Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

Description: แผนวิทยาการคำนวณ ม.2 เทอม 1

Search

Read the Text Version

คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาหลักการของแนวคิดเชงิ คำนวณ การแยกสว่ นประกอบและการย่อยปญั หา การหารปู แบบการคิด เชิงนามธรรม ตวั อย่างและประโยชน์ของแนวคิดเชิงคำนวณเพอ่ื แกป้ ญั หาในชีวิตประจำวัน ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดเชงิ คานวณในการออกแบบข้นั ตอนวธิ สี าหรับแกป้ ัญหา การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การระบุ ข้อมลู เขา้ ข้อมูลออก และเง่ือนไขของปญั หา การออกแบบขนั้ ตอนวิธี การทาซ้ำ การจดั เรยี งและค้นหา ข้อมลู ตวั อย่างการ ออกแบบขน้ั ตอนวิธเี พื่อแกป้ ญั หาด้วยคอมพวิ เตอร์ การศึกษาตวั อย่างโครงงานทางเทคโนโลยี สารสนเทศ การกำหนดปญั หา ศึกษา วางแผน ดำเนนิ งาน สรปุผล และเผยแพร่ ในการพัฒนาโครงงานท่ีมกี าร บรู ณาการร่วมกับวิชาอื่นๆ และเช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง มคี ุณธรรมและจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี ตระหนักถึงผลกระทบของการใชเ้ ทคโนโลยกี บั สงั คมมี มารยาท ระเบยี บ และข้อบังคับในการเลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์ต่อ ชีวติ สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการ จดั การเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ ทรัพยากรหรอื เลือกใช้เทคโนโลยีท่ไี ม่มผี ลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ัด สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจรงิ อย่างเป็นขน้ั ตอนและ เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมีจริยธรรม มาตรฐานตวั ช้วี ัด ตัวชี้วดั ที่ 1 ประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการพฒั นา โครงงานท่มี ีการบูรณาการกบั วชิ าอนื่ อยา่ ง สรา้ งสรรค์ และเช่ือมโยงกบั ชวี ติ จรงิ ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายหลกั การของแนวคิดเชิงคำนวณ 2. ใช้หลักการของแนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหา ได้แก่ การแยกส่วนประกอบและการย่อยปัญหา การหารปู แบบ การคดิ เชิงนามธรรม และขั้นตอนวิธี 3. อธิบายความหมายของการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ 4. ระบขุ ้อมูลเขา้ ข้อมลู ออก และเง่ือนไขของปัญหา 5. ออกแบบข้ันตอนวิธีในการแก้ปญั หา โดยใช้รูปแบบต่าง ๆเช่นการกำหนดเง่ือนไขและการทำซ้ำ 6. ประยกุ ตใ์ ชข้ ้นั ตอนวิธีการจัดเรยี งและค้นหาขอ้ มลู ในการแก้ปัญหา 7. ระบุปัญหาในชวี ิตประจำวันที่สามารถแกไ้ ขได้ด้วยแนวคิดเชงิ คำนวณ

กำหนดการสอน วิชา ว22101 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1 สปั ดาห์ แผน เรอื่ ง/สาระสำคญั มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ เวลา (ชม.) ที่ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ท่ี 1 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 1,2 2 1-2 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 2,3 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 2,3 2 3-4 2 รู้จักอลั กอรทิ มึ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6,7 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 5,6,7 2 5-6 3 การแยกสว่ นประกอบ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ท่ี 5,6, 2 7-8 4 การหารปู แบบ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ที่ 5,6, 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ที่ 5,6, 2 9-10 5 การแกป้ ัญหาดว้ ยคอมพวิ เตอร์ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 5,6, 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ท่ี 5,6, 2 11-12 6 แกป้ ญั หาโดยใชโ้ ปรแกรม Flowgorithm มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ที่ 5,6, 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6, 2 13-14 7 การออกแบบข้นั ตอนการทำงานของ มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6, 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ท่ี 5,6, 2 โปรแกรม มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อที่ 5,6, 2 15-16 8 การติดตง้ั โปรแกรมไพทอน มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6, 2 17-18 9 การเขยี นโปรแกรมเบือ้ งต้น มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6, 2 มฐ. ว4.2 ม.4/1/ข้อท่ี 5,6, 2 19-20 10 ตัวแปรภาษาไพทอน มฐ. ว4.2 ม.4/1/ขอ้ ที่ 5,6, 2 21-22 11 การใช้คำส่งั print และ input 23-24 12 การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ 25-26 13 ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ 27-28 14 การเขียนโปรแกรมแบบทางเลอื ก 29-30 15 การเขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ำ 31-32 16 การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำดว้ ยคำสง่ั rage และ for 33-34 17 ฟังกช์ ่ันจากไลบรามีมาตรฐาน (stardard Library) 35-36 18 นกั ออกแบบระบบ 37-38 19 รู้จกั ไมโครบิต 39-40 20 ระบบอตั โนมตั ิดว้ ยไมโครบติ

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ภาระงานและสัดสว่ นคะแนนปริมาณ รหสั วิชา ว22101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 1 ลำดับท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา คะแนน ภาระงาน/ช้นิ งาน/กิจกรรม เรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด 1 45 ใบงาน 2 แนวคดิ เชิงคำนวณ มฐ. ว4.2 ม.4 10 10 ใบงาน 3 การแก้ปัญหา มฐ. ว4.2 ม.4 20 30 ปฏิบัตชิ ิ้นงานในโปรแกรม 4 การแก้ปัญหาด้วย มฐ. ว4.2 ม.4 6 15 ปฏบิ ัติชน้ิ งานในโปรแกรม ภาษาไพทอน 40 60 40 การแกป้ ัญหาด้วย มฐ. ว4.2 ม.4 10 Micro :bit 30 รวมหน่วยการเรียนรู้ 100 คะแนนประเมินผลกลางภาค คะแนนประเมนิ ผลปลายภาค รวมคะแนนประเมินผล

โครงสรา้ งรายวิชา รหสั วชิ า ว22101 รายวิชาเทคโนโลย(ี วิทยาการคำนวณ) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 1.0 หน่วยกติ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 40 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ลำดับ หน่วยการ มฐ.การ สาระสำคญั ชั่วโมง คะแนน ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ 1 แนวคดิ เชงิ มฐ. ว4.2 การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคิดเชิง 4 10 คำนวณ ม.4 คำนวณ ตวั อย่างปญั หา เช่น การวาดรปู เชิงเรขาคณิต การ เขา้ แถวตามลำดบั ความสงู ให้ เร็วที่สดุ จัดเรียงเส้อื ใหห้ าได้ งา่ ยที่สุด 2 การ มฐ. ว4.2 รวบรวม วิเคราะหข์ อ้ มูล และ 10 15 แก้ปัญหา ม.4 ใช้ความรดู้ ้านวทิ ยาการ คอมพิวเตอร์ สอ่ื ดจิ ทิ ัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แก้ปญั หาหรือเพิ่มมลู ค่าใหก้ บั บรกิ ารหรอื ผลติ ภณั ฑ์ทีใ่ ชใ้ น ชีวิตจรงิ อย่างสรา้ งสรรค์ 3 ภาษาไพ มฐ. ว4.2 1. การออกแบบและเขียน 16 20 ทอน ม.4 โปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ 2. การออกแบบและเขียน โปรแกรมทม่ี ีการใช้ฟังกช์ ั่น 3. การออกแบบอัลกอรทิ ึมเพื่อ แก้ปญั หา อาจใช้แนวคดิ เชิง คำนวณในการออกแบบเพ่ือให้ การแกป้ ัญหามปี ระสิทธิภาพ 4. การแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ข้ันตอนจะชว่ ยให้แกป้ ัญหาได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 5. ซอฟต์แวรท์ ่ีใชใ้ นการเขยี น โปรแกรม เชน่ python 4 Micro :bit มฐ. ว4.2 1. ความเป็นมาของบอร์ด และ 10 15 ม.4 ส่วนประกอบของบอร์ด micro:bit

ลำดับ หน่วยการ มฐ.การ สาระสำคญั ชว่ั โมง คะแนน ที่ เรียนรู้ 100 เรยี นรู้ 2. ทำความรจู้ กั กับโปรแกรม madecode เรม่ิ ต้นการสรา้ ง โปรเจ็คใหม่การเขียนโค้ดและ การเช่อื มต่ออปุ กรณโ์ มบาย 3. ทำความร้จู กั กับเชน็ เซอร์ ตรวจจบั ความเร่ง เริม่ ต้นการ เขยี นโปรแกรมและประยุกต์ใช้ งานในชวี ิตประจำวนั 4. รู้จักเซน็ เซอรว์ ัดอุณหภูมิ และการประยกุ ต์การเขียน โปรแกรมเพื่อมาประยกุ ตใ์ ชง้ าน 5. เขยี นโปแกรมการใชง้ านปุ่ม ในบอรด์ และมานำประยุกต์ สรา้ งเกมที่ควบคุมด้วยปมุ่ รวมตลอดภาคเรยี น 40

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชา เพ่มิ เตมิ ชอื่ หน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ ชือ่ แผน แนวคิดเชิงคำนวณ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ ม่นั สัตย์ เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดือน............พ.ศ.2564 .................................................................................... ................................................................................................ 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวติ จริงอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมจี ริยธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ 2.2 ตวั อย่างปัญหา เชน่ การวาดรูปเชงิ เรขาคณิต การเข้าแถวตามลำดบั ความสูงให้เร็วทีส่ ดุ จดั เรียง เสอ้ื ให้หาได้งา่ ยทีส่ ดุ 3. ผลการเรียนร้/ู ตวั ชี้วดั ผลการเรียนรู้ นักเรยี นสามารถออกแบบอลั กอริทึมท่ีใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาหรือการทำงานที่พบ ในชวี ิตจรงิ ได้ ตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอรทิ มึ ท่ใี ชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหา หรอื การทำงานท่ี พบในชวี ิตจรงิ 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 อธบิ ายการแกป้ ัญหาโดยใช้กระบวนการคดิ เชงิ คำนวณ ซ่งึ ประกอบไปด้วยการแบง่ ปญั หาใหญเ่ ป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารูปแบบ การคิดเชงิ นามธรรมและการออกแบบอลั กอรทิ ึม (K) 3.2 ออกแบบอลั กอริทึมเพ่อื การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณคา่ ของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน(A) 5. สมรรถนะทส่ี ำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรยี นรู้ แนวคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) เปน็ กระบวนการวิเคราะหป์ ัญหา เพ่ือใหไ้ ด้แนว ทางการหาคำตอบอยา่ งเป็นข้ันตอนทีส่ ามารถนำไปปฏิบตั ิได้โดยบุคคลหรอื คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แมน่ ยำ

ซ่งึ เรียกวา่ อลั กอริทึม ทกั ษะการใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณจึงสำคญั ตอ่ การแกป้ ัญหา ชว่ ยใหส้ ามารถส่ือสารแนวคิด กบั ผู้อน่ื ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รวมถงึ ชว่ ยพัฒนาพนื้ ฐานในการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ้วยแนวคดิ เชงิ คำนวณมีองคป์ ระกอบทส่ี ำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบง่ ปัญหาใหญเ่ ป็นปญั หาย่อย (decomposition) การ พิจารณารูปแบบ (pattern recognition) การคิดเชิงนามธรรม (abstraction) และการออกแบบอัลกอรทิ มึ (algorithm) 7. ความสัมพนั ธก์ บั กล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ื่น ๆ /บูรณาการ 1. กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บรู ณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงที่ 1-2 1. ข้ันนำเขา้ สู่บทเรยี น ผสู้ อนยกตวั อยา่ งปัญหาในชีวติ ประจำวัน แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นตั้งคำถามย่อยเพือ่ นำไปสวู่ ิธกี ารหาคำตอบลงใน บตั รช่วยกันคดิ คำถามย่อย ตวั อย่างคำถามเช่น ถ้าผเู้ รียนต้องการเดินทางจากบา้ นไปสถานท่ีท่ีไมร่ ูจ้ กั นักเรยี น จะเดนิ ทางอยา่ งไร แนวคำตอบ (ต้องการไปสถานทีใ่ ด,เดินทางโดยวธิ กี ารใด,เสน้ ทางเป็นอย่างไร,สถานทที่ ี่อยรู่ ะหว่างทางมีอะไรบ้าง, สถานทนี่ ัน้ มีลักษณะอยา่ งไร) 2. ขัน้ สอน 1. ผสู้ อนตั้งคำถามใหผ้ เู้ รยี นอธบิ ายข้นั ตอนทผี่ ู้เรยี นตอบคำถามว่าเปน็ กระบวนการใหผ้ เู้ รยี นแต่ละกลมุ่ ตอบคำถามทไ่ี ดต้ ้ังไว้ เช่น ต้องการไปสถานทใี่ ด เดนิ ทางโดยวธิ ีการใด เสน้ ทางเปน็ อย่างไร สถานท่ที ีอ่ ยู่ระหวา่ ง ทางมีอะไรบ้าง แนวคำตอบ (หอสมุดประจำจังหวดั , ป่นั จกั รยาน , ปันจักรยานไปทางตลาด เมอื่ ผา่ นตลาดใหเ้ ลย้ี ว ขวาทีแ่ ยกไฟแดงแรกแลว้ ตรงไป 500 เมตร เล้ยี วซ้าย จากนั้นตรงไปอีก 200 เมตร , มีตลาด ร้านขนม วดั ) 2. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนแบง่ เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ช่วยวเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหาแลว้ ตั้งคำถามย่อยเพ่ือ นำไปสู่วธิ ีในการหาคำตอบ โดยอาจให้ผู้เรยี นเป็นผกู้ ำหนดสถานการณ์หรือผู้สอนเตรยี มไวใ้ หผ้ ู้เรยี นเปน็ ผูเ้ ลือก สถานการณ์ที่สนใจ แลว้ ให้ผูเ้ รียนนำเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณล์ งในบตั รชว่ ยกันคิดคำถามย่อย 3. ผสู้ อนแนะนำว่าวิธีการการแก้ปญั หาท่ีมีประสทิ ธิภาพสามารถทำไดโ้ ดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณซ่ึง นกั เรียนจะไดศ้ ึกษาต่อไป 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนแตล่ ะกลุม่ ศึกษาเนอื้ หา หัวข้อ 1.1 เรอ่ื งการแบง่ ปัญหาใหญ่เปน็ ปัญหาย่อย 1.2 เรื่องการพจิ ารณารูปแบบ 1.3 เรือ่ งการคิดเชงิ นามธรรม 1.4 เรอื่ งการออกแบบอลั กอรทิ ึม 5. ใหผ้ ู้เรียนแตล่ ะกล่มุ เขยี นขั้นตอนหลกั ในข้อท่ี 4 ใหม่ให้เปน็ ศนู ยก์ ารคา้ ของกลุ่ม โดยให้ใชข้ นั้ ตอน

ย่อยเดิม หลังจากนนั้ สง่ ข้นั ตอนหลกั และขน้ั ตอนย่อยให้เพือ่ นกลุม่ อื่นวาดลงในกระดาษกราฟ เมอื่ วาดเสร็จแลว้ ให้ นำกลับกลุ่มเดิมเพื่อดำเนินการตรวจสอบความถูกตอ้ ง 6. ผ้สู อนสุ่มกลมุ่ ผูเ้ รียนให้นำเสนอคำตอบในแตล่ ะข้อ และผลจากการตรวจสอบความถูกต้อง 3. ข้ันสรุป ผสู้ อนและผ้เู รยี นรว่ มกันสรปุ การใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา 9. สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกจิ กรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน 2. หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ 10. การวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวัด 1. ดา้ นความรู้ - การสังเกต - แบบสงั เกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหดั ได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ข้นึ ไป 2. ด้านทกั ษะ - การสังเกต - แบบสังเกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมนิ ผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั - แบบสงั เกต 3. นกั เรยี นมีคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมนิ ผลงาน พงึ ประสงคไ์ ด้ 85% ขน้ึ ไป - การตรวจผลงาน

ใบกจิ กรรมเร่ือง การวาดแบบแปลนอาคาร 1. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาเนอ้ื หา หัวข้อ 1.1 เร่อื งการแบง่ ปญั หาใหญ่เปน็ ปัญหายอ่ ย 1.2 เรอ่ื งการพิจารณารูปแบบ 1.3 เรื่องการคดิ เชงิ นามธรรม 1.4 เรื่องการออกแบบอลั กอริทมึ จากหนังสือเรยี น 2. นกั เรยี นพิจารณาภาพจำลองของโครงการศนู ย์การคา้ IPST โดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณเพอ่ื นำไปเขยี นแบบ แปลนโครงการอย่างงา่ ยดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โดยมเี งือ่ นไขใหใ้ ชร้ ูปเรขาคณิตทอ่ี อกแบบคร้งั เดยี วแลว้ ใชไ้ ด้ ท้งั โครงการ โดยตารางแตล่ ะชอ่ งมีขนาด 10 หนว่ ย 2.1 แบบปัญหาใหญ่เป็นปัญหายอ่ ย ปัญหายอ่ ยท่ี 1 ปัญหาย่อยที่ 2 ปญั หาย่อยที่ 3 ปญั หาย่อยท่ี 4 ปญั หายอ่ ยท่ี 5 ปญั หายอ่ ยท่ี 6 2.2 การพจิ ารณารปู แบบ ปญั หาย่อยที่ 1 คำตอบ........................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาย่อยที่ 2 คำตอบ........................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหาย่อยที่ 3 คำตอบ........................................................................................................................ ................................................ ............................................................................................................................................. ....................................... ปัญหาย่อยที่ 4 คำตอบ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ปัญหายอ่ ยที่ 5 คำตอบ........................................................................................................................ ................................................ ......................................................................................................................................................................... ........... ปญั หาย่อยท่ี 6 คำตอบ................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... รูปแบบโครงสร้างอาคารในโครงการ มจี ุดรว่ มกนั ดังน้ี ตวั อาคาร.............................................................................................................................................. ....................... หลังคา (มี /ไมม่ )ี ......................................................................................................................................................... จุดมมุ ลา่ งซา้ ย เป็นจดุ เริ่มต้นในการวางตวั อาคาร 2.3 การคิดเชงิ นามธรรม ชอ่ื อาคาร..................................................................................................................................................................... ตวั อาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา....................................................................................................................... .................................................. จดุ มุมล่างซ้าย.............................................................................................................................................................. ชอื่ อาคาร..................................................................................................................................................................... ตวั อาคาร..................................................................................................................................................................... หลงั คา......................................................................................................................................................................... จุดมมุ ลา่ งซ้าย.............................................................................................................................................................. ชื่ออาคาร.................................................................................................................... ................................................. ตวั อาคาร..................................................................................................................................................................... หลงั คา......................................................................................................................................................................... จุดมุมล่างซา้ ย.............................................................................................................................................................. ชื่ออาคาร................................................................................................................................................................... .. ตวั อาคาร..................................................................................................................................................................... หลังคา....................................................................................................................... .................................................. จุดมุมล่างซ้าย................................................................................................................................................. .............

แนวการตอบใบกิจกรรม วาดแบบแปลนอาคาร 1. แตละกลุมศึกษาตัวอยางที่ 1.1-1.5 จากหนงั สอื เรยี น 2. พจิ ารณาภาพจําลองของโครงการศนู ยการคา IPST โดยใชแนวคิดเชงิ คาํ นวณเพื่อนาํ ไปเขยี นแบบแปลน โครงการอยางงายดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมเี งอื่ นไขใหใชรปู เรขาคณิตท่ีออกแบบครั้งเดยี วแลวใชท้ัง โครงการ 2.1 แบงปญหาใหญเปนปญหายอย [แนวการตอบ] - ในภาพมอี าคารก่หี ลัง - ขนั้ ตอนในการวาดอาคาร I Shopping Mall เปนอยางไร และอยูที่ตาํ แหนงใด - ขั้นตอนในการวาดอาคาร P IT Center เปนอยางไร และอยูท่ีตาํ แหนงใด - ข้นั ตอนในการวาดอาคาร S Salon เปนอยางไร และอยูที่ตําแหนงใด - ขน้ั ตอนในการวาดอาคาร T Sport Center เปนอยางไร และอยูที่ตาํ แหนงใด 2.2 การพจิ ารณารูปแบบ [แนวการตอบ] ปญหายอยท่ี 1 ในภาพมีอาคารกหี่ ลัง

คาํ ตอบ 4 หลัง ปญหายอยท่ี 2 ขัน้ ตอนในการวาดอาคาร I Shopping Mall เปนอยางไร และอยูทต่ี ําแหนงใด คําตอบ อาคาร I Shopping Mall ตัวอาคารวาดดวยรูปสี่เหลย่ี มจตุรสั สเี ทา ขนาดดานละ 40 หนวย ตงั้ อยูบนมุมลางซายที่พกิ ัด (0,0) ดานบนสเี่ หลยี่ มวาดหลังคาดวยรูปสามเหลี่ยมดานเทาสี เขียวขนาดดานละ 40 หนวย ปญหายอยที่ 3 ขน้ั ตอนในการวาดอาคาร P IT Center เปนอยางไร และอยูท่ีตําแหนงใด คาํ ตอบ อาคาร P IT Center ตวั อาคารวาดดวยรปู ส่เี หล่ยี มจตุรสั สีฟา ขนาดดานละ 20 หนวย ต้ัง อยบู นมุมลางซาย อยูท่ี (50,10) ไมมี หลังคา ปญหายอยที่ 4 ขั้นตอนในการวาดอาคาร S Salon เปนอยางไร และอยูท่ีตําแหนงใด คําตอบ อาคาร S Salon ตัวอาคารวาดดวยรปู สเี่ หล่ยี มจตรุ สั สีฟา ขนาดดานละ 20 หนวย ต้ังอยู บนมุมลางซาย อยูที่ (60,40) ไมมี หลังคา ปญหายอยท่ี 5 ข้ันตอนในการวาดอาคาร T Sport Center เปนอยางไร และอยูท่ีตําแหนงใด คําตอบ อาคาร T Sport Center มี ตัวอาคารวาดดวยรูปสเ่ี หลย่ี มจตรุ ัสสีน้ําเงนิ ขนาดดานละ 30 หนวย ต้ังอยูบนมุมลางซายอยูท่ี (80,0) ดานบนส่เี หล่ียมวาดหลังคาดวยรูปสามเหลี่ยมดานเทาสี เหลอื งขนาดดานละ 30 หนวย รูปแบบโครงสรางอาคารภายในโครงการ มีจุดรวมกนั ดังนี้ ตัวอาคาร เปนรูปสเี หลี่ยมจตุรัส หลังคา เปนรปู สามเหลี่ยมดานเทาวางบนตวั อาคาร (ม/ี ไมม)ี มุมลางซาย จุดเร่มิ ตนในการวางตัวอาคาร 2.3 การคดิ เชงิ นามธรรม [แนวการตอบ] อาคาร I Shopping Mall ตวั อาคาร ขนาด 40 หนวย สเี ทา

หลังคา ขนาด 40 หนวย สเี ขียว จดุ มมุ ลางซาย อยูท่ี (0,0) อาคาร P IT Center ตวั อาคาร ขนาด 20 หนวย สีฟา หลังคา ไมมี จดุ มมุ ลางซาย อยูที่ (50,10) อาคาร S Salon ตวั อาคาร ขนาด 20 หนวย สีฟา หลังคา ไมมี จุดมมุ ลางซาย อยูท่ี (60,40) อาคาร T Sport Center ตัวอาคาร ขนาด 30 หนวย สนี ้าํ เงิน หลงั คา ขนาด 30 หนวย สเี หลือง จุดมมุ ลางซาย อยูที่ (80,0)

บนั ทกึ ผลหลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... 2. ปญั หาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ .......................................................... .......... ลงชอ่ื ............................................................ ( นางสาวกลั ยรัตน์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผสู้ อน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหวั หน้าสถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... .......................................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชื่อ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศริ วิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณส์ ุขวทิ ยา)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 รายวิชา เพม่ิ เติม ช่ือหน่วยท่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณ ช่ือแผน รจู้ ักอัลกอรทิ มึ สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ ม่นั สตั ย์ เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 สอนวันที่..........เดอื น............พ.ศ.2564 .................................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวิตจริงอยา่ งเป็นขั้นตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ร้เู ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ 2.2 ตวั อย่างปัญหา เช่น การเขา้ แถวตามลำดบั ความสงู ใหเ้ รว็ ที่สดุ จดั เรียงเส้ือผ้าให้หาได้ง่ายทีส่ ดุ 3. ผลการเรียนร้/ู ตัวช้ีวัด ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถออกแบบอลั กอริทึมทใี่ ช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานท่พี บ ในชวี ติ จรงิ ได้ ตัวชวี้ ัด ตวั ชว้ี ัดที่ ม2/1 ออกแบบอลั กอริทึมทใี่ ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหา หรือการทำงานที่ พบในชวี ิตจริง 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแกป้ ัญหาโดยใชก้ ระบวนการคดิ เชงิ คำนวณ ซงึ่ ประกอบไปด้วยการแบ่งปญั หาใหญ่เป็น ปัญหาย่อย การพิจารณารปู แบบ การคดิ เชิงนามธรรมและการออกแบบอัลกอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทมึ เพือ่ การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคุณค่าของการเรยี นวชิ าเทคโนโลยี และการตระหนักในคณุ ค่าของความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีท่ใี ช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะท่ีสำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคดิ เชิงคำนวณ (computational thinking) เปน็ กระบวนการวิเคราะหป์ ญั หา เพื่อใหไ้ ด้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเปน็ ขั้นตอนทีส่ ามารถนำไปปฏบิ ตั ิได้โดยบคุ คลหรอื คอมพวิ เตอร์อยา่ งถูกต้องและ แมน่ ยำ

ซง่ึ เรียกวา่ อัลกอริทมึ ทกั ษะการใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณจึงสำคัญตอ่ การแก้ปญั หา ชว่ ยใหส้ ามารถสอ่ื สารแนวคิด กบั ผู้อน่ื ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมถึงชว่ ยพฒั นาพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรด์ ้วย แนวคดิ เชงิ คำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 สว่ น ได้แก่ การแบ่งปญั หาใหญ่เปน็ ปัญหาย่อย (decomposition) การพจิ ารณารปู แบบ (pattern recognition) การคดิ เชงิ นามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอลั กอริทึม (algorithm) 7. ความสัมพนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ นื่ ๆ /บูรณาการ 1. กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี 3-4 1. ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น ผู้สอนยกตัวอยา่ งปญั หาในชวี ิตประจำวัน แลว้ ให้ผเู้ รยี นตัง้ คำถามย่อยเพอ่ื นำไปสูว่ ธิ ีการหาคำตอบ ตัวอยา่ งคำถาม 2. ขนั้ สอน 1. ผสู้ อนยกตวั อย่างปัญหาการจัดเรยี งหนงั สอื ตามลำดับความสงู โดยใหผ้ ูเ้ รียนลองคิดวิธกี ารจัดเรยี ง หนังสอื หลังจากนนั้ สุ่มผูเ้ รยี นออกมา 2 คน โดยให้คนท่ี 1 บอกวธิ ีจดั เรียงหนังสือให้คนท่ี 2 ปฏิบัตติ าม โดยคน ที่ 2 จะจำลองตัวเองเปน็ หนุ่ ยนตซ์ งึ่ จะปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั และไมส่ ามารถคิดเองได้แล้วให้ผเู้ รียนในห้องร่วมกนั อภปิ รายว่าวธิ กี ารเรียงหนงั สอื ของเพื่อนคนที่ 1 เป็นอย่างไรบา้ ง เชน่ คำส่ังชดั เจนหรือไม่ สามารถนำไปปฏิบัติ ตามได้หรือไม่ มีคำส่ังใดท่ีซ้ำกันหรือไม่ 2. ผู้สอนแบ่งกลมุ่ ผู้เรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 3. ผเู้ รยี นศกึ ษาตัวอยา่ งที่ 1.6 แล้วร่วมกนั อภิปรายวา่ แตกตา่ งจากวธิ ีการท่ีนกั เรียนคิดก่อนหนา้ นี้ หรือไม่ อยา่ งไร หลังจากน้ันใหแ้ ต่ละกลุ่มรว่ มกนั ระดมสมองต่อว่าหากนกั เรียนจะสอนนอ้ งจดั เรยี งหนงั สือท่มี ี วธิ ีการท่ีแตกตา่ งจากตัวอยา่ ง จะออกแบบอัลกอรทิ ึมอยา่ งไร และเขยี นคำตอบลงในใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สอน นอ้ งจัดหนงั สอื แล้วใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลุ่มเตรียมแสดงบทบาทสมมติตามอัลกอริทึมสอนน้องจดั หนังสือ 4. ผสู้ อนสมุ่ ทุกกลมุ่ นำเสนอบทบาทสมมติ 5. ผเู้ รยี นและผสู้ อนร่วมกันอภิปรายถงึ ข้อดแี ละข้อเสยี ในการเรยี งหนังสอื ของแตล่ ะกลมุ่ 4. ขั้นสรปุ ผ้สู อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปการใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หา 9. สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint

9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องเรยี น 2. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 10. การวัดและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วิธกี ารวัดผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารวัด 1. สามารถตอบคำถามใน 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต แบบฝึกหัดได้ถกู ต้องตาม - แบบประเมนิ ผลงาน หลกั การ 80% ขน้ึ ไป - การทดสอบปฏบิ ตั ิ 2. สามารถตอบคำถามในใบ - การตรวจผลงาน งานได้ 80% 2. ดา้ นทักษะ - การสงั เกต - แบบสงั เกต 3. นกั เรียนมีคุณลักษณะอนั กระบวนการ - การทดสอบปฏบิ ัติ - แบบประเมนิ ผลงาน พึงประสงคไ์ ด้ 85% ข้นึ ไป - การตรวจผลงาน 3. ด้านคุณลกั ษณะอนั - แบบสังเกต พึงประสงค์ - การสงั เกต - แบบประเมินผลงาน - การตรวจผลงาน

ใบกจิ กรรมเรอื่ ง สอนน้องจัดหนงั สือ 1. ศึกษาตัวอย่างท่ี 1.6 จากหนังสือเรยี น 2. รว่ มกนั คิดและออกแบบวิธีการสอนน้องจดั หนงั สือแบบอน่ื ๆ โดยมวี ิธีการดงั น้ี 2.1 รูปแบบการจดั เรยี ง (เช่น เรียงความสูงจากน้อยไปมาก มากไปน้อย เรียงตามสี เรียงตามความหนา ของหนังสือ เรยี งตามชื่อหนังสือ) คือ................................................................................................................... 2.2 อัลกอริทึมในการจัดเรียง ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ....................................................................................................................................................................... ...... ............................................................................................................................ ................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................................... ..........................

บนั ทึกผลหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนการสอน .......................................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... 2. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... 3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ .......................................................... .......... ลงช่ือ............................................................ ( นางสาวกัลยรตั น์ มน่ั สตั ย์ ) ตำแหน่ง ครูผสู้ อน ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ....................................................... .......................................................................................................................................................................... .......... .......................................................................................................................... .......................................................... ลงชอ่ื ............................................................ ( นายวศิ ิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณส์ ขุ วิทยา)

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวิชา เพม่ิ เติม ชอื่ หน่วยที่ 2 การแกป้ ญั หา ชอื่ แผน การแยกสว่ นประกอบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มน่ั สตั ย์ เวลาเรียน 2 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชวี ิตจริงอย่างเปน็ ขัน้ ตอนและ เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม 2. สาระสำคัญ 2.1 การแก้ปัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณ 2.2 ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ การวาดรปู เชิงเรขาคณติ การเข้าแถวตามลำดบั ความสูงใหเ้ ร็วที่สุด จดั เรยี ง เสื้อใหห้ าได้ง่ายทส่ี ุด 3. ผลการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั ผลการเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถออกแบบอลั กอรทิ ึมทใ่ี ช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาหรือการทำงานทพ่ี บ ในชวี ติ จรงิ ได้ ตัวชี้วดั ตวั ช้วี ดั ที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใี่ ชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรือการทำงานที่ พบในชวี ติ จรงิ 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายการแกป้ ัญหาโดยใช้กระบวนการคดิ เชิงคำนวณ ซ่งึ ประกอบไปดว้ ยการแบง่ ปัญหาใหญ่เปน็ ปญั หาย่อย การพจิ ารณารูปแบบ การแยกส่วนประกอบ การคิดเชงิ นามธรรมและการออกแบบอัลกอรทิ ึม (K) 3.2 ออกแบบอลั กอริทึมเพอ่ื การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (P) 3.3 เห็นคณุ คา่ ของการเรียนวชิ าเทคโนโลยี และการตระหนกั ในคณุ ค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีท่ีใชใ้ นชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะท่สี ำคัญ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. สาระการเรยี นรู้ แนวคิดเชงิ คำนวณ (computational thinking) เปน็ กระบวนการวเิ คราะห์ปญั หา เพ่ือให้ได้แนว ทางการหาคำตอบอย่างเป็นข้ันตอนท่ีสามารถนำไปปฏิบตั ิได้โดยบุคคลหรอื คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แม่นยำ

ซ่งึ เรียกว่า อลั กอรทิ ึม ทกั ษะการใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณจึงสำคญั ตอ่ การแกป้ ัญหา ช่วยให้สามารถสื่อสารแนวคิด กับผอู้ ื่นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมถงึ ชว่ ยพัฒนาพื้นฐานในการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ว้ ย แนวคดิ เชงิ คำนวณมีองค์ประกอบที่สำคญั 4 ส่วน ไดแ้ ก่ การแบง่ ปัญหาใหญเ่ ป็นปญั หายอ่ ย (decomposition) การพิจารณารปู แบบ (pattern recognition) การคิดเชงิ นามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอลั กอรทิ ึม (algorithm) 7. ความสัมพันธก์ ับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ื่น ๆ /บูรณาการ 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 5-6 1. ข้นั นำเข้าสูบ่ ทเรยี น 1. ครนู ำรปู จกั รยานมาใหน้ ักเรยี นทุกคนพจิ ารณา แล้วใหท้ ุกคนชว่ ยกันแยกสว่ นประกอบของจกั รยาน ว่ามีอะไรบา้ ง และละส่วนมหี น้าทอ่ี ย่างไร 2. ครชู ว่ ยนกั เรยี นในการพจิ ารณาส่วนประกอบย่อย และแนะนำเพิ่มเติม 3. ครแู สดงใหเ้ หน็ ว่าสงิ่ ของทุกอย่างมอี งคป์ ระกอบยอ่ ยเสมอ แม้กระท่ังปญั หาทีน่ กั เรยี นต้อง แกป้ ญั หานนัน้ กจ็ ะมีปญั หาย่อย ๆ ให้นักเรียนพจิ ารณา ดงั น้นั การแก้ปัญหาท่สี ำคัญคือการมองปญั หาย่อยให้ออก แลว้ แกไ้ ขจากปญั หาย่อยไปยังปัญหาทใ่ี หญ่ขึน้ 2. ขนั้ สอน 1. ครแู บ่งกล่มุ นักเรยี นกลุ่มละไม่เกิน 5 คน และแจกใบกิจกรรมท่ี 1 เร่อื งการแยกสว่ นประกอบยอ่ ย 2. ครูกำหนดปัญหาใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มแยกสว่ นประกอบย่อย ดงั น้ี 1. รถยนต์ 2. เครอื่ งบนิ 3. เรอื 4. มอเตอรไ์ ซค์ 3. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ทำการวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของสถานการณ์ท่ีไดร้ บั 4. แตล่ ะกล่มุ รว่ มกันสรุปแนวคดิ และผลการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบที่กลุ่มได้รับ ในประเด็นเกี่ยวกบั สิ่งท่ี ต่างและสงิ่ ท่ีเหมอื นกันองค์ประกอบนนั้ 5. นกั เรียนรว่ มกันทำใบงานและบันทึกหน้าทสี่ ำคัญขององคป์ ระกอบแต่ละส่วน 6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะหว์ า่ มอี ปุ กรณ์หรือส่ิงทีม่ ลี ักษณะองคป์ ระกอบคลา้ ยกบั สถานการณ์ท่ี นักเรยี นไดร้ ับ 7. นกั เรยี นสอบถามปัญหาเพมิ่ เตมิ กับครผู สู้ อน เกี่ยวกบั การแยกองค์ประกอบ 8. แต่ละกลมุ่ สรุปและสังเคราะหค์ วามรู้และเขยี นองคป์ ระกอบลงในใบกิจกรรม 9. นักเรียนในกลุ่มแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และตรวจสอบองค์ความร้ขู องตนเอง เปรียบเทยี บความ เหมอื นและความแตกต่างของแต่ละองคป์ ระกอบ

10. นักเรียนตรวจสอบใบกิจกรรมทท่ี ำอีกครงั้ 11. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสรุปคำตอบและเขยี นคำตอบลงในใบกจิ กรรมท่ีครูแจกให้ 12. สมาชิกกล่มุ ร่วมกนั ประเมินคำตอบและตรวจสอบคำตอบท่ีคน้ พบอีกครงั้ 13. นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอองค์ประกอบของสถานการณ์ทไี่ ดร้ ับ 14. เพื่อนและครรู ว่ มกนั สอบถามกลุม่ ทน่ี ำเสนอในประเด็นท่ีสงสยั 15. เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเสรจ็ ครสู รปุ องค์ความรเู้ กยี่ วกบั การแยกองคป์ ระกอบของปัญหา ให้ นกั เรยี นทุกคนฟังอีกครั้ง 3. ข้ันสรปุ 1. ครูสรปุ หลักการและประโยชนข์ องการแยกส่วนประกอบและการย่อยปญั หา พร้อมกับอธบิ ายสรุป 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนสอบถามปญั หาข้อสงสัย และตอบปญั หาใหน้ ักเรยี นเข้าใจอกี คร้งั 9. สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน 2. ห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารวดั 1. ด้านความรู้ - การสังเกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหดั ได้ถูกต้องตาม - การตรวจผลงาน หลกั การ 80% ขนึ้ ไป 2. ด้านทักษะ - การสงั เกต - แบบสงั เกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมนิ ผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอัน - แบบสังเกต 3. นกั เรียนมคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - การสังเกต - แบบประเมินผลงาน พงึ ประสงค์ได้ 85% ขึน้ ไป - การตรวจผลงาน

ใบกิจกรรมท่ี 1 สมาชิกกลุ่ม 1............................................................................................................................ ................. 2................................................................................................. ............................................ 3............................................................................................................................. ................ 4............................................................................................................................................. 5............................................................................................................................. ................ 1. ปัญหาได้รบั / นำเสนอ............................................................................................................................... ส่วนประกอบ

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข .................................................................................................................................................................. .................. ................................................................................................................ .......................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................... ................................................. ลงช่อื ............................................................ ( นางสาวกัลยรตั น์ ม่นั สัตย์ ) ตำแหนง่ ครูผู้สอน ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา .......................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................. ....................................... ลงชือ่ ............................................................ ( นายวิศิษฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สขุ วิทยา)

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 4 รายวชิ า วิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 รายวิชา เพิ่มเตมิ ช่อื หน่วยท่ี 2 การแก้ปญั หา ชือ่ แผน การหารปู แบบ สอนโดย นางสาวกัลยรัตน์ มน่ั สตั ย์ เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดอื น............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชวี ิตจรงิ อย่างเป็นข้ันตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมจี ริยธรรม 2. สาระสำคญั 2.1 การแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณ 2.2 ตวั อยา่ งปญั หา เช่น การวาดรูปเชงิ เรขาคณิต การเข้าแถวตามลำดับความสงู ให้เร็วท่ีสดุ จัดเรยี ง เส้ือใหห้ าได้ง่ายทส่ี ุด 3. ผลการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั ผลการเรียนรู้ นักเรยี นสามารถออกแบบอัลกอรทิ ึมท่ีใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาหรือการทำงานทพ่ี บ ในชีวิตจริงได้ ตัวช้ีวดั ตัวช้วี ัดท่ี ม2/1 ออกแบบอลั กอรทิ ึมทใี่ ชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรอื การทำงานที่ พบในชีวติ จริง 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 อธิบายการแกป้ ญั หาโดยใช้กระบวนการคิดเชงิ คำนวณ ซ่งึ ประกอบไปดว้ ยการแบง่ ปญั หาใหญเ่ ปน็ ปญั หายอ่ ย การพิจารณารูปแบบ การแยกสว่ นประกอบ การคิดเชิงนามธรรมและการออกแบบอลั กอริทึม (K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทมึ เพือ่ การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ (P) 3.3 เหน็ คุณค่าของการเรยี นวิชาเทคโนโลยี และการตระหนักในคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยที ีใ่ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะทสี่ ำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. สาระการเรียนรู้ แนวคดิ เชงิ คำนวณ (computational thinking) เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อใหไ้ ด้แนว ทางการหาคำตอบอยา่ งเปน็ ข้ันตอนทส่ี ามารถนำไปปฏบิ ัติได้โดยบุคคลหรอื คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและ แมน่ ยำ

ซึ่งเรยี กวา่ อัลกอรทิ ึม ทกั ษะการใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณจงึ สำคญั ตอ่ การแกป้ ญั หา ชว่ ยใหส้ ามารถสอื่ สารแนวคิด กับผูอ้ ืน่ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ รวมถงึ ช่วยพัฒนาพ้ืนฐานในการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรด์ ้วย แนวคดิ เชิงคำนวณมีองค์ประกอบท่สี ำคัญ 4 สว่ น ไดแ้ ก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เปน็ ปัญหาย่อย (decomposition) การพจิ ารณารปู แบบ (pattern recognition) การคดิ เชิงนามธรรม (abstraction) และการ ออกแบบอลั กอรทิ มึ (algorithm) 7. ความสัมพนั ธ์กบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อน่ื ๆ /บรู ณาการ 1. กลุม่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 3. บูรณาการ แผนเศรษฐกิจพอเพียง 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงที่ 7-8 1. ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น ผ้สู อนยกตวั อยา่ งปัญหาในชีวติ ประจำวนั แลว้ ใหผ้ ู้เรยี นตั้งคำถามย่อยเพอ่ื นำไปสู่วธิ กี ารหาคำตอบ ตวั อย่างคำถาม 2. ขนั้ สอน 1. ผู้เรียนศกึ ษาตัวอย่างที่ 1.7 จากหนงั สือเรยี น แลว้ ผสู้ อนทดสอบโดยการสงั่ ให้ผูเ้ รียนเต้นตามคำสั่ง เชน่ มารช์ ขวา มาร์ชซ้าย ขยับซา้ ยขวา ขยับขวาซ้าย มาร์ชขวา 2 รอบ มารช์ ซา้ ย 2 รอบ มาร์ชซา้ ยและ มารช์ ขวา 2 รอบ 2. ผูเ้ รยี นเลือกเพลงที่ชอบ หลังจากนน้ั ศกึ ษาทา่ เต้นจากมวิ สคิ วดิ ีโอ แลว้ ทำใบกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง สอนเพื่อนเตน้ 3. ผูส้ อนให้ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ แลกเปล่ยี นอัลกอริทึมทา่ เตน้ จากใบกิจกรรมท่ี 1 แลว้ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ออกมาเต้นตามอลั กอริทึมท่ีได้รับจากเพื่อนกลุ่มอนื่ อาจให้ออกมาทลี ะ 2-5 กลุ่มพรอ้ มกันโดยใหก้ ลุ่มเจ้าของ อลั กอริทมึ สังเกตและตรวจสอบวา่ เพอื่ นเตน้ ไดต้ ามที่ออกแบบหรือไม่ ถ้าไม่ไดใ้ หป้ รบั แก้อลั กอริทึมจนกว่าเพ่ือน จะสามารถปฏิบัติตามไดถ้ กู ต้อง ผสู้ อนอาจเปิดเพลงเพื่อเปน็ การใหจ้ งั หวะผเู้ รียนระหว่างการเต้น 4. ผเู้ รียนและผูส้ อนร่วมกันสรุปสงิ่ ท่ีไดจ้ ากการทำกิจกรรม 5. ผู้สอนถามผูเ้ รียนว่ามวี ธิ กี ารเลือกเสื้อผา้ ในการแต่งตวั อย่างไร แลว้ มปี ญั หาหรือไม่ และทราบหรอื ไม่ วา่ แตล่ ะวันจะแตง่ ตัวอยา่ งไร 6. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนทำใบกิจกรรมท่ี 2 แต่งตัว โดยตวั อย่างข้อมลู ในตารางเปน็ ดังน้ี เสือ้ กางเกง/กระโปรง รองเท้า หมวก เสือ้ เชิ้ต เสื้อยืดคอกลม เส้ือกันหนาว เส้อื ยืดคอวี

7. ผสู้ อนสมุ่ ผเู้ รยี นออกมานำเสนอ วิธีการจากใบกจิ กรรมที่ 4 หน้าชั้นเรียน 8. ผ้เู รียนและผ้สู อนรว่ มกันสรปุ ส่งิ ทีไ่ ด้จากการทำกจิ กรรม 9. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบ 3. ขั้นสรปุ ผสู้ อนและผ้เู รียนรว่ มกันสรุป 9. สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งเรยี น 2. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 10. การวดั และประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารวัด 1. ดา้ นความรู้ - การสงั เกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมินผลงาน แบบฝึกหดั ได้ถกู ต้องตาม - การตรวจผลงาน หลกั การ 80% ขึ้นไป 2. ด้านทกั ษะ - การสังเกต - แบบสงั เกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏบิ ัติ - แบบประเมินผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคุณลักษณะอนั - แบบสังเกต 3. นักเรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ - การสังเกต - แบบประเมนิ ผลงาน พึงประสงคไ์ ด้ 85% ขน้ึ ไป - การตรวจผลงาน

ใบกิจกรรมท่ี 1 1. ศึกษาตวั อย่างที่ 1.7 เตน้ ตามจังหวะจากหนังสือเรียน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลอื กเพลงทีก่ ลุม่ ต้องการ แลว้ ศึกษาคลิปวดี โิ อทีม่ ีทา่ เตน้ ประกอบเพลงท่ีกลุ่มเลอื ก คือ.......................................................................................................................... ..................................................... 3. เลอื กท่าเต้นออกมาจากคลิปวิดโี อ อย่างนอ้ ย 3 ท่า แลว้ ตงั้ ช่ือ ทา่ เต้นท่ี 1 ช่ือ วธิ ีเตน้ ..................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ท่าเต้นที่ 2 ชื่อ วิธีเตน้ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ท่าเตน้ ที่ 3 ช่ือ วิธเี ต้น............................................................................................................................... ........................................... ....................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... 4. ออกแบบอัลกอริทมึ ให้เพ่ือนเต้นตาม โดยใชท้ า่ เต้นทุกท่าจากข้อ 3 มาประกอบกัน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................................. ... ............................................................................................................................. .......................................................

ใบกจิ กรรมท่ี 2 คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นปฏิบัติตาม แลว้ อภปิ รายภายในกลมุ่ พร้อมทัง้ เขียนคำตอบลงในช่องวา่ ง 1. ให้นกั เรยี นยกตัวอย่างเคร่ืองแตง่ กาย เช่น เสื้อ กางเกง/ กระโปรง หมวก รองเทา้ หรืออน่ื ๆ ทน่ี ักเรยี น มีหรือสมมติ โดยเขียนประเภทเครื่องแต่งกายทห่ี ัวตาราง แลว้ เขียนรายละเอยี ดลงในคอลมั น์ประเภทของหวั ตาราง ประเภทท่นี ักเรียน กำหนด รายละเอยี ด 2. เขยี นอลั กอริทึมในการเลือกเครื่องแตง่ กายเพื่อไปเทยี่ วกับเพื่อน ให้เข้ากบั สภาพอากาศทีอ่ าจมมอี ากาศ ร้อนหนาวหรือฝนตก ได้ดงั นี้ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนการสอน .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................ .......................................................................................................... .......... 2. ปญั หาและอุปสรรค ...................................................................................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................... ........................................... ....................................................................................... ................................................................................... .......... 3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงชอื่ ............................................................ ( นางสาวกลั ยรตั น์ ม่ันสัตย์ ) ตำแหน่ง ครผู ้สู อน ข้อเสนอแนะและความคดิ เห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ..................................................................................... ..................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ลงช่ือ............................................................ ( นายวศิ ิษฐ์ ศิรวิ ฒั พงศ์ ) ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ วิวรณ์สขุ วทิ ยา)

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 รายวิชา วิทยาการคำนวณ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 รายวิชา เพม่ิ เตมิ ช่ือหน่วยที่ 2 การแกป้ ัญหา ชอื่ แผน การแก้ปัญหาด้วยคอมพวิ เตอร์ สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ ม่นั สัตย์ เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สอนวนั ท่ี..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชีวติ จริงอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ ตวั ดำเนินการบูลนี เป็นตัวดำเนนิ การสำหรบั ตรวจสอบเง่อื นไข ตัวดำเนนิ การประเภทนีจ้ ะใช้กระทำกับตัว ถกู ดำเนนิ การที่เป็นนิพจนท์ างตรรกศาสตร์ หรือข้อมูลบลู ีน ตวั ดำเนินการประเภทน้ีได้แก่ AND OR และ NOT โดย NOT จะกระทำกบั ตวั ถกู ดำเนนิ การตวั เดียว สว่ นตวั ดำเนนิ การตัวอ่ืน ๆ จะกระทำกบั ตัวถูก ดำเนนิ การสองตวั การวนซำ้ ดว้ ยคำสงั่ while เหมาะกับการวนซ้ำทไ่ี ม่ทราบจำนวนรอบท่ีแน่นอน ใช้การ ตรวจสอบเงอื่ นไข ก่อนเรม่ิ ทำงานวนซ้ำไปจนกวา่ เง่อื นไขเป็นเทจ็ หรือยกเลกิ การวนซ้ำด้วยคำส่งั break การ เขยี นโปรแกรมท่ีมหี ลายทางเลอื กอาจใช้คำสงั่ if-else ซ้อนกนั (nested if) จนครบทางเลอื กทถ่ี กู ออกแบบไว้ นอกจากนใ้ี นภาษาไพทอนมีคำส่ัง if-elif-else ซึ่งจะชว่ ยใหส้ ะดวกขึน้ 3. ผลการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ นกั เรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธ์ิ ในการเผยแพรผ่ ลงาน ตัวชว้ี ัด ตวั ชวี้ ดั ที่ ม2/1 ออกแบบอลั กอรทิ ึมที่ใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การทำงานที่ พบในชีวติ จริง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บอกวธิ กี ารแก้ปัญหาอย่างเป็นข้ันตอนได้อย่างมนี ประสทิ ธิภาพ(K) 3.2 ออกแบบอัลกอริทึมเพ่ือการแก้ปัญหาโดยใช้ while และ if-elif-else (P) 3.3 เห็นคณุ คา่ ของการเรียนวิชาเทคโนโลยี และการตระหนกั ในคุณคา่ ของความรูท้ างวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีทใี่ ช้ในชีวิตประจำวัน(A) 5. สมรรถนะทีส่ ำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสื่อสาร

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. สาระการเรยี นรู้ 1. การออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่มกี ารใชต้ รรกะ 2. การแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นขนั้ ตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. ซอฟตแ์ วร์ทใี่ ชใ้ นการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch , Python , Java , C 7. ความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่นื ๆ /บรู ณาการ 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงที่ 9-10 1. ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น ผ้สู อนยกตวั อยา่ งสถานการณ์ปัญหาการคดิ ค่าโดยสารจากหนังสือเรียน แล้วใหผ้ ู้เรียนชว่ ยกนั ตงั้ คำถาม ยอ่ ยเพ่ือนำไปสูว่ ธิ กี ารในการหาคำตอบ หลงั จากน้ันให้ช่วยกันตอบคำถามยอ่ ยทผ่ี ู้เรยี นตงั้ ขน้ึ 2. ขน้ั สอน 1. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นศกึ ษาแนวทางการหาคำตอบจากปัญหาการคิดค่าโดยสารในหนังสือเรียนแลว้ ถาม ผู้เรียนว่ามีส่วนใดทม่ี ีการตัดสินใจและมีการใชต้ ัวดำเนินการทผ่ี ้เู รยี นไมร่ ู้จัก หลงั จากนัน้ เชอ่ื มโยงสู่การทำงานแบบ มที างเลอื กรูปแบบตา่ ง ๆ และยกตวั อย่างหากมีสถานการณ์ที่มีหลายเง่ือนไข ใหผ้ เู้ รียนลองคดิ อัลกอริทมึ ในการ ตรวจสอบเงือ่ นไขแล้วสมมติข้อมลู เข้าและบอกขอ้ มลู ออกหรือผลลัพธท์ ี่ได้ เชน่ สถานการณ์ ถา้ วันนฝี้ นตกและสัปดาหห์ น้ามกี ารสอบ จะอยบู่ า้ นอา่ นหนังสือ ไมเ่ ช่นน้นั จะรวมกลุ่มไปช่วย เกบ็ ขยะที่สถานทีท่ ่องเที่ยวใกลบ้ า้ น แนวคำตอบ ถา้ วันน้ีฝนตกและสัปดาห์หน้ามีการสอบ จะอยบู่ ้านอา่ นหนังสอื ไม่เช่นนั้นรวมกลุ่มเพ่ือไปช่วย เก็บขยะท่สี ถานที่ท่องเท่ียวใกล้บา้ น ข้อมลู เขา้ วนั นีฝ้ นไม่ตก และสปั ดาห์หนา้ ไมม่ กี ารสอบ ผลลพั ธท์ ไี่ ด้ รวมกลมุ่ เพ่อื ไปชว่ ยเก็บขยะทสี่ ถานทที่ ่องเที่ยวใกล้บา้ น สถานการณ์อ่ืน ๆ เช่น - ถ้ามีเงนิ มากกวา่ 100 บาท และมีขนมหวานท่ีชอบ จะซ้ือขา้ วแกงและขนมหวานไมเ่ ช่นนนั้ จะซอ้ื ข้าวแกงอย่างเดียว - ถ้าหอ่ ข้าวกับไข่เจยี วไปโรงเรียนและโรงอาหารมกี ๋วยเตยี๋ วขาย จะกนิ ขา้ วท่หี อ่ มาและซื้อเกาเหลาเพิ่ม แตถ่ า้ ไม่ไดห้ ่อข้าวมา จะซื้อข้าวผดั 2. ผูเ้ รียนศกึ ษาเน้ือหา หวั ขอ้ เรอื่ ง ตวั ดำเนนิ การบลู ินในหนังสอื เรียนและทดลองทำตวั อย่างท่ี 2.2 และ 2.3 สุม่ ผเู้ รียนตอบคำถามชวนคดิ แล้วให้ผ้เู รียนทำใบกิจกรรมท่ี 1 จรงิ หรือไม่ใช่หรือเปล่า หลังจากนั้น ผู้สอนสุม่ ผ้เู รียนนำเสนอคำตอบ 3. ผ้สู อนแบง่ ผเู้ รยี นเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน แลว้ ให้ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มทำใบกจิ กรรมท่ี 2 เรื่องลองคดิ จาก

สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 1 และสถานการณ์ที่ 2 4. ผูเ้ รียนแตล่ ะกล่มุ ผลดั กันตรวจโดยนำข้อมลู ทดสอบท่ีเตรยี มไว้ ทดสอบกบั โปรแกรมของเพ่อื นกล่มุ อน่ื หลังจากนน้ั ผ้สู อนสอบถามผลการตรวจสอบของทุกกลุ่ม แล้วใหผ้ ู้เรยี นนำเสนอสาเหตุและวิธแี กไ้ ขในกรณีท่ี โปรแกรมแสดงผลลัพธไ์ มถ่ กู ต้อง 5. ผู้สอนทบทวนคำสั่งวนซ้ำที่เคยเรยี นไปแล้ว ซ่ึงเป็นการวนซำ้ โดยระบุจำนวนรอบในการทำงานและ ถ้าผเู้ รยี นต้องการทำงานแบบวนซำ้ โดยไม่ต้องระบจุ ำนวนรอบจะทำอย่างไร ให้ผู้เรยี นยกตวั อยา่ งสถานการณใ์ น ชวี ิตประจำวนั ท่ีมกี ารทำงานแบบวนซำ้ ที่ไมส่ ามารถระบจุ ำนวนรอบได้ซงึ่ ขึน้ อยู่กบั สถานการณ์ เช่น ยืนรอทีป่ า้ ย รถจนกว่ารถประจำทางสายที่ตอ้ งการจะมาถงึ แลว้ ใหข้ ้นึ รถ หลังจากนน้ั ให้ผเู้ รียนศึกษาหัวขอ้ 2.3 การวนซำ้ ดว้ ย คำสง่ั while แลว้ ทดลองทำตามตัวอย่างที่ 2.4 จากหนงั สือเรียน 6. ให้ผู้เรียนทำใบกจิ กรรมที่ 2 สถานการณ์ท่ี 3 และสถานการณ์ที่ 4 แล้วผู้สอนสมุ่ ผู้เรียนนำเสนอ คำตอบและวิธีการแก้ปญั หา 3. ข้นั สรุป ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ 9. สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบกิจกรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. ห้องเรียน 2. ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ 10. การวัดและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การวดั 1. ด้านความรู้ - การสงั เกต - แบบสงั เกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบตั ิ - แบบประเมนิ ผลงาน แบบฝึกหดั ได้ถกู ต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขึน้ ไป 2. ดา้ นทักษะ - การสังเกต - แบบสังเกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏบิ ตั ิ - แบบประเมนิ ผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั - แบบสงั เกต 3. นกั เรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - การสังเกต - แบบประเมนิ ผลงาน พงึ ประสงค์ได้ 85% ขึ้นไป - การตรวจผลงาน

ใบกิจกรรมที่ 1 จรงิ หรอื ไม่ใชห่ รอื เปล่า ชือ่ -สกุล......................................................................................................................... .....เลขท่ี .............ห้อง.......... 1. ศึกษาเน้ือหาหวั ข้อ 2.2 เรอ่ื ง ตัวดำเนนิ การบลู นิ จากหนงั สอื เรยี น แล้วทดลองทำตามตวั อย่างท่ี 2.2 และ 2.3 2. ให้นกั เรียนพจิ ารณาโปรแกรมแตล่ ะข้อว่ามผี ลลัพธเ์ ป็นค่าใด แล้วเขยี นเครอื่ งหมาย / ลงในช่องทีถ่ ูกต้อง ขอ้ โปรแกรม ผลลัพธ์ จรงิ เท็จ 2.1 a=1 b=2 print(a==b) 2.2 a=1 b=2 print(a!=b) 2.3 a=2 b=2 print(a>=b) 2.4 a=2 b=2 print(a<=b) 2.5 a=3 b=5 c=7 print(a>b or c>b) 2.6 a=3 b=5 c=7 print(a>b and c>b) 2.7 a=3 b=5 c=7 print(a<b and c>b) 2.8 a=3 b=5 c=7 print(b<b and c>b or c>a)

ข้อ โปรแกรม ผลลพั ธ์ 2.9 จรงิ เทจ็ a=3 2.10 b=5 c=7 print(a<b and c>b and c==a) a=11 b=15 c=17 print(a<b and c>b and a!=b

ใบกิจกรรมที่ 2 สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ช่อื -สกุล...........................................เลขที่............2.ช่อื -สกลุ ............................................เลขท.่ี .......... 3. ช่ือ-สกุล...........................................เลขท่.ี ...........4.ชอื่ -สกลุ ............................................เลขที่........... พิจารณาสถานการณ์ตอ่ ไปน้ี แล้วดำเนนิ การเขียนโปรแกรมตามข้นั ตอนการแกป้ ัญหาสถานการณ์ท่ี 1 ถา้ ด.ช. บวิ ต้องการซื้อเมาส์ไรส้ าย แต่ถา้ ราคาแพงเกนิ กวา่ 100 บาทจะเลอื กซ้ือเมาสม์ ีสาย 1. การวเิ คราะหแ์ ละกำหนดรายละเอยี ดของปัญหา 1) ขอ้ มลู เข้า คือ...................................................................................................................... ................................... 2) ข้อมูลออก คือ...................................................................................................................................................... 3) วิธีการตรวจสอบความถูกตอ้ ง ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. การวางแผนการแกป้ ญั หา (รหสั ลำลองหรือผังงาน)

บันทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... 2. ปญั หาและอปุ สรรค .................................................................................................................................................... ................................ .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... 3. ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ........................................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... ................................................................................. .......... ลงชอ่ื ............................................................ ( นางสาวกลั ยรัตน์ ม่นั สตั ย์ ) ตำแหนง่ ครูผู้สอน ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของหวั หน้าสถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... ....................................................................... .......... ลงชื่อ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศิรวิ ัฒพงศ์ ) ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณ์สุขวทิ ยา)

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 รายวิชา วทิ ยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา เพมิ่ เตมิ ชอ่ื หน่วยท่ี 2 การแกป้ ญั หา ชือ่ แผน แกป้ ญั หาโดยใช้โปรแกรม Flowgorithm สอนโดย นางสาวกลั ยรตั น์ มน่ั สตั ย์ เวลาเรียน 2 ช่วั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สอนวันที่..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจรงิ อยา่ งเป็นขน้ั ตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม 2. สาระสำคัญ การออกแบบโปรแกรมท่ีมกี ารใชต้ ัวแปร เงอื่ นไข วนซ้ำ การออกแบบอลั กอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างงา่ ย อาจใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบเพื่อให้การแกไ้ ขปัญหามี ประสทิ ธภิ าพ การแก้ปญั หาอยา่ งเป็นขัน้ ตอนจะช่วยให้แก้ปญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ซอฟแวร์ทีใ่ ช้ในการเขยี น โปรแกรมเช่นScratch,code.org, microbit, blockly, python, java และ c เขยี นโปรแกรมทางเลือกและคำสง่ั วนซำ้ ตวั อย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมสมาการเคลื่อนที่ โปรแกรมคำนวณหาพื้นที่ โปรแกรม 3. ผลการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั ผลการเรยี นรู้ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธ์ิ ในการเผยแพรผ่ ลงาน ตัวช้ีวดั ตัวชีว้ ัดที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอรทิ ึมทใ่ี ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานท่ี พบในชวี ติ จริง 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการออกแบบ อัลกอรึทึม(K) 3.2 มีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั โปรแกรม Flowgorithm(K) 3.3 สามารถเขยี นผงั งาน (flowchart) โดยใช้โปรแกรม Flowgorithm ได้(P) 3.4 เห็นคุณค่าของการเรียนวชิ าเทคโนโลยี และการตระหนักในคณุ ค่าของความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยที ใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวัน(A) 5. สมรรถนะทส่ี ำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสื่อสาร

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. สาระการเรียนรู้ 1. การออกแบบและเขียนโปรแกรม Flowgorithm 2. การแก้ปญั หาอยา่ งเป็นข้นั ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 3. ซอฟต์แวรท์ ่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรม เชน่ Flowgorithm 7. ความสัมพนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ นื่ ๆ /บูรณาการ 1. กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 11-12 1. ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรียน ครผู ู้สอนนำเข้าสู่บทเรียนโดยใชค้ ำถามดังตอ่ ไปนีว้ ่า “มีใครตอบไดว้ า่ อลั กอรึทึม คืออะไร?” ตัวอยา่ ง คำตอบ : กระบวนการแก้ปญั หาที่อธบิ ายเปน็ ขน้ั ตอน 2. ขน้ั สอน 1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเกี่ยวกบั การออกแบบอัลกอรึทมึ เร่ือง อัลกอรทึ ึม 2. ครูผูส้ อนสอนวธิ กี ารใหน้ ักเรียนลงโปรแกรม Flowgorithm ดังนี้ ให้นักเรียน Download โปรแกรมท่ี http://www.flowgorithm.org/download/ 3. ทำการตดิ ต้ังโปรแกรมโดยดับเบ้ิลคลิปที่ setup.exe

4. กดปุม่ Next ตามภาพ พอติดต้งั สาเร็จให้กดปมุ่ Close 5. ครูผสู้ อนอธิบายวิธกี ารใชง้ านโปรแกรม Flowgorithm 6. หน้าจอโปรแกรม Flowgorithm เริ่มต้นจะสรา้ งจดุ Main และ End ให้โดยอัตโนมตั ิ 7. ครผู ู้สอนให้นักเรยี นทดสอบการเขยี นผงั งาน โปรแกรมหาผลบวกของตัวเลขสองจำนวนเร่มิ คลกิ ที่ ปลายลกู ศรสีแดง จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ

8. สรา้ ง Declare แล้วทาการดับเบิล้ คลกิ ท่ีกล่อง Declare จะปรากฏหน้าตา่ งตามภาพ ให้ใส่คา่ a ใน ชอ่ ง Variable Names เลอื ก Type เป็น Integer (ตวั เลขจานวนเตม็ ) ครผู ู้สอน *อธบิ ายเพิม่ ชนดิ ของขอ้ มูล (Type) Integer = จานวนเต็ม (ตวั อยา่ ง 0, 1, 2, 3) Real = จานวนจริง (ตวั อย่าง 0.1, 5.2, 6.3, 5.5) String = อกั ขระ (ตวั อย่าง ช่ือ นามสกุล ท่ีอยู่) Boolean = จริง เท็จ 9. ครูผู้สอนใหน้ ักเรียนสร้างกล่อง Declare เพ่ิม โดยกาหนดเปน็ คา่ b และ result ตามภาพ

10. สรา้ ง Input เพื่อรบั ค่า a และ b จากผ้ใู ช้ 11. สร้าง Assign เพ่ือคานวณ โดยช่อง Variable ให้กรอก result ช่อง Expression ใหก้ รอก a + b 12. สร้าง Output เพอื่ แสดงการคานวณ โดยใช้ Code ดังนี้ \"ผลบวกของตัวเลข \"& a &\" และ \"& b &\" คือ \"& result

13. ทำกำรรนั โปรแกรมโดยกดป่ มุ ท่แี ถบเมนู และทดสอบกำรกรอกขอ้ มลู และแสดงผลลพั ธ์ 10. ใหผ้ เู้ รียนทำใบกิจกรรม เร่ือง การออกแบบอลั กอรึทึม โดยการเขยี นผงั งานแล้วผ้สู อนสมุ่ ผูเ้ รยี น นำเสนอคำตอบและวธิ กี ารแก้ปัญหา 3. ข้นั สรุป ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุป 9. ส่อื และแหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน 2. ใบกจิ กรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งเรยี น 2. ห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์ 10. การวัดและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวดั ผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารวดั 1. ดา้ นความรู้ - การสงั เกต - แบบสังเกต 1. สามารถตอบคำถามใน - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมนิ ผลงาน แบบฝึกหัดได้ถกู ต้องตาม - การตรวจผลงาน หลักการ 80% ขน้ึ ไป 2. ดา้ นทักษะ - การสงั เกต - แบบสังเกต 2. สามารถตอบคำถามในใบ กระบวนการ - การทดสอบปฏิบัติ - แบบประเมนิ ผลงาน งานได้ 80% - การตรวจผลงาน 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอัน - แบบสังเกต 3. นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ - การสังเกต - แบบประเมนิ ผลงาน พงึ ประสงค์ได้ 85% ข้นึ ไป - การตรวจผลงาน

ใบกิจกรรมเรอื่ ง อลั กอรทิ ึม จงออกแบบอัลกอริทมึ โดยการเขียนผงั งาน (flowchart) ดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมตัดเกรด โดยใหผ้ ู้ใช้กรอกข้อมลู คะแนนรวมท่ีได้ แล้วให้ระบบตรวจสอบว่า ถ้า คะแนนมากกวา่ 80 ได้ เกรด 4 เป็นต้น 2. โปรแกรมคานวณหาพืน้ ท่สี ามเหลีย่ ม โดยใหผ้ ู้ใชก้ รอกข้อมลู ตามสูตรของการหาพื้นที่ แล้วแสดงผลลัพธ์

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน 1. ผลการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ....................................................... ........................................................................... ............................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................... ........... 2. ปัญหาและอปุ สรรค .................................................................................................. ........................................................................ .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................... ....................................................................................................... .......... 3. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ................................................................................................................ .......................................................... .......... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................... ................................................. ................................................................................. ......................................................................................... .......... ลงช่ือ............................................................ ( นางสาวกัลยรตั น์ มั่นสัตย์ ) ตำแหน่ง ครูผูส้ อน ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของหวั หนา้ สถานศึกษา ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................... ....................................................................................................... .......... ลงชอื่ ............................................................ ( นายวศิ ษิ ฐ์ ศิรวิ ฒั พงศ์ ) ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลเมืองนครสวรรค์ ( เขากบ ววิ รณส์ ุขวทิ ยา)

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 7 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว22201 ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 รายวิชา เพ่ิมเตมิ ชือ่ หน่วยที่ 2 การแกป้ ัญหา ช่อื แผน การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม สอนโดย นางสาวกัลยรตั น์ ม่นั สัตย์ เวลาเรยี น 2 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 สอนวันท่ี..........เดือน............พ.ศ.2564 ............................................................................................................................. ....................................................... 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวติ จริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม 2. สาระสำคญั การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรมหรือการออกแบบอลั กอรทิ มึ เป็นการออกแบบลำดับ ข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม ซึ่งสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะ คือ การใชภ้ าษาธรรมชาติ การใช้รหัส จำลอง และการใช้ผังงาน 3. ผลการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ผลการเรียนรู้ นกั เรยี นสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั มีความรบั ผดิ ชอบ สร้างและแสดงสทิ ธ์ิ ในการเผยแพร่ผลงาน ตัวชีว้ ัด ตวั ชว้ี ดั ที่ ม2/1 ออกแบบอัลกอรทิ มึ ท่ีใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การทำงานที่ พบในชวี ิตจรงิ 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของการออกแบบข้ันตอนการทำงานแต่ละแบบได้ถูกต้อง (K) 2. ออกแบบขน้ั ตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาตไิ ดถ้ ูกตอ้ ง (P) 3. ออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชร้ หสั จำลองไดถ้ ูกต้อง (P) 4. ออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใช้ผงั งานได้ถูกต้อง (P) 5. สนใจใฝเ่ รียนรูใ้ นการศกึ ษาและนำไปใชใ้ นชีวติ ได้ (A) 5. สมรรถนะทสี่ ำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการสอื่ สาร 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. สาระการเรียนรู้ 1. การออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีมีการใชต้ รรกะ 2. การแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 3. ซอฟต์แวรท์ ่ีใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เช่น Scratch , Python , Java , C 4. การออกแบบอัลกอรทิ ึม เพ่อื แก้ปัญหาอาจใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการออกแบบ เพ่ือให้การ แกป้ ญั หามีประสิทธิภาพ 7. ความสัมพันธ์กบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ /บรู ณาการ 1. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 2. การใช้ DLIT 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี 13-14 1. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การออกแบบข้ันตอนการทำงาน และการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา Python เพ่ือวัดความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นกอ่ นเข้าส่กู ิจกรรม 2. ครถู ามคำถามประจำหวั ข้อวา่ “นกั เรียนคดิ ว่าการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม มคี วามสำคัญอยา่ งไรต่อการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์” (แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขนึ้ อยกู่ บั ดุลยพนิ จิ ของ ครผู สู้ อน เชน่ ทำใหส้ ามารถเขยี นโปรแกรมได้ง่ายข้นึ ลดความผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้ึนจากการ เขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์) 2. ข้ันสอน 1. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อคน้ หาลกั ษณะของการออกแบบขัน้ ตอนการทำงานของ โปรแกรมจากอนิ เทอรเ์ น็ตที่เครอื่ งคอมพิวเตอร์ของตนเอง 2. จากนน้ั ครูให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มมานำเสนอเกีย่ วกบั ลักษณะของการออกแบบขัน้ ตอน การทำงานของโปรแกรม พร้อมอภิปรายรว่ มกันในห้องเรียน 3. นักเรียนศึกษาและสงั เกตการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมท้ัง 3 ลักษณะ 4. ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ เพื่อให้นกั เรียนเขา้ ใจเพิ่มขนึ้ ว่า“การออกแบบลำดบั ขน้ั ตอนการทำงาน ของโปรแกรม สามารถแบง่ ได้เปน็ 3 ลักษณะ คือ 1) การออกแบบลำดับข้ันตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาติ เป็นการบรรยาย ขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้ภาษามนษุ ย์ทเี่ ขา้ ใจง่าย เพอื่ อธบิ ายลำดับ ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดับการทำงานกอ่ นหลงั 2) การออกแบบลำดบั ข้ันตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง เป็นรูปแบบภาษาท่ีมี โครงสรา้ งท่ชี ดั เจนและกระชับ เพ่ือใช้อธบิ ายข้นั ตอนการทำงานของโปรแกรม 3) การออกแบบลำดบั ขน้ั ตอนการทำงานโดยใช้ผังงาน เป็นการใช้แผนภาพ สัญลกั ษณเ์ พอื่ แสดงลำดับขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม”

5. ครยู กตัวอย่างการออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใช้ภาษาธรรมชาตติ ามหนงั สือเรียนเพื่ออธิบายลำดับ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมตามลำดบั การทำงานก่อน-หลงั จากตัวอย่างต้องการคำนวณหาพ้นื ทขี่ องรปู สี่เหลีย่ มผืนผา้ มขี นั้ ตอนการทำงานดังนี้ ขน้ั ตอนท่ี 1 เริม่ การทำงาน ขน้ั ตอนที่ 2 นำเขา้ ข้อมลู ความกว้างของรูปสเี่ หลยี่ ม ขน้ั ตอนที่ 3 นำเขา้ ขอ้ มูลความยาวของรูปส่เี หลย่ี ม ข้นั ตอนท่ี 4 คำนวณพน้ื ท่รี ปู ส่ีเหลี่ยม = ความกว้าง x ความยาว ข้นั ตอนท่ี 5 แสดงผลพืน้ ทีข่ องรปู สเี่ หล่ยี ม ข้ันตอนท่ี 6 จบการทำงาน 6. ครยู กตวั อยา่ งการออกแบบขนั้ ตอนการทำงานโดยใชร้ หสั จำลองตามหนังสือเรียนเพื่ออธิบาย ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ จากตวั อย่างต้องการคำนวณ หาพ้ืนท่ขี องรปู ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า สามารถเขยี นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ไดด้ งั น้ี START INPUT width INPUT length COMPUTE area = width * length OUTPUT area STOP 1. ครยู กตัวอยา่ งการออกแบบข้ันตอนการทำงานโดยใช้ผังงานตามหนงั สือเรียน เพือ่ แสดงลำดบั ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใชแ้ ผนภาพสัญลักษณ์ จากตัวอย่างต้องการคำนวณหา พืน้ ที่ของรปู ส่เี หลีย่ มผนื ผ้า มีข้นั ตอนการทำงานดงั นี้

START width length area = width * length area STOP 8. นกั เรยี นทำใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานโดยใชภ้ าษาธรรมชาติ 9. นักเรียนทำใบกจิ กรรมที่ 2 เรือ่ ง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช้รหัสจำลอง 10. นกั เรยี นทำใบกิจกรรมท่ี 3 เร่อื ง การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใชผ้ ังงาน 3. ขั้นสรุป นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปเก่ียวกับการออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมว่า“การออกแบบ ขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรมเปน็ การออกแบบลำดบั ข้นั ตอนก่อนนำไปเขยี น โปรแกรมจรงิ สง่ ผลให้การเขยี น โปรแกรมทำไดง้ า่ ยขน้ึ และเกิดขอ้ ผดิ พลาดน้อยเนื่องจาก เป็นการเขยี นอยา่ งเปน็ ลำดบั ขั้นตอนการทำงานตาม โปรแกรมการทำงานก่อน – หลงั ” 9. สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบกจิ กรรม 3. PowerPoint 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1. หอ้ งเรียน 2. ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook