเลขโดยใชต้ ัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอยา่ ง

7. นกั เรยี นรว่ มกนั พิจารณาผังงานการคำนวณหาพ้นื ที่วงกลมตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคำถาม start OUTPUT “Enter radius:” INPUT radius area = 22/7 * radius ** 2 OUTPUT “Area =” , area end • ถ้าข้อมลู ในตวั แปร radius = 7 จะไดผ้ ลลพั ธเ์ ท่าใด (154.0) • ข้ันตอนใดเปน็ การประมวลผล (area = 22 / 7 * radius ** 2) 8. นักเรียนร่วมกันปฏบิ ัติการเขียนโปรแกรมคำนวณหาพน้ื ท่ีวงกลม ดังตวั อย่าง 3. ข้นั สรุป นักเรยี นรว่ มกนั สรุปสงิ่ ท่ีเขา้ ใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้การเขยี นโปรแกรมแบบลำดับ (Sequence Control Statement) เป็นลกั ษณะการเขยี นคำสัง่ ให้โปรแกรมทำงานตามลำดบั จากคำส่งั ท่ี 1 คำสัง่ ท่ี 2 คำส่งั ท่ี 3 ไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคำสัง่ โดยไม่มีการตัดสนิ ใจหรือการทำซำ้ มาเกยี่ วขอ้ ง 9. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี น 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน

2. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารวดั 1. สามารถตอบคำถามใน 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต แบบฝึกหดั ได้ถูกต้องตาม - แบบประเมินผลงาน หลักการ 80% ขึ้นไป - การทดสอบปฏบิ ัติ 2. สามารถตอบคำถามในใบ - การตรวจผลงาน งานได้ 80% 2. ดา้ นทกั ษะ - การสงั เกต - แบบสังเกต 3. นักเรยี นมีคณุ ลักษณะอนั กระบวนการ - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมนิ ผลงาน พึงประสงค์ได้ 85% ข้ึนไป - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอัน - แบบสังเกต พงึ ประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมินผลงาน - การตรวจผลงาน

บันทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข .................................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ .......................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................... ................................................. ลงช่อื ............................................................ ( นางสาวกลั ยรตั น์ มัน่ สัตย์ ) ตำแหนง่ ครูผูส้ อน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหวั หน้าสถานศกึ ษา .......................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................. ....................................... ลงช่อื ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมืองนครสวรรค์

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 13 รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 รายวิชา เพิ่มเตมิ ชอื่ หน่วยที่ 3 การแก้ปญั หาดว้ ยภาษาไพทอน ช่อื แผน ตัวดำเนินการเปรยี บเทียบ สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ มนั่ สัตย์ เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชวี ิตจรงิ อย่างเปน็ ขน้ั ตอนและ เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมีจริยธรรม 2. สาระสำคญั การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอลั กอริทมึ เป็นการออกแบบลำดับ ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ คอื การใช้ภาษาธรรมชาติ การใช้รหสั จำลอง และการใชผ้ ังงาน 3. ผลการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั ผลการเรยี นรู้ นักเรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มีความรับผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธ์ิ ในการเผยแพรผ่ ลงาน ตัวชวี้ ัด ตัวชีว้ ัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชนั ในการแก้ปญั หา 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายตัวดำเนนิ การเปรยี บเทยี บและตัวดำเนนิ การตรรกะ (K) 2. เขียนโปรแกรมตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตวั ดำเนนิ การตรรกะ (P) 3. มคี วามกระตือรือร้นในการเขียนโปรแกรม(A) 5. สมรรถนะท่ีสำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลอื กจะมโี ครงสรา้ งที่กำหนดทิศทางการทำงาน ซ่ึงจะต้องตัดสนิ ใจ ดว้ ยเงอื่ นไข ในการกำหนดเงื่อนไข นักเรียนจะต้องทำความเข้าใจเกยี่ วกบั การดำเนนิ การเปรียบเทยี บ

การดำเนินการตรรกะ และลำดับความสำคัญของตัวดำเนนิ การให้แม่นยำ เพื่อให้สามารถออกแบบข้ันตอน วิธีและเขียนโปรแกรมแบบทางเลอื กได้อย่างถูกต้อง 7. ความสัมพนั ธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ื่น ๆ /บรู ณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงท่ี 25-26 1. ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน ครใู ห้นักเรยี นทบทวนเนอ้ื หาในคาบทผ่ี า่ นมา เรื่อง การเขยี นโปรแกรมแบบลำดับ 2. ข้ันสอน 1. ครใู หน้ กั เรยี นร่วมกนั สังเกตแผนภาพรูปแบบโครงสรา้ งแบบทางเลือก แล้วตอบคำถามตอ่ ไปน้ี start start start เงื่อนไข False เงื่อนไข 1 False True เง่ือนไข False คาสั่ง True คาสง่ั 1 คาสั่งT1rue False คาสั่ง 1 เง่ือนไข 2 True คาสงั่ 2 คาสัง่ 3 end end ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 end ภาพที่ 3 - ภาพใดเปน็ ผังงานแบบทางเลือกทางเดียว (ภาพท่ี 1) - ภาพใดเป็นผงั งานแบบทางเลือกสองทาง (ภาพที่ 2) - ภาพใดเปน็ ผังงานแบบทางเลือกหลายทาง (ภาพท่ี 3) - การเขยี นโปรแกรมแบบทางเลอื กคืออะไร

(ตวั อย่างคำตอบ เปน็ ลักษณะการเขียนคำส่งั โปรแกรมให้ตัดสนิ ใจเลอื กทำงานอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ตาม เงอื่ นไขที่กำหนด) - รูปแบบโครงสร้างโปรแกรมแบบทางเลอื กแต่ละประเภทแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (ตัวอยา่ งคำตอบ จำนวนของเงือ่ นไขและคำสงั่ แตกตา่ งกนั ) 2. นกั เรยี นร่วมกนั ศึกษาค้นควา้ ข้อมูลเกยี่ วกบั การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก จากแหลง่ การเรียนรู้ ตา่ ง ๆ อยา่ งหลากหลาย เช่น อินเทอรเ์ นต็ หนงั สอื เรียน 3. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาตัวดำเนนิ การเปรยี บเทยี บ (Relational Operator) และตวั ดำเนนิ การ ตรรกะ (Logical Operator) จากนัน้ บอกผลลัพธ์จากการทำคำสั่งตอ่ ไปนี้ ถา้ คำสง่ั ใดถูกต้องให้เติม True แต่ถ้าคำสง่ั ใดผดิ ให้เติม False บนกระดาน ดงั นี้ 3.1 กำหนดให้ toys = 10 toys = = 1 ผลลัพธ์ False toys > 1 ผลลัพธ์ True boys < 1 ผลลัพธ์ False toys ! = 1 ผลลพั ธ์ True toys < = 10 ผลลัพธ์ True toys = = 9 or toys = = 10 ผลลพั ธ์ True toys = = 9 and toys == 10 ผลลัพธ์ False 3.2 กำหนดให้ x = 3, y = 11 x ! = y ผลลพั ธ์ True x = = y ผลลพั ธ์ False x > = y ผลลพั ธ์ False x < = y ผลลพั ธ์ True x < y ผลลพั ธ์ True x > y ผลลพั ธ์ False 4. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปความคิดรวบยอดเกีย่ วกับตัวดำเนินการเปรียบเทียบและตัวดำเนินการตรรกะ ดงั นี้ ตัวดำเนินการเปรยี บเทยี บและตวั ดำเนินการตรรกะเป็นตวั ที่นำข้อมูลมาเปรยี บเทียบกนั ผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ะเปน็ ค่า boolean ได้แก่ จริง (True) หรอื เท็จ (False) ตวั ดำเนินการประเภทนม้ี ักใช้ในการกำหนดเงื่อนไข 5. นกั เรียนจบั คูต่ ามความเหมาะสมของจำนวนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ โดยมีนกั เรียน 1 คนทมี่ ีประสบการณ์ ในการใชค้ อมพิวเตอร์ จากน้ันปฏบิ ตั กิ ารเขียนโปรแกรมตัวดำเนนิ การเปรียบเทียบ ดังตัวอย่าง

6. นักเรยี นร่วมกันปฏิบตั กิ ารเขยี นโปรแกรมเก่ยี วกบั ตัวดำเนนิ การตรรกะ ดังตัวอยา่ ง 7. นกั เรียนร่วมกันสรุปสิ่งทีเ่ ข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือกจะมี โครงสร้างทกี่ ำหนดทศิ ทางการทำงาน ซงึ่ จะตอ้ งตัดสินใจด้วยเงือ่ นไข ในการกำหนดเงื่อนไข นักเรยี นจะต้องทำ ความเข้าใจเกย่ี วกับการดำเนินการเปรียบเทยี บ การดำเนินการตรรกะ และลำดับความสำคญั ของตวั ดำเนินการให้ แมน่ ยำ เพื่อใหส้ ามารถออกแบบขน้ั ตอนวธิ แี ละเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือกได้อย่างถกู ตอ้ ง 8. นักเรยี นร่วมกันนำเสนอโปรแกรมตวั ดำเนินการเปรยี บเทียบและตวั ดำเนินการตรรกะ โดยเปลย่ี น ข้อมลู ของตวั แปรและร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งหน้าช้ันเรยี น เพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กนั 3. ขนั้ สรปุ นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายสรปุ เก่ยี วกบั วธิ กี ารทำงานให้เหน็ การคิดเชงิ ระบบและวิธกี ารทำงานท่ีมแี บบแผน 9. สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน 2. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องเรียน 2. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑ์การวดั 1. ดา้ นความรู้ - การสังเกต - แบบสงั เกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏบิ ัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝกึ หัดได้ถกู ต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึน้ ไป 2. ด้านทักษะ - การสงั เกต - แบบสงั เกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอัน - แบบสังเกต 3. นักเรยี นมีคณุ ลักษณะอัน พงึ ประสงค์ - การสังเกต - แบบประเมินผลงาน พึงประสงค์ได้ 85% ข้ึนไป - การตรวจผลงาน

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ............................................................ ( นางสาวกัลยรตั น์ ม่ันสัตย์ ) ตำแหนง่ ครผู ูส้ อน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ..................................................................................... ..................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ............................................................ ( นายวิศษิ ฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สขุ วิทยา)

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 14 รายวิชา วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา เพม่ิ เตมิ ชอ่ื หน่วยท่ี 3 การแกป้ ัญหาดว้ ยภาษาไพทอน ชื่อแผน การเขียนโปแกรมแบบทางเลอื ก สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ มน่ั สตั ย์ เวลาเรียน 2 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สอนวันที่..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ อย่างเปน็ ข้ันตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอลั กอรทิ ึม เปน็ การออกแบบลำดับ ขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม ซ่งึ สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 3 ลักษณะ คอื การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใชร้ หสั จำลอง และการใชผ้ งั งาน 3. ผลการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสทิ ธ์ิ ในการเผยแพร่ผลงาน ตวั ชวี้ ัด ตวั ชี้วัดที่ ม2/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟงั ก์ชันในการแกป้ ัญหา 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือก (K) 2. เขียนโปรแกรมแบบทางเลือก (P) 3. มคี วามกระตือรือรน้ ในการเขยี นโปรแกรม(A) 5. สมรรถนะท่ีสำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสือ่ สาร 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือก (Decision Control Statement) เป็นลกั ษณะการเขียนคำสงั่

โปรแกรมตดั สินใจเลือกทำงานอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยมรี ูปแบบโครงสรา้ งแบบทางเลือก 4 ประเภท ได้แก่ แบบทางเลือกทางเดียว แบบทางเลอื กสองทาง แบบทางเลือกหลายทาง และแบบทางเลือก เชงิ ซอ้ น 7. ความสัมพันธก์ บั กล่มุ สาระการเรยี นรอู้ น่ื ๆ /บรู ณาการ 1. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ช่วั โมงที่ 27-28 1. ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนความรเู้ ดิมจากชว่ั โมงท่ีผา่ นมาเก่ียวกับโครงสร้างการทำงานแบบเรียงลำดับ 2. ครูอธบิ ายเพื่อเชื่อมโยงเข้าสบู่ ทเรยี นว่า“โครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำ เปน็ ลักษณะการทำงาน ของโปรแกรมท่ีมกี ระบวนการทำงานทจ่ี ะต้องมีการตัดสินใจหรือต้องมกี ารพสิ จู น์ ตรวจสอบผา่ นเงื่อนไขใด ๆ 3. ครูสุ่มถามนักเรียน“นักเรียนรู้หรือไม่วา่ การทำงานแบบเลอื กทำมีการทำงานอยา่ งไร” 2. ขั้นสอน 1. ครผู สู้ อนให้นักเรียนรว่ มกันสังเกตภาพวงกลม แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ r - จากภาพคืออะไร (วงกลม) - r หมายถึงอะไร (r หมายถงึ รัศมวี งกลม ยอ่ มาจาก radius) - สตู รการคำนวณหาพน้ื ทีว่ งกลมคืออะไร (สตู รการหาพืน้ ท่วี งกลม = r2) - จากภาพสามารถคำนวณหาอะไรไดบ้ ้าง (พื้นท่ีวงกลม เส้นรอบวงกลม ปรมิ าตรทรงกลม) - สตู รการคำนวณหาเสน้ รอบวงกลมคืออะไร (สูตรเส้นรอบวงกลม = 2r) 2. นักเรียนร่วมกนั ตอบคำถามเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก ดงั นี้ - นักเรียนเคยเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือกหรือไม่ (เคย/ไม่เคย) - การเขยี นโปรแกรมแบบทางเลือกแตกตา่ งกับการเขียนโปรแกรมแบบลำดับอย่างไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook