๑ ตอนท่ี ๑ บทนํา - ขอ้ มลู และสภาพทวั่ ไป โรงเรยี นบ้านจะคือ ตาํ บลหว้ ยชมภู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต ๑ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒ ๑. ขอ้ มูลทั่วไป ช่ือโรงเรียนบ้านจะคือ ที่ตั้ง ๔๑๙ ตําบลห้วยชมภู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ สังกัด สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงรายเขต ๑ โทร ๐๕๓-๑๖๐๑๖๘ โทรสาร…......-.…… E-mail : jakueschool@hotmailcom website : http//www.jkschool.ac.th, http//www.Facebook .com/jakueschool เปิดสอนระดับช้ันอนุบาล ๑ ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ มีเน้ือท่ี ๑๓ ไร่ ๑ ตารางวา เขตพน้ื ทบี่ ริการ ๕ หยอ่ มบ้าน ไดแ้ ก่ หย่อมบา้ นจะคอื , หย่อมบ้านจะแคะ, หยอ่ มบ้านหว้ ยริน, หย่อมบา้ นไอม่ ู ประวตั โิ รงเรียนบา้ นจะคอื โรงเรียนบ้านจะคือ ตั้งอยู่หมู่ท่ี ๑๐ ตําบลห้วยชมภู อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย เปิดทําการสอน เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยศูนย์พัฒนาสงเคราะห์ชาวเขา ต่อมาวันท่ี ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๙ โอนมาสังกัด ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและต่อมาโอนมาเป็นโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษา แห่งชาติ โดยเป็นโรงเรียนสาขา เรียกว่า โรงเรียนบ้านห้วยชมภู สาขาบ้านจะคือ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ .ศ . ๒ ๕ ๓ ๐ สํ านั ก งาน ก ารป ระถ ม ศึ กษ าจังห วัดเชียงราย ได้จัดตั้ งให้ เป็ น โรงเรียน เอกเท ศ เม่ือวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๒ ตามประกาศ สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย ลงวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๒ ปัจจุบนั เปน็ โรงเรียนท่ีอยใู่ นเขตพื้นท่ีพิเศษเป็นโรงเรยี นกนั ดารตามประกาศของ กระทรวงการคลังอยู่ห่างจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาการประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ ประมาณ ๑๐๔ กิโลเมตร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาการะประถมศึกษาเชียงราย เขต ๑ สํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ การคมนาคม สามารถตดิ ตอ่ ได้ ๒ ทางคอื ๑. เดินทางไปทางเรือโดยข้ึนไปตามลําน้ํากก ระยะทางประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ ๓ ชงั่ โมง ค่าโดยสาร ๑๔๐ บาท/คน ๒. เดินทางโดยรถยนต์ไปทางทิศเหนอื ตามทางหลวงหมายเลข ๑ ถึงอาํ เภอแมจ่ ันเลยี้ วซา้ ยไปตาม ถนนแม่จัน – แม่อาย ถึงโรงเรียนบ้านห้วยศาลา ตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ เล้ียวซ้ายไป ประมาณ ๖ กิโลเมตร ถึงบ้านแม่สลัก จากน้ันเลี้ยวซ้ายไปตามถนนลูกรังเลียบลําน้ํากกประมาณ ๙ กิโลเมตร ถึงโรงเรยี นบ้านจะคอื ระยะทางรวม ๙๘ กิโลเมตร ใชเ้ วลาเดินทางประมาณ ๒ ช่วั โมงครง่ึ ๒. ขอ้ มูลดา้ นการบรหิ าร ๒.๑ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรียน นายธนากร ดอนแก้ว โทรศัพท์ 085-7216502 วุฒิการศึกษาสูงสุด : การศึกษา มหาบณั ฑิต กศ.ม. สาขาวิชา : การบริหารการศกึ ษา ดํารงตาํ แหนง่ ผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านจะคือ ต้ังแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2562 จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ เวลา 1 เดอื น รวมเวลารบั ราชการทงั้ ส้นิ 8 ปี ๒.๒ รกั ษาราชการแทนผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น ๑) ชื่อ – สกุล นางพิชญาภา ธรรมบัณฑิต การศึกษาสูงสุด ศษ.ม. การบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ ๐๘๔-4989๐54 e-mail [email protected] ๒) ช่ือ – สกุล นายณรงค์เดช หัตถกอง การศึกษาสูงสุด วศ.ม. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ๐88-4366719 e-mail [email protected]
๓ ๒.3 ระบบโครงสร้างการบริหาร ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี นบา้ นจะคอื งานวิชาการ งานบคุ คล ฝา่ ยงบประมาณและแผน บรหิ ารงานทัว่ ไป นางสาวรณุ ฑกิ า บวั ศรี ผอู้ าํ นวยการโรงเรยี น นางสาวจนั ทวิ า เตจะ๊ นางพิชญาภา ธรรมบณั ฑติ ๓. ข้อมลู นักเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕62 ๑) จํานวนนกั เรยี นในเขตพ้นื ทบ่ี ริการท้งั หมด 2๓๐ คน ๒) จาํ นวนนกั เรยี นทง้ั สน้ิ ……210………คน จําแนกตามระดับชั้นท่เี ปิดสอนดงั นี้ ระดบั ชนั้ จาํ นวนหอ้ ง เพศ รวม ชาย หญงิ อนบุ าล 1 1 ๑1 14 25 อนบุ าล 2 1 ๑3 ๑0 ๒3 2 ๒4 ๒4 48 รวมอนบุ าล 1 ๑7 18 35 ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1 76 13 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1 ๑1 11 22 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 1 ๑7 4 ๒1 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 1 12 8 20 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 1 4 11 ๑5 ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 6 68 ๕8 1๒6 1 ๖๖ ๑๒ รวมประถมศกึ ษา 1 ๖5 ๑1 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 1 58 ๑3 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 3 17 19 36 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 11 ๑09 ๑๐1 ๒๑0 รวมมัธยมศกึ ษาตอนต้น รวม
๔ ๓) จํานวนนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษาหรือสํานักงานกองทุน สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.)………๑88………คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……๘๙.๕2……. ๔) จาํ นวนนักเรียนทีม่ ีนา้ํ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑข์ องกรมอนามัย....๑65…คน คิดเป็นรอ้ ยละ……๗8.๕7… ๕) จํานวนนกั เรยี นท่มี ีความบกพร่องเรียนรว่ ม……๑๘……...คน คิดเปน็ ร้อยละ……8.57…..…... ๖) จํานวนนักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ…………๒๐……...………คน คดิ เป็นร้อยละ…๙.52…... ๗) จาํ นวนนักเรียนปญั ญาเลศิ ……………….……-………………..…คน คดิ เป็นร้อยละ….-….. ๘) จํานวนนกั เรียนต้องการความช่วยเหลอื เป็นพเิ ศษ....๕...คน คดิ เป็นร้อยละ.....๒.๓8...... ๙) จํานวนนกั เรยี นที่ลาออกกลางคนั (ปจั จุบนั ).......-......คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..... - ...... ๑๐) สถิติการขาดเรยี น ………๒๓…….คน คิดเปน็ ร้อยละ…๑๐.95….. ๑๑) จาํ นวนนกั เรยี นทีเ่ รยี นซํา้ ชัน้ ........26....... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…12.38….. ๑๒) จํานวนนักเรยี นท่จี บหลกั สูตร อ.๒ ( อ.๓ – สช .) จํานวน.........๒3...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……๑๐๐..... ป.๖ จํานวน.........๑5..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ…….100… ม.๓ จํานวน.......13....คน คิดเป็นรอ้ ยละ....100... ม.๖ จํานวน........-........คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……-.... ๑๓) อตั ราส่วนครู : นักเรยี น = ๑ : ๒๙.๙๖ ๑๔) จํานวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดีและนันทนาการ ..๑85…..คน คิดเปน็ ร้อยละ ……๑๐๐…….. ๑๕) จํานวนนกั เรยี นที่มคี ณุ ลักษณะเปน็ ลกู ที่ดขี องพอ่ แม่ ผู้ปกครอง…… ๑85 …..คน คดิ เป็นรอ้ ยละ … ๑๐๐... ๑๖) จาํ นวนนกั เรยี นที่มีคณุ ลกั ษณะเป็นนักเรยี นทด่ี ีของโรงเรยี น...๑78….คน คดิ เปน็ ร้อยละ....๘๔.๗6..... ๑๗) จํานวนนักเรียนท่ีทํากิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมท้ังในและนอกประเทศ…๑85…….. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ……๑๐๐…….. ๑๘) จํานวนนักเรียนท่ีมีบันทึกการเรียนรู้จากการอ่านและการสืบค้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง สมํ่าเสมอ …...๑68……….. คน คดิ เป็นร้อยละ ……80.00…….. ๑๙) จํานวนนักเรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถด้านการคิดตามที่กําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา …...๑๘0……..คน คดิ เป็นรอ้ ยละ …… ๘5.71…….. ๒๐) จํานวนนักเรียนท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมตามที่กําหนด ในหลักสตู รสถานศกึ ษา …...…๑80………..คน คดิ เปน็ ร้อยละ ……๘5.71……..
๕ ๔. ขอ้ มูลครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๔.๑ ครปู ระจาํ การ ที่ ชือ่ – ช่อื สกลุ อายุ อายุ ตาํ แหน่ง วิชา เอก สอนวิชา/ช้นั จํานวน (ปี) ราชการ /วทิ ย วฒุ ิ - ครงั้ / ฐานะ ชว่ั โมงท่ี - อนุบาล ๑ รบั การ ๑ นายธนากร ดอนแก้ว 34 8 ปี ผอ. ศศ.บ. -รัฐศาสตร์ พฒั นา/ ป.บณั ฑิต -วชิ าชพี ครู ปี ๒ นางพิชญาภา ๓8 ๑1 ปี กศ.ม. -การบรหิ าร ๗ คร้งั การศกึ ษา 4๐ ชม. ธรรมบณั ฑิต ๒ เดือน ครู คศ.๒ ค.บ. -ปฐมวัย ๔ ครง้ั ชาํ นาญ ศษ.ม. -การบรหิ าร ๘๐ ชม. การ การศกึ ษา ๓ นางสาวจนั ทิวา เตจะ๊ ๓8 4 ปี ครู วทบ. -สถติ ิ - คณิตศาสตร์ ๕ ครง้ั 2 เดอื น ค.ศ.๑ ๔ ปี ประยกุ ต์ ป.๔-๖ ๑๐๐ ชม. ๔ นายศรายทุ ธ 38 4 ปี ครู คบ. -พลศึกษา - ๘ กล่มุ สาระ 1 ครง้ั ค.ศ.๑ 4 ปี การเรียนรู้ ๑๒๐ วิภาวัฒนกิจ 2 เดอื น ชม. ๕ นางสาวกงิ่ กาญจน์ ๓6 3 ปี ครู วทบ. -เกษตรศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ป.๔ 5 ครั้ง ๔ เดอื น ค.ศ.๑ ศษ.บ. -การแนะแนว - วทิ ยาศาสตร์ ประสม ป.บณั ฑิต -วชิ าชพี ครู ม.1,ม.2,ม.3 10๐ ชม. ๖ นางสาวรณุ ฑิกา บัวศรี ๓5 6 ปี ครู ศศ.บ. -ภาษาองั กฤษ - ภาษาอังกฤษ ๗ ครัง้ ๑๐ เดือน ค.ศ.๑ ป.บณั ฑิต ธรุ กิจ ๑๒๐ -วิชาชีพครู ป.๔ – ม.๓ ชม. ๗ นางสาวอนภุ า ๓2 2 ปี ครู วทบ. -เคมี ช่วยราชการ - จนั ไชยยศ ๘ เดือน ค.ศ.1 ป.บัณฑติ -วิชาชีพครู ๘ นายณรงคเ์ ดช ๓6 2 ปี ครู วศบ. -วศิ วกรรม - วทิ ยาการ ๔ คร้งั ๕ เดือน ค.ศ.1 วศ.ม. คอมพิวเตอร์ คาํ นวณ หตั ถกอง -วศิ วกรรม - วชิ าคอมพวิ เตอร์ 9๐ ชม. คอมพวิ เตอร์
๖ จํานวน ที่ ช่ือ – ชอ่ื สกลุ อายุ อายุ ตําแหน่ง วฒุ ิ วิชา เอก สอนวชิ า/ช้นั ครัง้ / (ปี) ราชการ /วทิ ย ช่วั โมงที่ ฐานะ รบั การ พฒั นา/ ปี ๙ นายจํารัศ เขอ่ื นเพชร ๓6 2 ปี ครู วท.บ. - เทคโนโลยี - งานช่าง ๔ ครง้ั ๑ เดอื น ค.ศ.1 และอุตสา- กอท. 9๐ ชม. หกรรม ป.๔ – ม.๓ ๑๐ นายปัณณทตั คําวงั 40 1 ปี ครูผูช้ ่วย ค.บ. - คณิตศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ๔ ครงั้ ๑0 เดอื น ม. 1-3 ๖๐ ชม. ๑1 นางสาวนารนิ กณุ ะ 30 1 ปี ครูผู้ช่วย ศศ.บ. - ภาษาไทย - ภาษาไทย ๔ ครั้ง ๑0 เดอื น ป.๔ – ม.๓ ๖๐ ชม. ๑2 นางสาวสวุ ารี 25 5 เดือน ครูผชู้ ว่ ย ศษ.บ. - การ - ประจําช้นั 1 ครง้ั ประถมศึกษา ป.3 ชมุ ภูงาม 5 ชม. ๑3 นางสาวพฒั นาวดี 25 5 เดอื น ครผู ูช้ ่วย ศษ.บ. - การ - ประจาํ ช้นั 1 ครัง้ ประถมศึกษา ป.2 5 ชม. พงศน์ ริ ันดร์ ๑4 นางสาวจริ าภรณ์ มีตอ่ 26 4 เดือน ครูผู้ชว่ ย ค.บ. - ภาษาไทย - ประจาํ ช้ัน ป.1 1 คร้งั - ภาษาไทย 5 ชม. ๑5 นายสรุ ยิ ฉตั ร รตั นะ 33 4 เดือน ครผู ชู้ ่วย ศ.ม. -ภาษาอังกฤษ - สงั คม 1 ครั้ง บ.ธ.บ. -บริหารธุรกิจ 5 ชม. จาํ นวนครูที่สอนวชิ าตรงเอก ..............๑5................. คน คดิ เป็นร้อยละ ......๑๐๐......... จํานวนครทู ีส่ อนตรงความถนดั ..........๑๓................ คน คิดเปน็ ร้อยละ ......๘๕.๗๑...... ๔.๒ พนกั งานราชการ ท่ี ช่อื – ชื่อสกลุ อายุ ประสบ วฒุ ิ วิชา สอนวิชา/ชนั้ จา้ งด้วยเงนิ (ป)ี การณก์ าร เอก สอน (ปี) ๑ นายสทิ ธโิ ชค 40 20 ปี บธ.บ. การ กอท. ป. ๕-ม. ๓ สพป.ชร.๑ ผดุงสรุ ิยะ จัดการ เกษตรเพิ่มเติม ท่ัวไป ป. ๔ -ป. ๖ ม. ๑-๓ ๒ นายกรรณชนชยั ๓3 7 ปี บธ.บ. คอมพวิ คอมพวิ เตอร์ สพป.ชร.๑ ใจชุ่ม ๑๐ เดอื น เตอร์ ป.๔ – ป.๖ ธุรกจิ ประวตั ิศาสตร์ ป.๔ – ป.๖
๗ ๔.๓ เจา้ หนา้ ทธี่ รุ การโรงเรยี น ท่ี ช่อื – ชือ่ สกลุ อายุ ประสบ วฒุ ิ วชิ า เอก จ้างดว้ ยเงนิ (ปี) การณก์ าร สอน (ป)ี ๑ นางสาวปุณชรัสมิ์ สรณศ์ ิริโชติ 29 - รป.บ. รฐั ประศาสนศาสตร์ สพป.ชร.๑ ๕. สภาพชุมชนโดยรวม ๕.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะเป็นชุมชนเผ่าลาหู่ อยู่ในพื้นท่ีทุรกันดารมีประชากร ประมาณ ๑,๑๒๕ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัด, ศูนย์วัฒนธรรมลาหู่, ศูนย์พิธีกรรมลาหู่ (หอแหย)่ , รา้ นค้า อาชีพหลักของชุมชน คือ ทําไร่ เนื่องจาก ไม่มีความรู้ในการประกอบอาชีพอย่างอื่นและเป็นอาชีพที่ สบื ต่อกันมาช้านาน ศาสนาและประเพณีวัฒนธรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่รู้จัก โดยท่วั ไป คือ ประเพณกี นิ ขา้ วใหม,่ ประเพณกี นิ วอ ๕.๒ ผ้ปู กครองส่วนใหญ่ ไมจ่ บการศึกษา - อาชพี หลักคอื ทาํ ไร่ คดิ เป็นร้อยละ ๙๕ - ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนา พุทธ คิดเปน็ ร้อยละ ๙๘ - ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลยี่ ตอ่ ครอบครัว ตอ่ ปี ๑๐,๐๐๐ บาท ๕.๓ โอกาสและขอ้ จาํ กดั ของโรงเรยี น โอกาส ชุมชนโดยรอบโรงเรียนเป็นชนเผ่าลาหู่ มีประเพณีและวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง เป็นท่ีสนใจของนักท่องเท่ียว มีวัดและศูนย์วัฒนธรรมลาหู่ อยู่ใกล้โรงเรียน เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสําคัญของ นักเรียน นอกจากนี้ยังมีแหล่งเรียนรู้ทางด้านธรรมชาติ ได้แก่ แม่น้ํากก ลําห้วย ป่าไผ่ น้ําตก โรงเรียนและ ชุมชนมีระบบไฟฟ้าส่วนภูมิภาคในการดําเนินชีวิตทําให้ได้เปิดโลกทัศน์ในการศึกษาหาความรู้และทันต่อโลก เหตกุ ารณ์ปจั จุบนั โดยศึกษาจากโทรทัศน์ วิทยุ อนิ เตอรเ์ นต็ ฯลฯ ข้อจํากัด โรงเรียนต้ังอยู่ในเขตทุรกันดาร เป็นชนเผ่าจะมีปัญหาเร่ืองการติดต่อส่ือสารทั้งเด็กเล็กและ ตวั ผู้ปกครอง มีอปุ สรรคในเร่ืองของการเดินทางท่ีไกลและยากลําบาก ถ้ามีเด็กไม่สบายหรือไดร้ ับอุบัติเหตุต้อง ใช้เวลามากในการเดินทางไปสถานพยาบาล และข้อจํากัดทางด้านสาธารณูปโภค ได้แก่ น้ํา มีการใช้ระบบ ประปาภูเขา มปี ัญหาทางดา้ นความสะอาดและไม่พอเพยี งในฤดแู ลง้ ส่งผลต่อสุขอนามัยของครูและนกั เรียน นอกจากนี้ยังมีข้อจํากัดในด้านส่ือท่ีไม่มีความหลากหลายและไม่เพียงพอต่อจํานวนนักเรียน ความรู้ พื้นฐานของการเรียนคอมพิวเตอร์ ระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สายในการสืบค้นข้อมูลท่ีมีความล่าช้า นอกจากน้ีการเอาใจดูแลในเร่ืองการเรียนของนักเรียน เนื่องจากสภาพชุมชนที่เป็นชนเผ่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่ ไมร่ ู้หนังสือ ประกอบอาชพี ทําไร่บางครั้งตอ้ งไปนอนที่ไร่ การสื่อสารติดต่อกบั ผปู้ กครองเปน็ ไปดว้ ยความลําบาก
๘ เด็กอยู่บ้านตามลําพัง หรือจะต้องไปช่วยผู้ปกครองทํางานที่ไร่ ผู้ปกครองมีส่วนรับรู้ในเร่ืองการเรียนของ นักเรียนน้อย ทาํ ใหน้ กั เรยี นขาดการทบทวนความรทู้ ่บี ้าน สง่ ผลใหเ้ ดก็ ขาดทักษะการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ๖. โครงสร้างหลกั สตู ร โรงเรยี นบ้านจะคอื จดั การศกึ ษาตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านจะคือ หลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มโี ครงสร้างหลกั สตู ร ดงั นี้ โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 (เวลาเรยี น / ชั่วโมง/สัปดาห์) กล่มุ สาระ ชว่ งชั้นที่ ๑ ช่วงชน้ั ที่ ๒ ชว่ งช้ันที่ ๓ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑. ภาษาไทย ๘๘๘ ๕ ๕๕ ๓๓ ๓ ๒. คณติ ศาสตร์ ๗๗๗ ๕ ๕๕ ๓๓ ๓ ๓. วิทยาศาสตร์ ๒๒๒ ๓ ๓๓ ๓๓ ๓ ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓๓๓ ๓ ๓๓ ๔๔ ๔ ๕. สขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ๓๓๓ ๔ ๔ ๔๔๔ ๔ ๖. ศลิ ปะ ๒๒๒ ๒ ๒ ๒๒๒ ๒ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๒๒๒ ๔ ๔ ๔๗๗ ๗ ๘. ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ๒๒๒ ๓ ๓ ๓๓๓ ๓ ๙. กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๓๓๓ ๓ ๓ ๓๓๓ ๓ ๓๑ ๓๑ ๓๑ ๓๒ ๓๒ ๓๒ ๓๒ ๓๒ ๓๒ รวม โรงเรียนบา้ นจะคือได้จดั สดั ส่วนสาระการเรยี นรูแ้ ละเวลาเรียน ดงั ตารางต่อไปนี้ ชว่ งช้นั ที่ ๑ (ป.๑-ป.๓) เวลาเรยี น (คดิ เป็นรอ้ ยละตอ่ ปี) ระดบั ชน้ั ภาษา คณติ - วิทยา- สังคม สุข ศลิ ปะ การงาน ภาษาต่าง กจิ กรรม รวม ไทย ศาสตร์ ศาสตร์ ศกึ ษา ศกึ ษา อาชพี ประเทศ พฒั นา ป.๑ ผู้เรียน ป.๒ ป.๓ 19.23 19.23 7.69 7.69 3.85 3.85 3.85 19.23 15.38 ๑๐๐ รวม 19.23 19.23 7.69 7.69 3.85 3.85 3.85 19.23 15.38 ๑๐๐ 19.23 19.23 7.69 7.69 3.85 3.85 3.85 19.23 15.38 ๑๐๐ 57.69 57.69 23.07 23.07 11.55 11.55 11.55 57.69 46.14 ๓๐๐
๙ ชว่ งชนั้ ท่ี ๒ (ป.๔-ป.๖) เวลาเรยี น(คดิ เป็นร้อยละต่อปี) ระดบั ชน้ั ภาษา คณติ วทิ ยา สงั คม สขุ ศกึ ษา ศลิ ปะ การงาน ภาษาตา่ ง กิจกรรม รวม ไทย ศาสตร์ ศาสตร์ ศกึ ษา อาชพี ประเทศ พฒั นา ผ้เู รียน ป.๔ 12.90 12.90 ๙.68 ๙.68 9.89 ๖.๒๕ 19.35 6.45 12.90 ๑๐๐ ป.๕ 12.90 12.90 ๙.68 ๙.68 9.89 ๖.๒๕ 19.35 6.45 12.90 ๑๐๐ ป.๖ 12.90 12.90 ๙.68 ๙.68 9.89 ๖.๒๕ 19.35 6.45 12.90 ๑๐๐ รวม 38.7 38.7 29.04 29.04 29.67 18.75 58.05 19.35 38.7 ๓๐๐ จาํ นวนช่ัวโมงทจี่ ดั ใหน้ กั เรียนเรยี นท้งั ปี ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง ช่วงช้นั ที่ ๓ (ม.๑-ม.๓) เวลาเรยี น (คดิ เปน็ ร้อยละตอ่ ป)ี ระดบั ชนั้ ภาษาไทย คณติ วทิ ยา สงั คม สขุ ศกึ ษา ศลิ ปะ การงาน ภาษาตา่ ง กิจกรรม รวม ศาสตร์ ศาสตร์ ศกึ ษา อาชพี ประเทศ พฒั นา ผู้เรยี น ๑๐๐ ๑๐๐ ม.๑ 8.๓3 8.๓3 9.72 12.50 12.5 ๖.๒๕ ๒๑.๘๘ ๙.๓๘ 11.11 ๑๐๐ ม.๒ 8.๓3 8.๓3 ๓๐๐ ม.๓ 8.๓3 8.๓3 9.72 12.50 12.5 ๖.๒๕ ๒๑.๘๘ ๙.๓๘ 11.11 รวม ๒4.99 ๒4.99 9.72 12.50 12.5 ๖.๒๕ ๒๑.๘๘ ๙.๓๘ 11.11 ๒9.16 37.50 37.50 ๑8.75 65.64 ๒8.14 33.33 จํานวนชว่ั โมงทีจ่ ดั ใหน้ กั เรยี นเรยี นทง้ั ปี ไมน่ ้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง แผนการเรียนร้/ู จดุ เน้นการพฒั นาผเู้ รยี นทตี่ ้องการเนน้ เปน็ พเิ ศษ คอื ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยเฉพาะด้านการเรียนภาษาไทยและคณิตศาสตร์ จะเน้นให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ และทักษะพ้ืนฐานในการคํานวณ นอกจากนี้ยังเน้นด้านระเบียบวินัยและ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในทุกระดับชนั้ เพ่อื เปน็ พ้ืนฐานในการนาํ ไปใชใ้ นการดําเนนิ ชีวิตของนกั เรียน
๑๐ ๗. ขอ้ มลู ด้านอาคารสถานท่ี ๗.๑ อาคารเรียนและอาคารประกอบ ๒๐ หลัง ไดแ้ ก่ อาคารเรียน ๘ หลัง อาคารอเนกประสงค์ ๑ หลัง ห้องพักครู ๑ หลัง โรงอาหาร ๑ หลัง บา้ นพักนักเรียน ๒ หลัง บ้านพกั ครู ๗ หลงั ๗.๒ จาํ นวนหอ้ งเรียน มที ัง้ หมด ๑1 หอ้ ง แบ่งเปน็ ๑. ระดบั ช้นั อนบุ าล ๑-๒ จํานวน 2 ห้องเรยี น ๒. ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๖ จาํ นวน 6 ห้องเรียน ๓. ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ จํานวน ๓ หอ้ งเรียน ๗.๓ ห้องทจี่ ดั ไวใ้ ชป้ ฏบิ ัตกิ จิ กรรมเฉพาะมที ง้ั หมด ๔ ห้อง ไดแ้ ก่ ๑. ห้องวิทยาศาสตร์ ๒. ห้องคอมพิวเตอร์ ๓. ห้องสมดุ ๔. อาคารหอประชมุ ๗.๔ พ้ืนทปี่ ฏบิ ัตกิ ิจกรรม/นนั ทนาการ ไดแ้ ก่ สนามกฬี า หอประชุม โรงอาหาร สวนหย่อม ๗.๕ ข้อมลู ทรพั ยากรท่ีจําเปน็ ๑) คอมพวิ เตอร์ มีจํานวนทัง้ หมด 10 เครอื่ ง ใชเ้ พอ่ื การเรยี นการสอน 10 เครอ่ื ง ใช้สบื ค้นข้อมลู ได้ - เครอ่ื ง ใช้ในงานบริหาร ๒ เครือ่ ง ๒) ปรมิ าณส่ือ สิง่ พมิ พ์ ๑.๐๐๐ ชุด โสต ๕ ชดุ ของจริง ๗๒ ชุด
๑๑ ๘. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ และการใช้ - หอ้ งสมดุ มขี นาด ๕๘ ตารางเมตร จาํ นวนหนังสือในหอ้ งสมุดท้ังหมด ๑,๕๐๐ เล่ม จาํ นวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมดุ ในปกี ารศึกษาน้ี คิดเปน็ ๕๒ คน /วัน - แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น ไดแ้ กห่ อ้ งสมุด สวนเกษตรพอเพียง หอ้ งคอมพิวเตอร์ สนามกีฬา โรงอาหาร - แหล่งเรียนรภู้ ายนอกหอ้ งเรยี น เชน่ หอภมู ปิ ญั ญา หอแหย่ง นาํ้ แมก่ ก ไรน่ า แหล่งเรยี นรภู้ ายใน สถติ กิ ารใช้ แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้ โรงเรียน (จํานวนครั้ง/ปี) (จาํ นวนครั้ง/ปี) ช่ือแหลง่ เรียนรู้ ชอ่ื แหลง่ เรียนรู้ ตลอดปกี ารศกึ ษา 1. สถานอี นามัย ตลอดปีการศึกษา ๑. ห้องสมดุ โรงเรยี นบา้ นจะคอื ตลอดปีการศึกษา 2. ศนู ย์วัฒนธรรมหมู่บา้ นจะคอื ตลอดปีการศึกษา ๒. ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ ตลอดปกี ารศกึ ษา 3. สํานกั สงฆ์ ตลอดปีการศึกษา ๓. หอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ ตลอดปีการศกึ ษา 4. แหลง่ เรยี นรู้ตามธรรมชาติ ๔. ห้องกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ตลอดปีการศกึ ษา 5. แม่นาํ้ กก ลูกเสือ 6. ไร่ ๕. สวนเกษตรเพอ่ื อาหาร ตลอดปกี ารศกึ ษา กลางวนั ๖. ห้องวัฒนธรรมลาหู่ - ปราชญ์ชาวบ้าน/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ /ผู้ทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความร้แู กค่ รู/นักเรียน ในปี การศึกษานี้ ๑. นายจะหมอื่ จะลอ ให้ความร้เู ร่ือง จักสาน ๒. นางกญั ญา ประดับชมพู ใหค้ วามร้เู ร่ือง การตัดเยบ็ กระเป๋าลาหู่ ๓. นายแอจูแส แสนใหม่ ใหค้ วามรูเ้ ร่ือง เป่าแคน/จงั หวะท่าเต้นจะคึ ๔. นายเฉลมิ ชยั ธรรมบัณฑติ ใหค้ วามรูเ้ รือ่ ง การรักษาพยาบาล ๕. นางวนั เพญ็ แฉพอ ใหค้ วามรเู้ ร่อื ง การทําขนมบัวลอย
๑๒ ๑๐. ผลการดาํ เนนิ งานในรอบปที ผี่ า่ นมา ๑๐.๑ งาน/โครงการ/กิจกรรมทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ชอื่ งาน/โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานยนื ยนั ความสําเร็จ ๑. โครงการพัฒนามาตรฐานสถานศึกษาและ - สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพในการบริหารจัดการ แผนคณุ ภาพการศกึ ษา สถานศกึ ษา - สถานศึกษามีมาตรฐานสถานศึกษาท่ีใช้ในการพัฒนา กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน - มีการพฒั นามาตรฐานของสถานศกึ ษา - เพิม่ โครงการการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๒. โครงการคณุ ธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา - นกั เรียนปฏิบตั ติ ามกจิ กรรมน้องไหว้พ่ี - แบบบนั ทึกการโฮมรูม - สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมเดินรณ รงค์ป้องกัน ยาเสพติด - นักเรียนได้รับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมประจํา สัปดาห์ - เพิ่มกิจกรรมโรงเรยี นสจุ ริต ๓. โครงการปรับปรุงภูมิทศั น์ในสถานศึกษา - จดั ทําสนามเดก็ เล่นและเปลี่ยนหลังคาอาคารอนบุ าล - มไี มด้ อกไมป้ ระดบั ในโรงเรียน - ระเบยี งหนา้ ห้องคอมพิวเตอร์ - มีการพัฒนาหอ้ งปฏิบัตกิ ารตา่ ง ๆ - ปรับปรงุ ภูมิทัศน์ - ทํากนั สาดอาคารเฉลมิ พระเกยี รติ - ทาํ ระเบียงข้างโรงอาหารนกั เรียน - ปรับปรุงหอพกั นกั เรียน ๔. โครงการวันสําคัญต่าง ๆ - มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายสอดคล้องกับประเพณี วฒั นธรรม - มกี ารจัดกิจกรรมทีม่ งุ่ เนน้ พัฒนาผู้เรยี นเปน็ สําคญั - รอ้ ยละของผเู้ รียนมีความมนั่ ใจในตนเองและกล้า แสดงออก - ร้อยละของผเู้ รียนทร่ี ่วมปฏิบัตงิ านและแลกเปล่ยี น ความคิดเห็นเพอ่ื การเรียนรู้รว่ มกนั เปน็ กลมุ่ - ร้อยละของผเู้ รยี นสามารถกาํ หนดเปา้ หมาย คาดการณ์ ตดั สินใจแกป้ ัญหาโดยมีเหตผุ ลประกอบได้
ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม ๑๓ ๕. โครงการพัฒนาผู้เรียน ๖. โครงการพฒั นาปฐมวัย หลกั ฐานยนื ยนั ความสาํ เรจ็ ๗. โครงการการเรยี นรสู้ ูเ่ ศรษฐกิจพอเพยี ง - ผู้เรียนมีทักษะในระบอบประชาธิปไตยเป็นผู้นําและ ผูต้ ามที่ดี - ผู้เรียนมีทักษะในการทํางานเป็นทีมมากข้ึน ปฏิบัติตน ต่อเพือ่ นรว่ มงานไดอ้ ยา่ งดี - ผู้เรียนมีทักษะชีวิตสามารถ วางแผนอนาคต และ ดาํ เนนิ ชวี ติ ในสังคมอยา่ งผาสกุ - นกั เรยี นได้รบั การพัฒนาด้านกฬี า ดนตรี ศิลปะ - โรงเรียนเป็นโรงเรียนในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อย - เด็กมีวินัย ขยัน ประหยัด สุภาพ ซ่ือสัตย์ สามัคคี มี นํา้ ใจ มารยาทงาน - เดก็ มีสว่ นร่วมในการดูแลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม - เด็กมีทักษะในการคิดแก้ปัญหา ทํากิจกรรม และเกิด การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง - สร้างเสริมให้เด็กมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน การใช้ ภาษาไทยอยา่ งถกู ต้อง - เดก็ มสี ขุ นสิ ัย สขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ส่งเสริมเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ - ส ถ าน ศึ ก ษ าเป็ น ส ถ าน ศึ ก ษ าพ อ เพี ย ง ข อ ง กระทรวงศึกษาธกิ าร - สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้ เรี ย น เป็ น สํ า คั ญ ใน ร า ย วิ ช า เพ่ิ ม เติ ม ข อ งเศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพยี ง - ผู้เรียนมีทักษะพ้ืนฐานและกระบวนการจากการ ดําเนนิ ชีวติ ตามวถิ ชี นเผ่าของชาวเขา - ผู้เรียนสามารถนําทักษะและวิธีการ กระบวนการ ความรู้ท่ี ได้เรียน รู้สามารถนํ ามาป ระยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาํ วนั เพม่ิ เติมจากวถิ ีชีวิตชนเผา่ ลาหู่ - ผู้สอนดูและเอาใจใส่ผู้เรียนในการเรียนรู้ พัฒนา ความรู้สืบค้นเทคนิควิธีการใหม่ ๆ นํามาใช้ในการ จัดการเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย ทําให้ผู้เรียน สนใจและเต็มใจในการปฏิบัติกิจกรรมทั้งในชั่วโมงเรียน และนอกเวลาเรียน - ผู้เรียนมีความรับผิดชอบงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย
๑๔ ช่อื งาน/โครงการ/กิจกรรม หลกั ฐานยนื ยนั ความสาํ เร็จ ๘. โครงการสง่ เสรมิ สุนทรียภาพและสุขภาพ พลานามัย - นักเรยี นไดแ้ สดงออกทางสุนทรยี ภาพจากการรอ้ ง เล่น เตน้ ราํ และการทาํ งานศลิ ปะ ๙. โครงการพัฒนางานวิชาการ - นกั เรียนไดร้ บั บริการการพยาบาลเบ้อื งต้น - นักเรยี นไดร้ บั บริการอาหารกลางวันครบทกุ คน - นกั เรยี นชว่ งช้นั ที่ ๑-๓ แปรงฟนั หลังทานอาหาร กลางวนั ทกุ วนั - มกี ารคดั กรองนกั เรยี นทีม่ สี ขุ ภาพร่างกายนํ้าหนกั สว่ นสงู ตํ่ากวา่ เกณฑส์ ่งเสรมิ ใหม้ สี ขุ ลกั ษณะตามเกณฑ์ - นกั เรียนมสี ขุ ภาพรา่ งกายที่สมบูรณข์ ึน้ - มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนบรู ณาการในวัน สาํ คัญเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้ปฏิบัติกิจกรรมทส่ี ําคญั ของวัน สําคัญของไทยตลอดปีการศกึ ษา - จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาํ คญั และพัฒนาการเรยี นการสอนใหม้ คี วามหลากหลายขนึ้ -นกั เรยี นไดเ้ รียนรู้จาก กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ และพัฒฯเปน็ โครงการเพือ่ รองรับนโยบายจากต้นสังกดั ตอ่ ไป ๑๐.๒ งาน/โครงการ/กจิ กรรมทค่ี วรปรบั ปรุง ช่ืองาน/โครงการ/กจิ กรรม สาเหตทุ ไี่ มบ่ รรลเุ ปา้ หมาย ๑. โครงการสมั พนั ธช์ มุ ชนและประชาสัมพนั ธ์ โรงเรียน - พ้นื ท่ตี ้ังของโรงเรยี นเป็นพ้ืนทีเ่ สยี่ งมปี ัญหาดา้ นยาเสพตดิ และ ๒. โครงการพัฒนาครบู คุ ลากรในโรงเรียน ความมนั่ คง - การรับนโยบายระหวา่ งปกี ารศึกษา เช่น พุธเช้าเล่าขา่ ว ไม่มี ๔. โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา งบประมาณรองรับ - บุคลากรมีการเข้ารบั การอบรมไมม่ ากเน่อื งจากอุปสรรค ๕. โครงการการประกนั คุณภาพสถานศกึ ษา ทางดา้ นระยะทางและคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทาง - ระบบสารสนเทศ การติดตอ่ สอื่ สาร ไมส่ ะดวกทําใหก้ าร ติดต่อสื่อสารยากลาํ บาก - สพฐ. มกี ารปรับหลกั สตู ร ในปี ๒๕๖๐ - หลกั สูตรสถานศึกษายังไม่สมบรู ณ์ ขาดรายละเอยี ดบาง สาระ - ครูยงั ขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดทําหลักสูตร - ขาดการดาํ เนินการทเ่ี ป็นระบบและตอ่ เนอื่ ง - การเกบ็ ข้อมลู ประมวลเปน็ ระบบสารสนเทศ ทส่ี ามารถใช้ งานไดง้ ่าย
๑๕ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม สาเหตทุ ่ีไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย ๖. โครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น - หลักสูตรสถานศึกษายงั ไม่สมบรู ณ์ ขาดรายละเอยี ดบาง สาระ - ครยู งั ขาดความรูค้ วามเข้าใจในการจดั การเรียนการสอน - ครขู าดส่ือทหี่ ลากหลายและเทคนคิ วิธีการ กระบวนการการ จัดการเรียนการสอนท่นี าํ ไปใช้ในการสอบเพื่อยกระดับ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน - นักเรยี นไมม่ ที กั ษะพ้นื ฐานท่จี ําเปน็ ทาํ ให้ นกั เรียนมเี จตคตติ อ่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของผู้สอนคอ่ นข้างน้อยอัน เน่อื งจากการจัดการเรียนการสอนท่ีไมห่ ลากหลายและส่ือการ สอนที่จํากดั กระบวนการ - ผลคะแนน O-NET ,NT และ LAS ต่ํากวา่ คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ระดับเขต และระดบั กล่มุ
๑๖ ๑๑. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ๑๑.๑ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสองตามมาตรฐาน โรงเรียนบ้านจะคือ ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. รอบสองเม่ือวันที่ ๑๐-๑๒ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา มีการประเมิน ๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ด้านครูและ ดา้ นผเู้ รียน ซง่ึ สรปุ ผลการประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐาน ดงั แสดงในตารางต่อไปนี้ มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ดี ดมี าก ดา้ นผบู้ รหิ าร มาตรฐานที่ ๑๐ ผู้บริหารมภี าวะผนู้ าํ และมคี วามสามารถในการบรหิ าร จัดการ มาตรฐานท่ี ๑๑ สถานศกึ ษามีการจัดองคก์ ร/โครงสรา้ งและการบรหิ ารงาน อย่างเป็นระบบครบวงจร ใหบ้ รรลุเปา้ หมายการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามกี ารจดั กจิ กรรมและการเรยี นการสอนโดยเน้น ผเู้ รยี นเปน็ สําคญั มาตรฐานที่ ๑๓ ผบู้ รหิ ารมภี าวะผ้นู ําและมคี วามสามารถในการบรหิ าร จดั การ มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษาสง่ เสริมความสมั พนั ธแ์ ละความรว่ มมอื กบั ชุมชนในการพัฒนาการศกึ ษา ดา้ นครู มาตรฐานท่ี ๘ ครมู คี ณุ วฒุ ิ/ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทีร่ ับผิดชอบ และมคี รเู พียงพอ มาตรฐานที่ ๙ ครูมคี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สําคัญ ดา้ นผเู้ รยี น ระดบั ก่อนประถมศึกษา มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทพี่ ึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตและสขุ นสิ ัยท่ดี ี มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีสนุ ทรยี ภาพและลกั ษณะนิสยั ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และ การเคลือ่ นไหว มาตรฐานท่ี ๔ ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ มี ความคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวสิ ัยทศั น์ มาตรฐานท่ี ๕ ผู้เรยี นมีความรู้และทักษะทจี่ าํ เป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนรกั การเรียนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ และ พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง
๑๗ มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ดี ดีมาก มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรยี นมที ักษะในการทาํ งาน รักการทํางาน สามารถทาํ งาน ร่วมกับผู้อนื่ ได้และมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ อาชีพสุจริต ดา้ นผูเ้ รียน ระดบั ประถมศึกษา/ระดบั ประถมศึกษา-มธั ยมศกึ ษา/ระดบั มธั ยมศกึ ษา มาตรฐานที่ ๑ ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ ผเู้ รียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสุขนสิ ยั ท่ดี ี มาตรฐานท่ี ๓ ผเู้ รยี นมสี นุ ทรยี ภาพและลกั ษณะนสิ ัยดา้ นศิลปะ ดนตรี และ การเคล่อื นไหว มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทศั น์ มาตรฐานท่ี ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะทจี่ ําเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานท่ี ๖ ผู้เรยี นรักการเรียนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ และ พฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี ๗ ผู้เรียนมีทักษะในการทาํ งาน รกั การทาํ งาน สามารถทาํ งาน ร่วมกับผูอ้ ื่นไดแ้ ละมีเจตคติทดี่ ตี ่ออาชีพสจุ รติ ๑๑.๒ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม จุดเดน่ ของสถานศกึ ษา ๑. ดา้ นผลการจัดการศึกษา เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และมีความพร้อมศึกษาต่อในข้ันต่อไปสถานศึกษา มีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษามี ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาและมีผลการดําเนินงาน โครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ บทบาทของสถานศกึ ษา ๒. ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา ผบู้ ริหารมีประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา สถานศกึ ษามีผลการส่งเสริม พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศท่ีสอดคล้องกับแนว ทางการปฏริ ูปทางการศึกษา ๓. ดา้ นการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สําคญั ครมู ีประสิทธิผลการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้ทู ่เี นน้ เดก็ เป็นสําคัญ ๔. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษามปี ระสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายในโดยตันสงั กัด
๑๘ จุดที่ควรพฒั นา ๑. ด้านผลการจดั การศึกษา ควรพัฒนาเด็กด้านการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยและหลักศาสนาท่ีนับถือ การเป็นผู้นําและผู้ตามที่ ดี มีความใฝ่รู้สมวัย มีทักษะในการสื่อสารสมวัย มีทักษะพ้ืนฐานตามพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มีทักษะ พ้ืนฐานตามพฒั นาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจสมวัย ควรพัฒนาโครงการพิเศษให้สามารถเป็นแบบอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึนในการแก้ไขปัญหาใน สถานศกึ ษา และ/หรือ ชุมชนรอบสถานศกึ ษา ๒. ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา ควรพัฒนาประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษาด้าน ประสิทธิภาพของ คณะกรรมการสถานศึกษา การจัดสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในอาคาร ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ควรพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองด้านคุณภาพ ของเด็ก ของครู ของสถานศึกษาและการบรหิ ารจดั การ ๓. ด้านการจดั การเรยี นการอสนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาํ คญั ควรพัฒนาด้านการส่องเสริมแห่งการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการก้านสติปัญญาและส่งเสริมการเรียนรู้ท่ี สนองตอ่ ธรรมชาติและพัฒนาการของเดก็ ๔. ด้านการประกันคณุ ภาพภายใน ค ว ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใน ด้ า น ก า ร จั ด ทํ า แ ผ น พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สถานศึกษาที่มุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑๑.๓ ข้อเสนอแนะจากการประเมนิ ภายนอกรอบแรก ด้านผ้บู ริหาร สถานศึกษาควรพัฒนาการจัดองค์กร/โครงสร้าง และการบริหารอย่างเป็นระบบครบวงจร เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายการศึกษาสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พัฒนาการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพ โดนเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ พัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการสอนท่ีเอ้ือ ต่อการเรียนรู้โดยมีการพัฒนาบุคลากรครู เช่นการประชุมปฏิบัติการ การฝึกอบรม การประชุมสัมมนา การศกึ ษาดูงาน การศกึ ษาต่อ เปน็ ตน้ เพือ่ พฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาต่อไป ด้านครูผ้สู อน ครูควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญ ให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานท่ีจําเป็นตามหลักสูตร ฝึกให้ผู้เรียนเกิดทักษะการคิด วิเคราะห์ คดิ สงั เคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์และฝึกให้ผเู้ รยี น เกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ครูเน้นทักษะ กระบวนการและการปฏิบตั จิ รงิ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านผเู้ รยี น ระดับกอ่ นประถมศึกษา ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีความรู้และทักษะ เบื้องต้น รักการเรียนรู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขนิสัยที่ดี มีสุนทรียภาพ และลักษณะนสิ ัยดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว
๑๙ ระดับประถมศึกษา – มธั ยมศกึ ษา ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะพ้ืนฐานท่ีจําเป็นตามหลักสูตร มีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะการ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง มสี ขุ นิสยั สุขภาพกาย สุขภาพจติ ท่ดี ี การนาํ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกไปใช้ หลังจากท่ีทางโรงเรียนบ้านจะคือได้รับการรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองเม่ือวันที่ ๑๐ - ๑๒ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ แล้วนั้น ได้นําเอาผลการประเมินสถานศึกษามาวิเคราะห์และ พิจารณาตามขอ้ เสนอแนะในแต่ละดา้ นดงั น้ี ด้านผู้บริหาร การบริหารการจดั การองค์กร ได้มีการพัฒนาการจัดองค์กร โครงสร้างการบริหารเป็น ๔ งาน คือการบริหารงานท่ัวไป, การบริหารงานบุคลากร, การบริหารงานวิชาการ และการบริหารงานงบประมาณ โดยผู้บริหารยึดหลักการ บริหารแบบการมีส่วนร่วม ครูทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผน มีส่วนร่วมในการปฏิบัติ มีส่วนร่วมในการชื่นชม และพัฒนางาน โดยทุกส่วนส่งผลให้มีการพัฒนากิจกรรมการเรยี นการสอนและมุ่งผลสัมฤทธิ์ให้เกิดกับนักเรียน และชุมชนให้มากท่ีสุด โดยมีการจัดทําโครงการท่ีช่วยส่งเสริมพัฒนา เช่น โครงการส่งเสริมสนับสนุนบุคลากร ครูไปอบรมสัมมนาเพิ่มเติมความรู้, โครงการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น, โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้า ปรบั ปรงุ อาคารเรียน อาคารประกอบ ปรบั ปรงุ ระบบสุขาภิบาล เปน็ ต้น ดา้ นครูผู้สอน มีการจัดทําโครงการเพื่อพัฒนาครูผู้สอน ให้เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ เช่น โครงการสนับสนุนครูให้เข้ารับการอบรมทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ อาทิ สาระวิทยาศาสตร์ สาระ ภาษาต่างประเทศ สาระภาษาไทย และสังคมศึกษา เป็นต้น ส่งเสรมิ ใหค้ รไู ด้ใช้ส่อื การสอนและส่ือเทคโนโลยใี น การสอนที่หลากหลาย สนองความต้องการของเด็กนักเรียน และการสอนแบบบูรณาการ มีการวัดผลและ ประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ งกับผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นผเู้ รียน จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ ๕ ที่พบว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะท่ีจําเป็นตามหลักสูตร ทาง โรงเรยี นไดน้ าํ มาตรฐานผเู้ รียนดังกล่าวมาวเิ คราะห์พบว่า นักเรียนขาดโอกาสทางการศึกษาหลาย ๆ ดา้ น เช่น ๑. นักเรียนใช้ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีสองในการส่ือสาร มีการใช้ภาษาถิ่นมากกว่าภาษาไทย จึงทําให้ เป็นสิ่งทีย่ ากในการถา่ ยทอดวชิ าความรูใ้ ห้กบั ตัวนกั เรียนเอง บางคร้ังเกดิ ความเข้าใจผิดในเรอ่ื งของการส่อื สาร ๒. ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจนไม่มีความรู้ด้านวิชาการ ในแต่ละวันมุ่งแต่ทํางานหาเงิน เล้ียงชีพ ขาดการวางแผนครอบครัวท่ีดี มีลูกมากกว่าสองคน ทําให้ดูแลบุตรหลานไม่ทั่วถึง ไม่เห็นความสําคัญ ของการศึกษา จึงไม่ไดส้ นบั สนุนและส่งเสรมิ การศึกษาของนักเรยี นอย่างเตม็ ที่ ๓. หลักสูตรที่ใช้ในโรงเรียนยังไม่มีความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น บางหน่วยการเรียนรู้ยากเกินไป สําหรับนกั เรียน ๔. นักเรียนขาดโอกาสในการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่มีโอกาสใช้ส่ือเทคโนโลยี เน่ืองจากทางโรงเรียนไม่มีไฟฟ้าเพยี งพอ ๕. ครูยังขาดเทคนิคและความชํานาญในการจัดการเรียนการสอนกับนักเรียนในเขตพื้นท่ีพิเศษไม่ สามารถสอื่ สารกบั นกั เรยี นบางชว่ งชั้นโดยเฉพาะชนั้ ก่อนประถมศกึ ษาและช่วงชั้นท่ี ๑ ได้
๒๐ ด้วยเหตดุ งั กลา่ ว โรงเรยี นจึงได้จดั ทาํ โครงการและวธิ กี ารต่อเนื่องเพ่ือแก้ปญั หาดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. โครงการพัฒนาหลกั สตู ร ๒. โครงการจดั หาสื่อ วัสดุการศกึ ษา ๓. โครงการจดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน ๔. โครงการพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศในโรงเรยี น ๕. โครงการพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรู้ ๖. จ้างครูพิเศษซึ่งเป็นครูในเขตพื้นท่ีสอนในระดับก่อนประถมศกึ ษา และในชว่ งช้ันที่ ๑ จากการประเมินตามมาตรฐานที่ ๑๐ ท่ีพบว่าผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขนิสัยที่ดี ทาง โรงเรียนไดป้ รกึ ษาหารอื ระหวา่ งครู ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรยี นพบว่า ๑. โรงเรยี นไม่จดั การตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นอย่างครบถ้วนและตอ่ เนอื่ ง ๒. ระบบสาธารณูปโภคนํ้าประปาของโรงเรียน ยังไม่ดีพร้อม (ใช้น้ําประปาภูเขา) บางฤดูกาล น้ําไม่ ไหลทําให้ไม่มีน้ําใช้อย่างเพียงพอ ทําให้กิจกรรมการแปรงฟันของนักเรียนไม่เป็นไปอย่างต่อเน่ือง บางครั้งไม่มี น้าํ ใช้ในหอ้ งนํ้า หอ้ งส้วมของโรงเรยี น ๓. เนื่องจากสภาพครอบครัวของนักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ท่ีตั้งของหมู่บ้านอยู่ในเขตพื้นท่ี พิเศษ การคมนาคมไม่สะดวกทําให้ขาดแคลนอาหาร นกั เรียนได้รบั สารอาหารไมค่ รบ ๕ หมู่ บางครอบครวั ต้อง อดมอ้ื กินมือ้ ทนอยู่กนั ตามอัตภาพ ทําใหน้ ักเรยี นส่วนใหญเ่ กิดภาวะทพุ โภชนาการ ๔. นักเรียนขาดการปลูกฝังให้เป็นผู้ที่มีสุขบัญญัติที่ดี จากพ้ืนฐานทางด้านครอบครัว บางบ้านไม่มี ห้องนํ้าที่ถูกสุขลักษณะประกอบกับผู้ปกครองขาดความรู้ในเร่ืองของการเกษตรโดยเฉพาะการเลี้ยงสัตว์ที่ยังไม่ เป็นสัดส่วน ทําให้เกิดโรคตดิ ต่อได้งา่ ยซ่ึงเป็นผลเสยี ต่อสขุ ภาพนกั เรียน ๕. นักเรียนและผู้ปกครองต่างมีความเชื่อในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บท่ีผิดจากการรักษาแบบแผน ปัจจบุ นั เชน่ เวลาเปน็ หวัดมไี ขจ้ ะใชเ้ หรยี ญหรือมือในการดึงผวิ หนังจนเกดิ การอกั เสบฟกช้าํ เป็นต้น จากสภาพปญั หาดงั กลา่ วทางโรงเรียนจึงไดจ้ ัดทาํ โครงการเพ่อื รองรับ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. โครงการสง่ เสริมระบบดแู ลนักเรยี น ๒. โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีส่งิ แวดลอ้ ม ๓. โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพนักเรียน ๔. โครงการสง่ เสรมิ ระเบยี บวินยั และคา่ นิยมท่ดี แี ก่ผู้เรยี น ๕. โครงการจัดสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรยี น ๖. กิจกรรมโครงงานเกษตร ปลูกผักปลอดสารพิษ เลี้ยงปลาดุก เลี้ยงกบ เพ่ือใช้ในกิจกรรมอาหาร กลางวันและจดั ให้นักเรียนไดร้ บั ประทานอาหารกลางวันครบทกุ คน ๗. กิจกรรมการดืม่ นมเพื่อสขุ ภาพ ๘. กิจกรรมการออกกําลงั กาย กจิ กรรมเขา้ จังหวะวถิ ชี ีวิตแบบลาหู่ การเตน้ จะคึ ทกุ เช้าวนั ศกุ ร์
๒๑ ตอนที่ ๒ ทิศทางในการพัฒนาสถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านจะคือ ตาํ บลห้วยชมภู อําเภอเมือง จังหวดั เชียงราย สาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต ๑ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒๒ การขบั เคลอ่ื นนโยบายปฏริ ปู การศกึ ษา โรงเรียนบา้ นจะคือ (พ.ศ. ๒๕62-๒๕๖5) วัตถุประสงค์ของสถานศึกษา : จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มุ่งให้ผู้เรียนมี คุณธรรมนํา ความรู้ มคี วามสามารถในการใช้ทักษะชีวติ แกป้ ญั หารักการทาํ งานและดํารงชีวิตในสงั คมได้ อย่างมคี วามสุข สปี ระจาํ โรงเรยี น : สีเทา สแี สด คตพิ จน์โรงเรียนบา้ นจะคือ : คุณธรรมนําความรู้ ปรชั ญาของโรงเรยี น : มีคุณธรรมนาํ ความรู้ เชิดชูวัฒนธรรม วสิ ยั ทศั น์ โรงเรียนบ้านจะคอื จัดการศึกษาตามพระราโชบายด้านการศึกษา มุ่งให้ผู้เรียนมีคณุ ธรรม คุณภาพตาม มาตรฐานสถานศึกษา รู้รักษ์คุณค่าวัฒนธรรมของชุมชน มีทักษะท่ีจําเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยการจัดการ เรยี นรขู้ องครมู อื อาชพี พนั ธกจิ ๑. จัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน ๔ ด้าน คือ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ี มั่นคง มีงานทาํ มอี าชพี และเปน็ พลเมืองดี ตามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษา ๒. จดั การเรียนร้ทู มี่ ่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมีคณุ ธรรม คณุ ภาพตามมาตรฐานสถานศกึ ษา ๓. จัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สําคญั มที ักษะทีจ่ ําเป็นในศตวรรษท่ี 21 ๔. พฒั นาผ้เู รียนให้รรู้ ักษค์ ุณค่าวัฒนธรรมของชุมชน ๕. พัฒนาครใู หเ้ ป็นครูมืออาชพี โดยใช้กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ ๖. สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของชมุ ชน และทกุ ภาคส่วนในการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี น เปา้ ประสงค์ ๑. ผู้เรียนมีมีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิตท่ีม่ันคง มีงานทํา มีอาชีพ และเป็นพลเมืองดี ตาม พระราโชบายดา้ นการศกึ ษา ๒. ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม คณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๓. ผเู้ รยี นมที กั ษะทจี่ ําเป็นในศตวรรษที่ 21 ๔. ผู้เรยี นมีความรู้ ช่วยรักษา และเหน็ คุณคา่ วฒั นธรรมของชมุ ชน ๕. ครูพฒั นาวิชาชพี เปน็ ครูมอื อาชพี ใชก้ ระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ 6. โรงเรยี นรว่ มมอื กบั ชมุ ชน และทกุ ภาคสว่ นในการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาผู้เรียน อตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา สืบสานวฒั นธรรมประเพณชี นเผ่าลาหู่ เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา โรงเรียนวถิ ีชนเผ่าลาหู่ แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา เรียนรู้ตลอดชีวติ มีทกั ษะที่จาํ เป็นในศตวรรษที่ 21
๒๓ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ๑. รกั ชาตศิ าสน์กษัตริย์ ๒. ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ มัน่ ในการทํางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ ๙. รักษ์สิ่งแวดลอ้ มและวัฒนธรรมท้องถน่ิ คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ๑. มีความรกั ชาติศาสนา พระมหากษตั ริย์ ๒. ซือ่ สัตยเ์ สียสละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นสิง่ ทีด่ ีงามเพอ่ื ส่วนรวม ๓. กตญั ญตู อ่ พอ่ แม่ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์ ๔. ใฝห่ าความรู้หม่นั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม ๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม ๖. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ยห์ วังดีตอ่ ผู้อื่น เผือ่ แผ่และแบ่งปัน ๗. เข้าใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ทีถ่ ูกต้อง ๘. มรี ะเบยี บวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่ ๙. มสี ติรู้ตวั รคู้ ดิ รู้ทํา รูป้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ๑๐. รู้จักดํารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจําเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจําหน่าย และพร้อมที่จะขยาย กิจการเม่ือมีความพร้อม เม่ือมภี ูมิคมุ้ กันทด่ี ี ๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออํานาจฝ่ายต่างหรือกิเลส มีความละอายเกรง กลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา ๑๒. คํานงึ ถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง กลยุทธก์ ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น กลยุทธ์ท่ี ๒ พฒั นากระบวนการบรหิ ารและจัดการของสถานศกึ ษา กลยทุ ธท์ ี่ ๓ พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสําคัญ กลยทุ ธ์ที่ ๔ ส่งเสรมิ อตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษาให้โดดเด่น กลยทุ ธ์ที่ ๕ สร้างโอกาสและพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
๒๔ ๑. กรอบแนวคดิ การบริหารงานของโรงเรียนบา้ นจะคอื 1.1 ผู้บริหารมีนโยบายในการบริหารสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน (School – Based Management : SBM ) การร่วมมือแบบล่างข้ึนบน (Bottom-up) คือ มีการประชุม วางแผนระดับผู้ปฏิบัติงาน ก่อนการนําเสนอผู้บริหาร เพื่อพิจารณาเห็นสมควรนําเดินการและระบบบริหาร จัดการในแนวราบ (Horizontal Management) คือ ระดับผู้ปฏิบัติมีการระดมความคิด ช่วยกันวางแผน ตลอดจนดําเนินงาน สรุปผลการดําเนินงาน ซึ่งเป็นการกระจายอํานาจ (Decentralization) ในการตัดสินใจ ด้านวิชาการ (หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ) งานบุคลากร การบริหารงบประมาณ และการบริหารท่ัวไป และการมีส่วนร่วม (Participation) สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (เขตพ้ืนที่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้ปกครอง ชุมชนและนักเรียน) มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใน การบริหารและการจดั การศึกษา 1.2 ใช้กระบวนการ PLC ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของ ครู ผบู้ ริหาร และนกั เรียนในโรงเรียน เพอื่ พฒั นาการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นเป็นสาํ คัญ 1.3 การใช้กระบวนการดาํ เนนิ งานแบบผนู้ ําตามสถานการณ์ คอื การดาํ เนนิ งานโครงการตา่ ง ๆ โดยมี ผู้รับผดิ ชอบโครงการนั้น ๆ เป็นผ้นู าํ โดยทําหนา้ ทเี่ ปน็ ผู้บริหารงานในโครงการหรือกจิ กรรมนั้น ซึง่ เปน็ ผู้ ประสานงานให้ทํางานร่วมกนั เปน็ ผนู้ าํ ทคี่ อยสนับสนุน ชว่ ยเหลอื เป็นผนู้ ําที่สง่ มอบงานให้ทมี งานรบั ผิดชอบ อยา่ งเหมาะสม 1.4 พัฒนาสถานศกึ ษาโดยมกี ารกําหนดโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏบิ ตั ปิ ระจาํ ปี ซง่ึ ไดด้ ําเนินการ โดยมีการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจดั การศกึ ษาท่ผี ่านมา โดยการ ศึกษาข้อมูล สารสนเทศ จากผลการ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการ ปฏิรูปการศกึ ษา และจัดประชมุ ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรในสถานศกึ ษาเพ่ือวางแผน ร่วมกนั กําหนดเปา้ หมาย ปรบั วสิ ยั ทัศน์ กําหนดพนั ธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถาน ศกึ ษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน มีการปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพจดั การศึกษา แผนปฏิบัตกิ าร ประจําปี ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา พรอ้ มทัง้ จัดหาทรพั ยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผ้รู ับผดิ ขอบ ดําเนินการพฒั นา ตามแผนงาน เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายท่กี าํ หนดไว้ มกี ารดําเนนิ การนเิ ทศ กํากบั ติดตาม ประเมิน ผลการดําเนินงาน และ สรปุ ผลการดาํ เนินงาน
๒๕ ๒. กรอบแนวคิดในการดําเนนิ งานของโรงเรยี นบา้ นจะคือ ในการดําเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมอย่างมีประสทิ ธภิ าพนั้นต้องอาศัยกรอบแนวคิดในการกําหนด ทิศทางในการทํางาน ซึ่งโรงเรียนบ้านจะคือได้ยึดเอาวงจร PDCA หรือ (Deming Cycle) หรือวงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คอื วงจรการควบคุมคณุ ภาพ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ 1. Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการดําเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกําหนด หัวข้อท่ีต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วย การกําหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดําเนินงาน Plan การจัดอันดับความสําคัญ ของ เป้าหมาย กําหนดการดําเนินงาน กําหนดระยะเวลาการดําเนินงาน กําหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ดําเนินการ และกําหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การดําเนินงาน การวางแผนยังช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสีย ต่าง ๆทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ได้ 2. Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การดําเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างรองรับ การดําเนินการ (เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะ) มีวิธีการ ดําเนินการ (เช่น มีการประชุมของ คณะกรรมการมีการจัดการเรียน การสอน มีการแสดงความจํานงขอรบั นักศึกษาไปยังทบวงมหาวิทยาลยั ) และ มีผลของการดาํ เนินการ (เชน่ รายชื่อนกั ศึกษาท่ีรบั ในแตล่ ะป)ี 3. Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมิน โครงสรา้ งที่รองรบั การดาํ เนินการ การประเมนิ ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งาน และการประเมินผลของ การดําเนนิ งาน ตามแผนท่ีได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทําได้เอง โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบแผน การดําเนินงานนั้น ๆ ซ่ึงเป็นลักษณะของการประเมินตนเอง โดยไม่จําเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมา ประเมินแผน หรอื ไม่จําเป็นตอ้ งคดิ เครือ่ งมอื หรือแบบประเมิน ท่ยี ุง่ ยากซบั ซ้อน 4. Action (ปรับปรุงแกไข) หมายถึง การนําผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจประกอบด้วย การนํา ผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือข้ันตอนการปฏิบัติงานใดท่ีควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งท่ีดีอยู่ แล้วใหด้ ยี งิ่ ข้ึนไปอีก และสังเคราะหร์ ูปแบบ การดาํ เนนิ การใหมท่ ่ีเหมาะสม สาํ หรบั การดาํ เนนิ การ ในปีต่อไป
แผนภาพการดาํ เนนิ งาน ๒๖ ไมใ่ ช่ งาน Work การวิเคราะหต์ นเอง เสนอหัวหนา้ งาน/ผู้อาํ นวยการ ผู้ปฏบิ ตั งิ าน วเิ คราะห์ งาน ใช่ การดําเนนิ การ ประเมนิ ผล/ สรุปรายงาน
๒๗ ตอนท่ี ๓ กลยทุ ธ์การพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 โรงเรียนบา้ นจะคือ ตาํ บลห้วยชมภู อาํ เภอเมือง จังหวดั เชยี งราย สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต ๑ สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒๘ กลยทุ ธก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน กลยทุ ธท์ ี่ ๒ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ ๓ สร้างเสริมสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ กลยทุ ธท์ ่ี ๔ สง่ เสรมิ อตั ลกั ษณ์ของสถานศึกษาใหโ้ ดดเดน่ กลยทุ ธท์ ี่ ๕ สง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานแนบทา้ ยประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ งให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ฉบบั ลงวนั ที่ 6 สงิ หาคม พ.ศ.2561 มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 มจี ํานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรียน 1.2 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาํ คญั แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผูเ้ รยี น 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคาํ นวณ 2) มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น และแก้ปญั หา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชพี 1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดตี ามทส่ี ถานศกึ ษากําหนด 2) ความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย 3) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มเี ป้าหมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกิจท่สี ถานศึกษากาํ หนดชัดเจน 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.3 ดาํ เนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเปา้ หมาย
๒๙ 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อือ้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สําคญั 3.1 จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนาํ ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนาํ ผลมาพฒั นาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลับเพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้
๓๐ ๑. การดําเนนิ งานตามกลยทุ ธข์ องสถานศกึ ษา กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชิงปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๑. โครงการส่งเสรมิ สนุ ทรี ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา ภาพและสุขภาพ (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช้ี) พลานามัย 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการบริการ เชงิ ปรมิ าณ มฐ.ที่ ๑ (๑.๒/๔) ดา้ นสุขภาพอนามยั ที่ดีและเพียงพอ ๑. รอ้ ยละ 95 ของนักเรยี นระดบั ต่อความต้องการ มีสุขภาพที่ดีทั้ง ปฐมวัยและร้อยละ 80 ของนกั เรยี น ร่างกายและจิตใจ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานได้รบั การ 2. เพ่ือจัดให้มีการตรวจสุขภาพ ดูแลสุขภาพอนามยั มีสุขภาพท่ดี ที ั้ง นักเรียน ครูและบุคลากรทางการ ร่างกายและจติ ใจ ศกึ ษาทกุ คนในโรงเรียน ๒. รอ้ ยละ 95 ของนักเรียนระดบั 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุนทรีภาพ และ ปฐมวัยและรอ้ ยละ 80 ของนักเรียน ลักษณะนิสัยด้าน ดนตรี กีฬา และ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานมสี ุนทรี ศิลปะ ภาพและลกั ษณะนิสัยดา้ น ดนตรี 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทาง กีฬา และศิลปะ โภชนาการดา้ นอาหารที่ดี ๓. รอ้ ยละ 95 ของนกั เรยี นระดบั 5. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้โทษภัย ปฐมวัยและร้อยละ 80 ของนักเรียน และรณรงคต์ ่อต้านยาเสพติด ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ได้รับ โภชนาการด้านอาหารทีด่ ี เชงิ คณุ ภาพ ๑. เดก็ ระดบั ปฐมวัยและนกั เรียน ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน มคี วาม พึงพอใจในงานอนามยั โรงเรียนอยู่ใน ระดบั มาก ๒. เดก็ ระดับปฐมวัยและนักเรยี น ระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน มสี นุ ทรี ภาพ และลักษณะนิสัยดา้ น ดนตรี กฬี า และศลิ ปะ ๓. เดก็ ระดับปฐมวัยและนักเรยี น ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานมสี ุขภาวะ ทางโภชนาการด้านอาหารทดี่ ี
๓๑ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๒. โครงการสง่ เสรมิ ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา คณุ ธรรมจริยธรรมใน (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช้ี) สถานศกึ ษา ๑. เพื่อให้นักเรียนมีวินัยมีความ เชงิ ปรมิ าณ มฐ.ที่ ๑ (๑.๒/๑) รับผิดชอบ และปฏิบัติตนตาม 1. รอ้ ยละ 95 ของนกั เรียนระดับ ระเบียบ และมีคุณธรรมจริยธรรม ปฐมวยั และนักเรียนระดบั การศึกษา ในตนเอง และผ้อู ่นื ขน้ั พน้ื ฐานเฉลย่ี ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มี ๒. เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ความเคารพเทดิ ทูนไว้ซึ่งชาติ ศาสนา สุจริต และมีความเคารพซึ่งกันและ พระมหากษัตริย์ และสามารถทาํ งาน กนั ร่วมกับผู้อื่นได้ 3. เพ่อื ใหน้ กั เรยี นทราบโทษและวิธี 2. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ ป้องกันยาเสพติดในโรงเรียนและ ปฐมวัยและนกั เรียนระดับการศกึ ษา ร่วมรณรงคป์ ้องกันยาเสพตดิ ขั้นพื้นฐานเฉลยี่ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไปมี ความพร้อมทั้งจิตใจ ร่างกาย ต่อการ เรียนรแู้ ละเป็นผ้มู จี ิตสาธารณะ ๓. รอ้ ยละ 95 ของนกั เรียนระดับ ปฐมวัยและนกั เรยี นระดบั การศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐานเฉลยี่ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป มี ความกตญั ญกู ตเวทตี อ่ ผู้มีพระคณุ 4. ร้อยละ 95 ของนกั เรยี นระดบั ปฐมวัยและนกั เรียนระดบั การศกึ ษา ขัน้ พืน้ ฐานเฉลยี่ รอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ตระหนัก ร้คู ณุ ค่า รว่ มอนุรักษ์และ พฒั นาสงิ่ แวดล้อม 5. ร้อยละ 95 ของนกั เรียนระดับ ปฐมวัยและนักเรยี นระดบั การศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานเฉลยี่ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป สามารถกําหนดเปา้ หมาย คาดการณ์ ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาโดยมเี หตผุ ล ประกอบ 6. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ ปฐมวัยและนักเรียนระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานเฉล่ียร้อยละ ๘๐ ข้ึนไปมี ความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ผลงาน ดว้ ยความภาคภูมิใจ
๓๒ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๒. โครงการส่งเสริม ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา คุณธรรมจริยธรรมใน (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช้ี) สถานศึกษา (ตอ่ ) ๑. เพื่อให้นักเรียนมีวินัยมีความ เชิงคณุ ภาพ มฐ.ที่ ๑ (๑.๒/๑) รับผิดชอบ และปฏิบัติตนตาม 1. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระเบียบ และมีคุณธรรมจริยธรรม ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีวินัย มี ในตนเอง และผอู้ น่ื ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตาม ๒. เพ่ือให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ระเบียบของโรงเรียน มีคุณธรรม สุจริต และมีความเคารพซึ่งกันและ จริยธรรมในตนเอง และผู้อ่ืน ใน กัน ระดับยอดเย่ยี ม 3. เพ่ือให้นักเรยี นทราบโทษและวธิ ี 2. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ป้องกันยาเสพตดิ ในโรงเรยี นและ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีความ รว่ มรณรงคป์ ้องกันยาเสพติด ซื่อสัตย์สุจริตและมีความเคารพซง่ึ กัน และกนั ในระดับยอดเยีย่ ม 3. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานมีความ เมตตากรุณา เอ้ือเฟ้ือ เผ่ือแผ่ มีจิต อาสา และเสียสละเพื่อส่วนรวมใน ระดับยอดเย่ยี ม 4. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรู้หน้าท่ี ของตนเองและการใช้ชีวิตร่วมกับ ผอู้ ืน่ อยา่ งมคี วามสุข
๓๓ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศกึ ษา ๓. โครงการยกผลสมั ฤทธิ์ ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา ทางการเรียน (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช)ี้ ๑. เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการ เชิงปรมิ าณ มาตรฐานท่ี ๑ ตัว เรยี นของผูเ้ รียนให้สงู ข้นึ ทุกกลุ่ม ๑. นกั เรยี นร้อยละ ๘๐ มผี ลสัมฤทธิ์ บ่งชท้ี ่ี 1.๑ สาระการเรยี นรู้ ทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เพอ่ื ยกระดับของการทดสอบ ในระดับดี ระดบั ทอ้ งถนิ่ และระดับชาติ NT / ๒. ผู้เรยี น มผี ลการทดสอบขอ้ สอบ O-NET ของโรงเรยี นให้สงู ขนึ้ กลางและมีผลการทดสอบระดบั ชาติ ๓. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้และ รายสาระไมต่ ่าํ กวา่ ค่าเฉลีย่ ของเขต ทักษะทจ่ี าํ เป็นตามหลักสูตรและ พ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษา เชยี งราย เขต 1 ๔. เพ่อื พัฒนาผู้เรียนทมี่ คี วาม ๓. ผเู้ รยี นมีความพึงพอใจในการจดั จําเปน็ พิเศษ กิจกรรมพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนใน ระดับดไี มน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๔. ผูเ้ รียนทม่ี คี วามจําเป็นพิเศษได้รบั การพฒั นา ร้อยละ ๘๐ เชิงคณุ ภาพ ๑. นกั เรยี นมีผลการเรยี นทกุ กลุ่ม สาระมกี ารพัฒนาในระดบั ๓ ขึน้ ไป และผา่ นเกณฑก์ ารทดสอบระดบั ชาติ และระดับเขตพ้นื ท่ี ๒. นกั เรียนผูเ้ รียนท่ีมคี วามจาํ เป็น พิเศษได้รบั การพัฒนา
๓๔ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๔. โครงการพัฒนา ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา คุณภาพผู้เรยี น (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช)้ี ๑. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถทํางาน เชิงปรมิ าณ มาตรฐานท่ี 1 ตวั รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้ 1.ร้อยละ ๘๐ ของเดก็ ระดับปฐมวัย บง่ ชีท้ ี่ ๑.๑ และ ๑.๒ 2. เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา และนักเรยี นระดับการศึกษาขน้ั จ า ก ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง พน้ื ฐานสามารถทาํ งานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ สถานศกึ ษา ได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน 2. รอ้ ยละ 8๐ ของเดก็ ระดบั ปฐมวัย พึงประสงค์ตามหลักสตู ร และนักเรยี นระดับการศกึ ษาข้ัน 4. เพื่อให้ผู้เรียนยอมรับความคิด พื้นฐานมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และวฒั นธรรมทแี่ ตกต่าง ตามหลักสูตร 5. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสามารถใน 3. รอ้ ยละ ๘๐ของเด็กระดบั ปฐมวัย การวางแผนการทํางานจนประสบ และนักเรยี นระดับการศึกษาขนั้ ความสําเร็จ พื้นฐานยอมรบั ความคดิ และ 6. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความมุมานะใน วัฒนธรรมท่ีแตกต่าง การทํางานร่วมกับผอู้ ่นื 4. รอ้ ยละ 8๐ ของเด็กระดับปฐมวยั 7 . เพ่ื อ ให้ ค รู ที่ ใช้ ร ะ บ บ ดู แ ล และนักเรยี นระดบั การศึกษาขนั้ ช่วยเหลือนักเรียนเพื่อแก้ไขปัญหา พื้นฐานมีความสามารถในการวาง ผู้เรยี น แผนการทํางานจนประสบ 8. เพอื่ ใหค้ รมู กี ารจัดกจิ กรรม ความสาํ เรจ็ พฒั นาผู้เรยี นทีส่ ่งเสรมิ และสนอง 5. ร้อยละ ๘๐ ของนักเรยี นระดับ ความตอ้ งการความสามารถความ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานมเี รียนรตู้ าม ถนัดและสอดคล้องกับทอ้ งถิน่ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นลกู เสอื เนตร 9. เพ่อื ใหโ้ รงเรียนมีการจดั ระบบ นารี ดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่มี ี 6. รอ้ ยละ 8๐ ของเดก็ ระดบั ปฐมวัย ประสิทธภิ าพและครอบคลุมถงึ และนกั เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั ผเู้ รยี นทุกคน พ้นื ฐานมคี วามมานะในการทาํ งาน ร่วมกบั ผูอ้ ่นื 7. ร้อยละ ๘๐ ของครทู ใี่ ชร้ ะบบดูแล ชว่ ยเหลือนกั เรียนเพื่อแกไ้ ขปญั หา ผ้เู รียน 8. ร้อยละ 8๐ ของครู มกี ารจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนทสี่ ่งเสรมิ และ สนองความต้องการความสามารถ ความถนดั และสอดคล้องกบั ท้องถน่ิ
๓๕ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๔. โครงการพัฒนา ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา คณุ ภาพผู้เรยี น (ต่อ) (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช)้ี ๑. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทํางาน เชิงคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 ตวั รว่ มกับผู้อ่ืนได้ 1. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน บง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานสามารถ จ า ก ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ สถานศกึ ษา ๒. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอัน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานมีความรู้ พึงประสงคต์ ามหลักสูตร จากการจดั การเรียนรูต้ ามกจิ กรรม 4. เพ่ือให้ผู้เรียนยอมรับความคิด 3. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน และวัฒนธรรมที่แตกต่าง ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น มี 5. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถใน คุณ ลักษณ ะอันพึงประสงค์ตาม การวางแผนการทํางานจนประสบ หลักสูตร ความสาํ เร็จ 4. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน 6. เพื่อให้ผู้เรียนมีความมุมานะใน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานยอมรับ การทํางานร่วมกับผู้อ่นื ความคิดและวัฒนธรรมท่ีแตกตา่ ง 7 . เพ่ื อ ให้ ค รู ที่ ใช้ ร ะ บ บ ดู แ ล 5. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือแก้ไขปัญหา ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น มี ผูเ้ รยี น ความสามารถในการวางแผนการ 8. เพอื่ ใหค้ รูมกี ารจัดกจิ กรรม ทาํ งานจนประสบความสาํ เร็จ พัฒนาผเู้ รยี นทีส่ ง่ เสริมและสนอง 6. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ความตอ้ งการความสามารถความ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานมีความมุ ถนดั และสอดคล้องกับท้องถน่ิ มานะในการทํางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ 9. เพ่ือใหโ้ รงเรยี นมกี ารจดั ระบบ 7. ครูใช้ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี นทีม่ ี เพอ่ื แก้ไขปญั หาผเู้ รยี น ประสทิ ธิภาพและครอบคลมุ ถงึ 8. ครู มีการจดั กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนทกุ คน ผูเ้ รยี นที่สง่ เสรมิ และสนองความ ตอ้ งการความสามารถความถนัดและ สอดคลอ้ งกบั ท้องถ่ิน
๓๖ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชิงปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๕. โครงการวันสาํ คญั ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา ตา่ ง ๆ (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช)้ี ๑. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสามารถคิด เชิงปริมาณ มาตรฐานท่ี ๑ ตวั วิ เค ร า ะ ห์ คิ ด วิ จ า ร ณ ญ า ณ ๑. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ บง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปฐมวัยและนักเรียนระดับการศึกษา และแกป้ ญั หาได้ ข้ันพื้นฐาน ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ๒. เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและ ท่ีทางโรงเรยี นจัดขนึ้ คา่ นิยมที่ดี ๒. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ ปฐมวัยและนักเรียนระดับการศึกษา ขั้ น พ้ื น ฐ า น มี ค ว า ม รั ก เค า ร พ แ ล ะ เทิดทูนไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีคุณลักษณะและ คา่ นิยมท่ีดี ๓. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ ปฐมวัยและนักเรียนระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ที่มีปัญหาในด้านต่าง ๆ ไดร้ บั การสง่ เสริมและแก้ปัญหา ๔. ร้อยละ 95 ของนักเรียนระดับ ปฐมวัยและนักเรียนระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานภูมิใจในท้องถ่ินและความ เป็นไทย ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลาย เชงิ คณุ ภาพ ๑. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้รับการ ส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนาทักษะ ก ารเรีย น รู้ใน ด้ าน ต่ าง ๆ ผ่ าน กระบวนการ กิจกรรมท่ีมุ่งให้ผู้เรียน เกิดความรแู้ ละทักษะกระบวนการอยู่ ในระดับดี ทั้งจากแหล่งเรียนรภู้ ายใน และภายนอกสถานศึกษา ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน/ปราชญ์ชาวบ้าน รวมถึง แ ก้ ปั ญ ห า นั ก เรี ย น ท่ี มี ปั ญ ห า เป็ น รายบุคคล
๓๗ โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง ๕. โครงการวันสําคญั (เชิงปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ต่าง ๆ (ตอ่ ) ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ชี้) ๖. โครงการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ๑. เพือ่ ให้ผู้เรียนมคี วามสามารถคิด เชงิ คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ ตัว วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ ๒. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน บง่ ชีท้ ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น มี และแกป้ ญั หาได้ คุณลักษณะและค่านยิ มท่ดี ี ๒. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะและ ๓. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ค่านยิ มที่ดี ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอมรับ ความแตกต่างและหลากหลาย 1. เพ่ือพฒั นาเดก็ มวี ินัย ขยนั เชงิ ปรมิ าณ มาตรฐานของระดับ ประหยัด สภุ าพ ซือ่ สัตย์ สามคั คี มี ๑. รอ้ ยละ 95 ของนักเรยี นระดบั ปฐมวัย นํ้าใจ มารยาทงาม ปฐมวยั มีความพรอ้ มตามพัฒนาการ ๒. เพือ่ ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีส่วนรว่ มใน ทุกด้าน และพร้อมเข้าเรียนต่อใน การดแู ลรักษาสิ่งแวดล้อม ระดับข้ันพื้นฐานทุกคน 3. เพ่ือฝกึ เด็กมที ักษะในการคิด ๒. เดก็ ปฐมวัยทุกคน ไดร้ ับ แก้ปญั หา ทํากิจกรรม และเกดิ การ ประสบการณ์เรยี นรู้ การเตรียมความ เรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง พรอ้ มพฒั นาการทุกดา้ นเตม็ 4. เพือ่ สรา้ งเสริมใหเ้ ด็กมคี วาม ศกั ยภาพ สนใจใฝ่รู้ รกั การอ่าน การใช้ ภาษาไทยอย่างถูกต้อง เชิงคณุ ภาพ 5. เพ่อื พฒั นาให้เด็กมสี ุขนสิ ัย 1. เดก็ ท่ีมวี นิ ยั ขยัน ประหยดั สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทดี่ ี สภุ าพ ซ่อื สัตย์ สามคั คี มนี ํา้ ใจ 6. เพื่อสง่ เสริมเดก็ ทม่ี ี มารยาทงาม ความสามารถพเิ ศษไดพ้ ฒั นาเต็ม 2. เด็กทม่ี ีความรับผดิ ชอบและดแู ล ตามศักยภาพ รกั ษาสง่ิ แวดล้อม 3. เดก็ ทม่ี ีความสามารถทางด้าน วิชาการ ศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า 4. เดก็ ทมี่ ีความสนใจ ใช้ภาษาไทยได้ ถกู ตอ้ ง 5. เดก็ ทีม่ สี ุขอนามยั สขุ ภาพจติ สขุ ภาพกายทด่ี ี
๓๘ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชิงปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศกึ ษา 7. โครงการหอพัก ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา คุณภาพ (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช้)ี 1. เพ่ือสร้างโอกาสให้กับนักเรียนที่ เชิงปรมิ าณ มาตรฐานท่ี ๑ บ้านอยู่ห่างไกล ได้รับการศึกษา 1. ร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนพกั ตัวบ่งช้ีที่ 1.1 และ 1.๒มาตรฐานที่ 2 และพกั นอนในโรงเรยี น นอน โรงเรียนบ้านจะคือ มคี วามพึง ตัวบ่งชท้ี ี่ 2/4 ๒ . เพ่ื อปรับปรุงพั ฒ นาหอพั ก พอใจกับอาคารสถานท่พี ักนอน นักเรียนให้มีสภาพท่ีพร้อมต่อการ 2. ร้อยละ ๘๐ ของนักเรยี นพัก พักนอนของนกั เรยี น นอน โรงเรยี นบา้ นจะคือ มวี ินยั ใน ๓. เพ่ือสร้างระบบระเรียบการอยู่ การอยู่ร่วมกนั ประจําพักนอนให้มีสุขภาวะท่ดี ี 3. หอพักนกั เรยี นมคี วามสะอาด ๔. เพ่อื ใหอ้ าคารสถานทพี่ กั อาศัยมี เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ความสะอาด สะดวกสบายนา่ อยู่ สภาพแวดล้อมทีร่ ม่ รื่น และให้ เชงิ คณุ ภาพ ความอบอ่นุ ใจ 1. นักเรยี นพกั นอนมรี ะเบียบวนิ ยั สามารถอยูร่ ่วมกันไดอ้ ยา่ งมีความสขุ 2. นักเรียนมีสุขภาวะทีด่ ี 3. นักเรียนอบอนุ่ และพรอ้ มที่จะ เรียนรู้
๓๙ กลยทุ ธท์ ่ี ๒ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๑. โครงการพฒั นาอาคาร 1. เพือ่ ให้สภาพแวดล้อมภายใน ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา สถานท่แี ละปรับปรงุ ภมู ิ โรงเรียนดีและเหมาะสม (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช)ี้ ทัศนใ์ นสถานศกึ ษา 2. เพ่ือสรา้ งบรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ เชิงปริมาณ การจดั การเรยี นการสอนท้งั ในและ 1. สถานศกึ ษามภี มู ิทัศน์ อาคาร มาตรฐานที่ 2 ตัว นอกหอ้ งปฏิบัตกิ าร สถานทแี่ ละสาธารณูปโภคท่ดี ีขนึ้ บง่ ช้ที ี่ ๒/ ๒.๔ 3. เพอ่ื ความเป็นระเบียบเรียบรอ้ ย รอ้ ยละ 8๐ สวยงามและมมี าตรฐาน ๒. ห้องปฏิบตั ิการ พร้อมตอ่ การ 4. เพื่อใหม้ สี าธารณูปโภคท่ี จดั การเรียนรู้ รอ้ ยละ ๘๐ เพยี งพอและเหมาะสมในการ ๓. เด็กระดับปฐมวัยและนกั เรียน ทํางาน ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน รอ้ ยละ ๕. เพ่ือพฒั นาแหล่งเรียนร้ทู งั้ ๘๐ ใชแ้ หล่งเรยี นรูภ้ ายในและ ภายในและสง่ เสริมการใช้แหล่ง ภายนอกในการจัดการเรยี นรู้ เรยี นร้ภู ายนอกตอ่ การจดั การ เรยี นรู้ เชงิ คณุ ภาพ ๑. โรงเรยี นมีสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อตอ่ บรรยากาศดา้ นการเรยี นการสอน ๒. ใช้แหล่งเรียนรูภ้ ายในและ ภายนอกในการจัดการเรียนรู้ ๒. โครงการการพัฒนา ๑. เพื่อให้สถานศึกษามแี ผนพฒั นา เชงิ ปรมิ าณ มาตรฐานท่ี ๒ ตวั มาตรฐานสถานศกึ ษาสู่ บง่ ช้ที ่ี แผนพฒั นาคุณภาพ คณุ ภาพสถานศึกษา ๑. ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการ 1,๒,๔ การศกึ ษาแผนปฏิบัตกิ าร 2. เพื่อให้สถานศกึ ษามีแผนปฏบิ ัติ วางแผนปฏิบัติการให้เป็นไปตาม การประจําปี เป้ า ห ม า ย แ ล ะ จั ด ทํ า แ ผ น ป ฏิ บั ติ 3. เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษามรี ายงานการ ราชการประจําปีของระดับปฐมวัย ปฏิบัติงานประจาํ ปี และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับ ๔. เพื่อใหช้ ุมชนและหนว่ ยงานตน้ ดเี ลิศ สงั กัดเข้ามามีสว่ นรว่ มในการ ๒ . ผู้ บ ริห ารพั ฒ น าแ ผ น ป ฏิ บั ติ บริหารจดั การสถานศกึ ษา ราชการประจําปีและเอาใจใส่ในการ จัดการศึกษาอย่างเต็มศักยภาพของ ระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาข้ัน พน้ื ฐานระดับดีเลศิ
๔๐ โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๒. โครงการการพัฒนา ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา มาตรฐานสถานศกึ ษาสู่ (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช้)ี แผนพัฒนาคณุ ภา ๑. เพื่อใหส้ ถานศกึ ษามีแผนพัฒนา ๓. ชมุ ชนและหนว่ ยงานตน้ สังกดั เขา้ การศึกษาแผนปฏิบตั ิการ มาตรฐานท่ี ๒ ตัว (ต่อ) คุณภาพสถานศกึ ษา มามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการ บง่ ช้ีท่ี 1,๒,๔ 2. เพอื่ ให้สถานศึกษามแี ผนปฏิบตั ิ สถานศึกษา ทงั้ ระดับปฐมวัยและ การประจาํ ปี ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในระดบั ดี 3. เพื่อให้สถานศกึ ษามรี ายงานการ เลศิ ปฏบิ ตั ิงานประจําปี ๔. เพ่ือให้ชมุ ชนและหน่วยงานตน้ เชิงคณุ ภาพ สงั กัดเข้ามามสี ่วนร่วมในการ 1. สถานศึกษามีแผนพฒั นาคุณภาพ บรหิ ารจดั การสถานศึกษา สถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจาํ ปี และรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ประจาํ ปี ทัง้ ระดบั ปฐมวยั และระดับ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ๒. ผูบ้ ริหารพฒั นาแผนปฏบิ ัติ ราชการประจําปีและเอาใจใสใ่ นการ จัดการศกึ ษาอย่างเต็มศักยภาพ ทั้ง ระดับปฐมวยั และระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๓. ชมุ ชนและหน่วยงานตน้ สังกดั เข้า มามสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการ สถานศึกษา ๓. โครงการพฒั นางาน ๑. เพื่อพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา เชิงปรมิ าณ มาตรฐานที่ ๑ ตวั วชิ าการสถานศึกษา ให้สอดคล้องกบั บริบทของ ๑. ครู ร้อยละ 80 มีการจัดรายวิชา บง่ ชี้ท่ี 1.๑ และ ๑.๒ สถานศึกษา เพิ่มเตมิ ทห่ี ลากหลายใหผ้ ู้เรียนเลือก ๒. เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ี เรยี นตามความถนดั ความสามารถ ความสามารถในการจดั การเรยี น และความสนใจ ตรงกับหลกั สตู รของ การสอนอยา่ งมีประสิทธภิ าพและ สถานศึกษาซึง่ สอดคลอ้ งกับทอ้ งถิ่น เน้นผู้เรียนเปน็ สําคัญ ๒. เด็กระดบั ปฐมวยั และนักเรียน ๓. เพื่อสง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามรู้ ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน รอ้ ยละ ความสามารถในการผลติ สอ่ื การ 80 มีความรคู้ วามเข้าใจ มี เรยี นการสอนทท่ี นั สมยั เหมาะสม คณุ ลักษณะอนั พงึ่ ประสงคต์ าม กับผเู้ รียน หลกั สูตรของสถานศกึ ษา
๔๑ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๓. โครงการพัฒนางาน ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา วิชาการสถานศกึ ษา (ต่อ) (มฐ.ท่ี /ตัวบง่ ช)้ี 4. เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหค้ รมู กี ารจดั การ ๓. ครู รอ้ ยละ 80 พัฒนางานวิจยั ใน มาตรฐานท่ี ๑ ตวั และการวัดประเมนิ ผลท่ถี กู ตอ้ ง ชัน้ เรยี นและนวัตกรรมทางการศึกษา บง่ ช้ที ่ี 1.๑ และ ๑.๒ เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น พร้อมทง้ั นําเสนอเผยแพร่ ๕. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ครูพฒั นางานวิจัย ๔. ครู รอ้ ยละ 80 ของครมู กี ารจดั ในชน้ั เรยี นและนวตั กรรมทาง กจิ กรรมการเรยี นร้เู น้นผู้เรียนสําคัญ การศึกษา พรอ้ มทง้ั นาํ เสนอ และมีการวัด ประเมนิ ผลที่ถกู ตอ้ ง เผยแพร่ได้ เหมาะสมกับผเู้ รยี น ๕. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรยี น ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน รอ้ ยละ 80 มนี สิ ยั รักการอา่ นและใช้ หอ้ งสมุด เชิงคณุ ภาพ ๑. คณะครมู คี วามรู้ความความเข้าใจ ในการจัดทาํ หลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐานในระดบั ดี ๒. คณะครมู คี วามร้คู วามความเข้าใจ ในการออกแบบการเรยี นรู้ที่เน้น ผูเ้ รยี นเป็นสาํ คัญในระดบั ดี ๓. คณะครูมคี วามรู้ความความเขา้ ใจ ในการผลิตและใชส้ อื่ เพ่ือการเรียนรู้ ในระดบั ดี ๔. คณะครูมคี วามรู้ความความเขา้ ใจ ในการจดั ทาํ วจิ ยั ในชัน้ เรียน ในระดับ ดี
๔๒ กลยทุ ธท์ ี่ ๓ สร้างเสรมิ สงั คมแห่งการเรียนรู้ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๑. โครงการการเรยี นรสู้ ู่ ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา เศรษฐกจิ พอเพียง (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช)้ี 1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ เชงิ ปรมิ าณ มาตรฐานท่ี ๑ ตวั เข้ า ใจ เกี่ ย ว กั บ ป รั ช ญ า ข อ ง ๑. ร้อยละ 95 ของเด็กระดับปฐมวัย บง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ เศรษฐกิจพอเพียง แ ล ะ นั ก เรี ย น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น 2. เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก พ้ืนฐาน ร้อยละ ๘๐ มีความสามารถ ในคุณค่าของภูมิปัญญาและการ ในการวางแผนการทํางานจนประสบ ประกอบอาชีพแบบพอเพียง ความสาํ เรจ็ 3. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับ ๒. ร้อยละ 95 ของเด็กระดับปฐมวัย อาชีพ ใน ท้ องถ่ิน ของต น และ และนักเรียนระดับการศึกษาขั้น สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ พื้นฐาน ร้อยละ ๘๐ มีความมุมานะ 4. เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการ ในการทํางานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ แ ส วงห าค วาม รู้ด้ วย วิธีก ารท่ี ๓. ร้อยละ 95 ของเด็กระดับปฐมวัย หลากหลาย แ ล ะ นั ก เรี ย น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น 5. เพื่อให้สถานศกึ ษาชุมชนและ พื้นฐาน ร้อยละ ๘๐ สามารถทํางาน ผ้เู ก่ยี วข้อง ร่วมมอื กนั พฒั นา รว่ มกับผอู้ น่ื ได้ กระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน ๔. ร้อยละ 95 ของเด็กระดับปฐมวัย แ ล ะ นั ก เรี ย น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้นฐาน ร้อยละ ๘๐ มีทัศนคติที่ดีต่อ อ า ชี พ สุ จ ริ ต แ ล ะ ห า ค ว า ม รู้ ประสบการณ์กับอาชพี ที่ตนสนใจ เชงิ คุณภาพ ๑. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระ ดั บ ก ารศึ ก ษ าข้ั น พ้ื น ฐ าน มี ความสามารถในการวางแผนการ ทํางานจนประสบความสาํ เรจ็ ๒. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความมุ มานะในการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี มาก
๔๓ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย สนอง (เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา ๑. โครงการการเรียนรู้สู่ ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา เศรษฐกิจพอเพียง (ตอ่ ) (มฐ.ที่ /ตวั บง่ ช)ี้ 1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ ๓. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน มาตรฐานที่ ๑ ตวั เข้ า ใจ เกี่ ย ว กั บ ป รั ช ญ า ข อ ง ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ทํางาน บง่ ช้ที ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ เศรษฐกิจพอเพยี ง รว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ ดีมาก 2. เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก ๔. เด็กระดับปฐมวัยและนักเรียน ในคุณค่าของภูมิปัญญาและการ ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มีทัศนคติ ประกอบอาชีพแบบพอเพียง ท่ีดีต่ออาชีพสุจริต และหาความรู้ 3. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้เก่ียวกับ ประสบการณก์ บั อาชพี ที่ตนสนใจไดด้ ี อาชีพ ใน ท้ องถิ่น ของต น และ สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ 4. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการ แ ส วงห าค วาม รู้ด้ วย วิธีก ารที่ หลากหลาย 5. เพอ่ื ให้สถานศกึ ษาชมุ ชนและ ผู้เกี่ยวข้อง ร่วมมอื กนั พฒั นา กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ๒. ส่งเสรมิ ทักษะอาชพี 1. เพื่อใหน้ ักเรยี นกลมุ่ สนใจมี เชิงปรมิ าณ มาตรฐานที่ ๑ ตัว และการมงี านทาํ ความรู้ มที ักษะและได้รับ ๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของนักเรียนชัน้ บง่ ชท้ี ี่ ๑.๑ และ ๑.๒ ประสบการณต์ รง มัธยมศึกษาตอนต้นได้รับการพัฒนา ทกั ษะอาชีพ ๒. นักเรยี นมผี ลงานด้านทักษะอาชีพ เชงิ คณุ ภาพ 1. นกั เรียนมกี ารรวมกลุ่มทาํ กจิ กรรมอาชีพ ทเี่ หมาะสม ๒. นักเรียนรู้จกั ใช้เวลาวา่ งในการ ทาํ งาน ๓. นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ในการทาํ งานอย่าง เปน็ ระบบ ๔. นกั เรียนสามารถ ประกอบอาชีพ ด้วยความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ มคี วาม วิระยะ อุตสาหะขยนั หมัน่ เพียร
๔๔ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศึกษา 3. พฒั นาการใช้ ของโครงการ/กิจกรรม ของสถานศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและ (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช)้ี การส่ือสาร 1. เพื่อให้โรงเรียนมีห้องปฏิบัติการ เชงิ ปรมิ าณ (ICT) และ DLTV มาตรฐานท่ี ๑ ตวั ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ที่ มี ร ะ บ บ ก า ร 1. โรงเรยี นบ้านจะคือ มี บง่ ชท้ี ่ี ๑.๑ และ ๑.๒ อินเทอร์เน็ตท่ีสามารถ จัดการ หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอรท์ มี่ ีระบบ เรียนรู้แก่นักเรียนในโรงเรียนบ้าน การอนิ เทอร์เน็ตทม่ี ี ประสทิ ธภิ าพสงู จะคือได้ 2. นักเรียนโรงเรียนบ้านจะคอื ชั้น 2 . เพื่ อนั ก เรียน มี ค วาม รู้แ ล ะ อนุบาล 1 ถึงช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 นั ก เรี ย น มี ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ใช้ จาํ นวน 224 คน ได้เรยี น วชิ า คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นข้อมูลที่ คอมพิวเตอรใ์ นสาระการงานอาชีพ เกี่ยวข้องกบั การเรยี นรู้ และเทคโนโลยี 3. เพ่ือให้นักเรียนทุกคนได้รับ 3. นกั เรียนโรงเรียนบ้านจะคือทกุ คน บริการสารสนเทศในการสืบค้น ได้พฒั นาทกั ษะในการสืบคน้ ข้อมลู บนระบบเครอื ขา่ ยได้ สารสนเทศ บนระบบเครอื ขา่ ยท่ี 4. เพ่อื ใหโ้ รงเรียนมศี ักยภาพใน ถูกต้อง ปลอดภัย การพฒั นาบุคลากรในด้าน ICT เพอื่ รองรับในการพัฒนา เชงิ คณุ ภาพ นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถและมี ทกั ษะด้านการใช้ ICT นกั เรยี นมี ความรู้ความสามารถและมที กั ษะ ด้านการใช้ ICT
๔๕ กลยทุ ธท์ ่ี ๔ สง่ เสรมิ อัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษาใหโ้ ดดเดน่ โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย สนอง (เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ) มาตรฐานการศกึ ษา ๑. สมั พนั ธช์ ุมชนและ ของโครงการ/กจิ กรรม ของสถานศกึ ษา ประชาสัมพนั ธ์โรงเรยี น (มฐ.ที่ /ตัวบง่ ช้)ี 1. เพื่อให้สถานศึกษามีแผน / เชงิ ปริมาณ มาตรฐานที่ 2 ตวั โครงการ เกย่ี วกบั ความสมั พันธ์กับ ๑. ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับ บ่งช้ีที่ 2.2/4 ชุมชน ชุมชน องค์กรและหน่วยงานอ่ืน ๆ 2. เพ่ือให้สถานศึกษาและชุมชนมี อยใู่ นระดับดเี ลิศ ความใกล้ชิดผูกพันกันมากขึ้น โดย ทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนา เชงิ คุณภาพ ชุมชนและโรงเรียน เพื่อเชื่อม 1. นักเรียนมีความมั่นใจในตนเอง ความสมั พนั ธ์ สามคั คี แ ล ะ ก ล้ า แ ส ด ง อ อ ก อ นุ รั ก ษ์ 3. เพ่ือให้สถานศึกษาและชุมชน วฒั นธรรมประเพณแี ละส่ิงแวดล้อม ท้ อ งถ่ิ น มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก าร จั ด ๒. นักเรยี น ครู บคุ ลากรทางการ กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้สร้าง ศึกษาและชมุ ชน มีสว่ นร่วมรบั รู้ เสริมภูมิปัญญาชาวบ้าน นํามา ขา่ วสาร ประชาสมั พนั ธ์จากทาง ประยุกตใ์ ชก้ ับสาระการเรยี นรู้ โรงเรยี น ต่าง ๆ อย่างสอดคล้อง และตรง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ 4. เพ่ือให้ผู้ปกครองนักเรียนได้รับ ทราบข้อมูลของบุตรหลาน และ ทางโรงเรียนก็ได้รับข้อมูลพ้ืนฐาน จากครอบครวั ของนกั เรียนด้วย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135